Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore GEH2201 การพัฒนาตน

GEH2201 การพัฒนาตน

Published by fastbad, 2016-07-07 04:34:12

Description: GEH2201 การพัฒนาตน

Keywords: การพัฒนาตน

Search

Read the Text Version

การพฒั นาตนอวัยวะซีกซายและสมองซีกซายจึงควบคุมการทํางานของอวัยวะซีกขวา นอกจากนี้ กานสมองยังทําหนาท่ีควบคุมการทํางานของอวัยวะภายในบางชนิดอีกดวย เชน การเตนของหัวใจ การขยายและหดตวั ของปอด การยอ ยอาหาร การยืดและหดตวั ของเสน เลอื ด เปนตน เย่ือหมุ สมอง มี 3 ช้นั คือ 1. เยื่อหุมสมองชั้นนอก (Dura mater) เหนียว แข็งแรงมากโดยมีหนาท่ีปองกันการกระทบกระเทือน 2. เยอ่ื หมุ สมองช้ันกลาง (Arachoid mater) เปน เย่ือบางๆ 3. เย่ือหมุ สมองชน้ั ใน (Pia mater) มีเสนเลือดแทรกมากมายทําหนาท่ีสงอาหารไปเล้ียงสมอง ในระหวางช้ันกลางกับช้ันในจะมีการบรรจุของเหลวที่เรียกวา น้ําเลี้ยงสมองไขสันหลัง โดยจะทําหนาท่ีใหสมองและไขสันหลังเปยกชนื้ อยเู สมอ เรอ่ื งที่ 2.1.2.2 ไขสันหลัง ไขสันหลัง (Spinal Cord) คือ อวัยวะท่ีมีลักษณะเปนทอยาวผอม ซึ่งมีเน้ือเยื่อประสาทเปนสวนประกอบสําคัญ อันไดแก เซลลประสาท (Neuron) และเซลลเกลีย(Glia) หรือเซลลที่ชวยคํ้าจุนเซลลประสาท ซ่ึงไขสันหลังจะเปนสวนที่ยาวตอลงมาจากสมอง(Brain) สมองและไขสันหลังจะรวมกันเปนระบบประสาทกลาง (Central Nervous System) ซ่ึงบรรจุภายในและถูกปกปองโดยกระดูกสันหลัง (Vertebral Column) หนาที่หลักของไขสันหลัง คือการถายทอดกระแสประสาท (Neural Signals) ระหวางสมองและสวนตางๆ ของรางกาย ท้ังนี้เพียงตัวไขสันหลังเองยังสามารถควบคุมการเกิดรีเฟล็กซ (Reflex) เชน การยกขาทันทีเม่ือเผลอเหยียบตะปู และศูนยสรา งรปู แบบการเคล่ือนไหวกลาง (Central Pattern Generator)ภาพที่ 2.3 ไขสนั หลงั 39

การพฒั นาตน ไขสนั หลังมี 2 ชั้น คอื 1. เนื้อสีเทาช้ันใน รูปรางเปน H คลายผีกางปก มีตัวเซลลประสาทอยูมากมาย จงึ เหน็ เปน สีเทา 2. เนื้อสีขาวชั้นนอก เปนท่ีอยูของเสนประสาทที่มีเยื่อไมอีลิน หุมจึงเห็นเปนสีขาวตอนกลางไขสันหลังมีหลอดกลวงที่ติดตอกับสมองเรียกวา (central canal) ไขสันหลังมีเสนประสาทแยกออกมา เรียกวา เสนประสาทไขสันหลัง ตรงโคนของเสนประสาทตอนท่ีติดกบั ไขสันหลังจะแตกออกเปน 2 ราก คือ รากบน (dorsal root) และรากลา ง (ventral root) รากบน มีปมประสาทอยูใกล ๆ ไขสันหลัง ในปมประสาทมีตัวเซลลของเซลลประสาทรับความรูสึก โดยมีใยขา งหนึง่ อยใู นเสนประสาทไขสันหลัง (รับกระแสความรูสึกจากหนวยรับความรูสึก) สวนใยประสาทอีกขางหน่ึงจะอยูในรากบน โดยยื่นเขาไปในเขาไปในไขสันหลงั รากลาง ประกอบดวย ใยประสาทประสาทที่ยื่นออกจากตัวเซลลประสาทนําคําส่ัง ซ่ึงอยูในไขสันหลัง เพื่อนํากระแสความรูสึกไปยังหนวยปฏิบัติ(กลามเนื้อและตอมตางๆ) นอกจากนี้ยังมีเซลลประสาทประสานงาน ทําหนาที่เช่ือมโยงกระแสรับความรูสึกกับเซลลอ น่ื ๆ เชน เซลลใ นสมอง หรือเซลลใ นไขสนั หลัง หนา ทข่ี องไขสนั หลงั 1. เปนศูนยเชื่อมระหวางหนวยรับความรูสึก (Receptor) และหนวยปฏบิ ตั ิงาน 2. เปนทางผานของกระแสประสาทหรือกระแสความรูสึก (NerveImpulse) ระหวางไขสันหลังและสมอง 3. เปนศนู ยกลางของการเคล่อื นไหว เชน Simple Reflex ตา งๆ 2.1.2.3 เสนประสาท เสนประสาท (Nerve Fiber) เปนกลุมของเสนใยบาง ๆ จํานวนมากซึ่งเกิดจากเซลลประสาทหลายตัว รวมกันเขาเปนมัด เสนประสาทอาจเปนมัดของแอกซอน หรือมัดของเดนไดรท หรือทั้งสองชนิดรวมกันก็ไดเสนประสาทในรางกายสามารถจําแนก ไดเปน 2ประเภทใหญ ๆ ดังน้ี 1. เสนประสาทที่ออกจากสมอง เสนประสาทประเภทนี้ มีท้ังส้ิน 12 คูมีศูนยกลางอยูท่ีสมอง บางคูจะเปนเสนประสาทที่เก่ียวกับการสัมผัส บางคูจะเปนเสนประสาทที่ใชควบคุมการเคลื่อนไหวแยกเปนทางซีกซายและซีกขวา เพ่ือรับสงความรูสึกและคําส่ังต้ังแตลําคอขนึ้ ไป 40

การพฒั นาตน 2. เสนประสาทท่ีออกจากไขสันหลัง เปนเสนประสาทท่ีแยกออกมาจากบริเวณไขสันหลัง จากกึ่งกลางลําตัวแยกกระจายออกไปทางซีกซายขวาของรางกาย เรียกวาเสนประสาททีอ่ อกจากไขสนั หลงั (Spinal Nerve) ทําหนา ที่รับสงความรูสึกและคําส่ังต้ังแตบริเวณลําคอลงไปตลอดท้ังรางกายจนถึงปลายเทา มีหนาท่ีรับความรูสึกและควบคุมการเคลื่อนไหวมีทั้งส้ิน 31 คู โดยจะแยกเปน 2 ชุด ชุดท่ี 1 เปนเสนประสาทสวนของการรับความรูสึกเขาสูไขสันหลังทางดานหลัง สวนอีกชุดหนึ่งทําหนาที่ควบคุมการเคล่ือนไหว เขาสูไขสันหลังบริเวณชวงทอ ง เสนประสาทแตละเสนจะมีเซลสประสาท (Neuron) หลาย ๆ เซลสเรียงตอกันเซลสประสาทกระจายไปเล้ียงท้ังรางกาย มีประมาณ 12,000 ลานเซลส ในไขสันหลังและสมองมีเซลสป ระสาทมากทีส่ ดุภาพท่ี 2.4 เซลลประสาท 1.1.2.4 เซลลประสาท เซลลป ระสาท (Neuron) เซลลป ระสาทเปนสวนท่ีเล็กท่ีสุดของระบบประสาท เซลสประสาทหนงึ่ เซลลม ีสว นประกอบทสี่ ําคญั ดงั นี้ 1. ตัวเซลส (Cell body) เปนจุดศูนยกลางของเซลลประสาทประกอบดวย นวิ เคลยี ส (nucleus) อยตู รงกลางเซลล ลอมรอบดวยของเหลวท่ีเรียกวา ไซโตพลาส(cytoplast) มีผนงั เซลล (cell membrane) ทําหนาทีเ่ ปนผนังหอ หุมเซลล 2. เดนไดรท (Dendrite) เปนเสนใยท่ีย่ืนออกจากตัวเซลลมีหนาท่ีรับความรูส กึ มีกิง่ กา นสาขาเปน แขนงสน้ั ๆ มีลกั ษณะคลา ยรากแขนงของตนไม 41

การพฒั นาตน 3. แอกซอน (Axon) เปนเสนใยเดี่ยว ๆ ที่ย่ืนออกจากตัวเซลล ทําหนาท่ีสงความรูสึกของเซลลนั้นไปยังเซลลประสาทตัวอื่น ๆ แอกซอนมีเปลือกหุม เรียกวา ไมอิลินชีท (Myelin Sheath) ปลายสุดของแอกซอนเปนพุมตอกับอวัยวะเรียก เอนดบลาส (End Burst)ใยแอกซอนจะมีความยาวมากเปนพิเศษ แตละเซลลจะมีเพียงเสนเดียวเทาน้ัน ปลายแขนงยอยของแอกซอน ทุกแขนงจะมีตุมเล็ก ๆ เรียกวา ตุมปลายประสาท (Terminal Buttons) การทํางานของแอกซอนจะเกิดขึ้น เม่ือตัวเซลลไดรับกระแสประสาทความรูสึกจากเดนไดรท จากน้ันจะสงกระแสความรสู ึกนัน้ ไปยงั แอกซอน แลวแอกซอนจะสงกระแสประสาทความรูสึกนั้น ตอไปยังเซลลประสาทตัวอ่ืน ๆ หรือสงไปยังอวัยวะตาง ๆ ท่ีตองการใหเกิดความรูสึก หรือแสดงปฏิกิริยาตอบสนอง 4. ซิแนปส (Snaps) เปนจุดตอระหวางใยแอกซอนของเซลลประสาทตัวหน่ึงกับเดนไดรทข องเซลลประสาทอีกตวั หน่ึง โดยท่เี ม่อื เซลลป ระสาทตวั หน่งึ สง กระแสประสาทความรูสึกเขาสู แอกซอนจนถึงปลายตุมประสาทแลว กระแสความรูสึกน้ันจะถูกสงเขาสูบริเวณซิแนปส จากนั้นซิแนปสจะรับกระแสประสาทและสงตอไปยังเดนไดรท เพื่อเขาสูเซลลประสาทอีกตัวหนึ่งทันที ซิแนปส จึงทําหนาที่เปนตัวเช่ือมสัญญาณกระแสประสาทระหวางเซลลประสาทตัวหนึ่งกบั เซลลประสาทอกี ตัวหน่ึงนน่ั เอง เซลลประสาทในรางกายอาจแบง หนาท่กี ารทาํ งานได 3 ประเภท ดังนี้ 1. เซลลป ระสาทรับความรูสึก ทําหนาที่รับกระแสประสาทจากอวัยวะรบั สัมผัส เขาสสู มองและไขสันหลัง 2. เซลลประสาทมอเตอร ทําหนาที่นํากระแสประสาทเขาสูกลามเน้ือทําใหเ กดิ การเคลื่อนไหว 3. เซลลประสาทเช่ือมโยง เปนเซลลประสาทที่เชื่อมอยูระหวางเซลลประสาทรับความรูสกึ และเซลลป ระสาทมอเตอร ประสาทรบั ความรสู ึก การไดยิน คล่ืนเสียงเดินทางผานอากาศเขาสูหูช้ันนอกผานเขาสูหูช้ันกลางและช้ันใน และจะถูกเปล่ียนเปนแรงส่ันสะเทือนโดยกระดูกหูซ่ึงวางเรียงตัวกันอยู แรงสะเทือนจะผานของเหลวภายในหูช้ันในและจะถูกแปรเปนสัญญาณประสาทไฟฟากอนท่ีจะถูกสงไปแปลความหมายในสมอง การรับรส ผิวของล้ินปกคลุมดวยตุมเล็ก ๆ ที่เรียกวา พาพิลลา(Papillae) จํานวนนบั ลา นซ่ึงยน่ื ออกมาเหมือนน้ิวทําใหผิวไมเรียบเหมือนปุยขนพาพิลลามี 4 ชนิด 42

การพฒั นาตนใน 3 ชนิดจะมีปุมรับรส ซึ่งถึงแมจะสามารถรับรสมาตรฐานได 4 รสเทานั้นคือ เปร้ียว หวาน เค็มและขม แตดวยเสนประสาทท่ีประสานกันอยางซับซอนและประสาทรับกลิ่นทําใหเราสามารถแยกรสตา ง ๆ ไดอยางละเอยี ด การมอง แสงเขาสูตาทางแกวตาและถูกปรับใหภาคคมชัดบนจอรับภาพท่ีอยูดานหลังของลูกตา ที่ซ่ึงเซลลไวตอแสงเปล่ียนเปนสัญญาณไฟฟาผานประสาทตาไปยังสมอง เพอ่ื แปลความหมายของภาพ การดมกล่ิน ประสาทสัมผัสกลิ่นของคนเรามีศูนยกลางอยูที่แผนเยื่อรับกลิ่นท่ีเพดานของชองจมูก ขณะอากาศผานเขาสูชองจมูกจะกระตุนเซลลที่แผนเย่ือรับกลิ่นใหสงสญั ญาณไฟฟาไปยงั สมองเพื่อแยกแยะกลิน่ ตาง ๆ การรับรูส่ิงตาง ๆ ที่อยูรอบตัวเราเกือบทั้งหมด ไดขอมูลมาจากประสาทรับความรูสึกพื้นฐาน 5 ทางดวยกัน คือ การเห็น ไดยินเสียง รูรส ไดกล่ิน และสัมผัส ในจาํ นวนนกี้ ารเหน็ และการไดย นิ จัดวาเปน ประสาทท่สี ําคญั ที่สดุ อยางไรกด็ ใี นความเปน จริง การรับรูทกุ ชนิดจะทาํ งานประสานกนั เพ่ือใหเห็นภาพรวมท้ังหมด ตัวอยางท่ีแสดงถึงการทํางานรวมกันน้ันเห็นไดชัดขณะรับประทานอาหาร กล่ินเปนส่ิงสําคัญในการใชแยกแยะความแตกตางของอาหารที่มีรสและลักษณะเหมือนกัน นี่คือเหตุผลวาทําไมเราจึงรูสึกเหมือนไมรูรสอาหารขณะเปนหวัดอยางไรก็ตามเม่ือความรูสึกชนิดหนึ่งเสียไป ความรูสึกชนิดอื่นอาจชวยทดแทนกันได ตัวอยางเชนเราอาจใชก ารสมั ผัสและฟงเสียงหาทิศทางไดขณะอยใู นท่มี ืด เร่อื งท่ี 2.1.3 ระบบกลา มเนอื้ ระบบกลามเน้อื เปน ระบบทีท่ ําหนาที่เก่ยี วกับการเคล่ือนไหวของรางกาย โดยจะอาศัยคุณสมบัติการหดตัวของใยกลามเน้ือ ทําใหกระดูกและขอตอเกิดการเคล่ือนไหว และมีความสมั พนั ธซึง่ กันและกัน นอกจากการเคล่อื นไหว ของกระดูกและขอ ตอ แลว ยังมีการเคล่ือนไหวของอวยั วะภายในรา งกาย เชน การเตนของหัวใจ การบีบตวั ของเสนโลหิต การบีบตัวของกระเพาะอาหาร ลําไส และการทํางานของปอด เปนตน การเคล่ือนไหวตางๆ เหลาน้ีเกิดจากการทํางานของกลามเนือ้ ทัง้ ส้ิน กลามเน้ือเปนสวนประกอบใหญของรางกายมนุษยและเปนสวนสําคัญที่สุดทําหนาที่ในขณะท่ีมีการเคลื่อนไหวของรางกายหรือเพียงบางสวน เชน การหายใจ การเตนของหัวใจ การเคล่ือนไหวของระบบทางเดินอาหาร เปนตน กลามเนื้อในรางกายทั้งหมดมีนํ้าหนักประมาณ 2/5 ของนํ้าหนักตัวสวนใหญอยูบนรอบแขนและขา ซ่ึงยึดติดกันอยูโดยอาศัยขอ 43

การพัฒนาตนตอ (Joints) และเอ็น (Tendon) ทําใหรางกายประกอบเปนรูปรางและทรวดทรงข้ึนมาอยางเหมาะสม 2.1.3.1 ชนดิ ของกลา มเนอื้ รางกายแบงกลามเนื้อออกเปน 3 ชนิด คือ กลามเน้ือยึดกระดูกหรือกลามเน้ือลาย (Skeletal Muscle or Striated Muscle) กลามเน้ือเรียบ (Smooth Muscle) กลามเน้ือหัวใจ(Cardiac Muscle) โดยท่ีกลามเน้ือลายน้ันถูกควบคุมอยูภายใตอํานาจจิตใจหรือรีเฟล็กซ สวนกลามเนื้อเรยี บและกลา มเนื้อหัวใจทาํ งานนอกอํานาจจติ ใจ 1. กลา มเน้อื ลายหรือกลา มเน้ือยึดกระดูก (Skeleton Muscle)ภาพท่ี 2.5 กลา มเน้อื ลาย เปนกลามเนื้อท่ีเกาะติดกับโครงกระดูกหรือกลามเนื้อลาย เชนกลามเนื้อแขน กลามเนื้อขา จึงทําหนาที่เกี่ยวกับการเคล่ือนไหวของรางกายโดยตรง เมื่อนําเซลลกลามเนื้อเหลานี้มาศึกษาดวย กลองจุลทรรศนจะมองเห็นเปนแถบลาย เซลลกลามเนื้อน้ีมีลักษณะเปนทรงกระบอกยาว แตละเซลลมีหลายนิวเคลียสอยูท่ีขอบของเซลล มีลายตามขวางสีเขมและสีจางสลับกัน ซึ่งเห็นไดชัดเจนเม่ือ ยอมดวยสีคนที่ออกกําลังเสมอเสนใยกลามเนื้อจะโตขึ้น และหนาข้ึน แตจํานวนไมเพ่ิมข้ึนการทํางานของกลามเน้ือยึดกระดูกถูกควบคุมโดยระบบประสาทโซมาติก การทํางานของกลามเน้ือชนิดน้ี รางกายสามารถบังคับไดซ่ึงถือวาอยูในอํานาจจติ ใจ โดยกลา มเนือ้ ลายมหี นา ท่ีเคลอ่ื นไหวรางกายท่ีขอ ตอ ตา งๆ เคลื่อนไหวลกู ตาชว ยในการเค้ียวและการกลืน เคลื่อนไหวล้ิน เคล่ือนไหวใบหนาแสดงอารมณตางๆ และยังประกอบเปนผนังอกและผนังทองตลอดจนการควบคุมการขับถายปสสาวะและอุจจาระ 44

การพฒั นาตน2. กลามเนอ้ื หัวใจ (Cardiac Muscle)ภาพท่ี 2.6 ภาพกลามเนื้อหวั ใจ กลามเน้ือหัวใจ ประกอบเปนกลามเนื้อหัวใจเพียงแหงเดียวอยูนอกอํานาจจิตใจโดยควบคุม โดยระบบประสาทอตั โนมัตมิ ลี ักษณะเปน เซลลรปู ทรงกระบอกมีลายตามขวางเปนแถบสีทึบ สลับกับสีจางเซลลกลามเน้ือตอนปลายของเซลลมีการแตกแขนง ไปประสานกับแขนงของเซลลใ กลเคยี งเซลลท งั้ หมดจงึ หดตัวพรอมกนั และหดตวั เปนจงั หวะตลอดชีวติ 3.กลามเนอ้ื เรยี บ (Smooth Muscle)ภาพที่ 2.7 ภาพกลามเนอ้ื เรียบ กลามเนื้อเรียบ เปนกลามเนื้อท่ีพบอยูตามอวัยวะภายในทําหนาที่ควบคุมการทํางานของอวัยวะยอยอาหารและอวัยวะภายใน ตางๆ เชนผนังกระเพาะอาหาร ผนังลําไส ผนังหลอดเลือด และมานตา เปนตน กลามเนื้อเหลานี้ ประกอบดวยเซลลที่มีลักษณะยาวหัวทายแหลม แตละเซลลมี 1 นิวเคลียส ไมมีลายพาดขวาง การทํางานของกลามเน้ือเรียบถูกควบคุมโดยระบบประสาทอิสระ (Autonomies Nervous System) มีลักษณะเปนเซลลรูปกระสวยมนี ิวเคลียสรูปไขอ ยูตรงกลาง 45

การพัฒนาตนภาพที่ 2.8 ภาพกลา มเนือ้ หัวใจ 2.1.3.2 คณุ สมบตั ขิ องกลา มเน้อื -มีความรูสึกตอสิ่งเรา (Irritability) คือ สามารถรับสิ่งเราและตอบสนองตอสิ่งเรา โดยการหดตัวของกลามเนื้อ เชน กระแสประสาทที่กลามเนื้อเวลาท่ีจับโดนความรอนหรือ กระแสไฟฟา เรามกั มีการหนหี รอื หลบเล่ียง -มีความสามารถที่จะหดตัวได (Contractility) คือ กลามเน้ือสามารถเปล่ยี นรปู รา งใหส้นั หนาและแขง็ ได -มีความสามารถที่จะหยอนตัวหรือยืดตัวได (Extensibility) กลามเน้ือสามารถ ท่จี ะเปลยี่ น รปู รางใหย าวขึ้นกวา ความยาวปกติของมนั ได เมื่อถกู ดึง เชน กระเพาะอาหารกระเพาะ ปส สาวะ มดลกู เปนตน -มีความยืดหยุนคลายยาง (Elasticity) คือ มีคุณสมบัติที่เตรียมพรอมทจ่ี ะ กลบั คืนสูสภาพเดมิ ได ภายหลงั การถูกยดื ออกแลว -มีความสามารถที่จะดํารงคงที่อยูได (Tonus) โดยกลามเนื้อมีการหดตวั บา งเลก็ นอ ย เพอื่ เตรยี มพรอ มที่จะ ทํางานอยูเ สมอ เรอ่ื งท่ี 2.1.4 ระบบตอม สิ่งมีชีวิตจะสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางปกติ จําเปนตองมีการทํางานท่ีสอดคลองกันอยางเหมาะสมของระบบตางๆ การควบคุมดังกลาวจัดแบงได 2 ระบบ คือ ระบบประสาท (Nervous System) และระบบตอมไรทอ (Endocrine System) การทํางานประสานงานอยางใกลชดิ ของระบบทง้ั สอง เรียกวา ระบบประสานงาน (Coordination) การทํางานของระบบกลามเนื้อ การรับรู การตอบสนองตอสิ่งเราตางๆ เปนหนาทข่ี องระบบประสาท สวนการควบคมุ ลักษณะที่เปล่ียนแปลงของรางกายแบบคอยเปนคอยไป 46

การพัฒนาตนของวัยหนุมสาว การควบคุมปริมาณสารบางอยางในรางกาย เปนหนาที่ของระบบตอมไรทอ ท่ีสรา งสารเคมี ท่ีเรียกวา ฮอรโ มน ไปควบคุมการทํางานของอวยั วะเปาหมาย (Target organ) 2.1.4.1 ประเภทของตอ มในรางกายคน 1) ตอมมีทอ (exocrine gland) เปนตอมที่ผลิตสารออกมาแลวมีทอลาํ เลียงออกมาภายนอกได เชน ตอมเหง่ือ ตอมน้าํ ตา ตอ มนา้ํ ลาย 2) ตอมไรท อ (endocrine gland) เปนตอมท่ีผลิตสารออกมาแลวไมมีทอลําเลียงออกมาภายนอก ตองอาศัยการลําเลียงไปกับน้ําเลือด ในสัตวท่ีไมมีเลือดก็จะแพรผานไปตามเนอื้ เยอ่ื สารทสี่ รางข้ึน เรยี กวา ฮอรโมน ซง่ึ มผี ลตอเนอ้ื เยอ่ื หรืออวยั วะเฉพาะอยา งเรียกอวยั วะทฮี่ อรโ มนไปมีผลเรยี กวา อวยั วะเปาหมาย 2.1.4.2 การจําแนกตอมไรท อ ตามความสาํ คญั ตอชวี ิต 1) ตอมไรทอ ทจ่ี าํ เปน Essential endocrine gland เปนตอมไรทอที่จาํ เปน มาก ถาหากขาดตอ มตอ ไปน้ีแลว แลวทําใหเ สยี ชีวติ ทนั ที 1.1) ตอ มพาราไทรอยด (parathyroid) 1.2) ตอ มหมวกไตชนั้ นอก (adrenal cortex) 1.3) ตอมไอสเ ลตของตบั ออน (islets of Langerhans) 2) ตอมไรทอท่ีไมจําเปน Non - Essential endocrine gland เปนตอ มท่ไี มจาํ เปนหรือจําเปนนอ ยมากตอ รา งกาย ถาหากขาดตอมตอไปนแี้ ลวไมทาํ ใหถ ึงตาย 2.1) ตอ มใตส มอง (pituitary) 2.2) ตอมไทรรอยด (thyroid) 2.3) ตอมหมวกไตชัน้ ใน (adrenal medulla) 2.4) ตอมไพเนยี ล (pineal) 2.5) ตอ มไทมัส (thymus) 2.6) ตอมเพศ (gonads) 2.1.4.3 ฮอรโ มนจากตอมไรท อ และอวยั วะทีส่ าํ คญั ระบบตอมไรทอ เปนระบบที่สําคัญระบบหนึ่งของรางกาย ทําหนาทคี่ วบคมุ อวยั วะภายในรางกายใหท าํ งานประสานกัน โดยอาศยั สารเคมีท่ีเรียกวา ฮอรโมน ซึ่งฮอรโมนจะถูกขนสงไปสูอวัยวะท่ัวรางกาย แตจะออกฤทธิ์หรือมีผลตออวัยวะและเซลลบางตัวเทา นัน้ ซ่งึ ตอ มไรท อ ในมนษุ ยมที ั้งหมด 10 ตอม ดงั นี้ 47

การพัฒนาตน 1. ตอ มใตส มอง ผลติ ฮอรโ มนท่ีสําคญั เชน 1) ฮอรโมนควบคุมการเจริญเติบโตของรางกาย GrowthHormone เปนฮอรโ มนควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตของรางกาย โดยเฉพาะกระดูกและกลา มเนอื้ 2) ฮอรโมนกระตุนตอมไทรอยด Thyroid StimulatingHormone เปนฮอรโมนกระตุนตอมไทรอยดใ หสรา งไทร็อกซนิ เพิ่มข้นึ 3) ฮอรโมนกระตุนการสรางเซลลสืบพันธุ GonadotrophicHormone เปน ฮอรโ มนกระตนุ การสรา งเซลลสืบพันธุ 4) ฮอรโมนชวยในการดูดนํ้ากลับของทอไต AntidiureticHormone เปนฮอรโ มนชว ยในการดดู น้าํ กลบั ของทอไต เพอ่ื รกั ษาระดับนาํ้ ของรางกาย 5) ฮอรโมนกระตุนใหเซลลเม็ดสี Melatonin เปนฮอรโมนกระตนุ ใหเซลลเ มด็ สีสรางเมด็ สีเพม่ิ มากขึ้น 2. ตอมไทรอยด ผลิตฮอรโมนท่ีสําคัญ คือ ไทร็อกซิน โดยใชไอโอดนี เปนวตั ถุดบิ ในการ สรางฮอรโมน ซึง่ ฮอรโมนไทร็อกซินมหี นา ทส่ี าํ คญั ดังนี้ 1) ชว ยในการเจริญเตบิ โตของกระดูก สมอง และระบบประสาท 2) ชว ยในการเปลย่ี นแปลงรูปรา งเม่ือเปนผูใหญ 3) ชว ยควบคุมอัตราเมตาบอลิซมึ ในรางกาย 3. ตอมพาราไทรอยด ผลิตฮอรโมนที่สําคัญช่ือพาราธอรโมน ซ่ึงทําหนาที่เกี่ยวกับการควบคุมเมตาบอลิซึมของแคลเซียมและฟอสฟอรัสในรางกาย การสรางกระดูกและควบคุมบทบาทของวิตามินดีในรางกาย โดยวิตามินดีจะรวมกับฮอรโมนพาราธอรโมนในการสลายแคลเซียมออกจากกระดกู เพ่อื รกั ษาระดบั ปกติของแคลเซยี มในพลาสมา 4. ตบั ออ น สวนท่ีเปน ตอมไรทอ จะผลิตฮอรโมนทสี่ าํ คญั ดงั นี้ 1) อินซูลิน เปนฮอรโมนท่ีทําใหระดับนํ้าตาลในเลือดต่ําลงโดยชวยใหก ลโู คสผานเขาเซลล และเปลี่ยนสวนหนึ่งเปนไกลโคเจนเก็บไวที่ตับ ทําใหระดับน้ําตาลในเลอื ดอยูในระดบั ปกติ 2) กลูคากอน เปนฮอรโมนท่ีทํางานตรงขามกับอินซูลิน คือทําใหร ะดบั นํ้าตาลในเลือดสงู ข้นึ 5. ตอมหมวกไต เปนกอนสีเหลืองๆ อยูเหนือไตขางละ 1 ตอมประกอบดวย เน้ือเยื่อ 2 ช้ัน คือ ควบคุมของ ACTH จากตอมใตสมองตอนหนา แบงฮอรโมนออกเปน 4 กลุมที่สําคญั คือ 48

การพัฒนาตน 1. ฮอรโ มนกลโู คคอรตคิ อยด Glucocorticoid Hormone ทําหนาที่ควบคุมเมแทบอลซิ มึ ของคารโบไฮเดรต โดยเปลีย่ นไกลโคเจนในตบั และกลามเนอ้ื ใหเปน กลูโคส 2. ฮอรโมนมินเนอราโลคอรติคอยด Mineral Corticoid Hormoneทําหนา ท่คี วบคมุ สมดุลของนาํ้ และเกลอื แร 3. ฮอรโมนเพศ Sex Hormone ฮอรโมนเพศชวยควบคุมลักษณะทางเพศที่สมบูรณท้ังชายและหญิง 4. อะดรีนัลเมดัลลา (Adrenal Medulla) เปนเน้ือชั้นในของตอมหมวกไต อยูภายใตการควบคุมของระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเทติก ถูกกระตุนในขณะตกใจเครียด กลัว โกรธ 6. ตอมเพศ ในเพศชาย คือ อัณฑะ ในเพศหญิงคือรังไข ซึ่งมีหนาท่ีสรา งเซลลสบื พันธุ และสรางฮอรโ มน ดงั นี้ 1) ฮอรโมนเพศชาย คือ เทสทอสเตอโรน ซ่ึงทําหนาท่ีหลายอยางเชน ควบคมุ การเจริญเติบโตของอวยั วะสบื พนั ธุ ควบคมุ การหล่ังฮอรโมนของเพศชาย 2) ฮอรโมนเพศหญิง คือ เอสโตรเจน ซึ่งจะเก่ียวของกับการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ และลักษณะตางๆ ของความเปนเพศหญิง แลวฮอรโมนโปรเจสเตอโรน จะทําหนาท่ีระงับไมใหไขสุกระหวางต้ังครรภเพื่อปองกันไมใหมีประจําเดือนระหวางตงั้ ครรภ 7. ฮอรโมนจากรก หลังจากต้ังไขประมาณ 10 วัน เซลลของรกจะเริ่มหล่ังฮอรโมนชนิดหน่ึงออกมา ซ่ึงจะพบในเลือดและในปสสาวะของผูหญิงท่ีมีการตั้งครรภดังน้นั จึงใชเ ปนตัวทดสอบการตง้ั ครรภของผูห ญิงได 8.ตอ มเหนือสมอง 1. ฮอรโมนประสาท (RH, IH) กระตุนและยับย้ังการหล่ังฮอรโมนของตอ มใตส มองสว นหนา และสว นกลาง 2. ออกซิโตซิน Oxytocin กระตุนกลามเน้ือมดลูกใหหดตัว เพื่อชวยลดการบีบตัวของมดลูกระหวางการคลอด และใหตัวอสุจิเคลื่อนภายในมดลูก กระตุนการหดตัวของเซลลกลามเนอื้ รอบๆ ตอมนํา้ นม เพอ่ื หล่งั นํา้ นม 3. แอนติไดยูเรติกฮอรโมน ADH (Antidiuretic Hormone) หรือVasopressin กระตุนใหเสนเลือดแดงเล็กๆ หดตัว ทําใหความดันโลหิตสูงข้ึน กระตุนใหทอของ 49

การพฒั นาตนหนวยไตสวนทาย และสวนรวมมีการดูดนํ้ากลับคืน ถารางกายขาด ADH จะปสสาวะมาก ทําใหเกดิ โรคเบาจืด (Diabetes inspidus: DS) 9. ฮอรโมนจากไอสเ ลตออฟแลงเกอรฮานส 1. กลูคากอน Glucagon สรางจากแอลฟาเซลล เปนเซลลขนาดใหญอยภู ายนอก ทาํ หนา ทีเ่ ปลย่ี นไกลโคเจนในตับและกลามเนื้อใหเปน กลโู คสในเลือด 2. อินซูลิน Insulin สรางจากเบตาเซลล เปนเซลลขนาดเล็กอยูภายใน ทําหนาท่ีเปล่ียนกลูโคสในเลือดใหเปนไกลโคเจนในตับ ถาขาดอินซูลินทําใหเกิดโรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) ฮอรโ มนจากตอมหมวกไต 10. ตอมไทมัส สรางฮอรโมน ไทโมซิน ไปอวัยวะเปาหมาย คือเน้ือเย่ือของตอไทมัส ไปกระตุนการสรางเซลลลิมโฟไซทของตอมไทมัส เจริญเต็มที่ตั้งแตทารกยังอยูในครรภมารดาและจะเส่ือมสภาพ และฝอไปเรื่อยๆ ตามอายุตั้งแตเขาสูวัยรุน (สรางเม็ดเลือดขาว แอนติบอด)ี จากท่ีไดกลาวถึงรายละเอียดการทํางานของระบบตาง ๆ ของรางกาย เชนระบบกลามเนื้อ ระบบตอ มไรทอ และระบบประสาทแลว นน้ั จะเหน็ วาการทํางานของท้ังสามระบบมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของมนุษยโดยตรง อยางไรก็ตาม ระบบท้ังสามนั้นจะตองมีการทํางานที่สัมพันธกัน กลาวคือ การที่รางกายจะแสดงพฤติกรรมใด ๆ ไดนั้นจะตองอาศัยระบบกลามเน้ือ ซึ่งจะชวยใหรางกายเกิดการเคล่ือนไหว แตการที่รางกายจะรับรูถึงส่ิงเราตาง ๆ ที่มากระตุนแลวเกิดการส่ังการใหกลามเน้ือหดและคลายตัว เพื่อแสดงปฏิกิริยาตอบสนองตอส่ิงเราไดนั้นจําเปนตองอาศัยระบบประสาทเปนตัวสั่งการ นอกจากนี้ ฮอรโมนที่ถูกผลิตจากตอมไรทอท้ังหลายจะชวยใหการทํางานของรางกายเปนไปตามปกติอีกดวย ดังนั้น จะเห็นไดวาการแสดงพฤติกรรมของมนุษยทง้ั หลายจะเปนเชน ไร สวนหนึ่งจงึ มาจากความสมบูรณหรือความบกพรอ งในการทํางานของระบบทั้งหลาย เพราะฉะน้ันการศึกษาเร่ืองของระบบตาง ๆ ภายในรางกายโดยเฉพาะการทํางานของระบบตอมไรทอ รวมท้ังระบบประสาทดังท่ีไดกลาวมาแลวน้ี จะชวยใหผูศึกษาทางจิตวิทยาเขาใจพฤตกิ รรมและการเปลย่ี นแปลงของพฤตกิ รรมของมนุษยไดดีข้นึ 50

การพฒั นาตนตอนที่ 2.2 ปจ จยั พื้นฐานพฤตกิ รรมมนษุ ยท างจิตวทิ ยา นักจิตวิทยายอมรับกันวากระบวนการทํางานของจิต (Mental Process) น้ันอาศัยหลักการหลาย ๆ อยาง ปจจัยสําคัญอีกปจจัยหนึ่งซ่ึงมีอิทธิพลตอพฤติกรรมมนุษย ไดแก ปจจัยทางจิตวิทยา ซ่ึงมีปจจัยยอยอยูหลายปจจัย ปจจัยทางจิตวิทยาจะทําหนาที่เปนส่ือกลางในการรับรูและตีความส่ิงเรากอนท่ีรางกายจะแสดงพฤติกรรมตาง ๆ ปจจัยทางจิตวิทยาที่สําคัญประกอบดว ย แรงจูงใจและการเรียนรู เรื่องท่ี 2.2.1 แรงจงู ใจ 2.2.1.1 ความหมาย ประเภท แรงผลักดันจากภายในที่ทําใหใหมนุษยเกิดพฤติกรรมตอบสนองอยางมีทิศทางและเปาหมาย เรียกวา แรงจูงใจ คนท่ีมีแรงจูงใจท่ีจะทําพฤติกรรมหนึ่งสูงกวาจะใชความพยายามนํา การกระทําไปสูเปาหมายสูงกวา คนที่มีแรงจูงใจตํ่ากวา แรงจูงใจของมนุษยจําแนกไดเปน 2ประเภท ประเภทแรก ไดแ ก แรงจงู ใจทางกาย ที่ทําใหมนษุ ยแสดงพฤตกิ รรมสนองความตองการ ที่จําเปนทางกาย เชน หาน้าํ และอาหารมาดมื่ กิน เมอ่ื กระหายและหิว ประเภทท่ีสอง ไดแก แรงจูงใจทางจิตซ่ึงเก่ียวของกับความตองการทางสังคม เชน ความตองการความสําเร็จ เงิน คําชม อํานาจกลุมและพวก เปนตน ปจจัยท่ีทําใหเ กดิ แรงจงู ใจในมนษุ ย ประกอบดวย 1) ปจจัยทางชีวภาพ ไดแก ความตองการจําเปนของชีวิต คือ อาหารนํ้า ท่ีอยอู าศัย ความปลอดภยั 2) ปจ จัยทางอารมณ เชน ความตนื่ เตน วิตกกงั วล กลวั โกรธ รกั เกลยี ด 3) ปจจัยทางความคิด เปนปจจัยที่กําหนดใหบุคคลกระทําในเร่ืองท่ีคิดวา เหมาะสมและเปนไปได และตามความคาดหวงั วา ผอู ่นื จะสนองตอบตอการกระทําของตนอยา งไร 4) ปจจัยทางสังคม เปนปจจัยท่ีกําหนดพฤติกรรมของมนุษย เพ่ือใหสอดคลองกบั สงั คม และเปนทีย่ อมรับของบคุ คลในสังคมนั้นดวย การกระทําของผูอื่นและผลกรรมท่ไี ดรับจึงทําใหเ กดิ การเรียนรูพฤติกรรมทางสงั คม ซง่ึ เปนไปกฎระเบียบ และตัวแบบทางสงั คม เรื่องท่ี 2.2.2 ทฤษฎีแรงจงู ใจ นักจิตวิทยาไดพัฒนาทฤษฎีเพ่ืออธิบายถึงแรงจูงใจของมนุษย เพ่ือตอบคําถามเกี่ยวกับพฤติกรรมท่ีปรากฏ แตละทฤษฎีมีจุดที่เปน ความแนวคิด เกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษยท่ีแตกตางกันไป ที่สําคัญไดแก ทฤษฎีสัญชาติญาณ ทฤษฎีแรงขับ ทฤษฎีการตื่นตัวและทฤษฎีสิ่งลอ ใจ 51

การพฒั นาตน 1.2.1.1 ทฤษฎสี ัญชาตญาณ (Instinct Theory) สัญชาตญาณมนุษย (Instinct) คําวา “สัญชาตญาณ” เปนคําท่ีใชกันแพรห ลายในวิชาจติ วทิ ยา แมแ ตในชีวิตประจําวันก็นาํ เอาคําวา สัญชาตญาณมาพูดกันอยูเสมอ ๆสัญชาตญาณ หมายถึง พฤติกรรมของมนุษยท่ีติดตัวมาตั้งแตเกิด ซึ่งมีลักษณะเหมือน ๆ กันในมนุษยทุกผูทุกนาม เกิดขึ้นเองเปนเอง โดยไมมีการฝกฝนหรือเรียนรู วิลเลียม เจมส (WilliamJames) นักจิตวิทยายุคบุกเบิกคนสําคัญของสหรัฐอเมริกา กลาววา มนุษยมีสัญชาตญาณตาง ๆกวา 6,000 ชนิด พฤติกรรมตาง ๆ ของมนุษย เชน การดูด การกิน การยิ้ม ความโกรธ การเดินการเขาสังคม ฯลฯ ลวนแลว แตเกิดจากสญั ชาตญาณทงั้ สน้ิ ดงั น้นั ในระยะนั้นจึงนิยมนําเอา คําวาสญั ชาตญาณไปอธบิ ายพฤติกรรมตาง ๆ ของมนษุ ย เชน การรองไหค ร้ังแรกของเด็กเมื่อคลอดออกจากครรภมารดาก็เปนเพราะสัญชาตญาณ การอยูรวมกันเปนกลุมเปนสังคม เปนหมูคณะก็เปนเพราะสัญชาตญาณของมนุษย อยางไรก็ดี ปจจุบันนี้ความเชื่อตามทฤษฎีสัญชาตญาณไดเส่ือมความนิยมลงไป เพราะมีขอเทจ็ จริงหลายอยา ง สัญชาติญาณ เปนพฤติกรรมที่มนุษยแสดงออกโดยอัตโนมัติตามธรรมชาติของชีวิต เปนความพรอมท่ีจะทําพฤติกรรมไดในทันทีเม่ือปรากฏส่ิงเราเฉพาะตอพฤติกรรมน้ัน สัญชาติญาณ จึงมีความสําคัญตอความอยูรอดของชีวิตในสัตวบางชนิด เชน ปลากัดตัวผูจะแสดงความกาวราว พรอมตอสูทันทีที่เห็นตัวผูตัวอ่ืน สําหรับในมนุษยสัญชาติญาณอาจจะไมแสดงออกมาอยางชัดเจนในสัตวชั้นต่ํา แตบุคคลสามารถรูสึกได เชน ความใกลชิดระหวางชายหญิงทําใหเกิดความตองการทางเพศได พฤติกรรมน้ีไมตองเรียนรู เปนรูปแบบพฤติกรรมที่ตายตัวแนนอน ซ่ึงกําหนดมาตามธรรมชาติ จากปจจัยทางชีวภาพในปจจุบันการศึกษาสัญชาตญาณเปนเพียงตองการศึกษาลักษณะการตอบสนองขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือความเขา ใจพฤติกรรมเบื้องตนเทา นัน้ 2.2.1.2 ทฤษฎีแรงขับ แรงขับ (Drive) เปนกลไกภายในที่รักษาระบบทางสรีระใหคงสภาพสมดุลในเรอื่ งตาง ๆ ไว เพ่ือทําใหรางกายเปนปกติหรืออยูในสภาพ โฮมิโอสแตซิส (Homeostasis)โดยการปรับระบบใหเขากับการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้น ทฤษฎีแรงขับอธิบายวา เม่ือเสียสมดุลในระบบโฮมิโอสแตซิส จะทําใหเกิดความตองการ (Need) ข้ึนเปนความตองการทางชีวภาพ เพ่ือรักษาความคงอยูของชีวติ และความตอ งการน้จี ะทาํ ใหเกิดแรงขับอกี ตอหนึ่ง แรงขับเปน สภาวะตนื่ ตวั ทีพ่ รอมจะทําอยางใดอยางหน่ึง ใหกลับคืนสูสภาพสมดุลเพ่อื ลดแรงขับนน้ั (Drive Reduction) ตัวอยางเชน การขาดน้ําในรางกายจะทําใหเสียสมดุลทางเคมีในเลือด เกิดความตองการเพิ่มนํ้าในรางกาย แรงขับที่เกิดจากความตองการน้ํา คือ 52

การพฒั นาตนความกระหาย จูงใจใหเราด่ืมนํ้าหรือหาน้ํามาดื่ม หลังจากด่ืมสมความตองการแลวแรงขับก็ลดลงกลาวไดวา แรงขับผลักดันใหคนเรามีพฤติกรรมตอบสนองความตองการ เพ่ือทําใหแรงขับลดลงสาํ หรบั ทรี่ า งกายจะไดก ลับสูสภาพสมดลุ อีกครง้ั หน่ึง แรงขับ แบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ แรงขับปฐมภูมิ (PrimaryDrive) และ แรงขับทุติยภูมิ (Secondary Drive) แรงขับที่เกิดจากความตองการพ้ืนฐานทางชีวภาพ เชน ความตองการอาหาร นํ้า ความตองการและแรงขับประเภทน้ี เกิดขึ้นเองโดยไมตองเรียนรู เปนแรงขับ ประเภทปฐมภูมิ สวนแรงขับทุติยภูมิเปนแรงขับท่ีเกิดขึ้นจากการเรียนรู แรงขับประเภทน้ีเม่ือเกิดแลวจะจูงใจคนใหกระทําสิ่งตาง ๆ เพ่ือตอบสนองความตองการอยางไมมีวันส้นิ สดุ เชน คนเรยี นรวู า เงินมีความสัมพันธเช่ือมโยงกับการสนองความตองการอาหาร ท่ีอยูอาศัยและอ่ืน ๆ อีกมาก การไมมีเงิน จึงเปนแรงขับทุติยภูมิสามารถจูงใจใหคนกระทําพฤติกรรมตาง ๆเพ่ือใหไดเงินมาต้ังแตการทํางานหนัก จนถึงการทําส่ิงท่ีผิดกฎหมาย เชน การปลนธนาคาร ปลนรา นทอง ฉกชิงวงิ่ ราวทรพั ย เปน ตน 2.2.1.3 ทฤษฎกี ารตน่ื ตวั ทฤษฎีการตื่นตัว (Arousal Theory) มนุษยถูกจูงใจใหกระทําพฤติกรรมบางอยา ง เพอื่ รกั ษาระดับการตนื่ ตวั ท่ีพอเหมาะ (Optimal level of arousal) เมอ่ื มีระดับการตื่นตัวตํ่าลง ก็จะถูกกระตุนใหเพ่ิมขึ้น และเม่ือการตื่นตัวมีระดับสูงเกินไปก็จะถูกดึงใหลดลงเชน เมอ่ื รสู ึกเบือ่ คน จะแสวงหาการกระทําท่ีตืน่ เตน เมือ่ ต่นื เตนเราใจมานานระยะหนึ่ง จะตองการพักผอน เปนตน คนแตละคนจะมรี ะดับการตนื่ ตัวท่พี อเหมาะแตกตางกนั การต่ืนตัว คือ ระดับการทํางานที่เกิดข้ึนในหลาย ๆ ระบบของรางกาย สามารถวัดระดับการทํางานนี้ไดจากคล่ืนสมอง การเตนของหัวใจ การเกร็งของกลามเน้ือหรือจากสภาวะของอวัยวะตาง ๆ ขณะที่หลับสนิทระดับการต่ืนตัวจะตํ่าท่ีสุด และสูงสุดเมื่อตกใจหรือตื่นเตนสุดขีด การตื่นตัวเพิ่มขึ้นไดจากความหิว กระหายนํ้าหรือแรงขับทางชีวภาพอ่ืน ๆ หรือจากสิ่งเราที่เขมขน รุนแรง เหตุการณไมคาดหวังไวกอน หรือจากสารกระตุนในกาแฟ และยาบางชนดิ การทํางานจะท่ีมีประสิทธิภาพสูง เมื่อมีระดับการต่ืนตัวปานกลางระดับการตื่นตัวที่สูงเกินไปจะรบกวนความใสใจ การรับรู การคิด สมาธิ กลามเน้ือทํางานประสานกันไดยาก เมื่อระดับการต่ืนตัวตํ่า คนเราทํางานท่ียากและมีรายละเอียดไดดี แตถาเปนงานท่งี ายจะทําไดดีเมือ่ ระดบั การตืน่ ตวั สูง คนท่ีมีระดบั การตื่น 53

การพฒั นาตน มีแนวคิดท่ีนาสนใจซ่ึงพูดถึงแรงผลักดันพฤติกรรมของมนุษย 2แนวคิด คือ 1) แนวคิดของซิกมันด ฟรอยด (Sigmund Freud) ปรมาจารยทางจิตวิทยาทานหนึ่งไดเสนอแนวความคิดวา พฤติกรรมของมนุษยเกิดจากแรงผลักดันทางจิต ซ่ึงอยูในรูปของพลังงานท่ีคอยกระตุนหรือผลักดันใหชีวิตดํารงอยูได ซ่ึงเรียกวา สัญชาตญาณการดํารงชีวิต สวนอีกขั้วหน่ึงเปนพลังท่ีผลักดันเพ่ือใหชีวิตดับไป ซ่ึงเปนสัญชาตญาณความตาย และพลังตา ง ๆ จะถูกกระตนุ จากโครงสรางของจิต 3 โครงสราง คือ อิด (Id) อีโก (Ego) และซูเปอรอีโก(Super ego) พลังกระตุนพฤติกรรมตามโครงสรางทั้ง 3 นั้น เกิดจากธรรมชาติมูลฐาน 2 ประการคือ แรงกระตุนทางกามารมณ (Sex drive) และความกาวราว (Aggressive) แรงผลักดันดังกลาวจะมีพลังดุจเดียวกับพลังการไหลของนํ้า หากปดก้ันทางหน่ึงก็จะไหลไปสูอีกทางหน่ึง เชนแรงผลักดันทางเพศ ถาไมไดรับการตอบสนอง เพราะมีการควบคุมไว ก็อาจแสดงออกเปนพฤตกิ รรมเบยี่ งเบน เชน การฝน การจนิ ตนาการ ซ่ึงถอื เปน กลไกการปรับตัวเพ่ือลดความตึงเครียดดังน้ัน อาจกลาวไดวาธรรมชาติของมนุษยตามทัศนะของฟรอยดน้ัน มนุษยเห็นแกตัว มนุษยกา วราว พฤตกิ รรมของมนุษยอ ยภู ายใตอํานาจแรงผลักดนั ทมี่ นุษยไมรตู วั และไมม ีเหตผุ ล 2) แนวคิดของนักจิตวิทยาแนวมนุษยนิยม (Humanist) แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของกลุมมนุษยนิยมเช่ือวา มนุษยไมใชทาสของกามารมณ ความหิว ความกระหาย แตมนุษยเกิดมาพรอมกับศักยภาพของความเปนมนุษยมีความอยากรู มีความคิดสรางสรรค และตองการท่ีจะพัฒนาตนเอง มาสโลว (Abraham Maslow) ไดชื่อวาเปนผูพัฒนาแนวความคิดน้ี มาสโลวเสนอแนวคดิ วามนุษยเกดิ มาพรอมกบั ความตองการ 5 ประการ ซึ่งจะคอยๆ พัฒนาข้ึนจากความตองการข้ันพื้นฐานไปสูความตองการในระดับสูงข้ึนไป ตามสภาพของการไดรับการตอบสนอง ความตองการดงั กลาวจัดเรยี งลาํ ดับ ดงั น้ี - ความตองการทางสรีระ (Physiological Needs) ซ่ึงเปนความตองการพื้นฐานของมนุษย ไดแก ความตองการตอบสนองความหิว ความกระหาย การขบั ถา ย ฯลฯ - ความตองการความปลอดภัย (Safety Needs) ไดแก ความตองการความปลอดภัย เปนความตองการท่ีพัฒนาข้ึนมา เมื่อความตองการทางสรีระไดรับการตอบสนองแลว 54

การพฒั นาตน - ความตองการความรัก (Loving Needs or BelongingNeeds) เปนความตองการยอมรับเปนสวนหน่ึงของกลุม บางคร้ังความตองการน้ีเรียกวา ความตอ งการทางสงั คม (Social Needs) - ความตองการเกียรติยศช่ือเสียง (Esteem Needs) ตองการความภมู ิใจในตัวเองดวยการไดร บั การยกยองชมเชย มีเกียรตยิ ศชอื่ เสียง - ความตองการตระหนักถึงความเปนจริงแหงตน (Self -Actualization Needs) เปนความตองการที่อยากจะใหความปรารถนาสูงสุดในชีวิตของตนเองสมหวัง เพื่อความสุขสมบูรณแหงชีวิต ซึ่งความตองการระดับนี้ถือเปนความตองการสูงสุดของมนุษยเรา แตความสําเร็จนี้จะเกิดขึ้นหรือไดรับการตอบสนองยอมข้ึนอยูกับศักยภาพหรือความสามารถของแตล ะบุคคล เม่ือพิจารณาแนวคิดตามทฤษฎีของมาสโลวแลว จะเห็นไดวาความตองการ คือ พลังผลักดันใหมนุษยตอสูด้ินรนพัฒนาตนเอง มนุษยจะพยายามทําทุกอยางเพ่ือบาํ บัดความตอ งการตามลําดับข้ัน ซ่ึงแตละคนจะมีระดับความตองการมากนอยไมเทากัน จึงมีผลทาํ ใหล ักษณะการแสดงพฤตกิ รรมแตกตางกนั ไป จากปจจัยพ้ืนฐานทางจิตวิทยาที่กลาวมาขางตน ไมวาจะเปนเรื่องสัญชาตญาณก็ดี และเร่ืองแรงผลักดันพฤติกรรมตามแนวคิดตาง ๆ ก็ดี ตางก็จะพยายามอธิบายเพื่อชี้ชัดวา พฤติกรรมของมนุษยนั้นเกิดข้ึนไดอยางไร มีอะไรเปนองคประกอบพ้ืนฐานของพฤติกรรมบา ง เรอื่ งท่ี 2.2.2 การเรยี นรู 2.2.2.1 ความหมายของการเรยี นรู การเรยี นรู (Learning) หมายถงึ ขบวนการทที่ าํ ใหเกดิ พฤติกรรมแปลงไปจาก เดมิ อนั เปน ผลมาจากประสบการณและการฝก ฝนพฤติกรรมดงั กลา ว จะตอ งมีความคงทนถาวรพอสมควร ไมใชพฤติกรรมที่เกิดข้ึนจากวุฒิภาวะ พิษยา หรืออุบัติเหตุตาง ๆ (ทรงพล ภูมิพัฒน, 2540 สอดคลองกับท่ี ลักขณา สริวัฒน (2544) ใหความหมายวา เปนการเปล่ียนแปลงดา นพฤตกิ รรมหรอื การแสดงออกท่มี ีผลมาจากประสบการณห รอื การฝก ดังนั้น การเรียนรูจึง หมายถึง การเปลี่ยนแปลงไปของพฤติกรรมที่คงทนถาวร เกิดจากประสบการณและการฝกฝน ไมใชเกิดขึ้นจากวุฒิภาวะ เชน การขี่จักรยานวายนา้ํ ขบั รถ เปนตน 55

การพัฒนาตน 2.2.2.2 ทฤษฎีการเรียนรู 1.1) ทฤษฎีการเรียนรูแบบวางเง่ือนไข (Conditioning Theories)หมายถึง การเรียนรูที่เกิดเน่ืองมาจาก การตอบสนองของบุคคลที่มีตอสิ่งเราที่เขามามีผลตอตัวบุคคลน้นั มี หลายลกั ษณะทฤษฎกี ารเรียนรูแบบวางเงื่อนไขสามารถแบงไดเ ปน .2 พวก คือ 1) ทฤษฎีการวางเง่ือนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning)เปนการเกิดพฤติกรรมโดยวางเงื่อนไขระหวางพฤติกรรมการตอบสนองตอสิ่งเราสองสิ่ง ส่ิงเราหน่ึงกระตุนใหเกดิ การตอบสนองดวยตัวของมนั เอง สงิ่ เราอกี ส่งิ หนึง่ ไมไ ดกระตนุ ใหเกิดการตอบสนอง เมื่อกระตุนใหเกิดสิ่งเราท้ังสองพรอมกันบอย ๆ แมเกิดเพียงส่ิงเราที่ไมไดกระตุนใหเกิดการตอบสนองมนุษยก็เกิดการตอบสนองขึ้น แสดงวามนุษยเกิดการเรียนรูตามทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคเชน เมื่อดีดน้ิวไปพรอมกับการทําลูกโปงแตกเสียงดัง ใหเด็กเห็นเด็กก็ตกใจ ทําซํ้าอีกหลายๆ คร้ังตอ มา แคดีดนวิ้ ยังไมมีเสยี งลกู โปง แตกเด็กกต็ กใจ ตัวอยางท่ีชัดเจน ไดแก ความกลัว ความขยะแขยง และความตกใจ เชน คนบางคนกลัวแมลงสาปเพราะวา มันเคยบินมาเกาะและขยะแขยง ตอมาแคเห็นตัวแมลงสาปมันไมไดบนิ มา ก็กลวั เพราะเกดิ การวางเง่ือนไขวา แมลงสาปบนิ มาเกาะได และเกิดความขยะแขยงขึ้น 2 ) ท ฤ ษ ฎี ก า ร ว า ง เ งื่ อ น ไ ข แ บ บ ก า ร ก ร ะ ทํ า ( OperantConditioning) เปนการเกิดพฤติกรรม โดยวางเง่ือนไขระหวางพฤติกรรมการตอบสนองตอส่ิงเรากับผลของพฤติกรรมนั้น พฤติกรรมใดท่ีไดรับผลอันเปนที่พึงพอใจหรือเรียกวา การใหรางวัลพฤติกรรมน้ันก็มีแนวโนมท่ีจะเกิดขึ้นอีกในโอกาสตอไป สวนพฤติกรรมท่ีไดรับผลกรรมอันไมเปนท่ีพึงพอใจ หรือเรยี กวา การลงโทษ พฤติกรรมนนั้ ก็มแี นวโนม ทีจ่ ะยตุ ิ ตัวอยางท่ีชดั เจนของทฤษฎกี ารวางเงอื่ นไขแบบการกระทํา คือ การใหรางวัลและการลงโทษ เนื่องจากมนุษยสวนมากแสดงพฤติกรรมที่ใหผลเปนรางวัลและงดแสดงพฤติกรรมท่ีอาจถูกลงโทษ หรืองดพฤติกรรมท่ีไมไดรางวัลและแสดงพฤติกรรมที่หลีกเล่ียงการถูกลงโทษ เชน นักศึกษาตอบคําถามแลวอาจารยใหคะแนนพิเศษ พฤติกรรมการตอบคําถามก็จะเพ่ิมข้ึนหรือถานักเรียนมาเรียนสายแลวอาจารยหักคะแนน พฤติกรรมมาสายก็จะลดลงนั่นคือนักศกึ ษาเกิดการเรยี นรูตามทฤษฎีการวางเงอ่ื นไขแบบการกระทาํ 1.2 ทฤษฎีการเรียนรูแบบเชื่อมโยง (Connectionism Theory) มีหลักการเรียนรูที่สําคัญคือ การลองผิดลองถูก ซ่ึงจะนําไปใชอีกเม่ือเผชิญกับส่ิงเราเดิม ซ่ึงการเรียนรูแบบเช่ือมโยง คือ การที่ผูเรียนสามารถสรางความสัมพันธเช่ือมโยงระหวางส่ิงเราและการตอบสนอง และเมื่อตอบสนองไดดขี ้นึ กแ็ สดงวาเกิดการเรียนรูข้ึน ตัวอยาง คือ การกระทําท่ีในครั้ง 56

การพัฒนาตนแรกลองผดิ ลองถกู จนสําเรจ็ เมอ่ื ทําซํ้าอีกคร้ัง ก็จะเกิดการเรียนรูจนทําใหสําเร็จไดเร็วข้ึน เชน ลองเขา ไปเลนเกมสเขาวงกต และลองหาทางออกจนสาํ เรจ็ เมื่อไดเขาไปเลนอีกคร้ังก็หาทางออกไดเร็วขนึ้ แสดงเกดิ การเรียนรแู บบสรางความสมั พันธเช่ือมโยง 1.3 ทฤษฎีการเรียนรูดวยการหยั่งรู (Insight Learning) เปนพฤติกรรมที่เกิดข้ึนในสัตวช้ันสูงเน่ืองจาก มีความซับซอนในดานการคิดและการแกปญหา เพื่อใหเกดิ ผลลพั ธทต่ี อ งการ สามารถแกป ญ หาไดโดยไมตองลองผดิ ลองถูก แตใชประสบการณเดิมที่เคยมมี ากอนแลว เมือ่ เผชิญกับปญหาทค่ี ลายคลงึ กันก็จะสามารถแกป ญหาไดทันที 1.4 ทฤษฎีการเรียนรูทางสังคม (Social Learning Theory) มีความเชื่อวา โดยสวนมากมนุษยเรียนรูโดยการสังเกตตัวแบบหรือการเลียนแบบ เฉพาะท่ีตัวแบบไดรับการเสริมแรงเปนรางวัล โดยไมจําเปนตองทําตามตัวแบบในทันที แตอาจจะจํา ไวไปคิดหรือทดสอบดูกอน สําหรับการท่ีไดสังเกตตัวแบบเปนเวลานาน เชน ลูกที่มีพอแมเปนตัวแบบ จะเลียนแบบทําตามอยางพอแมโดยไมรูตัว เพราะการเรียนรูแบบนี้จะแฝงอยูในความคิดกอนที่จะแสดงออกมาใหเ ห็นอยางเดน ชัด พฤติกรรมของบุคคลหลายอยางเกิดจากการกระทํา ตามตัวแบบท่เี ขานิยมชมชอบ 1.5 กลุมทฤษฎีมนุษยนิยม (Humanism) มีความเช่ือวามนุษยมีศักยภาพตามธรรมชาติที่จะเรียนรู และการเรียนรูจะไดผลดีหากการเรียนรูนั้น มีความหมาย หรือเปนส่ิงที่ผูเรียนสนใจอยากรูอยางแทจริง และเนนเร่ืองการเรียนรูเปนการพัฒนาตนเอง โดยเชื่อวามนุษยทุกคนโดยกําเนิดทุกคนตองการกระทําดี ตองการพัฒนาศักยภาพของตนไปจนเจริญสูงสุดซ่งึ การเรียนรูจะไดผลดหี ากผูเรียนมคี วามเปน อิสระ ปราศจากสง่ิ รบกวน ขม ขหู รือขดั ขวางตอนที่ 2.3 ปจ จยั พ้นื ฐานของพฤตกิ รรมมนษุ ยทางสังคมวิทยา เรื่องที่ 2.3.1 ลักษณะทางสังคม ลกั ษณะทางสงั คม หมายถึง ส่งิ แวดลอมทางสงั คมท่ีบุคคลประสบอยูจากอดีตสูปจจุบนั ซึ่งอาจบีบค้ัน ยับย้ังหรือเอ้ืออํานวยใหบุคคลแสดงพฤติกรรมอยางใดอยางหนึ่ง (ทิพยสุดาจันทรแจมหลา. 2544 : 19) ซ่ึงส่ิงแวดลอมของเด็ก ประกอบดวย พอ แม พ่ีนอง ครูอาจารยกลุมเพ่ือน สื่อตาง ๆ เปนตน ซ่ึงเด็กจะเกิดการเรียนรูลักษณะทางสังคม รูปแบบพฤติกรรมตาง ๆ ท่ีเด็กพบจะคอย ๆ ซึมซับเขาไวในรูปแบบของความเชื่อ คานิยม เจตคติซ่ึงสงผลใหเกิดเปนแนวทางในการแสดงพฤติกรรมของตน โดยกระบวนการเรียนรูนี้อาจเรียกไดวา เปนกระบวนการถายทอดทาง 57

การพฒั นาตนสังคม ซึ่งเปนกระบวนการเกิดข้ึนตลอดชีวิต ตอเน่ืองและมีความสัมพันธกับข้ันตอนของชีวิต(ออ มเดือน สดมณี. 2543 : 19 ;อางอิงจาก Stryker. 1990) นักจิตวิทยาและนักสังคมวิทยาถือวาการเปนคนโดยสมบูรณข้ึนอยูกับการไดมีโอกาสติดตอสัมพันธกับผูอื่น การติดตอสื่อสารสัมพันธกับคนอื่นของมนุษยมีมาตั้งแตแรกเกิดเริ่มตนจากพอแม ญาติพ่ีนอง เพ่ือนฝูง และคนอื่น ๆ ในสังคม ดังนั้น พฤติกรรมของบุคคลจึงถูกกําหนดจากพื้นฐานทางครอบครัว แลวคอย ๆ แปรเปล่ียนไปในทิศทางตามที่สังคมตองการ ทั้งนี้เปนไปเพ่ือประโยชนของตนเองใหมากที่สุด ประสบการณตาง ๆ ทางสังคมจึงเปนสิ่งกําหนดพฤติกรรมและบุคลกิ ภาพของบคุ คลโครงสรางทางสังคมและประสบการณทางสังคมที่แตกตางกันยอมทําใหบุคคลมีลักษณะบุคลิกภาพและพฤติกรรมแตกตางกัน เชน คนไทยจะมีลักษณะพฤติกรรม และบุคลิกภาพแตกตางไปจากคนในสังคมตะวันตกโดยส้ินเชิง หรือเด็กในสังคมเดียวกันที่ถูกพอแม กักขัง ทําโทษดุดาวากลาวเสมอ ๆ ยอมมีบุคลิกภาพแตกตางไปจากเด็ก ๆ ท่ีพอ แมเ ลยี้ งดูดว ยความรกั และความอบอนุ ในการอยูรวมกับสังคมนั้น ทุกคนตองมีความตระหนักถึงธรรมชาติพ้ืนฐานทางสังคมวิทยาที่วา “มนุษยเปนสัตวสังคม” ดังนั้น กระบวนการอบรมเลี้ยงดูของพอแมหรือการจัดกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ตองมุงฝกฝนใหนักเรียนเรียนรูการที่อยูรวมกับผูอ่ืนและทํางานรวมกับผอู ืน่ ในสังคม เชน ใหท าํ กิจกรรมกลุม การใหความรวมมือกับกลุม การยอมรับนับถือผูอื่น การเปนผูนําและผูตาม ตลอดจนลักษณะนิสัยและมารยาททางสังคมท่ัว ๆ ไป ตองจัดใหเด็กเรียนรูควบคูกันไปดวย บุคคลบางคนอาจจะปรับตัวเขากับเพื่อน ๆ ไดยาก พูดนอย เก็บความรูสึกหรือปลีกตัวหนีสังคม ขณะที่บางคนชอบพูดคุยเสียงดังสนุกสนานเฮฮา นิสัยทางสังคมดังกลาวลวนแตมีความสัมพันธกับประสบการณพ้ืนฐานทางสังคมจากครอบครัวทั้งสิ้น บุคคลท่ีมีประสบการณพื้นฐานในวัยเด็กดี ก็จะมีบุคลิกภาพและนิสัยทางสังคมดี มองโลกในแงดี มีความเปนมิตร เห็นคุณคาของคนอ่ืน และพรอมที่จะเปนสมาชิกที่ดีของสังคม แตเด็กท่ีมีพ้ืนฐานครอบครัวไมดี ถูกทอดทิ้ง เชน เด็ก ๆ ตามสถานสงเคราะหทั่วไป ก็มักจะมองโลกในแงราย ไมมีความเปนมิตรหวาดระแวงผูอ่ืน อาจมีความรูสึกอิจฉาริษยา เคียดแคน ชิงชังผูอื่น ซึ่งนับวาเปนอุปสรรคตอการปรับตัวทางสังคม พฤติกรรมทางสังคมและลักษณะนิสัยทางสังคมของบุคคลแตละคนยอมแตกตางกันไป ใครท่ีรูตัววามีลักษณะนิสัยที่ไมดีไมเหมาะสม จึงตองคอยกําชับดูแลและหาทางปรับเปล่ียนพฤติกรรมและนิสัยนั้น ๆ ใหได เพราะถาขืนปลอยไวใหยาวนานตอไปอาจจะกลายไปเปนผูใ หญท่มี ีลักษณะนิสัยทางสงั คมที่ไมดี จนอาจสรา งปญหาใหก ับตนเองหรอื สงั คมในอนาคต 58

การพัฒนาตน มีความเชื่อเบ้ืองตนหลายประการเกี่ยวกับมนุษยกับสังคมที่ถกเถียงกันมานานแลว ต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบันก็ยังไมมีขอสรุปโดยสมบูรณ เชน โดยสัญชาตญาณแลวมนุษยเปนสัตวสังคมจริงหรือความสัมพันธระหวางบิดามารดากับบุตรเกิดจากสัญชาตญาณ หรือการเรียนรูกันแน มนุษยเกิดมามีสัญชาตญาณเห็นแกตัวจริงหรือ เพ่ือความเขาใจชัดเจนในประเด็นตาง ๆ ที่เกี่ยวกับความเช่ือเบื้องตนและพฤติกรรมของมนุษย โดยเฉพาะในสวนท่ีเปนพฤติกรรมทางสังคมจงึ ควรทาํ ความเขา ใจแนวความคิดพนื้ ฐานทอ่ี ธิบายพฤตกิ รรมของมนษุ ยก บั สังคมท่นี าสนใจ คือ 2.3.1.1 ทฤษฎมี นุษยก บั สังคมของโธมัส ฮอบส โธมัส ฮอบส (Thomas Hobbes, 1588 - 1679) เปนนักปรัชญาชาวอังกฤษ ไดเสนอทฤษฎีเพ่ืออธิบายพฤติกรรมของมนุษยกับสังคม โดยมีความเช่ือวา มนุษยทุกคนทําสิ่งตางๆ เพื่อผลประโยชนของตนเองทั้งสิ้น การรวมตัวกันทางสังคม การสรางกฎเกณฑและกฎหมายบา นเมอื งท่ีควบคุมและชีน้ ําพฤตกิ รรมของคนในสังคมก็เพื่อตอบสนองความตองการของแตละบุคคลทั้งสิ้น หากจะถามฮอบสวา เมื่อเปนเชนนี้ทําไมมนุษยจึงชวยเหลือกันและกัน เห็นอกเหน็ ใจซงึ่ กันและกัน ฮอบสก็จะตอบวา ถา หากพิจารณาใหลึกซ้งึ แลว การชวยเหลือคนอื่นก็เปนการชวยเหลือตนเองทางออม การชวยเหลือคนอ่ืนเปนเพียงการลงทุน เพื่อใหคนอ่ืนชวยเหลือตนเอง(สุจติ บญุ บงการ 2521 : 33) ดังนนั้ แนวทศั นะของฮอบสจงึ จดั อยใู นกลุมแนวความเชื่อวา “มนุษยมีความเหน็ แกตวั ” 2.3.1.2 ทฤษฎีมุง สัมพันธ ทฤษฎีน้ีอธิบายใหเห็นวาความสัมพันธหรือความผูกพันกันระหวางบุคคลเปนธรรมชาติทางสังคมอยางหนึ่งของมนุษย ความสัมพันธระหวางมารดากับทารกเปนจุดเริ่มตนของพฤติกรรมมุงสัมพันธของมนุษย แตพฤติกรรมมุงสัมพันธในวัยผูใหญมีองคประกอบท่ีซับซอนมากกวาในวันเด็ก นักจิตวิทยาบางคนไดอธิบายใหเห็นวาพฤติกรรมมุงสัมพันธเปนสญั ชาตญาณอยางหน่ึงของมนุษย วิลเลียม แมกดูแกล (William McDougall) เชอ่ื วา การอยรู ว มกนั และมีความสัมพันธกันเปนสัญชาตญาณของมนุษย เหมือนกับนกสรางรัง ซ่ึงพฤติกรรมน้ีเปนธรรมชาติเหมือนกับทารกดูดนมมารดา มิใชทําไปเพราะคํานึงถึงผลประโยชน มนุษยเกิดมาพรอมกับคุณลักษณะหลายประการ ซ่ึงกําหนดโดยองคประกอบทางพันธุกรรม และเปนที่เขาใจวาคุณลักษณะอยางหน่ึงน้ัน คือ แนวโนมอยากมีเพื่อนหรืออยูรวมกันเพื่อนมนุษย ถาหากแนวคิดนี้เปนจริงเราก็พอจะคาดคะเนไดวาเด็กที่ถูกแยกไปเล้ียงไวตางหากโดยขาดการกระตุนจากส่ิงแวดลอม มีแนวโนมที่จะแสดงพฤติกรรมมุงสัมพันธทันทีที่เด็กมีโอกาส โดยไมจําเปนวา จะมีประสบการณในการอยูรวมกับคนอ่ืนมากอนหรือไม มีการทดลองของนักจิตวิทยาท่ีนาสนใจเพ่ือ 59

การพฒั นาตนศึกษาอิทธิพลของการตอบสนองความตองการกับความอบอุนจากการสัมผัสของแม สิ่งไหนจะมีอิทธิพลตอความรัก ความสัมพันธมากกวากัน ซึ่งฮารโลว (Harlow, 1958) ไดทดลองโดยใชลูกลิงเปนตัวทดลอง ฮารโ ลวไดสรา งแมลงิ เทยี ม 2 ตวั ตัวหนึง่ ทาํ ดวยโครงลวดแตมีขวดใหน มแกล ูกลงิ ไดสวนแมอีกตัวหนึ่งหอหุมดวยผาขนหนูใหความอบอุนแกลูกลิงไดแตไมมีนมใหลูกลิง เขาปลอยใหลูกลิงอยูกับแมท้ัง 2 ตัวในกรงเดียวกัน แลวคอยสังเกตดูพฤติกรรมของลูกลิงวาจะใชเวลาคลุกคลีอยูกับแมตัวไหนมากท่ีสุด โดยทฤษฎีการเรียนรูแลวนาจะทํานายพฤติกรรมของลูกลิงไดวา ลูกลิงนาจะคลุกคลีอยูกับแมท่ีทําดวยลวดมากกวา เพราะสามารถตอบสนองความตองการพ้ืนฐาน คือความหิวได เปนการเรียนรูโดยการเช่ือมโยงความสัมพันธระหวางแมที่ทําดวยโครงลวดกับความพอใจจากการลดแรงขับพื้นฐาน แตผลจากการศึกษากลับปรากฏวา ในชวง 165 วัน ลูกลิงจะใชเวลาสวนมากคลุกคลีอยูกับแมที่ทําดวยผาขนหนูมากกวา ลูกลิงจะใชเวลาอยูกับแมโครงลวดเฉพาะเวลาด่ืมนมเทาน้ัน แมในเวลาที่ตกใจกลัวลูกลิงก็จะวิ่งไปกอดรัดแมที่ทําดวยผาขนหนู นั่นแสดงวาความตองการสัมผัสนาจะกระตุนการตอบสนองมุงสัมพันธไดมากกวาความตองการลดความหวิ แตอยางไรก็ตาม ผลการทดลองของ Harlow ก็ไมไดอธิบายวาสําหรับมนุษยแลว ความผูกพันทางสังคมเรียนรูไดอยางไร การคลุกคลีกับแมท่ีทําดวยผาขนหนูของลูกลิงเปนจุดเริ่มตนของการสรางความผูกพัน หรือเปนเพียงแรงขับที่ตองการสัมผัสที่อบอุนก็ยังเปนที่ถกเถยี งวจิ ารณก ันอยู จากการทดลองของฮารโลวน้ัน ส่ิงท่ีทุกคนควรตระหนักและใหความสนใจก็คือ เราจะสรางความผูกพันหรือสรางความสัมพันธกับผูอ่ืนอยางไร จะทําอยางไรจึงจะทําใหผูอื่นอยากเขาหาใกลชิด หรือมีความสัมพันธที่ดีกับตัวเรา จึงจําเปนอยางยิ่งที่ทุก ๆ คนควรเสริมสรางบุคลกิ ภาพทดี่ ใี หก ับตวั เอง ถาเราเปนที่มีจิตใจที่ดีงาม มีความรัก ความปรารถนาดี เปนกันเอง ยิ้มแยมแจมใส มีความเปนมิตร ก็ยอมทําใหผูที่พบเห็นอยากมีความใกลชิดผูกพันดวย เพราะอยูใกลแลว สบายใจมคี วามสขุ แตถ า ในทางตรงกนั ขา ม เราเปนคนที่มบี คุ ลกิ ภาพทไ่ี มดี เครง เครยี ด พดู จาไมเ พราะ มองโลกในแงราย หวาดระแวง จับผิดคิดรายผูอื่น ก็จะทําใหไมมีใครอยากคบหาสมาคมดว ย 2.3.1.3 วฒั นธรรมกบั พฤตกิ รรม เนื่องจากวามนุษยเปนสัตวสังคม ดังนั้น พฤติกรรมของมนุษยยอมมีสาเหตุมาจากสภาพแวดลอมทางสังคม และพฤติกรรมของแตละคนในสังคมยอมมีผลกระทบตอบุคคลอื่นในสังคมดวย การศึกษาพฤติกรรมของมนุษยจึงนาจะตองทําความเขาใจเรื่อง 60

การพฒั นาตนความสัมพันธระหวางมนุษยดวยกัน และองคประกอบทางสังคมที่เปนตัวกําหนดขอบเขตของพฤตกิ รรมมนุษยในสงั คม กค็ ือวฒั นธรรมและกระบวนการสงั คมประกติ 1) วัฒนธรรม (Culture) คือ ผลิตผลท่ีมนุษยสรางขึ้นเพ่ือตอบสนองความตอ งการของมนุษยใ นสงั คม ผลิตผลดังกลาวอาจเปนวัตถุสิ่งของพฤติกรรมหรือแนวความคิดก็ได บางคร้ังวัตถุสิ่งของพฤติกรรมหรือแนวคิดเหลานั้นอาจถูกเรียกรวม ๆ กันวาระบบ ฉะน้ันวัฒนธรรมก็คือ ระบบในสังคมมนษุ ยท ีม่ นษุ ยส รางขนึ้ ไมใชร ะบบทเ่ี กิดขนึ้ ตามสญั ชาตญาณ (สุจติบุญบงการ 2521 : 74) เมือ่ มนุษยอยูรวมกันเปนกลุม ถาตางคนตางยึดถือระบบของตน ยอมกอใหเกิดความวุนวาย มนุษยท่ีอยูในสังคมเดียวกันจึงทําความตกลงกันวาจะยึดระบบไหนดีพฤติกรรมใดบางท่ีควรปฏิบัติและมีความหมายอยางไร ขอตกลงตาง ๆ ดังกลาวก็จะกลายเปนแบบแผนแหงพฤติกรรมและการแปลความหมายใหกับสิ่งตาง ๆ ในสังคม เพ่ือวาคนในสังคมจะไดเขาใจตรงกันและยึดระบบเดียวกัน ระบบท่ีถูกกําหนดและยอมรับรวมกันของแตละสังคมก็คือวัฒนธรรมของสงั คมนัน่ เอง ดังนัน้ จงึ เหน็ ไดวาวฒั นธรรมเปนสงิ่ ท่ีจาํ เปน ของสงั คมมนษุ ย เปน สิ่งท่ีมีบทบาทตอการปลูกฝงเจตคติ คานิยม ความเช่ือและความรูตาง ๆ อันเปนองคประกอบทางบุคลกิ ภาพของบุคคล ดังจะเหน็ ไดจ ากคนไทยเราซ่ึงจะมคี านยิ ม ความเชื่อและบุคลิกภาพแตกตางไปจากชาวตะวนั ตก เชน คา นยิ มในการเลย้ี งดบู ตุ ร การเคารพนับถอื ผูอาวโุ ส การแตงกาย สังคมไทยมีคานิยมเล้ียงดูในลักษณะใหพึ่งพาบิดามารดาหรือสังคมเด็กจะตองเชอ่ื ฟง อยูใ นโอวาทเปน คนวา นอนสอนงา ย แตในสงั คมตะวนั ตกจะมีคานิยมในลักษณะใหเ ด็กเปนตัวของตวั เอง มีอสิ ระ พอแมไมเ ขา ไปยุง เกย่ี วควบคมุ ที่เปน เชนนี้เพราะระบบวัฒนธรรมของสังคมไทยแตกตางไปจากลักษณะวัฒนธรรมของชาวตะวันตกนั่นเองในชั้นเรียนครูผูสอนอาจรวมกับนักเรียนกําหนดระบบหรือกฎเกณฑบางประการข้ึนมา เพ่ือเปนส่ิงควบคุมพฤติกรรมของนักเรียนในชั้น ซึ่งอาจเปนพฤติกรรมการเรียน เชน การทําการบาน การสงแบบฝกหัด การวัดผลประเมินผลการเรียน หรืออาจจะเปนกฎเกณฑเพื่อควบคุมวินัย และความประพฤติท่ัวไปของนักเรียน รวมทั้งการแตงกายตาง ๆ ดวย ขอตกลงที่กําหนดขึ้นมา ดังกลาวนี้ ถือเปนเงื่อนไขของสังคมเสมือนหน่ึงวัฒนธรรมของกลุม ซึ่งสมาชิกทุกคนตองประพฤติปฏิบัติตาม การมีกฎเกณฑและวัฒนธรรมนี้เองทําใหมนุษยมีความแตกตางจากบรรดาสัตวเดรัจฉานทั้งหลาย ทําใหรูจักควบคุมพฤตกิ รรมของตน รูวา ควรแสดงพฤตกิ รรมใดในสถานการณเ ชนใด พฤตกิ รรมชนิดใดสังคมไมยอมรบั และควรหลกี เล่ียง 61

การพฒั นาตน 2) กระบวนการสังคมประกิต (Socialization) เปนกระบวนการจัดการศึกษาอบรมใหกับคนท่ีจะมาเปนสมาชิกใหมของสังคม เพื่อชวยเตรียมใหสมาชิกใหมน้ันสามารถมีชีวิตอยูมีชีวิตอยูรวมกับสังคมได ใหเรียนรูแบบแผนความประพฤติ ความเชื่อ บรรทัดฐานของสังคม เชน บิดามารดาสอนใหบุตรของตนเรียนรูการกิน การอยู การพูด มารยาทและการปฏิบัติตนตามขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคม การใหการศึกษาอบรมดังกลาวน้ีเรียกวา“กระบวนการสงั คมประกติ ” กระบวนการสังคมประกิตเปนการศึกษาที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องตลอดเวลาและตลอดชวงชีวิตของบุคคล โดยผานสถาบันทางสังคมหลายสถาบันรวมกัน ไดแกครอบครัว สถาบันศาสนา สถานศึกษา และส่ือมวลชนตาง ๆ สวนวิธีการศึกษาอบรมในสถาบันตาง ๆ กจ็ ะแตกตางกันไป มกี ารสอนใหเรียนรโู ดยตรง มกี ารควบคมุ พฤตกิ รรมดวยการทําโทษ การชใ้ี หเ หน็ ถงึ ความแตกตา ง หรอื การเปน ตวั แบบเพือ่ ใหประพฤตปิ ฏบิ ัตติ ามตอนท่ี 2.4 ปจ จยั พื้นฐานพฤตกิ รรมมนษุ ยทางจรยิ ธรรม เรอ่ื งที่ 2.4.1 ปจ จยั ทางจรยิ ธรรมและการเรียนรู Hoffman (1979) ไดใหความหมายโดยคํานึงถึงพฤติกรรมหรือการกระทําของบุคคล ซ่ึง จริยธรรมโดยทั่วๆ ไปจะประกอบดวยองคประกอบ 3 ประการ คือ ความคิดทางจริยธรรม (Moral Thought) ความรูสึกทางจริยธรรม (Moral Feeling) และพฤติกรรมจริยธรรม(Moral Behavior) ดวงเดือน พันธุมนาวิน (2538) ไดใหความหมายของพฤติกรรมจริยธรรมไววาหมายถึง ลักษณะทางสังคมหลายลักษณะของมนุษย และมีขอบเขตรวมถึงพฤติกรรมทางสังคมประเภท ตางๆ ดวย ลักษณะพฤติกรรมท่ีเก่ียวของกับจริยธรรมจะมีคุณสมบัติประเภทใดประเภทหนึ่งใน สองประเภท คือ เปนลักษณะท่ีสังคมตองการใหมีอยูในสังคมนั้น คือ พฤติกรรมที่สังคมนิยม ชมชอบ ใหการสนับสนุน และลักษณะที่สังคมไมตองการใหมีอยูในสมาชิกของสังคม เปนการกระทําที่สังคมลงโทษ หรือพยายามกําจัดและผูกระทําพฤติกรรมนั้นสวนมากรูสึกวาเปนส่ิงท่ีไม ถูกตองและไมสมควร ฉะน้ัน ผูมีจริยธรรมสูง คือ ผูท่ีมีลักษณะและพฤติกรรมประเภทแรกมากและประเภทหลังนอ ย บุญมี แทนแกว (2539) ไดกลาวถึง หลักจริยธรรมในการดําเนินชีวิตหรือเชิงพฤติกรรมไววา คือ หลักในการประพฤติท่ีถูกตองจึงจะมีความสุข เพราะความสุขเปนส่ิงท่ีมนุษยปรารถนาอันเปนผล แตจะเกิดผลไดตองมีหลักการที่ตองปฏิบัติในพระพุทธศาสนา คฤหัสถหรือ 62

การพฒั นาตนชาวบานจะมีความสุขไดตองพยายามปฏิบัติตามหลักเบญจศีลเบญจธรรมอันเปนธรรมท่ีทําใหบคุ คลเปน มนุษยส มบรู ณ เพราะผปู ฏิบตั ิตามเบญจศีลเบญจธรรม เรียกวา เปนผูมีมนุษยธรรม คือธรรมที่ทาํ บคุ คลใหเปน มนษุ ยสมบรู ณไ ด มอริส บิกกี (Morris Bigge 1976) ไดกลาวถึง ธรรมชาติของมนุษยโดยคํานึงถึงในแงของจริยธรรม (Moral) และการกระทํา (Action) ควบคูกัน ซึ่งธรรมชาติทางจริยธรรมและการกระทําของมนุษยจะมีความสัมพันธกันและมีความเกี่ยวของกับการเรียนรู Bigge ไดจําแนกธรรมชาตทิ างจรยิ ธรรมและการกระทาํ ไว ดงั น้ี (Bigge. 1976 : 17-18) 2.4.1.1 ธรรมชาติพื้นฐานทางจริยธรรม ธรรมชาติพื้นฐานทางการกระทํา(Basic Moral Nature) (Basic Action Nature) Bad (เลว) Active (เปนผูกระทํา) Good (ดี)Passive (เปนผูรบั การกระทาํ ) พนื้ ฐานทางจริยธรรมแบงออกเปน 3 ลกั ษณะ คือ 1. มนุษยเ กดิ มาพรอมกับความไมดี (innately bad) 2. มนุษยเกิดมาพรอมกบั ความดี (innately good) 3. มนุษยเกิดมามีลักษณะกลาง ๆ ไมดีไมเลว (innately neutralneither good nor bad) พ้ืนฐานทางการกระทาํ ของมนษุ ย แบงออกเปน 3 ลกั ษณะ คอื 1. ลักษณะ Active นักจิตวิทยามีความเห็นวา การกระทําตาง ๆ ของมนุษยธรรมชาติภายในอินทรียเปนตัวกระตุน ถาในแงของการเรียนรู เด็กจะตองมีความตองการที่จะเรียนรู สํารวจส่ิงตาง ๆ เอง โดยแรงกระตุนภายในจะผลักดันอินทรียใหแสดงพฤติกรรมตาง ๆออกมา 2. ลักษณะ Passive อธิบายวามนุษยเปนผลผลิตของส่ิงแวดลอมการกระทําตาง ๆ ของมนุษยถูกกําหนดโดยเงื่อนไขของสิ่งแวดลอม พฤติกรรมท้ังหลายจึงเกิดจากอทิ ธพิ ลของสิ่งแวดลอมมิใชจ ากแรงผลกั ดนั ภายในแตอ ยางใด 3. ลักษณะ Interactive ลักษณะน้ีอธิบายธรรมชาติของพฤติกรรมมนษุ ยว า เปน ปฏิกริ ยิ าโตตอบระหวา งความตอ งการภายในตัวบุคคลและสภาพแวดลอม การแสดงพฤติกรรมของมนุษยไดรับอิทธิพลจากทั้งความตองการภายในตัวบุคคลและสภาพแวดลอมประกอบกนั จากธรรมชาติพ้นื ฐานทางจรยิ ธรรมและการกระทํา เม่ือนํามาพิจารณารวมกันในแงของการเรียนรูจะไดลักษณะพฤติกรรมการเรียนรู 5 ลักษณะ คือ 63

การพฒั นาตน ลกั ษณะที่ 1 Bad - active โดยธรรมชาติเด็กเกดิ มาพรอมกบั ความไมด ีถาปลอยไวต ามลําพงั ความไมดีก็จะปรากฏออกมา จึงจําเปนตองจัดการศึกษาอบรมใหเด็กไดเรียนรูเพ่อื ชว ยใหเ ด็กเปน คนดี อาจใชก ารลงโทษเฆย่ี นตี ประกอบดวย เพ่อื ควบคุมความไมดีเอาไว ลักษณะที่ 2 Good - active โดยธรรมชาติเด็กเกิดมาพรอมกับความดีทุกส่ิงทุกอยางที่เก่ียวของกับเด็กจะดีหมด จึงไมจําเปนตองเขาไปยุงเก่ียวจัดการศึกษาอบรมแตอยางไรปลอยใหเด็กมีอสิ ระตามธรรมชาตขิ องเด็ก ลักษณะท่ี 3 Neutral - active โดยธรรมชาติของเด็กแลวไมมีความดีและความเลว แตเด็กพรอมท่ีจะกระทําส่ิงตาง ๆ ตามความตองการ หนาที่ของครูจึงเปนเพียงคอยอบรมใหเดก็ ไดเ รยี นรูใหดที สี่ ุด ลักษณะที่ 4 Neutral - passive กลุมน้ีมีความเห็นวาเด็กเกิดมาพรอมกับความกลาง ๆ ไมดีไมเลว แตพรอมท่ีจะเรียนรูรับการฝกอบรมสั่งสอนถาจัดประสบการณตาง ๆ ให ถือวาส่ิงแวดลอมมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของบุคคล การจัดการเรียนการสอนจึงเปนหนา ทค่ี วามรับผิดชอบของครูโดยตรงทจ่ี ะตอ งชวยเหลอื แนะนํา ลักษณะท่ี 5 Neutral - interactive กลุมน้ีมีความเห็นวา ธรรมชาติของเด็กไมมีทั้งความดีและความเลว แตการกระทําตาง ๆ ไดรับอิทธิพลมาจากทั้งความตองการของอินทรียเองและจากสิ่งแวดลอม ดังน้ัน การจัดการเรียนการสอนครูตองใหโอกาสเด็กไดศึกษาคน ควา ดวยตนเอง โดยครูคอยแนะนําชว ยเหลือเมอ่ื มีปญหา และคอยจัดประสบการณท่ีเหมาะสมใหเ ด็ก 2.4.1.2 ความหมายของจรยิ ธรรม จรยิ ธรรมเปน สิ่งท่ีสงั คมกําหนดขน้ึ มาวา อยากจะใหสมาชกิ ของสังคมมีพฤติกรรมที่สังคมนิยมชมชอบอยูในตัว และลักษณะใดท่ีสังคมไมนิยมก็ไมอยากใหสมาชิกมีอยูในตัว จริยธรรมแบง ไดเ ปน ๔ ดา น (ดวงเดือน พันธมุ นาวนิ และเพ็ญแข ประจนปจจนึก (2520 : 4-6)คอื 1. ความรูเชิงจริยธรรม หมายถึง ความรูวาอะไรดีอะไรชั่วภายในสังคมของตน แตความรูวาอะไรดีอะไรช่ัวน้ียังเปนขอสรุปวา คนจะตองทําตามท่ีตนเองรูเสมอไปเชนรูวา คอรปั ชัน่ เปน ส่งิ เลว ก็ไมแ นว า จะไมค อรปั ชน่ั 2. ทศั นคตเิ ชงิ จริยธรรม คือ ความรูสึกของบุคคลท่ีมีตอส่ิงถูกส่ิงผิดในสงั คมวา ชอบหรอื ไมช อบ ทศั นคติมลี ักษณะจงู ใจใหคนทาํ พฤติกรรมตามทศั นคตคิ อ นขางมาก 64

การพฒั นาตน 3. เหตุผลเชงิ จรยิ ธรรม หมายถึง การใชเหตุผลท่ีบุคคลใชเลือกท่ีจะทํา หรือไมเลือกที่จะทําอยางใดอยางหน่ึง ตัวอยางเชน ถาเด็กคนจนตองขโมยเงินมาซ้ือยาใหแมท่ีเจ็บปวยอยูเด็กจะใหเหตุผลวาเขาทําอยางน้ันถูกแลวเพราะเขาตองมีความกตัญู จริยธรรมเร่ืองความซ่อื สตั ยต อ งเปนรองเพราะเขาเปน คนจน 4. พฤติกรรมเชิงจริยธรรม เปน พฤติกรรมที่คนแสดงออกมาตามท่ีสังคมนิยมชื่นชอบ หรืองดเวนการแสดงพฤติกรรมท่ีฝาฝนกฎเกณฑของสังคม เชนการใหทานนอกจากนนั้ ยงั หมายถึงพฤติกรรมทแี่ สดงออกในสภาพการณทย่ี ่วั ยุ เปยเจท และ โคลเบิรก เชื่อวา พัฒนาการทางสติปญญาและอารมณเปนรากฐานของพัฒนาการทางจริยธรรมหมายความวา บุคคลจะพัฒนาจริยธรรมไดมากนอยเพียงไรข้นึ อยูก บั วาเขามคี วามเขาใจมากนอยเพียงไร ซึ่งหมายความวา จริยธรรมของเด็กจะเจริญข้ึนตามความเจริญของสติปญญา โคลเบิรก ไดทําการวิเคราะหเหตุผลเชิงจริยธรรม โดยทําการวิเคราะหคําตอบของเยาวชนอเมริกนั อายุ 10-16 ป และแบง ประเภทเหตผุ ลเชงิ จริยธรรมไว 6 ประเภท คอื ระดับที่ 1 ขึน้ กอนกฎเกณฑ หมายถึง การตัดสินใจเลือกกระทําในสิ่งท่เี ปนประโยชนตอตนเอง โดยไมค ํานึงถึงผลทจี่ ะเกดิ แกผ อู ืน่ แยกเปน 2 ระยะคือ 1. มีลักษณะที่จะหลบหลีกมิใหตนเองถูกลงโทษทางกาย เพราะกลัวความเจ็บปวดท่จี ะไดร ับและยอมทําตามคําสั่งของผใู หญเ พราะเปน ผมู อี ํานาจทางกายเหนอื ตน 2. มีลักษณะเลือกการกระทํา ในสิ่งท่ีจะนําความพอใจมาใหตนเทาน้นั เรมิ่ รจู ักการแลกเปลยี่ นกันแบบเด็กๆ คอื เขาทํามา ฉนั ตอ งทําไป เขาใหฉัน ฉนั ก็ใหเขา เปนตน ระดับที่ 2 ระดับตามกฎเกณฑ หมายถึง การทําตามกฎเกณฑของกลุมยอยๆ ของตน หรือทําตามกฎหมายและศาสนา บุคคลที่มีจริยธรรมในระดับ 2 น้ียังตองการการควบคมุ จากภายนอก แตม คี วามสามารถในการเอาใจเขามาใสใจเรา และมีความสามารถท่ีจะแสดงบทบาททางสงั คมได ข้ันนแ้ี บงเปน 2 ข้ันยอย คือ 1. บคุ คลยงั ไมเ ปน ตวั ของตวั เองเลยชอบคลอยตามการชักจูงของผูอื่นโดยเฉพาะเพอื่ น 2. บุคคลที่มีความรูบทบาทหนาท่ีของตนในฐานะท่ีเปนหนวยหนึ่งในสงั คมของตน จึงถอื วาตนมีหนา ทีท่ ําตามกฎเกณฑตางๆ ทส่ี งั คมของตนกาํ หนดหรอื คาดหมาย 65

การพฒั นาตน ระดับท่ี 3 ระดับเหนือกฎเกณฑ หมายถึง การตัดสินขอขัดแยงตางๆดวยการนํามาคิดตรึกตรองช่ังใจโดยตนเองแลวตัดสินใจไปตามแตวา จะเห็นความสําคัญของสิ่งใดมากกวากัน แบงเปน 2 ขน้ั ยอ ยเชนกัน คอื 1. มีลักษณะเห็นความสําคัญของคนหมูมาก ไมทําตนใหขัดตอสิทธิอันพึงมีพงึ ไดข องผูอื่น สามารถควบคมุ บังคับจติ ใจตนเองได 2. เปนขั้นสูงสุด มีลักษณะแสดงทั้งการมีความรูสากลนอกเหนือจากกฎเกณฑในสังคมของตนและมีการยืดหยุนทางจริยธรรม เพื่อจุดมุงหมายในบั้นปลายอันเปนอุดมคติท่ียิ่งใหญ นอกจากนี้ ยังมีหลักประจําใจซึ่งตรงกับหลักในพระพุทธศาสนาที่เรียกวา \" หิริ -โอตตปั ปะ \"ดวย ทฤษฎีตนไมจริยธรรม ในประเทศไทย ศ.ดร. ดวงเดือน พันธุมนาวิน (2526,.2528,. 2538) ไดเสนอทฤษฎี อธิบายความเก่ียวของระหวางลักษณะทางจิตกับพฤติกรรมของบคุ คลไดเ ปน อยางดี ทฤษฎีดังกลาวเหมาะสมอยางยิ่งทจี่ ะใชกบั คนไทยในสงั คมไทย เพราะผูสรางทฤษฎีไดใชความรูประสบการณผลงานวิจัยท่ีเปนของตนเองและนักวิจัยอ่ืน ที่ทํากับคนไทยในสังคมไทยอยางกวางขวางเปน ระยะเวลากวา 20 ปโดย เสนอในช่ือทฤษฎี “ตนไมจ รยิ ธรรม” ทฤษฎีดงั กลา วไดน าํ เสนอเปนครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2526 และไดมีการพัฒนามาเปนลําดับจนปจจุบัน เชื่อวา เปนทฤษฎีของไทยทน่ี าํ ไปสกู ารคน ควาวจิ ยั และการประยุกตเ พอื่ พัฒนาบคุ คลและสังคมไดเปนอยางดี ความเฉลียวฉลาดทางจริยธรรม สมรรถนะทางจริยธรรม สมรรถนะทางอารมณ หลักจริยธรรม หลักการ คานิยม ความเชื่อ เปาหมาย ความประสงค เปาหมาย ความตองการพฤติกรรม ความคิด อารมณ การกระทํา ไวรัสทางจริยธรรม อารมณทางลบ ทฤษฎีตนไมจริยธรรมเปนทฤษฎีท่ีเสนอจิตลักษณะ 8 ประการ ที่อาจเปนสาเหตุของ พฤติกรรมของคนดีเกง และมีสุขของคนไทย (ดวงเดือน พนั ธุมนาวิน, 2536) ทฤษฎีนีม้ ีพ้ืนฐานจาก ผลการวิจัย 12 เร่อื ง และทฤษฎีนไ้ี ดร ับการตรวจสอบและมีผลการวิจัยทส่ี นบั สนุนมาตลอดจนกระทั่ง ปจจุบัน ทฤษฎีน้ีถูกนําเสนออยูใ นรูปของตนไม ไดแกสวนทเ่ี ปน ราก สว นทเี่ ปน ลาํ ตน และสวนทเ่ี ปนดอกและผลของผลไม • สวนแรก คือ ราก ประกอบดวย รากหลัก 3 ราก ซึ่งแทนจิตลักษณะพืน้ ฐานสําคญั 3 ประการ ไดแก 1. สุขภาพจิต หมายถงึ ความวติ กกงั วล ตืน่ เตน ไมส บายใจของบคุ คลอยางเหมาะสมกบั เหตุการณ 66

การพัฒนาตน 2. ความเฉลียวฉลาด หรือสติปญญา หมายถึง การรูการคิดในข้ันรปู ธรรมหลายดา น และการ คดิ ในขัน้ นามธรรม ซึง่ มพี ืน้ ฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการทางการรูการคดิ ของ Piaget (1966) และ 3. ประสบการณทางสังคม หมายถึง การรูจักเอาใจเขามาใสใจเราความเออ้ื อาทร เหน็ อกเห็นใจ และสามารถ คาดหรือทํานายความรสู กึ ของบุคคลอื่น จิตลักษณะท้ัง 3 ประการน้ีจะเปนจิตลักษณะพ้ืนฐานของจิต ลักษณะ 5 ตัวบนลําตน และเปนจิตลักษณะพ้ืนฐานของพฤติกรรมของบุคคลในสวนที่เปนดอกและผลดวย ดังน้ันบคุ คลจะตองมีจติ ลกั ษณะทัง้ 3 ประการน้ีในปรมิ าณสูงเหมะสมตามวัย จึงจะทําใหจิตลักษณะอีก5 ตวั บนลาํ ตน พฒั นาไดอยางดีและมีพฤตกิ รรมทนี่ าปรารถนามากดว ย • สว นทสี่ อง คือ สวนท่ีเปนลําตน อันเปนผลจากจิตลักษณะพ้ืนฐานที่ราก 3 ประการ ประกอบดวย จิตลักษณะ 5 ประการ ไดแก 1. ทศั นคติ คา นยิ ม และคุณธรรม ทัศนคติหมายถึงการเห็น ประโยชน– โทษของสิ่งใดส่ิงหนึ่ง ความพอใจ ไมพอใจตอสิ่งน้ัน และความพรอมที่จะมีพฤติกรรมตอส่ิงน้ันสวนคุณธรรม หมายถึง สิ่งทีสวนรวม เห็นวาดีงาม สวนใหญแลวมักเกี่ยวของกับหลักทางศาสนาเชน ความกตัญูความเสยี สละ ความซอ่ื สัตย เปนตน และคานยิ ม หมายถงึ สง่ิ ทคี่ นสว นใหญเหน็วาสําคัญ เชน คานิยมท่ีจะศึกษาตอในระดับสูง คานิยม ในการใชสินคาไทย คานิยมในดานการรกั ษาสุขภาพ เปน ตน 2. เหตุผลเชิงจริยธรรม หมายถึง เจตนาของการกระทําที่ทําเพื่อสวนรวมมากกวาสวนตัวหรือพวกพอง ซึ่งมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการทางเหตุผล เชิงจรยิ ธรรมของ Kohlberg 3. ลักษณะมุงอนาคตควบคุมตน หมายถึง ความสามารถในการคาดการณ ไกลวา สง่ิ ท่ีกระทําลงไปในปจ จุบัน จะสงผลอยา งไร ในปริมาณเทาใด ตอ ใคร ตลอดจนความสามารถใน การอดไดส ามารถอดเปร้ยี วไวก นิ หวานได 4. ความเชอื่ อาํ นาจในตน หมายถงึ ความเชือ่ วา ผลทีต่ นกําลงั ไดร บั อยูเกิดจากการกระทําของตนเอง มิใชเกิดจากโชคเคราะหความบังเอิญหรือการควบคุมของคนอ่ืนเปนความรูสึกในการทํานายไดควบคุมไดของบุคคล ซึ่งมีพ้ืนฐานมากจากทฤษฎี Locus ofControl ของ Rotter (1966) 5. แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ หมายถึง ความมานะพยายามฝาฟนอุปสรรคในการทําส่ิง ใด สิ่งหนึ่งโดยไมยอทอ จิตลักษณะทั้ง 5 ประการน้ีเปนสาเหตุของพฤติกรรมที่นา 67

การพัฒนาตนปรารถนาท่ีเปรียบเสมือนดอกและ ผลบนตนไม นอกจากน้ี ศ.ดร.ดวงเดือน พันธุมนาวิน ยังเสนอวา ควรใชจิตลักษณะท้ัง 5 ประการบนลําตน รวมกับจิตลักษณะพื้นฐานท่ีราก 3 ประการ ในการอธิบาย ทํานาย และพัฒนาพฤติกรรมของบุคคล ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวา จะตองใชจิตลักษณะเพียงตัวเดียวหรือนอยตัว จะไมชวยใหนักวิจัยและนักพัฒนาเขาใจ การกระทําของบุคคลไดอยางนา ม่นั ใจ • สวนท่ีสาม คือ สวนของดอกและผล เปนสวนของพฤติกรรมของคนดีและคนเกง ซ่ึง แสดงพฤติกรรมการทําความดีละเวนความช่ัว ซึ่งเปนพฤติกรรมของคนดีและพฤติกรรมการทํางานอยาง ขยันขันเข็งเพื่อสวนรวมอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งเปนพฤติกรรมของคนเกง พฤติกรรมของคนดีและเกง สามารถแบงเปน 2 สวนดวยกัน (ดวงเดือน พันธุมนาวิน, 2538)คอื ขอหนึง่ พฤติกรรมของคนดี ประกอบดว ย 2 พฤติกรรมหลัก ไดแก 1. พฤติกรรมไมเบียดเบียนตนเอง เปนพฤติกรรมของบุคคลท่ีไมเปนการทํารายหรือ ทําลายตนเอง เชน พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเอง พฤติกรรมการบริโภคสิ่งท่มี ีประโยชนไ ม ดืม่ เหลา ไมส บู บุหรี่ ไมติดยาเสพตดิ พฤติกรรมไมเ ลน การพนัน เปน ตน 2. พฤติกรรมไมเบียดเบียนผูอ่ืน เปนพฤติกรรมของบุคคลท่ีไมทํารายทาํ ลาย หรือทําใหผูอื่น เดือดรอน เชน พฤติกรรมสุภาพบุรุษ ไมกาวราว พฤติกรรมการขับขี่อยางมีมารยาท พฤติกรรมซ่ือสัตยเปนตน ขอสอง พฤติกรรมของคนดีและเกง ประกอบดวย 2 พฤติกรรมหลกั ไดแก 2.1 พฤติกรรมรับผิดชอบ เชน พฤติกรรมการเรียนการทํางานพฤติกรรมอบรมเล้ียงดูเด็ก พฤติกรรมการปกครองของหัวหนา พฤติกรรมรับผิดชอบตอหนาที่และพฤติกรรมเคารพกฎหมาย เปน ตน 2.2 พฤติกรรมพัฒนา เชน พฤติกรรมพัฒนาตนเอง (เชนพฤติกรรมใฝรูพฤติกรรมรักการอาน เปนตน) พฤติกรรมพัฒนาผูอื่น (เชน พฤติกรรมการสนับสนุนใหผูอื่นปลอดภัยในการทํางาน พฤติกรรมการเปนกัลยาณมิตร พฤติกรรมเพ่ือนชวยเพ่ือนปองกันโรคเอดสเ ปน ตน) และพฤตกิ รรมพัฒนา สังคม (เชน พฤติกรรมอาสา เปน ตน ) 68

การพัฒนาตนภาพท่ี 2.9 ตน ไมจริยธรรมจิตลักษณะพนื้ ฐานและองคป ระกอบทางจติ ใจของพฤติกรรมทางจรยิ ธรรม อาจกลาวไดว า องคป ระกอบของจรยิ ธรรม ถือไดวาเปนเครือ่ งกาํ หนดหลกั ปฏบิ ตั ิไดใ นการ ดาํ รงชีวิต เปนแนวทางในการอยูรวมกันอยางสงบเรยี บรอย ซ่ึงในสังคมหรือในทุกองคกรตองมขี อปฏิบตั ริ วมกันจงึ จะสามารถอยูรวมกนั อาจกลาวไดว าองคประกอบของจรยิ ธรรม ถือไดวาเปนเครื่องกาํ หนดหลักปฏบิ ตั ิไดในการดํารงชีวิตเปนแนวทางในการอยูรวมกันอยางสงบเรียบรอย ซึ่งในสังคมหรือในทุกองคกรตองมีขอปฏบิ ัตริ ว มกนั จึงจะสามารถอยูรวมกนั 69

การพัฒนาตนบทสรปุ ปจจัยพ้ืนฐานสําหรับพฤติกรรมมนุษย คือ หลักการหรือความรู ซ่ึงจะชวยใหเขาใจพฤติกรรมมนุษยไดถองแทย่ิงข้ึน ปจจัยพ้ืนฐานของพฤติกรรมท่ีสําคัญ ไดแก ปจจัยทางชีวภาพซ่ึงกลาวถงึ อิทธิพลของพนั ธุกรรมและการทาํ งานของระบบประสาท สมอง ตอ มไรท อ และกลา มเนือ้ ท่ีมีตอ พฤติกรรม ปจจัยจิตวิทยา ซึ่งกลาวถึง แรงจูงใจและการเรียนรูท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรม และปจจัยทางสังคม ที่กลาวถึงระบบของสิ่งแวดลอม กระบวนการสังคมประกิตในครอบครัวและกลุมทมี่ ีอทิ ธพิ ลตอ พฤติกรรม กระบวนการทาํ งานของปจ จัยเหลานี้ทําใหม นุษยม ีความแตกตางระหวางบุคคลและอาจแสดงพฤติกรรมทแ่ี ตกตา งกนั ภายใตสถานการณเดียวกัน 70

การพัฒนาตนคําถามทา ยบท1. พฤตกิ รรมของมนษุ ยป ระกอบดวยปจจัยพื้นฐานอะไรบาง2. พันธกุ รรม หมายถึงอะไร3. ใครเปนผูท่ีคน พบและอธิบายหลักของการถายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมคนแรก4. ระบบประสาทประกอบดวย อะไรบาง5. ทาลามสั ทําหนา ท่อี ยางไร6. พอนส เมดลั ลาและออบลองกาตา ทัง้ 3 สว นนร้ี วมกนั เรยี กวาอะไร7. เย่ือหมุ สมองมีกช่ี นั้ อะไรบา ง8. ปจจัยทีท่ ําใหเ กดิ แรงจูงใจในมนษุ ย ประกอบดวย อะไรบา ง9. ลักษณะทางสังคม หมายถงึ อะไร10. พื้นฐานทางจริยธรรมแบง ออกเปน 3 ลักษณะ มีอะไรบา ง 71

การพฒั นาตน เอกสารอางอิงดวงเดอื น พนั ธมุ นาวนิ . (2543). ทฤษฎตี น ไมจ รยิ ธรรม : การวิจยั และการพฒั นาบุคคล. กรุงเทพฯ สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร.ดวงเดอื น พนั ธุมนาวนิ และเพ็ญแข ประจนปจจนกึ .(2520). จรยิ ธรรมของเยาวชนไทย. รายงานวิจยั ฉบับท่ี 21. กรงุ เทพมหานคร: สถาบนั วิจยั พฤตกิ รรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.ทพิ ยสุดา จนั ทรแจม หลา . (2544). ปจ จยั ดา นจติ สงั คมของผูดแู ลทเี่ กยี่ วของกบั พฤติกรรมใหก าร สนบั สนนุ ทางสงั คมแกผ ตู ดิ เชื้อเอดส. ปรญิ ญานพิ นธ วทิ ยาศาสตรม หาบณั ฑิต. (การวจิ ยั พฤติกรรมศาสตรประยกุ ต) . กรงุ เทพฯ : บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.ทรงพล ภูมิพัฒน. (2540). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ : ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา ฝายเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยศรีปทมุ .บญุ มี แทน แกว . (2539).จริยศาสตร. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพ ฯ : สํานักพมิ พโอเดียนสโตร.ลกั ขณา สรวิ ฒั น. (2544). จติ วทิ ยาในชีวติ ประจาํ วนั . กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พรน้ิ ต้งิ เฮา ส.เพ็ญแข ประจนปจจนึก. (2528). พ้ืนฐานทางสังคม วิทยาของการศึกษา. กรุงเทพฯ :สถาบันวิจัย พฤตกิ รรมศาสตรมหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.ออมเดอื น สดมณี. (2536). ผลของการฝกอบรมทางพุทธพฤติกรรมศาสตรตอจิตลักษณะและ ประสทิ ธผิ ล ของคร.ู ปรญิ ญานพิ นธการศึกษาดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาศกึ ษาศาสตร , บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒออมเดือน สดมณีและคณะ.(2549). ปจจัยดานจิตสังคมและความสุขใจที่เกี่ยวกับพฤติกรรม การทํางานของครใู นระดับประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษา. รายงานการวจิ ยั ฉบับที่ 106. สถาบนั วิจัยพฤติกรรมศาสตร. มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ.Hoffmann, M.I. (1979). “Development of Moral Thought : Feeling and Behavior”, American Psychologist.Kohlberg, L. (1976). Moral Stage and Moralization: The Cognitive Development Approach. Moral Development and Behavior. Ed. by Thomas Lickona, New York : Holt Rinehart and Winston.Piaget, J. (1971). The Theory of Stages in Cognitive Development. In D.R. Green (Ed.), Measurement and Piaget. New York: McGraw-Hill.Piaget, J. (1966). The psychology of intelligence. Totowa, N.J. : Littlefield, Adams & Co. BF431 . 72

การพัฒนาตน บทท่ี 3 การรูจักและเขา ใจตนเอง เตชติ เฉยพว งหวั ขอ เนอื้ หา ตอนท่ี 3.1 จติ ตอนท่ี 3.2 บคุ ลกิ ภาพของตัวตน ตอนท่ี 3.3 พลังในตัวตน ตอนที่ 3.4 การเขาใจตนเอง (Self - Perception) ตอนท่ี 3.5 การสรา งความเขาใจตนเองแนวความคดิ 1. จติ จิตใตส ํานึก 2. ความหมายของตน หรอื อัตตา (Self) 3. จุดกําเนดิ ของตน 4. การรูจักตนเอง (self-Knowledge) 5. ประโยชนของการรูจ ักและเขา ใจในตนเอง 6. แนวทางการศึกษาการรจู ักและเขาใจตนเองวตั ถุประสงค เมอ่ื ทาํ การศึกษาในบทเรียนนี้แลว ผเู รียนสามารถ 1. รูจ ักและเขา ใจตนเองและสามารถกําหนดจดุ มุงหมายเพ่ือพัฒนาศกั ยภาพของตนเอง 2. สามารถวเิ คราะหเ พ่ือทาํ ความเขา ใจในตนเองเพือ่ นําผลทไ่ี ดไปสกู ารพฒั นาตนเอง 3. รวบรวมและกลนั่ กรองสารสนเทศเพอื่ การรจู กั และเขาใจตนเองไดอ ยางเหมาะสม 4. สามารถประยกุ ตก ารเรียนรนู าํ ไปใชใ หเ กิดประโยชนกับตนเองและผอู ่ืน 73

การพฒั นาตนบทนาํ อาศัยการพจิ ารณาตน เธอจักรทู ุกสงิ่ อาศัยการพจิ ารณาตน เธอยอมเห็นทุกสิง่ พทุ ธวจนะท่ีมา : หนงั สือมองตนใหถ องแท องคท ะไลลามะที่ 14 จากขอความขางตนน้ันไดสะทอนใหเห็นวา การพิจารณาตนเองซึ่งก็คือการรูจักตนเองน้ันเปนเร่ืองท่ีสําคัญและควรที่จะตองกระทําเปนอยางย่ิง เพราะเม่ือตัวเราไดพิจารณาตนเองและรูจักตนเองดแี ลว จะทาํ ใหต ัวเราน้ันเขาใจสงิ่ รอบๆ ตัวไดไมย าก ดังน้ัน จึงตองเร่ิมทําความเขาใจจากสิ่งที่ใกลตัวมากท่ีสุดเสยี กอน นั้นคือตัวตนของตวั เราเอง การท่ีบุคคลคนใดน้ันมีความเขาใจในตนเอง ท้ังสภาวะภายในและภายนอกแลวนั้น จะสามารถทําใหบุคคลน้ันสามารถพัฒนาตนเองไปในท้ิงทางทด่ี ีและถูกตองไดมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะสามารถทําใหบุคคลนน้ั ประสบความสําเรจ็ และมคี วามสุขในการดําเนนิ ชีวิตเปน อยางดีภาพท่ี 3.1 การมองตนเองทม่ี าภาพ: http://www.thaigoodview.com/files/u77679/12.jpg74

การพัฒนาตนตอนท่ี 3.1 จิต เรอ่ื งท่ี 3.1.1 จติ และจิตใตสาํ นึก 1 จติ จติ ใตส ํานึกในแตล ะบคุ คลน้ันเปน ส่ิงสาํ คญั ท่ที ําใหเกิดเปนตัวตนของแตละบุคลขน้ึ ในชวงกลางคริสตศ ตวรรษท่ี 19 เมื่อศาสตรแหงจิตวิทยาไดแยกตัวออกจากศาสตรแขนงอ่ืนก็ไดมีการคนควาเพ่ือหาความเขาใจของจิตสํานึกนั้น ซิกมันด ฟรอยด (Sigmund Freud 1856-1939) เปนนักจิตวิทยาท่ีริเร่ิมใหความสนใจกับจิตใตสํานึก เขาไดเปรียบเทียบจิตใจของมนุษยนั้นเหมือนกับภูเขานํ้าแข็งที่ลอยอยูในมหาสมุทร มีสวนท่ีอยูเหนือผิวนํ้าเปนสวนท่ีนอยแตมีสวนที่อยูใตผิวนํ้าท่ีเปนสวนท่ีมีพื้นที่ท่ีกวางใหญมาก สภาวะจิตระดับที่มีความสํานึกควบคุมอยูน้ันเหมอื นกับสวนของนํ้าแข็งท่ีอยูเหนือผิวนํ้าที่เรียกวา จิตสํานึก (Conscious Mind) สภาวะจิตระดับใตสํานึกเหมือนกับสวนที่อยูใตผิวน้ําเปนที่สะสมองคประกอบของจิตไวมากมาย ซิกมันด ฟรอยดไดอธบิ ายวา จติ ระดับใตส าํ นกึ (Unconscious Mind) นี้มีกลไกลทางจิตหลายประเภทดวยกัน เชนแรงจูงใจ, อารมณท่ีถูกเก็บกด, ความรูสึกสํานึกคิด, ความฝน, ความทรงจํา, ความเจ็บปวด ฯลฯพลังจิตใตสํานึกมีอิทธิพลเหนือจิตสํานึกกระตุนเตือนใหปฏิบัติพฤติกรรมประจําวันทั่วๆไปเปนแรงจูงใจใหเกิดพฤติกรรมไรเหตุผลและผิดปกติในลักษณะตางๆ สวนตรงกลางน้ันคือ จิตสํานึกบวกจิตใตสาํ นกึ (Preconscious Mind)ภ1 าพที่ 3.2 ภเู ขานํ้าแข็ง (Iceberg Metaphor) ของ ฟรอยด1ท่ีมาภาพ : http://noonaajjana.blogspot.com/2013/03/the-tip-of-iceberg-think-between-lines.html 75

การพัฒนาตน 1 พลังจิตสํานึกและจิตใตสํานึกกระตุนใหคนเราประกอบพฤติกรรมตางๆ พฤติกรรมบางประเภทถูกกระตุนโดยจติ สํานึกอยางเดียว (Conscious Mind) เชน การย้ิม การรับประทานอาหารไปโรงเรียน สวนบางประเภทถูกกระตุนโดยจิตสํานึกและจิตใตสํานึกปะปนกัน (PreconsciousMind) เชน บางคราวเผลอพูด คิด ทํา แลวมีสติระลึกไดทันทีวาควรหรือไมควร จึงไดเปลี่ยนคําพูดเปลี่ยนวิธีคิด และพฤติกรรมบางประเภทก็ถูกกระตุนโดยจิตใตสํานึกอยางเดียว (UnconsciousMind) เชน การละเมอ ความฝน การทําอะไรอยางเผลอไผลไมรูตัว เปนตน ซิกมันด ฟรอยดไดใหความสนใจกบั จิตใตสํานกึ ของมนุษยทมี่ ีอารมณหลากหลายซอนอยูภายใน อันเปนแรงจูงใจใหเกิดพฤติกรรมไรเ หตุผลและผิดปกตใิ นลักษณะตางๆ ซ่ึงอารมณเหลานั้นอาจจะแสดงออกมาในขณะท่ีไดรับส่ิงที่สงผลกระทบตอจิตใจอยางหนักหนวง ไมวาจะเปนเวลาโกรธสุดๆ ดีใจสุดๆ หรือเวลาสับสนมากๆ เหมือนกับคลื่นยักษถาโถมเขามาหาภูเขาน้ําแข็งแลวน้ําแข็งสวนที่ซอนอยูใตผิวน้ําก็โผลอ อกมาใหเราเห็นน่นั เอง จติ ใตส ํานกึ มีพลังขบั ดนั ใหแสดงพฤติกรรมตางๆมากท่สี ุดในภาวะนี้ ภ1 าพท่ี 3.3 ภูเขานาํ้ แขง็ สว นท่ีซอนอยใู ตผิวน้าํ โผลขึน้ มาเหนือนา้ํ 1 จิตใตสํานึกที่ไมมีโอกาสไดแสดงพฤติกรรมออกมาไดนั้นมักแปรรูปเปนพฤติกรรมผิดปกติอยางใดอยางหน่ึงก็ได เชน รูสึกกลัวตลอดเวลา ซึมเศราตลอดเวลา กามวิปริต เจ็บปวดตลอดเวลา ฯลฯ พลังจิตใตสํานึกมีหลายระดับ บางอยางอยูในระดับต้ืน บางอยางอยูในระดับลึกและยังแตกตางกันในแงพลังแรงเขมหรือออนของการขับดันดวย จึงสามารถอธิบายและทําความเขาใจไดวา คนแตละคนแตกตางกันในรูปของพลังจิตสํานึกและใตสํานึก ฉะนั้น แลวคนแตละคนจงึ มบี คุ ลกิ ภาพไมเหมือนกัน76

การพฒั นาตน ภ1 าพท่ี 3.4 ระดับขัน้ ของจติ สํานึก 1 พลังจิตสํานึกและใตสํานึกนั้นกระตุนใหมนุษยประกอบพฤติกรรมตางๆ พฤติกรรมบางประเภทถูกกระตุนโดยจิตสํานึกอยางเดียว เชน การพูดอยางระมัดระวัง พฤติกรรมสวนมากเกิดจากพลังในการผลักดันของจิตสํานึก และจิตใตสํานึกปะปนกัน เชน บางคร้ังบางคราวเราเผลอพูดคิด และทํา แลวมีสติระลึกไดทันทีวาสิ่งนั้นควรหรือวาไมควร จึงเปลี่ยนคําพูด วิธีในการคิด และการกระทํา พฤติกรรมบางประเภทถูกกระตุนโดยจิตใตสํานึกอยางเดียว เชน การพล้ังปาก ความฝน การทาํ อะไรอยางเผลอไผลไมรตู ัวตอนท่ี 3.2 บุคลกิ ภาพของตัวตน โครงสรา งบคุ ลิกภาพของตัวตน ซิกมันด ฟรอยด (พรรณทิพย ศิริวรรณบุศย, 2556, หนา 90) ไดอธิบายวาโครงสรางทางบุคลิกภาพของมนุษยน้ันสามารถออกเปน 3 สวน ประกอบดวยกันคือ อิด (Id) อีโก(Ego) และซุปเปอรอโี ก (Superego) ซง่ึ ท้ังสามสงิ่ น้จี ะทํางานประสานรว มกัน 77

การพัฒนาตน อิด (Id) เปนสวนประกอบพ้ืนฐานของบุคลิกภาพ ประกอบดวยลักษณะทางจิตทุกอยางที่มีมาแตกําเนิดของมนุษย เปนแหลงพลังทางจิต (psychic energy)รวมถึงพลังทางเพศ ท่ีฟรอยด เรียกวา ลิบิโด (libido) รวมท้ังสัญชาตญาณตาง ๆ อีกดวย อิดเปนสว นท่ีไมมีเหตุผล (irrational) และทาํ งานตามหลกั ของความพอใจ (pleasure principle) เน่ืองจากอิดจะไมทนทานตอการเพิ่มพลังงานท่ีเกิดจากความกดดัน ดังน้ัน เมื่อมีความเครียดหรือความกดดันใดๆ ก็ตาม อิดจําเปนตองขจัดความเครียด โดยใชหลักแหงความพึงพอใจ (pleasureprinciple) เพ่ือหลีกเล่ียงความเจ็บปวด การทํางานของอิด ประกอบดวย 2 กระบวนการ ไดแกปฏิกิริยาสะทอน (reflex action) ซึ่งเกิดโดยอัตโนมัติและมีมาตั้งแตเกิด เชน การจาม การหลบหลีก การกะพริบตา เปนตน สวนกระบวนการที่สอง คือ กระบวนการปฐมภูมิ (primary process)เปนปฏิกิริยาทางจิตที่พยายามลดความตึงเครียด โดยการวาดมโนภาพของวัตถุ เปนการเคลื่อนยายความตึงเครียด วิธีน้ีเปนการชะลอความตึงเครียดเทานั้น ไมสามารถขจัดความ ตึงเครียดไดจ รงิ (ศรเี รือน แกววังวาล, 2554, หนา 20) อีโก (Ego) เปนสวนของจิตที่เกิดจากความตองการ พลังแหงการรับรูและเขาใจ ที่จะตอบสนองความตองการตามโลกแหงความเปนจริง อีโกเปนสวนที่ทําหนาที่ใหบุคคลมีปฏิสัมพันธกับคนอ่ืน ๆ อยางมีเหตุผลและตามความเปนจริง อีโกจึงทํางานบนฐานแหงความเปนจริง หรือรูความจริง (reality principle) ซ่ึงเปนกระบวนการทุติยภูมิ (secondaryprocess) โดยพยายามควบคุม อิด (Id) ใหอยูในรองในรอย ซุปเปอรอโี ก (Superego) เปนพลังทเี่ กดิ จากการเรียนรู ความรูสึกนึกคิด ที่เกิดข้ึนภายในใจของบุคคล เปนมโนธรรมซึ่งประกอบดวย คานิยม ศีลธรรม ประเพณี และอดุ มคติของสังคมทบ่ี ุคคลไดรบั ถา ยทอดจากพอ แม ซปุ เปอรอีโกจึงทําหนาท่ีอยูบนฐานของอุดมคติท่ีมีเปาหมายท่ีจะควบคุมหรือยับยั้งแรงกระตุนจากอิด และหวานลอมใหอีโกเปลี่ยนแปลงเปาหมายแหงความเปนจริงเปนคุณธรรม โดยเฉพาะพลังจากความกาวราวและสัญชาตญาณแรงขับทางเพศ ตลอดจนพยายามเหนย่ี วนําใหเกดิ ความสมบูรณในตนเอง การทํางานรวมกันของพลังทั้ง 3 ลักษณะ บุคลิกภาพของคนนั้นไดเกิดจากการทํางานรวมกันของพลังงานท้ัง 3 น้ี พลังงานใดก็ตามท่ีเกิดขึ้นมามีอิทธิพลเหนือพลังงานอ่ืนที่จะเปนตัวชี้ลักษณะทางบุคลิกภาพของบุคคลคนนั้น เชน ถาพลังอิดมีอํานาจสูงบุคลิกของคนผูน้ันก็จะเปนแบบเด็กท่ีไมรูจักโต เอาแตใจตนเอง แตถา อีโกมีอํานาจของพลังงานท่ีสงู กวา คนนนั้ จะเปนคนทม่ี เี หตุผล เปนนกั ปฏบิ ตั ิ ในอีกทางหนึ่งถา ซุปเปอรอีโกมีอํานาจสูงก็จะทําใหคนนน้ั เปนนกั อุดมคติ หรือนกั ทฤษฎี (ศรีเรือน แกว วังวาล, 2554, หนา 20)78

การพัฒนาตนภาพท่ี 3.5 โครงสรา งบุคลิกภาพของตัวตน “สําหรับบุคลิกภาพอันพึงประสงค คือความมี Ego เขมแข็ง สามารถจัดการกับ Id ไดอยา งมีสมรรถภาพ โดยอาศัยหลกั แหงความจริงเปนที่ตั้ง และสามารถโนมนอม Super Ego ใหเขาสูหลักแหง ความจริง เพือ่ ใหเ กดิ การประสมประสานอยา งสนทิ สนมในการดําเนินชีวิต” (ประมวญ ดิคคนิ สัน, 2519) 79

การพัฒนาตน ตอนที่ 3.3 พลงั ในตัวตน พลงั ของความคิด ภาพท่ี 3.6 พลงั ของความคิด ทมี่ า : http://akaeanan19870.blogspot.com พลังของความคิดนั้น เปรียบเสมือนศูนยกลางที่คอยเปนตัวกําหนดใหความเชื่อเกิดข้ึนเปนรูปธรรมได นั่นคือ การลงมือทํา ปฏิบัติ เพราะตัวเรานั้นจะทําตามพลังความคิดของตัวเรา พลังทางความคิดของเรานั้น ประกอบ ดวย 3 สวนดวยกัน คือ ความเปนคนในอุดมคติ(ตนตามใฝฝน มงุ หวัง), ภาพลกั ษณท ี่กําหนดตัวเอง(ตน ทีต่ นมองเหน็ ) และศักดิ์ศรีแหงตน(ตน ตามที่เปนจรงิ ) ซึ่งทั้ง 3 สิ่งน้นั เรารียกวา ตัวตนของบคุ คล (Self) ตัวตนของบุคคล (Self) คารล โรเจอร (Carl Rogers 1902-1987) (ศรีเรือน แกววังวาล, 2554, หนา135) เปนนักจิตวิทยาชาวอเมริกันอีกทานหน่ึงท่ีเผยแพรแนวคิดเก่ียวกับบุคลิกภาพ ทฤษฎีในการพัฒนาและทําความรูจ ักตวั ตน เขา ไดกลา ววา ประสบการณเฉพาะตนของบุคคลหนึ่งบุคคลใดผสมปนกันเขาเปน “ตัวตน” ของบุคคลน้ัน (I หรือ Me หรือ Self) โคงอันตราย เมื่อตนทั้ง 3 แบบแตกตา งหางกันมากบุคคล มองเหน็ ตน(ตรี าคาของตนเอง) สูงกวาตนตามทีเ่ ปนจริง เขายอมไมเห็นขอบกพรองของตนเอง มนั จึงเปรยี บเสมือนการปด ทางที่จะปรับปรุงตวั เองใหดีข้นึ80

การพัฒนาตนภาพที่ 3.7 โคงอันตราย เมือ่ ตนทั้ง 3 แบบ คาํ อธบิ ายเรอ่ื งตัวตนของบุคคลน้ันเปนแนวคิดใหญในทฤษฎีบุคลิกภาพท่ี คารลโรเจอร เสนอ ดังตอไปนี้ มนุษยทุกคนนั้นมตี วั ตน 3 แบบ คือ การเหน็ แบบท่ี 1 ตน ทต่ี นมองเหน็ (Self Concept) คือ ภาพของคนท่มี องเห็นตนเองวา เปนคนอยา งไร คือใคร มีความรู เปนคนสวยหลอ เกง ร่ํารวย ยากจน มีชาติตระกูล ดอยวาสนา ข้ีอาย เพอฝน ชางพูด เงียบขรึม ข้ีเหงา เศราสรอย ราเริง ฯลฯ โดยทั่วไปนั้น คนเราจะรับรูและมองตัวเองในหลายแงมุม ซึ่งอาจไมตรงกับขอเทจ็ จริงหรือภาพทคี่ นอื่นมองเห็น ตนที่มองเห็นน้ันเปนไปไดท้ังในแงบวกและลบ คือ ตนเห็นเองวาตนเปนอยางไร มีความรูความสามารถ ลักษณะเพราะตนอยางไร เชน สวย รวย เกง ตํ่าตอย ข้ีอายฯลฯ การมองเห็นอาจจะไมต รงกบั ขอเทจ็ จรงิ หรือภาพที่คนอื่นเห็น 81

การพฒั นาตนภาพท่ี 3.8 การมองเห็นตนเองที่มาภาพ : http://www.clipmass.com/story/67270 การเหน็ แบบที่ 2 ตนตามท่ีเปน จริง (Real Self) คือ ลักษณะของตัวตนที่เปนไปตามขอเท็จจริง หลายคร้ังท่ีตนมองไมเห็นในขอ เท็จจริงของตนเอง เพราะสิ่งน้ันอาจเปนสิ่งท่ีไมดี ส่ิงที่เราไมอยากท่ีจะจดจํา สิ่งที่ทําใหเรารูสึกเสียใจ ฯลฯ แตบอยคร้ังท่ีตนมองไมเห็นขอเท็จจริง เพราะอาจเปนสิ่งท่ีทําให รูสึกเสียใจ ไมเทาเทยี มกบั บุคคลอน่ื เปน ตน82

การพฒั นาตนภาพท่ี 3.9 ตัวตนตามขอเท็จจริงท่ีมาภาพ : https://freestylehoroworld.wordpress.com/2013/08/18/ การเหน็ แบบท่ี 3 ตนตามอดุ มคติ (Ideal Self) คือ โดยทั่วไปคนเรามักจะมีภาพในอุดมคติเสมอ ก็คือตัวตนท่ีอยากมีอยากเปนแตวายังไมมีและไมเปนในสภาวะปจจุบัน ซึ่งถาตนตามอุดมคติตางกับตนตามเปนจริง และ/หรือตนทมี่ องเหน็ ก็จะทาํ ใหเ กิดขอขัดแยงในบคุ ลิกภาพได 83

การพฒั นาตนภาพที่ 3.10 ตนตามอุดมคติทม่ี าภาพ : http://men.kapook.com/view42650.html ถา ตนทีต่ นมองเห็นกับตนตามที่เปนจริงมีความแตกตางกันมากหรือมีขอขัดแยงกันมาก บุคคลน้ันก็มีแนวโนมที่จะเปนบุคคลกอปญหาใหแกตัวเองและผูอ่ืน ในรายที่มีความแตกตางกันอยางรุนแรง เขาอาจเปนโรคประสาทหรือโรคจิตได เพราะเขาเองจะไมสามารถแยกแยะระหวางความเปนตัวตนท้ัง 3 ลักษณะออกจากกันได คารล โรเจอร อธิบายวา จากประสบการณก ารทาํ จิตบําบัดทําใหเขาสามารถยืนยันไดวา คนท่ีมีปญหาทางจิตใจและบุคลิกภาพคือ คนท่ีมีขอขัดแยงระหวางตนที่เปนจริงกับตนที่มองเห็นอยางรุนแรง ความสลับซับซอนในการความขัดแยง นี้ทําใหก ลไกลทางจิตมีความล้ีลับซับซอนมาขึ้นเปนอยางมาก ซึ่งจะทําใหบุคคลนั้นมีปญ หาทางอารมณ จิตใจ และบุคลิกภาพ นอกจากนน้ั บุคคลท่ีมองเหน็ ตนเองตรงกับตนตามความเปนจริงมักมองเห็นตนตามอุดมคติที่คอนขางเปนไปได ทําใหการดําเนินชีวิตเปนไปอยางมีความมุงหวัง กระตือรือลนและเปนไปตามส่ิงท่ีหวังเสมอ ซ่ึงทําใหบุคคลนั้นมีความพอใจในตนเองและนาํ ไปสคู วามพึงพอใจในบุคคลอ่ืนอีกดวย สวนบุคคลที่สรางภาพในอุดมคติหางไกลจากความเปนจริงมักจะประสบความผิดหวังในตนเองและผูอ่ืนอยูเสมอ ทําใหมองตนเองและผูอ่ืนในแงลบบคุ คลประเภทนมี้ ักมีขอสับสนและขดั แยงในตนเองและผูอ ื่น (ศรีเรอื น แกว วังวาล, 2554)84

การพัฒนาตนภาพที่ 3.11 ตวั ตนทสี่ ะทอนภาพในกระจกทงั้ 3 บานที่มาภาพ : http://www.trick2u.com ตัวตนท้ัง 3 แบบ คอื กระจกทส่ี ะทอ นภาพของตัวตนภายในตัวเราวาเปนอยางไรในปจจุบัน โดยสวนหน่ึงของภาพท่ีเราเห็นอาจมีผลสะทอนมาจากสิ่งท่ีคนอื่นมองมาที่ตัวเรา ซ่ึงบุคคลนั้นจะสามารถรูจักภาพลักษณท่ีกําหนดตัวเองหรือไมน้ันก็ขึ้นอยูกับวาเขาจะยอมรับหรือปฏิเสธภาพสะทอนท่ีบุคคลอื่นเห็นวาเปนภาพลักษณของตนเองหรือไม ยกตัวอยาง เชน “มีเด็กชายคนหนึ่งอาศัยอยูกับยายทั้งแตอายุยังนอย ภาพลักษณที่คนท่ัวไปมองตัวของเด็กคนน้ันก็คือ การเปนคนท่ีขาดความม่ันใจในตัวเองจนถึงในป พ.ศ. 2213 เขาไดถูกเด็กอันธพาลในโรงเรียนรังแกเขาจึงตดั สนิ ใจสแู ละสามารถเอาชนะเดก็ อันธพาลคนนั้นได ไ ม กี่ น า ที ห ลั ง จ า ก น้ั นภาพลักษณของเขาก็เปล่ียนไป ในเวลา 2-3 สัปดาหตอมาเขาไดเปนหัวหนาชั้นเรียน และเทอมตอมาเขาไดเลือกเปนประธานนักเรียน หลายปตอจากนั้นเขากลายเปนอัศวินโดยไดรับพระราชทานยศเปน เซอรไอแซค นิวตัน ผูคนพบกฏแหงจักรวาล การคนพบกฎนั้น ไมใชการ 85

การพฒั นาตนประดิษฐ เพราะกฎเหลาน้ันมีอยูรอบตัวเรา เพียงแตวาเราไมไดคนพบมัน ซ่ึงถาหากไดทําความเขาใจและสามารถประยุกตใชกฎตางๆไดอยางถูกตองตามที่มีอยูก็จะไมมีอะไรมาหยุดคุณไดอีกตอไป” (ศักดิ์ศิริ แสนเสรีศิริ, 2555) ดังนั้นการมองตนเองจากความคิดของตัวเราจึงเปนส่ิงที่มีความสําคัญเปนอยางมาก เพราะเม่ือเราสามารถเขาในตนเอง ก็จะทําใหเรารูแนวทางในการใชชวี ิตและยงั สามารถมองคนอ่นื ไดอ ยางเขาใจตอนท่ี 3.4 การเขาใจตนเอง (Self - Perception) การพฒั นาการเขาใจและรูจักตนเอง คือ ความพยายามที่บุคคลจะทําใหการรับรูเก่ียวกับการเขาใจตนเอง (self perception) หรือท่ีเรียกวา “อัตมโนทัศน” ตรงกับความเปนจริงตามธรรมชาติที่บุคคลนั้นเปนอยู น่ันคือ ตรงกับ “อัตตา” ของบุคคลนั้น การพัฒนาการรูจักตนเองน่ันสามารถทจ่ี ะกระทาํ ไดโ ดยการพฒั นาความตระหนักในตนเอง หรือการมีสติในตนเอง ดังที่ไดกลาวมาแลวในตอนตนวา ความเปน “อัตตา” จริงตามธรรมชาติของชีวิตบุคคลนั้นอาจจะมีความคลาดเคลื่อนกันอยูบางกับสิ่งท่ีตนคิดวาตนเปน หรือในอีกทางอัตตาท่ีเรามองเห็นตัวเรา ท่ีเรียกวา“อัตมโนทัศน” และความคลาดเคลื่อนน่ันเอง ท่ีไดเกิดเปนสาเหตุของความขัดแยง ไมประสานบุคคลนั้นในการอยูรวมกันกับบุคคลอ่ืนๆ ตามความเปนจริงของสังคม บุคคลท่ีสามารถมองเห็นตนเองไดตรงกับที่ตนที่เปนจริง คือ ผูที่รูจักตนเองไดเปนอยางดี หากบุคคลคนน้ันสามารถรูจักตนเองไดเปนอยางดีตามความเปนจริงแลวละก็บุคคลน้ันจะสามารถที่จะอยูในสังคมไดอยางมีความสขุ คือ บุคคลน่นั กจ็ ะเปด เผย จริงใจ และมีการแสดงออกที่ไมตองปกปดส่ิงใด และบุคคลอื่นกจ็ ะสามารถ “รจู ัก” บุคคลนน้ั ไดตามความเปนจริงอกี ดวย86

การพฒั นาตนภาพท่ี 3.12 ชีวติท่มี าภาพ : https://www.facebook.com/RECOYOUNGDESIGNER#!/ออ-เอ-970062939702196/ ในทางตรงกันขามบุคคลท่ีไมมีความรูจักตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งตนเองในสวนท่ีบกพรองแลว จะเปน สาเหตุของความขัดแยงและความทุกขทั้งมวล บุคคลท่ีไมรูจักตนเองจะไมสามารถใชตนเองเปนส่ือในการบําบัดทางจิตแกตนเองและผูอื่นไดเลย การรูจักตนเองจะมีไดมากหรือนอย หรือตรงตามความเปนจริงแคไหนน้ันขึ้นอยูกับระดับของความตระหนักหรือการรูสติในตนเองของบคุ คลนั้นท่มี ีอยู ความตระหนกั ในตนเองจึงเปนความจําเปนอยางมากยิ่งที่บุคคลนั่นจะตองทําความเขาใจ และหาคําตอบวาตรงสวนไหนบางในความเปนเราเองน้ันที่เรายังไมไดตระหนัก ท้ังน้ีการที่จะตระหนักในตนเองก็จะทําใหบุคคลไดเขาใจตนเอง และทําใหมนุษยอยูในโลกน้ีไดอยางมีความสุข ขอบเขตของความตระหนักในตนเองของบุคคล ชีวิตมนุษยเปนกระบวนการเปลี่ยนแปลง เมอ่ื ชีวติ ดาํ เนนิ ไป มนุษยมปี ระสบการณมากข้ึน การเรียนรูเพิ่มข้ึนความเปน “ตนเอง” หรืออัตตาของบุคคลก็จะคอย ๆ เปล่ียนไปดวย และมนุษยแตละคนรูจักตนเอง และมีความตระหนักในความเปนตนเองในขอบเขตที่ไมเทากัน บางคนตระหนักในตนเองไดใกลเคียงกับความเปนจริงและในขอบเขตที่กวางขึ้น ในขณะที่บางคนตระหนักในตนเองแตกตางจากความเปนจรงิ โดยธรรมชาติและยงั รจู ักตนเองเพียงนดิ เดียวหรือในขอบเขทแี่ คบอกี ดว ย (สริ ริ ตั , 2553) 87

การพัฒนาตนหนาตางหวั ใจ โจเซฟ ลัฟท (Joseph Luft) และแฮรี อินแกม (Harry Ingham) (Joseph Luftand Harry Ingham: 1970) สองนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ซึ่งไดศึกษาเกี่ยวกับความตระหนักในตนเอง ในบุคคล และอธิบายแนวคิดท่ีวาความตระหนักในตนเองจะเปนไปไดหรือไมไดมากนอยเพียงใดน้ัน ไมไดขึ้นอยูกับบุคคลแตเพียงฝายเดียว หากข้ึนยังขึ้นอยูกับบุคคลอ่ืนที่บุคคลนั้นมีปฏิสัมพันธอีกดวย ในกระบวนการดําเนินชีวิตหากจะเปรียบ “ตนเอง” ในธรรมชาติท้ังหมดของบุคคลหนึ่งโดยสัมพันธกับความตระหนักท่ีบุคคลนั่นจะพึงมีตอความเปนตนเอง หลักการนี้ไดรูจักกันในชือ่ หนาตางโจฮารี ( Johari Window) ซึ่งสามารถอธิบายไดเปน 4 สว น คือภาพท่ี 3.13 หนาตา งโจฮารี ของ โจเซฟ ลัฟท (Joseph Luft) และแฮรี อินแกม (Harry Ingham)88


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook