Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore GEH2201 การพัฒนาตน

GEH2201 การพัฒนาตน

Published by fastbad, 2016-07-07 04:34:12

Description: GEH2201 การพัฒนาตน

Keywords: การพัฒนาตน

Search

Read the Text Version

การพัฒนาตน 4. มนุษยมีศักยภาพที่จะฝกฝนพัฒนาตนเองไดอยางสมบูรณเต็มศักยภาพ ในสภาพการณทีเ่ ออื้ อาํ นวยใหมนษุ ยไดม โี อกาสรบั รูค วามจรงิ เกีย่ วกับคนไดอยางถูกตองจะตองมคี วามอดทนขยันหม่ันเพียร มีจิตใจสงบ รูจักแสวงหาขอมูล รูจักคิดตามความเปนจริงและเหตุปจจัยซึ่งเปนส่ิงท่ีจะตองพัฒนาใหเกิดขึ้นในมนุษย เพ่ือใหเกิดปญญาในการแกปญหาหรือดับทกุ ข 5. มนษุ ยจ ะดีหรือไมขน้ึ อยกู ับการกระทําของตนเอง ไมมีใครทําใหใครดีหรอื เลวไดโดยกาํ เนดิ ในการวนิ ิจฉัยวาอะไรเปนความดีอะไรเปนความช่ัว ใหถือวาเอาเจตนาเปนหลักตัดสินวาเปนกรรมหรือไม ในแงกรรมดีหรือกรรมชั่วนั้นใหพิจารณาตามเกณฑหลักไดแกพิจารณาตัดสินมลู วา เปนเจตนาทีเ่ กิดจากกุศลหรืออกุศลมูล และพิจารณาวาเปนสภาวะเกื้อกูลแกชีวิตจิตใจหรือไม สําหรับเกณฑรอง ไดแก ใชมโนธรรมของตนเองพิจารณาวาการกระทํานั้นเสียความเคารพตนเองหรอื ไม หลักการพฒั นาตนดว ยจิตวิทยาเชงิ พทุ ธ พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต, 2532) ซึ่งไดกลาวถึงพัฒนาตนเกิดจากการพัฒนาชีวติ มนษุ ยใ นลักษณะองคร วมประสานกัน 4 ดา น สรุปไดด งั น้ี 1. พัฒนากาย คือ การพัฒนารางกายใหแข็งแรง มีสุขภาพดี เพ่ือใหสัมพนั ธกบั สิ่งแวดลอม 2. พัฒนาศีล คือ การพัฒนาตนเองใหสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข ประพฤติส่ิงที่เปนประโยชนตอผูอ่ืนแกสังคม การมีระเบียบวินัยและการประกอบอาชีพสุจริตดวยการขยันหมนั่ เพียรซ่งึ การพฒั นาศีลจะเปนพ้ืนฐานไปสูการพัฒนาจิตตอไป 3. พัฒนาจิต คือ การฝกในดานจิตใจหรือดับจิตใจ การพัฒนาคุณสมบัติของจิตทั้งในดานคุณธรรม เชน ความเมตตากรุณา ความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ ในดานความสามารถของจิตเชน ความเขมแข็งมั่นคง ความมีสติ สมาธิ และในดานความสุข เชน ความอิ่มใจ ความราเริง เบิกบานใจความสดช่ืนผองใส ความรูสึกผองใส ความรูสึกพอใจหรือพัฒนาคุณภาพจิต สมรรถภาพจิตและสุขภาพจติ นน่ั เอง 4. พัฒนาปญญา คือ การฝกหรือพัฒนาในดานความรูความจริงเริ่มตนต้ังแตความเช่ือความเห็น ความรู ความเขาใจ ความหย่ังรูเหตุผล การรูจักวินิจฉัยไตรตรอง ตรวจสอบ 139

การพัฒนาตนการคิดส่ิงตางๆ อยางสรางสรรคการรับรูตรงตามความเปนจริงหรือรูเห็นตามท่ีมันเปน ตลอดจนรูแจงความจริงท่เี ปน สากลของส่งิ ทั้งปวง จนถึงขนั้ รูเทาทันธรรมชาติของโลก และชีวิตที่ทําใหมีจิตใจเปนอิสระปลอดปญหา ไรทุกขเ ขาถงึ อิสรภาพโดยสมบูรณ เม่ือมนุษยมีการฝกฝนพัฒนาตนครอบคลุมทั้ง 4 ดานแลวจะทําใหเกิดความสมดุลเกิดภาวะท่ีชีวิตดําเนินไปโดยมีปญญาประกอบ มีโยนิโสมนสิการรูจักคิดพิจารณาใชศักยภาพของตนเองเพ่ือเขาใจถึงส่ิงตาง ๆ ไดตรงกับความเปนจริงทําใหไมเกิดความทุกข แมเกิดความทกุ ขก ร็ วู า ทุกขนนั้ มากนอ ยเพียงใดดว ยเหตุอันใดท่ีทาํ ใหเ กิดความทุกข คนพบวิธีที่จะดับทุกขและสามารถเลอื กวิธีดบั ทุกขไ ดอยา งเหมาะสม โปรแกรมการพฒั นาตนตามแนวทางจิตวิทยาเชิงพทุ ธ มีผูศึกษาการพัฒนาตน ตามแนวทางจิตวิทยาเชิงพุทธไวหลายทานผูเขียนจึงขอสรุปเปนแนวทางการพัฒนาตนตามแนวทางจิตวิทยาเชิงพุทธเปน 3 ดานใหญ ๆ คือวธิ ีการพฒั นาความคิด วิธีการพัฒนาอารมณ และวธิ ีการพฒั นาพฤติกรรมดังน้ี 1. วธิ ีการพฒั นาความคิด การปรับความคดิ ใหม ีมุมมอง หรือทัศนะที่จะเอ้ือตอการพัฒนา โดยใชหลกั ธรรมตา งๆ เชน การคดิ แบบโยนิโสมนสิการดังรายละเอียดตอไปนี้ 1) ยกตัวอยางสุภาษิตหรือคํากลาวตาง ๆ ในพุทธศาสนาเพ่ือโนมนาวใหเกิดโยนโิ สมนสิการ (Wise Attention) ทัง้ นีค้ วรพจิ ารณาวาเร่ืองที่จะพัฒนา ควรนําสุภาษิตใดมายกเปน ขอ คํานงึ เพอ่ื ชักจูงใหคลายความยึดในความเชื่อเดิม ปลุกเราความคิดใหมตามสุภาษิตเพ่ือเปนการเรยี กสติกลบั คนื มา (ศนู ยสงเสริมพระพุทธศาสนาแหงประเทศไทย, 2532; ธรรมวุฒิ, 2531อา งใน ดวงมณี จงรักษ 2549) 2) ยกตัวอยางบุคคลท่ีพัฒนาในสมัยพุทธกาล การนําเอาตัวอยางบุคคลท่ีเกิดการพัฒนาในพุทธกาลมาเลาเพ่ือเปนตัวแบบใหเห็นวาการพัฒนาตนท่ีเกิดขึ้นนั้นสามารถสําเร็จดวยหลักธรรมขอใด ตัวอยางท่ีนํามาเสนอเพื่อเราใหเกิดความหวังและกําลังใจควรเปนเนื้อเร่ืองของบคุ คลทีพ่ ฒั นาในดานเดยี วกนั หรือใกลเคยี งกนั140

การพฒั นาตน 2. วิธีการพฒั นาอารมณ การใชหลกั ธรรมเพื่อพฒั นาอารมณมวี ิธดี งั นี้ 1) การควบคุมอารมณที่รบกวนจิตใจทําใหไมสามารถพัฒนาตนไดดวยการปฏิบัติตออารมณอยางถูกตอง ซึ่งเริ่มดวยการมีความเห็นที่ถูก (ติช นัท ฮันห, 2543)กลาวคือตองยอมรับและตระหนักความจริงวาอารมณท่ีไมอยากใหเกิดขึ้นน้ันเปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ ไมวาบุคคลจะชอบหรอื ไมชอบมันก็ตาม เชนถาบุคคลถูกไลออกจากงานเขายอมมีความขุนเคืองใจถึงขั้นโกรธแคน การปฏิบัติที่ถูกตองไมใชการหลบหนีเพ่ือลืมเรื่องราวที่เกิดข้ึนชั่วคราวการปฏิบัติกับอารมณท่ีเกิดขึ้นอยางถูกตองคือการฝกฝนใหกลาเผชิญกับอารมณตาง ๆ ดังน้ันทุกครง้ั ทอี่ ารมณเกดิ ขน้ึ ตองฝก ใหม สี ตเิ ทา ทันความจริงวา อารมณเ หลานัน้ ตอไปจะตองนอยลง และในที่สดุ อารมณก็จะหมดไป ซึง่ เปนไปตามธรรมชาติ 2) การฝกสมาธิเพ่ือใหอารมณคงท่ี สามารถพัฒนาในส่ิงท่ีต้ังใจไดสมาธิคือการท่ีมีใจต้ังมั่นในอารมณใดอารมณหน่ึงอยางแนวแน การมีใจจดจออยูในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงและไมฟุงซานนั่นเองประโยชนท่ีเห็นไดคือ ในชีวิตประจําวันทําใหเรามีจิตใจผองใส ประกอบกิจการงานไดราบร่ืนและคิดอะไรก็รวดเร็วทะลุปรุโปรง เพราะวาระดับจิตใจไดถูกฝกมาใหมีความน่ิงดีแลว เม่ือมีความน่ิงเปนสมาธิดีแลวยอมมีพลังแรงกวาใจท่ีไมมีสมาธิดังน้ีเม่ือจะคิดพัฒนาส่ิงใดก็จะทาํ ไดดี และไดเ รว็ กวาคนปกติทไี่ มไดผานการฝก สมาธิมากอน (พระธรรมปฎก, 2543) 3. วิธกี ารพัฒนาพฤติกรรม เทคนิคการพฒั นาพฤติกรรมคือการมสี ติ (Mindfulness) สามารถเรยี กไดว า ความระลึกได ความไมลมื ความไมเ ผลอ ไมเ ลนิ เลอ ความระมัดระวัง ความต่นื ตอหนาทีเ่ ปนภาวะทีพ่ รอมอยูเสมอในการรบั รตู อส่ิงตาง ๆ ทีเ่ ขามาเก่ยี วของและตระหนกั วา ควรจะปฏบิ ตั ิตอสง่ิเหลาน้ันอยางไร กลาวไดวาจดุ เรม่ิ ตนของการกระทาํ ตองเร่มิ ดว ยสติ สตติ องมาเปน อันดับแรกเพ่อืการควบคุมอารมณทางลบที่มีผลตอ การพัฒนา เชน ความโกรธ ความกลวั ความกงั วล ความอยากได อยากมี อยากเปน ไมใ หแสดงผลจนกลายเปนปญหา เชน ถา หากเกิดความวิตกกงั วล กจ็ ะไมปลอยใหความวิตกกังวลแสดงออกเปนความกลัวอยางไมม เี หตุผล สติคอื การระลกึ รูทันปจ จุบันปกตจิ ิตของบุคคลจะตองคิดเร่ืองตา ง ๆ อยเู สมอ คิดถงึ อดตี กังวลถึงอนาคต ทาํ ใหไมมีสติรูเทา ทนัปจจบุ ัน จึงกลา วไดว าการที่ใจอยกู ับปจจุบันเรียกวาสตินั้นเอง (พระธรรมปฎก, 2543) 141

การพฒั นาตน การพัฒนาตนตามแนวทางจิตวิทยาเชิงพุทธ คือการชักนําใหรูเทาทันถึงความคิดของตนเองกอน ในการดําเนินการโดยการยกตัวอยางสุภาษิต คํากลาวตาง ๆ และตัวอยางของบุคคลท่ีเกิดการพัฒนาในสมัยพุทธกาล ซ่ึงบุคคลเหลาน้ันไดนําหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาเขา เปน สอ่ื นาํ ทางใหไ ดคิด และพิจารณาตามเหตุและผลที่เกิดข้ึน เพราะความคิดเปนเครื่องมือในการสนองตอบตอสิ่งตาง ๆ ที่เขามากระทบ โดยการคิดตามหลักธรรม คือการคิดอยางรูวาอะไรเปนอะไร มาจากไหน หรือเรียกวาการคิดแหงเหตุผล และการคิดพิจารณาดวยปญญาน้ันเองเปนการเนนใหคนรูจักคิด ใชหลักความคิดอยางเปนระเบียบ รูจักคิดวิเคราะห ไมมองเห็นส่ิงตาง ๆ อยางผิวเผิน เม่ือบุคคลรูเทาทันความคิดของตนเอง ไมตกเปนทาสของความคิดนําไปสูการชักชวนใหสํารวจอารมณของตนเองในตอนนี้วาอยูในสภาวะใด และคิดตอไปวาภาวะของอารมณน้ันเกิดจากอะไร ทําใหเกิดความรูเทาทันภาวะอารมณของตนเองที่เปนอยู และปฏิบัติตนไดอยางเหมาะสมกับสภาพอารมณท่ีผานเขามา และนําไปสูการมีจิตใจท่ีจดจอกับเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง ไมฟุงซาน เรียกวาการมีสมาธิ ซึ่งข้ันน้ีคือวิธีการพัฒนาอารมณน่ันเอง หลังจากน้ันก็เปนข้นั ตอนสุดทายคอื การพฒั นาพฤติกรรมคือการมีสติ โดยการชกั ชวนใหอ ยูกับปจจุบัน พิจารณาสิ่งท่ีเปนอยู ณ ขณะนี้เขาใจทุกอยางท่ีเกิดข้ึนวามีลําดับ มีเหตุผล พิจารณาปจจัยมีความเขาใจในธรรมชาติมองเหตุการณตาง ๆ อยางรูเทาทัน มีจิตใจที่งดงาม ลดความโกรธ ความกังวล มีชีวิตท่ีพรอมตอความเปล่ียนแปลงตามสภาพท่ีไมคงท่ี พัฒนาความคิดเขาสูการมองส่ิงรอบขางและสถานการณในทางบวกรับรูและสัมผัสกับความสุขท่ีผานเขามาในชีวิตไดงายข้ึนดวยความคิดแหงปญ ญาอนั เปนหัวใจหลกั ของการดาํ เนนิ ชีวิตมนุษยตอนที่ 4.3 กระบวนการและแนวทางในการพัฒนาตน เรอื่ งที่ 4.3.1 กระบวนการพฒั นาตน กระบวนการพฒั นาตน กระบวนการพัฒนาตน หมายถึง ขั้นตอนในการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมตนเองจากพฤติกรรมทเ่ี ปนโทษหรือเปนอปุ สรรคตอความเจรญิ งอกงามไปสูการมีพฤติกรรมที่สงเสริมและเก้อื กลู ใหต นเองประสบความเจรญิ กาวหนายิ่งขึ้น ดังน้ันการพัฒนาตนจึงเปนกระบวนการของการ142

การพฒั นาตนเรียนรูใหม เพ่ือการเปล่ียนแปลงตนเองไปสูการมีคุณภาพท่ีดีกวาอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ซ่ึงมีขนั้ ตอนดังแผนภาพตอ ไปน้ี 1.สาํ รวจพิจารณา ตนเอง 7. ประเมนิ ผล 2.วเิ คราะห จุดเดน และขยายผลการ - จดุ บกพรอ ง พฒั นา กระบวนการ 3.กําหนดปญ หาและ พัฒนาตน พฤตกิ รรมเปา หมาย 6. ทดลองปรับปรุงพัฒนา5. เลอื กเทคนคิ 4.รวบรวมวิธแี ละวางแผน ขอมูลพ้ืนฐาน ภาพที่ 4.2 ขน้ั ตอนของกระบวนการพฒั นาตนกระบวนการพฒั นาตนมขี นั้ ตอนดังรายละเอยี ดตอไปนี้ 1. สํารวจพิจารณาตนเองหมายถึง การมองตนโดยการพิจารณาพิเคราะหพฤติกรรมปจจุบันของตนเอง ทําการพิจารณาใหตระหนักถึงผลดี ผลเสียที่จะเกิดข้ึนกับตนเองในอนาคตหากจะยังคงสภาพพฤติกรรมเชนนต้ี อไป 2. วิเคราะห จุดเดน – จุดบกพรอง ตรวจสอบท้ังจุดเดนท่ีควรรักษาและจุดปกพรองทีค่ วรปรับปรงุ หรือสว นพรอ งท่คี วรเติมเต็มใหกบั ตนเอง 3. กําหนดปญหาและพฤติกรรมเปาหมาย หมายถึง การกําหนดวาพฤติกรรมเดมิ ทตี่ นเองตอ งการเลกิ หรือปรบั เปลยี่ นคืออะไร กําหนดวาพฤติกรรมใหมท่ีตองการใหเปนน้ันหรือที่เรียกวาพฤติกรรมเปาหมายน้ันมีลักษณะอยางไร โดยทําการระบุพฤติกรรมน้ันอยางชัดเจน ใน 143

การพัฒนาตนลกั ษณะทส่ี ามารถวัดพฤติกรรมนั้นในเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพได เพื่อใหการดําเนินการพัฒนาตนในขัน้ ตอนตอไปเปน ไปอยางมปี ระสิทธภิ าพ 4. รวบรวมขอมูลพ้ืนฐาน เปนการรวบรวมขอมูลที่เก่ียวของกับพฤติกรรมท่ีตอ งการเปลีย่ นแปลงของตนในสภาพปจ จุบันกอนลงมือพัฒนาตน เพื่อที่จะไดวิเคราะหหาสาเหตุและเงอ่ื นไขทีเ่ ก่ียวของกับการเกิดพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคไดอยางถูกตอง รวมท้ังปริมาณหรือความเขมของพฤติกรรมกอนการพัฒนาตนเพื่อเปนเสนฐานของการประเมินผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมท้ังในระยะการตรวจสอบ ความกาวหนา และการประเมินผลความสําเร็จของการพฒั นาตน 5. เลือกเทคนิควิธีและวางแผน หมายถึงการตระเตรียมแผนการในการเปลี่ยนแปลงตนเอง โดยกําหนดวิธีการที่จะใชเพื่อเปลี่ยนแปลงตนเอง กําหนดเปาหมายของการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมตนเอง ทั้งระยะส้ันและระยะยาว กําหนดเทคนิคท่ีจะใชเพ่ือเปนตัวชวยใหการเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมตนเองสามารถบรรลเุ ปาหมายท่ีวางไวไ ดอยา งมีประสิทธิภาพทสี่ ุด 6. ทดลองปรบั ปรุงพฒั นา เปนการนําแผนที่วางไวไปปฏิบัติในสภาพการณจริงซง่ึ ข้นั ตอนน้ี ตอ งอาศัยความมุง มนั่ ความต้งั ใจจริง และความพยายามในการปฏิบัติตามที่วางแผนไว โดยไมยอทอ พรอมท้ังวัดผลการปฏิบัติในสภาพจริงวาพฤติกรรมเปาหมายท่ีทําไดน้ันเปนอยางไรในเชงิ ปริมาณหรือคุณภาพ 7. ประเมินผลและขยายผลการพัฒนา เปนการนําผลของพฤติกรรมท่ีปฏิบัติไดจริงมาเปรียบเทียบกับพฤติกรรมเปาหมายท่ีกําหนดไวในแผน ซึ่งจะทําใหทราบวาผลที่เกิดขึ้นจริงน้นั เปนไปตามแผนที่วางหรือไม ประสิทธิภาพของแผนเปนอยางไร หากพบวาการปฏิบัติจริงไดผลต่ํากวาเปาหมายท่ีวางไวในแผน ตองทําการคนหาสาเหตุหรืออุปสรรคท่ีทําใหไมสามารถดําเนินตามแผนได หรอื ปรบั แผนใหมแลว ดําเนนิ การตอไปจนบรรลพุ ฤติกรรมเปาหมายตามทีก่ ําหนดไว การทําใหพฤติกรรมที่ทําไดตามเปาหมายที่วางไวน้ัน คงสภาพเปนพฤติกรรมเชนนีอ้ ยางถาวรตอไปโดยไมย อ นกลบั ไปทําพฤติกรรมเดิมอีก ทั้งนี้เพราะพฤติกรรมท่ีสามารถทําไดตามเปา หมายน้ียังเปน พฤติกรรมใหมที่เพง่ิ เกดิ ข้นึ จึงตองอาศัย การฝกซอมทําซ้ําอยางสมํ่าเสมอคงเสนคงวาตอไปอีกจนกวาจะติดเปนนิสัย มิฉะน้ันแลวพฤติกรรมใหมนี้อาจจะหวนกลับไปเปนเหมือนเดิมหรอื สญู หายไปในเวลาไมน านกไ็ ด144

การพัฒนาตน จากกระบวนการพัฒนาตนที่ประกอบดวย 7 ข้ันตอนตามลําดับน้ี เปนกรอบแนวความคิดที่นํามาสูการสรางโปรแกรมการพัฒนาตน เพ่ือเปนเครื่องมือสําคัญของการสรางความสําเร็จในการพฒั นาตน กระบวนการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม ตามแนวทางจติ วิทยาเชงิ พทุ ธ การพัฒนาคนตามหลักพุทธศาสตรมุงการกระทําใหตนมีความสุขดวยตนเองมากกวา การพ่งึ พาวตั ถุ พระเทพเวที (2533) ไดเ สนอวิธีการท่ีจะพัฒนาตนไปสูการมีวิถีชีวิตท่ีดีงามถกู ตอ ง ซง่ึ เรยี กวาเปน รุงอรุณแหงการพฒั นาตน มี 7 ประการ ดงั น้ี ประการท่ี 1 รูจักเลือกหาแหลงความรูและแบบอยางที่ดี ไดแก การรูจักใชสติปญญาในการวิเคราะห พิจารณาและเลือกแหลงความรูที่ดี เริ่มจากการเลือกคบคนดี เลือกแบบอยางท่ีดี เลือกบริโภคส่ือและขาวสารขอมูลตาง ๆ ท่ีมีคุณคา การพัฒนาชีวิตเชนนี้ เรียกวาความมีกลั ปย านมติ ร (กัลยาน มติ ตา) ประการท่ี 2 รูจักจัดระเบียบชีวิต และอยูรวมกันในสังคมอยางเรียบรอยมีการวางแผนและจัดการกิจการงานตาง ๆ อยางมีระบบ ระเบียบ เรียกวาถึงพรอมดวยศีล(ศีลสัมปทา) ประการท่ี 3 ถึงพรอ มดวยแรงจูงใจใหสรางสรรค หมายถึง มีความสนใจ มีความพึงพอใจ มีความตองการจะสรางสรรค กิจการงานใหม ๆ ท่ีเปนความดีงาม หรือยังประโยชนตอชีวติ และสังคม เรียกวา ถึงพรอมดว ยฉันทะ(ฉนั ทสัมปทา) ประการท่ี 4 ความมุงมั่นพัฒนาตนใหเต็มศักยภาพ มนุษยมองภาพไมดีของตนวา สามารถพฒั นาได ก็จะมีความงอกงามจนที่ท่ีสุดแหงความสามารถของตน เรียกวา ทําตนใหถึงพรอ ม (อตั คสมั ปทา) ประการที่ 5 ปรับทศั นคตแิ ละคา นยิ มใหเหมาะสมกับการดําเนินชีวิตที่ดีงาม เอ้ือตอการเรียนรู และทําใหสติปญญางอกงามข้ึน เรียกวา กระทําความเห็นความเขาใจใหถึงพรอม(ทิฏฐิสมั ปทา) ประการท่ี 6 การมีสติ กระตือรือรน ตื่นตัวทุกเวลา หมายถึง การมีจิตสํานึกแหงความไมประมาท เขาใจการเปล่ียนแปลงของชีวิตและสภาพแวดลอม เห็นคุณคาของเวลา และใชเวลาอยางคุม คา เรยี กวา ถงึ พรอ มดว ยความไมป ระมาท (อัปปมาทสมั ปทา) 145

การพฒั นาตน ประการที่ 7 การรูจักแกปญหาและพึ่งตนเอง จัดการแกปญหาอยางเปนระบบดวยความคิดวิจารณญาณญาณตามเหตุปจจัยดวยตัวเอง เรียกการคิดแบบน้ีวา โฮนิสสมนสิการ(โยนิโสมนสกิ ารสัมปทา) นอกจากน้ี พระธรรมปฏก ไดใหแ นวทางการพัฒนาชีวติ ทยี่ ง่ั ยนื ไวว า การพัฒนาตนท่ีบุคคลพึงฝกหัดพัฒนา ไดแก ความเชื่อในการฝกฝนพัฒนาคน การมีศีลและปฏิบัติตามกฎเกณฑของสังคม ฝกการเพิ่มภาวะอิสระจากวิกฤตภายนอก บริจาคและสงเคราะหซึ่งกันและกันฝกสมาธิเพ่ือการสรางพลังจิตท่ีเขมแข็ง ฝกพัฒนาปญหาใหมีความเขาใจชีวิตและโลกที่แทจริงเพื่อนาํ ไปสูความเปนอสิ ระเหนอื ความสขุ เรอื่ งที่ 4.3.2 ประโยชนใ นการพฒั นาตน เม่ือมนุษยทุกคน ตางตองการใหตนเองพฒั นาไดเตม็ ศกั ยภาพ เปน มนษุ ยท ่สี มบรู ณ หรือตองการมีชวี ติ ที่เปนประสบความสาํ เร็จ มคี วามสุข สมปรารถนาในส่งิ ที่ตองการ การพัฒนาตนเองใหร เู ทา ทนั ตอการเปล่ียนแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ ในโลกสมยั นี้ การพัฒนาตนจึงมปี ระโยชนดงั น้ี เปนประโยชนต อตนเอง จําแนกไดดงั น้ี 1) สามารถเตรียมตัวเองใหม ีความพรอมในทุกดานท่ีตองการ เพ่อืเตรยี มรบั มือดว ยพลังใจทเี่ ต็มเปย มกับสถานการณต างๆที่จะเกดิ ข้นึ 2) สามารถปรับปรุงขอ บกพรองของตนเอง และพัฒนาพฤติกรรมของตนเองใหเ หมาะสม เสริมสรา งลกั ษณะทีเ่ ปนที่ตอ งการ 3) เปน การวางแนวทางใหส ามารถไปสูเปาหมายในชีวติ ไดอ ยางมั่นใจ 4) สง เสรมิ ใหต ระหนักถงึ คณุ คาในตนเอง เกิดความเขาใจตนเอง และสามารถทําสิง่ ตา งๆไดเตม็ ศักยภาพ เปนประโยชนตอบคุ คลอื่น เน่อื งดวยมนุษยเ ปนสัตวสังคม แตละคนยอมมีความสมั พันธซง่ึ กันและกนั ในการพฒั นาผูใ ดผหู นง่ึ ยอมสงผลตอบุคคลอนื่ ดวย ดังนั้นจึงสามารถจาํ แนกไดดงั นี้ 1) การพฒั นาตนเองน้ัน เปน การเตรียมตัวเองใหพรอ มท่จี ะเปน บุคคลแวดลอมทีด่ ขี องผอู นื่146

การพัฒนาตน 2) เปน บุคคลผูสรางแรงบนั ดาลใจ เปนตัวอยางใหเกิดการพัฒนาตน 3) สงเสริมใหเกิดการตระหนักถึง การพฒั นาตนในวงกวางตอ ไป เปน ประโยชนสังคมโดยรวม เนือ่ งดว ยสังคมมนษุ ย ประกอบดวยหนวยยอ ยๆหลายหนวย ที่มีบทบาทหนา ที่ท่ีตองรับผิดชอบ ซ่ึงลว นจะตองมมี นุษยเ ปนองคป ระกอบหลกั ในการขบั เคลื่อน จงึ สามารถจําแนกไดด ังนี้ 1) การพฒั นาตนเองน้นั มนุษยแ ตล ะคนจะไดพัฒนาวธิ ีคิดและทกั ษะใหมๆ ท่จี าํ เปนตอการเพิม่ ประสิทธิภาพการทํางาน 2) การพฒั นาตนเองน้นั มนุษยแ ตละคนไดพ ัฒนาและปรบั ปรุงตนเองใหท นั ตอพฒั นาการของรูปแบบการทาํ งานหรอื เทคโนโลยี และการพัฒนาเทคนิควิธี ท่ีจําเปนตอการเพิ่มคุณภาพของผลผลิต 3) การพัฒนาตนเองของแตละบคุ คลน้ันทําใหหนว ยงานมีความสามารถในการแขงขนั เชงิ คณุ ภาพและประสทิ ธิภาพกับหนวยงานอ่ืนได สงผลใหเกดิ ความม่ันคงทางเศรษฐกิจตอไป 147

การพัฒนาตนบทสรปุ การพัฒนาตน เปนกระบวนการเรียนรูที่ตอเนื่องตลอดชีวิตเพ่ือความสุขและความงอกงามของตนเอง ซึง่ จะสงผลใหเกดิ ความสุขและความงอกงามของสังคมสวนรวม การพัฒนาตนเองเปนการเปล่ียนแปลงตนเองที่มีขอบเขตของจุดมุงหมายครอบคลุมทั้ง 3 ดาน คือเพื่อการแกไขปญหาที่เกิดข้ึนในปจจุบัน เพื่อการปองกันปญหาท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต และเพื่อการสรางเสริมศักยภาพของคนใหสูงข้ึน โดยตองเกิดจากความเต็มใจและสมัครใจ ผูท่ีพัฒนาตนเองตองมีความตองการที่จะเปลี่ยนแปลงตนเองดวยตวั บุคคลนนั้ เอง โดยปราศจากความรูสึกวาถูกบังคับ ซึ่งความเต็มใจน้ีเกิดข้ึนจากปจจัยสําคัญประการหนึ่ง คือการตระหนักรูถึงปญหาและความจําเปนในการเปลี่ยนแปลงตนเอง นั่นคือผูที่จะพัฒนาตนเองตองมีความใสใจมีการติดตามสังเกตตนเองในแงพฤติกรรมการแสดงออก ความคิด อารมณความรูสึกในสถานการณตางๆ อยางเปนปจจุบัน ซึ่งการรูตนเองเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสดงออก ความคิดอารมณความรูสึกเหลานี้ จะทําใหบุคคลตระหนักรูถึงความรูสึกของปญหาและความจําเปนของการเปลี่ยนแปลงตนเอง พรอมท้ังมีความมุงมัน่ ท่ีจะฟน ฝาอปุ สรรคและการผลกั ดันตนเองเพอ่ื ใหไ ปถึงเปาหมายได ผูที่ตองการพัฒนาตนเองตองเปนผูท่ีมีบทบาทหลักในการลงมือพัฒนาตนดวยตนเอง หมายถึงผูท่ีพัฒนาตนตระหนักถึงความรับผิดชอบตอชีวิตของตนเองวาไมมีใครลงมือแทนตนเองได ถึงแมวาในการเปล่ียนแปลงตนเองอาจจะไดรับความชวยเหลือจากเพื่อน พอแม หรือครูอาจารยรวมดวย อยางไรก็ตามผูท่ีมีบทบาทหลัก คือ ผูท่ีตองการพัฒนาตนเองนั่นเอง มนุษยทุกคนมีความสามารถที่จะควบคุมและจัดการเปล่ียนแปลงสภาพแวดลอมและปจจัยภายในตนเองเพ่ือการพัฒนาตนเอง แมวาสภาพแวดลอมภายนอกและความคิดความรูสึกซึ่งเปนสภาพภายในตัวบุคคลจะสงผลรวมกันตอพฤติกรรมมนุษย แตผูท่ีควบคุมดูแลจัดการใหตัวเรามีการพัฒนาคนหรือพฤติกรรมที่เปล่ียนแปลงไปจากเดิมคือ ตัวเราเอง148

การพฒั นาตนคําถามทา ยบท 1.จงอธบิ าย หลักการและแนวคดิ ทเี่ กยี่ วของกับการพัฒนาตน 2.ยกตวั อยา ง แนวคดิ ท่เี กยี่ วขอ งกบั การพัฒนาตน 3.สามารถวิเคราะห ตน (Self) ตามแนวคิดทฤษฎีทางจิตวิทยา 4.จงอธบิ ายกระบวนการพัฒนาตน 5.หากตองพฒั นาตนเอง นกั ศึกษาจะพฒั นาตนเองในเรอ่ื งใด โดยวธิ ใี ดบาง 149

การพัฒนาตน เอกสารอา งองิAbraham H. Maslow, “A Theory of Hunman Motivation” Psychological Review vol. 50. 1943 . PP 340-396.)สมโภชน เอ่ยี มสุภาษติ . (2550). ทฤษฎีและเทคนคิ การปรบั พฤติกรรม. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ มหาวทิ ยาลยั .Granvold, Donald K. (1994). Cognitive and Behavioral Treatment: Method and Application. Belmont: Wadsworth, Inc.Prochaska,J.O., and Norcross, J.C. (2007). Systems of Psychotherapy: ATranstheoretical analysis. 6 ed. CA: Thomson Brooks/Cole.Prochaska,J.O., Norcross, J.C.and Diclemente, C.C. (1994). Changing for good. New York: Avon Books.Watson, David L. & Tharp, Roland G. (1993). Self-Directed Behavior: Self–modificationfor personal adjustment. 6 th. ed. Belmont: Wadsworth.150

การพัฒนาตน บทที่ 5 พฤติกรรรมเส่ยี งจากปจจัยภายใน ชลลดา ชูวณชิ ชานนทหัวขอเนอ้ื หา ตอนท่ี 5.1 แนวคดิ ทเี่ กยี่ วกับพฤตกิ รรมเสยี่ งจากปจ จยั ภายใน เรอ่ื งที่ 5.1.1 สาเหตุของพฤติกรรมเสี่ยงจากปจ จัยภายใน เรอ่ื งที่ 5.1.2 ปจจัยทเี่ กย่ี วของกับพฤติกรรมเส่ยี งจากปจจัยภายใน ตอนท่ี 5.2 ลักษณะพฤตกิ รรมเสยี่ งจากปจ จยั ภายใน เรอื่ งท่ี 5.2.1 พฤติกรรมกา วราวรนุ แรง เรอื่ งท่ี 5.2.2 พฤตกิ รรมซึมเศรา ฆาตัวตาย เรอื่ งท่ี 5.2.3 พฤติกรรมเกเร ตอ ตา นสงั คม ตอนที่ 5.3 แนวทางปอ งกันและแกไขพฤตกิ รรมเสี่ยงจากปจจยั ภายใน เรื่องที่ 5.3.1 แนวทางปอ งกันพฤตกิ รรมเส่ียงจากปจ จัยภายใน เรอ่ื งที่ 5.3.2 แนวทางแกไขพฤติกรรมเสย่ี งจากปจ จัยภายในแนวคิด 1. แนวคิดทเี่ ก่ียวของกบั พฤติกรรมเสีย่ งจากปจ จยั ภายใน 2. พฤติกรรมกาวราว-รนุ แรง 3. พฤติกรรมซึมเศรา-ฆาตวั ตาย 4. พฤตกิ รรมเกเร-ตอตานสังคมวัตถุประสงค เมอื่ ศึกษาเนื้อหาในหนวยการเรียนแลว ผูเ รียนสามารถ 1. อธิบายหลักการและแนวคิดที่เกยี่ วของกบั พฤติกรรมเสี่ยงจากปจ จัยภายใน 2. วิเคราะห พฤติกรรมเสี่ยงจากปจจัยภายใน ตามแนวคดิ ทเ่ี ก่ียวของ 3. สามารถอธิบายวิธีการปองกันการเกิด พฤติกรรมเส่ียงจากปจจัยภายในได 4. สามารถประยุกตใ ชความรแู กไ ข พฤติกรรมเส่ยี งจากปจจัยภายใน ได 151

การพฒั นาตนบทนาํ พฤติกรรมเส่ียง หมายถึง การกระทําที่มีแนวโนมใหผลลัพทในเชิงลบเปนพฤติกรรมท่ีอาจกอใหเกดิ อันตรายท้งั ตนเองและผูอ่ืน การศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงสามารถแบงพฤติกรรมเสี่ยงออกเปน2 ประเภท คือพฤติกรรมเส่ียงจากปจจัยภายใน และพฤติกรรมเส่ียงจากปจจัยภายนอก ในบทท่ี 5จะกลาวถึง พฤติกรรมเส่ียงจากปจจัยภายใน ไดแก แนวคิดที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมเส่ียงจากปจจัยภายใน ,พฤติกรรมกาวรา ว-รุนแรง ,พฤติกรรมซมึ เศรา -ฆา ตัวตาย ,พฤติกรรมเกเร-ตอตานสังคม และพฤตกิ รรมเสี่ยงทางเพศตอนท่ี 5.1 แนวคิดทีเ่ กย่ี วกับพฤติกรรมเสี่ยงจากปจ จัยภายใน เรือ่ งท่ี 5.1.1 สาเหตขุ องพฤติกรรมเส่ียงจากปจจยั ภายใน แนวคิดทเ่ี กีย่ วของกับพฤตกิ รรมเส่ยี งจากปจ จัยภายใน สุชา จันทนเอม(2544) กลา วถงึ สาเหตุทีเ่ กิดพฤตกิ รรมเสย่ี ง,ไมรวมมือ หรือไมสามารถเขา กับคนอ่ืนได แนวคิดที่เกย่ี วขอ งกับพฤติกรรมเสี่ยงจากปจจัยภายใน Reckless (1971)กลาววาแรงปรารถนาภายใน (Inner pushes) ไดแก ความไมพอใจ ความผิดหวังความเครียดความโกรธ ความเกลยี ด ความกลวั ความกาวราว ความอยากรวย อยากมีเกียรติ ความชิงดีชิงเดนความตอ งการอยา งแรงกลา และทนั ทที นั ใด ความรสู กึ ตํ่าตอ ย ความวิตกกงั วล และ อ่นื ๆ แนวคดิ ท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมเส่ียงจากปจจัยภายใน ประภาศน อวยชัย(2535) ไดทาํ วิจยั เรือ่ ง บทบาทศาลคดีเด็กและเยาวชน เก่ียวกับความมั่นคงแหงชาติ พบวาปจจัยภายในจากตวั ผกู ระทําผิดเองนนั้ ทําใหเกดิ พฤตกิ รรม แนวคิดท่เี กี่ยวของกับพฤติกรรมเส่ียงจากปจจัยภายใน ประเทือง ภูมิภัทราคม (2540) ไดกลาวถึงปจจัยท่ีเปนสาเหตุของพฤติกรรมท่ีเปนปญหา ในสวนท่ีเกี่ยวกับปจจัยดานตนเอง แนวคิดทเี่ ก่ยี วของกับพฤติกรรมเสีย่ งจากปจจัยภายใน สมอ ทองด(ี 2535)ไดก ลา วถงึ ปจ จยั ท่มี ีอทิ ธิพลตอ การเกิดอารมณ ซ่ึงเปน ผลกระทาํ ใหเ กิดพฤตกิ รรมเส่ียงเกี่ยวกับตัวเอง152

การพัฒนาตน เรื่องที่ 5.1.2 ปจจัยท่ีเกีย่ วของกบั พฤตกิ รรมเส่ียงจากปจ จัยภายใน แนวคดิ ที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมเส่ียงจากปจจยั ภายใน สุชา จนั ทนเอม(2544) ไดก ลาวถึงสาเหตุที่เกิดพฤตกิ รรมเสี่ยง,ไมรว มมือ หรอื ไมส ามารถเขา กับคนอ่นื ได มีดงั น้ี สภาพทางรา งกาย หากสุขภาพ หรือสุขภาวะทางรางกายไมดี อาจทําใหเกิดความแปรปรวนทางองรมณ ท่นี ําไปสูพฤติกรรมเสี่ยงได ถาไมไดรับการเอาใจใส หรือการดูแลที่ดีพอก็จะกอ ใหเ กดิ พฤติกรรมเสีย่ งได สภาพทางสวนตวั สภาพทางสวนตัวท่ีกอใหเ กิดพฤติกรรมเส่ียงไดแก (1)การทาํ ตามใจตนเอง (2)การรูเทาไมถึงการณ ไดแก การขาดความสามารถทางจิต และความไมบรรลนุ ติ ิภาวะ (3)การเอาอยา งความประพฤติไมด ี (4)การตระหนต่ี ัว เปน รากฐานเขากับใครไมได สภาพทางสงั คม ผมู พี ฤตกิ รรมเสย่ี งเพราะตองการแสดงความโดดเดน ทําอะไรตามความพอใจ จึงอาจแสดงพฤติกรรมออกมาในทางทผ่ี ิดได สภาพในขณะน้นั กจิ กรรมเกิดขึ้นรอบๆตัวบุคคลเปนไปตามจุดหมายตามบุคคลและส่ิงแวดลอมที่เปนอยูในขณะนั้น ทําใหเกิดปฏิกิริยาตอพฤติกรรม เชน บุคลิกภาพของพอแมมีสวนทําใหเกิดพฤตกิ รรมเสย่ี งของลกู ได แนวคดิ ทีเ่ ก่ียวของกบั พฤตกิ รรมเสีย่ งจากปจจยั ภายใน ประภาศน อวยชยั(2535) ไดทาํ วจิ ยั เรื่อง บทบาทศาลคดเี ดก็ และเยาวชน เกยี่ วกับความม่ันคงแหง ชาติ พบวาปจจัยภายในจากตัวผกู ระทําผิดเองนั้นทําใหเกิดพฤติกรรม ไดแ ก พนั ธกุ รรม พันธุกรรม หรือสงิ่ ทไี่ ดร บั การถา ยทอดจากพอ แม ทําใหผ ูที่เกิดมาเปน โรคปญญาออน จิตใจบกพรอง ซง่ึ เปนผลรา ยตอชีวิต เพราะจะทําใหบ ุคคลไมสามารถใชสตปิ ญ ญาไตรต รองยับยัง้ หรือหักหามใจตอตานกบั สิ่งย่ัวยุตางๆ ได ส่ิงตา งๆเหลา นี้อาจมีสาเหตสุ บื 153

การพัฒนาตนเนือ่ งมาจากโรคภัยไขเ จ็บของบิดามารดาที่ตอเนือ่ งมาถงึ บตุ ร เชน วณั โรค เปนตน ซ่ึงอาจทําใหเกดิมีจติ ใจวิปริตผิดปกตไิ ปไดเ ชนกัน ความพิการ หรือ โรคภยั ไขเ จบ็ ความพิการหรือโรคภยั ไขเ จบ็ รา งกายท่ีพกิ ารหรือไมสมประกอบซ่ึงอาจเปนมาแตกําเนิดหรือประสบอุบัติเหตุข้ึนในภายหลังหรือโรคภัยเบียดเบียน เชน เกิดปวยเปนโรคเร้ือรงั ซึง่ ไมอ าจรักษาใหหายขาดได เชน โรคระบบประสาทพิการ ไขมาเลเรียขึ้นสมอง หรือเปนไขไ ทฟอยด เปน ตน อาการของโรคเหลานยี้ อ มทาํ ลายสขุ ภาพ และจิตใจของบุคคลไดบางรายทําใหเกิดโรคประสาทและเกิดปมดอยขึ้น ในทางจิตวิทยาบุคคลจะเกิดความรูสึกนอยเน้ือต่ําใจ มักมองโลกในแงราย เห็นผูอ่ืนเปนศัตรูหรือเขาใจผิดคิดวาถูกดูหม่ินเหยียดหยามทําใหเกิดปฏิกิริยาตอบสนอง โดยเกิดความรูสึกอยากแสดงฤทธ์ิเดชในทางช่ัวรายอยูแลว ถายิ่งมาถูกใครลอเลียน ก็ย่ิงเสมอื นเอาน้ํามนั มาราดไฟและมีพฤตกิ รรมเส่ียงได ภาวะแหง จติ ใจ ภาวะแหงจิตใจ บุคคลอาจมีอารมณและจิตใจแตกตางกันโดยเฉพาะวยั รุน ทอ่ี ยูในสภาพเปลี่ยนแปลงทงั้ ทางรา งกายและจติ ใจ หรือทีเรียกวาวัยคะนองน้ันมักมีอารมณรุนแรง ฉุนเฉียว โกรธงาย บางคนก็เปนคนเจาทุกข มักมีอารมณขุนมัว เอาใจยากหงุดหงิด ทําเรื่องเล็กเปนเรื่องใหญ และชอบแสดงออกซ่ึงพฤติกรรมในลักษณะท่ีเปนภัยอันตรายตอผูอ่ืนไดในบางโอกาส แตทั้งนี้ก็ข้ึนอยูกับความสมบูรณของรางกายและจิตใจ โรคภัยไขเจ็บตลอดจนส่ิงแวดลอ มรอบตัว ท่ีจะมาเสรมิ สรางบุคลกิ ภาพของแตละคนดว ย นอกจากนี้ Schafer and kundton(1980)ยังกลาวความบกพรองทางรางกาย เชน รางกายพิการ โรคภัยไขเจ็บหรือส่ิงที่ไดรับมาจากบรรพบุรุษ ทําใหบุคคลคิดมากไมสบายใจเกดิ ปมดอย เม่ือสะสมอยูในเปนเวลานานอาจนําไปสูความบกพรองทางจิตใจได (Mentaldificiencies) ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งท่ีมีผลทําใหเกิดพฤติกรรมเส่ียง จนกระท่ังนําไปสูการกระทําผิดหรอื มพี ฤติกรรมออกนอกลูน อกทาง (Deviant behavior) สติปญ ญาและการศกึ ษา สติปญญาและการศึกษา โดยที่มนุษยเราเกิดมายอมมีสติปญญาและความเฉลียวฉลาดไมเทาเทียมกัน บางคนมีสติปญญาสูงหรือระดับธรรมดา บางคนก็มีสติปญญาธรรมดาหรือท่ีเรียกวาปานกลาง บางคนชวยตัวเองไมไดมาตั้งแตกําเนิด บางคนก็โงเขลาแตก็พอชวยตัวเองได บางคนก็ปญญาทึบ ความจําไมดี เรียนไมทัน เกิดความเบื่อหนายในการเรียน ผลสดุ ทายมพี ฤติกรรมหนีโรงเรียน ไปเทย่ี วเลน และกลายเปนเหยื่อแหงความช่ัวราย โดยอาจถกู ชักจงู ใหเหน็ ผดิ เปนชอบ และกลายเปนผูกระทาํ ผิดกฎหมายไปก็มี154

การพฒั นาตน การคน พบนี้ สอดคลองกับนักจิตวิทยาหลายทานท่ีกลาววา บุคคลท่ีมีปญหาเกี่ยวกับความประพฤติน้ันโดยเฉล่ียแลวมีสติปญญาปานกลาง คอนขางตํ่า และตํ่ามากสําหรบั หัวหนากลมุ นัน้ มกั จะมีสตปิ ญญาสูง สามารถปกครองคนอื่นๆ ซ่งึ เปนสมาชิกได กลาวคือมีอํานาจบังคบั ใหคนอื่นทําตามคําสงั่ ได และในกรณีที่เกิดมเี ร่ืองเดือดรอนข้ึน ผูที่มีสติปญญาต่ํากวาและมีความสามารถนอยกวามักจะถูกตํารวจจับ สวนหัวหนามักจะสามารถเอาตัวรอดไปไดเสมอบุคคลผมู สี ติปญญาต่ํากวายอมถูกชักจูงใหมีพฤติกรรมเสี่ยงตางๆ ไดงายเพราะฉะน้ันจึงพบวาผูที่กระทําผิดมักเปนผูมีสติปญญาต่ํา อยางไรก็ดีการที่จะมีสติปญญาสูงหรือตํ่านั้นเปนเร่ืองของพนั ธุกรรม สญั ชาตญาณความอยากรูอยากเหน็ สัญชาตญาณความอยากรูอยากเห็น ความอยากเผชิญภัย หรือสัญชาตญาณทางกามารมณ เปนตน ลวนเปนสิ่งท่ีอาจจะเปนสาเหตุท่ีทําใหเกิดพฤติกรรมเสี่ยงไดอยางหน่ึง ตัวอยางโดยเฉพาะเทาที่ปรากฏ ประภาศน อวยชัย (2535) ก็คือ บางบุคคลอาจมีสญั ชาตญาณทางกามารมณแกกลา กลาวคือ มีความปรารถนาทางเพศรุนแรงกวาบุคคลธรรมดาอ่ืนๆ และตองหาทางออกเพ่ือปลดเปล้ืองความใครหรือความพอใจของตนดวยการขมขืนผูอื่นหรือเปนโรคกามวิปริตบางคนก็มีสัญชาตญาณในทางกาวราวชอบรุกรานผูอื่นเขาท่ีไหนเปนตองทะเลาะวิวาทชกตอยทํารายผูอื่นอยูเสมอ ดวงเดือน พันธุมนาวิน (2544) ไดกลาวถึง ปจจัยที่มีอทิ ธิพลตอพฤตกิ รรมเบีย่ งเบน ปจ จัยท่ีเกี่ยวกับตนเองมีผลตอพฤติกรรมเบี่ยงเบน ไดแก ปจจัยทางพันธุกรรมที่วา พนั ธุกรรมมผี ลตอลกั ษณะตางๆของบุคคลน้ันมิใชแครูปรางหนาตาหรือลักษณะทางกาย หรือโรคบางชนิดเทาน้ัน หากแตรวมไปถึงนิสัยใจคอบางอยาง เชน บุตรยอมมีลักษณะนิสัยคลายพอแมหรือบุคคลในสายเลือดเดียวกันมากกวาบุคคลนอกสายเลือด หรือมีลักษณะทางพันธุกรรมทางสรีระ เชน ผูที่มีความออนไหวตอการรับรูความความรูสึกของผูอื่น พบวา บุคคลเหลานี้มักทนตอความทุกขทรมานทางใจไดนอยคือ จิตใจออนแอ ซึ่งตรงกันขามกับผูที่มีความเขมแข็งตอการรับรูความความรูสึกของผูอ่ืน ผลการศึกษาพบวา คนพวกนี้สวนใหญมักมีความม่นั คงทางจติ ใจมากกวา บคุ คลพวกแรกและอดทนตอชวี ติ ตอ ความทกุ ขท างใจไดม ากกวาดว ย แนวคดิ ทเี่ กีย่ วขอ งกบั พฤติกรรมเส่ียงจากปจจยั ภายใน ประเทือง ภูมิภัทราคม (2540) ไดกลาวถึงปจจัยที่เปนสาเหตุของพฤติกรรมที่เปนปญหา ในสวนท่ีเกี่ยวกับปจจัยดานตนเอง แบง ได 2 ปจ จัย 155

การพฒั นาตน พันธกุ รรม พันธุกรรม เปนที่ยอมรับกันวา ส่ิงที่ถายทอดจากบรรพบุรุษไปสูลูกหลาน โดยผานกระบวนการของพันธุกรรมมิใชมีแตลักษณะทางกายเทาน้ัน หากยังรวมถึงลกั ษณะทางพฤติกรรมดวยไดม กี ารพัฒนาการศึกษาการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมท่ีเรียกวาพันธุศาสตรแหงพฤติกรรม(Behavior genetics) ขึ้นมาเพื่อศึกษาและคนควาในเรื่องน้ีอยางเปนระบบ วธิ กี ารที่ใชม หี ลายวิธี เชน ศึกษาโดยใชว ธิ ีการผสมพันธุมักนิยมทดลองกับสัตวโดยผสมพันธุสัตวเพื่อดูวาลักษณะพฤติกรรมถายทอดทางพันธุกรรมหรือไม เชน การผสมพันธุไกชนท่ีตีเกงอดทน ใจสู ลกู หลานกจ็ ะมลี ักษณะ ดี เกง อดทน ใจสู มา ว่ิงเรว็ ลกู หลานก็มักจะมีลูกหลานที่วิ่งเร็วดว ย เปน ตน การวิเคราะหเ ครือญาติ คอื ศกึ ษาวาถาบรรพบุรุษเปนหรือมีอาการนั้นแลว บุตรหลานจะเปนหรือมีลักษณะน้ันหรือไม จากการศึกษาโดยการวิเคราะหเครือญาติ พบวา ลักษณะพฤติกรรมหลายอยางถายทอดทางพันธุกรรม นอกจากนี้ก็มีการศึกษาลักษณะการถายทอดพฤติกรรมทางพันธุกรรมดวยวิธีการวิเคราะหความคลายอีก คือ วิเคราะหวาลักษณะอาการหนึ่งเปนกับพ่ีแลวนองจะเปนดวยหรือไม วิเคราะหลักษณะน้ัน ฯลฯ เชน การศึกษาอาการจิตเภท(Schizophrenia) ซ่ึงเปนอาการของโรคจิตประเภทหนึ่ง จากการศึกษาของนักพันธุศาสตรพฤตกิ รรมพบวา ผทู ี่มคี ลายกันทางพันธุกรรมมากก็จะมีโอกาสท่ีจะมีอาการจิตเภทมาก เปนตนวาฝาแฝดถาคูแฝดคนหน่ึงมีอาการจิตเภทโอกาสที่คูแฝดอีกคนหนึ่งจะมีอาการจิตเภทก็จะสูงกวาพ่ีนองธรรมดา เปนตน ซ่ึงแสดงวาลักษณะทางพฤติกรรมบางอยางสามารถถายทอดทางพันธุกรรมได ความผดิ ปกตทิ างชีวภาพ ความผิดปกติทางชีวภาพ ความผิดปกติทางชีวเคมีในรางกายของมนุษย มีผลตอลักษณะพฤติกรรมของมนุษยดวย เชน จิตแพทย พบวา ในเลือดของของผูที่มีอาการจิตเภทมีสารกลูตาฮีออน (Glutahione) นอยกวาในเลือดของผูที่มิไดมีอาการจิตเภท ดังนั้นความผิดปกตทิ างชีวเคมีจึงนา จะมีสวนทาํ ใหเ กิดพฤติกรรมทผ่ี ิดปกตขิ ึ้น156

การพัฒนาตน แนวคิดทเี่ กย่ี วของกบั พฤตกิ รรมเส่ยี งจากปจ จัยภายใน สมอ ทองด(ี 2535)ไดก ลา วถงึ ปจ จยั ท่ีมีอิทธพิ ลตอการเกิดอารมณ ซง่ึ เปนผลกระทําใหเ กิดพฤตกิ รรมเสี่ยงเก่ยี วกับตวั เอง สามารถสรุปไดดังน้ี ปจจยั ดานสุขภาพบกพรอง ปจจยั ดานสุขภาพบกพรอง บคุ คลทสี่ ุขภาพไมดี มีอาการเจ็บปว ยหรอื พิการเชน ตาบอด, ขาขาด บุคคลเหลา น้ีจะแสดงพฤติกรรมไดงา ยจากอารมณโกรธ, ฉนุ เฉยี ว ความเหนื่อยลา ความเหน่ือยลา บุคคลที่มีการพักผอนไมเพียงพอ, นอนนอย ,ตื่นเตนเกินไป , รับประทานอาหารไมเพียงพอกับความตองการทางดานรางกาย จะทําใหอารมณเสียไดงาย ระดบั สตปิ ญ ญา ระดับสติปญญา จากการศึกษาเกี่ยวกับบุคคลที่มีความบกพรองทางสมอง และ มีสติปญญาระดับตํ่าพบวา บุคคลกลุมน้ีไมสามารถควบคุมอารมณได สวนบุคคลฉลาดสติปญ ญาสงู มจี ินตนาการลึกซงึ้ จะสามารถควบคุมอารมณไดดกี วาตอนท่ี 5.2 ลกั ษณะพฤติกรรมเส่ยี งจากปจ จยั ภายใน เรอื่ งที่ 5.2.1 พฤติกรรมกา วรา วรนุ แรง โดยธรรมชาติ ความกาวราวในมนุษยจะลดลงเมื่อเริ่มรูภาษามากขึ้นโดยปกติบุคคลที่มีอายุ 6-7 ปข้ึนไป จะมีความกาวราวนอยลง บุคคลจะเร่ิมเขาใจวาเหตุใดคนอ่ืนจึงกระทาํ เชนนน้ั เร่มิ ลดการเอาตนเอง เปนศนู ยกลางลง สํานกึ มีความเห็นอกเห็นใจ ใสใจผูอื่นเพิ่มมากขึ้น อยางไรก็ตาม ไมใชทุกคน จะเรียนรูท่ีจะควบคุมความกาวราว บางคนความกาวราวไดเพิ่มความรนุ แรงข้นึ อนั เน่อื งมาจากไดร บั แรงกระตุน จากสภาพแวดลอมรอบขาง ความหมายของพฤตกิ รรมกา วราว พฤติกรรมกาวราว-รุนแรงหมายถึง พฤติกรรมที่บุคคลแสดงการกระทําในลักษณะที่รุนแรงผิดปกติ เพ่ือตอบสนองหรือปลดปลอยความเครียด ความคับของใจความโกรธ และความรูสึกท่ีไมดีตางๆ โดยเปนการกระทําทั้งทางกายและวาจาที่รุนแรงผิดไปจากปกติ เปนการกระทําที่มีผลใหผูอื่นเจ็บปวด เสียหาย หรือมุงทํารายใหผูอ่ืนเดือดรอน ท้ังที่มีเจตนาและไมม ีเจตนาโดยตรง 157

การพฒั นาตน สาเหตุพฤตกิ รรมกาวราว-รุนแรง พฤติกรรมกาวราว-รนุ แรง ไมไ ดเกิดจากสาเหตใุ ดสาเหตุหน่ึงเพยี งประการเดยี ว แตม กั เกิดจากปจ จยั หลายประการทซี่ บั ซอน และมผี ลกระทบตอกันอยางตอเน่ือง ทง้ัปจ จยั ดานชวี ภาพและจติ ใจ ปจ จัยดานสภาพแวดลอม ต้ังแตร ะหวางการตั้งครรภ ภาวะแทรกซอนในระยะแรกเกิด การเล้ียงดู ครอบครัว เพอ่ื น โรงเรียน เศรษฐกิจ และสงั คม ซึง่ มที ั้งทเี่ ปน ปจจยัเสีย่ งและปจ จยั ท่ีเปนดา นบวกหรอื ปจ จยั ปองกนั และผลกระทบของแตละปจจยั ยงั ขึ้นอยกู ับจังหวะเวลาทเ่ี กดิ ขึ้น ระยะเวลา และความรนุ แรงดวย 1) ปจจัยดานชีวภาพ ในอดีตมีความเขาใจกันวาพฤติกรรมกาวราวเกิดจากสาเหตุดา นจิตใจและสังคมเปน สาํ คัญ แตในปจจุบันความกาวหนาของการศึกษาดานเซลล โมเลกุล และพันธุกรรม ทําใหมีการศึกษาและมีความเขาใจสาเหตุของพฤติกรรมกาวราวทางดานชีวภาพมากข้ึน พันธุกรรม การศึกษาพฤติกรรมกาวราวในครอบครัว คูแฝด และบุตรบุญธรรม พบวามีปจจัยดานพันธุกรรมเกี่ยวของกับการเกิดพฤติกรรมกาวราว ผลสรุปของการศึกษาสวนใหญพบวาไมใชปจจัยดานพันธุกรรมเพียงอยางเดียวที่เปนสาเหตุของพฤติกรรมกาวราว ยงั ตองมีปจ จัยสภาพแวดลอ มทีส่ งเสรมิ รว มดวย ฮอรโ มน เปนท่แี นช ดั วา เพศชายมีพฤติกรรมกาวราวมากกวาเพศหญิงผูปวยที่มีโครโมโซมเพศผิดปกติบางชนิดมีพฤติกรรมกาวราวมากกวาคนทั่วไป ฮอรโมนเพศทั้งandrogens, estrogens และเอ็นไซมทเี่ กีย่ วขอ ง มีผลตอการเจริญเติบโตและการพัฒนาของสมองต้ังแตทารกอยูในครรภ ทาใหสมองของเพศชายและเพศหญิงแตกตางกันในบริเวณท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมกาวราว ความกลัว และความยับยัง้ ชั่งใจ ไดแก amygdala, สวนอ่ืนของ limbic system,และ frontal lobe เปนตน เพศชายและเพศหญิงจึงมีความกาวราวแตกตางกัน ในระยะวัยรุนซ่ึงเปนวัยท่ีมีการเปลี่ยนแปลงฮอรโมนเพศอยางมากและยังมีอิทธิพลตอการพัฒนาของสมอง เชนพบวา testosterone ทําให amygdala ของเพศชายมีขนาดใหญกวาเพศหญิง วัยรุนเพศชายจึงเปนวัยท่ีมีโอกาสเกิดพฤติกรรมกาวราวไดงาย อยางไรก็ตาม การเปล่ียนแปลงของฮอรโมนเพศตามปกตมิ ีสวนเก่ียวของกบั การเกิดพฤตกิ รรมกาวรา วในวยั รุน เพียงเลก็ นอ ย การพัฒนาของสมองในระยะวัยรุนมีความสัมพันธกับการเกิดพฤติกรรมกาวราวงาย โดยเฉพาะในระยะวัยรุนตอนตนซ่ึงพบวาวัยรุนมีความกาวราวมากที่สุดการพัฒนาของสมองในชวงวัยรุนทําใหจํานวน synapse ที่มีอยูในชวงกอนวัยรุนลดลงไปครึ่งหน่ึงเพ่ือใหเซลลประสาททํางานอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน การท่ียังมี synapse มากเกินไปในวัยรุน158

การพัฒนาตนตอนตน ทาํ ใหมีความจํากัดในดานการใชเ หตุผล การคํานงึ ถึงผลท่ีตามมา และมีการตัดสินใจยังไมดีพอ เปนสาเหตุใหเ กิดพฤติกรรมกาวราวได 2) ปจจัยดา นจิตใจ ปจจัยดานจิตใจ ของบุคคลท่ีมีความฉลาดทางอารมณตํ่ามีแนวโนมเกิดพฤติกรรมกาวราวสูงกวาบุคคลท่ัวไป ซ่ึงอาจเกิดจากท้ังปจจัยดานพันธุกรรม และปจจัยดานการเลี้ยงดูที่พอแมมักมีปฏิสัมพันธดานลบ เนื่องจากในวัยเด็กเม่ือเกิดความรูสึกไมปลอดภัยจากความสัมพันธของบุคคลจะมีความสัมพันธกับพฤติกรรมกาวราวอยางตอเนื่องต้ังแตวยั เด็ก วัยรุน จนถงึ วยั ผูใหญ ขึน้ อยกู ับปจจยั การเลีย้ งดขู องพอแมใ นชว งแรกของชีวิตเปน สําคัญ Self-esteem บุคคลท่ีมี self-esteem ต่ํามักมีปญหาพฤติกรรมกา วรา วไดงา ย เพราะมกั แปลความหมายสถานการณต า งๆในเชงิ ลบ และตอ งการแสดงใหผูอ่ืนเห็นวา ตนเองเหนือกวาผูอืน่ ดวยวิธีการรุนแรง มักถูกเพ่ือนปฏิเสธหรือรูสึกถูกเพ่ือนปฏิเสธจึงตองไปเขากลุมกับเพื่อนท่ีมีพฤติกรรมเส่ียง และแสดงพฤติกรรมกาวราวเพื่อใหไดรับการยอมรับ สาเหตุที่ทําใหบุคคลมี self-esteem ต่ํามีท้ังปจจัยที่เกิดจากตัวเอง แตที่สําคัญคือการเลี้ยงดูของครอบครัวที่ไมไดสงเสริม self-esteem อยางเหมาะสม รวมท้ังโรงเรียนและสังคมยังไมไดมีกิจกรรมท่ีเปดโอกาสใหวยั รนุ สว นใหญร สู ึกวา ตนเองเปนท่ียอมรับ Life skills บคุ คลที่มีพฤติกรรมกาวราวมักขาดทักษะชีวิตในดานตางๆเชน ทักษะการแกไขปญหา ทักษะการแกไขความขัดแยง ทักษะการพูดแสดงอารมณและความตอ งการของตนเอง ทักษะการจัดการกับอารมณ ทักษะการสรางความสัมพันธระหวางบุคคล และทักษะสงั คม การขาดทักษะเหลา นมี้ สี าเหตุจากท้งั ปจ จัยสว นบุคคล และสภาพแวดลอม Intelligence วัยรุนท่ีมีพฤติกรรมกาวราวมักมีระดับเชาวปญญาต่ํากวาเด็กท่ัวไป แตไมไดจาเปนเสมอไป ระดับเชาวปญญาท่ีต่ํากวาวัยรุนท่ัวไปทําใหขาดความสามารถในการแกไขปญหา การใชเหตุผลอยางเหมาะสม ขาดความย้ังคิด มักมีปญหาดานอารมณและจิตใจ มี self-esteem ต่ํา มีปญหาการเรียน ถูกปฏิเสธจากกลุมเพ่ือน ลวนเปนปจจัยใหเ กิดพฤตกิ รรมกา วรา วไดงา ย 3) ปจ จัยสภาพแวดลอม ก า ร เ ลี้ ย ง ดู เ ป น ป จ จั ย ท่ี สํ า คั ญ ม า ก ท่ี สุ ด อ ย า ง ห น่ึ งประสบการณการเลี้ยงดูในระยะแรกของชีวิตสงผลระยะยาวทั้งทางดานจิตใจและรางกายโดยเฉพาะการพัฒนาสมองสวน frontal lobe คุณภาพการเล้ียงดูในวัยเด็กจึงกําหนดพฤติกรรม 159

การพัฒนาตนของเด็กไปจนถึงวัยผูใหญ รวมท้ังพฤติกรรมกาวราวดวย ลักษณะการเลี้ยงดูที่สัมพันธกับการเกิดพฤตกิ รรมกา วราว ไดแ ก การเล้ียงดูแบบใชค วามรุนแรง ทั้งดานรางกายและคําพูด ดวยการลงโทษขมขู ดาวารุนแรง ไมรับฟงความคิดเห็นผูอ่ืน หรือการเลี้ยงดูอยางปลอยปละละเลย ขาดความเขาใจความตองการพ้ืนฐานของเด็ก การเล้ียงดูลูกของพอแมยังข้ึนอยูกับหลายปจจัย ไดแกประสบการณสวนตัว สภาวะสุขภาพจิต เปนตน พบวาปญหาสุขภาพจิตหรือการเปนโรคทางจิตเวชของพอแมเปน สาเหตทุ ่ีสาํ คัญอยางหนึ่งของพฤติกรรมกาวรา ว Child abuse การศึกษาจํานวนมากยืนยันวา child abuse หรือการถูกลวงละเมิดในวัยเด็กมีความสัมพันธกับการเกิดพฤติกรรมกาวราวในวัยรุนและวัยผูใหญ มีการศึกษากลไกการทาใหเกิดพฤติกรรมกาวราวทั้งทางดานชีวภาพ และจิตสังคม การศึกษาดานชีวภาพพบวา child abuse ทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงการทํางานของสมอง บางอยางเปนการเปล่ียนแปลงอยางถาวร ไปจนกระทั่งถึงการเปล่ียนแปลงระดับโครงสรางสมองสวนท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมกาวราว เชน ทําใหขนาด hippocampus และ cerebral cortex ลดลง เปนตน ทางดานจติ สงั คมอธิบายกลไกการเกิดพฤตกิ รรมกาวราวจากการเรียนรูแบบอยางการใชความรุนแรงในการแกป ญ หา การไดรบั ความเจบ็ ปวดไปกระตนุ การเกิดพฤติกรรมกาวราว ความชินชาตอความรุนแรงขาดความสามารถในการแสดงความรูสึกอยางเหมาะสม ขาดการเขาใจความรูสึกและเห็นอกเห็นใจผอู ื่น และความคดิ ท่หี วาดระแวง ไมไววางใจตอผอู น่ื ลักษณะครอบครัวที่สัมพันธกับพฤติกรรมรุนแรงของวัยรุน ไดแกครอบครัวที่มีความรุนแรง มีความขัดแยงสูง มีการทําหนาท่ีของครอบครัวในดานตางๆบกพรองครอบครัวแตกแยก พอแมเปนโรคทางจิตเวชหรือมีปญหาสุขภาพจิต ปจจุบันครอบครัวไทยมีแนวโนมออนแอลง ขาดความใกลชิด การทําหนาที่ของครอบครัวบกพรอง มีความแตกแยกและอัตราการหยารางสูงขึ้น ซ่ึงมีผลตอการเลี้ยงดูลูกอยางมาก จึงเปนสาเหตุสําคัญอยางหน่ึงใหวัยรุนเกิดพฤตกิ รรมกาวรา วมากขนึ้ วัยรุนที่มีพฤติกรรมกาวราวมักมีแนวโนมพฤติกรรมบางอยางท่ีทําใหถูกปฏิเสธจากกลุมเพื่อนท่ีไมกาวราว และครูอาจารย เชน หุนหันพลันแลน มีปญหาการเรียน จึงตองหันไปหากลุมเพ่ือนที่เกเรและมีพฤติกรรมกาวราวตามกลุมเพื่อนเพ่ือใหไดการยอมรับโดยทั่วไปแลววัยรุนมีแนวโนมแสดงพฤติกรรมกาวราวเมื่ออยูในกลุมหรือฝูงชนเพราะตองรบั ผิดชอบการกระทาํ ของตนเองนอยกวาการกระทาํ เมื่ออยูคนเดยี วมาก วัยรุนที่มีพฤติกรรมกาวราวมักมีปญหาการเรียน และพฤติกรรมอื่นในโรงเรยี นมากอน โรงเรยี นทเี่ นนการใหความสาํ คัญกบั นักเรียนทีม่ คี วามสาํ เรจ็ ในเร่อื งการเรียน ไมได160

การพฒั นาตนสงเสริมความสําเร็จของนักเรียนแตละคนที่มีความสามารถตางกัน ขาดกิจกรรมที่สงเสริมการพัฒนาทักษะชีวิตและ self-esteem การลงโทษนักเรียนดวยวิธีการรุนแรง รวมถึงคําพูดดานลบซ้ําซาก มสี ว นผลกั ดนั ใหน กั เรยี นไปเขากลุมเพอื่ นทเ่ี กเรไดง าย ทฤษฎีทางสังคมอธิบายวาพฤติกรรมกาวราวรุนแรง เกิดจากการท่ีบุคคลไมสามารถมีความทัดเทียมทางเศรษฐกิจและสังคมไดดวยวิธีการที่สังคมยอมรับ ความเหลอ่ื มลํ้าทางเศรษฐกจิ เปนปจจัยเส่ียงอยา งหนึง่ ตอการเกิดพฤตกิ รรมกาวราวในสังคม ไทย เพราะการพฒั นาเศรษฐกจิ ตลอดระยะเวลาทผี่ า นมาทําใหเกิดความไมเทาเทียมกันทางเศรษฐกิจมากข้ึนอยา งตอ เนอ่ื ง ทงั้ ในดา นการกระจายรายไดแ ละการเปน เจา ของปจจัยการผลติ 4) ปจ จัยดานสังคม ในสังคมที่มีความรุนแรงสงเสริมใหมีความรุนแรงในสังคมมากข้ึน สงั คมทมี่ คี นหลายเชอ้ื ชาตหิ รือมีความไมไววางใจตอกัน มีคานิยมหรือวัฒนธรรมท่ียอมรับความรุนแรงและสารเสพติด มีอาวุธรุนแรงในครอบครองไดงาย มีการใชสารเสพติดแพรหลายกระตุนใหวัยรุนมีพฤติกรรมกาวราวไดงายข้ึน สังคมท่ีเนนการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยละเลยใหความสําคัญนอ ยทางดา นสังคมและการพฒั นามนุษย เร่อื งที่ 5.2.2 พฤติกรรมซึมเศรา ฆา ตัวตาย ที่มาของพฤติกรรมซมึ เศรา – ฆา ตัวตาย โลกในปจจุบันซึ่งรวมทั้งประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วทุกดาน ทั้ง เศรษฐกิจ สภาพสังคม ส่ิงแวดลอม ความขัดแยงทางความคิดทางการเมืองความสัมพันธของคนในครอบครัว ในสังคม สงผลตอวิถีชีวิต และการปรับตัวของผูคน กระทบตอสุขภาวะ และสขุ ภาพจิตของคนในสังคม ดังจะเห็นไดจากขอมูลสถิติ เก่ียวกับผูท่ีประสบกับอาการซึมเศราจนถึงปวยเปนโรคซึมเศราท่ีมีแนวโนมสูงข้ึนมาก จากรายงานผลการสํารวจระบาดวิทยาโรคทางจติ เวชในคนไทยการศึกษาระดับชาติ ป 2551 โดยกรมสขุ ภาพจิต ไดประมาณการความชุกของโรคซึมเศรา( Major Depressive Episode Current )ทั้งประเทศมีจํานวน 1,311,797 คน และมีผูปวยที่กลับมาเปนโรคซึมเศราใหมอีก (Major Depressive Episode Recurrent) ประมาณ386,712 คน เปนโรคซึมเศราเรื้อรัง (Dysthymia Current) ประมาณ 181,809คน และในป2551 นพ อภิชัย มงคล. รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขไดใหขอมูล วา ประเทศไทยมีผูปวยโรคซึมเศราประมาณ 5 % หรือ 2-3 ลานคน ทั้งใหขอมูลเพิ่มเติมการคาดการณของ 161

การพัฒนาตนธนาคารโลกและมหาวิทยาลัยฮารวารด ระบุวา ปญหาโรคซึมเศราจะเปนภาระแกโลกมนุษยในป2020 อันดับ 2 รองจากโรคหวั ใจและหลอดเลือด เม่ือเดือนตุลาคม ค.ศ.2012 องคการอนามัยโลกไดรายงานเกี่ยวกับจํานวนประชากรท่ัวโลกในทุกชวงวัยที่มีปญหาจากโรคซึมเศรา วามีจํานวนประมาณ 350 ลานคน และจากสถิติของสํานักระบาดวิทยา โดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขพบวา ประชากรไทยปวยเปนโรคซึมเศราถึง 2,000,000 คน และในจํานวนน้ีมีอาการเร้ือรังถึงประมาณ 600,000 คน )และ ขอมูลของ Right Diagnosis ไดประมาณการวาหากประเทศไทยใชสถิติความชุกของภาวะซึมเศรา ของประเทศอเมริกาซึ่งมีอยูท่ี 5.3% ของประชากร ประเทศไทยก็จะมีผูปวยโรคซึมเศราเปนจาํ นวน 3,437,872 คนจากประชากร 64,865,523 คน เน่ืองจากในชวงชีวิตคนทุกคนตองเคยมีประสบการณความรูสึกที่ไมมีความสุขรสู กึ เศรา เสียใจกับความสญู เสีย ผดิ หวังท่ีเกิดข้ึน ซึ่งถือเปนความรูสึกท่ีปกติ เหมาะสมและยังเปนโอกาสท่ีจะทาํ ใหเกิดการเจรญิ เตบิ โตพฒั นาทางจิตใจ ชวยใหเกิดการเปล่ียนแปลง ปรับปรุงตนเองและการแกป ญหาใหด ขี นึ้ แตก จ็ ะมบี ุคคลท่ีประสบกบั สถานการณ ท่ที าํ ใหรูสกึ เศรา เสียใจ แลวไมสามารถปรับความคิด ความรูสึกใหดีขึ้น ยังคงมีภาวะอารมณเศรา หรือรุนแรงข้ึน เปนความหดหู ทอแทรูสึกส้ินหวังและ มีอาการตางๆ ติดตามมา เชน นอนหลับไมปกติ เบ่ืออาหาร น้ําหนักลดลงมากหมดความสนใจตอโลกภายนอก ไมคิดอยากมีชีวิตอยูอีกตอไป ก็จะเขาขายของโรคซึมเศรา เปนอาการอยางหน่ึงท่ีสําคัญของการเกิดปญหาสุขภาพจิต มีผลทําใหไมสามารถปฏิบัติภารกิจในการดําเนินชวี ติ ในการดูแลตนเอง, ในการเรยี นหรอื การทาํ งาน และสงผลตอผูท อ่ี ยูรว มกนั ดว ย องคการอนามัยโลกไดระบุสาเหตุของการเปนโรคซึมเศรามีหลายปจจัย ทั้งปมเงื่อนจากปฏิสัมพันธทางสงั คม,จติ ใจและทางชวี ภาพ ตลอดจนถึงกรรมพันธุ และมีความเกี่ยวเนื่องระหวางอารมณซึมเศรากับสุขภาพทางกายดวย เชน การเปนโรคหลอดเลือดและหัวใจจะนําไปสูภาวะซึมเศราได และในทางกลับกันภาวะซึมเศราก็นําไปสูการเปนโรคหลอดเลือดและหัวใจไดเชนกัน สําหรับ เกณฑการวินิจฉัยตาม DSM-IV-TR ของ Major depressive episode:MDE (ธรณินทร กองสุข,2555). ผูที่มีภาวะซึมเศราจะมีอาการดังตอไปนี้ อยางนอย 5 อาการเกิดขึ้นแทบทั้งวัน เปนเกือบทุกวัน ติดตอกัน ไมตํ่ากวา 2 สัปดาห ทําใหเสียหนาที่การงาน การสังคม162

การพฒั นาตน สาเหตุของพฤติกรรมซึมเศรา -ฆาตัวตาย 1) บคุ คลท่วั ไป บุคคลทั่วไป หมายถึง บุคคลท่ีมิไดเจาะจงหรือระบุวามีอาการปวยหรือมีความเสย่ี งของพฤตกิ รรมซึมเศรา -ฆา ตัวตาย มีการสํารวจความชกุ ของพฤติกรรมซึมเศรา-ฆาตวั ตาย ในประเทศไทย (สุรินทร รณเกียรติ และคณะ,2557) พบวา จากผลสํารวจความชุกการเกิดภาวะซึมเศรา ดว ยเคร่อื งมอื ท่ีมคี วามเชื่อถอื ไดและกระบวนการหาตัวอยาง รวมทั้งจํานวนตัวอยางไดดําเนินการตามหลักเกณฑตามมาตราฐานของการวิจัย ไดขอมูลการเกิดภาวะซึมเศราของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) ในชว งวัย 14-19 ป ดงั นี้ ป 2544 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) ในเขตจังหวัดเพชรบุรี พบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศราประมาณ 14.4 เปอรเซ็นต สัดสวนเปน เพศชาย13.91 เปอรเซน็ ต เพศหญิง 14.87 เปอรเซ็นต ป 2549 เยาวชน (14-18ป) ในจังหวัดอุบลราชธานี พบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศรา 13.6 เปอรเซ็นต สัดสวนเปนเพศชาย 14.29 เปอรเซ็นต เพศหญิง 13.27เปอรเ ซน็ ต ป 2551 นักเรียนชั้นมัธยมตอนปลาย (ม.4-ม.6) ในกรุงเทพมหานครพบความชกุ ของการเกดิ ภาวะซึมเศรา 17.4 เปอรเซ็นต สัดสวนเปนเพศชาย 17.72 เปอรเซ็นต เปนเพศหญิง 17.26 เปอรเ ซน็ ต สําหรบั ผลการสาํ รวจความชุกของโรคซึมเศราของคนไทย เม่ือป 2551รายงานผลการสํารวจจําแนกตามกลุมอายุ มีผูเปนโรคซึมเศราในกลุมอายุ ต้ังแต 15-24 ป มีอยูประมาณ 1.6 เปอรเซ็นต โดยเปนเพศชาย 1 เปอรเซ็นต เปนเพศหญิง 2.1 เปอรเซ็นต ซึ่งการสาํ รวจ มไิ ดท าํ การสาํ รวจในกลุมอายุตํ่ากวา 15 ป จากขอ มูลทีไ่ ดม ีการสาํ รวจการเกิดภาวะซึมเศราในนักเรียนท่ีเปนกลุมวัยรุน มีความชุก ระหวาง 13-17% โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ มีความชุกสูง ถึง 17.4 เปอรเซ็นต แตความชกุ ในเพศชายกับเพศหญิง ไมตางกันมากนัก และหากเปนเยาวชนท่ีกระทําผิดกฎหมายและอยูใ นชว งคมุ ประพฤตยิ ิง่ มีความชุกในการเกิดภาวะซมึ เศราสงู ถงึ 23.3 เปอรเซน็ ต ขอมูลความชุกที่ไดมาน้ี ควรจะมีการเฝาระวังการเปนโรคซึมเศราท่ีมีความไปไดท่ีจะเกิดข้ึนตอไป การมีโครงการในการปองกันในการสามารถจัดการกับภาวะซึมเศราในกลุมวัยรุน จะเปนผลดีกับการลดความชุกของการเปนโรคซึมเศราในอนาคตได และเปนการสงเสริมใหเกิดคณุ ภาพชวี ิตของคนไทยทดี่ ขี ้นึ ดว ย 163

การพฒั นาตน 2) กลุม เสย่ี ง ประชากรที่จัดอยูในกลุมเส่ียงตอการเกิดภาวะซึมเศรา โดยกลุมเสี่ยงหมายถึง กลุมท่ีมีลักษณะเฉพาะท่ีมีขอมูลจากการศึกษาโดยองคกรอนามัยโลกวา มีความชุกสูงกวา ประชากรทว่ั ไป เชน กลุมประชากรที่มีอายุต้ังแต 80 ปข้ึนไป กลุมหญิงต้ังครรภและหลังคลอดกลุมทมี่ ีปญหาสุขภาพ เชน เปนโรคเร้ือรัง หรอื เปน โรคไตวาย ปว ยเปนอมั พฤต หรอื อมั พาต เปน ตน มีงานวิจัยสํารวจการเกิดภาวะซึมเศราในกลุมตัวอยางที่ถูกพิจารณาวาเปนกลุมเสี่ยงที่รวบรวมไดตั้งแต ป 2543-2553 มีท้ังหมด 12 กลุมตัวอยาง จากท้ังหมด 18งานวิจัย ไดแก ผูหญิงมีครรภและผูหญิงหลังคลอด, ผูปวยเด็ก, เยาวชนท่ีกระทําผิดกฎหมาย,ผูปวยท่ีมีอาการปวยทางกายท่ีรุนแรง, ผูหญิงวัยหมดประจําเดือน, ผูปวยท่ีมีปญหาสุขภาพจิต,ผูปวยโรคเรื้อรัง, ผูชายในชวงกอนภรรยาจะคลอด, ผูปวยท่ีมีปญหาสุขภาพทั่วไป ผูปวยโรคติดตอและผูสงู อายุ ซ่งึ มีรายละเอียดในแตละกลุม ดงั น้ี ผูหญิงหลังคลอดท่ีบุตรเขารับการรักษาท่ีตึกทารกแรกเกิดวิกฤติ อายุตั้งแต นอยกวา 20 ป – 40 ปข้ึนไป พบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศราจํานวน 59คน จากกลุมตัวอยาง 114 คน คดิ เปน 51.8 เปอรเซน็ ต (งานวิจัยป 2548) ปจ จัยทีส่ ัมพันธก ับการเกิดภาวะซึมเศรา มีดังนีค้ ือ ไมไดป ระกอบอาชีพ, รายไดสวนบุคคลนอย, ไมมีความพรอมในการมีบุตร, เหตุการณความเครียดในชีวิตสูง,สัมพันธภาพระหวา งคูสมรสนอย, ความวิตกกังวลของมารดาที่บุตรเขารับการรักษาท่ีตึกทารกแรกเกิดวกิ ฤติ ปจ จัยทาํ นายการเกดิ ภาวะซมึ เศรามดี งั นคี้ ือ ความวติ กกังวลของมารดาท่ีบุตรเขารับการรักษาที่ตกึ ทารกแรกเกดิ วิกฤติ ผูหญิงหลังคลอดท่ีมารับบริการดานสุขภาพที่แผนกผูปวยนอกของแผนกกุมารเวชศาสตรและหนวยวางแผนครอบครัว อายุต้ังแต 15 - 35 ปขึ้นไป พบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศรา จํานวน 26 คน จากกลุมตัวอยาง 198 คน คิดเปน 13.13 เปอรเซ็นต(งานวจิ ยั ป 2551) ปจจัยท่ีสัมพันธกับการเกิดภาวะซึมเศรามีดังนี้คือ การขาดแรงสนับสนุนดานการสงเสริมใหรูถึงคุณคาของตนเอง, การขาดแรงสนับสนุนดานความผูกพันใกลชิดและลกั ษณะครอบครัวเด่ยี ว ผู ห ญิ ง ห ลั ง ค ล อ ด ที่ ม า ต ร ว จ ห ลั ง ค ล อ ด ที่ ห น ว ย ว า ง แ ผ นครอบครวั อายุตงั้ แต 18 ป - 45 ป พบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศราจํานวน 53 คน จากกลุมตัวอยา ง 313 คน คิดเปน 16.9 เปอรเซ็นต (งานวิจยั ป 2553)164

การพฒั นาตน ปจจัยท่ีสัมพันธกับการเกิดภาวะซึมเศรามีดังนี้คือ ประวัติอาการซึมเศราในอดีต, ประวัตกิ ารใชค าเฟอีนในชวงตงั้ ครรภ, มารดาท่ีคลอดเปนบุตรคนท่ีสามเปนตนไป,การคลอดโดยใชเครื่องมือชวย, ปญหาการดูดนมของทารกในปจจุบัน, การมีบุคคลอื่นรวมในการดูแลทารกในชวงกลางคืนและคุณภาพการนอนหลับที่ไมด ี ผปู วยเดก็ จนถงึ วัยคาบเกย่ี วชวงวัยรุน ชว งอายตุ งั้ แต 2-15 ป ผูปวยเด็กโรคหัวใจพิการแตกําเนิด ที่มาตรวจรักษาท่ีแผนกผูปวยนอก หนวยโรคหวั ใจเด็ก อายตุ งั้ แต 10 ป -15 ป พบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศราจํานวน 108คน เปนชาย 51 คน (47.22%), หญิง 57 คน (57.78%) จากกลุมตัวอยาง 350 คน คิดเปน 30.9เปอรเ ซน็ ต (งานวิจัยป 2543) ปจจัยที่สัมพันธกับการเกิดภาวะซึมเศรามีดังนี้คือ อายุของผูปวย 10-12 ป, ผูปกครองมีการศึกษาในระดับประถมศึกษา, ความสัมพันธระหวางสมาชิกในครอบครัว(หยาราง ไมไดอาศัยอยูดวยกัน), เศรษฐานะของครอบครัวที่ต่ํากวาเกณฑ, และความสัมพันธในกลุม เพ่อื นทีไ่ มด ี ผูปวยเด็กโรคธาลัสซีเมีย ณ คลินิกโรคเลือด อายุต้ังแต 10-15 ปพบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศราจํานวน 130 คน เปนชาย 62 คน (47.69%), หญิง 68 คน(52.31%)จากกลุมตวั อยาง 370 คน คดิ เปน 35.1 เปอรเ ซ็นต (งานวิจัยป 2544) ปจจัยท่สี ัมพันธกบั การเกิดภาวะซึมเศรามีดังนีค้ ือ ความสมั พันธใ นกลมุ เพอื่ นตํา่ หรอื ไมดี, ผลการเรียนอยูในระดับดีและมปี ระวตั ิการถกู ทารณุ กรรม ผูป วยท่มี อี าการปว ยทางกายท่รี ุนแรง ผปู ว ยอัมพาตคร่งึ ซีก ทีม่ าทาํ กายภาพบําบัด ณ แผนกเวชศาสตรฟน ฟูโรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ ในชว งเดือนกันยายน – ธนั วาคม 2546 อายุตง้ั แต นอยกวา 50 ป - 70 ปข้ึนไป พบความชุกของการเกดิ ภาวะซึมเศราจํานวน 33 คน เปน ชาย 14 คน (42.42%), หญงิ 19คน (57.58%) จากกลมุ ตัวอยา ง 85 คน คดิ เปน 38.8 เปอรเ ซน็ ต (งานวจิ ัยป 2546) ปจจัยท่ีสัมพันธกับการเกิดภาวะซึมเศรามีดังน้ีคือ อายุท่ีมากข้ึนระยะเวลาท่ีปวย ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวันที่ลดลงและแรงสนับสนุนทางสังคมตํ่า ปจจัยทํานายการเกิดภาวะซึมเศรามีดังน้ีคือ อายุท่ีมากข้ึน ระยะเวลาที่ปวยความสามารถในการประกอบกจิ วัตรประจําวนั ทลี่ ดลงและแรงสนบั สนุนทางสังคมตา่ํ ผูปวยปวดหลังเรื้อรัง ที่เขารับการทํากายภาพบําบัด ณ แผนกเวชศาสตรฟน ฟู โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห โรงพยาบาลสวรรคป ระชารักษและโรงพยาบาล 165

การพัฒนาตนเจาพระยายมราชในชวงเดือนกันยายน-ธันวาคม 2551 อายุตั้งแต 20 – 70 ปข้ึนไป พบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศราจํานวน 37 คน เปนชาย 13 คน (35.14%), หญิง 24 คน (64.86%) จากกลุมตวั อยา ง 426 คน คิดเปน 8.7 เปอรเ ซ็นต (งานวจิ ัยป 2551) ปจจัยท่ีสัมพันธกับการเกิดภาวะซึมเศรามีดังน้ีคือ อายุ 51-60 ป,ระดบั การศึกษาอยูใ นระดบั ประถมศึกษา, อาชีพรบั จาง/เกษตรกร, มีรายไดพอเพียงแตไมเหลือเก็บ, ตําแหนงรอยโรคอยูบริเวณหลังสวนลาง ระยะเวลาท่ีเปนโรคมากกวา 1 ป, ระดับการปวดปานกลาง-รนุ แรง, มีอาการชา ปวดรา ว ออ นแรงรวมกับอาการปวดหลัง, มีประวัติการกลับมาเปนซํ้า 1-2 คร้ังในชวง 1 ป, มีการขาดงานหรือหยุดพักบอยครั้ง, ไดรับการรักษาท่ีไมเพียงพอหรือไมเหมาะสม, มอี าการภาวะทุพพลภาพและไดร ับผลกระทบจากการเจบ็ ปว ย ผูหญิงวัยหมดประจําเดือน ท่ีมารับบริการที่คลินิกวัยหมดประจาํ เดอื น ตง้ั แตเ ดอื นมถิ นุ ายน – กนั ยายน 2548 โดยมีอายุต้ังแต 45-59 ป พบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศราจํานวน 13 คน จากกลุมตัวอยาง 100 คน คิดเปน 13 เปอรเซ็นต (งานวิจัยป2548) ปจจัยท่ีสัมพันธกับการเกิดภาวะซึมเศรามีดังนี้คือ ศาสนาคริสตและอิสลาม, ความไมเ พียงพอของรายไดส ภาวะประจําเดือนผิดปกติ, การสนับสนุนทางสังคมต่ําและมีเหตุการณความเครียดในชีวิต ปจจัยทํานายการเกิดภาวะซึมเศรามีดังน้ีคือ ความไมเพียงพอของรายไดและการสนับสนนุ ทางสังคมต่าํ ผูปวยท่ีมีปญหาสุขภาพจิต โดยเปนผูปวยโรคจิตเภทเรื้อรังที่มารับบริการตรวจรักษาท่ีแผนกผูปวยนอก อายุตั้งแต 20 ป – 50 ปขึ้นไป พบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศราจํานวน 54 คน เปนชาย 24 คน (44.44%), หญิง 30 คน (55.56%) จากกลุมตัวอยาง 150คน คดิ เปน 36 เปอรเซน็ ต (งานวิจัยป 2546) ปจ จัยที่สมั พนั ธกบั การเกิดภาวะซึมเศรา มดี งั นคี้ ือ อายุนอยอยูระหวาง20-29 ป การสนับสนุนทางสังคมนอย และมีเหตุการณความเครียดในชีวิต ปจจัยทํานายการเกิดภาวะซึมเศรามีดังน้ีคือ ดังน้ีคือ อายุนอยอยูระหวาง 20-29 ป การสนับสนุนทางสังคมนอยและอาการขางเคยี งจากการใชย าโรคจิตเวช เยาวชนท่ีกระทําผิดกฎหมาย อายุตั้งแต 14 ป -18 ป พบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศราจํานวน 42 คน เปนชาย 40 คน (95.24%), หญิง 2 คน (4.76%) จากกลุมตัวอยาง 180 คน คดิ เปน 23.3 เปอรเ ซน็ ต (งานวิจัยป 2549)166

การพฒั นาตน ปจจัยท่ีสัมพันธกับการเกิดภาวะซึมเศรามีดังน้ีคือ บิดาทําอาชีพรับจาง การเห็นคุณคาตนเองในระดับปานกลาง ความรูสึกผูกพันกับครอบครัวปานกลางและมีความพงึ พอใจในชวี ิตมาก ผูปวยโรคเรอ้ื รัง ผูปวยโรคเบาหวาน ที่มารับบริการที่งานผูปวยนอก ต้ังแตวันที่ 1ธันวาคม 2553 – 28 กุมภาพันธ 2554 อายุตั้งแต 21 – 81 ปข้ึนไป พบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศรา จํานวน 52 คน เปนชาย 16 คน (30.77%), หญิง 36 คน (69.23%) จากกลุมตัวอยาง 250คน คดิ เปน 20.8 เปอรเ ซ็นต (งานวิจัยป 2548) ปจจยั ท่สี ัมพันธกับการเกดิ ภาวะซึมเศรา มดี ังน้ีคือ การรับรูวารายไดไมพียงพอ เพศหญิง ระดบั น้ําตาลในเลอื ดสงู การสญู เสยี ของญาติในรอบ 1 ปท่ีผานมา และความคิดอัตโนมัติทางลบ ปจจัยทํานายการเกิดภาวะซึมเศรามีดังน้ีคือ การรับรูวารายไดไมพียงพอ เพศหญิง ระดับนํ้าตาลในเลือดสูง การสูญเสียของญาติในรอบ 1 ปที่ผานมา และความคิดอัตโนมัติทางลบ ผูปวยโรคไตวายระยะสุดทาย ที่ไดรับการวินิจฉัยจากอายุรแพทยโรคไตและไดรับการฟอกเลือดลางไตเปนระยะเวลาอยางนอย 3 เดือน อายุตั้งแต 20 – 60 ปข้ึนไปพบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศราจํานวน 81 คน เปนชาย 41 คน (50.62%), หญิง 40 คน(69.38%) จากกลมุ ตวั อยาง 117 คน คิดเปน 69.2 เปอรเซน็ ต (งานวิจัยป 2546) ปจจัยท่ีสัมพันธกับการเกิดภาวะซึมเศรามีดังนี้คือ การศึกษาอยูในระดบั ประถมศกึ ษา มีการพ่ึงพาผอู นื่ ในการปฏบิ ตั ิกจิ วตั รประจาํ วัน และรายไดสวนตัวนอยหรือไมมีรายไดสว นตัว ปจจัยทํานายการเกิดภาวะซึมเศรามีดังนี้คือ การศึกษาอยูในระดับประถมศึกษา มีการพึ่งพาผูอื่นในการปฏบิ ัติกจิ วตั รประจาํ วัน และมเี หตุการณค วามเครยี ดในชีวิต ผูชายในชวงกอนภรรยาจะคลอด ของแผนกสูตินรีเวช ที่มาฝากครรภกบั ภรรยาในชวงเดอื นตุลาคม 2554 – กุมภาพนั ธ 2555 อายุต้ังแต 19 - 35 ปขึ้นไป พบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศรา จํานวน 45 คน จากกลุมตัวอยาง 337 คน คิดเปน 13.4 เปอรเซ็นต(งานวิจยั ป 2554) ปจจัยท่ีสัมพันธกับการเกิดภาวะซึมเศรามีดังนี้คือ เพศของทารกไมตรงตามความตองการ ปญหาทางอารมณของภรรยา และสัมพันธภาพระหวางคูสมรสที่หางเหิน/ขดั แยง กนั บอ ยครัง้ 167

การพัฒนาตน ผปู ว ยท่ีมีปญหาสขุ ภาพทว่ั ไป ผปู วยที่เพงิ่ เขารับบริการรักษา (ผูปวยใหม) ท่ีมารับบริการตรวจรักษาทแ่ี ผนกผูป ว ยนอกคลินกิ ประกันสงั คม ต้งั แตเดอื นมิถนุ ายน – สิงหาคม 2545 โดยมีอายุตั้งแต 18 –57 ปข ้ึนไป พบความชกุ ของการเกิดภาวะซึมเศรา จํานวน 81 คน เปนชาย 21 คน (25.93%), หญิง60 คน (74.07%) จากกลุมตัวอยา ง 330 คน คิดเปน 24.6 เปอรเ ซน็ ต (งานวจิ ัยป 2545) ปจ จัยท่ีสัมพันธกับการเกิดภาวะซึมเศรามีดังนี้คือ เพศหญิง, ลักษณะของงานที่เปนพนักงานบริษัทหรือแมบาน รายไดตอเดือนเฉลี่ยอยูท่ี 5,000 – 6,999 บาท การวินิจฉัยโรคที่มารักษาในปจจุบัน เหตุการณความเครียดในชีวิต และการสนับสนุนทางสังคมตํ่าปจจัยทํานายการเกิดภาวะซึมเศรามีดังนี้คือ เพศหญิง เหตุการณความเครียดในชีวิต และการสนับสนุนทางสงั คมตาํ่ ผูปว ยโรคติดตอ ผูปวยโรคเอดส ท่ีเขารับการรักษา อายุต้ังแต 20 – 40 ปขึ้นไป พบความชุกของการเกิดภาวะซึมเศรา จํานวน 50 คน เปนชาย 34 คน (68%), หญิง 16 คน (32%)จากกลมุ ตัวอยา ง 119 คน คดิ เปน 42.02 เปอรเซ็นต (งานวจิ ยั ป 2548) ปจจัยท่ีสัมพันธกับการเกิดภาวะซึมเศรามีดังนี้คือ แรงสนับสนุนทางสังคมตํ่าบคุ ลกิ ภาพชนิด Neuroticism-stability และรายไดต อ เดอื นไมเ พียงพอ ปจ จยั ท่สี ามารถทํานายการเกิดพฤติกรรมซึมเศรา -ฆา ตัวตาย ปจ จยั ท่ีสามารถทาํ นายในบคุ คลทว่ั ไป ปจจัยที่สามารถทํานายการเกิดพฤติกรรมซึมเศรา-ฆาตัวตาย ของบุคคลท่ัวไป อางอิง วิจัยในกลุมประชากรทั่วไปท่ีไดศึกษาปจจัยในการทํานายภาวะซึมเศรา คืองานวิจัยท่ีศึกษากับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) ของโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตกรุงเทพมหานคร ในปการศึกษา 2551 พบวา ปจจัยท่ีสามารถทํานายการเกิดภาวะซมึ เศรา มีดงั นี้ คอื (1)ผลการเรียนตํ่ากวา 2.00 (2)ความสัมพนั ธท ี่ไมด ีกับมารดา (3)มารดามปี ญหาสขุ ภาพจิต (4)มเี หตุการณสูญเสยี ในชีวติ (5)ความสมั พนั ธไมด ีกบั เพือ่ น (6)ปญ หาการเงนิ ในครอบครวั168

การพัฒนาตน(7) ลักษณะการเลีย้ งดทู ี่ไมเหมาะสม ปจจยั ที่สามารถทํานายในกลมุ เส่ียง ปจจัยที่สามารถทํานายในกลุมเส่ียง อางอิงงานวิจัยที่ศึกษากับกลมุ เส่ยี งเก่ยี วกบั ปจ จยั ในการทํานายการเกิดภาวะซึมเศรา โดยมีกลุม ตวั อยางดังตอ ไปนี้ กลุมผูสูงอายุ (60-75 ปขึ้นไป) พบวา ปจจัยที่สัมพันธและสามารถทาํ นายการเกิดภาวะซมึ เศรา มีดังนี้ คือ (1) อายุตงั้ แต 75 ปข น้ึ ไป (2) ฐานะการเงนิ ครอบครวั ทไ่ี มเ พยี งพv (3) การสญู เสยี บคุ คลใกลชิดทเ่ี กดิ ข้นึ โดยไมคาดคิด (4) ความสมั พนั ธแ ละหนา ที่ของครอบครวั ท่ไี มด ี กลุมหญิงวัยหมดประจําเดือน พบวา ปจจัยที่สัมพันธและสามารถทาํ นายการเกดิ ภาวะซมึ เศรา มีดังน้ี คือ (1) ความเพียงพอของรายได (2) การสนับสนนุ ทางสังคม กลมุ ผูปวยโรคเร้ือรัง พบวา ปจ จัยที่สัมพนั ธแ ละสามารถทาํ นายการเกิดภาวะซึมเศรา มดี ังน้ี คือ (1) ความเพียงพอของรายได (2) ระยะเวลาที่เปน โรค (3) ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวนั (4) แรงสนับสนนุ ทางสงั คม (5) เหตกุ ารณค วามเครียด และ ความสญู เสยี ในชีวิต (6) บคุ ลกิ ภาพทางอารมณ กลมุ ผูป วยโรคจติ เภทเรอ้ื รัง พบวา ปจจัยที่สัมพันธและสามารถทํานายการเกิดภาวะซึมเศรา มดี งั น้ี คือ (1) แรงสนับสนุนทางสังคม (2) อาการขา งเคียงของยารักษาโรคจิตเภท 169

การพัฒนาตน กลมุ ผูปว ยทางกาย พบวา ปจ จยั ท่ีสมั พนั ธแ ละสามารถทํานายการเกิดภาวะซึมเศรา มีดงั น้ี คือ (1) การสนบั สนุนทางสงั คม (2) เหตกุ ารณความเครียดในชีวิต กลุมหญงิ หลังคลอด พบวา ปจจยั ท่ีสัมพนั ธและสามารถทํานายการเกดิ ภาวะซึมเศรา มีดังนี้ คือ (1) ความวิตกกังวลของมารดา (2) ความซึมเศราในอดีต (3) การมีโรคประจาํ ตวั กลมุ ชายในชว งกอนภรรยาคลอด พบวา ปจ จัยท่สี ัมพันธและสามารถทํานายการเกิดภาวะซมึ เศรา มีดังน้ี คือ (1) สัมพนั ธภาพในครอบครัว (2) ความพงึ พอใจในคูสมรส (3) ปญ หาทางอารมณข องภรรยา นอกจากนั้นยังมีการศึกษากับเยาวชนที่กระทําผิดกฎหมายและอยูในชวงคุมประพฤติอายุ 14 -18 ป พบวา ปจจัยท่ีสัมพันธกับภาวะซึมเศรา ยังไมสามารถสรุปไดอยางชัดเจนวามีปจจัยท่ีความสัมพันธกับภาวะซึมเศราเนื่องจากเยาวชนที่กระทําผิดกฎหมายสวนใหญ มีการเห็นคุณคาในตนเองระดับปานกลาง มีความผูกพันในครอบครัวระดับปานกลาง และมีความพึงพอใจในชีวิตระดับมาก ในป 2549 นายแพทยธรณินทร กองสุข และคณะ ไดศึกษาความสัมพันธระหวางเหตุการณความเครียดในชีวิตกับการเกิดโรคซึมเศราของผูปวยท่ีมารับบริการในโรงพยาบาลของมหาวิทยาลัย 5 แหงในแตละภูมิภาค พบปจจัยท่ีท่ีมีความสัมพันธกับการเกิดโรคซึมเศราดังน้ี ความอับจนหนทางในชีวิต ไมสามารถปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลง,ถูกลวนลามทางเพศ เลิกกับคนรัก/สามหี รอื ภรรยา สูญเสียบุคคลอันเปนทีร่ กั และการเสียทรัพยจากการพนัน ปจ จยั ทม่ี ีผลตอ การเกดิ ภาวะและโรคซึมเศรา จากงานวิจัยขางตน และการศึกษาของนายแพทยธรณนิ ทร และคณะ170

การพฒั นาตน ปจจัยที่สมั พันธของกลุม เสี่ยงและ ปจ จยั ทส่ี ัมพนั ธข องกลมุ ที่เปน ปจจัยทาํ นายกลมุ ท่เี ปน บุคคลทวั่ ไป โรคซึมเศรา โรคซึมเศราเหตกุ ารณส ูญเสียในชวี ิต สญู เสียบุคคลอนั เปนท่รี กั สญู เสียบุคคลอนั เปนท่ีรักปญ หาการเงนิปญหาสัมพนั ธภาพในครอบครวั เสียทรัพยจ ากการพนนั เสยี ทรพั ยจากการพนนัปญหาสัมพนั ธภาพในกลุม เพ่อื น ไมส ามารถปรับตวั ตอการ ไมส ามารถปรับตัวตอการผลการเรยี น เปล่ียนแปลง เปลีย่ นแปลงแรงสนับสนุนทางสงั คมต่ํา อับจนหนทาง สบั สนในชวี ิต ไดร ับอุบัตเิ หตุรุนแรงปญ หาความเครยี ด ความกังวลตอ งพ่งึ พิงผอู ื่นในการประกอบกิจวัตร ถูกลวนลามทางเพศปญ หาสขุ ภาพกายและจิตเห็นคุณคาในตนเองต่าํ มีความคิดทางลบ เลกิ กบั คนรัก/สามี ภรรยาความพรอ มในการมีบุตรตารางแสดง ปจจัยที่มคี วามสัมพันธกบั การซมึ เศราทัง้ ที่เปน ภาวะซมึ เศรา และท่เี ปนโรคซึมเศรา มีปจจัยรวมท่ีสําคัญ จะเกี่ยวของกับความสัมพันธกับบุคคลท่ีมีความสําคัญในชีวิต มีการสูญเสีย หรือสัมพันธท่ีไมดี เชน กับคนรัก สามี/ภรรยา เพ่ือน ไมไดรับการสนับสนุนทางสังคม มีปญหาการเงิน ไมมีรายไดพอเพียง เสียทรัพยจากการพนัน มีการเปล่ียนแปลงที่ปรับตัวไมไ ด เชน การเจ็บปว ย ไดร ับอบุ ัติเหตุ การที่บุคคลรูสึกตอการเปลี่ยนแปลงตางๆ อยางไร รูสึกอับจนไมสามารถแกปญหาได และ มองตนเองอยางไร เชน มองไมเห็นคุณคาของตนเอง ก็เปนสิ่งท่ีสําคัญตอการเกดิ ภาวะและสง ผลตอการเปน โรคไดเชน กนั นอกจากนั้นสําหรับปจจัยการถูกลวนลามทางเพศก็เปนอีกปจจัยหน่ึงที่มีความสัมพันธกับภาวะซึมเศรา แตจากการรวบรวมขอมูลจากงานวิจัย ยังไมพบวามีการนําปจจัยเหลาน้ีมาใชในศึกษาหาความสัมพันธกับภาวะซึมเศรา จากการทบทวนงานวิจัยไดใหขอมูลที่พอจะเช่ือถือไดวา มีความชุกของภาวะซึมเศราท่ีมีความเสี่ยงอยูในเกณฑสูงในกลุมนักเรียนท่ีอยู 171

การพัฒนาตนในชวงวัยรุนอายุ 14-19 ป และการทราบปจจัยท่ีมีผลตอการเกิดภาวะซึมเศราจะชวยในการสรางโปรแกรมในการปองกันการเกิดภาวะซึมเศราใหกับวัยรุนและกลุมเส่ียงตางๆ ควรพิจารณาใหมีโปรแกรมใหความชวยเหลือและปองกันการเกิดภาวะซึมเศรา และการสรางสุขภาวะในระบบการเรียนการสอน กับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตน-ปลาย และในมหาวิทยาลัย รวมทั้งในการมีโปรแกรมการเรียนรูภาวะซีมเศรา การตระหนักรูความคิด ความรูสึกของตนเอง และการจัดการกับอารมณท ม่ี ีผลตอ สขุ ภาพจิต การมที กั ษะในการคิดและแกป ญหาใหก ับกลุมเส่ียงตางๆ เร่อื งที่ 5.2.3 พฤตกิ รรมเกเร ตอตานสงั คม ความหมายของพฤติกรรมเกเร-ตอ ตา นสงั คม ประไพพรรณ ภูมิวุฒิสาร (2552) ไดกลาวถึงพฤติกรรมที่เกเร-ตอตานสังคมวา หมายถึง พฤติกรรมท่ีเบ่ียงเบนไปจากปกติของสังคมหนึ่งๆ เคสสเลอร (Kessler,1966)ไดใหขอคิดเก่ียวกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นอยางไมเหมาะสมน่ันคือไมเหมาะสมกับอายุของเด็กตลอดจนไมเหมาะสมกับการเวลาสถานที่ ท่ีพฤตกิ รรมนัน้ เกดิ ในการศึกษาพฤติกรรมของมนุษยถึงพฤติกรรมท่ีเปนปญหาเปนสวนบุคคลหลายอาชีพไดใหความสนใจศึกษากันมาก เชน นักจิตวิทยา นักการศึกษา นักกฎหมายตลอดจนนักสังคมสงเคราะห ฯลฯ ท้ังน้ี เพราะพฤติกรรมที่เปนปญหาถาเกิดขึ้นกับเด็กคนใดยอมสงผลกระทบกระเทือนไปยังการพัฒนาดานตางๆของเด็กคนน้ัน เชน พัฒนาการทางรางกายอารมณ สังคม สติปญญา ตลอดจนพัฒนาการทางดานจริยธรรม ซ่ึงยังเปนตอสังคมสวนรวมอีกดวย นักจติ วทิ ยาพยายามศึกษาสาเหตุตางๆ ท่ีทําใหเกิดพฤติกรรมท่ีเปนปญหา รวมถึงวิธีการท่ีจะแกไขพฤติกรรมที่เปนปญหานั้นๆ ซิกมันดฟรอยด (SigmundFreud) นักจิตวิเคราะหไดทําการศึกษาคนไขโรคจิตท่ีมาทําการรักษากับเขาพบวา พฤติกรรมท่ีมีปญหาสวนใหญมักจะมีรากฐานมาจากวัยเด็ก น่ันก็คือ ประสบการณในวัยเด็กที่ไดรับ จะสงผลตอพฤติกรรมของเด็กและพฤติกรรมน้ันๆ จะคงอยูจนถึงวัยรุนและวัยผูใหญ ถาเด็กไดรับประสบการณท่ีมีผลทําใหเกิดความคบั ของใจทางจติ มคี วามกดดนั ทางอารมณหรอื ประสบการณที่กอใหเกิดปมดอย ก็จะเปนผลทําใหเดก็ เกิด พฤตกิ รรมทเ่ี ปน ปญ หาได ดังน้ันจะเห็นไดวา สภาวะแวดลอมรอบตัวเด็ก เชน บาน โรงเรียนชุมชน กลุมเพ่ือน ยอมมีผลตอพฤติกรรมของเด็กท้ังสิ้น นอกจากสภาวะแวดลอมรอบตัวเด็กจะมีผลตอพฤติกรรมของเด็ก ความบกพรองทางดานชีวภาพของรางกายก็ทําใหเด็กเกิดพฤติกรรมที่เปนปญหาไดเชนกัน เชน ความบกพรองของประสาทสัมผัสและภาษา จะกอใหเกิดปญหาในเรื่องการพดู172

การพฒั นาตน สาเหตุของพฤตกิ รรมเกเร-ตอ ตา นสังคม สาเหตขุ องการเกิดพฤตกิ รรมทเ่ี ปนปญ หา (ประไพพรรณ ภมู ิวุฒสิ าร,2552) มี 2สาเหตุ คือ พฤติกรรมทเ่ี ปน ปญหาอนั เน่ืองมาจากสาเหตดุ า นกรรมพนั ธุ องคประกอบทางดานพฤติกรรมที่เปนสาเหตุกอใหเกิดพฤติกรรมท่ีเปนปญหาไดแก การรวมตัวอยางผิดปกติของโครโมโซม การถายทอดลักษณะท่ีผิดปกติมายังลูกหลานและบุคลิกภาพท่ีตดิ ตวั มาแตก าํ เนดิ พฤติกรรมทเ่ี ปนปญหาเน่ืองจากสภาพแวดลอม องคประกอบทางสภาพแวดลอมที่เปนสาเหตุกอใหเกิดพฤติกรรมท่ีเปนปญหาไดแก สาเหตุจากครอบครัว โรคภัยไขเจ็บ สภาพแวดลอมทางสังคม, ครู , กลุมเพ่ือน ,สื่อมวลชนซึ่งสภาพแวดลอมเหลา นถี้ าไมเหมาะสมกับเด็กหรือเปนปญหา ยอมสงผลใหเด็กมีพฤติกรรมที่เปนปญหาและยากแกการแกไ ข ปญหาพฤติกรรมที่พบเห็นสวนใหญมีปญหามาจากสภาพแวดลอมรอบตัวเด็กไมวาจะเปนสภาพเหตุการณตางๆ ทางสังคม วัฒนธรรม หรือบุคคลใกลชิดยอมจะสงผลตอพฤติกรรมของเด็กท้ังส้ิน พฤติกรรมท่ีเปนปญหาเน่ืองมาจากสภาพแวดลอมน้ี เชน พฤติกรรมกาวราว ดื้อดึงดื้อดาน ไมเช่ือฟง หรือพฤติกรรมท่ีเปนปญหาทางอารมณ ซ่ึงเปนผลทําใหเกิดการหลีกหนี ข้ีอาย เก็บตัว สิ่งเหลาน้ีนับวาเปนพฤติกรรมที่เปนปญหาท้ังส้ิน พฤติกรรมเหลานี้มักจะมีสาเหตุจากสภาพการณท่วั ๆ ไป ไปสรา งความกดดันใหกบั เด็ก เชน (1) การแยกจากพอ แม, การหยารางของพอแม, การตายหรือการ แตงงานใหมของพอ แม (2) การเจบ็ ปวดทท่ี ุกขท รมาน การอยูใ นโรงพยาบาลเปนเวลานาน (3) การเปลี่ยนแปลงสภาพชวี ติ ประจาํ วัน เชน การยายที่อยูหรือการ เปลี่ยนโรงเรียนใหม (4) การเปลี่ยนแปลงระยะพฒั นาการ เชน จากวยั หนง่ึ ไปสูอีกวัยหนึ่ง (5) การพบประสบการณเกี่ยวกับความลม เหลว ไมวา จะปนทบี่ าน, ท่ี โรงเรยี น หรอื ประสบการณที่ไมดเี กย่ี วกับเพ่อื นฝงู หรือการ หายไปของเพอื่ นสนิท (6) การพบกับคําวจิ ารณ การหลอก การโดนทําโทษโดยใชเหตผุ ล 173

การพัฒนาตน ประเภทของพฤตกิ รรมเกเร-ตอตา นสังคม ประเภทของเด็กเกเร (Delinquents) แบงได 2 พวก(Health promotionagency,2014) ไดแ ก 1) เด็กเกเรช่ัวคราว (Pseudo-Delinquents) ไดแก เด็กที่ประพฤติผิดแนวสังคม ยอมรับเพียงชั่วคราวเทาน้ัน เด็กเหลานี้ทําความผิดชั่วคราวและกลับตัวใหมได เชนในขณะที่ไปเชยี รฟ ุตบอล เดก็ อาจแสดงความกาวราวออกมาบาง แตหลังจากน้ันก็กลับเปนปกติอีกเด็กจาํ นวนนี้มอี ยมู ากในทุก ๆ สังคม 2) เด็กเกเรแท (True- Delinquents) เปนเด็กท่ีปรับตัวไมไดดีและเคยไดรับความกระทบกระเทือนทางอารมมามาก เด็กพวกน้ีมักทําความผิดซ้ําแลวซํ้าอีกจนติดเปนนิสัย และมักจะกระทําในส่ิงที่ผิดกฎหมาย เชน ประกอบอาชญากรรม, โจรกรรม เปนตนสําหรับเดก็ พวกเกเรแท (True- Delinquents) แบง ยอ ยไดอกี คือ (1) พวกท่ไี ดรบั ความกระทบกระเทอื นทางอารมณ หรือพวกที่เปนโรคประสาท (Theemotionally disturbed and neurotic delinquent) ไดแ ก พวกท่ผี ูปกครองขัดใจจนเกนิ ไป ทาํ ใหเ ด็กหาทางแสดงพฤติกรรมเกเรออกมา และเปนพวกทม่ี ีความตงึ เครียด(Tensions) และมีความคบั ของใจ(Conflicts) ตลอดเวลา จึงพฤตกิ รรมกาวราวเกเร (2) พวกแกสังคม (The socialized delinquent) ไดแก พวกท่ีชอบแสดงความเกงหรือความดเี ดนของตนออกมา และในหมพู วกของตนจะเห็นวาเปนพฤติกรรมท่ีถูกตอง พฤติกรรมดังกลาว ไมไดเกิดจากอารมณรุนแรงหรือกระวนกระวายใจ เพียงแตตองการแสดงออกเทา นั้น (3) พวกออนสังคม (The unsocial delinquent) พวกน้ีมักจะแสดงพฤติกรรมกาวราวตอบุคคลท่ีเปนศัตรูกับงานเทานั้น เปนพวกท่ีชอบอยูคนเดียวไมชอบรวมหมูรวมพวก แมแตกับพวกเกเรดวยกัน พวกนี้ความจริงเปนพวกมีความปลอดภัยและไดรับการเลี้ยงดูดีพอสมควรจากความหมายและประเภทของเด็กเกเร จึงเปนรูปศัพทหน่ึงท่ีใชเรียกเด็กท่ีมีพฤตกิ รรมทีผ่ ดิ ปกติ หากไมไดร ับการแกไ ขใหถ ูกตอ งก็จะเปนปญหาของสงั คมตอไป174

การพัฒนาตนตอนที่ 5.3 แนวทางปองกันและแกไขพฤติกรรมเส่ียงจากปจจยั ภายใน เร่อื งที่ 5.3.1 แนวทางปองกันพฤตกิ รรมเส่ียงจากปจจยั ภายใน การปองกนั และชว ยเหลือวยั รุนที่มีปญ หาพฤติกรรมกา วรา ว พฤติกรรมกาวราวในบุคคลจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงนั้นขึ้นอยูกับความสามารถในการขัดเกลาพฤติกรรมต้ังแตวัยเด็ก พอแมหรือผูใกลชิดสามารถลดความกาวราวของเด็กไดโดยปฏิบัติ \"ตรงขา ม\" กบั สาเหตทุ ีก่ ระตนุ พฤติกรรมกา วรา ว ดังตอ ไปนี้ 1) การเปนแบบอยางที่ดใี หแ กลูก พอแมจะตอ งมีพฤติกรรมตรงขามกับความกาวราว เพื่อใหลูกไดเหน็ แบบอยาง ดังน้ันหากพอแมยังมีพฤติกรรมบางอยางท่ีสะทอนความกาวราว คงตองเสียสละที่จะเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของตนเองเพื่อลูก โดยเร่ิมจากการเห็นคุณคาของความสุภาพออนนอม การเคารพกฎระเบียบ การถอยทีถอยอาศัย การใชเหตุผลมากกวาการใชกาลัง การอดทนในการรับฟงกันและกัน การเห็นแกประโยชนของผูอ่ืนกอน เปนตน พฤติกรรมท่ีตรงกันขามกับความกา วรา วเหลา น้ี จะชวยใหลูกเตบิ โตมาพรอมกบั แบบอยางท่ีดีซงึ่ เขาจะเลียนแบบไดง า ย 2) ไมป ลอยปละละเลยการรับสือ่ การเลน ของเลน การคบเพ่อื น ควรแนะนํารายการโทรทัศนท่ีสงเสริมใหเด็กมีความเห็นอกเห็นใจผูอ่ืนมากกวา รายการท่ีสงเสริมความกาวราว และควรจํากัดเวลาในการดูของเลนและเกมตา งๆ ควรพิจารณาอยางรอบคอบและใหเหตุผลในการอธิบายวา สงิ่ ท่ีเขาเลน ไดเ พราะเหตุใด แนวทางการปอ งกนั พฤติกรรมซมึ เศรา-ฆาตวั ตาย การปองกันในกลุมประชากรทวั่ ไป เปนเชิงรกุ การเสนอขอมูล ความรู เกี่ยวกับการเขาใจสุขภาวะ และการเกิดปญหาของอาการซึมเศรา และแนวทางในการดูแลตนเองและคนใกลชิดท่ีจะสงเสริมใหมีสุขภาวะไดอยางเขาใจงาย และเปนรูปธรรม ใหเหมาะกับทุกกลุม ประชาชนทุกคน สามารถเขาถึง ขอมูลความรู และแนวทางในการดูแลตนเอง และคนท่ีเกี่ยวของ เรียกวาการปองกันแบบ ครอบคลุม(Universal) การพัฒนาแนวทางในการปองกันโรคซึมเศรา นับเปนส่ิงที่สําคัญท่ีจะชวยลดจํานวนการเกิดโรคซึมเศราในอนาคตได โดยมีแนวทางดังน้ี (1)การเผยแพรขอมูลทาง เว็ปเพจการปองกันท่ีจะใหประชาชนเขาถึงมากที่สุด มักใชสื่อทางอินเตอรเน็ต มีหนาเว็ปเพจที่ผูสนใจจะเขามาอาน ในตางประเทศน้ันไดมีการพัฒนาเว็ปไซตที่มีความเฉพาะเจาะจง สําหรับใหขอมูลและบริการชวยเหลือประชาชนที่กําลัง 175

การพัฒนาตนประสบปญหาซึมเศราและวิตกกังวล ใหขอมูลและแนวทางในการชวยเหลือทั้งตอตัวผูประสบปญหาโดยตรงและผูใกลช ดิ สามารถสงั เกตและชวยเหลือผูท่ีกําลังประสบปญหาดังกลาว และยังมีการใหบ ริการสําหรับหนวยงานหรือองคกรทม่ี บี คุ ลากรทม่ี ภี าวะซมึ เศราดว ย ตัวอยาง ประเทศที่ทําสื่อน้ีไดผล เปนท่ีรูจักของคนทุกกลุมทั้งประชาชนทั่วไปและทั้งผูที่เกี่ยวของกับงานสาธารณะสุขอยางกวางขวางท่ัวประเทศ เชน เว็ปไซต Beyondblue ของประเทศออสเตรเลีย และwww.depression.org.nz ของประเทศนิวซีแลนด หรือเวป็ ไซตข องประเทศแคนาดา ท่ีใหประชาชนดาวนโหลดคูมือ ANTIDEPRESSANT SKILLS WORKBOOK เปนความรู และการปฏิบัติตัวในการดแู ลตนเองเก่ียวกับภาวะซึมเศรา ในเอกสารรายงานการศึกษาผลการดําเนินงานเชิงระบบในการดแู ละเฝาระวังและแกไขปญหาโรคซึมเศราในระดับจังหวัดของประเทศไทย ป 2553 ไดมี เร่ืองของเว็ปไซตอยูในกรอบแนวคิดท่ีเปนระบบสารสนเทศเพื่อการเฝาระวังโรคซึมเศรา ซึ่งในปจจุบันมีเว็ปไซตของกรมสุขภาพจิตเก่ียวกับโรคซึมเศราเชนกัน แตเมื่อเขาไปในเว็ปไซตปรากฏวา ไมสะดวกในการคนหา การจดั หนาไมดึงดูด รวมทั้งไมมีขอมูลท่ีมากพอในการใหความเขาใจเก่ียวกับโรคซมึ เศรา และไมม แี นวทางในการดแู ลตนเองใหก ับผูสนใจ การสรา งเว็ปเพจ ท่ีมีความนาสนใจทั้งเน้อื หาแลรูปแบบ และสามารถตอบสนองไดกับทุกกลุม สามารถชวยใหผูเขาไปคนหา ไดเรียนรูในการดูแลตนเองในดานตางๆ รวมทั้งสามารถชว ยคนอื่นไดดวย ก็จะเกิดประโยชนอยางมาก การใหทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการสราง และเปนสวนหน่ึงของเว็ปเพจก็จะชวยใหเว็ปเพจนี้เปน ทรี่ จู ักกันอยางแพรห ลาย (2)การมีหนงั สือคูมือใหก บั คนทวั่ ไป/กลุมเสีย่ ง การสรา งคมู ือ มีสาระที่นารู ใหเขาใจภาวะซึมเศรา และเปนคูมือในการฝกปฎิบัติท่ีเขาใจงาย ก็จะเปนทางเลือกหนึงท่ีจะเกิดประโยชนในวงกวา ง (3) จากความรูเก่ียวกับการศึกษาสาเหตุและปจจัยการเกิดภาวะและโรคซึมเศราสามารถชวยสรางโปรแกรมการเรียนรูในการปองกันการเกิดภาวะและโรคซึมเศราเสริมสรางความคิด และพฤติกรรมในทางท่ีสงเสริมคุณภาพชีวิต ใหกับนักเรียนที่อยูในวัยรุนตอนตน ซึ่งมีงานวิจัยที่ทําไดผลกับเด็กอายุ 12-15 ป ท่ีมีปญหาถูกทารุณกรรมมีขอมูลความชุกในการเกดิ ภาวะซมึ เศรา 13-17 % ในนักเรียนชว งอายุ 14-18 ป การมีโปรแกรมในลักษณะที่นายแพทยสุริยเดว ทรีปาตี และคณะ ไดสรา งคูม ือการใชแ บบสํารวจตนทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทย และโครงการการปองกันโรคซึมเศาในวัยรุนและผูใหญตอนตนของพ.ญ.ดุษฎี จึงศิรกุลวิทย และคณะ ซึ่งกําลังดําเนินการอยู ก็เปนปองกนั แบบ Universal ดว ยเชนกัน176

การพฒั นาตน การมหี ลกั สตู ร หรือโปรแกรมการเรยี นรูใ นการเขาใจตนเอง เขาใจการเกิดภาวะซึมเศรา และการสอนและฝกทักษะในการลดหรือแกไขภาวะซึมเศรา ใหกับนักเรียนวัยรุน ที่เรียนอยูมัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย และในมหาวิทยาลัย ก็จะเปนการปองกันเชิงรุกที่ดี และจากงานวิจัยขางตน ก็มีผลในการสนับสนุนวา มีเยาวชนเขาโปรแกรมแลวไดผล สามารถลดภาวะซึมเศรา ลงได การพัฒนาโปรแกรมใหเหมาะกับกลุมและวัยตางๆ และมีการติดตามผล จะชว ยในการปอ งกนั โรคซึมเศราและลดความชุกทีจ่ ะเกิดขึ้นในอนาคตลงได การปองกนั ในกลมุ ทม่ี ีความเสี่ยงสงู Selected กลุมประชากรเปาหมายที่มีการศึกษาพบวามีความเส่ียงสูง ก็ควรจะไดรับการเรียนรแู ละเตรียมความพรอมท่ีจะเผชิญกับการเปล่ียนแปลงตางๆ ที่จะเกิดข้ึน พรอมท้ังมีทักษะในการแกปญหา หากเกิดปญหาข้ึน เชน กลุมหญิงต้ังครรภและสามี กลุมเริ่มเปนโรคเรื้อรังกลุม ผูสูงอายุ กลมุ ผูทีม่ คี วามเครยี ด วิตกกังวลสงู กลุมที่มีผลการเรียนไมดี เปนตน การมีโปรแกรมสําหรับกลุมเส่ียงตางๆ ท่ีทางกรมสุขภาพจิตไดมีการเฝาระวังไว ก็จะชวยทั้งเรื่องปองกันโรคเร้ือรังและการเกดิ โรคซมึ เศราได การปองกันสําหรับกลุมที่เริ่มมีภาวะซึมเศรา ที่ยังไมเขาเกณฑเปนโรคซึมเศรา Indicated จากรายงานผลการสํารวจของกรมสุขภาพจิตในป 2551 โดยนายแพทยธรณินทร กองสุข และคณะ ไดประมาณการความชุกของผูเปนโรคซีมเศรา MDE มีประมาณ 2.4% = 1,311,197 คน MDE Recurrent 386,712 คน Dysthymia Current 181,109คน ในป 2553 การเขาถึงบริการของผูปวย 48.33 % และจากการที่มีระบบการคัดกรองผูที่เขามารับบริการของสาธารณสุข ซึ่งกรมสุขภาพจิตไดดําเนินการอยู มีผูที่มีภาวะซึมเศรา แตยังไมเขา เกณฑท่ีจะเปนผูปว ย ก็จะมีจาํ นวนมาก การมบี ุคลากรท่ีมีความสามารถในการใหการปรึกษากับผูปวย จึงมีความจําเปนที่จะชวยท้ังการบําบัดและการปองกัน ซ่ึงการใหการปรึกษาจะตองมีการพบกันหลายคร้ัง และแตละคร้งั ตอ งมีเวลา 30-40 นาที รวมท้งั การติดตามผลดว ย จงึ เปน ภาระงานทีใ่ ชเวลาอยไู มนอย การฝกอบรมบุคคลากรที่มีความพรอมที่จะชวยในการใหการปรึกษาสามารถใหความชวยเหลือกับทุกกลุม และมีบุคลากรที่สามารถใหบริการไดในทุกพื้นที่ ก็จะชวยใหเกิดผลในการลดความชุกของภาวะซึมเศรา เปนการชวยลดปญหาทางเศรษฐกิจ และสังคม ดังน้ันการ 177

การพฒั นาตนมีโปรแกรมการฝกอบรมใหกับผูปฏิบัติหนาที่ใหการปรึกษา ใหมีจํานวนที่พอเพียง ในการทํางานและตดิ ตามผล จึงเปนสง่ิ สําคัญและจาํ เปน ดังน้ัน จึงควรมีการสรางหลักสูตรในการอบรม พัฒนาบุคลากรอยางตอเน่ือง และมีการติดตามผล ผูท่ีไดรับการปรึกษา เพื่อเปนท้ังการดูแลผูมีภาวะซึมเศราอยางตอเน่ือง และชวยเพิ่มพูนความสามารถใหกับผูปฎิบัติงานใหมีความเช่ียวชาญย่ิงข้ึน องคกรภาคเอกชน กเ็ ปน ภาคสว นทส่ี ําคัญ ท่ีจะชวยในการสํารวจ ปอ งกนั และแกไขโรคซึมเศรา การชวยใหเจาหนาท่ีขององคกรท่ีมีหนาที่ในการดูแลพนักงาน เชนฝายทรัพยากรบุคคล สามารถใหบริการการปรกึ ษากับผทู ม่ี ีภาวะซึมเศราในองคกรของตนเองได ก็จะเปนสวนหนงึ่ ที่ชว ยลดความชกุ ของโรคซมึ เศรา ลงได แนวทางปอ งกันพฤตกิ รรมเกเร-ตอ ตานสังคม การประเมนิ วาพฤติกรรมใดเปน ปญ หา นบั วา เปน เร่อื งสาํ คญั เพราะการบง วา พฤติกรรมใดเปนปญหาน้นั จะสง ผลตอจติ ใจของเด็กและผปู กครองมาก ดังน้ัน เราควรมีหลักการในการตัดสินใจวา พฤตกิ รรมใดเปนปญหา ซ่งึ หลกั การใหญๆ ของการสังเกตและประเมินผลวาพฤติกรรมนั้นๆ เปน ปญหาหรือไมด งั นี้ 1) พฤติกรรมนัน้ เหมาะสมกับอายขุ องเดก็ หรอื ไม 2) พฤตกิ รรมนั้นเกดิ ขน้ึ บอยมากนอ ยเพียงใด 3) พฤติกรรมนน้ั มรี ะดับความรุนแรงมากนอยเพียงใด 4) พฤติกรรมทแี่ สดงออกมาน้ันสงผลตอ ตวั เดก็ มากนอ ยแคไหน 5) พฤตกิ รรมนน้ั ตอตา นการเปลย่ี นแปลงอยางไร 6) เด็กสามารถปรับตัวตอ สภาพแวดลอ มตางๆ ในชวี ิตประจาํ วนั ไดห รอื ไม เมื่อสงสัยวาพฤติกรรมของเด็กน้ันจะเปนปญหา เราควรดําเนินการวิเคราะหเปนขั้นตอน เพ่ือใหไดขอมูลประกอบในการพิจารณาไดถูกตองมากขึ้น ข้ันตอนของการวิเคราะหที่สําคัญขั้นตนก็คือ การสังเกตหาขอมูลเกี่ยวกับตัวเด็กใหไดมากท่ีสุด และเมื่อไดขอมูลแลวควรวเิ คราะหห าสาเหตุของพฤติกรรมน้ันๆ พรอมทั้งทําการทํานายพฤติกรรมในระยะยาว แลวจึงนําขอมูลท้ังหมดมาพจิ ารณาเพือ่ หาวิธีการแกไ ขทเี่ หมาะสม ขนั้ ตอนของการวิเคราะหพ ฤติกรรม ควรทําเปนข้นั ตอนดังน้ี คอื ขนั้ ตอนของการสงั เกต (1) การสังเกตแบบไมเ ปน ทางการหรอื สภาพทัว่ ๆไปตามธรรมชาติ (2) การสงั เกตมีการควบคมุ หรอื สังเกตอยางเปนทางการ178

การพฒั นาตนเรือ่ งท่ี 5.3.2 แนวทางแกไขพฤติกรรมเส่ียงจากปจจัยภายใน แนวทางการแกไ ขพฤติกรรมกาวราว ตอ ตานสังคม เ ด็ ก ท่ี ไ ม ค อ ย มี ค ว า ม ก า ว ร า ว นั้ น จ ะ มี พ อ แ ม ที่ ค อ ย จั ด ก า ร แ ก ไ ขพฤติกรรมท่ีไมถูกตอง โดยพอแมจะไมเพิกเฉยตอพฤติกรรมกาวราวของลูก แตจะเรียกลูกมาจัดการทันที โดยใชก ารส่อื สารพดู คุยดวยเหตผุ ลเปน หลักวา สงิ่ ใดทําได ทําไมได เพราะเหตุใด สิ่งที่เขาทําจะสงผลเสียตอใครบาง การดูแลเด็กจะตองใชหลักการท่ีม่ันคง ไมเปล่ียนหลักการไปตามอารมณ และไมแสดงออกในส่ิงท่ีเด็กจะตีความวาเรากาวราวได และหากเขาไมเชื่อฟงก็จะใชการลงโทษ ดวยความรัก คือใชไมเรียวในการทําโทษ เมื่อทําโทษแลวเรียกเขามากอดและพูดคุยใหเขา ใจวา เหตุใดเขาจึงถกู ลงโทษ เมอื่ เดก็ เกิดความรสู ึกผิดเขาก็จะเรียนรูที่จะไมทําเชนน้ันอีก หากเขายังมีทีทาไมเชื่อฟงและเพื่อเปนการปองกันการแสดงความกาวราวท่ีอาจเกิดขึ้นในอนาคต เราก็อาจวางเง่ือนไขโดยการเพิกถอนสิทธ์ิบางอยางถาเขาทําผิดและเสนอเงอ่ื นไขการใหรางวลั เม่อื เขาประพฤตไิ ดอยางถูกตอง พฤติกรรมกาวราวในเด็กจัดเปนพฤติกรรมอันตรายท่ีพอแมไมอาจเพิกเฉยได เพราะเปนพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงค พอแมควรชักธงรบตอสูกับสื่อภาพยนต เกมคอมพิวเตอร ของเลนและส่ิงอื่นๆ ที่ไดพยายามกระตุนใหเด็กๆ เขาใกลความรุนแรงและเคยชินกับความกาวราว มากย่ิงขึ้นทุกที ดังน้ันพอแมจึงควรชวยใหลูกลดความกาวราวลง และพัฒนาการดานการใชเ หตุผล ทางจริยธรรมเพ่ิมมากขึ้น เพื่อเพิ่มความสุภาพออนโยนและจิตสํานึกผิดชอบชั่วดใี นการทํารายผอู ่ืนที่เริ่มหายไปทลี ะนอยใหม ากขึ้น แนวทางแกไ ขพฤตกิ รรมเกเร-ตอ ตานสังคม การวิเคราะหพ ฤตกิ รรมที่เปนปญหาน้ัน ตองมีการพิจารณากันอยางถี่ถวนและรอบคอบ เพราะ ถาวิเคราะหพฤติกรรมที่เปนปญหาน้ันผิดพลาดจะสงผลกระทบกระเทือนตอเด็กฉะน้ันทุกข้ันตอนของการวิเคราะหตองทําอยางระมัดระวังเพื่อใหการวิเคราะหเปนไปอยางถูกตองและหาวิธกี ารแกไขพฤติกรรมท่ีเปนปญ หานน้ั ไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ 179

การพัฒนาตนบทสรุป พฤติกรรมเสยี่ ง เปนการกระทําท่ีมีแนวโนมใหผลลัพทในเชิงลบ พฤติกรรมเสี่ยงจากปจจัยภายใน ไดแก พฤติกรรมกาวราว-รุนแรง ,พฤติกรรมซึมเศรา-ฆาตัวตาย ,พฤติกรรมเกเร-ตอตานสงั คม และพฤติกรรมเสีย่ งทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงจากปจจัยภายในตัวบุคคลมีคําอธิบายจากหลายแนวคิด สามารถสรปุ ไดวา พฤตกิ รรมเสีย่ งจากปจ จยั ภายในเกิดขนึ้ จาก พันธกุ รรม ความพิการ จิตใจสติปญญาและการศึกษา และสัญชาตญาณ นอกจากน้ีการหลอหลอมจากสภาพแวดลอมท่ีสงผลตอ จติ ใจกม็ ผี ลใหบุคคลเกดิ พฤติกรรมเสีย่ งข้ึนไดเ ชนกนั180

การพัฒนาตนคําถามทา ยบท1.จงอธิบาย ความหมายของ พฤตกิ รรมเสีย่ งจากปจ จยั ภายใน2.ยกตวั อยา ง พฤติกรรมเส่ยี งจากปจจยั ภายใน พรอมอธิบายพอสงั เขป3.สาเหตุของการเกิดพฤตกิ รรมกา วราว-รนุ แรงมีอะไรบาง4.วธิ ีการปองกันพฤติกรรมซึมเศรา -ฆาตัวตายมีวธิ ีการใดบาง บอกมา 3 วิธี5.หากนองชายของนักศึกษามคี วามเสี่ยงท่ีจะเกิดพฤติกรรมเกเร-ตอตา นสังคม นักศึกษา จะแกไ ขและปองกันพฤตกิ รรมดังกลาวไมใหเ กิดขึน้ ไดอยางไร 181

การพฒั นาตน เอกสารอา งองิสุชาจันทรเอม.2544.จติ วิทยาทัว่ ไป. พิมพค รงั้ ท่ี13 ฉบับแกไขปรบั ปรุงไทยวฒั นาพานชิ จํากดั , กรงุ เทพฯReckless, Walter.1971. C.The Crime Problem. Bombay: Vakils, Feffer and Simans PrivateLtd.,ประภาศน อวยชยั ,2535.”การแกไขเด็กและเยาวชนซ่งึ กระทําการอันกฎหมายบญั ญัติเปน ความผิด”ในหนงั สอื ทีร่ ะลึกในการเปดศาลคดีเดก็ และเยาวชนจังหวัดอบุ ลราชธานี, กรงุ เทพมหานคร: ศรวี กิ รมานติ ย,Schafer, S., & Kundton, R. D. 1980. Juvenile Delinquency. New York: Random House.ประภาศน อวยชยั ,2535.”การแกไขเด็กและเยาวชนซึง่ กระทําการอนั กฎหมายบญั ญัติเปน ความผิด”ในหนงั สอื ท่ีระลกึ ในการเปดศาลคดีเดก็ และเยาวชนจงั หวดั อบุ ลราชธานี, กรงุ เทพมหานคร: ศรวี กิ รมานติ ย,ดวงเดือน พันธุมนาวิน.2544.ทฤษฎตี นไมจริยธรรม : การวจิ ัยและการพัฒนาบคุ คล. กรงุ เทพฯ : สาํ นักงานกจิ การโรงพิมพองคการสงเคราะหท หารผานศกึประเทือง ภูมิภัทราคม.2540.การปรบั พฤติกรรม:ทฤษฏีและการประยกุ ต. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พริ้น ต้ิง เฮาส.สมร ทองดี.2537. ววิ ัฒนาการการปฐมวัยศึกษา. สาขาวิชาศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าชนายจกั รพงษ อารนิ วงค.2555.การศึกษาพฤตกิ รรมความกา วราวของนกั ศึกษา,วิทยาลยั เทคโนโลยีพายพั และบริหารธรุ กจิธรณินทร กองสขุ .2555.การปองกนั และการแกไขปญหาโรคซมึ เศราเพื่อการเขาถงึ บรกิ าร. สืบคนเม่ือวันท่ี 19 กมุ ภาพนั ธ 2557, จาก http://www.thaidepression.com/สุรนิ ทร รณเกียรติ และคณะ.2557.รายงานการศึกษาขอมลู จากงานวิจยั เกี่ยวกับ ความชกุ ปจจัย และโปรแกรมการลดภาวะซึมเศราประไพพรรณ ภูมวิ ฒุ ิสาร.2552. นาหว งคนกรุง แชมปซ ึมเศรา.สาํ นกั สารนิเทศ สํานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข. สืบคนเมื่อวนั ท่ี 19 กุมภาพันธ 2557,http://www.moph.go.th/ops/iprg/include/admin_hotnew/show_hotnew.php?idHot_ new=28549182

การพฒั นาตนHealth promotion agency. Find a way through. Available: http://www.depression.org. nz/waythrough. February 19, 2014.Right diagnosis. 2013. Depression statistic in Thailand. Available: http://www.right diagnosis.com/d/depressive_disorders/stats-country.htm. February 19, 2014. 183

การพัฒนาตน184

การพัฒนาตน บทที่ 6 พฤตกิ รรรมเสีย่ งจากปัจจยั ภายนอก ชลลดา ชูวณชิ ชานนท์หัวข้อเนือ้ หา ตอนท่ี 6.1 แนวคดิ ท่ีเกย่ี วกบั พฤตกิ รรมเสย่ี งจากปจั จัยภายนอก เรอื่ งที่ 6.1.1 ปจั จยั ทีเ่ กยี่ วข้องกบั พฤติกรรมเส่ยี งจากปัจจัยภายนอก เร่อื งท่ี 6.1.2 สาเหตุของพฤติกรรมเส่ยี งจากปัจจัยภายนอก ตอนท่ี 6.2 ลักษณะพฤติกรรมเสย่ี งจากปัจจัยภายนอก เรอ่ื งที่ 6.2.1 พฤติกรรมเสพยาเสพตดิ ตอนที่ 6.3 แนวทางป้องกันและแก้ไขพฤตกิ รรมเสี่ยงจากปจั จัยภายนอก เรือ่ งท่ี 6.3.1 แนวทางป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงจากปัจจัยภายนอก เรอ่ื งท่ี 6.3.2 แนวทางแกไ้ ขพฤติกรรมเสี่ยงจากปัจจัยภายนอกแนวคดิ 1. แนวคิดท่ีเก่ียวข้องกบั พฤตกิ รรมเสยี่ งจากปจั จัยภายนอก 2. พฤตกิ รรมการเสพยาเสพติด 3. พฤตกิ รรมการพนนัวตั ถุประสงค์ เมื่อศึกษาเนื้อหาในหนว่ ยการเรยี นแลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. อธิบายหลักการและแนวคิดทเ่ี กยี่ วข้องกับพฤติกรรมเสี่ยงจากปัจจัยภายนอก 2. วิเคราะห์ พฤติกรรมเสีย่ งจากปจั จัยภายนอกตามแนวคิดท่เี กี่ยวข้อง 3. สามารถป้องกนั การเกิด พฤติกรรมเสี่ยงจากปจั จัยภายนอก ได้ 4. สามารถประยุกตใ์ ช้ความรแู้ กไ้ ข พฤตกิ รรมเสยี่ งจากปจั จัยภายนอกได้ 185

การพัฒนาตนบทนา พฤติกรรมเส่ียง หมายถึง การกระทาท่ีมีแนวโน้มให้ผลลัพท์ในเชิงลบเป็นพฤติกรรมท่ีอาจก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายทง้ั ตนเองและผ้อู นื่ การศกึ ษาพฤติกรรมเสี่ยงสามารถแบ่งพฤติกรรมเสี่ยงออกเป็น2 ประเภท คือพฤติกรรมเส่ียงจากปัจจัยภายใน และพฤติกรรมเสี่ยงจากปัจจัยภายนอก ในบทท่ี 6จะกล่าวถึง พฤติกรรมเส่ียงจากปัจจัยภายนอก ได้แก่ แนวคิดท่ีเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมเส่ียงจากปจั จยั ภายนอก , พฤติกรรมการเสพยาเสพตดิ และพฤตกิ รรมการเลน่ พนนัตอนที่ 6.1 แนวคิดทีเ่ กย่ี วกบั พฤตกิ รรมเส่ียงจากปจั จัยภายนอก เรอื่ งท่ี 6.1.1 ปจั จัยท่เี กยี่ วข้องกบั พฤตกิ รรมเส่ยี งจากปจั จัยภายนอก ปจั จัยภายนอกทม่ี ีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ส่งิ แวดล้อม และสังคม ท่ีเก่ียวข้องกบั การดาเนนิ ชวี ิตที่มีผลต่อพฤตกิ รรม แบ่งได้ 3 ส่วน คือ ครอบครัว สถานศกึ ษา และชมุ ชน ครอบครวั 1) ลกั ษณะครอบครัวท่ีดี 2) สมาชิกในครอบครวั มสี ัมพนั ธภาพทีด่ ี ทาให้วยั รนุ่ ปรับตัวไดด้ ี 3) พอ่ แมเ่ ข้าใจลักษณะธรรมชาติความต้องการของวัยรนุ่ 4) พ่อแมท่ าตัวเป็นแบบอย่างท่ีดี วัยรุ่นมีแนวโน้มทจี่ ะรับพฤติกรรมท่ดี ี 5) ครอบครัวเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย วยั รุ่นเป็นตัวของตัวเองฉลาด รอบรมู้ ีความคิดสรา้ งสรรค์ 6) ครอบครัวทีเ่ ปิดโอกาสให้เด็กได้รับคาอธิบาย อธิบายและตัดสนิ ใจ ทาให้วยั รุ่นพฒั นาไปในทางที่ดี 7) คนในครอบครัวสอนให้เด็กวัยรุ่นรูจ้ ักสิทธแิ ละหน้าที่ 8) ครอบครัวมีการอบรมสัง่ สอน วัยรุ่นเรียนรู้ปฏิบัติตนตามมาตรฐาน ของกลุ่ม 9) พอ่ แมม่ ีเจตคติที่ดีต่อบุตร 10) ครอบครัวไม่ใชม้ าตรฐานผู้ใหญต่ ัดสินพฤติกรรมเด็ก 11) พอ่ แมไ่ มด่ ุด่า วจิ ารณ์ หรือทาโทษ เมือ่ เด็กอยากรู้อยากเห็น อยาก อิสรภาพ186

การพฒั นาตน 12) พ่อแม่ตระหนักถงึ อารมณข์ องเด็กวัยรนุ่ เม่ือมีน้องใหม่เดก็ อาจ อารมณฉ์ นุ เฉยี ว ไม่ค่อยร่วมมอื และอาจทะเลาะวิวาทกัน เพราะ เด็กสนใจเพอ่ื นมากกว่าสมาชกิ ในครอบครัว อทิ ธิพลของครอบครวั ทีม่ ีตอ่ พฤตกิ รรมวยั รุน่ 1) บรรยากาศในครอบครัว พอ่ แม่เปน็ ประชาธิปไตยทาให้ลูกมคี วาม อบอุ่นกลา้ แสดงออก กล้าแสดงความคิดเห็น ลกู มีความสุข รกั ครอบครวั มีพฤติกรรมไปในทางทดี่ ี ถา้ ตรงกนั ข้ามคือเข้มงวด เต็ม ไปดว้ ยกฎระเบยี บ ลูกกม็ พี ฤติกรรมเก็บกด ไม่แสดงความเหน็ หลบหนี เบอ่ื ครอบครัวอาจคบเพอื่ นเกเร เสพยาเสพติดก็เปน็ ได้ 2) การอบรมเลี้ยงดู พอ่ แม่ท่คี อยใหก้ าลังใจเอาใจใส่ ลูกกจ็ ะแสดง พฤติกรมดี หากบ้านขาดความอบอุ่นวัยรุ่นก็จะพยายามหาเพ่ือน นอกบ้าน หากเพื่อนไม่ดีอาจเป็นคนมีปญั หาได้ 3) ตน้ แบบ พ่อ – แม่ พ่อ แมค่ วรเป็นตัวอย่างทดี่ ีของลูก อย่ใู กล้ชิดลกู วัยรนุ่ เขาก็จะเปน็ คนรักบ้าน และมีโอกาสทจ่ี ะรับเอาพฤติกรรมทด่ี ี นนั้ ได้ สถานศึกษา ปัจจัยทางโรงเรียนท่ีเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของนักเรียนวัยรุ่น ได้แก่ประเภทของโรงเรียน ,ขนาดโรงเรียน , ช่ือเสียงของโรงเรียน และสภาพแวดล้อม จากประเภทดังกล่าวมีผลท้ังในด้านการส่งเสริมพฤติกรมที่ดี และยั่วยุให้เกิดพฤติกรรมเบ่ียงเบนได้ เช่นโรงเรียนท่ีแวดล้อมไปด้วยโรงแรม แหล่งอบายมุขเป็นส่วนยั่วยุให้เกิดพฤติกรรมเบี่ยงเบนนักเรียนในโรงเรียนที่มีช่ือเสียงมักแสดงตวั และมพี ฤติกรรมไปในทางตรงกันข้าม ชุมชน ปจั จัยทางชุมชน ชุมชนจะมีองค์ประกอบท้ัง 3 ส่วน คือ บ้าน โรงเรียนและชุมชน นักเรียนปัจจัยทางชุมชน ชุมชนจะมีองค์ประกอบท้ัง 3 ส่วน คือ บ้าน โรงเรียน และชุมชนนักเรียน วัยรุ่นอาจมีพฤติกรรมแตกต่างไปตามลักษณะทางกายภาพ ดังน้ีคือ ประเภทของชุมชนขนาดของชุมชน ที่ต้ังของชุมชน พฤติกรรมที่แตกต่างข้ึนอยู่กับลักษณะท้ัง 3 หากเป็นประเภทชุมชนพฤติกรรมก็จะแตกต่างจากชุมชนย่านธุรกิจ คือ พฤติกรรมท่ีขาดความกระตือรือร้น หัวอ่อน เพราะพฤตกิ รรมมแี หลง่ ที่มาอยู่ 2 แหลง่ คอื พนั ธกุ รรมและสภาพแวดลอ้ ม 187

การพฒั นาตน เรอื่ งท่ี 6.1.2 สาเหตุของพฤตกิ รรมเส่ียงจากปจั จยั ภายนอก 6.1.2.1 สาเหตุของพฤติกรรมเสี่ยงจากปัจจยั ภายนอกการตดิ ยาเสพตดิสาเหตกุ ารติดยาเสพติด การตดิ ยาเสพตดิ มีสาเหตุจากปจั จยั ต่างๆ ดังนี้ ปัจจัยทางชวี วทิ ยา 1) ตัวยาเสพติด ที่เสพติดได้ง่ายได้แก่ ออกฤทธ์ิเร็ว แรง และสั้น ยาที่ทาให้เกิดอาการด้ือยาง่าย ยาที่ทาให้ระยะเวลาในการเกิดอาการขาดยาเร็วกว่า หรือรุนแรงกว่า ยาท่ีมีฤทธิ์ขา้ งเคยี งน้อยกว่าผู้เสพไมก่ ลัว ยาท่ีสามารถเสพด้วยวิธีที่สะดวกรวดเร็วกวา่ 2) กรรมพันธุ์ ทาให้เกิดความผิดปกติ ของบุคลิกภาพ และโรคจติ ประสาท 3) โรคทางกายความเจ็บป่วยเรื้อรัง ทาให้ต้องใช้ยาบางอย่างบ่อยคร้ังและเสพติดได้ ต้องใช้ยาเพ่ือระงับอาการ ต่อมาก็เกิดการเสพติด ความพิการ ทางร่างกายเกิดปมดอ้ ย ซมึ เศร้า ปจั จัยทางด้านจิตใจ 1) การเลย้ี งดู ปัญหาขาดการเลี้ยงดูทถี่ กู ต้อง 2) การพฒั นาการ การด้อยสติปัญญา ถูกชักจูงให้ใช้ยาหรือสารเสพติดได้ มีความเช่ือในทางที่ผิด เช่น เช่ือว่ายาเสพติดบางชนิด อาจช่วยให้สบายใจ ลืมความทุกข์หรือชว่ ยให้ทางานไดม้ ากๆ ทางจติ ใจจากการถูกทารา้ ยทางร่างกายและจติ ใจในวัยเด็ก ปจั จยั ทางสุขภาพจิต เครยี ดกังวลแลว้ ใช้ยารกั ษาตนเอง ปัจจยั ทางด้านสิ่งแวดลอ้ ม การขาดความผูกพันกันในครอบครัวและสังคม การคบเพ่ือนที่ติดยาเสพตดิ หรือต้องการใหเ้ ป็นทยี่ อมรับจากกลุ่มเพอ่ื น ส่ือต่างๆ ทาให้อยากลอง อยากรู้ ด้วยความคึกคะนอง ความกดดันของภาวะเศรษฐกิจและสังคม การเท่ียวแหล่งบันเทิง หรือเพ่ือหนีปัญหา เม่ือมีปญั หาแลว้ ไม่สามารถแกป้ ัญหางได้ตอนที่ 6.2 ลกั ษณะพฤตกิ รรมเส่ยี งจากปัจจยั ภายนอก เรือ่ งท่ี 6.2.1 พฤตกิ รรมเสพยาเสพติด ความหมายของยาเสพติด ยาเสพติด หมายถึง สารหรือยาท่ีอาจเป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ หรือจากการสังเคราะห์ ซ่ึงเมอ่ื เสพเข้าส่รู า่ งกายไม่ว่าจะโดย การกิน ดม สูบ ฉีด หรือ ด้วยประการใด ๆแล้วจะทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสาคัญ เช่น ต้องเพิ่มขนาดการเสพข้ึนเร่ือยๆ ,188


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook