Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore GEH2201 การพัฒนาตน

GEH2201 การพัฒนาตน

Published by fastbad, 2016-07-07 04:34:12

Description: GEH2201 การพัฒนาตน

Keywords: การพัฒนาตน

Search

Read the Text Version

การพัฒนาตนความรักความอบอุนท่ีเด็กไดรับอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอจากแม จะบอกใหเด็กทราบวาเขาเปนท่ีรักเปน ทต่ี อ งการ และมีคณุ คาเพยี งใด สง่ิ เหลาน้จี ะสรา งความเช่ือมั่นในตนเองของเด็กเพิ่มมากข้ึน หากเปรียบเทียบลักษณะของเด็กที่มีความรูคุณคาในตนเอง หรือความภูมิใจในตนเองกับเด็กท่ีขาดความภูมใิ จในตนเอง จะมขี อแตกตา ง ดงั นี้ (พิทยาภรณ มานะจตุ .ิ (2543) เด็กที่ขาดความภาคภูมิใจในตนเอง จะไมชอบเรียนรูหรือทดลองประสบการณใหมๆ มักจะพูดเก่ียวกับตัวเองในทางลบ เชน หนูทําไมได ผมเปนคนไมเกง หรือเราเปนคนไมฉลาดไมมใี ครสนใจ ฯลฯเด็กจะมีความอดทนตอความกดดันไดนอย ไมมีความพยายาม ยอมแพไดงายหรือมักชอบใหคนอื่นทําแทนตนเอง เด็กท่ีไมมีความเชื่อม่ันในตนเอง มักจะเปนเด็กท่ีเงียบขรึม ไมคอยสงุ สงิ กบั เพ่ือน มักเปนคนวิตกกังวล เกิดความเครียด ไมสามารถแกไขปญหาเล็กๆ นอยๆ ท่ีเกิดข้ึนไดเชน เม่ือลืมเอากลองดินสอมาจากบาน ก็จะไมทํางานในหองเรียน เพราะไมมีดินสอใช หรือเมื่อไมไดเอาสมุดงานวิชาใดๆ มาจากบานก็จะไมเรียนวิชานั้น หรือจะรองไหกลับบาน เปนตน เด็กเหลาน้ีมักคิดอยูเสมอวา ตนเองทําผิดเสมอหรือตนเองเปนเด็กท่ีเรียนไมเกง และมักจะคิดเสมอวา ตนเองทําอะไรก็ไมส ําเร็จ เด็กที่มีความรูคุณคาในตนเอง หรือความภาคภูมิใจในตนเองจะมองโลกในแงดีเสมอ มองวิกฤตใหเปนโอกาส มองวาตนเองมีคุณคาอยูเสมอ เช่ือมั่นในความสามารถของตัวเองมองวาตัวเราเปนสวนหน่ึงของชีวิต และเราสามารถควบคุมและจัดการกับชีวิตของเราได จะมีความรูสึกม่ันใจชอบพบปะผูคน มีความสุขที่จะไดรวมกิจกรรมกลุมกับเพ่ือนๆ หรือผูใหญ ในขณะเดียวกันก็สามารถอยูคนเดียวได โดยท่ีไมมีความรูสึกวาตองพ่ึงพาผูอ่ืน เชน สามารถรับประทานอาหาร แตงตัวเองได ชอบทดลองคนหาส่ิงใหมๆ ท่ีเขาสนใจเมื่อมีความทาทายเขามาเขาจะคิดหาทางแกปญ หา หรือหาทางออก กลาทดลองเลน ของเลนดว ยวิธกี ารของตนเอง และหากสังเกตคําพูดบางคําของเขาก็จะรูสึกถึงความม่ันใจในตนเอง เชน แทนที่จะพูดวาฉันทําไมได เขาก็จะพดู วา ฉนั จะหาทางทาํ มันใหไ ด เขาจะรูถงึ จดุ เดนและจดุ ดอยของตนเองและยอมรบั มันได พอแมแ ละผปู กครองจะเปนผูทช่ี วยเสรมิ สรา งความเชื่อมั่นในตนเองใหกับเด็กไดดีที่สุดเพราะชวงวัยเด็กนั้น เด็กจะไดรับการลี้ยงดูหรือสรางสมความภาคภูมิใจในตนเองมากหรือนอยเพียงใดข้ึนอยูกับพอแมและผูปกครองที่เล้ียงดูนั่นเอง ซ่ึงความรูคุณคาในตนเอง สะสมเพิ่มมากข้ึนเรื่อยๆ เม่ือเด็กโตขึ้น ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสถานการณรอบขาง และส่ิงตางๆ ท่ีผานเขามาในชีวิตของเขา ความรูสึกภาคภูมิใจมีเขามาเปนชวงภูมิใจมากภูมิใจนอย เปล่ียนแปลงไปมา พอแมผูปกครองจึงจําเปนตองเรียนรูท่ีจะสังเกตลักษณะของเด็กวา ชวงไหนเขาเปนอยางไร เขามีความภูมิใจในตนเอง และมีความรูสึกตอตนเองอยูในระดับไหน ท้ังน้ี การสรางเด็กๆ ใหเติบโตข้ึนมาใน 239

การพัฒนาตนสภาวะแวดลอมที่เปดโอกาสใหเขาไดเสริมสรางความภาคภูมิใจในตนเองไดตลอดเวลาเชน การท่ีเด็กสามารถแสดงออกไดด ีในเรือ่ งใดเร่ืองหนงึ่ แมแ ตเรือ่ งเล็กๆ นอยๆ เชน การแบงส่ิงของหรือขนมใหเ พอ่ื นทนี่ ่งั ขางๆ การเก็บขยะตามทางเดินไปทิ้งใหถูกที่ หรือแมแตการชวยเพื่อนทําเวรประจําวันนัน้ จะตองถูกสรางสมต้งั แตวยั เดก็ และท่ีสาํ คญั มาก คือ การพดู หรอื แสดงความเขาใจในสิ่งที่เด็กๆทําพูดเพื่อใหเขารูสึกถึงความภูมิใจในส่ิงที่เขาทํา และแสดงความเขาใจกลาวชมเชยวาสิ่งเหลานี้คือ สิ่งที่ควรทําตอไป พรอมทั้งพูดใหเด็กรูและและเห็นคุณคาในส่ิงท่ีเขาทําเพื่อเพิ่มความความม่ันใจและความภาคภูมิใจในตนเองที่จะคอยๆ กอตัวข้ึนทีละเล็กทีละนอย เมื่อเด็กมีความภาคภมู ใิ จในตนเองรูแ ละเห็นคุณคา ของตนเองกจ็ ะคอ ยๆ เตบิ โตขึ้นเปนเดก็ ทมี่ คี วามม่ันใจสามารถแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจําวันได ตัวอยางกิจกรรมท่ีจะชวยเสริมสรางความภาคภูมิใจในตนเองใหกับลูกปจจัยที่เสริมสรางคุณคาในการดําเนินชีวิตของปฐมวัย (สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวทิ ยาลัย. (2524) 1. ใหความรัก ความอบอุนแกลูก การแสดงความรักโดยการกอดสัมผัสพูดชมเชยใหลูกรูวาพอแมภูมิใจในตัวเขามากแคไหน เปนส่ิงท่ีควรทํา เพราะเปนสิ่งที่สรางความภมู ใิ จแกต นเองอยา งย่ิงใหแ กล ูก 2. การพูดใหกําลังใจลูก การพูดชมเชยอยางจริงใจ แมในเร่ืองเล็กๆเชน เมื่อลกู รบั ประทานอาหารไดเ อง ทาํ การบานโดยไมตองเตือน ฯลฯ จะทําใหลูกมีกําลังใจในการชวยเหลือตนเอง เพราะเด็กๆ มักจะมีความสึกออนไหวไดงายตอคําพูดของพอแม นอกจากน้ี การพูดชมเชยลูกไมเพียงแตเม่ือลูกประสบความสําเร็จ แตควรจะพูดสงเสริมชมเชยลูกดวยเม่ือลูกไดพยายามทําส่ิงหนึ่งสิ่งใดดวยตนเองแลว แมจะไมประสบความสําเร็จก็ควรพูดชมเชยตอความพยายามของลกู มากกวาพูดถึงผลลพั ธท่ีออกมา 3. เปนตัวอยางท่ีดีใหแกลูกเด็กวัยน้ีจะเลียนแบบพฤติกรรมของพอแมจึงควรสํารวจตนเองวาเปนแบบอยางท่ีดีแกลูกหรือไม เชน การใชคําพูดหรืออารมณรุนแรงลูกจะแสดงออกถึงความกาวราวรุนแรงเชน การปาของ การตะโกน การกรีดรอง แตถาพอแมเสริมสรางความมเี หตุผลเด็กกจ็ ะเตบิ โตมาดวยการใชเหตผุ ล 4. สังเกตและแกไขความรูสึกท่ีไมถูกตองของลูก เปนหนาที่โดยตรงของพอแมและผปู กครองท่ีใกลชดิ เด็กทีจ่ ะสังเกตวา ลูกมีความรูสึกตอตนเองเปนอยางไร ความรูสึกผิดๆ บางอยางถาไมไดรับการแกไขในทางท่ีเหมาะสมแลว อาจจะฝงรากลึกกลายเปนความรูสึกถาวรได เชน เด็กท่ีสามารถเรียนวิชาอ่ืนๆ ไดดีแตเพียงเขาทําวิชาคณิตศาสตรไมได อาจจะทําใหเด็กคดิ วา “เขาไมส ามารถคิดเลขได เขาเปนเด็กโง” ไมเพียงแตเปนความคิดท่ีผิดแตอาจจะเปนการ240

การพฒั นาตนฝงรากของความรสู กึ ลม เหลว และขาดความภูมิใจในตนเองได เปนหนาท่ีของพอแมที่จะตองทําใหเขารับรถู งึ แงคิดในการมองที่ถูกตอง อาจเปนวา “ลูกสามารถเรียนวิชาอ่ืนๆ ท่ีโรงเรียนไดดี เลขเปนเพียงวิชาหน่ึงเทา นนั้ ไมไ ดหมายถึงท้ังหมด ลูกไมไดเปนเด็กไมฉลาด เพียงแตวาลูกควรใชเวลาทําการบานในวิชาเลข ทบทวนบทเรยี นใหมากขึ้นเทาน้นั ” 5. สรางบรรยากาศที่ดีในบาน เด็กท่ีรูสึกวาอยูบานแลวไมมีความสุขหรือรสู กึ ไมปลอดภัย จะมีระดับความภาคภูมิใจในตนเองตํ่า บานท่ีพอแมทะเลาะกันบอยจะทําใหลูกเปนเด็กเก็บกด เม่ือมีขอขัดแยงควรจะหาสถานที่ที่มิดชิดพูดคุยกัน ไมควรทะเลาะกันตอหนาเดก็ ดังน้นั จงึ ควรสรางบรรยากาศในบานใหดี ปรองดองกัน สรางใหบานเปนสถานท่ีที่สงบสุขและดีทีส่ ุดสาํ หรับลูก 6. สงเสริมใหเด็กไดเขารวมกิจกรรมท่ีสรางสรรค กิจกรรมท่ีเสริมสรางการทํางานเปนทีม การทํางานรวมกันเพื่อประสบความสําเร็จเปนกิจกรรมท่ีดีในการสรางความมน่ั ใจ และความภาคภมู ิใจในตนเอง เชน กิจกรรมที่ใหพี่สอนนองอานหนังสือ จะเปนผลดีตอความภมู ิใจในตนเองของท้งั สองฝายเปนตน สวนกิจกรรมทเ่ี นน การแขงขันและผลลัพธของการแขงขันจะไมค อยเปน ผลดนี ัก เพราะจะทาํ ใหเดก็ เครงเครยี ดจนเกนิ ไป 7. ครูควรเปดโอกาสใหเด็กไดแสดงความคิดเห็น ความสามารถ หรือทําสิ่งตางๆ ดวยตนเองโดยครูคอยใหกําลังใจ หรือใหเพื่อนปรบมือให และไมควรตัดสินความคิดเห็นของเด็กวาถูกหรือผดิ แตค วรใหข อ มลู เพม่ิ เติมแกเ ดก็ แทน10 เร่อื งที่ 107.2.2 การสรางคุณคาในการดําเนนิ ชีวิตของวัยรุน วัยรุน คือ วยั ทม่ี ีชวงอายุระหวา ง 13 – 21 ป โดยสามารถแบงชวงอายุของวัยรนุไดเ ปน 3 ชวงดงั น้ี ชวงวยั รุนตอนตน (Early Adolescence) ตงั้ แตอายุ 13 – 15 ป ชว งวยั รุนตอนกลาง (Middle Adolescence) ตง้ั แตอ ายุ 15 – 18 ป ชว งวัยรุนตอนปลาย (Late Adolescence) ตัง้ แตอายุ 18 – 21 ป วัยรุนเปนวัยที่มีการเปล่ียนแปลงเขาสูวุฒิภาวะทั้งรางกายจิตใจอารมณ และสงั คม จงึ นบั วา เปน วกิ ฤติชว งหน่งึ ของชวี ิต เปรียบไดวาเปนชวงหัวเลี้ยวหัวตอของชีวิตเน่ืองจากเปนชวงตอของวัยเด็กและผูใหญโดยเฉพาะอยางยิ่งในระยะตนของวัยจะมีการเปล่ียนแปลงมากมายเกิดขึ้น ซึ่งการเปล่ียนแปลงดังกลาว จะมีผลตอความสัมพันธระหวางวัยรุนดวยกันเองและบุคคลรอบขาง หากกระบวนการเปลี่ยนแปลงดังกลาว เปนไปอยางเหมาะสมโดย 241

การพฒั นาตนการดูแลเอาใจใสใกลชิด จะชวยใหวัยรุนสามารถปรับตัวไดอยางเหมาะสม บรรเทาปญหาตางๆท่ีอาจจะเกิดขน้ึ และเปนทัง้ แรงผลักดนั และแรงกระตุนใหพัฒนาการดา นอื่นๆ เปน ไปดว ยดี คําจํากัดความ คําวา “วัยรุน” มีความหลากหลายเน่ืองจากขึ้นกับความแตกตางของขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒธรรมตลอดจนความแตกตางทางสังคม และการเปล่ียนแปลงทางสรีรวิทยา ของวัยรุนในแตละแหงอยางไรก็ตาม องคกรอนามัยโลก (World Health Organization,2011) ไดกําหนดความหมายกวางๆ ของวัยรุนไวด ังนี้ วยั รุน หมายถึง ชวงอายุทม่ี ีการเปลี่ยนแปลงทางรางกายในลกั ษณะท่ีพรอมจะมีเพศสัมพันธไ ด วยั รุน เปน ระยะทีม่ ีการพฒั นาทางจิตใจมาจากความเปน เดก็ ไปสูความเปนผูใหญ วยั รุน เปนระยะท่ีมีการเปล่ียนแปลงจากสภาพที่ตอ งพงึ่ พาทางเศรษฐกิจไปสภู าวะทต่ี องรับผิดชอบและพ่ึงพาตนเอง ความรูคุณคาในตัวเอง ของวัยรุนนนั้ สอดคลองกับทักษะการใชชีวิตของวัยรุนในเรื่องตางๆ ดงั น้ี 1. การรจู กั ตนเอง ( คุณคา แหง ตน ) 2. การรจู กั ผูอืน่ 3. การสอ่ื สาร 4. การฟง 5. การจัดการอารมณแ ละความเครียด 6. การตัดสินใจ และการแกปญ หา 7. การปฏิเสธ11 โฮวารด การด เนอร (Howard Gardner) Gardner, Howard. (2002). นักจติ วิทยาจากมหาวิทยาลัยฮาวารด ผมู ีแนวคิดวา “สตปิ ญญาของมนุษยมีหลายดานทีม่ ีความสําคัญเทา เทยี มกันขึน้ อยูกับวา ใครจะโดดเดนในดานไหนบา ง และแตละดา นผสมผสานกันแสดงออกมาเปนความสามารถในเรื่องใด เปนลักษณะเฉพาะตวั ของแตล ะคนไป11ทักษะชวี ิต ซงึ่ เปนผูคิด 11ทฤษฎพี หุปญญา” (Theory of Multiple Intelligences) ประกอบดวย 1. ปญญาดานภาษา (Linguistic Intelligence) คือ ความสามารถในการใชภาษารูปแบบตางๆ ตั้งแตภาษาพ้ืนเมือง จนถึงภาษาอื่นๆ ดวย สามารถรับรู เขาใจภาษา และสามารถส่ือภาษาใหผูอ่ืนเขาใจไดตามท่ีตองการผูที่มีปญญาดานน้ีโดดเดน ก็มักเปน กวี นักเขียนนักพดู นักหนงั สือพิมพ ครูทนายความ หรือนกั การเมอื ง242

การพฒั นาตน 2. ป ญ ญ า ด า น ต ร ร ก ศ า ส ต ร แ ล ะ ค ณิ ต ศ า ส ต ร (Logical-MathematicalIntelligence) คือ คว าม สาม า รถในกา รคิดแบบ มีเหตุแล ะ ผล กา รคิดเชิง นาม ธ รร มการคิดคาดการณและการคิดคํานวณทางคณิตศาสตร ผูที่มีปญญาดานน้ีโดดเดน ก็มักเปนนกั บญั ชีนักสถิติ นักคณติ ศาสตร นักวจิ ัย นกั วิทยาศาสตร นักเขียนโปรแกรม หรอื วิศวกร 3. ปญญาดานมิติสัมพันธ (Visual-Spatial Intelligence) คือ ความสามารถในการรับรูทางสายตาไดดี สามารถมองเห็นพ้ืนที่ รูปทรง ระยะทางและตําแหนง อยางสัมพันธเชอ่ื มโยงกนั แลวถายทอดแสดงออกอยางกลมกลืนมีความไวตอการรับรูในเร่ืองทิศทาง สําหรับผูที่มีปญญาดานน้ีโดดเดนจะมีทั้งสายวิทย และสายศิลป สายวิทยก็มักเปน นักประดิษฐ วิศวกรสวนสายศิลปก็มักเปนศิลปนในแขนงตางๆ เชน จิตรกร วาดรูป ระบายสี เขียนการตูน นักปนนักออกแบบ ชา งภาพ หรือสถาปนิก เปนตน 4. ปญญาดานรางกายและการเคล่ือนไหว (Bodily Kinesthetic Intelligence)คือ ความสามารถในการควบคุมและแสดงออกซึ่งความคิด ความรูสึกโดยใชอวัยวะสวนตางๆของรางกาย รวมถึงความสามารถในการใชมือประดิษฐความคลองแคลว ความแข็งแรง ความรวดเรว็ ความยืดหยุน ความประณีตและความไวทางประสาทสมั ผัส สําหรับผูท่ีมีปญญาดานนี้โดดเดน มักจะเปนนักกีฬาหรือไมก็ศิลปนในแขนงนักแสดง นักฟอน นักเตน นักบัลเลย หรือนักแสดงกายกรรม 5. ปญญาดานดนตรี (Musical Intelligence) คือ ความสามารถในการซึมซับและเขาถึงสุนทรียะทางดนตรี ทั้งการไดยิน การรับรูการจดจํา และการแตงเพลง สามารถจดจําจังหวะ ทํานอง และโครงสรางทางดนตรีไดดีและถายทอดออกมาโดยการฮัมเพลง เคาะจังหวะเลนดนตรี และรองเพลงสําหรับผูที่มีปญญาดานน้ีโดดเดน มักจะเปนนักดนตรี นักประพันธเพลงหรือนักรอง 6. ปญญาดานมนุษยสัมพันธ (Interpersonal Intelligence) คือ ความสามารถในการเขาใจผอู ่ืนทง้ั ดา นความรูสึกนึกคิด อารมณและเจตนาท่ีซอนเรนอยูภายใน มีความไวในการสังเกต สีหนา ทาทาง น้ําเสียงสามารถตอบสนองไดอยางเหมาะสม สรางมิตรภาพไดงาย เจรจาตอรองลดความขัดแยงสามารถจูงใจผูอ่ืนไดดี เปนปญญาดานที่จําเปนตองมีอยูในทุกคนแตสําหรับผูท่ีมีปญญาดานนี้โดดเดน มักจะเปนครูบาอาจารย ผูใหคําปรึกษานักการฑูต เซลแมนพนักงานขายตรง พนกั งานตอ นรับ ประชาสัมพนั ธ นักการเมอื งหรือนกั ธรุ กจิ 7. ปญญาดานการเขาใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence) คือความสามารถในการรูจัก ตระหนักรูในตนเอง สามารถเทาทันตนเองควบคุมการแสดงออกอยาง 243

การพัฒนาตนเหมาะสมตามกาลเทศะ และสถานการณ รวู า เมื่อไหรควรเผชิญหนาเมื่อไหรควรหลีกเลี่ยง เมื่อไหรตองขอความชวยเหลือ มองภาพตนเองตามความเปนจริงรูถึงจุดออน หรือขอบกพรองของตนเองในขณะเดียวกันก็รูวาตนมีจุดแข็งหรือความสามารถในเร่ืองใดมีความรูเทาทันอารมณ ความรูสึกความคิด ความคาดหวัง ความปรารถนาและตัวตนของตนเองอยางแทจริง เปนปญญาดานท่ีจําเปนตองมีอยใู นทกุ คนเชนกนั เพ่อื ใหสามารถดํารงชีวิตอยางมีคุณคา และมีความสุขสําหรับผูท่ีมีปญญาดา นนโี้ ดดเดน มักจะเปน นกั คิด นักปรชั ญา หรอื นักวจิ ัย 8. ปญญาดานธรรมชาติวิทยา (Naturalist Intelligence) คือ ความสามารถในการรูจัก และเขาใจธรรมชาติอยางลึกซึ้ง เขาใจกฎเกณฑปรากฏการณ และการรังสรรคตางๆของธรรมชาติ มีความไวในการสงั เกตเพ่ือคาดการณความเปนไปของธรรมชาติ มีความสามารถในการจัดจําแนกแยกแยะประเภทของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว สําหรับผูท่ีมีปญญาดานนี้โดดเดนมักจะเปน นักธรณีวิทยา นักวิทยาศาสตร นักวิจยั หรอื นักสาํ รวจธรรมชาติ จากการสํารวจตนเองตามอัตมโนทัศนวาเปนใคร มีหนาที่อะไร มีอะไรท่ีเปนจุดเดน จุดดอย โดยท่ีไมไดสะทอนมุมมองความคิดของตนในเรื่องทางกายภาพวา หนาตา รูปรางความอวน ความผอม เม่ือเขาเห็นขอดีของตนเอง ส่ิงที่ตามมาก็คือ การรับรูคุณคาในตนเองความภาคภูมิใจในตนเอง ศรัทธาในตนเอง และจบลงดวยการนับถือตนเองในท่ีสุด ซ่ึงเปนการสรางคณุ คา ในตนเองของวยั รนุ แนวทางเสรมิ สรางคุณคาในการดําเนนิ ชีวิตของวัยรุน 1. พอแมผปู กครองใหเวลากับเขา 2. การสังเกต พฤติกรรม ความชอบ นสิ ัย เพือ่ คน หา สิ่งที่เขาทาํ ไดดี 3. การฟง ความตองการ ความรูสึกทเ่ี กิดขนึ้ เวลาเขามองตวั เอง วาเปนอยางไร พอใจในส่ิงทตี่ วั เองเปน 4. การสงเสรมิ พัฒนาส่ิงที่ทาํ ไดด อี ยูแลว ใหด ขี ึ้น เชน หาครูมาฝก หาหนงั สือใหอาน พาไปใหเ ห็นของจรงิ ซ้ือมาใหฝกเปดโอกาสใหเ ขาไดศกึ ษาอยา งจรงิ จัง เปน ตน 5. การตดิ ตามเอาใจใส ใหกําลังใจ เชน การช่ืนชมเมื่อทาํ ไดดี พาไปโชวใหมโี อกาสไดนําเสนอ เร่อื งท่ี 7.2.3 การสรา งคณุ คาในชีวติ ของวัยผใู หญหรือวยั ทาํ งาน วัยผใู หญห รือวัยทาํ งาน คือ ชว งอายุระหวา ง 21 ถึง 60 ป โดยสามารถแบงชวงอายุของผใู หญหรือวัยทาํ งานได ดงั น้ี244

การพัฒนาตน ชว งวยั ผูใ หญตอนตน (Early adulthood) ตั้งแตอายุ 20 ถึง 40 ป ชวงวัยกลางคน (Middle age หรือ Middle adulthood) คือชวงอายุ 40 – 60 ป เมื่อผานระยะพัฒนาการของวัยรุน บุคคลจะเขาสูระยะวัยผูใหญ (Adulthood)คือ บุคคลเขาสูวัยผูใหญ คือ การเปลี่ยนแปลงบทบาท (role transition) เน่ืองจากในวัยน้ีมีหนาท่ีและความรับผิดชอบมากขึ้นและนักสังคมวิทยาใหขอสังเกตที่แสดงถึงการเริ่มตนการปรับเปลี่ยนจากวยั รุน สูวยั ผูใหญค ือ การสําเรจ็ การศกึ ษา มอี าชีพประจํา การแตง งาน และการเปนบดิ ามารดา การสรางความเชื่อม่ันในคุณคาของตนเอง ผูท่ีจะประสบความสําเร็จในหนาท่ีการงานและเติบโตข้ึนไปเปนหัวหนางานที่มีศักยภาพได ตองมีแรงจูงใจในความเปนผูนํา และมีความสามารถในการสรา งแรงจงู ใจใหกบั ผูใตบงั คบั บญั ชา แตโดยท่ัวไปเรามักจะแสวงหาวิธีการในการสรางแรงจูงใจใหกับทีมงาน เพราะเรามักจะคิดวา ถาทีมงานมีแรงจูงใจในการทํางาน ก็จะมีพลงั ในการสรางความสําเร็จ จนเราอาจลมื ไปวา รากฐานท่ีสาํ คัญมาจากผนู าํ ตอ งมีแรงจูงใจในการทํางานของตนเองเสียกอน และคําถามสําคัญ ก็คือ 10ในฐานะที่เราเปนผูนําองคกร เราจะสามารถสรา งแรงจูงใจใหกบั ตนเองไดอ ยางไร ลองทบทวนพฤติกรรมในอดีตของตัวเราเอง เราเคยรูสึกวา เราไมมีความสําคัญตอองคกร เราไมไดรับมอบหมายงานท่ีสําคัญจากหัวหนางาน เราไมเคยรูสึกวาเราเปนคนพิเศษเปน แตคนไมม ีตัวตนบา งหรอื ไม แลวเราก็รูสึกทอถอย หมดกําลังใจ ไมอยากท่ีจะทํางานในสถานท่ีแหงนี้อกี ตอไปหรอื ไม 10 พื้นฐานสําคัญของการเปนผูนําท่ีจะมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ไดน้ัน ตองเปนผูท่ีมีความเช่อื มน่ั ในคณุ คาของตนเอง10 มีความมั่นใจ และใหความเคารพตนเองอยางมาก ความเชื่อม่ันในคณุ คา ของตนเองอาจแตกตางกันไปในผูนําแตละคน ข้ึนอยูกับประสบการณท่ีไดสั่งสมมาตั้งแตเด็ก และปจจัยภายนอก เชน สถานการณ ส่ิงแวดลอมรอบตัว แตอยางไรก็ตาม 10ความเชื่อมั่นในคุณคาของตนเองก็สามารถยกระดับใหสูงข้ึนได ดวยองคประกอบท่ีสําคัญ 3 ประการ10คือ1)ภาพลักษณตอตนเอง (Self – Image) 2) การพูดคุยกับตนเอง (Self – Talk) และ 3) การกําหนดชีวิตของตนเอง (Self –Determination) (Hogan and Astone, 1986 cited in Kall andCavanaugh, 1996) คําถามสําคญั กค็ อื เรามีภาพลักษณอะไรที่จําเปนตองปรับปรุงแกไขหรือไม และมีภาพลักษณใดท่ีตองเพ่ิมเติมและเสริมสรางใหแข็งแกรงยิ่งขึ้นหรือไม วิธีการสําคัญ ก็คือ รบกวนเพ่ือนที่ไววางใจไดอยางนอย 2-3 คน ชวยเปนกระจกสะทอนภาพลักษณของเรา และเราตองยินดีรับฟง ดวยใจทีเ่ ปด กวาง 245

การพฒั นาตน10 การพดู คุยกับตนเอง (Self – Talk) เราเคยพูดคยุ กับตวั เองบางไหม หลายคนคงมปี ระสบการณในการพูดคุยกับตัวเอง ซึ่งไมใ ชเ รอื่ งทผี่ ิดปกตอิ ะไรเลย บางคนอาจพูดออกมาดงั ๆหรอื บางคนอาจคุยเหมือนโตตอบกันระหวาง 2 คนก็มี 10คาํ ถามสําคัญก็คือวา “เราคยุ กับตนเองอยางไร” เราคุยกับตนเองในทางบวก ใหการสนับสนุนตวั เอง หรือ ถอนหายใจแลวพดู กบั ตัวเองในแงลบอยูตลอดเวลา ซึง่ การพูดคุยกับตนเองในแบบหลังน้ีจะสงผลใหค วามเชอ่ื มนั่ ในคุณคาของตนเองมรี ะดับตา่ํ ลงเร่ือยๆ10 ลองคดิ ดวู า เราจะรูสึกอยางไร ถา เรามีหัวหนา งานท่มี นี ิสัยชอบวิจารณและตําหนิเรื่องของเราทกุ วัน 10มองเราในแงลบวา เราไมมีอะไรดเี ลย คอยวา กลาวเราอยูเสมอวาเราทําอะไรกไ็ มดไี ปหมด เราเปนคนทไ่ี มร จู ักปรับปรงุ พฒั นาอะไรใหดขี ึ้นเลย และคอยแตจ ะหาทางจบั ผิดลงโทษ เราอยูเ สมอ การพูดคุยถึงตวั เองในแงลบกไ็ มตางอะไร หากสถานการณแบบนีเ้ กดิ ข้ึนกับตวั เรา 10จติ ใตสาํ นกึ (Subconscious Mind)ของเรากจ็ ะรบั รแู ละเก็บบันทึกเร่ืองรา ยๆ10 ทศั นคติเชงิ ลบเขา ไปเก็บไวในบันทึกความทรงจาํ ของเราทุกวนั และในทีส่ ดุ ก็จะทาํ ใหความเช่ือม่ันในคณุ คา ของตนเองลดนอยลงไปดว ย และกลายเปนภาพลกั ษณของเราไปโดยอัตโนมตั ิ ดังนนั้ 10วิธีการที่เราจะถา ยโอนความคดิ แยๆ เดิมๆ ออกไปจากตวั ของเราอยางงายๆ วธิ ีหนึ่ง ก็คือ10 เม่อื เราไดยนิ ตวั เองพูด ไมวาจะพูดในใจหรือพูดออกมาดังๆ กต็ าม ถึงสง่ิ ตา งๆในแงลบเกย่ี วกับตัวเราเอง ก็จงพยายามพดู กับตวั เองใหมใหดนู ุมนวลกวา เดิม เชน เมื่อมสี ตริ ทู ันท่ีเราพูดวา “จะเปน อยางไรนะ ถา พวกเขาไมเหน็ ดว ยกับความคดิ ของเรา” กใ็ หพดู กับตัวเองใหมวา“น่ีเปน ความคิดท่ีดีของเรา ที่เราทุม เทคิดมาอยางเตม็ ที่ พวกเขาตองชอบแนนอน”“เราไมเคยท่จี ะคิดแกปญหาอะไรดวยตัวเองไดเลย ตองหวงั พง่ึ คนอนื่ ตลอดเวลา” กใ็ หพ ดู กับตัวเองใหมว า “ ใจเยน็ ๆ นา คอยๆ คิด เราทําได เราทาํ ได”10 การกําหนดชีวิตตนเอง (Self- Determination) เราเคยมองยอนกลับไปในชว งเวลาอดตี แลว สงสัยหรือไมค รบั วา ทาํ ไมเวลาไดผ านไปรวดเรว็ เสยี เหลือเกิน เร็วมากจนกระทั่งไมส ามารถตกั ตวงความสขุ ใหก ับชีวิตไดเหมือนคนอ่ืน น่นั หมายถงึ วา เรากําลงั เปนกลุม คนทใี่ ชชีวิตผา นไปโดยปลอยใหเหตุการณต างๆ หรือคนอ่ืนๆ กาํ หนดการใชช วี ิตของเรา ถาเรารูจกั ใหอาํ นาจตนเองท่ีจะใชชีวติ แตกตางจากคนกลุมแรก เราตอ งรูดวี าเปา หมายที่เราตองการใหบ รรลุผลสาํ เร็จคืออะไร เราเขาใจวา เราตองการอะไรจากชีวิต และจะกา วเดนิ ไปดวยความมั่นใจวาเราจะไดในสง่ิ ท่ตี อ งการ ซึ่งคนกลมุ น้ีจะเปนคนทมี่ ีความเชื่อม่นั ในคุณคาตนเองสูง และมีความคาดหวังในแงบ วกวาจะประสบความสาํ เรจ็ ในเปาหมายท่ีไดต้งั ไว246

การพัฒนาตน แนวทางสรางคุณคาในชีวิตของวยั ผใู หญหรอื วยั ทาํ งาน การตงั้ คําถามกบั ตัวเอง ดังน้ี 1. เราต้งั เปา หมายวาตองการทาํ อะไรใหสาํ เรจ็ ในแตละปเ สมอ 2. เราต้ังเปาหมายวาในอีก 3-5 ปขา งหนา เราจะทาํ อะไรสาํ เร็จ 3. เราวางแผนงานหรือกําหนดรายการท่ีตองทําทุกวัน 4. เรามีความสุขกบั การทํางาน และรสู กึ พึงพอใจกับการท่ีไดท าํ งานน้ี 5. เราพูดคุยเร่อื งคุณคา และความตอ งการของตวั เองกับครอบครัว และเพือ่ น 6. เราสามารถบรรลเุ ปาหมายที่ไดก ําหนดไว 7. เรารสู กึ วา ตองรับผิดชอบตอชีวิตของตนเอง 8. เราใหความสําคัญกับงาน กจิ กรรมสวนตัว และเร่ืองของครอบครัว อยางเหมาะสม 9. เราบริหารการเงนิ อยา งดี และมีเงินเกบ็ หลงั ชีวติ วัยเกษยี ณ 10. เรารูสึกพงึ พอใจกบั การใชชีวิตทผี่ านมา ถาเราตอบวาใช ตั้งแต 8 ขอข้ึนไป แสดงวาเราสามารถกําหนดชีวิตของเราไดดีมาก ถาตอบใช 5-7 ขอ แสดงวา เราจัดการกับชีวิตของตนเองไดในระดับปานกลาง แตถาตอบวาใชนอยกวา 5 ขอ แสดงวาเราเปนคนที่ปลอยใหชีวิตดําเนินไปอยางไรทิศทาง แตไมตองกังวลเพราะอยางนอยเราไดรูแลววา เราควรตองปรับปรุงและสรางความเช่ือม่ันในคุณคาของตนเองใหเพม่ิ ขึ้นไดอยา งไร ดังน้ัน การมีความเชื่อมั่นในคุณคาของตนเอง เปนปจจัยพ้ืนฐานที่สําคัญที่เราตองมี ตองสราง และรักษาไว อยางนอยก็เพ่ือใหเราสามารถที่จะใชชีวิตไดอยางมีความสุขไมทอแท ไมส้ินหวังกับชีวิต แตท่ีไกลไปกวาน้ัน ก็เพื่อที่เราจะไดประสบความสําเร็จในหนาท่ีการงาน ในฐานะผนู ําองคก ร และประสบความสําเร็จในการดําเนินธรุ กจิ ของเราเอง10 เรื่องที่ 107.2.4 การสรา งคุณคา ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ของผูสูงอายุ ผูสงู อายุ คือ คือ วัยที่ทีมีอายุต้งั แต 60 ปข ้นึ การดํารงชีวติ อยา งมีคุณคาของผสู ูงอายุไทยโดยวธิ กี าร “จ-ห-ร” วิธีการ “จ-ห-ร” (ยอมาจาก เจตคติ-ผูให-ผูรับ)จะชวยสรางเสริมใหผูสูงอายุไทยดาํ รงชีวติ อยางมีคณุ คา และนาํ พาชวี ติ สขุ สนั ตด วยตัวของผูสูงอายุเปนหลัก ประกอบดวย วิธีการท่ีสาํ คัญ 3 ขอ ตามลําดับตอไปน้ี 247

การพัฒนาตน 1. การสรางเสริมใหตนเองมีเจตคติที่ดีตอการมีชีวิตยืนยาว (“จ”) ผูสูงอายุควรดําเนินการสรางเสริมใหตนเองมีเจตคติที่ดีตอการดํารงชีวิตยืนยาวดวยขั้นตอน 3 ประการตามลําดบั ดังนี้ข้ันตอนที่ 1 แสวงหาความรูใหมและขอ เทจ็ จริงเพิม่ เติมเก่ียวกับประโยชนของการมีชวี ิตยืนยาวผสู ูงอายอุ าจแสวงหาความรูความเขาใจเก่ียวกับประโยชนของการมีชีวิตยืนยาวไดจากบุคคลอื่น วิทยุ โทรทัศน คอมพิวเตอร หนังสือพิมพ วารสาร หนังสือ และประสบการณตรงของตนเอง เปน ตน การมีประโยชนข องชวี ิตยนื ยาวซงึ่ ผูสงู อายุจะไดเรยี นรู มีตัวอยา ง เชน 1. การมีเวลามากข้ึนที่จะเลือกทํากิจกรรมตางๆไดตามความสนใจและความตองการ 2. การมีโอกาสใชชีวิตอยางอิสระมากข้ึน ซึ่งปลอดโปรงจากพนั ธนาการและภารกิจ จําเปน ตา งๆ ซง่ึ ตนไดแบกรบั ภาระมาเนิ่นนาน 3. การมีโอกาสชวยเหลือผูอื่น ชุมชน และสังคมไดมากข้ึนและยาวนานข้ึนข้ันตอนท่ี 2 สงเสริมใหเกิดความรูสึกพึงพอใจตอการมีชีวิตยืนยาว เม่ือผูสูงอายุเห็นประโยชนข องการมีชวี ติ ยืนยาวแลว ผูสงู อายุควรไดรบั การสงเสริมจากผูรู ผูเช่ียวชาญใหมีโอกาสไดสังเกตและเรียนรูจากผูสูงอายุตนแบบที่เปนตัวอยางที่ดีท้ังโดยทางตรงและทางออม เปนตนความรสู กึ พงึ พอใจตอการมชี ีวติ ยืนยาวซึ่งนา จะเกิดข้ึนกับผูสูงอายุ มีตวั อยาง เชน ความชืน่ ชอบการมีชวี ิตยืนยาวซึ่งเปนชว งเวลาไดตกั ตวงกาํ ไรของชวี ิต ความพอใจทจ่ี ะดแู ลรักษาตนเองใหมชี วี ติ ยนื ยาวอยางมคี วามสขุ ความอยากเอาอยางผูสูงอายุตน แบบท่มี ชี ีวิตยืนยาวและมากดว ยคุณคาขั้นตอนที่ 3 หม่ันกระทําพฤติกรรมซึ่งสนับสนุนเจตคติท่ีดีตอการมีชีวิตยืนยาว เมื่อผูสูงอายุเกิดความรูสึกพึงพอใจตอการมีชีวิตยืนยาวแลวผูสูงอายุนาจะมีแนวโนมที่จะหม่ันกระทําพฤติกรรมซ่ึงสนับสนุนเจตคติที่ดตี อ การมีชวี ิตยืนยาวตวั อยา งเชน การกาํ หนดเปา หมายเพอื่ การมชี วี ติ ยืนยาวอยางมีความสุขทั้งเปาหมายระยะสั้นระยะกลาง และระยะยาวควรกําหนดครั้งละ1เปาหมายและควรเปนเปาหมายที่สามารถทําใหสําเรจ็ ได การวางแผนสเู ปาหมายเพือ่ การมีชวี ิตยืนยาวอยางมีความสุข ความมุงม่ันลงมือทําใหเกิดผลสําเร็จตามแผน เชน การดูแลตนเองใหพรอมเสมอท่ีจะพึง่ พาตนเองไดด ี ทงั้ ดานสุขภาพ ดานเศรษฐกิจดานที่อยูอาศัยและสภาพแวดลอมเพ่ือการมีชีวิตยืนยาวอยา งมีความสขุ การใหก ําลังใจ/รางวัลแกตนเองทุกคร้ังเมื่อเกิดผลสาํ เรจ็ ตามเปาหมายทกี่ ําหนดไว248

การพัฒนาตน การกําหนดเปา หมายลาํ ดบั ตอ ไปแลวดาํ เนินการอยา งตอเน่ืองเร่ือยไปไมห ยุดย้งัภาพท่ี 7.1 แผนภาพวงจรสงเสรมิ การมีชีวิตยืนยาวอยา งมีความสขุท่มี า http://www.stou.ac.th/stoukc/elder/main1_4.html 2. การมุงมัน่ เปนผูใ หทดี่ ีอยา งตอเน่ือง (“ห”) ผสู งู อายุควรมุงมั่นเปน ผูใ หท ี่ดีอยางตอเนื่องไดต ัวอยางเชน การใหความรู ความคิด ใหแนวทาง ใหคําแนะนํา ใหการปรกึ ษาใหขอ คิดจากการ มีชีวติ ยืนยาว ตลอดจนแบงปน ประสบการณใ หแกผูท ่ีเกี่ยวของและผทู ี่ขอรอ ง การใหความรกั ความอบอุน ใหค วามเมตตา ใหค วามเห็นอกเห็นใจใหความเอาใจใส ใหก ําลงั ใจแกสมาชกิ ในครอบครวั ผูรวมงานและผูทดี่ อยโอกาสในสงั คม การใหสงิ่ ทม่ี มี ากเกินพอแกผูอน่ื ที่มีความจําเปนตองใชป ระโยชนต ามความเหมาะสม 3. การปฏิบตั ิตนเปนผรู ับท่ีดีอยเู สมอ (“ร”) ผูสูงอายุควรปฏิบตั ติ นเปน ผูรับท่ีดอี ยูเสมอ ตัวอยางเชน 1. การนอมรับคาํ แนะนํา ความชวยเหลือจากผูอื่นไดดวยดีเม่ือประสบปญหาที่เกิน กําลงั และสติปญญาของตนเพยี งลําพังทจ่ี ะแกไขได โดยไมอ วดดอี วดรู อวดหยง่ิ 2. การยอมรบั ความรูและประสบการณใ หมๆ เพื่อชว ยใหตนสามารถปรับตวั ไดอยางเทา ทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลก 249

การพฒั นาตน 3. การรับความไมแ นนอนและความไมส มหวงั ท่เี กิดขึน้ ไดอยา งมีสติและสงบ 4. การยินดรี ับเพอ่ื นใหมไ ด ผูกมิตรเปนท้งั กบั บุคคลวัยเดยี วกนั และตา งวัยกันที่จะชว ยใหต นมชี ีวิตชวี าขึ้นและชว ยเพิม่ ความหมายในการดาํ รงชวี ิต 5. การรับธรรมะเขามาหลอเล้ยี งใจไดอ ยา งถูกตอง เพียงพอและเหมาะสมกับโอกาส เพื่อใหจ ิตมคี ณุ ภาพสงู และมพี ลงั การดํารงชีวติ อยา งมีคุณคาของผูสูงอายจุ ะนําพาความสขุ ความมีชีวิตชวี าความหวงั ความหมายการเห็นคณุ คาและความภาคภูมใิ จในตนเองมาสูตวั ผูส งู อายเุ องทกุ ขณะในชวงวัยสุดทา ยของชีวติ อกี ท้ังยังกอใหเกิดประโยชนแ กบคุ คลใกลชิด ผูท ีเ่ ก่ียวของกับผูสงู อายุ ตลอดจนชมุ ชน และสงั คมของผสู งู อายุอีกดว ย ดังนนั้ ผูสูงอายจุ ึงไมค วรปลอยใหว ันเวลาลว งผานเปน เพียงการเพ่มิ ความชราใหแ กชีวิตแตควรเพมิ่ ความงดงามและคุณคาใหแกช ีวิตทุกขณะเม่อื วันเวลาลวงผาน250

การพัฒนาตนคาํ ถามทา ยบท ใหนกั ศึกษาตอบคาํ ถามเกี่ยวกบั การสาํ รวจการเห็นคุณคาในตนเองตามแนวคิดเก่ียวกับตนเอง ท่ียกเวนลกั ษณะทางกายภาพ (เชน อวน ผอม สงู เตี้ย ผวิ ขาว ผิวดํา) 1. ตนเองปนใคร 2. ตนเองมีหนาทอ่ี ะไร 3. ตนเองมีอะไรท่เี ปนจุดเดน 4. ตนเองมีอะไรท่ีเปนจุดดอย 5. ตนเองมีความสามารถพเิ ศษในการทําอะไร การตอบคาํ ถามเหลานี้จะทาํ ใหผูส าํ รวจตัวเองรับรูคณุ คา ในตนเอง ซง่ึ นาํ ไปสูการนับถือตนเอง 251

การพฒั นาตน เอกสารอา งองิจันทรฉ าย พิทักษศ ริ กิ ุล. (2543). ผลการจัดโปรแกรมการฝกความกลาแสดงออกตอความรสู กึ มี คณุ คาในตนเองของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 3. จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัยเจยี รนยั ทรงชยั กลุ . (2258). การดํารงชีวิตอยางมคี ุณคาของของผอู ายุ สาขาวชิ าศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช.แพทยห ญงิ พวงทอง ไกรพบิ ูลย. (2257). เดก็ หรือนิยามคําวาเด็ก. วว.รงั สีรกั ษา และเวชศาสตรนิวเคลยี ร. สืบคนเมือวันที่ 29 พฤศจิกายน 2558 จาก http://haamor.com/th/.เยาวลักษณ พนิตองั กูร. (2558). วธิ ีการสรางคุณคา ในตนเอง ทกั ษะชีวติ ของวัยรุนที่สาํ คญั . สบื คนเม่ือ วันท่ี 30 พฤศจิกายน 2558 จาก https://www.gotoknow.org/posts/504701.ชยั วฒั น วงศอาษา.(2557). การเห็นคุณคาในตนเอง. สืบคน เม่อื วันท่ี 15 พฤศจิกายน 2558 จาก http://ns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/Selfteem.pdf.Branden, N. The Psychology of Self-Esteem. 15th ed. New York : Bantam Book's Inc., 1981.Chess, S. and A. Thomas. Know Your Child. New York : Basic Book, 1987.Coopersmith, Stanley. (1981). The Antecedents of Self-Esteem. (2nd ed.). California: Consulting Psychologists Press, Inc.Gardner, Howard. (2002). Interpersonal Communication amongst Multiple Subjects: A Study in Redundancy. Experimental PsychologyGardner, Howard. (1995). How Are Kids Smart: Multiple Intelligences in the Classroom. Administrators' Version. ISBN 1-887943-03-X. National Professional ResourcesDr. Howard Gardner, along with teachers and students from Fuller Elementary School in Gloucester, MA, discuss the theory behind Multiple Intelligences anddemonstrate how they have integrated it into their classrooms and community. (41 minutes)Stenhouse, Glen. (1994). Confident children developing your child’s self-esteem. New Zeland: Oxford University Press.6.Employment, Supported. 7.Health policy. I.World Health Organization. ISBN 978 92 4 156418 2. (NLM classification: HV 1553). ISBN 978 92 4 068521 5 (PDF).252

การพัฒนาตน หนว ยท่ี 8 รจู ักความสุข ดุลยวทิ ย ปรางชุมพลหวั ขอเนือ้ หา 8.1ความหมายของความสขุ 8.1.1 ความสขุ ในมุมมองพุทธศาสนา 8.1.2 ความสุขในมุมมองศาสนาครสิ ต 8.1.3 ความสขุ ในมมุ มองศาสนาอสิ ลาม 8.2 ความสขุ ในแตละวยั 8.3 บคุ ลกิ ภาพและทัศนคตกิ ับความสุข 8.4 คืนความสขุ ใหช ีวิตแนวคิด 1. ความหมายของความสุข 2. ความสุขในแตล ะวัย 3. บุคลกิ ภาพและทัศนคติกับความสขุ 4. คืนความสขุ ใหช วี ิตวัตถปุ ระสงค เม่ือศึกษาเนือ้ หาในหนว ยการเรยี นแลว ผเู รยี นสามารถ .1มีความรูความเขาใจความหมายของความสุขในมุมมองเปรียบเทียบของศาสนาตางๆ .2เขา ใจและยอมรบั ความแตกตางของบุคคล ความคิดท่หี ลากหลาย เพอ่ื การอยูและทํางานรว มกนั กับผอู ่ืนไดอ ยางมคี วามสขุ .3มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม เขาใจความสขุ พ้นื ฐานของชวี ิตและสามารถสง ตอความสุขใหกบั บุคคลอนื่ ๆ ตอไปได 253

การพฒั นาตนบทนาํ ความสุขเปนสภาวะทางจิตอันเปนที่พึงปรารถนาของทุกคน แมความสุขจะเปนสภาวะทางจิตแตก็สังเกตไดจากพฤติกรรมทางกายหรือทาทางของบุคคล ดังจะเห็นไดจากการทักทายกันในชีวิตประจําวันวา “ดูหนาตามีความสุข” หรือ “เปนอะไรดูทาทางไมมีความสุข” มีศาสตรจาํ นวนมากท่ีพยายามศึกษาความสุข เชน ศาสนา ปรัชญา ชีววิทยา และจิตวิทยา เปนตน ในเรื่องของการสรางความสขุ ของชีวติ นนั้ ศาสตรทางจิตวิทยาไดกาวหนาไปไกลมาก เร่ิมจากการศึกษาถึงพฤติกรรมบุคคลที่เนนภาวะเชิงลบ เชน จิตวิทยาสกุลจิตวิเคราะหและพฤติกรรมนิยม ปจจุบันไดหันมาพัฒนาแนวคิดใหม เรียกวาจิตวิทยาเชิงบวก (positive psychology) ท่ีมุงศึกษาเรื่องความสุขและการสรางความสุขใหกับชีวิตเพื่อตอบสนองเปาหมายสูงสุดของการดํารงชีวิตของมนุษย คอื ทาํ อยางไรใหมีชวี ติ ท่ีเปน สุข สําหรับเน้ือหาในบทน้ีจะเสนอถึงความหมายความสุข คํานิยามของความสุข ความสุขในแตละวยั บุคลิกภาพและทัศนคตกิ บั ความสขุ รวมกบั ขอ เสนอแนะในการสรางความสขุ ใหกับชวี ิต8.1 ความหมายของความสขุ ความสุข หรือ สุข พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยามไววา “สุขหมายถึง ความสบายกายสบายใจ\" ซ่ึงเปนความรูสึกหรืออารมณประเภทหนึ่ง มีหลายระดับต้ังแตความสบายใจเล็กนอยหรือความพอใจจนถึงความเพลิดเพลินหรือเต็มไปดวยความสนุก มีการใชแนวความคิดทางปรัชญา ศาสนา จิตวิทยา ชีววิทยาอธิบายความหมายของความสุข รวมถึงสิ่งที่ทาํ ใหเกิดความสขุ แนวความคิดทางปรัชญาและศาสนามักจะกําหนดนิยามของความสุขในความหมายของการดาํ รงชวี ิตทด่ี ี หรือชวี ิตที่มคี วามเจรญิ โดยไมจ าํ กัดความหมายวา เปน เพียงอารมณประเภทหนึ่งสวนในมุมมองทางศาสนา แตละศาสนาใหคํานิยามของความสุขท่ีเก่ียวของกับการมีชีวิตอยูของมนุษยเ ราไวด ังตอไปนี้254

การพัฒนาตน 8.1.1 ความสขุ ในมุมมองพุทธศาสนา ความสขุ ในทางพุทธศาสนา เปนหวั ขอ ที่ผูนับถือศาสนาพุทธใหความสําคัญมากเพราะเปนส่ิงท่ีมนุษยแสวงหาเพ่ือใหไดพบกับเสรีภาพและการหลุดพนจากความทุกขท้ังปวง การสอนของศาสนาพุทธใชหลักธรรมท่ีเรียกกันวามรรค หรือหนทาง 8 ประการในการดับทุกขเพ่ือนิพพาน สุขสูงสุดสามารถมีไดดวยการเอาชนะตัณหาทุกรูปแบบ สวนสุขจากทรัพยสินหรือความมั่นคงในชีวิตและการมีมิตรภาพท่ีก็เปนท่ียอมรับวาเปนเปาหมายท่ีมีคุณคาสําหรับบุคคลทั่วไป(https://th.wikipedia.org/) ศาสนาพุทธมหี ลกั ความเชอื่ ทีว่ า ความสุขและความทุกข เกิดจากการกระทําของมนุษยเปนสําคัญ พระสุริยัญ ชูชวย 2545 กลาวไววา เปาหมายของการดําเนินชีวิตในทางพระพุทธศาสนา คือการดําเนินชีวิตอยางมีสติท่ีกอใหเกิดประโยชนสุขแกตนเองและผูอื่น โดยไมสรางความเดือนรอนใหแกตนเองและสังคม ในการดําเนินชีวิตของมนุษยนั้นควรเปนไปอยางมีจดุ มุงหมาย เพื่อชีวิตท่ีดีมีคุณคา คําสอนทางพระพุทธศาสนาสอนไววา ส่ิงที่เปนจุดหมายของการดําเนินชวี ติ ก็เปน เรอ่ื งของประโยชนท ่เี กี่ยวเนื่องกบั ความสขุ เรียกวา อรรถะ มี 3 ประการ ดังนี้ 1. ทิฏฐธัมมิกัตถะ หมายถึง ประโยชนท่ีพึงเกิดข้ึนในปจจุบัน ซึ่งเปนประโยชนเกีย่ วกบั การดําเนินชวี ิตประจาํ วนั ท่ีบุคคลธรรมดาสามัญทว่ั ๆ ไปตอ งการ ไดแก ลาภ ยศ สรรเสริญและการมีคูครองและครอบครัวที่เปนสุข ซึ่งประกอบดวยหลักธรรมอันเปนวิถีนําไปสูจุดมุงหมายหรอื เรยี กอีกอยา งวา \"หวั ใจของเศรษฐี\" มี 4 ประการดงั นี้ 1) อุฏฐานสัมปทา คือ เล้ียงชีพดวยความขยัน ประกอบการงานดานกสิกรรม พาณิชยกรรม รับราชการ ฯลฯ เปนผูขยันไมเกียจคราน ประกอบดวย ปญญาเปนเคร่ืองสอดสองพจิ ารณาใหร อบคอบ 2) อารักขสมั ปทา คือ รูจักรักษาทรัพยสมบัติท่ีหามาไดดวยความขยันและความชอบธรรม มใิ หส ูญหาย ชํารุดรจู ักซอมแซม ใชจา ยแตพ อสมควร 3) กัลยาณมิตตา คือ คบคนดีเปนมิตร เปนท่ีถึงพรอมดวยศรัทธา ศีลจาคะ ปญ ญา เปน มิตรแทม ีความจริงใจ ไมชกั ชวนไปในทางท่ีเสยี หาย ฯลฯ 4) สมชีวิตา คือ การดําเนินชีวิตใหเหมาะสมกับอัตภาพหรือฐานะของตน รูทางท่ีเจริญ และทางที่เสื่อมเสียของโภคทรัพย ใชจายที่เหมาะสม ไมฟุมเฟอย ไมใหฝดเคืองรายรับตองไดมากกวา รายจาย 255

การพัฒนาตน 2. สัมปรายิกัตถะ หมายถึง ประโยชนเบื้องหนาเปนหลักประกันชีวิตในอนาคตและภพหนา ซง่ึ เปน ประโยชนท ่สี ูงกวาประโยชนในปจ จบุ นั เปนคุณคาของชีวิตและยังเปนประโยชนที่พึงไดในโลกน้ีเชนเดียวกัน เปนความเจริญเติบโตงอกงามแหงชีวิต ซึ่งประกอบดวยหลักธรรมมี 4 ประการ ดังน้ี 1) สัทธาสัมปทา คือ เช่ือในพระปญญาการตรัสรูของพระพุทธเจาและเชอื่ ในพระธรรม คาํ สั่งสอนของพระองคท ี่ใหผลแกผูปฏิบัติท้ังในชาติน้ีและชาติหนา เช่ือในการทําดีไดด ี ทาํ ชัว่ ไดชว่ั 2) ศีลสัมปทา คือ ถึงพรอมดวยการรักษาศีลดวยความบริสุทธิ์ใจ มีความประพฤตดิ ีงาม ประกอบอาชีพสจุ ริต มีระเบยี บวนิ ัยในการดําเนินชวี ติ นา เลื่อมใส 3) จาคสมั ปทา คือ ประกอบดวย การเสียสละ มีความรักความเมตตาเอ้อื เฟอ เผอื่ แผ แบง ปนใหแกบ ุคคลอ่นื โดยทั่วหนา 4) ปญญาสัมปทา คือ ถึงพรอมดวยปญญา การใชปญญาในการพิจารณาไตรตรองโดยแยบคาย เพื่อใหเกิดประโยชนสุขแกตนเองและผูอ่ืน และกําจัดใหส้ินความทกุ ขโ ดยสิ้นเชิง 3. ปรมัตถะ หมายถงึ ประโยชนส ูงสุด อนั หมายถึงนิพพาน คือ ดับกิเลสและทุกขไดโดยสิ้นเชิง รูแจงสภาวะของส่ิงท้ังหลายตามความเปนจริง รูเทาทันคติธรรมของสังขารธรรมทั้งหลาย ไมตกเปนทาสของโลกและชีวิต ไมถูกบีบคั้นดวยอํานาจความยึดถือ สามารถทําจิตใจใหเปนอสิ ระ ผอ งใส สงบ มีความสุขใจ รูแจงสภาวะของส่ิงทั้งปวง หลุดพนจากความทุกข ดับอวิชชาตัณหา และอุปาทาน ประโยชนสูงสุดน้ีประกอบดวย หลักอริยมรรคมีองค 8 อันเปนแนวทางแหงการปฏิบัติยอ มสามารถเขาถงึ ความสขุ อันสงู สดุ น้ไี ด กลาวคือ เปน ความสขุ ระดับโลกุตตระ โลกยี สุขและโลกตุ ตระสุข โลกยี สขุ คือ ความสุขแบบชาวโลก ท่มี ีความอยาก ความปรารถนา ที่จะใหไดมาในสงิ่ ท่ตี อ งการ เปนความสขุ ทพี่ ระพทุ ธศาสนาสอนแกผูท่ีมีชีวิตอยูเปนคฤหัสถหรือผูท่ีครองเรือนมีอยู 4 ประการ ดงั นี้ 1. อัตถิสุข สุขเกิดจากความมีทรัพย คือ ความภูมิใจ เอิบอ่ิมใจ วาตนมโี ชคทรัพยท ่ีไดม าดวยนา้ํ พักนํ้าแรงความขยันหมน่ั เพียรของตนและโดยชอบธรรม256

การพัฒนาตน 2. โภคสุข สุขเกิดจากการใชจายทรัพย คือ ความภูมิใจ เอิบอ่ิมใจ วาตนไดใชทรัพยที่ไดมาโดยชอบธรรมนั้น เลี้ยงชีพ บํารุงบิดามารดา สามีภรรยา บุตร มิตร และบาํ เพญ็ สาธารณะประโยชน 3. อนณสุข สุขเกิดจากความไมเปนหนี้ คือ ความภูมิใจ เอิบอ่ิมใจวาตนเปนอิสระไมม ีหน้ีสินติดคา งใคร 4. อนวัชชสุข สุขเกิดจากความประพฤติไมมีโทษ คือ ความภูมิใจ เอิบอม่ิ ใจวา ตนมีความประพฤติสุจริต ไมบ กพรองเสยี หาย ใคร ๆ ตเิ ตยี นไมไดทั้งทางกาย วาจา และใจ ความสุขระดับน้ี ถึงแมวาจัดเปนโลกียสุขแตก็ถือวาเปนความสุขที่ควรแสวงหาตามโลกียวิสัยของมนุษยปุถุชนคนทั่วไป เพราะเปนความสุขท่ีชอบธรรมไมมีการเบียดเบียนกันการแสวงหาความสุขแบบนี้ทําใหช วี ิตมีคณุ คา มสี ขุ ภาพจิตดี และมผี ลเปน สขุ ตามแบบชาวโลก โลกุตตระสุข คือ ความสุขที่อยูเหนือวิถีชาวโลก หมายถึง ความสุขอันเปนเรื่องภายในจิตใจท่ีเกิดจากการปฏิบัติดวยสติปญญา ความสุขระดับนี้จะเขาถึงไดดวยหลักอริยมรรคอันเปนแนวทางแหงการปฏิบัติของบุคคล เพื่อใหเกิดความดีสูงสุด หลักอริยมรรค มี 8 ประการดังน้ี 1. สัมมาทิฐิ คือ ความเห็นท่ีถูกตอง หมายถึง ความรู-ปญญา หรือมุมมอง ที่ถูกตองตรงกับความจริง ตามคําสอนของพระพุทธเจา คือการรูแจงในอริยสัจ 4 มีรายละเอียด ดงั นี้ 1) ทกุ ข หมายถงึ รูจกั ทกุ ข 2) สมุทัย หมายถึง รจู กั เหตุแหง ความทุกข 3) นิโรธ หมายถงึ รูจักเรอื่ งการดับส้นิ ไปแหง ทุกข 4) มรรค หมายถึง รูจักทางที่ปฏิบัตแิ หงการดบั ส้นิ ไปแหงทกุ ข 2. สัมมาสังกัปปะ คือ ความคิดท่ีถูกตอง หมายถึง ความคิดท่ีตองละเวน จากความพอใจ ความพยาบาทและการเบยี ดเบยี น มี 3 ประการ คือ 1) ดําริออกจากกาม (เนกขัมมสังกัปป) หมายถึง ความโลภ ความโกรธ และความรักใครใ นวัตถกุ ามท่ที ําใหขัดของหมองใจ 2) ดําริในอันที่จะไมพยาบาท (อพยาบาทสังกัปป) หมายถึง ไมคิดปองราย เคียดแคนผูอื่น แตกลับมีความคิดท่ีเมตตา หมายถึง ความปรารถนาดี ตองการใหเขามีความสุข 257

การพัฒนาตน 3) ดํารใิ นการที่จะไมเ บียดเบียน (อวิหิงสาสังกัปป) หมายถึง ไมคิดทํารา ยผอู น่ื แตก ลบั คดิ ชว ยเหลือเขาใหพน จากความทุกข (พระธรรมปฎก) 3. สัมมาวาจา คือ เจรจาท่ีถูกตอง หมายถึง การพูดที่ตองละเวนจากการพดู เท็จ หยาบคาย สอ เสียดและเพอ เจอ มี 4 ประการ คือ 1) เวนจากการพูดเท็จ คือ ไมพูดโกหก ไมหลอกลวงหรือกลาวใหคลาดเคลือ่ นไปจากความเปนจรงิ แตควรพูดส่งิ ทเี่ ปน จรงิ ไมว าจะอยใู นสถานการณใด ๆ 2) เวนจากการพูดสอเสียด คือ ไมพูดยุยง หรือเสียดแทงผูอื่นใหเจบ็ ช้าํ นาํ้ ใจ แตควรพดู ถอ ยคําที่สมานสามัคคี 3) เวนจากการพูดคาํ หยาบ คอื ไมพูดจาดวยถอยคําที่รุนแรงลามกเชน คําดา คําประชดหรือกระแทกแดกดัน แตควรพูดดวยถอยคําท่ีไพเราะออนหวาน นาเชื่อถือ นาฟง มีเหตุผล 4) เวนจากการพูดเพอเจอ คือ ไมพูดไรสาระ พูดเลน พูดในสิ่งที่เปนไปไมได แตควรพูดดวยถอยคําท่ีสมเหตุสมผล มีประโยชนทางจิตใจ และทางการประพฤติปฏบิ ตั ิ 4. สมั มากัมมันตะ คือ การปฏิบัติที่ถูกตอง หมายถึง การกระทําที่ตองละเวน จากการฆา สัตว ลักทรัพยและประพฤตผิ ดิ ในกาม 5. สัมมาอาชีวะ คือ การหาเล้ียงชีพที่ถูกตอง หมายถึง การทํามาหากินอยางซ่ือสัตยสุจริต ไมมีการทุจริตและเอาเปรียบผูอ่ืน งดเวนจากอาชีพที่ผิดกฎหมายและศลี ธรรม (มิจฉาอาชีวะ) 5 อยาง ดังนี้ 1) คาขายเคร่อื งประหารทาํ ลายกัน เชน ปน อาวุธสงคราม เปน ตน 2) คา ขายมนุษย 3) คา ขายสัตวสําหรับฆาเพ่อื เปน อาหาร 4) คาขายนํ้าเมา หรือส่งิ เสพยตดิ ทุกชนดิ 5) คา ขายยาพิษ 6. สัมมาวายามะ คือ ความเพียรที่ถูกตอง หมายถึง ความอุตสาหะหรือความพยายามที่อยูในวิถีทางท่ีดีงาม คือการละบาปอกุศลทางใจ และเจริญกุศลใหยิ่งๆข้ึนไปมี 4 อยา ง คือ258

นิสยั ของตน การพฒั นาตนสญู สน้ิ ไป 1) เพียรระวังไมใหเกิดบาปและอกุศลขึ้นในสันดานหรือ 2) เพียรละบาปทเี่ กดิ ขึ้นในสันดานของตนใหหมดสน้ิ ไป 3) เพยี รสรางบญุ กุศลใหเ กดิ ขนึ้ แกตนเอง 4) เพียรรักษาบุญกุศลท่ีเกิดข้ึนแลวใหมีอยูมั่นคง อยาให 7. สัมมาสติ คือ การมีสติที่ถูกตอง หมายถึง การระลึกรูตัวอยูตลอดเวลา โดยกาํ จดั ความฟุงซาน รําคาญ หดหู งวงซึม สงสัย และลังเล คือการพิจารณา กายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจติ ธรรมในธรรม เชนการเจริญอานาปานสติสมาธิ มีสติรูลมหายใจ 8. สัมมาสมาธิ คือ การมีสมาธิที่ถูกตอง หมายถึง การฝกกายและอารมณใหส งบ โดยกาํ จัดความคดิ ความจาํ และอารมณออกไปชัว่ หลักอริยมรรค 8 น้ี เปนหลักการปฏิบัติที่วางใหเปนแนวทางนําไปสูความสุขอนั เปนความสขุ สูงสุดในทางพระพุทธศาสนาที่ถือวาเปนความสุขที่หลุดพนจากสังสารวัฏ คือ ไมมีการเวียนวาย ตายเกิดอีกตอไป และจัดเปนความสุขระดับโลกุตตระท่ีมีความละเอียดออน มีความประณีต หมายถึง \"นิพพาน\" ลักษณะสําคัญของนิพพานที่สืบเน่ืองมาจากความหมายวา \"ดับ\"ซง่ึ นับวามจี ดุ เดนนาสนใจ มอี ยู 3 อยา ง คอื 1. ดบั อวชิ ชา หมายถงึ การเกดิ ญาณทศั นะอันสงู สดุ หย่ังรสู จั ธรรม 2. ดับกิเลส หมายถึง กําจัดความชั่วราย และของเสียตาง ๆ ภายในจิตใจ หมดเหตทุ จ่ี ะเกดิ ปญ หาความเดอื ดรอนวุนวายตางๆ แกชีวติ และสงั ขาร 3. ดับทุกข หมายถึง ความหมดทุกข บรรลุสุขอันสูงสุด ความดับระดับทส่ี ามน้ี คือ ความสุข หรอื ความดับทุกขส น้ิ ทุกข นอกจากน้ัน พระสุริยัญ ชูชวย ยังกลาวไวอีกวา ความสุขมีความสาํ คญั มากในทางพระพทุ ธศาสนา โดยเฉพาะในการปฏิบัติธรรมถือวา พุทธจริยธรรมไมแยกตางหากจากความสุข ในการดําเนินชีวิตประจําวัน การทําความดีตาง ๆ ท่ัวไป ก็เรียกวาบุญ สวนในการบาํ เพ็ญเพียรทางจติ หรือเจรญิ ภาวนา ความสุขก็เปนปจจัยสําคัญที่ชวยใหเกิดสมาธิ เม่ือจิต 259

การพัฒนาตนเปนสมาธิบรรลุฌานแลว ความสุขก็เปนองคประกอบของฌานและสูงขึ้นไปท่ีสุดของฌานจนไปสูความสขุ ท่ปี ระณีตนัน้ คือนิพพาน และนิพพานกเ็ ปน ความสุข (พระธรรมปฎก) 8.1.2 ความสุขในมุมมองศาสนาคริสต พระสุริยัญ ชูชวยไดทําการศึกษาและอธิบายประวัติ รวมถึงใหแงคิดเก่ียวกับความสุขในมุมมองศาสนาคริสตเอาไววา ศาสนาคริสตเปนศาสนาเทวนิยม ที่มีถิ่นกําเนิดแถวประเทศปาเลสไตน เปน ศาสนาท่ีสืบตอมาจากศาสนายูดายของชนชาติยิว มีพระเยซูเปนศาสดา ท่ีจะนํามนุษยไปสูความรอด ใหพนจากความทุกขและเขาถึงอาณาจักรของพระเจา การดําเนินชีวิตของชาวคริสตน้ัน มีความศรัทธาในพระเจาเพียงองคเดียว คือ พระยาเวหหรือพระยะโฮวาห ท่ีมีลักษณะเปน ตรเี อกภาพเปนองคเ ดยี วกัน คือ พระบดิ า พระบุตร และพระจติ และเชื่อวาพระเจาเปนผสู รางโลกและสรรพส่ิง รวมทั้งเปนบอเกิดแหงคุณธรรมตาง ๆ ศาสนาคริสตเปนศาสนาแหงความรกั ทส่ี อนใหม นษุ ยรักพระเจา และรักเพ่อื นมนุษยดวยกัน (ฟน ดอกบัว) ดังในพระคัมภีรไบเบิ้ลสอนวา \"ใหมนุษยรักพระเจาดวยสุดจิตสุดใจของทาน ดวยสุดความคิด และดวยส้ินสุดกําลังของทานและจงรักเพอื่ นบานเหมอื นรักตวั เอง\" จุดมุงหมายของการดาํ เนนิ ชวี ติ ในคําสอนของศาสนาคริสต คือ การดําเนินชีวิตท่ีมีความรักความเมตตาปรารถนาใหผูอ่ืนมีความสุข โดยมีจุดมุงหมายสูงสุดอยูที่การกลับคืนสูความสมั พนั ธ กับพระเจา และมีชีวิตนิรันดรในอาณาจักรของพระเจา แตการท่ีจะไปสูจุดหมายน้ันมนุษยจะตองมีศรัทธาและปฏิบัติตามหลักคําสอนที่พระเจาทรงประกาศผานพระเยซูใหมนุษยสรางความดี ละเวนบาปหรือความชว่ั มนษุ ยก จ็ ะรอดพน จากบาปและกลับไปมีชีวิตรวมกับพระเจาดงั เดิม ตามหลักคําสอนของศาสนาคริสตนั้น พระเจาทรงเปนจุดหมายสูงสุดของความศรทั ธา และทรงเปน ความสุขท่ีนิรันดร การเคารพเชื่อฟง และจงรักภักดีตอพระเจา ก็จะทําใหไดรับความรักความเมตตาจากพระเจา และมนษุ ยตองตระหนักอยูเสมอวาชีวิตมนุษยพระเจาเปนผูสรางชีวิตเปนของพระเจา พระองคทรงรักมนุษย แมวามนุษยจะทําความช่ัวมีบาปติดตัว พระองคก็ยังทรงไถบาปและใหอภัยแกมนุษยผูกระทําความผิด ซ่ึงมาจากความรักความเมตตา และเปนความรบั ผิดชอบของพระองค ชาวคริสตเชื่อวา การสรางความดีตอบแทนแกพระเจา และเปนไปตามพระประสงคของพระองคน้ัน เปนส่ิงที่มนุษยควรตระหนักวาเปนหนาท่ี เพราะความดีนั้นเก่ียวของกับความสุขที่มนุษยในสังคมปรารถนา มีคุณคาตอการดําเนินชีวิต เพื่อการอยูรวมกันในสังคมอยาง260

การพัฒนาตนสนั ตภิ าพ ดังน้นั การสรา งความดีของชาวคริสต เพื่อปฏิบัติตามคําสอนเรื่องการรักเพ่ือนมนุษย จึงเปนไปในรูปแบบของการสรางสาธารณประโยชนท่ีกอใหเกิดความสุขแกสังคมสวนรวม เชน จัดตั้งโรงเรยี น มหาวทิ ยาลัย โรงพยาบาล และดา นสังคมสงเคราะห ฯลฯ อยางไรก็ตาม การบําเพ็ญประโยชนเหลาน้ี มาจากหลักคําสอนท่ีสําคัญอันเปนพื้นฐานของการดําเนินชีวิตของชาวคริสต คือ \"รักพระเจาสุดจิตสุดใจ และจงรักเพื่อนบานเหมือนรักตัวเอง\" ซ่ึงเปนคําสอนท่ีแสดงใหเห็นความสัมพันธระหวางมนุษยกับพระเจาและมนุษยกับมนุษยดว ยกัน ท่แี สดงออกถึงอานภุ าพแหงความรักความเมตตาในศาสนาคริสต อันเปนความรักที่ไมมีขอบเขตท่ีจํากัด ไมวาจะเปนทางดานเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม ฯลฯ ซ่ึงเปนการปลูกฝงและสรางความรักใหเกิดข้ึน อันเปนพ้ืนฐานของจิตใจ เพื่อใหเกิดสันติภาพแกตนเอง และเผื่อแผแกผูอื่นโดยท่ัวถึงกัน ความรักในศาสนาคริสตมาจากพ้ืนฐานของบัญญัติ 10 ประการ (TenCommandments) ในพระคัมภีรเกา ทท่ี รงบัญญตั ิผา นโมเสส ดงั น้ี 1. อยามีพระเจาอ่นื ใดนอกจากเรา 2. อยา ออกพระนามพระเจา อยา งไมส มควร 3. จงระลึกถงึ วนั สะบาโตถอื เปน วันบรสิ ทุ ธิ์ 4. จงใหเ กยี รติแกบ ดิ ามารดาของเจา เพ่ืออายเุ จา จะไดยืนนาน 5. อยา ฆา คน 6. อยางลว งประเวณีผวั เมียเขา 7. อยาลักทรัพย 8. อยาเปน พยานเท็จ 9. อยา โลภสงิ่ ครวั เรือนของเพ่อื นบาน 10. อยา โลภภรรยาของเพอ่ื นบา น หรือทาสทาสขี องเขา ขอบญั ญัตทิ งั้ 10 ประการนี้ นบั ไดวาเปนหลักการปฏิบัติในการดําเนินชีวิตสําหรับมนุษยทําใหมนุษยเกิดความจงรักภักดีตอพระผูเปนเจา และเปนหลักศีลธรรมที่ทําใหมนุษยอยูรวมกันอยางสันตภิ าพ เพ่ือเปา หมายอยู 2 ประการ 1. เปาหมายตามหนาที่และบทบาทของมนุษยแตละคนในสังคม หมายถึง การดําเนินชีวิตของมนุษยแตละคน ไมวาจะมีสถานภาพทางสังคมเชนใด เชน เปนตํารวจ ทหารพยาบาล แพทย ครู ฯลฯ กท็ าํ หนาท่ขี องตนใหสมบูรณ กถ็ ือวา เปนไปตามพระประสงคของพระเจา 261

การพฒั นาตน 2. เปาหมายเพื่อความสุขที่นิรันดร ซึ่งเปนเปาหมายที่มนุษยขณะยังมีชีวิตอยูจะตองปฏบิ ัตหิ นา ทขี่ องตนใหด ีท่ีสุดอทุ ศิ ตนและการกระทําของตนเพ่ือพระเจา การกระทําเพื่อพระเจา เปน การกระทําท่ีสูงสงกวาการกระทาํ ใด ๆ ท้งั ปวง ซ่ึงมีแนวทางดงั นี้ 2.1. มีความศรัทธาตอ พระองคแ ละปรารถนาทจ่ี ะใชชีวิตนิรันดร 2.2. ทําตามพระประสงคของพระเจา คือ ยอมรับวาชีวิตและความดําเนินไปของชวี ิตเราเปน ไปตามพระประสงคข องพระองค 2.3. มีระเบียบวินัย สงเสริมการเรียนรูของตนเองและทางดานศาสนาขอคําแนะนําจากผทู ่ีรดู กี วา ตน 2.4. กระทํากิจกรรมเพื่อสงเคราะหบุคคลอื่น เพ่ือสาธารณประโยชนและเพือ่ เปนเกยี รตแิ กพ ระเจา 2.5. สวดมนตภ าวนาและปฏิบตั ิกิจศาสนาตามขอ บญั ญัติ แนวทางดังกลาวนี้ หากมองในแงความหมายจริยธรรม อันเปนแนวทางการปฏิบัติตามคําสอนของศาสนาคริสต ยอ มแสดงใหเ ห็นวา ชวี ิตของมนุษยมีคุณคาในการดําเนินชีวิตเพราะการปฏบิ ตั ิตามพระบัญญตั แิ ละมีความศรัทธาตอพระเจา ก็จะมีความสุขท้ังในโลกนี้และโลกหนา (อาณาจักรของพระเจา) ดวยอํานาจแหงความรักความเมตตาที่แสดงออกตอมวลมนุษยท่ีมีผลทางดานจิตใจ สรางความม่ันใจ และกําลังใจ อันเปนผลสืบเนื่องมาจากองคประกอบของจรยิ ธรรม ชาวคริสต คอื 1. พันธสัญญา (Covenant) หมายถึง เปนขอผูกพันหรือสัญญาระหวางพระเจา (ผูสราง) กับผูถูกสราง (มนุษย) พระเจาประทานบัญญัติใหเปนแนวปฏิบัติเพ่อื ทจ่ี ะใหมนุษยก ลับสูอาณาจกั รของพระเจา และมนุษยผูถูกสราง จะตองเชื่อฟง มีความซื่อสัตยออ นนอ มตอ พระเจา 2. อาณาจักรของพระเจา (Kingdom of God) หมายถึง สถานการณหรือสภาวะท่ีเกิดขึ้นแลวขณะนี้ และยังไมเกิดขึ้นสมบูรณจนกวาจะถึงวันส้ินโลก (Now and notyet paradox) ท่ีผูเคารพเช่ือมั่นและศรัทธาในพระเจาสามารถเขาถึงได ทางรอดอันนําไปสูอาณาจกั รของพระเจา อันเกิดจากอํานาจของพระคุณหรือพระหรรษทานของพระเจา (grace) และขอ ปฏิบตั ติ ามหลักการของพระเจา ทม่ี อี ยูทงั้ ในโลกน้ีและโลกหนาดวยพระคุณและการท่ีมนุษยเชื่อฟงและปฏิบัติตามบัญญัติตาง ๆ มนุษยเขาสูอาณาจักรของพระเจา อันเปนผลมาจากการดําเนินชีวิตดวยหลักการ ๒ ประการ คือ รักพระเจาสุดจิตสุดใจ และรักเพื่อนมนุษยเหมือนรักตัวเอง262

การพฒั นาตนกลาวคือ มนษุ ยจ ะเขา ถึงไดก ต็ อ เม่อื รจู ักเสียสละสมบัติภายนอก เพราะอาณาจักรพระเจาเปนสิ่งท่ีมีคุณคาทางวิญญาณ และผูที่ไมสามารถสละสมบัติภายนอกไดยอมไมสามารถเขาถึงอาณาจักรพระเจา ได 3. การรูสํานึกผิดและมีการเปลี่ยนแปลง (Repentance) หมายถึงสํานกึ ผิดและมกี ารเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมและดา นจิตใจตัวเอง ยอมรับกฎเกณฑพระเจา จนทําใหมีการพัฒนา จรยิ ธรรมของตวั เองจนกระทงั่ มชี ีวติ ที่ดขี น้ึ 4. ความเปนสาวก (Discipleship) หมายถึง บุคคลที่ทําตามประสงคของพระเจา (ลูกา. 8:21) และศรทั ธาท่จี ะทํางานเพือ่ พระเจา 5. ขอกําหนดหรือกฎเกณฑ (Law) หมายถึง ขอบังคับท่ีเก่ียวกับการปกครองชาวอิสราเอลในพระคัมภีรเกา ตอมาพระเยซูไดเพ่ิมเติมกฎเกณฑเหลาน้ี อันเปนอํานาจที่เกิดจากการเปลีย่ นแปลงภายในทเ่ี ปน คุณภาพของจิตใจ 6. ความรัก (Love) หมายถึง ความรักที่มีตอเพื่อนมนุษย ซ่ึงในทางศาสนาคริสต กลาวถึงความรักวา \"จงรักเพื่อนมนุษยเหมือนรักตัวเอง” และมีความปรารถนาที่จะใหผูอื่นเปนสุข ความรักซึ่งเปนสิ่งท่ีมีคากวาทรัพยสินเงินทองและสมบัติอันใด ๆ ในโลกน้ี อันเปนบรรทัดฐานและพืน้ ฐานสาํ คญั ของศาสนา 7. การใหพร (Beatitudes) หมายถึง ความสุขที่เปนเร่ืองของจิตวิญญาณ ท่ีเกิดการเปล่ียนแปลงภายใน เชน คําสอนที่มาจากการแสดงเทศนาบนภูเขา ท่ีเปนการใหความหวังแกมนุษยทุกชนชั้น และยังเปนการวางรากฐานของจริยธรรมในการดําเนินชีวิตของชาวคริสตอ กี ดว ย การดําเนนิ ชีวติ ของชาวคริสตในโลกน้ี ชาวคริสตเช่ือวา โลกน้ีเปนทางผานหรือมีชีวิตอยูชั่วคราว โลกหนาหรืออาณาจักรของพระเจาและการมีชีวิตที่นิรันดร ยังเปนความหวังและความปรารถนาของชาวคริสตทุกคน การมีชีวิตอยูในโลกน้ี การไดทําหนาที่ตามพระประสงคของพระเจาถอื วาเปน ความดที ที่ ําใหชวี ติ ในโลกปจจุบันมีความสุขและชีวิตมีคุณคา เชน การมีความรักตอเพื่อนมนุษย เสียสละ ทําหนาที่ในสังคมใหดีที่สุด ฯลฯ ซ่ึงเปนส่ิงท่ีพระองคประสงคใหเกิดสันติภาพและความสุขขึ้นแกมวลมนษุ ย ความสุขตามคาํ สอนศาสนาคริสต คือ ความสุขทางจิตวิญญาณท่ีมีความเช่ือวาหากมนุษยท ําความดีพระเจาก็ทรงรกั และเมตตาท่ีแสดงออกถึงความตองการทางดานจิตใจ ความจงรกั ภักดตี อ พระเจา และมีความรูสึกวาตนมีบาป เอาตัวไมรอด ชวยเหลือตัวเองไมได จําเปนตองอาศัยการชวยเหลอื จากพระเจา ความทุกขทรมานและความเจ็บปวดตาง ๆ เปนเคร่ืองหมายอยาง 263

การพฒั นาตนหนึ่งของการทดสอบศรัทธาที่จะนําทางไปสูความรอด เพราะความรอดนั้นจะไดมาดวยความยากลําบากและการทดสอบ ซ่ึงมิใชมนุษยทุกคนจะไปถึงได นอกจากนี้ ความทุกขทรมานและความเจบ็ ปวดทัง้ หลาย ยังเปนเครื่องเตือนสติวา มนุษยเราออนแอและไมไดมีพละกําลังท่ีวิเศษแตประการใด อาจมีการเจ็บไขไดปวยและมีความทุกขเกิดขึ้นไดเสมอ จึงมิควรหลงลืมตัว ขาดความเชื่อและไววางใจในพระเจา การสวดมนตออ นวอนเปนส่ิงที่บรรดาศาสนิกควรมีตอพระเจา พระเจากจ็ ะชวยเหลอื แกผทู ่ีมาสวดมนตออนวอนตอพระองคดวยความเคารพและศรัทธา หากผูที่ตองการความสุขก็จะไดรับความสุข และก็มีความมั่นใจวาตนเองจะไดรับการชวยเหลือ ดังพระดํารัสท่ีเทศนาบนภูเขาวา “บุคคลผูใด รูสึกบกพรองทางฝายวิญญาณ ผูน้ันเปนสุข เพราะแผนดินสวรรคเปน ของเขา บุคคลผูใดโศกเศรา ผูนั้นเปนสุข เพราะวาเขาจะไดรับการปลอบประโลม บุคคลผูใดมีใจออนโยน ผูนั้นเปนสุข เพราะวาเขาจะไดรับแผนดินโลกเปนมรดก บุคคลผูใด หิวกระหายความชอบธรรม ผูน้นั เปนสุข เพราะวาพระเจาจะทรงใหอิ่มบริบูรณ บุคคลผูใดมีใจกรุณา ผูนั้นเปนสุข เพราะวาเขาจะไดรับพระกรุณาตอบ บุคคลผูใดมีใจบริสุทธ์ิ ผูน้ันเปนสุข เพราะวาเขาจะไดเห็นพระเจา บุคคลผูใดสรางสันติ ผูน้ันเปนสุข เพราะวาพระเจาจะทรงเรียกเขาวาเปนบุตร บุคคลผูใดตองถูกขมเหงเพราะความชอบธรรม ผูนั้นเปนสุข เพราะวาเปนดินสวรรคเปนของเขา เม่ือเขาจะติเตียนขมเหง และนินทาวารายทานทั้งหลายเปนความเท็จเพราะเรา ทานก็เปนสุข จงชื่นชมยินดีเพราะวา บําเหนจ็ ของทานมบี ริบูรณใ นสวรรค เพราะเขาไดขมเหงผูเผยพระวจนะทั้งหลายที่อยูกอนทา นเหมือนกนั ” พระดํารัสทั้งหมดนี้เปนการแสดงธรรมครั้งสําคัญบนภูเขาท่ีมีผูเขาฟงมากท่ีสุดและเปน ทมี่ าของจรยิ ธรรมในศาสนาคริสต นอกจากนี้ ยังมีผูที่เขียนเกี่ยวกับความสุขหรือการใหพรไวอีกวา “ทานทงั้ หลายท่ีเปน ผูยากจนก็เปนสขุ เพราะวาแผนดินของพระเจาเปนของทานทา นทงั้ หลายทอี่ ดอยากเวลาน้ีกจ็ ะเปน สขุ เพราะวาทานจะไดอ่ิมหนํา ทานท้ังหลายที่รองใหเวลาน้ีกเ็ ปน สุข เพราะทานจะไดห วั เราะ ทานทงั้ หลายจะเปน สุข เมื่อคนทั้งหลายเกลียดชังทาน และจะไลทานออกจากพวกเขา และจะประณามทาน เม่ือคนท้ังหลายเกลียดชังทาน และจะเหยียดหยามทา นวาเปน คนชั่วชา เพราะทานเห็นแกบตุ รมนษุ ย ในวันน้ันทานท้ังหลายจงช่ืนชมและโลดเตนดวยความยินดีเพราะ ดูเถิดบําเหน็จของทานมีบริบูรณในสวรรค เพราะวาบรรพบุรุษของเขา ไดกระทําอยางนน้ั แกพ วกผูเผยพระวจนะเหมือนกนั ”264

การพัฒนาตน จากพระดํารัสของพระเยซูคริสตทั้งหมดท่ีกลาวมาน้ี หากพิจารณาใหลึกซ้ึงแลวก็จะพบวา การดาํ เนินชวี ิตของมนุษยตอ งรูจักสภาวะที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของตัวเองเสียกอน หากผูใดสามารถท่ีจะรูจักควบคุมอารมณที่เกิดขึ้น และรูจักกับอารมณตาง ๆ เชน โศกเศราการถกู ขม เหง ฯลฯ ก็จะทําใหบุคคลนั้น กลายเปนคนเขมแข็งภายในจิตใจ จะไมถูกอารมณเหลาน้ีมากระทบได คําสอนดังกลาวน้ี ลวนแตเปนเรื่องของภายในจิตใจ หากมนุษยไมสํารวมระวังบังคับจิตใจก็จะตกเปนทาสของวัตถุภายนอก ทําใหไมมีความสุข เพราะความออนแอทางจิตใจ ดังน้ันความสุขในศาสนาคริสตล วนแตเ ปนเร่อื งของจติ ใจ ที่มีความรักความเมตตาเปนพื้นฐานท่ีสําคัญ ก็จะทาํ ใหมนุษยรูจักการใหอภัย รูจักเสียสละ แบงปน มีการเอื้อเฟอตอกัน ฯลฯ โลกก็จะมีสันติภาพและชวี ิตกจ็ ะมีความสขุ หรือมคี ณุ คาตามคําสอนของศาสนาครสิ ต 8.1.3ความสุขในมมุ มองศาสนาอสิ ลาม ศาสนาอิสลามเริ่มตนการประกาศโดยศาสดามุฮัมมัด เมื่อคริสตศักราช 610 ในคาบสมุทรอารเบีย ศาสนาอิสลามประกาศคําสอนซ่ึงรวมศูนยความสําคัญอยูที่ความเช่ือในพระเปนเจาพระองคเดียว คือ อัลเลาะห คัมภีรหลักของศาสนาอิสลามหรือพระดํารัสของพระเปนเจาคือ อัล-กุรอาน และอลั -หะดีษ ซงึ่ รวบรวมคาํ สอน และแบบอยางความประพฤติของศาสดามุฮัมมัดอิสลาม หมายถึง การยอมตาม การเช่ือฟง นอบนอม หรือการมอบตนตออัลเลาะห และหมายถึงการมีหรือการสรางสันติ ผูนับถือศาสนาอิสลาม เรียกวา มุสลิม หมายถึง ผูยอมตาม ผูเช่ือฟงผูนอบนอมตออัลเลาะห และหมายถึง ผูมีหรือผูสรางสันติ พระสุริยัญ ชูชวย ไดทําการศึกษาและอธิบายเอาไวในวิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล นอกจากน้ัน ทานยังไดอธิบายหลักคําสอนของศาสนาอิสลามท่ีเกี่ยวของกับความสุขตอวา จุดมุงหมายของการดําเนินชีวิตในคําสอนของศาสนาอิสลาม คือ การดําเนินชีวิตดวยการทําความดีที่มีหลักศรัทธาตออัลเลาะห และการทําความดีนั้นก็จะทําใหมนุษยดําเนินไปสูจุดหมายสูงสุด คือ การมีความสุขหรือความพน ทกุ ข หรอื พน จากความหวาดกลัวท้ังในโลกน้ีและโลกหนา ความสุขในโลกนี้ไมจีรังและไมสมบูรณ เพราะฉะน้ัน ความสุขในโลกหนาจึงเปนเปาหมายสูงสุดของมนุษย การบรรลุเปาหมายสูงสุดในโลกหนาคือการไดดํารงชีวิตในสวรรคท่ีใกลชิดกับพระเปนเจา(อัลเลาะห) วิธีการท่ีจะไปสูสวรรคน้ัน มนุษยตองแสดงตนเปนบาว มอบตน หรือยอมจํานนตออัลเลาะห ซึ่งแสดงใหเห็นวาอิสลาม เปนท้ังเปาหมาย (ความสุขหรือสันติ) และเปนทั้งวิธีการดําเนินชีวิตไปสูเปาหมายนั้น น่ันคือ การดําเนินชีวิตตามบัญญัติของพระเปนเจาในฐานะที่เปนวิธีการ อิสลามมีคําสอนท่ีเปนระเบยี บแบบแผน ทาํ ใหม นุษยม คี วามยึดมั่นอยูในศีลธรรม ความดีงาม เมตตาตอเพื่อนมนุษยและ 265

การพฒั นาตนเพียบพรอมดวยขันติธรรม อยูรวมกันเปนภราดรภาพ คุณธรรมเหลานี้มีรากฐานมาจากการรูจักพระผูทรงสรางจกั รวาล (อลั เลาะห) และความจริงทั้งหลายที่พระองคประทานเปนความรูแกมนุษยผา นศาสดาหรือศาสนฑตู (เราะซลู ) อิสลามนั้นไมแยกวัตถุกับจิตใจออกจากกัน มนุษยไมไดอยูเพ่ือการปฏิเสธชีวิตแตมีชีวิตอยูเพื่อทําชีวิตใหสมบูรณตามธรรมชาติท่ีอัลเลาะหทรงสราง หลักการดําเนินชีวิตของศาสนาอิสลามครอบคลุมท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ไดแก หลักศรัทธา และหลักการปฏิบัติที่ครอบคลุมชีวิตและโลกในทุกมิติสอดคลองกับธรรมชาติของมนุษย และจักรวาลที่มนุษยท้ังชายหญิงตองยึดมน่ั โดยเทาเทยี มกนั หลักศรัทธาเปนพ้ืนฐานของการดํารงชีวิต ท่ีตองปลูกฝงใหมีอยูในจิตใจของมุสลิมทุกคน เม่ือมีศรัทธาท่ีมั่นคงแลว ก็สามารถควบคุมพฤติกรรมใหแสดงออกในทางที่ถูกตองตามคาํ สอนของอัลเลาะห หลกั ศรัทธาประกอบดวยความเช่ือตอไปนี้ 1. ศรัทธาในเอกภาพของอัลเลาะห คือ มุสลิมทุกคนตองเชื่อวาอัลเลาะหมจี ริง พระองคทรงสรางโลกและสรรพส่งิ ทรงรู ทรงเห็น ทรงไดยินทุกส่ิงท้ังในที่ลับและที่แจงทรงมีความเมตตากรุณาและมีความยุติธรรม ฯลฯ สัจธรรมสูงสุดน้ีมีเพียงหน่ึงเทานั้น ส่ิงอ่ืนใดไมอยูในฐานะ พระเปนเจา การยึดถือสิ่งอ่ืนเปนพระเจาถือวาเปนความหลงผิดที่รายแรงท่ีสุดในอัล-กรุ อาน กลา ววา \"จงกลาวเถิด พระองคคอื อัลเลาะหผูทรงเอกะ อัลเลาะหเปนท่ีพึ่งของสิ่งทั้งมวล พระองคไมประสูติ และทรงไมถูกประสูติ และไมมีผูใดเสมอเหมือนพระองค\" (อัล-กุรอาน.112:1-4) 2. ศรัทธาในบรรดามลาอิกะฮ ภาษาอังกฤษเรียกวา \"angel\" ในภาษาไทยมีผูใชคําวา \"เทวฑูต\" มลาอิกะฮเปนสิ่งสรางท่ีไมมีเพศ ไมกิน ไมด่ืม แตสามารถเนรมิตเปนรูปรางตาง ๆ มีหนาที่ทําตามพระบัญชาของพระเปนเจาเทานั้น เชน ทําการปลิดวิญญาณมนษุ ย เปนสอ่ื นาํ โองการจากพระเปน เจา มาสศู าสดา ชว ยเหลือคนดี ดแู ลนรกสวรรค 3. ศรัทธาในบรรดาคัมภีร คือ เช่ือวา พระเปนเจาไดประทานคัมภีรแกบุคคลที่ทรงแตงตั้งเปนศาสนฑูตประกาศศาสนาของพระองคตอมนุษยชาติท้ังมวล ในท่ีและเวลาตาง ๆ ในประวตั ิ-ศาสตรจนถงึ ศาสนาสุดทายกอ นวนั สน้ิ โลก คอื ศาสดามุฮัมมัด ซ่ึงไดรับคัมภีรอัล-กุรอาน โดยนัยนี้ คัมภีรอัล-กุรอานเปนพระคัมภีรที่สมบูรณท่ีสุด เปนฉบับสุดทายและเปนที่รวมแกนสจั ธรรมท้ังหมดที่เคยมมี า \"แทจรงิ เรา-เรา-เราไดประทานขอ ตกั เตอื น (อัล-กุรอาน) น้ีลงมาและแทจ รงิ เราเปนผรู ักษามันแนน อน\"(อลั -กรุ อาน. 15:9)266

การพฒั นาตน 4. ศรัทธาในบรรดาศาสนทูตของอัลเลาะห คือ เชื่อวาพระเปนเจาไดทรงใหมีเราะซูลหรือ ศาสนทูตมาประกาศศาสนาของพระองคแกทุกประชาชาติตลอดท้ังประวัตศิ าสตรสิน้ สุดทีศ่ าสดามฮุ ัมมัด ดังตัวอยางโองการที่วา \"ขอยืนยัน! แทจริงเราไดสงศาสนทูตมากอนหนาเจาในหลาย ๆ คณะของบรรพชนเมื่ออดีต\" (อัล-กุรอาน. 15:10) และ \"มุฮัมมัดไมไดเปนบดิ าของผูใดในหมูบุรุษของสูเจาแตวาเขาเปนรสูลของอัลเลาะห และเปนตราของนบีทั้งหลายและอลั เลาะหเ ปน ผูทรงรอบรทู กุ สงิ่ \" (อัล-กุรอาน 33:40) 5. ศรัทธาในวันส้ินโลก จะมีสมัยที่อัลเลาะหทรงกําหนดใหจักรวาลพินาศ แลวเกิดโลกใหมข้ึนมา ซ่ึงอัลเลาะหจะทรงใหทุกคนฟนคืนชีพมารับการตัดสินการกระทําที่มนุษยประกอบไวในโลกนี้ โดยพระองคอยางยุติธรรม ผูกระทําความดีก็จะไดรับรางวัลตอบสนองอยูในสวรรคชั่วนิรันดร ผูกระทาํ ความช่ัวจะถูกลงโทษทรมานในนรก 6. ศรทั ธาในการกําหนดภาวะท่ังปวงโดยอัลเลาะห คือ ทุกสิ่งทุกอยางเกดิ ข้นึ โดยการกาํ หนดของพระองค และดําเนนิ ไปตามกฎหรือสภาวะที่พระองคทรงวางไวตามพระประสงคของพระองค ดังเชน \"พระองคคือผูสรางสูเจาจากดินแลวทรงกําหนดวาระ (แหงชีวิตของสูเจา) และมีวาระท่รี ะบุไว (รเู ฉพาะ) พระองคแลว สูเจายงั สงสัย\" (อัล-กรุ อาน. 6:2) คุณคาของชีวิตตามความเชื่อของมุสลิม คือ การที่ไดปฏิบัติตามบัญญัติของพระเปนเจาซึ่งครอบคลุมชีวิตในทุกดาน และเปนมาตรฐานเดียวกันสําหรับชายและหญิง ขอปฏิบัติท้ังหมดมีขอปฏิบัติอันเปนพื้นฐานของการปฏิบัติ มีอยู 5 ประการหรือเรียกวา หลักอิสลาม (อัรกานุลอิสลาม) ซงึ่ ไดแก 1. การกลาวปฏิญาณตน หมายถึง การประกาศยืนยันการนับถืออิสลาม โดยกลาวถึง ความเชื่อในหลักสําคัญสูงสุดวา \"ขาพเจาขอปฏิญาณวา แนแท ไมมีพระเจาอน่ื ใด นอกจากอลั เลาะห และขา พเจาขอปฏิญาณวา แนแท มุฮมั มัดเปนศาสนทูตของอลั เลาะห\" 2. การละหมาด หรือ การนมาซ 5 เวลา คือ การทํานมัสการตอพระเปนเจา เชา บาย เย็น ค่ํา และกลางคืน ในนมาซมีทาทางการสํารวมจิตใจระลึกถึงและขอพรตอพระผูเปนเจาดวยอิริยาบถ และคํากลาวที่มีแบบแผน นับวาเปนการฝกจิต ขัดเกลาจิตใจ เพ่ิมพูนความเขาใจในศีลธรรมและคุณธรรมอยางแนวแนและสมํ่าเสมอ นอกจากนั้นยังเสริมสรางความเขมแข็งทางดานรางกายไดเปน อยา งดี ผูทจี่ ะทํากิจน้ี จะตองทําความสะอาดในเคร่ืองแตงกายและรางกาย และทําความสะอาดทางใจ คอื การสํารวม \"สูเจา จงดาํ รงนมาซ แนแท การนมาซชวยยับย้ังผปู ฏิบตั จิ ากความช่วั และความเลวทรามตาง ๆ\" (อลั -กุรอาน. 29:45) 267

การพัฒนาตน 3. การจายซะกาต คือ การแบงปนทรัพยในครอบครองเม่ือครบพิกัดใหแกผูมีสิทธิ์ เปนการสรางสวัสดิการและลดชองวางในสังคม เปนการจัดระเบียบการสรางสังคมสงเคราะห เพ่ือชวยใหผูอื่นมีการกินดีอยูดี ทรัพยที่ตองจายเปนซะกาต ไดแก เงิน ทอง ปศุสัตว ส่ิงเพาะปลูก ฯลฯ ซะกาตกําหนดจายใน 8 ทาง คือ สําหรับคนอนาถา คนขัดสน เจาหนาที่ผูจัดเก็บและจา ยซะกาต ผูทเี่ ลอ่ื มใสจะนับถือหรอื เพ่งิ นับถอื อสิ ลาม การไถทาสหรือเชลย ผูเปนหน้ีสินลนตัวคนเดินทางที่ขาดคา ใชจายในการเดินทางในตางถ่ิน และในหนทางของอัลเลาะห อัล-กุรอานยํ้าวา\"การใหท านเปนการขดั เกลาจติ ใจใหบริสุทธ\"ิ์ (อัล-กุรอาน. 9:103) 4. การถือศีลอด คือ การละเวนจากการกิน การด่ืม การสัมพันธทางเพศและสํารวมตนอยูในคุณธรรม นับตั้งแตแสงอรุณข้ึน จนกระท่ังดวงอาทิตยตกตลอดเดือนเราะมะฎอน อันเปนเดือนท่ี 9 ของศักราชทางจันทรคติอิสลามเปนเวลา 1 เดือน การถือศีลอดก็มิใชงดบริโภคเทาน้ัน แตยังมีการสํารวมตนในศีลธรรมและกระทําความดีตาง ๆ เปนพิเศษดวยใจที่จดจอในอัลเลาะห อัล-กุรอาน ไดกลาวถึงเจตนารมณของการถือศีลอดไววา \"บรรดาผูศรัทธาเอยการถือศีลอดไดถูกกําหนดแกสูเจา ดังท่ีเคยบัญญัติแกบรรดาผูลวงไปกอนสูเจา เพื่อสูเจาจะไดสํารวมตนจากความชั่ว\" (อลั -กรุ อาน. 2:183) การถือศีลอดนี้จะตองปฏิบัติกันทุกคน ไมมีขอยกเวนสําหรับคนรวย คนจน ผูหญิง ผูชาย พระศาสดา หรือกษัตริย แตวามีขอผอนผันสําหรับผูท่ีเดินทางไกล ผูปวย หญิงที่มีประจําเดือน ผูชราภาพ ฯลฯ โดยการถือศีลอดชดใชหรือจายทรัพยตามเง่ือนไขของบัญญตั ิศาสนา 5. การประกอบพิธีฮัจญ เปนการไปเย่ียมเยียน เพื่อประกอบศาสนพิธีตามสถานท่ีสําคัญตาง ๆ ณ เมืองมักกะฮ ประเทศซาอุดิอาระเบีย เปนหนาท่ีสําหรับผูที่มีความพรอมดานจิตใจ รางกาย และกําลังทรัพย การประกอบพิธีน้ี มีคุณประโยชนนอกเหนือจากการยกระดบั จติ ใจและเสรมิ สรา งคุณธรรมหลายประการ ฮัจญยังเสริมสรางความสํานึกผูบําเพ็ญอัจญในความเปน พ่นี องกัน ความเทาเทียมกันของมวลมนุษยทุกคน ทุกฐานะ ทุกเพศ และทุกวัยตองอยูในสถานท่ีเดียวกัน มีแบบแผนการแตงกายเหมือนกัน และปฏิบัติอยางเดียวกันในกรอบความเชื่อและศีลธรรม หลักพื้นฐานที่สําคัญของศาสนาอิสลามทเ่ี ปนท้งั ภาคทฤษฎีและการปฏิบัติแสดงใหเห็นวา อิสลามเนนความสําคัญของจิตใจเปนพื้นฐานท่ีกอใหเกิดพฤติกรรมภายนอก อิสลามสรางคุณธรรมภายในโดยปลูกฝงศรัทธาความเชื่อมั่นในจิตใจกอน เพ่ือมนุษยจะไดปฏิบัติตนตามรปู แบบของบัญญตั ปิ ระการตา ง ๆ อนั จะทาํ ใหชวี ติ มคี ณุ คา เกดิ สันติสขุ ในตวั บุคคลและสังคม268

การพัฒนาตน ในคําสอนของศาสนาอิสลาม ความสุขเปนธรรมชาติอยางหนึ่งของมนุษยที่พระเปนเจา(อัลเลาะห) ทรงกําหนดใหมี ความสุขเปนส่ิงท่ีมนุษยแสวงหาโดยการกระทําของมนุษยเปนผลตอบ-แทนการกระทําความดีหรืออาจเปนสิ่งที่พระเปนเจาประทานใหตามความประสงคของพระองค หากมนุษยกระทําความดี เชื่อมั่นในอัลเลาะห พระองคก็จะทรงโปรดปรานไดรับผลเปน ความสุข แตถามนุษยทําความช่ัว อัลเลาะหก็จะทรงลงโทษ ผลคือ ความทุกขนั่นเอง ดังนั้นความสุขและความทุกขเปนสภาวะท่ีมีอยูกับมนุษย เมื่อมนุษยมีความสุข มนุษยก็ไมควรดีใจหรือหลงระเริง แตควรระวังความทุกขท่ีอาจจะเกิดตามมา ความสุขและความทุกขในศาสนาอิสลามอาจแบงไดเ ปน 2 ความหมาย ดังนี้ 1. เปนปรากฏการณทางธรรมชาติ 1.1) ความสุขและความทุกขเปนภาวะทางธรรมชาติที่มีอยูในตัวมนุษยทุกคน เปนประสบการณที่มนุษยมี เชน ความเจ็บปวดทางกาย ในอัล-กุรอาน กลาววา\"เราสรางมนุษยดวยความยากลําบาก\" และเราไดสั่งมนุษยใหทําการดีตอพอแมของเขา แมของเขาไดอุมครรภเ ขาดวยความเหนื่อยยาก และไดคลอดเขาดว ยความเจบ็ ปวด และการอุมครรภเขา และการหยานมของเขาสามสิบเดือน จนกระทั่งเม่ือเขาบรรลุการเปนผูใหญและถึงสี่สิบป เขากลาววาขาแตพระผูอภิบาลของฉัน! ขอไดทรงโปรดประทานแกฉัน (อัล-กุรอาน. 46:15) และเม่ือเราไดใหมนุษยลิ้มความเมตตา พวกเขาก็ระร่ืนโดยสิ่งนั้น และถาทุกขรายอันใดประสบแกพวกเขาเน่ืองดวยน้ํามือของพวกเขาไดประกอบไวกอน เม่ือน้ันจงดูเถิด พวกเขาทอถอย (อัล-กุรอาน.30:36) 1.2) ความสุขและความทุกขเปนผลมาจากพฤติกรรมของมนุษยส่ิงท้งั หลายเหลานี้เปนผลมาจากเจตนาและการกระทําของมนุษย และทุกขภัยอันใดที่ประสบแกสูเจา ดังนั้น เนื่องมาจากที่สูเจาไดขวนขวายไวดวยนํ้ามือของสูเจาเอง และพระองคทรงไดทรงอภัย(ความผิด) มากตอมาก (อัล-กุรอาน. 42:30) และเราไมไดสงบรรดารสูล เวนแตเปนผูแจงขาวดีและผูตักเตือน เพราะฉะน้ัน ผูใดศรัทธาและฟนฟูการดี ดังน้ัน จะไมมีความหวาดกลัวแกเขาทัง้ หลายและเขาทง้ั หลายจะไมร ะทม (อัล-กรุ อาน. 6:48) อันใดแหงความดีประสบแกเจา (มนุษยเอย!) ดังนั้น (มันมา)จากอัลเลาะห และอันใดแหงความชวั่ ประสบแกเจา ดังน้ัน (มนุษยเอย!มันมา) จากตัวเจาเอง และเราไดส งเจา เปนรสลู แกมนุษยชาตแิ ละเพียงพอแลว ทีอ่ ัลลอฮท รงเปนพยาน (อัล-กุรอาน. 4:79) 269

การพฒั นาตน 1.3) ความทุกขและความสุขท้ังสองอยางนี้ดําเนินอยูในโลกน้ีและโลกหนา ความทกุ ขและความสขุ เหลาน้เี ปนสาระของมนุษยท่ีดาํ รงชวี ิตอยูท่เี ปน ความจริงในโลกน้ี และเปนความรูส กึ ของจติ ใจท่ีครอบคลุมไปถึงชวี ิตหลังความตาย จงรูไวเถิดวา ชีวิตแหงโลกน้ีเปนเพียงการละเลน และการบันเทิงและเคร่ืองประดับและความโออวดระหวางสูเจา และในการแขงขันกันสะสมทรัพยสินและลูก ๆดังอุปมาของนํ้าฝนซึ่งการงอกเงย (แหงพืชผล) ของมันยังความพึงพอใจแกชาวนา แลวมันแหงเห่ียว เจาก็เห็นมันเปนสีเหลือง แลวมันก็เปนเศษเปนชิ้น สวนปรโลกน้ัน มีการลงโทษอันสาหัสพรอมทั้งการใหอภัยโทษจากอัลเลาะหและความปราโมทย (ของพระองค) และชีวิตของโลกนี้มิใชอืน่ ใด นอกจากเปนปจจัยแหงมายาเทา นัน้ (อลั -กุรอาน. 57: 20) 2. เปน ปรากฎการณทางจรยิ ธรรม 2.1) ความทุกขและความสุขเปนเครื่องพิสูจนและเปนปจจัยการพัฒนาคุณธรรมและยังเปนกฏเกณฑของอัลเลาะห ซึ่งมนุษยจะตองประสบ การปฏิบัติตามกฎศีลธรรมของอลั เลาะห กเ็ พือ่ ทีจ่ ะบรรลจุ ดุ มุง หมายสูงสุดของชีวิต ทุก ๆ ชีวิตมีความตาย และเราไดลองใจสูเจาดวยการทดลองแหงความชัว่ และความดี และยงั เราทส่ี ูเจา จะถูกนํากลบั (อลั -กุรอาน. 21:35) เพื่อสูเจาจะไดไมตองระทมตอที่ไดสูญไปจากสูเจา และไมระเริงตอท่ีพระองคไ ดทรงประทานแกสเู จาและอัลลอฮไมท รงรกั ทุก ๆ ผโู อหัง ผูค ุยโว (อลั -กรุ อาน. 57:23) 2.2) ความสุขเปนสิ่งท่ีถูกจัดสรรใหมนุษยทุกคน เปนความโปรดปรานและความเมตตาของอลั เลาะห \"และเมื่อเราไดใหความสุขแกมนุษยคนใด เขาก็มักจะหันหลังใหและนําตวั เขาหางเหิน และเมื่อสง่ิ เลวรายสัมผัสเขา เขากจ็ ะพราํ่ วอนขออยางยืดยาว\" (อัล-กรุ อาน. 41:51) 2.3) ความสุขเปนรางวัลของอัลเลาะหที่ประทานแกมนุษยผูที่กระทําความดี มิใชเชน น้นั ผใู ดนอบนอ มตวั เขาตอ อัลเลาะห และเขาเปนผูกระทําการดี ดังน้ัน สําหรับเขา คือรางวัลของเขาอยูที่พระผูอภิบาลของเขาและไมมีความหวาดกลัวแกเขาท้ังหลาย และเขาทง้ั หลายจะไมร ะทม (อัล-กรุ อาน. 2:112) มิใช (คุณลักษณะของ) อัลเลาะห ที่พระองคจะทรงปลอยบรรดาผูศรทั ธาในสภาพทสี่ ูเจา เปน อยู จนกระท่งั พระองคท รงจําแนกท่เี ลวออกจากที่ดีและมิใช อัลเลาะห ที่270

การพฒั นาตนพระองคจะทรงแจงส่ิงพนญาณวิสัยแกสูเจา แตอัลเลาะหทรงเลือกรสูลทั้งหลายของพระองคผูพระองคทรงประสงค ดังน้ัน จงศรัทธาในอัลเลาะหและรสูลท้ังหลาย และถาสูเจาศรัทธาและสํารวมตนจากความชว่ั ดังนั้น สาํ หรับสเู จา คอื รางวัลอนั ใหญหลวง (อัล-กรุ อาน. 3:178) 2.4) ความทกุ ขเ ปนผลมาจากทัศนะท่ีผิดและการกระทาํ ความชวั่ \"อันใดแหงความดีประสบแกเจา (มนุษยเอย!) ดังนั้น (มันมา) จากอัลเลาะห และอันใดแหงความช่ัวประสบแกเจา ดังนั้น (มนุษยเอย!มันมา) จากตัวเจาเอง และเราไดสงเจาเปนรสูลแกมนษุ ยชาติ และเพียงพอแลวท่ีอลั เลาะห ทรงเปนพยาน\" (ในหนา ที่เผยแผน ้ี) (อัล-กรุ อาน. 4:79) 2.5) ความทกุ ขเ ปน การลงโทษของอลั เลาะหส าํ หรับผกู ระทําความชั่ว ถาบาดแผลหน่ึงประสบแกสูเจา (ในสงครามอุหุด) แนนอน บาดแผลเย่ียงนั้น (ในสงครามบัดรฺ) ไดประสบพวก (ไมเช่ือถือ) นั้น และวันท้ังหลายเหลาน้ี (คือชัยชนะหรือการปราชยั , ความสขุ หรือความทุกข) เราไดหมุนเวยี นมันระหวา งมนุษยและเพ่ืออัลเลาะหจะไดทรงจําแนกใหรูบรรดาผูศรัทธา และจะไดทรงเอาเปนพยาน (หรือผูตายในสงคราม) จากในหมูสูเจาและอัลเลาะหไ มท รงรกั ผอู ธรรม (ทใ่ี สร ายวา การแพที่อุหุด) เพราะหลักการของศาสนาอิสลาม และเพ่ือท่ีอัลเลาะหจะไดทรงฟอกเกลาบรรดาผูศรัทธา และทรงบั่นทอนพวกปฏิเสธ หรือสูเจาคิดวาสูเจาจะไดเขาสวนสวรรคและอัลเลาะหยังไมไดทรงจําแนกใหรูซึ่งบรรดาในหมูสูเจา ผูด้ินรนตอสูและทรงจําแนกใหรูซึ่งผอู ดทน (อัล-กุรอาน. 3:139-141) 2.6) ความทกุ ขเ ปน มาตรการท่อี ลั เลาะหทรงใหมีขึ้นเพอื่ ขัดเกลาผศู รัทธา หรือสูเจาคิดวา สูเจาจะไดเขาสวนสวรรคและอัลเลาะหยังไมไดทรงจาํ แนกใหร ูซงึ่ บรรดาในหมสู ูเจา ผูด้ินรนตอสู (ในทางของอัลเลาะห) และ(ยังไมได) ทรงจําแนกใหรูซงึ่ ผอู ดทน (อลั -กุรอาน. 3:141) หรือสูเจาคิดวาสูเจาจะไดเขาสวนสวรรคในเม่ือยังไมไดมา (ประสบ)แกสูเจา เย่ียงบรรดา (มุสลิม) เหลานั้นท่ีไดลวงลับไปกอนสูเจา ความทุกขยากและความลําเค็ญ(เจ็บปว ย) ไดป ระสบแกพวกเขา และพวกเขาถูกสะเทือนอยางหว่ันไหว จนกระท่ังรสูลและบรรดาผูศรัทธารวมกับเขา กลาววา เม่ือใดการชวยเหลือของอัลเลาะห จงรูไวเถิดการชวยเหลือของอัลเลาะหน้ันใกล (อัล-กุรอาน. 2:214) 271

การพัฒนาตน 2.7) ความทุกขเปน เครื่องขจัดบาปใหก ับมนุษย \"ถามุสลมิ คนใดประสบกับความทุกขรอน ความยากลําบาก ความวิตก ความเศราหมอง ภัยอันตราย ภัยพิบัติ แมแตถูกหนามตําอัลเลาะหท รงปลดเปลื้องบาปเล็ก ๆ นอย ๆ ของเขาดวยเหตนุ น้ั \" (อลั -หะดษี ) มุสลิมที่ประสบภัยพิบัติจากความเจ็บปวยหรือจากเหตุอื่น ๆ การปลดเปลื้องจากบาปเปนการตอบแทนแกเขา เสมือนหนึ่งใบไมร ว งจากตน (อัล-หะดษี ) 2.8) ความทุกขและความสขุ ในโลกนี้เปนสัญลักษณของความทุกขและความสุขในชีวิตหลังความตายและโลกหนา \"และทกุ ๆ ชวี ิตจะมาพรอมกับ (มลัก) ผูขับไส และ (มลัก) ผูเปนพยาน(เพราะเขาทําการดี 24:24) (แลว พระองคจ ะตรสั วา) โดยแนนอนย่ิงเจาไดเฉยเมยในขอน้ี เราจึงไดเลิกมานออกจากเจา ดงั นนั้ วนั นีส้ ายตาของเจาจึงคม\" (อลั -กุรอาน. 50:21-22) \"แทจริง ในการกลับมาของเขา (คือฟนข้ึน) อีกน้ัน พระองคทรงอานุภาพแนนอนวันซงึ่ ลี้ลับท้งั หลายก็จะถกู เปดเผย\" (อัล-กุรอาน. 86:8-9) จากโองการเหลานี้ ตามคาํ สอนของศาสนาอิสลาม จะเห็นวาความสุขและความทุกขเปนเร่ืองของจิตใจภายใน ที่สัมพันธกับพฤติกรรมภายนอก และมนุษยเปนเหตุสําคัญแหงความสขุ และความทกุ ขข องตนเอง ศาสนาอสิ ลามใหความสําคัญแกจิตใจเปนพื้นฐาน โดยมีทัศนะและเจตนาเปนท่ีตั้งของการกระทําหรือการแสดงออกพฤติกรรมของมนุษย และผลจากการกระทําจะเปน ทุกขหรือสขุ อยูท่ีตัวมนุษยเปนหลัก อันเปนไปตามธรรมชาติและกฏศีลธรรมที่อัลเลาะหทรงวางไว คําสอนเหลาน้ีพิจารณาไดวา ไดแสดงคุณคา 2 ประการ คือ 1.) คุณคาท่ีเปนเปาหมายของชีวติ ไดแก ความสขุ ในโลกน้ีและความสุขช่ัวนิรันดรในโลกหนา และ 2.) คุณคาท่ีเปนเคร่ืองมือหรือวิธีการไปสูเปาหมาย ไดแก ศีลธรรมหรือบรรทัดฐานของการดําเนินชีวิต ถือวาเปนสิ่งดีงาม เพราะนําทางใหม นษุ ยไปสเู ปา หมายที่เปนคุณคาประการแรก สวนคุณคาหลังเปนการแสดงความเคารพภักดีตอพระผูเปนเจา เนื่องจากเปนการเชื่อฟงตอพระองค คุณคาหลังเปนการตอบแทนความดีท่ีพระเปนเจาทรงใหมีแกการกระทํา คุณคาสองประการน้ี เปนความหมายของอิสลามในฐานะที่บงบอกถึงความหมายในเร่ืองเปาหมาย (สันติ) และวิธีการ (การจํานน หรือการมอบตนตอพระเปนเจา) จากที่กลาวมาขางตนท้ังในแงประวัติ ความหมายและมุมมองของแตละศาสนาท่ีเกี่ยวของกับความสุขถูกศึกษาและเรียบเรียงโดยพระสุริยัญ ชูชวย ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของผลงานวทิ ยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดลที่ทานไดศึกษาและเรียบเรียงไว โดยทานไดท ําการสรปุ ความหมายของความสุขในมมุ มองของทัง้ 3 ศาสนาดังกลาวไวแบบกระชบั ดงั น้ี272

การพฒั นาตน ศาสนาพุทธ ความสุข คือ การดําเนินชีวิตอยางมีสติรูเทาทันความคิดของตนท่ีกอ ใหเกิดประโยชนต อ ตนเองและผูอื่น ศาสนาคริสต ความสุข คือ การดําเนินชีวิตที่มีความรักตอพระเจาและเพ่ือนมนษุ ยท กี่ อ ใหเกิดสนั ตภิ าพ ศาสนาอิสลาม ความสุข คือ การดําเนินชีวิตดวยการทําความดีท่ีมีหลักศรัทธาและ หลกั การปฏบิ ตั ิตอพระเปน เจา ท่กี อ ใหเกิดสันตสิ ุข8.2 ความสขุ ในแตล ะวยั ในชว งอายุของชีวิตคนเรา ความสุขในแตละวัย แตละชวงอายุมองในภาพรวมแลวอาจะมีความคลายคลึงกันหรืออาจกลาวไดวา ทุกชวงอายุของมนุษยตองการที่จะมีความสุข ปราศจากความทุกข ความผิดหวัง ความขุนของหมองใจ แตเม่ือพิจารณาลงไปในรายละเอียดแลวจะพบวาในแตละชวงวัยของมนุษยเราน้ัน มีความตองการที่จะมาตอบสนองเพื่อใหเกิดความสุขทั้งทางรางกายและจิตใจที่แตกตางกันไป คุณเกสร จากเว็บไซตบล็อกแลกเปลี่ยนความรู หอสมุดพระราชวังสนามจันทร มหาวิทยาลัยศิลปากร (http://www.snc.lib.su.ac.th/snclibblog) ไดเสนอมุมมองความสุขทแี่ ตกตางกนั ไปในแตละชว งวยั ไวด ังนี้ 1. ความสุขในวัยเด็ก วัยเด็กในท่ีนี้หมายถึงเด็กทารกจนถึงเด็กท่ีเรียนในระดับประถมศึกษา ความสุขของเด็กในวัยนี้จะขึ้นอยูกับบิดามารดาเปนสวนใหญ ตองการความรัก ความเอาใจใส โอบกอดดวยสัมผัสท่ีอบอุน ออนโยนและเต็มไปดวยความรักจากท้ังคุณพอและคุณแมเปนส่ิงท่ีพวกเขาตองการมากที่สุด นอกจากนั้น เมื่อเด็กโตข้ึนจนถึงวัยท่ีเริ่มเขาโรงเรียน ก็จะเร่ิมเรียนรูจากสิ่งแวดลอมรอบๆตัวมากขึ้น เริ่มมีเพ่ือน ไดเลนและเรียนรูจากของเลน ตุกตา หุนยนต เคร่ืองเลนตา งๆ แตความรกั จากพอ และแมก็ยงั คงความสขุ ทีว่ ัยน้ีตองการมากท่ีสุด 2. ความสขุ ของวยั รนุ วยั รุน ในทนี่ ้ีหมายถงึ เดก็ ในชว งวยั เรียนในระดับมัธยม จนถึงระดับมหาวิทยาลัยชว งนเ้ี ด็กจะเรม่ิ เปนวัยทอี่ ยากสลดั คราบของความเปน เด็กออกไปจากตวั เอง อยากใหพอแมรวมถึงคนรอบขางอ่ืนๆ มองวาตนเองเปนผูใหญและดูแลตนเองได ตองการใหผูปกครองไววางใจตนเองเดก็ ผูหญงิ จะรักสวยรกั งาม เดก็ ผูช ายจะสาํ อางมากขึ้น เพื่อนจะเขามามีบทบาทในชีวิตมากข้ึน จะใหความสําคัญกับเพื่อนคอนขางสูง ชอบการทํากิจกรรมเปนกลุมในชั้นเรียนและนอกช้ันเรียน 273

การพัฒนาตนตองการเปนที่ยอมรับจากเพื่อน ดังนั้นความสุขในชวงวัยนี้มักจะอยูที่การไดเลนไดทํากิจกรรมรว มกับเพ่ือน ตอ งการการแสดงออกและตอ งการใหผูอ น่ื รับฟงและยอมรับในความคดิ เห็นของตน 3. ความสขุ ของคนวัยทํางาน วัยทํางานในท่ีนี้หมายถึงวัยที่เพ่ิงจบระดับมหาวิทยาลัยและเร่ิมเขาสูการทํางานจนถึงชวงอายุประมาณ 50-55 ป เปนชวงอายุที่ตองรับผิดชอบท้ังตอตนเองและครอบครัว คนรอบขาง ชวงวัยนี้ตองการความกาวหนาในอาชีพการงาน ตองการความม่ันคงในการประกอบอาชีพสุดทายไปรวมอยูท่ีการประสบความสําเร็จในการงาน สามารถดูแลตนเองและคนรอบขางไดความสุขของคนในวัยทํางานน้ีจริงๆแลวอาจแตกตางกันไปในชวงอายุ เชนในชวงเริ่มแรกของการทํางานก็ ตองการการยองรับในผลงานของตนเอง ตองการความกาวหนา หลังจากทํางานมาไดระยะหนึ่งก็จะเร่มิ มองถงึ ความมนั่ คงในอาชีพ 4. ความสขุ ในวยั ขรา ในท่ีนี้หมายความถึงคนชวงอายุ 60 ปข้ึนไป คนในวัยนี้มักจะผานประสบการณตางๆมามาก มีมุมมองในชีวิตท่ีสุขุมลุมลึกมากข้ึน ในสังคมไทยสวนใหญมักจะเปนสังคมญาติพ่ีนอ งอยูก ันเปน ครอบครัวใหญ ดงั นน้ั คนวัยนี้มักจะมีความสุขท่ีไดอยูกับลูกหลาน ตองการความรักความเอาใจใสจากลูกหลาน ตองการพูดคุยทํากิจกรรม มีสวนรวมทั้งกับคนในครอบครัวและเพ่ือนฝงู ชอบและมคี วามสุขท่ีไดแ นะนํา เลาประสบการณชีวิตของตนเอง8.3 บุคลิกภาพและทัศนคติกบั ความสุข พนื้ ฐานบคุ ลิกภาพสง ผลตอ ความสขุ ทัง้ ทางตรงและทางออม บคุ ลกิ ภาพท่ีดียอมทําใหท้ังตนเองและคนรอบขางรูสึกดีไปดวย และสามารถนําพาส่ิงท่ีดีในดานตางๆเขามาในชีวิตของเราลักษณะบุคลิกภาพท่ีดีท่ีจะนําพามาซ่ึงความสุขและความสําเร็จ จากเว็บไซต JobsDB.com มีดงั ตอ ไปน้ี 1. เปนคนมองโลกในแงด ี การมีพ้ืนฐานของการมองโลกในแงดี จะทําใหเรามองเห็นความปกติของความวุนวาย ความปกติของการทํางานแลวมีปญหา และความปกติในความไมปกติอ่ืนๆ อีกมาก ในชวี ติ ของคนเราท้ังในดานการทํางานและการใชชีวิต มีหลายเรื่องเปนเรื่องยาก และอีกสวนหนึ่งเปนเร่ืองที่อยูนอกเหนือจากการควบคุมของเรา ฉะน้ัน การประสบพบเจอปญหา ความไมสบายใจหรอื ความไมพึงพอใจ เปนเร่อื งปกติธรรมดา สิ่งสําคัญอยูท่ีเราสามารถควบคุมและจัดการทําอยางดี อยางเต็มท่ี ทําอยางถูกตอง และละเอียดรอบคอบเพียงใด ถาเรารับผิดชอบในสวนของ274

การพฒั นาตนเราเต็มท่ีแลว กม็ าดูวา ปญ หาเกิดในสวนไหน และจะแกไขอยา งไร คนที่มีพ้ืนฐานการมองโลกในแงดีจะไมหยุดอยูกับปญหา พร่ําบน ครํ่าครวญ ฟูมฟาย หรือเอาแตไลเบี้ยหาตัวคนผิด เขาจะมองหาสาเหตุของปญหาเพื่อพิจารณาวาอะไรทําใหเกิดปญหา หรือปญหาเกิดมาจากไหน เพื่อที่จะไดแกไ ขและจบปญ หา พน้ื ฐานเชน นที้ าํ ใหเ ขาเปน คนท่มี ีประสิทธิภาพ นา นับถือ และมีความสุขได 2. เปน คนทรี่ จู ักขอโทษและรับกบั ความผิดพลาดได ความผิดพลาดเปนสิ่งท่ีเกิดข้ึนได แตตองรูจักยอมรับและขอโทษเมื่อไดทําความผิดพลาดลงไป คนท่ีมีบุคลิกภาพในแบบ “ผิดไมได” คนพวกนี้มีความทุกขมากเพราะทุกคร้ังที่เกิดความผิดพลาดในการทํางานข้ึนมา เขาจะตองหาวิธีลากตัวเองใหพนผิดผดิ ไมได ผิดไมเ ปน จนบางครัง้ จะหาวธิ แี กตวั คนประเภทน้ีโอกาสกาวหนาในหนาที่การงานมีนอยมาก หรือหากมีก็มกั จะเปน ทีต่ ิฉินนินทาของเพอื่ นรวมงานอยเู สมอ ความผิดพลาดเม่ือเกิดข้ึนแลว ตองเรียนรู ผิดแลวตองรูสึกผิดแลวขอโทษ จากนั้นชวยกันหาวิธีแกไขและปองกันไมใหเกิดความผิดพลาดซ้ําเดิมขึ้นมาได เทานี้ก็สามารถขา มปญ หาทเี่ กิดข้นึ ไปสเู ร่ืองอ่ืนๆ ไดแ ลว ไมอยา งนั้นกต็ อ งจมอยกู ับความผิด การโทษผูอืน่ 3. เปน คนมีอธั ยาศยั หมายถึงการเปนคนมีมนุษยสัมพันธท่ีดี ย้ิมแยมแจมใส และใจกวางคนท่ีมีบุคลิกลักษณะอยางนี้ จะอารมณดีอยูเปนนิจ จะเขาใจคน รูวาแตละคนมีจุดออนจุดแข็งอยา งไร จะรูจกั เห็นอกเหน็ ใจและคอยสนับสนุนชว ยเหลือผูอ น่ื ไดตรงจุด ความมีมนุษยสัมพันธดีจะทําใหสามารถขอความชวยเหลือผูอ่ืนไดงาย โดยเฉพาะในงานที่เกินกําลัง หรือไมสอดคลองกับความเช่ียวชาญ สามารถขอความชวยเหลือโดยมีคนพรอมท่ีจะชวยเหลือไดทันที ความย้ิมแยมแจมใส ทําใหบรรยากาศในการทํางานดี สมองปลอดโปรง อารมณแจมใส คิดอะไรออกงายทําอะไรทงั้ หนักและเบาไดอ ยางราบรื่น สว นความใจกวา ง จะทําใหสามารถเปดรับคนทุกระดับอายุทุกระดับความรู และทุกระดับการบังคับบัญชา คนทั่วไปจะรักและชื่นชม ใหความสนิทสนมความไววางใจ ในที่สุดจะกลายเปนที่ตองการของทุกๆท่ี ดังน้ันอัธยาศัยไมตรีจึงเปนประตูสูโอกาสท่ีดใี นอนาคต 4. เปนคนมีกาลเทศะ คนท่ีรูจักกาลเทศะจะสามารถวางตัวและปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและไมสรางปญหา การไมสรางปญหาใหกับตนเองและบุคคลอื่น ถือเปนหนาท่ีพื้นฐานของคนทํางานทุกคน โอกาสกาวหนาในหนาที่การงานจะมีมาก กาลเทศะน้ัน ไมใชแค 275

การพัฒนาตนมารยาทในการเขาสงั คมเทาน้ัน แตยงั รวมถงึ การเคารพระเบียบวินัยของบริษัท การแตงเน้ือแตงตัวคําพูด ตลอดจนมีปฏิสัมพันธกับคนอื่นๆ ไดอยางเหมาะสม พอเหมาะพอดี ไมมากไมนอยจนเกินไป ไมเปนท่ีเดือดรอนรําคาญใหกับบุคคลอื่น นอกจากนี้ยังรวมถึงการตรงตอเวลาการใชเวลาทาํ งานสรางคณุ คา แกเ นื้องาน แกความรับผิดชอบ และแกอ งคกรดว ย 5. เปน คนทมี่ ีพัฒนาการ หัวใจสําคัญขอหน่ึงของบุคลิกภาพคือ เปนคนที่มีพัฒนาการเปลยี่ นแปลงตัวเองอยูเสมอ เพ่อื ใหส อดคลองกับสภาพสังคมท่ีเปล่ียนไป โดยเนนการเปล่ียนแปลงในทางบวกหรือทางสรางสรรค เชนเปล่ียนแปลงการแตงกาย ทรงผม และการแตงหนาใหรับกับสมัยนิยมอยางพอเหมาะพอเจาะ ไมมากจนเกินไปหรือเชยตกยุคสมัย เปล่ียนแปลงการพูดการสนทนา โดยการพูดใหชัดถอยชัดคํา พูดใหคนฟงฟงรูเร่ือง พูดไมมากหรือนอยเกินไป พูดอยางสภุ าพ มเี สนห  บุคลิกภาพในการทํางาน หาความรูเพิ่มเติม โดยการเรียนตอ เขารับการฝกอบรม ฟงบรรยาย รวมการเสวนา หรือแมแตซื้อหาหนังสือมาอานเพ่ิมเติม ฝกฝนตัวเองจนชํานาญในการงานท่ที าํ มาโดยตลอด เรยี กวา เรียนรจู ากการปฏิบตั ิ สวนทัศนคติน้ันหมายถึง การแสดงออกถึงความชอบหรือไมชอบตอบุคคล สถานท่ี สิ่งของ หรือเหตุการณส่ิงใดส่ิงหนึ่ง (https://th.wikipedia.org/) พระไพศาล วิสาโลกลาวเกีย่ วกับทัศนคตกิ ับความสุขในชีวิตของคนเราไววา มนุษยทุกคนยอมปรารถนาความสุข การดําเนินชีวิตและพฤติกรรมทั้งหมดของเราลวนมีจุดมุงหมายเพื่อแสวงหาความสุข แตคนสวนใหญน้ันเขาใจวาที่มาแหงความสุขนั้นอยูนอกตัว ตอเม่ือมีเงินทอง ไดเสพรสอรอย ไดครอบครองโภคทรัพย ไดรับคําสรรเสริญ จึงจะมีความสุข ดังนั้น จึงพยายามด้ินรนแสวงหาสิ่งเหลานั้นใหไดมากท่สี ุด แตเมอื่ ไดสมปรารถนาแลว กม็ คี วามสขุ เพียงชัว่ ครูชั่วยาม จากนั้นก็ตองเริ่มตนไลลาหาใหมอีกระหวางน้นั จติ ใจก็เรารอนเปนทุกข ยังไมตองพูดถึงความทุกขในกรณีที่ไดไมสมอยากหรือไดไมทันอยากกลาวไดวาความทุกขของคนทุกวันนี้ลวนเกิดข้ึนจากการดิ้นรนแสวงหาความสุขท่ีคิดวาอยูนอกตัว ท้ังๆ ท่ีในความจริงแลวความสุขมีอยูแลวที่ใจเราน้ีเอง เราสามารถสัมผัสกับความสุขดงั กลา วไดห ากเพียงแตทําใจใหนิ่งสงบ ปลอดจากความคิดฟุงซา น ความสุขยังเกิดข้ึนกลางใจในยามท่ีเราทําความดี ชวยเหลือเอื้อเฟอผอู ื่น รวมทั้งในยามที่ทําสิ่งยากใหสําเร็จ โดยไมจําตองมีส่ิงใหมมาปรนเปรอตน เราก็มีความสุขไดไมยากหากรูจกั ชื่นชมส่ิงดี ๆ ที่เรามอี ยู จะวาไปแลวแมป ระสบความทกุ ขย ากลําบาก ใจก็ยังเปนสุข276

การพฒั นาตนไดหากรูจักมอง เชน นึกถึงคนที่เดือดรอนกวาเราหรือยอมรับวามันเปนธรรมดา กลาวอีกนัยหน่ึงความสขุ น้ันอยูทที่ ัศนคตแิ ละการวางใจของเราย่ิงกวาอะไรอืน่8.3 คืนความสุขใหชีวติทานอาจารยพ ทุ ธทาส อินทปญโญ แตงบทกลอนแงค ดิ คาํ สอนเกย่ี วกับความสขุ ไวดังน้ีความเอย ความสุข ใครๆ ทุกคน ชอบเจา เฝาว่งิ หาแกกส็ ขุ ฉันกส็ ขุ ทกุ เวลา แตด หู นา ตาแหง ยงั แคลงใจถาเราเผา ตวั ตัณหา กน็ าจะสขุ ถามนั เผา เราก็ “สกุ ” หรอื เกรยี มไดเขาวา สุข สขุ เนอ ! อยาเหอ ไป มันสขุ เยน็ หรอื สุกไหม ใหแน เอย ฯภาพที่ 8.1 หนา เว็บไซตเฟสบุคทานพุทธทาสภกิ ขุ สวนโมกข พระไพศาล วิสาโล กลาวขอคิดเกี่ยวกับความสุขไวอยางนาสนใจผานเว็บไซตเฟสบุค (พระไพศาล วิสาโล - Phra Paisal Visalo) วาการย่ิงมีเงินทองมากเทาไร ก็ยิ่งมีความสุขมากเทาน้ัน ความเช่ือดังกลาวดูเผิน ๆ ก็นาจะถูกตองโดยไมตองเสียเวลาพิสูจน แตถาเปนเชนนั้นจรงิ ประเทศไทยนาจะมีคนปวยดวยโรคจติ นอ ยลง มใิ ชเพม่ิ มากข้ึน ทงั้ ๆ ทรี่ ายไดของคนไทยสูงข้ึนทุกป ในทํานองเดียวกันผูจัดการก็นาจะมีความสุขมากกวาพนักงานระดับลางๆ เนื่องจากมี 277

การพัฒนาตนเงนิ เดอื นมากกวา แตความจริงก็ไมเปนเชนน้ันเสมอไป ไมนานมานี้มหาเศรษฐีคนหนึ่งของไทยไดใหสัมภาษณหนังสือพิมพวา เขารูสึกเบื่อหนายกับชีวิต เขาพูดถึงตัวเองวา \"ชีวิต(ของผม)เริ่มหมดคาทางธุรกิจ\" ลึกลงไปกวาน้ันเขายังรูสึกวาตัวเองไมมีความหมาย เขาเคยพูดวา \"ผมจะมีความหมายอะไร กเ็ ปนแค. ...มหาเศรษฐีหมนื่ ลานคนหน่ึง\" เม่อื เงินหมืน่ ลานไมทําใหมีความสุข เขาจึงอยูเฉยไมได ในท่ีสุดวิ่งเตนจนไดเปนรัฐมนตรี ขณะที่เศรษฐีหมื่นลานคนอื่น ๆ ยังคงมุงหนาหาเงินตอไป ดวยความหวังวาถาเปนเศรษฐีแสนลานจะมีความสุขมากกวาน้ี คําถามก็คือ เขาจะมีความสขุ เพ่มิ ขึน้ จริงหรือภาพที่ 8.2 หนาเว็บไซตเ ฟสบุคพระอาจารยไ พศาล วสิ าโล คําถามขางตนคงมีประโยชนไมมากนักสําหรับคนทั่วไป เพราะชาติน้ีคงไมมีวาสนาแมแ ตจะเปนเศรษฐีรอยลาน แตอยางนอยก็คงตอบคําถามท่ีอยูในใจของคนจํานวนไมนอยไดบางวา ทําไมอัครมหาเศรษฐีท้ังหลาย รวมท้ังบิล เกตส จึงไมหยุดหาเงินเสียที ทั้ง ๆ ที่มีสมบัติมหาศาล แตถาเราอยากจะคนพบคําตอบใหมากกวาน้ี ก็นาจะยอนถามตัวเองดวยวา ทําไมถึงไมหยดุ ซอ้ื แผนซีดีเสียทีท้ัง ๆ ท่ีมีอยูแลวนับหม่ืนแผน ทําไมถึงไมหยุดซื้อเส้ือผาเสียทีทั้ง ๆ ท่ีมีอยูแลวเกือบพันตัว ทําไมถึงไมหยุดซ้ือรองเทาเสียทีท้ัง ๆ ท่ีมีอยูแลวนับรอยคู แผนซีดีท่ีมีอยูมากมายนั้นบางคนฟงท้ังชีวิตก็ยังไมหมด ในทํานองเดียวกัน เสื้อผา หรือรองเทา ที่มีอยูมากมายน้ัน บางคนก็278

การพฒั นาตนเอามาใสไมครบทุกตัวหรือทุกคู มีหลายตัวหลายคูท่ีซื้อมาโดยไมไดใชเลย แตทําไมเราถึงยังอยากจะไดอีกไมห ยดุ หยอ น ใชหรือไมวา สิ่งที่เรามีอยูแลวในมือนั้นไมทําใหเรามีความสุขไดมากกวาสิ่งที่ไดมาใหม มเี สื้อผาอยแู ลวนับรอ ยกไ็ มท ําใหจ ิตใจเบง บานไดเ ทากับเสื้อหน่ึง ตัวที่ไดมาใหม มีซีดีอยูแลว นับพันก็ไมท าํ ใหรูสึกต่ืนเตนไดเทากับซีดีหนึ่ง แผนท่ีไดมาใหม ในทํานองเดียวกันมีเงินนับรอยลานในธนาคารก็ไมทําใหรูสกึ ปลาบปลืม้ ใจเทากับเมือ่ ไดมาใหมอ ีกหนงึ่ ลา น พดู อกี อยา งก็คอื คนเรานั้นมักมีความสุขจากการได มากกวาความสุขจากการมีมีเทาไรก็ยงั อยากจะไดม าใหม เพราะเรามกั คิดวา ของใหมจ ะใหค วามสขุ แกเราไดมากกวาส่ิงที่มีอยูเดิม บอยคร้ังของที่ไดมาใหมนั้นก็เหมือนกับของเดิมไมผิดเพี้ยน แตเพียงเพราะวามันเปนของใหมก็ทําใหเราดีใจแลวท่ีไดมา อาจจะเปนเพราะสัญชาตญาณท่ีมีอยูกับสัตวหลายชนิดไมเฉพาะแ ตมนุษยเทาน้ัน ถาโยนนองไกใหหมา หมาก็จะวิ่งไปคาบ แตถาโยนนองไกช้ินใหมไปให มันจะรีบคายของเกาและคาบช้ินใหมแทน ท้ัง ๆ ท่ีทั้งสองชิ้นก็มีขนาดเทากัน ไมวาหมาตัวไหนก็ตาม ของเกาท่ีมีอยูในปากไมนาสนใจเทากับของใหมที่ไดมา ถาหากวาของใหมใหความสุขไดมากกวาของเกาจริง ๆ เร่ืองก็นาจะจบลงดวยดี แตปญหาก็คือของใหมน้ันไมนานก็กลายเปนของเกา และความสุขทไี่ ดมานั้นในที่สุดก็จางหายไป ผลก็คือกลับมารูสึก \"เฉย ๆ\" เหมือนเดิม และดังน้ันจึงตองไลลาหาของใหมมาอีก เพื่อหวังจะใหมีความสุขมากกวาเดิม แตแลวก็วกกลับมาสูจุดเดิม เปนเชนนี้ไมรูจบ นา คดิ วา ชวี ิตเชนนีจ้ ะมคี วามสขุ จรงิ หรือ เพราะไลลาแตละครั้งก็ตองเหนื่อย จะตองขวนขวายหาเงินหาทอง จะตองแขงกับผูอ น่ื เพอ่ื ใหไดมาซง่ึ สงิ่ ท่ตี อ งการ คร้ันไดมาแลวก็ตองรักษาเอาไวใหได ไมใหใครมาแยงไป แถมยังตองเปลืองสมองหาเร่ืองใชมันเพ่ือใหรูสึกคุมคา ยิ่งมีมากช้ินก็ยิ่งตองเสียเวลาในการเลือกวาจะใชอันไหนกอน ทํานองเดียวกับคนท่ีมีเงินมาก ๆ ก็ตองยุงยากกับการตัดสินใจวาจะไปเท่ียวลอนดอน นิวยอรค เวกัส โตเกียว มาเกา หรอื ซิดนยี  ถาเราเพียงแตร จู กั แสวงหาความสุขจากสงิ่ ท่ีมีอยูแลว ชีวิตจะยุงยากนอยลงและโปรง เบามากขึน้ อันทจี่ รงิ ความพอใจในสง่ิ ทีเ่ รามนี ั้นไมใ ชเ ร่ืองยาก แตที่เปนปญหาก็เพราะเราชอบมองออกไปนอกตัว และเอาสิ่งใหมมาเทียบกับของท่ีเรามีอยู หาไมก็เอาตัวเองไปเปรียบเทียบกับคนอ่ืน เมื่อเห็นเขามีของใหม ก็อยากมีบาง คงไมมีอะไรที่จะทําใหเราทุกขไดบอยครั้งเทากับการชอบเปรียบ เทียบตัวเองกับคนอ่ืน การเปรียบเทียบจึงเปนหนทางลัดไปสูความทุกขท่ีใคร ๆ ก็นิยมใชกัน นิสัยชอบเปรียบเทียบกับคนอ่ืน ทําใหเราไมเคยมีความพอใจในสิ่งที่ตนมีเสียที แมจะมีหนาตาดี ก็ยังรูสึกวาตัวเองไมสวย เพราะไปเปรียบเทียบตัวเองกับดาราหรือพรีเซนเตอรในหนัง 279

การพฒั นาตนโฆษณา การมองแบบนที้ ําให \"ขาดทุน\" สองสถาน คือ นอกจากจะไมมีความสุขกับส่ิงท่ีมีอยูแลวยังเปนทุกขเพราะไมไดสิ่งที่อยาก พูดอีกอยางคือไมมีความสุขกับปจจุบัน แถมยังเปนทุกขเพราะอนาคตทพี่ งึ ปรารถนายังมาไมถ ึง ไมมีอะไรที่เปนอุทธาหรณสอนใจไดดีเทากับนิทานอีสปเรื่องหมาคาบเนื้อ คงจําไดวา มีหมาตัวหนึ่งไดเน้ือช้ินใหญมา ขณะที่กําลังเดินขามสะพาน มันมองลงมาท่ีลาํ ธาร เห็นเงาของหมาตัวหน่ึง (ซึ่งก็คือตัวมันเอง) กําลังคาบเน้ือช้ินใหญ เนื้อช้ินน้ันดูใหญกวาชิ้นท่ีมันกําลังคาบเสียอีก ดวยความโลภ (และหลง) มันจึงคายเนื้อท่ีคาบอยู เพ่ือจะไปคาบช้ินเนื้อที่เห็นในนํ้า ผลก็คือเม่ือเน้ือตกน้ํา ชิ้นเนื้อในนํ้าก็หายไป มันจึงสูญท้ังเนื้อท่ีคาบอยูและเนื้อท่ีเห็นในน้ํา บอเกิดแหงความสุขมีอยูกับเราทุกคนในขณะน้ีอยูแลว เพียงแตเรามองขามไปหรือไมรูจักใชเทาน้ัน เมื่อใดท่ีเรามีความทุกข แทนท่ีจะมองหาส่ิงนอกตัว ลองพิจารณาส่ิงท่ีเรามีอยูและเปนอยูไมวา มิตรภาพ ครอบครัว สุขภาพ ทรัพยสิน รวมท้ังจิตใจของเรา ลวนสามารถบันดาลความสุขใหแกเราไดท ง้ั นน้ั ขอเพียงแตเ รารูจักชน่ื ชม รูจกั มอง และจดั การอยา งถูกตองเทา นน้ั แทนทจ่ี ะแสวงหาแตความสุขจากการได ลองหันมาแสวงหาความสุขจากการ มีหรือจากสิ่งที่ มี ข้ันตอไปคือการแสวงหาความสุขจากการ ให กลาวคือยิ่งใหความสุข ก็ยิ่งไดรับความสุข สุขเพราะเห็นนํ้าตาของผูอ่ืนเปลี่ยนเปนรอยย้ิม และสุขเพราะภาคภูมิใจที่ไดทําความดีและทําใหชีวิตมีความหมาย จากจุดนั้นแหละก็ไมยากท่ีเราจะคนพบความสุขจากการ ไมมี น่ันคือสขุ จากการปลอ ยวาง ไมยึดถือในสิ่งท่ีมี และเพราะเหตุน้ัน แมไมมีหรือสูญเสียไป ก็ยังเปนสุขอยูไดการที่มีโอกาสไดเกิดมาเปนมนุษยนาจะไดสัมผัสกับความสุขจากการ “ให” และการ “ไมมี” เพราะน่ันคือสุขท่ีสงบเย็นและย่ังยืนอยางแทจริง นอกจากน้ัน พระอาจารยไพศาลยังไดกลาวเพ่ิมเติมเกี่ยวกับส่ิงที่คูกับความสุข นั่นก็คือความทุกขเอาไววา คนเรามักจะมีความทุกขอยูกับสองเรื่องหน่ึงทกุ ขเพราะอยากไดสง่ิ ที่ไมม ี และสอง ทกุ ขเ พราะอาลยั ในสง่ิ ทเี่ คยมีแลวเสียไป แตถาเราหันมาใสใจกับส่ิงที่เรามี เราก็จะพบวาความสุขน้ันอยูกับเราแลว อยางผูหญิงคนท่ีเปนธาลัสซีเมีย เธอมองเห็นวาตัวเองยังมีส่ิงดี ๆ อยูในตัวมากมาย มีอวัยวะครบพอท่ีจะรับรสแหงความสุขไดอยางครบถวน เธอจงึ มคี วามสุข ไมม ัวเปน ทกุ ขกบั โรคภัยไขเจ็บ ขณะเดียวกนั เธอก็ไมมัวสนใจความสุขที่เธอไมมี เมื่อไหรก็ตามท่ีเราหันมาชื่นชมและเห็นคุณคาของสิ่งท่ีเรามีเราก็จะมีความ สุข แตถาเราไปสนใจส่ิงที่เรายงั ไมมี เราจะทกุ ขท นั ที คนที่ยังมีพอมีแม ยังมีลูกหลาน ยังมีสุขภาพดี ยังไปไหนมาไหนได คุณเคยรูสึกไหมวา น้แี หละคือความสขุ อยางหนึง่ คุณเคยรสู ึกไหมวาตวั เองมีโชคท่ียังมีมือและเทาเหมือนคนอ่ืนเขา ผูคนไมคอยตระหนักวาการที่เรามีมือสองมือ มีเทาสองเทา เปนความสุข แตเราจะเร่ิมรูสึกก็ตอเมอ่ื เราเสียมอื เสียขาไป ถงึ ตอนน้ันเราจึงตระหนักวาสองส่ิงน้ีมีคา และตอนท่ีเรามีสองสิ่งน้ีเราก็280

การพฒั นาตนมีความสุขแลว เราไมเ คยรูสกึ วาการที่เราเดินไปไหนมาไหนไดนนั้ เปนความสุขอยางหนึ่ง แตพอเดินไมไดจะรูเ ลยวา ตอนทเ่ี ราเดนิ เหนิ ไดนัน้ เปน ความสุขมาก ๆ ตอนที่เรายังมีพอแมอยูกับเรา เราไมเคยตระหนักเลยวาเรามีความสุข ตอเม่ือสูญเสียทานไปจึงหวนระลึกไดวาตอนที่ทานยังอยูกับเรานั้นเปน ชวงเวลาท่ีเรามีความสุขมาก ถึงตอนนีเ้ ราจะอิจฉาคนทยี่ งั มบี ุพการีอยูครบ อาตมาถึงไดบอกวาความสุขมีอยูกับเราแลวเพียงแตวาเรามองไมเห็นเอง ถาเรามัวใสใจกับส่ิงที่เรายัง ไมมี จะไมมีประโยชนเลยเพราะมันเปนเรื่องของอนาคต ถาเรามัวเสียใจกับส่ิงที่เราเคยมีแตเสียไป สูญไป อันน้ันเรียกวายังหมกมุนอยูกับอดีตซ่ึงก็เปนเร่ืองท่ีไรประโยชนเชน กัน เพราะแกไขอะไรไมไดแลว แตถาเราหันมาใสใจปจจุบัน ชื่นชมปจ จุบัน เห็นคุณคา ของสิง่ ทีเรามี เชน สุขภาพ รา งกายทเ่ี ปน ปกติ เราจะมีความสุข พดู อยางนก้ี ไ็ มไดห มายความวา ถาหากเราตองสูญเสียอวัยวะบางสวนไปเราจะทุกข มันไมแนเสมอไป ทั้งน้ีเพราะวาเราก็ยังมีอีกหลายส่ิงหลายอยางท่ีจะใหความสุขกับเราไดแมวาเราจะไมมีแขนไมมีขาก็ตาม มีชายชาวญ่ีปุนคนหนึ่งชื่อ โอโตทาเกะ แกเขียนหนังสือขึ้นมาเลมหน่ึงช่ือวา “ ไมครบ 5 “ ไมครบ 5 ในที่น้ีคือ ไมมีแขน ไมขา เม่ือเกิดมามีแตตัวกับหัว หนังสือเลมน้ขี ายดีมากในประเทศญี่ปุน มีคนแปลเปน ภาษาไทยแลว มีตอนหนึ่งเขาเขียนวา “ ถึงแมวาผมจะเกิดมาพิการ แตผมก็มีความสุขและสนุกทุกวัน” เขาสามารถทําทุกอยางไดดวยตนเอง กินขาวแตงตัว เขียนหนังสือ และสามารถเลนบาสเกตบอลไดดวย เพราะท้ังหลายทั้งมวลมันอยูที่ใจ แตเปนเพราะเราไมเปด ใจยอมรับมากกวา เราจึงเปน ทกุ ข นีค่ อื ส่ิงท่อี าตมาอยากจะเนน แมเราจะอยูทามกลางอากาศรอน เราก็ยังมีความสุขได มีคนหน่ึงเขาเลาวา วันหน่ึงอากาศรอนมาก เขาจึงนั่งพักผอนในหองแอร ขนาดอยูในหองแอรก็ยังรูสึกอาว ตอนบาย เขาไดยินเสียงบุรุษไปรษณียตะโกนเรียกท่ีหนาบาน เขารูสึกหงุดหงิดมากเพราะไมอยากออกไปรับจดหมาย เนื่องจากอากาศขางนอกรอนมาก แตบุรุษไปรษณียก็ยังคงรออยูที่หนาบาน ไมไดรอเฉยๆ แตร อ งเพลงไปเร่ือยๆ เพราะเขารวู าในบา นมคี นอยู ในท่ีสุดเจาของบานก็ตองออกมารับจดหมายดวยสีหนาที่ไมพอใจ บุรุษไปรษณียยื่นจดหมายใหอยางอารมณดี เจาของบานถามไปวาอากาศรอนอยางนี้ยังมีอารมณรองเพลงอีกหรือ บุรุษไปรษณียตอบวาอยางไร เขาตอบวา ถาโลกรอน แตใจเราเยน็ มันก็เย็น รอ งเพลงเปนความสุขของผมอยางหนึ่ง สงไปรองไป เห็นไหม อากาศรอนก็จริงแตถาใจเราเย็น เราก็รสู กึ เย็น อากาศแมรุมรอนแตใจเยน็ กเ็ ปนสุขได 281

การพัฒนาตนบทสรปุ เม่ือกลาวถึงคําวา ความสุข ก็ปฏิเสธไมไดวาเปนส่ิงที่มนุษยทุกคนที่เกิดมานั้นตองการจะมี มีการใหคํานิยามคําวา สุข หรือ ความสุข แตกตางกันไป ในมุมมองของศาสนาซ่ึงเปนสิ่งที่มนุษยใชยึดเหนี่ยวจิตใจน้ัน ก็อาจมีนิยามของความสุขท่ีแตกตางกันไปในรายละเอียด แตหากพจิ ารณาถึงจดุ หมายปลายทางแลว จะพบไดวาคําสอนของทุกศาสนาก็จะมีปลายทางใหมนุษยไดพบกับความสุขอยางยั่งยืน แทจริง ไมวาจะเปนความวาง ดับกิเลส ดับความอยาก ความตองการเพื่อใหหลีกพนจากความทุกข ของพุทธศาสนา การกลับคืนสูความสัมพันธกับพระเจา และมีชีวิตนิรันดรในอาณาจักรของพระเจา ของศาสนาครสิ ต รวมไปถึงการไดไปพบกับพระเจา คือ อัลเลาะหของศาสนาอิสลาม หรือแมกระท่ังศาสนาอ่ืนๆที่ไมไดกลาวถึงในที่น้ี จะพบไดวา ความสุขนั้นเปนหนทางที่มนษุ ยท ุกคน ทุกเช้ือชาติ ทกุ ศาสนา ทกุ ความเชอื่ ตอ งการทีจ่ ะแสวงหา ความสุขน้ันเมื่อมองอยางผิวเผินแลวอาจพบวา การจะมีความสุขไดนั้น เกี่ยวของกับทุกสิ่งทุกอยางที่อยูรอบๆ ตัวเรา ไมวาจะเปนความรัก ความเอาใจใส การใหความสําคัญของพอแมญาติพี่นอง เพ่ือนฝูง รวมไปถึงชื่อเสียง เกียรติยศ วัตถุ สิ่งของทรัพยสมบัติ เงินทอง ของมีคาท่ีเราไดม าครอบครอง ตอบสนองความตองการในตัวเรา หากพิจารณาลงไปใหดีแลวจะพบวา ความสุข เปนเรื่องของจิตใจ ท่ีเราสรางมันขึ้นมาดวยตวั เอง สุขท่ตี ัวเราเอง เชนเดยี วกันกบั ความทกุ ข ทเี่ ปน สง่ิ ที่มนุษยทุกคนไมอยากได ไมตองการก็เปน สิ่งที่ตัวเราเองสรา งขน้ึ มาทัง้ สิ้น ทั้งสุขและทุกข อยูที่ตัวเราเอง เราเปนผูสรางมันข้ึนมา ดังน้ันแทท ่จี รงิ แลว เราเองสามารถท่จี ะกาํ หนดเลือกไดวา เราตองการความทุกข หรือความสุข ซึ่งก็คงไมมีใครท่ตี อ งการความทกุ ขอ ยแู ลว ทกุ คนตอ งการความสขุ เพยี งแตวา เรานําความสุข ท่ีเราสามารถสรา งและกําหนดไดเองนนั้ ไปผกู ติดอยูกับสิ่งตางๆ นอกตัวเรา ใหสิ่งอื่นภายนอกมาเปนตัวกําหนดท่ีจะใหหรือไมใหความสุขกับเรา ท้ังๆ ที่เราเองตางหากที่จะเปนผูกําหนดและสรางความสุขไดเองจากภายในตวั เรา และภายในจิตใจเราเอง282

การพัฒนาตนคาํ ถามทบทวน 1. ใหนกั ศึกษาอธบิ ายความหมายของคาํ วา ความสุข ตามความเขา ใจของนักศึกษา 2. ในทางพุทธศาสนาไดอธิบายความสุขไว 2 แบบ ไดแก โลกียสุขและโลกุตตระสุขใหน ักศกึ ษาอธิบายวา ความสุขทง้ั 2 แบบน้มี คี วามแตกตา งกนั อยางไร 3. หลักธรรมอริยสัจ 4 ของพุทธศานา ประกอบดวย หลักธรรมขอใดบางและมคี วามหมายอยา งไร 4. หลักอริยมรรค 8 ประการ เปนหลักการปฏิบัติใหเปนแนวทางนําไปสูความสุขสูงสุดในทางพระพทุ ธศาสนาความสขุ สงู สดุ หมายความวา อยางไร 5. การดําเนนิ ชวี ติ ตามคําสอนของศาสนาครสิ ตน ั้นมีจดุ มงุ หมายสงู สุดวา อยางไร 6. ใหน กั ศึกษาอธบิ ายความสขุ ตามคําสอนศาสนาครสิ ตว ามหี มายความวาอยางไร 7. หลักคําสอนของศานาอิสลามกลาวไววา การดําเนินชีวิตดวยการทําความดีที่มีหลักศรัทธาตอ อลั เลาะห และการทําความดีนั้นก็จะทําใหมนุษยดําเนินไปสูจุดหมายสูงสุด ใหนักศึกษาอธิบายวาจดุ หมายสงู สุดของศานาอิสลาม คอื อะไร 8. ความสุขในวัยรุนหรือวัยที่กําลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาน้ันมีความแตกตางจากความสุขในวัยเดก็ อยางไร 9. ลกั ษณะบคุ ลิกภาพท่ีดีท่จี ะนําพามาซ่งึ ความสขุ และความสาํ เรจ็ นั้นเปน อยางไร 10. นกั ศึกษาคิดวา เศรษฐีแสนลานจะเปน ผูที่มีความทุกขไดห รอื ไม อยางไร 283

การพฒั นาตน เอกสารอางองิความสุขในการทํางานกับพ้ืนฐานบุคลิกภาพ, http://th.jobsdb.com/th-th/articles/ความสุขใน การทาํ งาน-2, August 20, 2014.ความสุขในทางพุทธศาสนา, ทัศนคติ, มรรคมีองคแ ปด, ศาสนาคริสต, อรยิ สจั 4, https://th.wikipedia.org/เครอื ขายจิตอาสา Volunteer Spirit Network, รูส ติ วิถแี หงความสขุ ในสงั คมท่ีคิดตา ง ตามแนวทาง ของพระไพศาล วิสาโล, http://www.volunteerspirit.org/node/2293ทา นพทุ ธทาสภิกขุ สวนโมกข, https://www.facebook.com/ ThanPhuththThasPhikkhuSwnMokkh/มลู นิธชิ าวคริสตศาสนิกชนออรโธด็อกซในประเทศไทย, http://www.orthodox.or.th/พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542,”สุข”, http://rirs3.royin.go.th/พระไพศาล วิสาโล - Phra Paisal Visalo, https://www.facebook.com/visalo/พระสุริยัญ ชูชวย 2545, มหาวิทยาลัยมหิดล, “คุณคาของชีวิตและการแสวงหาความสุขตามคํา สอนของศาสนา”, http://www.thaicadet.org/Religious/GoodLife-Religious.htmlเว็บไซตวสิ าโล, http://www.visalo.org/สุริยัญ ชูชวย. (2545). การแสวงหาความสุขและคุณคาของชีวิต กรณีศึกษาทัศนะกลุมคนตางวัย ในกรุงเทพมหานคร, วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาจริยศาสตรศึกษา บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั มหิดลอลั กุรอาน, https://th.wikipedia.org/wiki/อัลกุรอานKasorn, \"ความสุข 360องศา\", 25 มค 2558, http://www.snc.lib.su.ac.th/snclibblog/The Islamic Foundation, คัมภีรของอัลเลาะห, http://www.islammore.com/284


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook