Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore GEH2201 การพัฒนาตน

GEH2201 การพัฒนาตน

Published by fastbad, 2016-07-07 04:34:12

Description: GEH2201 การพัฒนาตน

Keywords: การพัฒนาตน

Search

Read the Text Version

การพฒั นาตนมีอาการอยากยาเม่ือขาดยา , มีความต้องการเสพท้ังร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงและต่อเนื่อง,สุขภาพโดยทวั่ ไปจะทรดุ โทรมลง ประเภทของยาเสพติด การแบง่ ประเภทตามการออกฤทธติ์ อ่ ระบบประสาทสว่ นกลาง 1) ประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝ่ิน มอร์ฟีน เฮโรอีน ยากล่อมประสาทสารระเหย ยานอนหลับ เป็นต้น มักพบว่าผู้เสพติดมี ร่างกายซูบซีด ผอมเหลือง อ่อนเพลีย ฟุ้งซ่านอารมณ์ เปล่ยี นแปลงง่าย 2) ประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน กระท่อม โคคาอีนยาอี เอ็คตาซี เป็นต้นมักพบว่าผู้เสพติดจะมีอาการ หงุดหงิด กระวนกระวาย จิตสับสนหวาดระแวงบางครงั้ มีอาการคลุ้มคล่งั หรือทาในส่ิงท่ีคนปกติ ไมก่ ล้าทา เช่น ทารา้ ยตนเอง หรือฆ่าผ้อู ่นื เป็นต้น 3) ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มที เห็ดข้ีควาย ยาเคเป็นต้น ผู้เสพติดจะมีอาการประสาทหลอน ฝันเฟ่ืองเห็นแสงสีวิจิตรพิสดาร หูแว่ว ได้ยินเสียงประหลาดหรือเห็นภาพหลอนท่ีนา่ เกลยี ดน่ากลัว ควบคมุ ตนเองไม่ได้ ในทสี่ ุดมักป่วยเป็นโรคจิต 4) ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน ( อาจกด กระตุ้น หรือหลอนประสาทร่วมกัน ) ได้แก่ กัญชา เป็นต้นผู้เสพติดมักมี อาการหวาดระแวง ความคิดสับสนเห็นภาพลวงตา หูแว่วควบคุมตนเองไม่ได้และป่วยเปน็ โรคจิตได้ ลกั ษณะของผ้ตู ดิ ยาเสพติด ผู้ท่ีติดยาเสพติด จะมลี ักษณะ และความประพฤตเิ ปล่ียนแปลงไป ที่พอจะสงั เกตได้ คือ ความเปล่ียนแปลงทางรา่ งกาย (1) สภาพร่างกายทรุดโทรม ผอมซูบซีด ไมม่ แี รง ตาแดงช้า น้ามูกไหล เหง่อื ออกมาก รมิ ฝีปากเขียวคล้า แห้ง แตก ออ่ นแอ ข้ีโรค (2) มรี อยฉีดยา หรือรอยแผลเป็น ทถ่ี ูกกรดี ดว้ ยของมคี ม จากการทารา้ ย ตนเอง จนต้องสวมเส้ือแขนยาว เปน็ ประจา เพื่อปกปิดรอยแผล (3) มักสวมแว่นกนั แดดสีเขม้ เพ่ือป้องกันแสงสว่าง เนื่องจากม่านตาขยาย ความเปลี่ยนแปลงทางจติ ใจ และความประพฤติ (4) อารมณห์ งุดหงดิ ฉุนเฉียว หรือเงียบขรึมผิดปกติ (5) ง่วงเหงาหาวนอน ต่ืนสายผิดปกติ 189

การพฒั นาตน (6) เกยี จคร้าน เบ่ือหน่ายการเรียน การงาน (7) ชอบแยกตัวไปอยูต่ ามลาพงั ทาตัวลึกลบั ไมเ่ ขา้ หน้าผู้อืน่ (8) ใชเ้ งนิ เปลอื งผิดปกติ (9) ขโมยของฉกชิงวงิ่ ราว เพือ่ หาเงนิ ไปซอ้ื ยาเสพติด (10) ไม่สนใจตนเอง หรือแต่งกายไม่สุภาพ (11) เบ่ืออาหาร หรือไมร่ บั ประทานอาหารตามปกติ โทษของการติดยาเสพติด (1) ทาให้ร่างกายทรุดโทรม อ่อนแอ เกิดโรคตา่ งๆ ได้ง่าย (2) ทาให้สมองเส่ือมโทรม เปน็ บุคคลไร้ความสามารถ (3) อาจจะติดโรคเอดส์ได้ ถ้าใชเ้ ข็มฉีดยาร่วมกนั ในกรณีทเ่ี สพยาโดยวธิ ฉี ดี เน่อื งจากมเี ลอื ดของผมู้ เี ช้ือเอดส์ค้างอยู่ (4) ไม่สามารถบังคับใจตนเอง เป็นเหตใุ ห้ทาผิดศลี ธรรม หรือผดิ กฎหมาย (5) เสียทรัพย์ (6) สังคมรังเกยี จ (7) มคี วามผิดทางกฎหมาย ยาเสพตดิ ท่ีแพร่หลายในประเทศไทย สมัยก่อนยาเสพติดทแี พรร่ ะบาดมากทสี่ ุดในประเทศเราคือเฮโรอีน แต่ในปัจจบุ ันน้ียาเสพติดทีก่ าลงั แพร่ ระบาดมากท่ีสุดได้แก่ ยาบา้ ยาอี และสารระเหยกาลงั แพร่ระบาดเข้าสูก่ ลุม่วยั รุน่ และสถาบันการศึกษาอย่างน่าเป็นห่วงยิ่ง แตท่ ั้งนี้บุหรี่และสรุ าหรือเหลา้ ยังคงเปน็ ยาเสพติดท่ีถูกกฎหมายท่ตี ้องสรา้ งความเข้าใจในพษิ ภัยและผลจากการเสพ บุหร่ี การสบู บหุ ร่ี เปน็ ปญั หาเกี่ยวกับสุขภาพอนามยั ท่ีอาจบ่นั ทอนและลดอายุของผู้สูบบุหร่ีโดยเฉลี่ยแลว้ 5-10 ปี สารอันตรายในบุหรี่ ควันบุหร่จี ะประกอบไปด้วยสารเคมที ี่มีอันตรายต่อสขุ ภาพกายของคนเราประมาณ 4000 ชนิด ซึ่งแบ่งเปน็ กลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 3 กลมุ่ คือ กลมุ่ แรกไดแ้ ก่ ทาร์ หรือ นา้ มนั ดิน หรือทีเ่ ห็นเปน็ คราบบุหรี่ เป็นที่รวมของสารเคมีทนี่ า่ กลัวทส่ี ุด ในกลุ่มของไฮโดรคาร์บอนจะรวมตวั เป็นเปน็ สารทมี่ ีความเหนียวติดอยู่กบั เนอ้ื ปอด มี190

การพฒั นาตนคณุ สมบัตเิ ป็นสารก่อมะเร็งโดยตัวของมนั เอง และยังมสี ารท่ีเรง่ การเจริญเติบโตของมะเร็ง หากผสู้ ูบบุหรน่ี ้ันมีมะเรง็ อยู่ในรา่ งกายแล้ว กล่มุ ที่สอง ไดแ้ ก่ นิโคตนิ ซ่ึงจดั เป็นสารที่มีการกระตุ้นสมองและประสาทสว่ นกลางไดใ้ นระยะแรก แต่ระยะตอ่ มาจะมฤี ทธก์ิ ดระบบประสาท นอกจากนี้ยังทาให้เสน้ เลือดหดตวั มผี ลทาใหค้ วามดันโลหิตสงู ขน้ึ กระต้นุ หัวใจใหเ้ ต้นเร็วขนึ้ ด้วย นโิ คตนิ นี่เองทม่ี สี ว่ นทาให้คนท่ีสบู บุหรอ่ี ยากสูบอย่เู รือ่ ย ๆ กลมุ่ ทส่ี าม ไดแ้ ก่ กา๊ ซคาร์บอนมอนอกไซด์ ซงึ่ มคี วามเข้มขน้ สูงในควนั บุหร่จี ะไปขัดขวางการรับออกซิเจนของเมด็ เลอื ดแดง ทาให้ไขมันพอกพนู ตามผนงั เส้นเลือดมากขน้ึ ทาใหเ้ ส้นเลือดตบี สายตาเสอ่ื ม ลดประสทิ ธิภาพในการตัดสินใจและลดการตอบสนองต่อเสียง ซ่ึงเป็นอันตรายตอ่คนขบั รถ นักบิน และ ลดสมรรถภาพของนักกฬี าดว้ ย โรคต่าง ๆ ทีเ่ กิดจากการสูบบหุ ร่ี โรคมะเรง็ ปอด เกิดจากสารมีพิษในบหุ รี่ คือ “ทาร”์ อตั ราการตายด้วยโรคมะเรง็ปอดในผู้สบู บุหรี่เม่ือเปรยี บเทียบกับผไู้ ม่สูบบุหรี่ มอี ัตราส่วนสูงกวา่ ถงึ 10 : 1 หากแพทยต์ รวจพบเช้ือในระยะแรก และไดร้ ับการผา่ ตัดเอากอ้ นมะเร็งออกไดห้ มดจะยงั มโี อกาสหายขาดได้ แต่ผู้ป่วยสว่ นใหญเ่ มอ่ื มาพบแพทย์ และวนิ จิ ฉัยได้ ระยะทาการรกั ษาหรอื ผ่าตัดให้หายขาดได้ โรคหัวใจ และหลอดเลือด เกิดจากสารนิโคตินในบหุ ร่ี ซึ่งเปน็ สารทมี่ ีพิษ และอนั ตรายทาใหห้ วั ใจ หลอดเลือด กระเพาะอาหาร ลาไส้ และระบบประสาททางานผิดปกติ ทาให้ความดนัเลือดเพ่ิมขึ้น หัวใจเต้นเร็วข้ึน เกดิ การระคายเคอื งต่อกล้ามเนื้อหัวใจ และเกิดภาวะหลอดเลือดท่ัวไปหดตวัอัตราการเปน็ โรคหัวใจขาดเลอื ดในชายที่สูบบหุ ร่จี ะมมี ากกว่าในชายท่ีไม่สงู บุหร่ีประมาณร้อยละ 60-70และในหญิงท่ีสบู บุหรซ่ี ง่ึ รบั ประทานยาคมุ กาเนิดด้วยจะมีโอกาสเปน็ โรคน้มี ากว่าหญงิ ทไ่ี ม่สบู บหุ ร่ี และไม่รับประทานยาคมุ กาเนดิ ถงึ 10 เทา่ นอกจากนี้การสบู บุหรี่ยงั ทาให้เกิดหลอดเลือดในสมองอดุ ตันเปน็อมั พาต หลอดเลือดตามแขนขาอุดตันเปน็ แผลตามผวิ หนังจากการขาดเลือด และมีการสะสมของไขมันตามผนงั ของหลอดเลือดขนาดกลาง และใหญ่ โรคหลอดลมอักเสบเรอื้ รงั และถุงลมโป่งพอง เป็นโรคทีพ่ บบอ่ ยมากในผู้ชายมากวา่ ผหู้ ญงิ และสาเหตสุ าคญั ทส่ี ดุ ของการเกดิ โรคน้ีก็คือ การสูบบหุ ร่ี ผู้ป่วยจะมีอาการไอเรื้อรัง มเี สมหะเหน่อื ยง่าย เม่อื เป็นแลว้ ไม่มีทางที่แพทย์จะรกั ษาใหห้ ายขาดได้ เม่ือเป็นมากข้ึนจะทาอะไรไม่ไหว แม้จะอาบน้าหรือหวีผมก็เหนอ่ื ย ต้องดมออกซิเจนรอความตายอยา่ งทรมานในระยะสุดท้าย ถ้าเลกิ สูบบหุ ร่ีได้อาจทาให้อาการดีข้ึนแตไ่ มห่ ายขาด 191

การพัฒนาตน โรคแผลในกระเพาะอาหาร ในปจั จบุ นั พบวา่ มผี ู้ที่เป็นโรคแผลในกระเพาะอาหารมากข้นึ เปน็ 2 เทา่ ในพวกท่ีสูบบุหร่ี เพราะการสบู บหุ รที่ าให้มภี าวะไม่สมดุลในการหล่งั ของกรด และด่างในกระเพาะ ผลร้ายต่อเด็กในครรภ์ และทารก มารดาทสี่ ูบบุหร่ีระหวา่ งตัง้ ครรภ์มผี ลต่อเด็กทารกคอื - ทารกเลก็ กว่าปกติ และนา้ หนกั ตวั เด็กเม่ือแรกเกิดตา่ กว่าเด็กที่ มารดาไม่สบู บหุ ร่ี - ระยะเวลาการตง้ั ครรภส์ ้ันลง มผี ลทาใหเ้ ด็กคลอดก่อนกาหนด และ มโี อกาสเสียชวี ิตได้มาก - อตั ราการแทง้ สูงข้นึ และค่อนขา้ งจะเรยี นร้ชู ้ากวา่ ปกติ - โอกาสทีจ่ ะเกิดโรคแทรกซ้อนระหว่างตงั้ ครรภ์ และคลอดบุตร เพม่ิ ขึ้น - มีความพกิ ารแตก่ าเนิด - การหล่งั น้านมจะลดคณุ ภาพของน้านม โดยมีสารเคมีซ่งึ ไมจ่ าเป็น ทต่ี ้องการไปสเู่ ด็ก การที่คนเราหายใจเอาควันบุหรี่ หรือสูดควันบุหร่ีในสิ่งแวดล้อมที่มีการสบู บหุ ร่ี ไม่วา่ จะเปน็ ทบี่ ้าน ทท่ี างาน ร้านอาหาร หรือท่ีใดก็ตาม เราเรียกว่า ผู้สูบบุหร่ีมือสองการหายใจเอาควนั บุหรที่ ี่ผู้อนื่ สูบเข้าสู่ปอด ควนั บหุ รที่ ีล่ ่องลอยอยู่นั้น จะประกอบด้วยควันบุหร่ีท่ีผู้สูบบุหร่ีพ่นออกมา และควันที่ลอยจากปลายมวนบุหร่ีท่ีอยู่ระหว่างการสูบ โดยควันบุหรี่ที่พ่นจากปากผู้สูบจะมสี ารพษิ น้อยลง เน่อื งจากปอดของผู้สูบได้ดูดซับสารพิษบางส่วนไว้แล้ว ขณะที่ควันท่ีลอยจากปลายมวนบุหรี่ขณะท่ีไม่ได้สูบ มีความเข้มข้นของสารพิษสูงกว่าและมีขนาดเล็กกว่าควันทถี่ กู พน่ ออกจากปากผสู้ ูบ จงึ สามารถผ่านลงไปในปอดไดล้ ึกกวา่ จากการตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะ เลือด และน้าลาย สามารถพิสูจน์ได้ว่าการหายใจเอาควันบุหรี่ในอากาศรอบตัวโดยไม่ได้สูบบุหร่ีทาให้รับสารพิษจากควันบุหรี่เข้าสู้ร่างกายได้192

การพฒั นาตน สุราหรือแอลกฮอล์ ปัญหาของวัยรุ่นในการด่ืมเครื่องด่ืมที่มีแอลกอฮอล์ผสม ไม่ว่าจะเป็นเหล้า เบียร์ ไวน์ มีมากขึ้นเรื่อยๆ ในทุกประเทศ เพราะวัยรุ่นเป็นวัยท่ีชอบทดสอบสิ่งต่างๆโดยเฉพาะวัยรุ่นในครอบครัวท่ีมีปัญหา และในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาขึ้น ในวัยที่อายุน้อยลงเร่อื ยๆ จากสถิตขิ องประเทศสหรัฐอเมริกา อายุเฉลี่ยท่ีเด็กวัยรุ่นเร่ิมด่ืมเหล้า เบียร์ หรือไวน์คืออายุ 12 ปี และในแตล่ ะปี จะมีวัยรุ่นจานวน 4 ล้าน 6 แสนคน อายุระหว่าง 14-17 ปี มีปัญหาที่เก่ียวข้องกับการดื่ม เช่น การเรียนตกต่าลง มีปัญหากับผู้ปกครอง และมีความประพฤติส่อไปในทางการเกิดอาชญากรรม จนบางคนถึงขนาดถูกจับกมุ ดาเนินคดี ผทู้ ี่ยงิ่ เริ่มดื่มตัง้ แตอ่ ายนุ อ้ ยๆ เทา่ ใด ผู้นน้ั มโี อกาสมีปัญหามากเท่าน้ันและมีแนวโน้มท่ีจะติดยาเสพติดร่วมด้วยเสมอ โดยเฉพาะเด็กในวัยน้ี จะอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มเป็นการยากท่ีจะหยุดได้ ถ้าหากยังอยู่ในแวดวงสิ่งแวดล้อมเดิม นอกจากน้ีตามสถิติของการเกิดอุบัติเหตทุ างรถยนต์ทเ่ี กิดในหมู่วยั รุ่นพบวา่ มากกวา่ 50 เปอร์เซ็นต์ วัยรุ่นเหล่านั้นมีประวัติการดื่มสุราก่อนเกิดอุบัติเหตุ รวมทั้งวัยรุ่นท่ีประสบอุบัติเหตุตกจากที่สูง จมน้าตาย ล้วนแล้วแต่เก่ียวข้องกับการด่ืมเหล้าดม่ื เบียร์ทง้ั สิ้น ปรมิ าณแอลกอฮอลล์ในเครื่องดม่ื แตล่ ะชนดิ แอลกอฮอลล์ที่ใช้สาหรับดื่มจะเป็นชนิด เอทิลแอลกอฮอล์ หรือเรยี กวา่ เอทธานอล โดยมีปรมิ าณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 50 เปอร์เซนต์ โดยปริมาตร การดื่มเคร่ืองดื่มที่มีแอลกอฮอลล์ผสม ท่านควรจะทราบปริมาณแอลกอฮอลล์ท่ีผสมอยู่ในเครื่องดื่มแต่ละประเภทดังน้ี 1) ประเภท วิสกี้ ยนิ วอทก้า บร่ันดี และเหล้าทั้งหลาย จะมีปริมาณแอลกอฮอลล์ประมาณ 40-50 เปอร์เซน็ ต์ โดยปริมาตร 2) ประเภทไวน์ โดยทั่วไปจะมีปริมาณแอลกอฮอลล์ ประมาณ 12-15 เปอรเ์ ซน็ ต์โดยปริมาตร และไม่ขึน้ กบั รสชาดของไวนน์ ะคะ 3) ป ร ะ เ ภ ท ไ ว น์ คู ล เ ล่ อ ร์ แ ม้ ว่ า จ ะ มี ร ส ช า ติ ค่ อ น ไ ป ท า งซอฟท์ ดรงิ้ ท์ ไวน์คลู เลอ่ ร์ จะมีปริมาณแอลกอฮอลล์ประมาณ 3-5 เปอร์เซน็ ต์ โดยปรมิ าตร 4) ประเภ ทเบียร์ ไ ล้ท์เบียร์ในต่าง ประเทศ จะมีปริมาณแอลกอฮอลล์ประมาณ 3.5 เปอร์เซ็นต์ ต่ากว่าเบียร์ท่ัวๆไปท่ีมีแอลกอฮอล์ 5 เปอร์เซ็นต์ สาหรับเบียรใ์ นประเทศไทย จะมปี ระมาณแอลกอฮอล์อยูท่ ี่ 10-12 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตร 193

การพัฒนาตน ปรมิ าณของการดมื่ การดืม่ และผลที่เกิดในแต่ละคนขึ้นกับอัตราการดูดซึมแอลกอฮอล์เข้าส่กู ระแสเลือดในคนแตล่ ะคนอาจแตกต่างกนั ไป ดว้ ยเหตผุ ลดงั ตอ่ ไปน้ี (1) รูปร่างของผู้ท่ีดื่ม ผู้ท่ีรูปร่างสูงใหญ่ย่อมมีปริมาณของเลือดมากกวา่ คนตวั เลก็ ปริมาณของแอลกอฮอล์ในเลือดอาจขนึ้ ชา้ ๆ เชน่ เดยี วกับการขับถ่ายอาจต้องใช้เวลามากกว่าคนตัวเล็ก (2) การรับประทานอาหารระหว่างการดื่ม ผู้ท่ีมีอาหารอยู่ในกระเพาะหรอื ลาไส้ จะมผี ลทาใหก้ ารดูดซึมของแอลกอฮอล์เข้าสกู่ ระแสเลือดช้าลงกวา่ ผู้ที่ท้องว่าง (3) ความเร็วของการดื่ม รวมท้ังชนิดของเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์น้ันๆ ด้วย ถ้าท่านด่ืมด้วยความรวดเร็ว หรือด่ืมสุราเพียวๆ เข้าไป ปริมาณแอลกอฮอล์ในกระแสเลือดกจ็ ะข้นึ สูงอยา่ งรวดเรว็ โดยเฉพาะอย่างยิ่งขณะท่กี ระเพาะอาหารว่าง (4) ปริมาณของแอลกอฮอล์อาจต้องการเพิ่มขึ้นเร่ือยๆ ในรายท่ีดื่มเป็นประจา เพราะร่างกายคุ้นเคย บางท่านอาจมีระดับแอลกอฮอล์ในเลือดสูงมาก ถ้าเป็นในคนท่ัวๆไป อาจจะเมาเหล้าอยา่ งหนกั ไปแล้ว แต่ผ้ทู ดี่ ่ืมเป็นประจาอาจจะยังพูดรู้เร่ืองดี แต่ผลเสียก็คือระดับของแอลกอฮอล์ที่มาก จะมีผลรา้ ยตอ่ ตบั สมอง และอวัยวะอื่นๆ มากกว่าปกติ ในสุภาพสตรี มีความแตกต่างของระบบน้าย่อยในกระเพาะอาหารของผู้หญิงและผู้ชาย และเน่ืองจากผู้หญิงมีเซลล์ไขมันมากกว่าผู้ชาย และเซลล์ไขมันไม่สามารถดูดซึมแอลกอฮอล์ได้ ทาให้การด่ืมเหล้าขนาดเท่ากัน ระดับแอลกอฮอล์ในเลือดของผู้หญิงจะสูงกวา่ ข้อแนะนาในการดื่ม ข้อแนะนาในการที่ดื่มมีดังน้ี ท่านควรทราบและรู้ปริมาณการดื่มท่ีเหมาะสมของตวั ทา่ นเองและควรจะเครง่ ครัดปฏิบัตติ ามที่ท่านได้ตดั สินใจเอาไว้แล้วอย่างเสมอต้นเสมอปลาย (1) ท่านควรที่หัดพูดปฏิเสธ คนส่วนใหญ่ด่ืมเบียร์ ไวน์ หรือเหล้าเพราะไมอ่ ยากปฏเิ สธเพ่อื นฝงู ที่กาลงั ด่ืมกนั อยู่ ถา้ ท่านสามารถปฏิเสธการด่ืมได้ ท่านก็ควรปฏิเสธไปเลย ไม่มใี ครมาบังคับท่านได้ และไม่เป็นการเสยี มารยาทแต่อย่างใด แต่ถ้าหากท่านดื่มไปจนถึงจานวนที่คดิ วา่ เพียงพอสาหรับตัวท่านแล้ว ท่านควรที่จะหยุดด่ืมเคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล์น้ัน ๆ ได้แลว้ โดยท่านอาจจะดื่มน้าผลไม้ นา้ อัดลม หรอื น้าเปล่าแทน194

การพัฒนาตน (2) ทา่ นควรดืม่ อยา่ งช้าๆ ไม่ว่าท่านจะด่ืมเหล้า เบียร์หรือไวน์ ท่านควรค่อยๆ ด่ืมทีละน้อย อาจจะผสมเหล้าให้บางหน่อยเพื่อที่จะได้ด่ืมตลอดงานนั้นๆ ไม่เกินปรมิ าณการด่มื ทีท่ า่ นไดต้ ัง้ ใจเอาไว้ (3) ท่านไม่ควรนั่งดื่มแต่เพียงผู้เดียว ท่านควรด่ืมเหล้า เบียร์ หรือไวน์เฉพาะในงานสังคมเท่านั้น ถ้าท่านอยู่คนเดียว การดื่มเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น น้าผลไม้ น้าส้มน้าชาหรือกาแฟ พร้อมกับนั่งอ่านหนังสือหรือฟังเพลงสบายๆ น่าจะดีกว่าการดื่มเครื่องด่ืมที่มีแอลกอฮอล์อยู่ด้วยข้อแนะนา : แม้ว่าการดื่มในปริมาณน้อยจะมีอันตรายไม่มากต่อสุขภาพของท่านก็ตาม แต่ส่วนใหญ่ผู้ท่ีด่ืมในปริมาณน้อยตั้งแต่เร่ิมแรกและด่ืมเป็นประจา จะค่อย ๆ เพ่ิมปรมิ าณดืม่ มากข้ึนเรือ่ ยๆ จนทาใหม้ ีปัญหาตอ่ สุขภาพได้ในท่ีสุด ผลกระทบที่เกิดข้นึ จากการด่ืมสุรา หรอื แอกอฮอล์ (1)สรุ ากับอุบตั เิ หตุ ถ้าหากท่านจะตอ้ งไปร่วมงานเลี้ยงสังสรรค์ ที่มีการดื่มสุรา เบียร์ หรือไวน์ในงานนั้น ๆ วิธีท่ีปลอดภัยที่สุด ถ้าท่านเป็นผู้ที่ด่ืมด้วยก็คือการอาศัยกลับบ้านกับเพื่อนที่ไม่ดื่ม หรืออาจจะกลับโดยรถแท็กซ่ีก็ได้ เพราะจากสถิติของอุบัติเหตุทางรถยนต์หรือจักรยานยนต์ พบว่ามากกว่า80 เปอร์เซ็นต์มีความเก่ียวข้องกับการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ด้วยเสมอ ๆ ทาให้เกิดโศกนาฎกรรมบ่อย ๆ การเสยี ชีวติ ก่อนวัยอันสมควร และบางคนอาจพิการตลอดชีวิตต้ังแต่อายุได้ไม่มาก (2)โรคพษิ สรุ าเรือ้ รงั ในปัจจุบันโรคพิษสุราเร้ือรังเป็นปัญหาของสังคมมากขึ้นเรื่อยๆ ซ่ึงอาจจะเป็นเพราะสังคมมีการเปล่ียนแปลงไป การใช้ชีวิตท่ีต้องอาศัยการด่ืมเหล้า เบียร์ หรือไวน์เพอ่ื การสังคม เพอ่ื สนกุ สนานร่ืนเรงิ เพือ่ การเฉลิมฉลองในทกุ โอกาส จนอาจกล่าวได้ว่า วัฒนธรรมการใช้ชวี ิตของมนุษย์น่เี อง ท่ีทาให้เกดิ ปญั หาโรคพิษสุราเร้ือรงั สาหรับอาการเริ่มแรกของผู้ที่มีปัญหาโรคพิษสุราเร้ือรัง ได้แก่ การด่ืมที่มากขึ้นเรื่อย ๆ ถ่ีข้ึนเร่ือย ๆ จนกระท่ังเป็นการด่ืมทุกวัน โดยส่วนใหญ่จะอ้างถึงเพื่อการสังคมเพือ่ เปน็ การคลายความเครียดของการทางาน และเรอื่ งส่วนตัวต่าง ๆ ข้อสังเกตของผู้ที่ติดสุรา เมื่อต่นื นอนมักจะจาเหตุการณ์ในคนื ก่อนไม่ค่อยได้ ต่อมาอาจจะต้องนาสุราแอบไว้ตามท่ีต่าง ๆ ไม่ว่าจะเปน็ ท่ที างาน ในบ้าน คนเหลา่ นีม้ ักจะอายที่คนรู้ว่าตนเองติดสุรา บางคร้ังอาจโมโหฉุนเฉียวง่ายถ้ามีคนกล่าวถึงการติดสุราของตนเอง และมักชอบปฏิเสธเสมอ ๆ ว่าตนเองไม่ได้ติดสุรา คน 195

การพัฒนาตนเหล่านม้ี กั มีความกลวั และหวาดระแวงอย่างไม่มีเหตุผล ความจาและสมรรถภาพในการทางานจะลดลงเรื่อย ๆ หน้าตาอาจจะแดงหรือหมองคล้า มีจ้าเขียวช้าตามร่างกาย เสียงแหบแห้ง มือส่ันและมักมอี าการของกระเพาะอาหารอกั เสบเร้ือรงั โรคพษิ สุราเรือ้ รงั พบได้มากในผ้ชู าย จากสถิติของสหรัฐอเมริกาพบในผ้ชู ายประมาณ 9 % พบในผหู้ ญิงประมาณ 4 % อายุส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 35-55 ปี ส่วนใหญ่ไม่เชื่อว่าเป็นปัญหาของกรรมพันธ์ แต่ครอบครัวไดที่พ่อแม่มีปัญหาโรคพิษสุราเร้ือรัง ลูกหลานมีแนวโน้มที่จะเกิดสูงกว่าครองครัวอื่น ซ่ึงเช่ือว่าเกิดจากสภาวะแวดล้อมมากกว่าปัญหาแทรกซ้อนของโรคพิษสุราเรื้อรังเกิดขึ้นได้กับอวัยวะอื่น ๆ ในร่างกายเกือบทุกระบบ เช่น ทาให้เกิดโรคตับแข็งประมาณ 20 % ทาให้เกิดตับอักเสบได้ง่าย ทาให้เกิดโรคเก่ียวกับกระเพาะอาหาร โรคหัวใจ และโรคทางสมองได้ง่ายเนอื่ งจากคนเหล่านี้ส่วนใหญ่จะมีปัญหาเรื่องขาดสารอาหารด้วย โดยเฉพาะอย่างย่ิงวิตามนิ บี โรคตบั แข็ง ตับแข็งเป็นโรคเรื้อรังท่ีเกิดข้ึนกับเซลล์ของตับ ทาให้การทาหน้าท่ีของตับลดน้อยลงเรื่อย ๆ เพราะจานวนเซลล์ของตับจะน้อยลง และถูกแทนท่ีด้วยเนื้อเย่ือที่มีลักษณะเหมือนแผลเป็น ซ่ึงไม่สามารถทาหน้าท่ีเหมือนเซลล์ตับปกติได้ ตับถือเป็นส่วนหนึ่งของระบบทางเดินอาหารร่วมกับถุงน้าดีและตับอ่อน มีหน้าท่ีสาคัญ ๆ ต่อร่างกายหลายประการ เช่น การปรับระดับส่วนประกอบที่สาคัญของเลือด มีส่วนในการผลิตน้าดี เพ่ือการย่อยอาหารประเภทไขมัน การทาลายสารพิษบางอย่างที่เข้าสู่ร่างกายโดยเฉพาะแอลกอฮอล์ สาเหตุส่วนใหญ่ท่ีทาให้เกิดโรคตับแข็ง ได้แก่ โรคพิษสุราเรื้อรัง โรคตับอักเสบ โรคขาดอาหาร พยาธิในตับ สารเคมีหรือยาบางอย่าง และภาวะหัวใจล้มเหลวจากการค่ังของเลือด สาหรับอาการเร่ิมแรกอาจมีเล็กน้อย ถ้าร่างกายสามารถปรับสภาพการทางานได้ ต่อมาจะทาให้เกิดเบ่ืออาหาร น้าหนักลดลง คล่ืนไส้อาเจียน มีความรู้สึกหดหู่ ไม่กระตือรือร้น อ่อนเพลีย อาหารไม่ย่อย มีอาการท้องอืดแน่น และตามร่างกายทั่วไปจะมีเลือดออกง่าย ทาให้มีรอยเขียวช้าเป็นจ้า ๆผวิ หนังบริเวณใบหนา้ หน้าอกและแขน จะเห็นเส้นเลือดเล็กๆ เป็นคล้ายใยแมงมุม เมื่อมีอาการมากข้ึนจะพบว่ามีตาเหลือง ตัวเหลือง ผู้ชายจะมีการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ผู้หญิงอาจพบว่าไม่มีประจาเดือนมา อาจมีบวมบริเวณขาและท้อง ความจาเสื่อม มือสั่น ความจาอาจสับสน ซึมลง หากตับเสียหน้าท่ีมาก ๆ อาจทาให้เกิดตับวาย มีอาการหมดสติและมีโอกาสเส่ียงต่อการเสียชีวิตจากการเสียเลอื ด เพราะเสน้ เลือดดาของหลอดอาหารท่ีขยายใหญ่ขน้ึ และแตกไดง้ า่ ย เฮโรอีน เฮโรอนี เป็นยาเสพติดท่ีได้จากการสงั เคราะหท์ างเคมจี ากปฏกิ ิรยิ าระหว่างมอร์ฟีนกับสารเคมีบางชนิด เช่น อาเซติคแอนไฮไดรด์ (Aceticanhydride) หรือ อาเซติลคลอไรด์196

การพัฒนาตน(Acetylchloride) หรือเอทิลิดีนไดอาเซเตท (Ethylidinediacetate) โดยนักวิจัยชาวอังกฤษ ชื่อC.R. Wright ได้ค้นพบวิธีการสังเคราะห์เฮโรอีนจากมอร์ฟีน โดยใช้น้ายาอาเซติคแอนไฮไดรด์(Aceticanhydride) บริษัทผลติ ยาไบเออร์ (Bayer) ได้นามาผลิตเป็นยาออกสู่ตลาดโลก ในช่ือทางการค้าว่า \"Heroin\" และถูกนามาใช้ทดแทนมอร์ฟีนอย่างแพร่หลาย หลังจากที่มีการใช้เฮโรอีนในวงการแพทย์มานานถึง 18 ปี จึงทราบถึงอันตราย และผลท่ีทาให้เกิดการเสพติดให้โทษท่ีร้ายแรงจนปี พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ออกกฎหมาย ระบุให้เฮโรอีนเป็นยาเสพติดให้โทษ ห้ามมใิ ห้ผใู้ ดมีไว้ในครอบครอง หลังจากน้ันต่อมาอีก 35 ปี คือเม่ือปี พ.ศ. 2502 เฮโรอีนจึงได้แพร่ระบาดสปู่ ระเทศไทย และในปี พ.ศ. 2504 ประเทศไทยจงึ ออกกฎหมาย ระบุให้เฮโรอีนและมอร์ฟีนเป็นยาเสพติดให้โทษเฮโรอีนออกฤทธ์ิแรงกว่ามอร์ฟีนประมาณ 4-8 เท่า และออกฤทธ์ิแรงกว่าฝ่ินประมาณ 30-90 เท่า โดยทั่วไปเฮโรอีนจะมีลักษณะเป็นผงสีขาว สีนวล หรือสีครีม มีรสขม ไม่มีกลิ่น และแบ่งได้เป็น 2 ประเภทเช่นเดียวกับมอร์ฟีน ได้แก่ เฮโรอีนเบส (Heroin base) ซ่ึงมีคุณลักษณะเด่น คือ ไม่ละลายน้า ส่วนอีกประเภทหน่ึง คือ เกลือของเฮโรอีน (Heroin salt) เช่นเฮโรอนี ไฮโดรคลอไรด์ (Heroin hydrochloride) ประเภทของเฮโรอีนท่แี พรร่ ะบาดในประเทศไทย แบ่งเป็น 2 ชนดิ คอื (1) เฮโรอนี ผสม หรอื เรียกวา่ เฮโรอนี เบอร์ 3 หรอื ไอระเหย เป็นเฮโรอนี ทม่ี ีความบริสทุ ธิ์ต่า เนื่องจากมกี ารผสมสารอ่ืนเข้าไปด้วย เชน่ ผสมสารหนู สตริกนนิ ยานอนหลับ กาเฟอนี แป้ง นา้ ตาลและอาจผสมสี เช่น สีม่วงออ่ น สีชมพูออ่ น สีน้าตาล อาจพบในลกั ษณะเป็นผง เป็นเกล็ด หรืออัดเป็นก้อนเล็ก ๆ มีวิธีการเสพโดยการสดู เอาไอสารเข้าร่างกาย จงึเรยี กวา่ \"ไอระเหย\" หรอื \"แคป\" (2) เฮโรอีนเบอร์ 4 เปน็ เฮโรอนี ไฮโดรคลอไรด์ท่ีมีความบริสุทธสิ์ งู มีลกั ษณะเปน็ ผงละเอียด หรือเปน็ เมด็ คลา้ ยไขป่ ลา หรือพบในลกั ษณะอัดเปน็ ก้อนสเี่ หลย่ี มผนื ผา้มกั มีสีขาวหรือสีครมี ไม่มกี ลิน่ มรี สขม เป็นทร่ี จู้ ดั ท่ัวไปวา่ \"ผงขาว\" มักเสพโดยนามาละลายนา้ และฉีดเข้ารา่ งกาย หรือผสมบหุ รี่สบู อาการผู้เสพ (1) มีอาการปวดกล้ามเน้ือ ปวดกระดูก ปวดตามขอ้ ปวดสนั หลังปวดบน้ั เอว ปวดหวั รนุ แรง 197

การพัฒนาตน (2) มีอาการจุกแนน่ ในอก คล้ายใจจะขาด ออ่ นเพลยี อย่างหนัก หมดเรยี่ วแรงมีอาการหนาว ๆ ร้อน ๆ อึดอัดทุรุนทรุ าย นอนไม่หลับ กระสับกระสา่ ย บางรายมีอาการชกัตาต้ัง น้าลายฟมู ปาก ม่านตาดาหดเลก็ ลง (3) ใจคอหงุดหงิดฟุง้ ซ่าน มึนงง หายใจไม่ออก (4) ประสาทเส่ือม ความจาเส่อื ม โทษทางร่างกาย (1) โทษต่อผิวหนัง เป็นอาการท่ีทาให้เส้นเลือดใต้ผิวหนังเกิดอาการขยายตัว เกิดเป็นตุ่มแดงเล็ก ๆ ขึ้นบริเวณผิวหนังและกระตุ้นสารฮิสตามีน (Histamine) และกระตุ้นต่อมเหง่ือด้วย อาการน้ีพบเห็นได้ หลังจากผู้เสพเฮโรอีนใหม่ ๆ จะมีอาการคันใต้ผิวหนังจึงแสดงอาการเกา หรือลูบบริเวณใบหนา้ ลาคอ นอกจากน้ผี ูเ้ สพจะมีเหงอ่ื ออกมากกวา่ ปกตแิ ละขนลุก (2) โทษตอ่ ลาไส้ ทาให้ลาไสบ้ ิดตัวลงผ้เู สพจงึ มอี าการท้องผูก (3) กดศูนยก์ ารหายใจ ทาใหห้ ายใจชา้ กวา่ ปกติ ถ้าใช้ในปรมิ าณมากจะทาใหห้ วั ใจหยุดเต้นได้ (4) ทาลายฮอรโ์ มนเพศถา้ ผู้เสพเป็นเพศหญงิ จะทาให้ประจาเดือนมาผิดปกติ ถา้ ผเู้ สพเปน็ เพศชายจะทาให้ฮอรโ์ มนเพศลดลง ไม่มีความรูส้ กึ ตอ้ งการทางเพศ (5) ทาลายระบบภูมคิ ้มุ กันโรคทางรา่ งกาย ผเู้ สพติดจงึ มีโอกาสตดิเช้ือโรคไดง้ า่ ย อาการทีพ่ บเห็นภายนอก คือ ผิวหนังมีอาการติดเชื้อเป็นแผลพุพอง ติดเช้ือวณั โรคติดเชื้อโรคตับอักเสบ นอกจากนผ้ี ู้เสพติดเฮโรอีนจะทาให้ติดโรคเอดสไ์ ดง้ า่ ยกวา่ ปกติ เพราะผู้เสพมกั ใชเ้ ข็มฉดี ยาทไี่ ม่ได้ทาความสะอาด หรือใชเ้ ข็มฉีดยาร่วมกันจนทาให้ติดเช้ือ HIV ผเู้ สพติดเฮโรอีนที่ติดเชอื้ HIV ก็จะเป็นผแู้ พร่ระบาด HIV เนื่องจากการจับกลมุ่ ใชเ้ ขม็ ฉดี ยารว่ มกนั หรือในบางครงั้ ก็มเี พศสมั พันธ์ร่วมกัน โดยไม่ไดป้ ้องกนั ฤทธใ์ิ นทางเสพติด เฮโรอีนออกฤทธิ์กดระบบประสาท มอี าการเสพติดท้งั ทางร่างกายและจิตใจ มอี าการขาดยาทางร่างกายอยา่ งรุนแรง โทษทางกฎหมาย เฮโรอนี จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. 2522 สามารถสรุปขอ้ หาและบทลงโทษดังน้ี198

ข้อหา การพฒั นาตนผลติ นาเข้า หรือสง่ ออก บทลงโทษจาหน่ายหรือครอบครองเพ่ือ - ต้องระวางโทษจาคุกตลอดชีวติ หากเป็นการกระทาจาหน่าย เพ่อื จาหนา่ ย ต้องระวางโทษประหารชีวิต (กรณคี านวณเป็นสารบริสุทธิไ์ ดต้ ง้ั แต่ 20 กรัม ขน้ึ ไปครอบครอง ถอื ว่าเปน็ การกระทาเพ่ือจาหน่าย)เสพ - ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 5 ปี ถงึ จาคกุ ตลอดชีวติ และปรบั ต้งั แต่ 5 หม่นื บาทถึง 5 แสนบาท หากมีสาร บรสิ ุทธิ์ไม่เกิน 100 กรมั แต่ถ้าเกนิ ต้องระวางโทษ จาคุกตลอดชวี ิตหรือประหารชวี ติ - ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1 ปี ถงึ 10 ปี และปรับ ตัง้ แต่ 1 หม่นื บาทถึง 1 แสนบาท หากเป็นสารบรสิ ทุ ธิ์ ตง้ั แต่ 20 กรัม ข้ึนไป ถอื ว่าเป็นการครอบครองเพ่อื จาหนา่ ย - ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 6 เดือนถึง 10 ปี และปรับ ตั้งแต่ 5 พันบาท ถึง 1 แสนบาท ยาบา้ ยาบ้ามีชื่อเรียกหลายช่ือแต่ช่ือที่เป็นทางการว่าแอมเฟตามิน ก่อนหน้าน้ีเรียกกันว่ายาม้าหรือยาขยันเพราะเชื่อกัน ว่าเมื่อเสพแล้วคึกเหมือนม้าท่ีกาลังจะออกจากซอง ต่อมาเม่ือวันท่ี 21 กรกฎาคม 2539 กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศเปล่ียน ชื่อยาม้าเป็นยาบ้า เพ่ือเป็นการบอกใหป้ ระชาชนทราบว่ายาชนิดนี้เม่ือเสพเขา้ ไปแล้ว ผเู้ สพจะมสี ภาพไม่ผิดกบั คนบา้ หรือคนที่ เสียสติ ยาบ้า เป็นช่ือท่ีใช้เรียกยาเสพติดที่มีส่วนผสมของสารเคมี ประเภทแอมเฟตามีน (Amphetamine) สารประเภทนี้แพร่ระบาดอยู่ 3 รูปแบบด้วยกัน คือ แอมเฟตามีนซัลเฟต(Amphetamine Sulfate) เมทแอมเฟตามีน (Methamphetamine) และเมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด์ (Methamphetamine Hydrochloride)ซึ่งจากผลการตรวจพิสูจน์ยาบ้าปัจจุบันที่พบอยู่ในประเทศไทยมกั พบว่า เกือบทงั้ หมดมเี มทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด์ผสมอยู่ ยาบ้า จัดอยู่ในกลุ่มยาเสพติดที่ออกฤทธ์ิกระตุ้นประสาท มีลักษณะเป็นยาเม็ดกลมแบนขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6-8 มิลลิเมตร ความหนาประมาณ 3มิลลิเมตร น้าหนักเม็ดยาประมาณ 80-100 มิลลิกรัม มีสีต่างๆ กัน เช่น สีส้ม สีน้าตาล สีม่วง สี 199

การพัฒนาตนชมพู สีเทา สีเหลืองและสีเขียว มีสัญลักษณ์ที่ปรากฏบนเม็ดยา เช่น ฬ, M, PG, WY สัญลักษณ์รูปดาว, รูปพระจันทร์เส้ียว, 99 หรืออาจเป็นลักษณะของเส้นแบ่งครึ่งเม็ด ซึ่งสัญลักษณ์เหล่านี้อาจปรากฏบนเมด็ ยาด้านหน่ึงหรอื ทั้งสองด้าน หรืออาจเป็นเม็ดเรยี บทงั้ สองดา้ นกไ็ ด้ ฤทธ์ใิ นทางเสพติด ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท มีอาการเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจ ไม่มีอาการขาดยาทางรา่ งกาย อาการผ้เู สพ เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกาย ในระยะแรกจะออกฤทธ์ิทาให้ร่างกายต่ืนตัว หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง ใจส่ัน ประสาทตึงเครียด แต่เมื่อหมดฤทธ์ิยา จะรู้สึกอ่อนเพลียมากกว่าปกติ ประสาทล้าทาให้การตัดสินใจช้า และผิดพลาด เป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรงได้ถ้าใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน จะทาให้สมองเส่ือม เกิดอาการประสาทหลอน เห็นภาพลวงตาหวาดระแวง คลุ้มคล่ัง เสียสติ เป็นบ้าอาจทาร้ายตนเองและผู้อื่นได้ หรือในกรณีท่ีได้รับยาในปริมาณมาก (Overdose) จะไปกดประสาท และระบบการหายใจทาให้หมดสติ และถึงแก่ความตายได้ ผลจากการเสพการเสพยาบ้ากอ่ ใหเ้ กิดผลร้ายหลายประการ ดงั นี้ (1) ผลต่อจิตใจ เมื่อเสพยาบ้าเป็นระยะเวลานานหรือใช้เป็นจานวนมาก จะทาให้ผู้เสพมีความผิดปกติทางด้านจิตใจ กลายเป็นโรคจิตชนิดหวาดระแวง ส่งผลให้มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป เช่น เกิดอาการหวาดหวั่น หวาดกลัว ประสาทหลอน ซ่ึงโรคน้ีหากเกดิ ขนึ้ แล้ว อาการจะคงอยตู่ ลอดไป แม้ในช่วงเวลาท่ไี มไ่ ดเ้ สพยากต็ าม (2) ผลต่อระบบประสาท ในระยะแรกจะออกฤทธ์ิกระตุ้นประสาททาให้ประสาทตึงเครียด แต่เม่ือหมดฤทธิ์ยาจะมีอาการประสาทล้า ทาให้การตัดสินใจในเร่ืองต่างๆ ช้า และผิดพลาด และหากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทาให้สมองเส่ือม หรือกรณีที่ใช้ยาในปริมาณมาก (Overdose) จะไปกดประสาทและระบบการหายใจ ทาให้หมดสติและถึงแก่ความตายได้ (3) ผลต่อพฤติกรรม ฤทธขิ์ องยาจะกระตุ้นสมองส่วนที่ควบคุมความก้าวร้าว และความกระวนกระวายใจ ดังนั้นเม่ือเสพยาบ้าไปนาน ๆ จะก่อให้เกิดพฤติกรรมที่เปล่ยี นแปลงไป คือ ผูเ้ สพจะมีความกา้ วรา้ วเพ่ิมข้นึ และหากยงั ใชต้ ่อไปจะมีโอกาสเป็นโรคจิตชนิดหวาดระแวง เกรงว่าจะมคี นมาทารา้ ยตนเอง จงึ ต้องทารา้ ยผอู้ น่ื ก่อน200

การพฒั นาตน โทษทางกฎหมาย ยาบ้าจัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพ ตดิ ให้โทษ พ.ศ. 2522 สามารถสรปุ ข้อหาและบทลงโทษ ดงั น้ี ขอ้ หา บทลงโทษ - ต้องระวางโทษจาคุกตลอดชวี ิต หากเปน็ การกระทาเพอ่ื จาหนา่ ยผลติ นาเข้า หรือ สง่ ออก ต้องระวางโทษประหารชวี ิต(กรณีคานวณเป็นสารบริสุทธิ์ไดต้ งั้ แต่ 20 กรัม ข้นึ ไปถอื ว่าเป็นการกระทาเพ่ือจาหนา่ ย) - ต้องระวางโทษจาคุกตง้ั แต่ 5 ปี ถงึ จาคกุ ตลอดชวี ิตและปรับต้งั แต่จาหน่าย หรือครอบครองเพ่ือจาหน่าย 5 หมื่นบาทถงึ 5 แสนบาทหากมสี ารบริสุทธไ์ิ มเ่ กนิ 100 กรัม แต่ถา้ เกิน 100 กรมั ขึน้ ไป ต้องระวางโทษจาคกุ ตลอดชีวิตหรือประหาร ชวี ิต - ต้องระวางโทษจาคุกต้ังแต่ 1 ปี ถงึ 10 ปี 1 หมื่นบาทถึง 1 แสนครองครอบ บาท(หากเปน็ สารบรสิ ุทธติ์ ั้งแต่ 20 กรัม ขนึ้ ไปถอื วา่ เป็นการ ครอบครองเพ่ือจาหน่ายเสพ - ต้องระวางโทษจาคุกต้ังแต่ 6 เดอื นถึง 10 ปี และปรับตงั้ แต่ 5 พนั บาท ถึง 1 แสนบาท 201

การพฒั นาตน ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy) ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy) เป็นยาเสพติดกลุ่มเดียวกัน จะแตกต่างกันบา้ งในด้านโครงสรา้ งทางเคมี เทา่ ที่พบส่วนใหญ่จะมอี งคป์ ระกอบทางเคมีทสี่ าคัญ คือ 3, 4- Methylenedioxymethamphetamine (MDME) 3, 4-Methylenedioxyamphetamine (MDA) และ 3, 4- Methylenedioxyethylamphetamine (MDE หรอื MDEA) ลักษณะของยาอี มีท้ังท่ีเป็นแคปซูลและเป็นเม็ดยาสีต่าง ๆ แต่ท่ีพบในประเทศไทย ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเม็ดกลมแบน เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.8-1.2 ซม. หนา 0.3-0.4ซม. ผิวเรียบ และปรากฏสัญลักษณ์บนเม็ดยาเป็นรูปต่าง ๆ เช่น กระต่าย, ค้างคาว, นก, ดวงอาทิตย,์ PT ฯลฯ เสพโดยการรบั ประทานเป็นเม็ด จะออกฤทธิ์ภายในเวลา 45 นาที และฤทธ์ิยาจะอยู่ในรา่ งกายได้นานประมาณ 6-8 ซม. ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี เป็นยาท่ีแพร่ระบาดในกลุ่มวัยรุ่นท่ีชอบเที่ยวกลางคืนออกฤทธ์ิใน 2 ลักษณะ คือ ออกฤทธ์ิกระตุ้นระบบประสาทในระยะส้ัน ๆ หลังจากน้ันจะออกฤทธิ์หลอนประสาทอย่างรุนแรง ฤทธิ์ของยาจะทาให้ผู้เสพรู้สึกร้อน เหง่ือออกมาก หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง การได้ยินเสียง และการมองเห็นแสงสีต่าง ๆ ผิดไปจากความเป็นจริง เคลิบเคล้ิม ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ อันเป็นสาเหตุท่ีจะนาไปสู่พฤติกรรมเสื่อมเสียต่าง ๆ และจากการค้นคว้าวิจัยของแพทย์และนักวิทยาศาสตร์หลายท่าน พบว่ามีอันตรายร้ายแรง แม้จะเสพเพยี ง 1-2 ครั้ง ก็สามารถทาลายระบบภูมิคมุ้ กนั ของรา่ งกาย ส่งผลให้ผู้เสพมีโอกาสติดเช้ือโรคต่างๆ ได้ง่าย และยงั ทาลายเซลส์สมองส่วนท่ีทาหน้าที่ส่งสารซีโรโทนิน (Serotonin) ซึ่งเป็นสารสาคัญในการควบคุมอารมณ์ใหม้ ีความสุข ซ่ึงผลจากการทาลายดังกล่าว จะทาให้ผู้เสพเข้าสู่สภาวะของอารมณ์ทีเ่ ศรา้ หมองหดหอู่ ย่างมาก และมีแนวโน้มการฆ่าตัวตายสงู กว่าคนปกติ ฤทธิ์ในทางเสพติด ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทในระยะสั้น ๆ จากนั้นจะออกฤทธ์ิหลอนประสาท มีอาการตดิ ยาทางจิตใจ ไมม่ ีอาการขาดยาทางรา่ งกาย อาการผเู้ สพ เหงอ่ื ออกมาก หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง ระบบประสาทการรับรู้เกิดการเปลยี่ นแปลงทั้งหมด (Psychedelic) ทาให้การได้ยนิ เสียงและการมองเห็นแสงสีต่าง ๆ ผิดไปจากความเป็นจริง เคลบิ เคลม้ิ ควบคุมอารมณไ์ ม่ได้ โทษท่ีได้รับ การเสพยาอีก่อให้เกดิ ผลร้ายหลายประการดังนี้202

การพฒั นาตน (1)ผลต่ออารมณ์ เมื่อเร่ิมเสพในระยะแรกยาอีจะออกฤทธิ์กระตุ้น ประสาท ใหผ้ ู้เสพรูส้ ึกตนื่ ตวั ตลอดเวลา ไมส่ ามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ เป็นสาเหตุให้เกิด พฤตกิ รรมสาสอ่ นทางเพศ (2)ผลตอ่ การรบั รู้ การรบั รจู้ ะเปล่ียนแปลงไปจากความเป็นจรงิ (3)ผลต่อระบบประสาท ยาอีจะทาลายระบบประสาท ทาให้เซลล์ สมองส่วนที่ทาหน้าที่หล่ังสารซีโรโทนิน (Serotonin) ซ่ึงเป็นสารสาคัญในการควบคุมอารมณ์น้ัน ทางานผดิ ปกติกล่าวคือ เมื่อยาอีเข้าสู่สมองแล้ว จะทาให้เกิดการหลั่งสาร \"ซีโรโทนิน\" ออกมามาก เกนิ กวา่ ปกติส่งผลใหจ้ ติ ใจสดชน่ื เบกิ บานแต่เมื่อระยะเวลาผา่ นไปสารดงั กลา่ วจะลดน้อยลง ทาให้ เกิดอาการซึมเศร้า หดหู่อย่างมาก อาจกลายเป็นโรคจิตประเภทซึมเศร้า (Depression) และอาจ เกิดสภาวะอยากฆ่าตัวตาย นอกจากน้ีการท่ีสารซีโรโทนินลดลง ยังทาให้ธรรมชาติของการหลับ นอนผิดปกติ จานวนเวลาของการหลับลดลง นอนหลับไม่สนิท จึงเกิดอาการอ่อนเพลียขาดสมาธิ ในการเรยี น และการทางาน (4)ผลต่อสภาวะการตายขณะเสพ มักเกิดเมื่อผู้เสพสูญเสียเหง่ือมาก จากการเต้นรา ทาใหเ้ กดิ สภาวะขาดน้าอย่างฉับพลัน หรือกรณีที่เสพยาอีพร้อมกับดื่มแอลกอฮอล์ เข้าไปมาก หรือผู้ท่ีป่วยเปน็ โรคหวั ใจ จะทาให้เกดิ อาการช็อคและเสยี ชวี ิตได้ โทษทางกฎหมาย จดั เป็นยาเสพตดิ ให้โทษประเภท 1 ตาม พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 สรปุ ข้อหาและบทลงโทษ ดังนี้ ข้อหา บทลงโทษ - ต้องระวางโทษจาคุกตลอดชีวติ หากเป็นการกระทาเพอ่ื จาหนา่ ย ต้องระวางผลติ นาเข้า หรือ สง่ ออก โทษประหารชีวิต(กรณีคานวณเปน็ สารบริสุทธิ์ได้ต้ังแต่ 20 กรัม ขน้ึ ไปถือวา่ เป็น การกระทาเพือ่ จาหน่าย)จาหน่าย หรอื ครอบครองเพื่อ - ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 5 ปี ถงึ จาคกุ ตลอดชีวติ และปรบั ตั้งแต่ 5 หมืน่ บาทจาหนา่ ย ถึง 5 แสนบาทหากมีสารบริสทุ ธ์ิไม่เกิน 100 กรมั แต่ถา้ เกิน 100 กรมั ขึ้นไป ตอ้ ง ระวางโทษจาคุกตลอดชีวิตหรอื ประหารชวี ิตครองครอบ - ต้องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่ 1 ปี ถงึ 10 ปี 1 หมน่ื บาทถึง 1 แสนบาท(หากเป็น สารบริสทุ ธ์ิตั้งแต่ 20 กรมั ขึ้นไปถอื ว่าเป็นการครอบครองเพือ่ จาหนา่ ยเสพ - ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 6 เดือนถงึ 10 ปี และปรับตง้ั แต่ 5 พนั บาท ถงึ 1 แสนบาท 203

การพฒั นาตน สารระเหย สารระเหย คือ สารท่ไี ด้จากขบวนการสกัดน้ามนั ปโิ ตรเลียม มลี ักษณะเปน็ ไอระเหยได้ในอากาศ ประกอบดว้ ย Toluene, Acetone, Butane, Benzen, Trichloroe Thylene ซึ่งพบในกาว แลคเกอร์ ทนิ เนอร์ นา้ มนั เบนซิน ยาลา้ งเลบ็ เม่อื สูดดมเข้าไปจะทาให้เกดิ อันตรายตอ่ร่างกาย อาการผู้เสพ ผู้เสพจะมอี าการเคลบิ เคล้มิ ศรี ษะเบาหวิว ตนื่ เตน้ พูดจาออ้ แอ้ พดู ไมช่ ดันา้ ลายไหลออกมามาก เน่ืองจากสารทสี่ ดู ดมเข้าไปทาให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุภายในจมูกและปาก การสูดดมลึก ๆ หรือ ซ้า ๆ กนั แม้ในช่วงเวลาสน้ั ๆ ทาให้ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ทาใหข้ าดสติหรือเป็นลมชกั กล้ามเนื้อทางานไมป่ ระสานกัน ระบบประสาทอัตโนมัติ (Reflexes)ถูกกด มีเลอื ดออกทางจมกู หายใจไม่สะดวก โทษที่ได้รบั (1)ระบบทางเดนิ หายใจ มอี าการระคายเคืองหลอดลม เยอ่ื บุจมูกมีเลอื ดออก หลอดลมอกั เสบ ปอดอักเสบ (2)ระบบทางเดนิ อาหาร มเี ลอื ดออกในกระเพาะอาหาร เนื้อตบั ถูกทาลาย (3)ระบบทางเดนิ ปัสสาวะ ไตอกั เสบจนถึงพกิ าร ปัสสาวะเปน็ เลือดเปน็ หนอง หรอื มลี ักษณะคล้ายไขข่ าว (4)ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเตน้ ผิดปกติ (5)ระบบสร้างโลหติ ไขกระดูกซึ่งมหี น้าที่สร้างเม็ดโลหิตหยดุ ทางานเกดิ เมด็ โลหิตแดงต่า เกล็ดเลือดตา่ ทาใหซ้ ีด เลือดออกไดง้ ่าย ตลอดจนทาให้เลอื ดแขง็ ตัวชา้ ในขณะที่เกิดบาดแผล บางรายเกดิ เป็นมะเร็งในเม็ดเลอื ดขาว (6)ระบบประสาท ปลายประสาทอกั เสบ มอี าการชาตามปลายมือปลายเท้า เกิดอาการอกั เสบของกลา้ มเน้ือ ทาให้ลกู ตาแกว่ง ลิน้ แข็ง พูดลาบาก สมองถูกทาลายจนเซลลส์ มองฝ่อ เป็นโรคสมองเสอื่ มก่อนวัยอนั ควร ฤทธ์ิในทางเสพติด สารระเหยออกฤทธ์ิกดระบบประสาท มีอาการเสพติดทางร่างกายเลก็ น้อย มีอาการเสพติดทางจติ ใจ มีอาการขาดยาแต่ไม่รนุ แรง204

การพฒั นาตน โทษทางกฎหมาย สารระเหยจัดเปน็ สารเสพตดิ ตามพระราชกาหนดปอ้ งกันการใช้สารระเหย พ.ศ. 2533 เร่อื งที่ 6.2.2 พฤตกิ รรมการพนัน ความเป็นมาของการพนนั ปัญหาการพนันในสังคมไทยนับว่าเป็นปัญหาสาคัญอีกปัญหาหน่ึงทดี่ ารงอยู่ในสังคมไทยมาเป็นเวลาอันยาวนาน และนับวันย่ิงทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น อันส่งผลกระทบต่อปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การพนันมีอยู่ด้วยกันหลายประการและต่างรูปแบบกันไปแตม่ ีจดุ มงุ่ หมายเดียวกัน คือเพอื่ ตอ้ งการเงินเป็นผลตอบแทน แต่ท่ีแพร่ระบาดมากท่ีสุดในปัจจุบันของสังคมไทย คือ ” หวยใต้ดิน” การพนันสามารถเรียกได้ว่าเป็นอาชญากรรมประเภทหน่ึง แต่ในสังคมปัจจุบันน้ีการพนันเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของคนเราไปแล้ว นับแต่อดีตการเล่นของไทยเชน่ ตไี ก่ ซ่ึงเป็นกฬี าพ้ืนบ้านโดยเป็นท่ีนยิ มในกลุ่มของชนชั้นสูงจนถึงระดับชาวบ้าน และปัจจุบันนี้ในตา่ งจังหวดั ยังมีบ่อนไก่ชนจานวนไมน่ ้อยทีเ่ ปิดอย่างถูกกฎหมาย โดยมกี ารเดิมพนันเป็นหลักแสน การพนันในสมยั โบราณ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีน่าเช่ือถือระบุเอาไว้ว่า ประมาณปี พ.ศ.1450 มีการเล่นการพนันที่เรียกว่า ‘กาถั่ว’ แล้ว และประมาณ พ.ศ.2100 ในแผ่นดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ สมยั อยธุ ยามีการเลน่ การพนนั ทีเ่ รยี กว่า ‘โป’ อีกด้วย อย่างไรก็ตาม แม้เร่ืองราวทางประวัติศาสตร์จะค่อนข้างเลือนลาง แต่ก็เป็นท่ีรับรู้กันว่า คนไทยนั้นนิยมเล่นการพนันเป็นอย่างมาก ดังปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรจากบันทึกของ ‘มองสิเออร์ เดอ ลาลูแบร์’ (Monsieur De LaLoubere) เอกอัครราชทูตพิเศษฝรั่งเศส ซ่ึงพระเจ้า หลุยส์ที่ 14 ส่งเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ในปี พ.ศ.2230 ลาลูแบร์ บนั ทกึ เอาไวว้ ่า “ชาวสยามอย่ขู า้ งคอ่ นรกั เล่นการพนันเสียเหลือเกิน จนถึงจะยอมผลาญตัวเองให้ฉิบหายได้ ท้ังเสียอิสรภาพความชอบธรรมของตัวหรือลูกเต้าของตัว ด้วย ในเมืองน้ีใครไมม่ เี งินพอจะใช้เจา้ หนไ้ี ดก้ ต็ ้องขายลูกเต้าของตัวเองลงใช้หน้ีสิน และถ้าแม้ถึงเช่นน้ีแล้วก็ยังมพิ อเพยี ง ตัวของตัวเองกต็ ้องกลายตกเป็นทาส การละเล่นพนนั ท่ีไทยรักเป็นท่ีสุดนั้นกค็ อื ตกิ แตก ชาวสยามเรียกว่า สะกา” สาหรับรูปแบบการเล่นการพนันซึ่งเป็นนิยมกันนั้น โดยมากมักใช้‘สัตว์’ ตั้งแต่ขนาดเล็ก เช่น จิ้งหรีดและปลากัด ไปจนถึงสัตว์ขนาดใหญ่ เช่น วัว ควาย หรือช้าง 205

การพัฒนาตนทั้งนี้ สัตว์ท่ีมาแรงท่ีสุดเห็นจะหนีไม่พ้น‘ไก่ชน’ โดยท่ีเจ้าของบ่อนจะหักเงินค่าบารุงบ่อนอย่างน้อยรอ้ ยละ 10 จากจานวนเงินเดมิ พนั ต่อมาเม่ือเวลาผ่านไป และประเทศไทยเร่ิมติดต่อทามาค้าขายกับชาวต่างชาติ มากข้ึน การพนันรูปแบบใหม่ๆ ก็ได้หล่ังไหลเข้ามาเพ่ิมเป็นลาดับ และหน่ึงใน การพนันทป่ี รากฏข้ึนและได้รับความ นิยมคือ การเล่นถั่วโปซ่ึงมีข้อสันนิษฐานที่น่าเชื่อถือได้ว่า เข้ามาเป็นคร้ังแรก ในสมัยอยุธยาตอนปลาย ระหว่างปี พ.ศ.2231- พ.ศ.2275 อาจเป็นสมัยพระเพทราชา พระเจ้าเสือหรือพระเจ้าท้ายสระ องค์ใด องค์หนึ่งโดยได้รับอนุญาตจากรัฐบาลและรัฐก็เก็บภาษจี ากการเลน่ น้ี สาเหตุท่ีมีการตั้งบ่อนเบี้ย (สถานท่ีเล่นถ่ัวโป) น้ัน เป็นผลมาจากชาวจีนท่ีเข้า มาพึ่งพระบรมโพธิสมภารสมัยนั้นยังติดนิสัยเล่นเบ้ียกันเป็นจานวนมาก โดยในระยะแรกไมไ่ ด้เข้าไปควบคมุ การเลน่ แต่อยา่ งใด จนทาให้คนไทยนิยมเล่นบ้าง กระทั่งเม่ือจานวนผู้เลน่ เพ่มิ มากข้ึน รฐั จงึ เหน็ วา่ ควรจะมีการควบคุมบ่อนเบี้ยเน่ืองจากไม่สามารถห้ามปรามไม่ให้เล่นได้เด็ดขาด และมีการต้ังบ่อนเบ้ียขึ้นโดยกาหนดให้มีการเล่นได้เพียงบางพ้ืนที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณที่มีชาวจีนอาศัยอยู่เป็นจานวนมากเท่านั้น โดยห้ามคนไทยเข้าไปเล่น ทว่า การห้ามดังกล่าวก็ไม่มีผลอย่างใด เพราะคนไทยก็ลักลอบเล่นเหมือนเดิม รัฐจึงต้องอนุญาตให้ต้ังบ่อนสาหรับคนไทยข้ึน ดังน้ัน จึงเกิดบ่อนเบี้ย 2 ประเภท คือ บ่อนเบี้ยจีนและบ่อนเบ้ียไทย ซึ่งข้างในต่างกเ็ ลน่ การพนันชนิดเดยี วกนั เช่นการเล่นกาตดั กาถว่ั และไพง่ า เป็นต้น สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ได้ทรงนิพนธ์เอาไว้ใน ‘ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 17 เรื่องตานานการเลิกบ่อนเบ้ียและเลิกหวย’ ว่า ในการจดั เก็บอากรบ่อนเบ้ียน้ันเดิมทีเก็บเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการรักษาบ่อน หรือให้เป็นค่าป่วยการ หรือเงินเดือนแก่ผู้รักษาบ่อน มิได้มีความมุ่งหมายในการจัดเก็บเพ่ือเป็นผลประโยชน์ให้แก่รัฐ วิธีการเก็บอากรบอ่ นเบ้ียในสมยั น้นั นายบ่อนจะไม่เก่ียวข้องกับการเล่น จะมีเฉพาะพวกนักเลงบ่อนผลัดกันเป็นเจ้ามือ โดยนายบ่อนจะคอยเก็บส่วนลดจากผู้ท่ีได้เงินจากการพนัน ซ่ึงเรียกว่า ‘การเก็บหัวเบี้ย’ และธรรมเนียมการเก็บหัวเบ้ยี นีไ้ ดม้ กี ารใชก้ ันจนกระทง่ั สมัยรตั นโกสินทร์ ต่อมาเม่ือมีการเล่นโปเกิดขน้ึ จงึ เปลยี่ นใหน้ ายบ่อนเปน็ เจ้ามือแต่เพียงผู้เดียว ถึงแม้รัฐจะได้ภาษีจากโรงบ่อนเบี้ยมากเพยี งใดกต็ าม แต่กไ็ ม่มนี โยบายสนับสนนุ ใหค้ นไทยเลน่ การพนัน เช่น ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศมีการห้ามไม่ให้ข้าราชการเล่นการพนัน และหากข้าราชการผู้ใดฝ่าฝืน ต้องระวางโทษเฆ่ียนตี 90 ที พรอ้ มท้ังถอดยศบรรดา ศกั ด์ลิ งเป็นไพร่ เปน็ ต้น206

การพัฒนาตน เมื่อก้าวย่างเข้าสู่ยุคสมัยของกรุงธนบุรี เง่ือนไขในการเข้มงวดเรื่องบ่อนก็เปล่ียนแปลงไป เมื่อไม่ปรากฏข้อห้ามให้คนไทยเล่นเบ้ีย ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะอยู่ในช่วงสงครามปราบปรามก๊กต่างๆ บรรดาผู้ที่ถูกเกณฑ์ไปออกรบล้วนเหน็ดเหน่ือยกับชีวิตสงครามที่ค่อนข้างยาวนานจึงอนุญาตให้ทหารและแม่ทัพนายกองท้ังหลายเล่นพนันได้ตามสมควรในช่วงวันหยุดนกั ขัตฤกษ์ตา่ งๆ รวมทั้งอนุญาตใหร้ าษฎรท่ัวไปเลน่ การพนันไดด้ ว้ ย ในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 ทรงไม่เห็นด้วยที่จะให้เล่นการพนนั หรอื เล่นเบย้ี แบบสมยั ธนบรุ ี แตย่ ังคงยอมให้มีบอ่ นเบยี้ อยู่บา้ งโดยเก็บอากรแผ่นดิน อย่างไรก็ตาม ทรงเคร่งครัดเรื่องการพนัน กับการดื่มสุรามากขึ้นกับข้าราชการด้วยการออกพระราชกาหนดเม่ือปี พ.ศ. 2325 ห้ามข้าราชการเล่นบ่อนเบ้ียและเสพสุรา ก้าวล่วงเข้าสู่สมัยรัชกาลที่ 2การเล่นพนันยังคงอยู่ต่อไปและสามารถเก็บอากรบ่อนเบี้ยได้ปีละ 260,000 บาท ในสมัยรัชกาลท่ี 3 เคยมกี ารสนบั สนนุ ให้เลน่ การพนนั เพอ่ื เก็บภาษอี ากร ท่เี รียกกันว่า ‘อากรบ่อนเบ้ีย’ และ ‘อากรหวย’ เฉพาะสาหรบั อากรบอ่ นเบ้ียนน้ั หมายถงึ เงนิ ทีเ่ ก็บจากผ้ปู ระมูลขอตั้งบอ่ นการพนันถ่ัวและโปในราชอาณาจักร ซ่ึงอากรทั้งสองประเทศสามารถสร้างรายได้ให้แก่รัฐเป็นจานวนมากคือปีละ400,000 บาท ขณะที่ในช่วงรัชกาลท่ี 4 ผลของการท่ีไทยได้ทาสัญญาผูกพันกับต่างประเทศ ต้องยกเลิกภาษีผูกขาดหลายประเภทจนเป็นเหตุให้รายได้ของแผ่นดินลดลง จึงได้ มีการปรับปรุงภาษีอากรหลายประเภท และได้กาหนดภาษีการพนันเพิ่มขึ้นจาก อากรบ่อนเบี้ยอีกประเภทหน่ึงและสามารถ เก็บภาษีไดส้ งู ถึงปีละ 500,000 บาท ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระปิยมหาราช ก็ทรงพจิ ารณาเห็นว่า คนไทยตดิ การพนันกันงอมแงม เป็นหนี้เป็นสิน เสียผเู้ สยี คนกันทั่วบ้านท่ัวเมืองจึงทรงประกาศให้เลิกการพนัน(เมื่อวันอังคาร เดือนอ้าย แรม ๑๓ ค่า ปีกุน พ.ศ.๒๔๓๐) โดยลดจานวนบ่อนลงเร่อื ยๆ โดยมไิ ด้ทรงห่วงว่า เงินท้องพระคลังจะลดลงถึงปีละ ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท(ถ้าคิดเป็นเงินปัจจุบันอาจจะมากกว่า ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาทก็ได้) ถึงปี พ.ศ.๒๔๓๒ ทรงประกาศยกเลิกบอ่ นเบย้ี ในกรงุ เทพฯ อีกปีละ ๑๐ ตาบล และเม่ือถึงปี พ.ศ.๒๔๔๑ ทรงประกาศยกเลิกบ่อนเบ้ียตามหัวเมืองในมณฑลตา่ งๆ ปี พ.ศ.๒๔๖๐ (ในสมัยรัชกาลที่ ๖) มีพระราชบัญญัติห้ามมิให้ใครเล่นถั่วโปในราชอาณาจักรอีกต่อไปได้มีประกาศปิดบ่อนท่ัวราชอาณาจักรเมื่อวันท่ี 1เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๐ สาหรับการเปล่ียนแปลงหลังจากน้ัน ได้มีการตรากฎหมายการพนันฉบับ 207

การพฒั นาตนแรกในปี พ.ศ.2473 ซ่ึงเป็นการรวบรวมกฎหมายการพนันต่างๆ มาไว้ในท่ีเดียวกัน และมีการปรับปรงุ ใหท้ นั สมัยอกี คร้ัง โดยออกเป็น พ.ร.บ. การพนัน พ.ศ. 2478 พร้อมทั้งมีการเพ่ิมเติมการเลน่ พนนั ประเภทตา่ ง ๆ จนกลายมาเปน็ กฎหมายฉบบั ปจั จุบนั จะเห็นได้ว่า ล้นเกล้าฯ รัชกาลท่ี 5 และรัชกาลท่ี 6 ทรงลาบากอย่างมากกว่าจะสามารถกาจัดหายนะนี้ไปจากแผ่นดินไทยได้ พวกเราเหล่าลูกหลานผู้สืบแผ่นดินของพระองค์จึงมิควรอย่างยิ่งที่จะทาให้การพนันหวนกลับมาทาลายสังคมไทยอีก หากแต่ควรช่วยกันฟนื้ ฟูศลี ธรรมใหป้ ระชาชนมีจติ สานกึ ทดี่ ี จึงจะเป็นการแกป้ ัญหาทถี่ ูกตอ้ งและถกู ทม่ี ากกว่า หวย เป็นการพนันเสี่ยงโชคชนิดหน่ึงโดยการเลือกตัวเลขหรือตัวอักษร ซึ่งเกิดขึ้นในสังคมไทย ต้ังแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เดิมเรียกว่า “ฮวยหวย” เป็นภาษจีน =“ดอกไม้” = “ฮวย” หวยเริ่มจากทายชื่อดอกไม้เขียนบนหวย หวยเข้ามาเมืองไทย ประมาณกรุงรัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ เร่ิมจากการนาเข้ามาของชาวจีนในระยะแรก การเล่นแพร่หลายเฉพาะชาวจีนเท่านั้น และเอกชนเป็นผู้ดาเนินการ โดยรัฐไม่มีส่วนได้เสียใด ๆ ซ่ึงต่อมารัฐบาลได้หันมายอมรับให้หวยกลายเป็นถูกกฎหมาย เรียกว่า หวย ก ข ในระหว่างปี พ.ศ.2378-2459 การเล่นหวยเกดิ ขน้ึ ในประเทศไทยเป็นครั้งแรกในสมัยพระบาทสมเด็จฯ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเรียกว่า การเล่นหวย ก.ข. รัชกาลท่ี 3 ทรงโปรดให้จีนหง หรือ พระศรีชัยบาน ซ่ึงดารงตาแหน่งเป็นนายอากรสุรา มาเป็นเจ้ามือหวย ต้ังโรงหวยขึ้นท่ีกรุงเทพฯ เป็นครั้งแรกเม่ือปีมะแม พ.ศ. 2378 เพ่ือแก้ไขภาวะเศรษฐกจิ ตกต่า เพราะเงนิ ฝืดราษฎรเก็บเงินฝงั ดินไวม้ ากไมเ่ อาออกมาใช้ เม่ือแรกจีนหงทาอากรหวยน้ัน โรงหวยนี้ตั้งอยู่ริมกาแพงเมืองใกล้สะพานหัน ต่อมาย้ายไปบริเวณวังบูรพาเมื่อ พ.ศ. 2415 ได้ถูกไฟไหม้เสียหายหมด จึงย้ายมาตั้งใหม่ใกล้ประตูสามยอด บริเวณนี้จึงมีช่ือเรียกว่า โรงหวยสืบมาจนกระทั่งบัดน้ี การออกหวย ก.ข.ไดม้ ีตอ่ เนอ่ื งมาจนถึง รัชกาลท่ี 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดฯ ให้เลิกเม่ือวันที่1 เมษายน 2459 หวย ก.ข. จึงมอี ายยุ นื ยาวถึง 81 ปี หวย ก.ข. มีการออกวันละ 2 เวลา คือ เช้ากับเย็นบุคคลเป็นจานวนมากทอ่ี ยู่ในกรงุ เทพฯ นยิ มเลน่ แต่ถ้าคิดกันให้ดีแล้วโอกาสถกู ยาก เพราะมตี วั ให้แทงถึง 36 ตัว จึงมีตัวผิดมากกว่าตัวถูกจานวนมาก ดังนั้นเจ้ามือจึงร่ารวยคนจนๆ จึงยิ่งจนมากข้ึน เพราะหลงหวยสาหรบั หวย ก.ข. นี้มีการออกตัวไว้แล้วเพียงแต่จะชักรอกท่ีใส่ตัวลงมาดูกันว่าวันนี้เวลาเช้าจะเป็นตวั อะไร และตอนบ่ายจะเปน็ ตวั อะไร ท้งั น้สี ดุ แท้แตเ่ จ้ามือหวยจะเป็นผูก้ าหนดให้ออกตัวอะไร ชาวกรุงเทพฯ ในสมัยท่ีมีหวย ก.ข. น้ันต่างลุ่มหลงในการพนันประเภทน้ีมาก ไม่ต่างจากคนท่ีลุ่มหลง208

การพัฒนาตนการเล่นหวยใต้ดินในยุคปัจจุบัน ต่างก็ไปสืบเสาะหาอาจารย์ใบ้หวยมาคิดแทงหวยกัน ทาให้เดอื ดร้อนถึงพระภิกษสุ งฆอ์ งคเ์ จา้ ตามวดั ดงั ต่าง ๆ การพนัน เปน็ พฤตกิ รรมเบี่ยงเบนอย่างหนึ่งในสังคมไทย เน่ืองจากขัดต่อบรรทัดฐานในสงั คมไทย โดยเฉพาะขดั ตอ่ หลกั ศีลธรรม ซง่ึ การพนันจัดเป็นอบายมุข รวมท้ังการพนันบางประเภทขัดต่อกฎหมาย มีบทลงโทษทางอาญา ดังจะเห็นได้จาก บทบัญญัติในพุทธศาสนา ได้กาหนดให้การพนันจัดเป็น 1 ในอบายมุข (ทางแห่งความเสื่อมและความหายนะ) 6ประการ คือ 1.ด่ืมน้าเมา 2.เทย่ี วกลางคืน 3.เที่ยวดูการละเล่น 4.เล่นการพนนั 5.คบคนช่วั เป็นมิตร 6.เกยี จคร้านการงาน การพนนั กบั สังคมไทย จากการกาหนดให้การพนันเป็นสิ่งที่ถูกต้องตามกฎหมายข้ึนในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดย สมัยรัชกาลที่ 3 ทรงสนับสนุนการพนันเพ่ือการเก็บภาษีอากรบ่อนเบี้ยอากรหวย ต่อมารฐั บาลปิดโรงหวย เนือ่ งจาก - การพนันมผี ลกระทบต่อสังคมสูง - ประชาชนหมกหมุ่น - ไมท่ ามาหากนิ - หมดเน้ือหมดตวั อาชญากรรมเพ่ิมร.5 เลิกบ่อนการพนันมณฑล ศรีธรรมราช ชุมพรจากัดมลฑลอื่น ๆ สมยั รชั กาลที่ 6 ทรงปิดบอ่ นทัว่ ราชอาณาจักร จากเหตุการณ์ดังกล่าวข้างต้น แสดง ให้เห็นว่าการพนันมีความสัมพันธ์กับสังคมไทยมาเป็นเวลานาน อย่างไรก็ตาม แม้ปัจจุบันการพนันจะถุกกาหนดให้เปน็ สงิ่ ผิดกฎหมาย ตามกฎหมายการพนนั พ.ศ.2475 แต่การพนันก็ยังคงไม่หมดไปจากสังคมไทยอย่างไรก็ตาม แม้การพนันจะจัดเป็นพฤติกรรมเบ่ียงเบนอย่างหนึ่งในสังคมไทย แต่การเล่นการพนันในกล่มุ ผู้ทเี่ ล่นการพนันไดม้ องวา่ เป็นพฤตกิ รรมเบยี่ งเบนแตอ่ ย่างใด ทาให้ยังคงมีการเล่นการ 209

การพฒั นาตนพนนั รวมท้ังการเล่นการพนันในประเทศเพ่ือนบ้าน หรือ ประเทศท่ีเปิดให้มีการเล่นการพนันอย่างเสรี ส่งผลให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเงินเป็นจานวนมากให้แก่ประเทศดังกล่าว จึงเคยมีแนวความคดิ ทีร่ ฐั บาลจะมีการเปิดบอ่ นการพนันขึ้นในประเทศไทย การพนันในสังคมชาวไทยอยู่คู่กันมาอย่างยาวนาน การพนันจัดได้ว่าเป็นความบันเทิงอย่างหน่ึง ไม่ว่าจะเป็นการชนไก่ กัดปลา บ่อนเบ้ีย ทอยลูกเต๋า อันจะพบได้จากวรรณคดี หรือพงศาวดารในภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้นี้ แม้ว่า เราจะนับถือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาตแิ ตก่ ารพนันกย็ ังฝงั รากลึกในสังคม ชาวไทย แม้กระท้ังสงฆ์บางรูป(โดยเฉพาะที่ข้ึนชื่อว่าใบ้หวยแม่น)ใช้การพนันเป็นเหตุ จูงใจให้คนเข้าวัด หรือคนบางพวกท่ีเข้าวัดไปเพราะอยาก ไดเ้ ลขเด็ดไปแทงหวย วิวัฒนาการการพนันยคุ ใหม่ ในยุคปัจจุบันซึ่งเป็นยุคโลกไร้พรมแดน เป็นโลกาภิวัฒน์ท่ีสามารถส่อื สารถงึ กนั ไดท้ ั่วโลกโดยไม่มขี ดี จากัด เป็นยุคเทคโนโลยีสารสนเทศก้าวหน้าเป็นอย่างมาก และทั่วถึงทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ โดยเฉพาะระบบอินเตอร์เน็ต ที่ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากมายหลายด้าน ซ่ึงเปน็ ดาบสองคม มที ง้ั คณุ และโทษ ถ้าไมร่ ้จู ักใชใ้ ห้ถูกกจ็ ะเปน็ ประโยชน์มหาศาล แต่ถ้าใช้ไม่เป็นหรือใช้ในทางท่ีผิดก็จะเป็นโทษมหันต์เช่นกัน จากเหตุการณ์ข่าวอาชญากรรมทางหน้าหนังสือพิมพจ์ ะเห็นไดว้ า่ มีหลายเหตุการณ์ ท่ีผกู้ ระทาผดิ กฎหมายใช้ช่องทางจากอินเตอร์เน็ตเป็นส่วนของการกระทาผิด ไม่ว่าจะใช้เป็นช่องทางชักชวน ล่อลวงให้เสียทรัพย์ ล่อลวงเพื่อล่วงละเมิดทางเพศ ฯลฯ โดยเฉพาะในช่วงน้ีเป็นช่วงเทศกาลฟุตบอลโลก 2010 ซ่ึงจัดการแข่งขันกันระหว่าง วันท่ี 11 มิถุนายน – กรกฎาคม พ.ศ.2553 กระแสฟุตบอลโลก 2010 จึงระบาดไปทั่วเหมือนเช่นฟุตบอลโลกทุกครั้งที่ผ่านมา ท่ีทางรัฐบาลและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องโดยเฉพาะสานกั งานตารวจแห่งชาติต้องเตรียมมาตรการปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการเล่นการพนันทายผลฟตุ บอลโลก 2010 ซง่ึ ประชาชนทัว่ โลกใหค้ วามสนใจ ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทยซึ่งไม่ได้เข้าร่วมแขง่ ขันดว้ ย และคาดวา่ จะมีการลักลอบเลน่ การพนนั ทายผลการแข่งขันฟุตบอลโลกเพ่ิมสูงขึ้นเป็นการพนันประเภทหนึ่งในสังคมไทยท่ีมีการเล่นการพนันมาก โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีการศึกษาฐานะ หน้าที่การงานดี มากกว่าผู้ไม่มีการศึกษา หรือ มีอาชีพการงานท่ีไม่ดี โดยเฉพาะการพนันฟุตบอลได้แพร่เขา้ ไปยงั กลุม่ นกั เรียน นักศึกษา และสรา้ งปัญหาสังคมตามมามากมาย แต่อย่างไรก็ตามการห้ามเล่นพนันในประเทศท่ีออกมาตรการและมีกฎหมายบังคับเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน ก็ยังมีการลักลอบเล่นพนันกันอย่างไม่เกรงกลัวกฎหมาย โดยในปัจจุบันไม่เพียงแต่เล่นการพนันตามกติกาที่มีการตั้งวงเล่น อุปกรณ์ และผู้เล่น210

การพัฒนาตนพนันจริง แต่ยังมีการเล่นพนันทางอินเตอร์เน็ต หรือเรียกว่า การเล่นพนันออนไลน์ มีปรากฏอยู่ในมือถือรุ่นและระบบต่าง ๆ ซึ่งยากแก่การป้องกัน เนื่องจากเป็นโลกยุคไร้พรหมแดน บ่อนพนันทางอินเตอร์เน็ตถือเป็นมหันตภัยท่ีร้ายแรงมีผลกระทบต่อสังคมโลก และแพร่ระบาดเข้าได้ถึงทุกกลุ่มชนอย่างรวดเร็วและง่ายดาย ยากแก่การควบคุม โดยเฉพาะกลุ่มท่ีน่าเป็นห่วงมากท่ีสุด คือเด็ก นักเรียน นักศึกษา หรือกลุ่มเยาวชนอนาคตของชาติ รวมไปถึงผู้ใหญ่ทุกเพศวัย ทุกสาขาอาชีพ การเล่นพนันผ่านทางอินเตอร์เน็ตเปรียบเสมือนการรวมเอาบ่อนการพนัน เจ้ามือพนัน ผู้เล่นพนัน มาอยู่ด้วยกันในสถานที่เดียวกันในเวลาพร้อม ๆ กัน สามารถเล่นการพนันกันได้ทุกเม่ือทกุ เวลา ทุกหนทกุ แห่งท่มี ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์และระบบอินเตอร์เน็ต ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาทาให้มีการติดต่อสื่อสารเป็นตัวเช่ือมประสานระหว่างกิจกรรมการพนันในกลุ่มชนขยายไปส่รู ะดบั ประเทศ และนาไปสรู่ ะดับโลก (ระหวา่ งประเทศ ) ในทสี่ ดุ สาหรับโครงสร้างเครือข่าย และรูปแบบธุรกิจการพนันทางอินเตอร์เน็ต หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการพนันออนไลน์ ซึ่งมีระบบท่ีไม่ซับซ้อนมากนัก โดยผู้เล่นสามารถแทงพนันโดยตรงกับเจ้ามือ ไม่ต้องผ่านบุคคลที่ 3 หรือแทงพนันผ่านกันเป็นทอด ๆเหมอื นพนนั ฟตุ บอลโต๊ะ หรอื หวยใตด้ ิน ความนยิ มกับการพนนั รปู แบบน้จี ึงมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะมีความสะดวก ไม่ซับซ้อน เล่นได้ทุกที่ ทุกเวลาและไม่เฉพาะแต่การพนันทายผลฟุตบอลเท่าน้ัน การพนันชนิดอ่ืนๆ นอกเหนือจากการทายผลฟุตบอลก็ยังสามารถ Downloadเกมสต์ า่ ง ๆ ซงึ่ บางเกมสม์ ลี ักษณะการเลน่ ใกล้เคยี งหรอื ลอกเลียนมาจากการพนันตามท่ีระบุห้ามเล่นตามกฎหมาย มีการโฆษณา เชิญชวน ให้เล่นพนันอย่างอ่ืนกันทางอินเตอร์เน็ตอย่างโจ๋งคร่ึมเปดิ เผย นาเสนอทั้งรายละเอียด วิธีการเล่น วิธีการแทง ผลได้-เสีย กฎกติกาการเล่น การโอนเงินการรับเงิน ไว้อย่างละเอียด ไม่ว่าจะเป็นการเล่น ไฮโลว์ บาการ่า ฯลฯ ดังจะยกตัวอย่าง การโฆษณาทางอินเตอร์เน็ตเชิญชวนเล่นการพนัน และคดีที่มีการจับกุมเก่ียวกับการเล่นการพนันแบบออนไลน์ 211

การพัฒนาตน ตัวอย่างท่ี 1 โฆษณาเชญิ ชวน เล่นการพนนั ออนไลน์ Casino Online ขอต้อนรับทุกทา่ นเขา้ สู่http://www.gclubroom.wordpress.com บริการทกุ ท่านทุกระดับตลอด24ชม. กบั เกมส์ทีห่ ลากหลายอย่างเชน่ ไพ่บาคาร่า ไฮโล ฟุตบอล รูเลต กาถว่ั กฬี าออนไลน์ ไพแ่ บล็คแจค็ สล็อต เลน่ ได้ทางเราโอนเงินกลับใหภ้ ายใน15นาทเี ทา่ น้นั*รับประกันในเร่อื งของความโปรง่ ใส ทา่ นสามารถชมเทคนคิ การเล่นไพ่บาคารา่ ได้ทนี่ ่ีhttp://www.gclubroom.wordpress.com สอบถามข้อมลู เพม่ิ เติมได้ทีค่ ณุ ควิ ไดต้ ลอด24ชั่วโมง:085-243-9099, 089-455-2969, 081-362-3903*พนกั งานพดู จาไม่สุภาพกรุณาโทรแจ้งไดท้ ่ี 081-8105292212

การพัฒนาตน ตวั อยา่ งท่ี 2 สารวจบ่อน 'พนนั ออนไลน์' เผยนักเล่นไทยหนา้ ใหม่ตึม!! วนั ที่ 8 กันยายน2552 แหลง่ ที่มา : WWW.plazadd.com. (สืบค้นเม่ือ 26 มถิ นุ ายน 2553) เช้ามืดวันหยุดสุดสัปดาห์รถบัสของกาสิโนฝ่ังปอยเปต พาเราเดินทางจากกรุงเทพฯ ไปยังชายแดน อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว โดยมีนักพนันรุ่นเล็กและรุ่นใหญ่ร่วมเดินทางไปเสยี่ งโชค เปา้ หมายการเดินทางครงั้ นี้กเ็ พื่อสารวจ บ่อน “พนันออนไลน์” ในประเทศเพอ่ื นบ้าน จากการสารวจ เม่ือ เดือนสิงหาคมที่ผ่านมาพบว่า มีนักพนันชาวไทยเดินทางไปเส่ยี งโชคในบ่อนกาสโิ นฝ่ังปอยเปตลดลง แตม่ ีปรมิ าณผู้เลน่ บ่อนออนไลน์เพ่ิมมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ทาให้บ่อนกาสิโนเกือบทุกแห่งมีจุดให้บริการและแนะนาการใช้งาน บ่อนออนไลน์แก่นักพนันหน้าใหม่เกือบทุกบ่อน พนักงานแนะนาเล่าว่า ลูกค้าส่วนใหญ่เป็นคนทางานหรือวัยรุ่นที่ไม่มีเวลามาเส่ียงโชคในบ่อน เริ่มแรกต้องเปิดบัญชีไว้อย่างน้อย 1,000 บาท ซึ่งมีการพนันกีฬาทุกประเภทท่ัวโลก และมีบ่อนกาสิโนถ่ายทอดสดให้เห็นท่ัวทุกมุมโลก เร็ว ๆ นี้ เตรียมเปิดโปรแกรมการเล่นพนันใหม่ อีก 3-4 รายการ โดยนาภาพกราฟิกเสมือนจริงมาดึงดูดใจลูกค้า ขณะคุยกับพนักงานมีลูกค้าชาวไทยหลายรายเลือกเล่นพนันฟุตบอล เพยี งใส่รหัสเลขท่บี ัญชี แล้วเลือกคู่ที่จะพนันในตารางบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ หลังจากลูกค้าเลือกและจ่าย เงินจะมีใบเสร็จรับรองให้ โดยหากทายผลถูกเงินจะโอนเข้าในบัญชที นั ที 213

การพฒั นาตนตอนที่ 6.3 แนวทางป้องกันและแกไ้ ขพฤติกรรมเส่ียงจากปจั จัยภายนอก เรือ่ งที่ 6.3.1 แนวทางปอ้ งกันพฤตกิ รรมเสย่ี งจากปจั จัยภายนอก 6.3.1.1 แนวทางป้องกันพฤติกรรมเสพยาเสพติด 1) การสงั เกตผตู้ ิดยาเสพติด ยาเสพติดเมื่อเกิดการเสพติดแล้ว จะมีผลกระทบต่อร่างกายและจติ ใจ ซ่ึงทาใหล้ ักษณะและความประพฤตขิ องผู้เสพเปลยี่ นไปจากเดมิ ที่อาจสงั เกตพบได้ คอื (1)รา่ งกายทรุดโทรม ซบู ผอม (2)อารมณ์ฉุนเฉียว หรือเงียบขรึมผิดปกติ จึงมักพบผู้เสพติดชอบ ทะเลาะวิวาทหรือทาร้ายผู้อ่ืนหรือในทางกลับกัน บางคนอาจชอบ แยกตัวอยู่คนเดยี วและหนีออกจากพรรคพวกเพ่ือนฝงู (3)ถ้าผู้เสพเป็นนักเรียน มักพบว่า ผลการเรียนแย่ลง ถ้าเป็นคน ทางาน มักพบว่าประสิทธิภาพในการทางานลดลงหรือไม่ยอม ทางานเลย (4)ปกปิดรอยเข็มที่ฉีดยาตรงท้องแขนด้านใน หรือรอยกรีดตรงต้น แขนดา้ นใน ดว้ ยการใส่เสอ้ื แขนยาวตลอดเวลา (5)ตดิ ตอ่ กบั เพ่ือนแปลกๆ ใหมๆ่ ซึง่ มีพฤตกิ รรมผิดปกติ (6)ขอเงินจากผู้ปกครองเพ่ิม หรือยืมเงินจากเพ่ือนฝูงเสมอเพ่ือนาไป ซอื้ ยาเสพตดิ (7)ก่อคดีลักเล็กขโมยน้อย หรือ ขโมย ฉกชิง ว่ิงราว เพื่อหาเงินไปซ้ือ ยาเสพตดิ (8)ผู้ติดยาเสพติดบางชนิด เช่น เฮโรอีน จะมีอาการอยากยาบางคน จะมอี าการรนุ แรงถงึ ข้นั ลงแดง 2) วธิ ปี อ้ งกนั ยาเสพติด ปอ้ งกนั ตนเอง (1) ไม่ทดลองยาเสพติดทุกชนดิ (2)ถา้ มีปัญหาหรือไม่สบายใจ อย่าเกบ็ ไว้คนเดยี ว ควรปรึกษาพ่อแม่ ครู หรือ ผูใ้ หญ่ท่นี บั ถอื (3)ใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ เชน่ อา่ นหนงั สอื เลน่ กีฬาหรือทางานอดเิ รกต่างๆ ตามความสนใจ และความถนัด (4)ระมดั ระวงั การใชย้ าและศึกษาใหเ้ ขา้ ใจถงึ โทษภยั ของยาเสพตดิ214

การพัฒนาตน ป้องกนั ครอบครัว ผูป้ กครองหรือคนในครอบครัวควร (1) สอดส่องดแู ลเดก็ หรือบุคคลในครอบครัวอยา่ ให้เกย่ี วข้องกบั ยา เสพติด (2) อบรมสั่งสอน ให้รู้ถงึ โทษภยั ของยาเสพติด ดูแลเรื่องการคบ เพือ่ น (3) สง่ เสริมใหเ้ ขาร้จู กั การใชเ้ วลาในทางท่เี ป็นประโยชน์ เชน่ การ ทางานบ้าน เลน่ กฬี า ฯลฯ เพอ่ื ป้องกันมใิ ห้เด็กหนั เหไปสนใจใน ยาเสพตดิ (4) ทกุ คนในครอบครวั ควรสร้างความรัก ความเข้าใจและ ความสมั พนั ธ์อันดีตอ่ กัน ปอ้ งกนั ชุมชน หากพบผู้ติดยาเสพติดควร (1) ช่วยเหลือแนะนาให้เขา้ รบั การบาบัดรกั ษาโดยเร็ว (2) เมอ่ื ทราบว่าใครผิด นาเขา้ ส่งออก หรือจาหนา่ ยยาเสพติด ควร แจง้ เจา้ หน้าที่ ตารวจ เจา้ หน้าทีศ่ ุลกากรนายอาเภอ กานัน ผู้ใหญ่บา้ น ฯลฯ เพือ่ ดาเนินการกวาดล้างและปราบปรามมิให้ยา เสพติดกระจายไปส่ชู ุมชน เรอื่ งท่ี 6.3.2 แนวทางแกไ้ ขพฤติกรรมเสี่ยงจากปจั จัยภายนอก 6.3.2.1 แนวทางแกไ้ ขพฤตกิ รรมเสพยาเสพติด 1) สถานบาบัดรกั ษาผตู้ ดิ ยาเสพตดิ หากทา่ นประสบปัญหาการติดยาเสพติด สามารถขอรับคาปรึกษา แนะนาหรอื ขอรบั บรกิ ารบาบัดรกั ษายาเสพติดไดจ้ าก (1)กองป้องกนั และบาบัดการติดยาเสพติด สานกั อนามัย กรงุ เทพมหานคร โทร. 0 2354 4232, 0 2354 4240 (2)คลินกิ ยาเสพติด วัดธาตุทอง โทร. 0 2391 8539 (3)คลนิ ิยาเสพตดิ ลาดพร้าว โทร. 0 2513 2509 (4)โรงพยาบาลธัญญารกั ษ์ โทร. 0 2531 0080 ถึง 8 (5)โรงพยาบาลตารวจ โทร. 0 2252 8111 ต่อห้องจิตเวช 215

การพัฒนาตน (6)โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โทร. 0 2246 0066, 0 2246 1400 ถึง 28 ตอ่ 3187 หรอื 3189 (7)โรงพยาบาลของรฐั บาล ทั่วประเทศ 2) การเลกิ บหุ รี่ ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นการเลกิ บุหรี่ 1) ตัดสินใจใหแ้ นว่ แน่คือ “ควรงดทนั ที มิใชล่ ด” 2) พยายามทาจิตใจใหแ้ จ่มใสไมเ่ ครียด 3) พยายามนึกถงึ ผลเสียหรือโทษของบุหรี่ 4) ยึดมน่ั ส่งิ ศักด์ิสิทธ์ิที่นับถือ เพอ่ื เป็นส่งิ ชว่ ยเสรมิ กาลังใจ ข้อแนะนาในระหว่างการเลกิ สบู บหุ ร่ี (1)ดื่มน้าเปล่าวันละ 8-10 แกว้ ควรดืม่ น้ามาก ๆ จะชว่ ยกาจัดนิโคติน ออกจากรา่ งกาย (2)งดนา้ ชา กาแฟ และเครอ่ื งดื่มทมี่ ี “คาเฟอีน” ตลอดจนเคร่อื งด่มื ที่ มีแอลกอฮอลท์ กุ ชนิด (3)ถ้ารู้สกึ ง่วงควรอาบน้า หรือใชผ้ า้ ชุบน้าเย็นเช็ดหน้า จะทาใหร้ ู้สึก สดชืน่ (4)อยา่ รับประทานอาหารใหอ้ ่มิ จนเกินไปในระยะแรกของการเลิกสบู บหุ ร่ี หลีกเลีย่ งอาหารทมี่ รี สจัด (5)รับประทานผกั และผลไม้ให้มากขึ้น แทนอาหารทรี่ ับประทานอยู่ เป็นประจา (6)ออกกาลังกายใหเ้ พยี งพอ 3) วิธเี ลิกสบู บุหรี่ เราเช่ือว่าความปรารถนาดีที่จะเลิกบุหรี่ของท่านและถ้าท่านทาสาเร็จ บรรยากาศในบ้านของท่าน ที่ทางานของท่าน และทุกท่ีที่ท่านเดินทางไป จะสดใสข้ึนเพราะจะไมม่ ีควันบุหร่ีเกิดข้ึนเพราะตวั ทา่ นอีกต่อไป สาหรับวิธีเลิกสูบบุหรี่ที่ได้ผลสาเร็จน้ัน ส่วนใหญ่จะใช้วิธีหยุดสูบทันที ท่านต้องมีความมุ่งม่ันท่ีจะทาให้สาเร็จให้ได้ เพราะนอกจากจะแสดงถึงความสามารถของท่านแล้ว ท่านยังจะได้รับผลตอบแทนโดยตรง โดยการลดจานวนสารพิษจากควันบุหร่ีที่จะเข้า216

การพัฒนาตนร่างกาย และท่านยังมีส่วนช่วยเหลือคนรอบข้าง โดยเฉพาะคนในครอบครัวเดียวกันกับท่าน จะดีใจมากเป็นพิเศษ 4) ขนั้ ตอนการเลิกสบู บุหรีม่ ีดงั นี้ (1) วิเคราะห์นิสัยการสูบบุหร่ีของตัวท่านว่าเป็นอย่างไร ลองจดในกระดาษดูซิว่าใน 24 ช่ัวโมงท่ีผ่านมา ท่านสูบบุหร่ีตอนไหนบ้าง หลังอาหารทุกมื้อ ทุกครั้งที่ดื่มกาแฟทุกครั้งท่ีเข้าห้องน้า ทุกครั้งท่ีเข้าห้องประชุม หรือหยุดการประชุม ท่านทดลองจดรายละเอียดลงในกระดาษในช่วงเวลาสัก 2-3 สัปดาห์ โดยจดทุกวันของ 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา และพยายามเขียนคาอธิบายดว้ ยว่าทาไมท่านจงึ ต้องสูบบหุ รี่ในช่วงน้ัน ๆ หรือว่าสูบบหุ ร่เี พราะอะไร (2) ท่านต้องตัดสนใจให้แน่วแน่ที่จะต้องเลิกสูบบุหรี่ให้ได้ ไม่มีการหันหลังกลับมาสูบบุหร่ีอีกครั้งหนึ่งอย่างแน่นอน ท่านลองเขียนในกระดาษถึงเหตุผลว่าทาไมท่านต้องการท่ีจะเลิกสูบบุหร่ี ผลประโยชน์ที่ตัวท่านจะได้รับว่ามีอะไรบ้าง เช่น อาการไอ มีเสมหะดา ๆตอนเช้าจะหายไป อาหารจะมีรสชาติที่ดีขึ้น โอกาสเส่ียงต่อมะเร็งของทุก ๆ อวัยวะก็ลดน้อยลงโอกาสเส่ียงต่อการเกิดโรคหัวใจก็จะลดน้อยลง แล้วท่านลองประเมิน และให้ความมั่นใจกับตัวเองเสียว่า แรงกาย และแรงใจท่ีจะทุ่มเทลงไปเพ่ือเลิกสูบบุหร่ีจะมีความคุ้มค่า หรือไม่ คนรอบข้างของทา่ นโดยเฉพาะครอบครัวของท่านจะไดร้ ับประโยชน์อะไรบ้าง ก่อนทีท่ ่านจะเร่มิ โครงการเลกิ สูบบุหรี่ (3) กาหนดหรือเลือกวันท่ีจะเร่ิมหยุดสูบบุหรี่ และถ้าหากมีญาติหรือเพื่อนสนิท และคนใกล้ชิดจะหยุดสูบบุหร่ีพร้อมกันได้ก็จะดีมากทีเดียว จะได้ช่วยให้กาลังใจซึ่งกันและกันในวันที่รู้สึกว่าหงุดหงิด หรือมีความยากลาบากท่ีจะเลิกสูบบุหรี่ต่อไป ผู้ที่เลิกบุหรี่ได้บางคนอาจเลือกวันใดวันหนึ่งที่มีความหมายต่อตนเอง หรือต่อผู้อ่ืน เช่น วันเกิด วันครบรอบแต่งงาน วันพ่อแหง่ ชาติ วันแมแ่ หง่ ชาติ เปน็ ต้น เพื่อที่ผูท้ เ่ี ลกิ บุหรีไ่ ดจ้ ะได้จดจา และนาไปคุยต่อได้ว่าเลิกได้ต้ังแต่วันนัน้ วนั น้ี เปน็ ต้นมา (4) ในข้ันนี้จะเข้าสูการเลิกบุหร่ีอย่างจริงจัง อาการอยากบุหร่ีจะมีมากนอ้ ยแลว้ แตว่ ่าทา่ นสูบบุหรีก่ ่อนหน้าทจ่ี ะเลกิ สูบวันละก่ีมวน และติดมานานเพียงใด อาการอยากบุหร่ีหรือที่บางคนเรียกว่า “เสี้ยน” จะมีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของร่างาย ชีพจน และระบบย่อยอาหาร ในทางจิตใจจะเกดิ หงดุ หงิด กระวนกระวาย มึนศีรษะ เหม่อลอย นอนไม่หลับ อยากบุหรี่ ส่วนใหญ่อาการหงุดหงิด จะมีอาการมากใน 3 วันแรก และจะดีข้ึนเรื่อย ๆ น้อยมากท่ีจะมีอาการเกิดหน่ึงสปั ดาห์ (5) สาหรบั การแก้ไขปัญหาเร่ืองหงุดหงิด ขอให้ท่านตั้งสติให้ม่ันคง ท่านจะต้องเอาชนิดปญั หาน้ีใหไ้ ด้ อยา่ อย่เู ฉย ๆ คนเดียว หากิจกรรมมาทา เช่น การเดินออกกาลังกาย ถ้า 217

การพฒั นาตนหงุดหงิดมากให้ด่ืมน้าเปล่ามาก ๆ หรือให้อาบน้าให้งดเว้นการด่ืมกาแฟ หรืองดดื่มเหล้า ไม่ออกไปเที่ยวบาร์ ผบั หรอื ดิสโกเ้ ธค เวลาไปรา้ นอาหารควรไปนัง่ โตะ๊ ท่ีจัดไวส้ าหรับคนไม่สบู บหุ ร่ี (6) ในช่วง 2-3 สัปดาห์แรก จะเป็นช่วงที่ยากลาบากท่ีสุดสาหรับคนติดบุหร่ี ให้ท่านด่ืมน้ามาก ๆ ท่านอาจอยากทานอาหารเพิ่มขึ้น ขอให้ท่านได้เตรียมอาหารท่ีมีแคลอร่ีต่าเอาไว้ อาจเป็นพวกผกั หรือผลไมท้ ี่ไม่มีรสหวานจัด (7)บางรายอาจต้องอาศัยยา หรือหมากท่ีใช้แล้วจะทาให้ไม่อยากสูบบหุ ร่ี หรืออาจใช้ยาท่มี ีนโิ คตินผสมอยู่ดว้ ย เพื่อลดอาการเส้ียน ซึ่งมีทั้งชนิดเป็นหมากฝรั่ง ชนิดพ่นเข้าทางจมูก หรือคอ และชนิดเป็นแผ่นกอเอี๊ยะแปะติดกับผิวหนัง ส่ิงท่ีต้องย้าเตือนก็คือ ยาที่อาจต้องใช้ในขน้ั ตอนท่ี 6 เพ่ือช่วยระงบั ความอยากบุหรี่นั้น มีความสาคัญน้อยกว่าความตั้งใจแน่วแน่ของท่านที่จะเลิกบหุ รีใ่ ห้ได้ 6.3.2.2 แนวทางแกไ้ ขพฤติกรรมเสพการพนัน แนวทางท่ี 1 การพนนั ตอ้ งควบคมุ มีแนวทางดงั นี้ (1) การบังคับใช้กฎหมายต้องเคร่งครัด เฉียบขาด และมีการปราบปรามการเลน่ การพนนั อย่างจรงิ จัง เช่น ให้มกี ารตรวจสอบประวัตขิ องผู้กระทาความผิด เพ่ือดาเนนิ การลงโทษให้เหมาะสมหรือหากศาลลงโทษปรับแล้วปล่อยตัวไปก็ควรมีมาตรการเสริมด้วยเช่น การกาหนดให้ทางานบรกิ ารสังคม โดยมกี าหนดเวลาตามท่ีศาลเห็นสมควร เป็นต้น (2) ควรดาเนินการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายว่าด้วยการพนันที่ใช้บังคับอยใู่ นปัจจุบนั ให้ทันกบั เทคโนโลยสี มัยใหม่ท่ีใช้ในการกระทาความผิด (3) ไมค่ วรปล่อยใหม้ ีการโฆษณาเกีย่ วกับการพนนั ทางส่ือมวลชนหรือสื่อสงิ่ พมิ พท์ ุกประเภท เช่น อัตรตอ่ รองของกีฬามวยหรือฟุตบอล เปน็ ตน้ (4) ใช้มาตรการในการริบทรัพย์สินที่ได้มาโดยมิชอบด้วยกฎหมายรวมทง้ั ทรัพยส์ นิ ที่ไดม้ าจากการพนัน (5) ใช้มาตรการทางภาษีโดยตรวจสอบว่าทรัพย์สินท่ีได้มาจากการเสยี ภาษอี ย่างถกู ตอ้ งหรอื ไม่ (6) เพมิ่ บทลงโทษใหห้ นกั ขึน้ แนวทางท่ี 2 การพนันเป็นส่งิ ทถี่ กู ต้องตามกฎหมาย มีแนวทาง ดงั น้ี (1) ความมงุ่ หมายของการจัดให้มีการเล่นการพนันโดยชอบด้วยกฎหมาย คอยมุ่งแสวงหาประโยชนจ์ ากนักท่องเที่ยวต่างประเทศเป็นสาคัญ เนื่องจากกรณตี ัวอย่างที่218

การพฒั นาตนเกิดขน้ึ ในต่างประเทศไดช้ ้ีใหเ้ ห็นชัดวา่ รายไดจ้ ากการท่องเทยี่ วท่มี าจากการพนันทงั้ ทางตรงและทางอ้อม ก่อใหเ้ กิดรายไดแ้ ก่กิจการด้านบริการต่างๆ (2) นอกจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศแล้วสาหรับผู้เล่นในประเทศกอ็ าจสร้างมาตรการในการกันคนในประเทศมใิ ห้ถูกมอมเมาจากบ่อนการพนันได้อย่างไม่มีขอ้ จากัดเช่น กาหนดคณุ สมบัติของผู้เข้าไปเลน่ โดยวางเกณฑ์เก่ียวกบั อายุ ระดับรายได้ของผมู้ สี ิทธเิ์ ขา้ เลน่ ซึ่งปกติแล้วหลายประเทศจะอนุญาตเฉพาะผู้ทีม่ รี ายไดส้ ูงกว่าปกติเท่านนั้ (3) การทาให้การพนันเป็นส่ิงที่ถูกต้องตามกฎหมายในประเทศไทยนั้นจะต้องไม่เป็นการยอมให้การพนันทุกชนิดเป็นสงิ ท่ีถกู ต้องตามกฎหมายหรือเล่นโดยเสรี เพราะจะเปน็ การเอ้ือให้ปรหะชาชน ติดและหมดมุน่ กับการพนันได้อย่างรวดเร็ว ดงั น้ัน การทาให้การพนันเป็นการกระทาทีถ่ ูกต้องตากมฎหมาย ที่เหมาะสมกับประเทศไทย จึงควรมีลักษณะท่มี งุ่ แสวงหาประโยชน์จากนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศเปน็ สาคญั (4) สถานที่ท่ีจดั ใหม้ ีการตงั้ บ่อนโดยชอบด้วยกฎหมายต้องไม่อยู่ในชุมชนเมืองหรือทีม่ ปี ระชากรแออัดซงึ่ ยากแกก่ ารควบคุมแต่ควรเป็นสถานท่ีท่ีรัฐมุ่งเสริมสรา้ งความเจรญิ จากการท่องเที่ยว เป็นสถานทีม่ ีสภาพะรรมชาติที่เหมาะสมแก่การสันทนาการท่องเท่ยี วอยา่ งอื่น ทาให้ประชาชนในท้องถ่นิ สามารถมรี ายได้จากการท่องเทย่ี วมากข้ึนในขณะเดียวกันก็สามารถสร้างความเจริญให้แก่ท้องถ่ินนัน้ ๆ เพิม่ ขนึ้ ดว้ ย (5) เป็นการหารายได้เข้ารฐั ในรูปแบบของการจัดเก็บภาษีการพนนั 219

การพัฒนาตนบทสรปุ ความคาดหวังของสังคมในวันนี้ คือ การเอาจริงเอาจังกับการปราบปรามการเล่นพนันให้หมดไปจากสังคม ในเบื้องต้นเราสามารถป้องกันนักเล่นพนันหน้าใหม่เข้ามาโดยการร่วมกันกระตุ้นเตือนหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ให้ร่วมกันลดบรรยากาศการเล่นพนันให้หมดไปจากสังคม รวมถึงการลดพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ด้านอ่ืนต่อไป แต่อย่างไรก็ตามการห้ามเล่นพนันในประเทศที่ออกมาตรการและมีกฎหมายบังคับเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน ก็ยังมีการลักลอบเล่นพนันกันอย่างไม่เกรงกลัวกฎหมาย โดยในปัจจุบันไม่เพียงแต่เล่นการพนันตามกติกาที่มีการต้ังวงเล่นสถานที่ อปุ กรณ์ และผู้เลน่ พนันจริง แต่ยังมีการเล่นพนันทางอินเตอร์เน็ต หรือเรียกว่า การเล่นพนันออนไลน์ มีปรากฏอยู่ในมือถือรุ่นและระบบต่าง ๆ ซึ่งยากแก่การป้องกัน เน่ืองจากเป็นโลกยุคไร้พรหมแดน คนทั่วไปหรือแม้แต่เด็กเยาวชนท่ีมีความรู้ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ITก็สามารถ Download เกมส์ต่าง ๆ ซ่ึงบางเกมส์มีลักษณะการเล่นใกล้เคียงหรือลอกเลียนมาจากการพนันตามที่ระบุห้ามเล่น ตาม พ.ร.บ.การพนันฯ ยิ่งเทคโนโลยีล้าสมัยมากเท่าใด การป้องกันปราบปรามการกระทาความผิดก็ย่ิงยากมากข้ึนเช่นเดียวกันเพราะโลกสื่อสารที่ไม่มีขีดจากัดท่ีสาคัญคือ การจับกุมผู้เล่นการพนันออนไลน์ไม่ใช่เร่ืองง่าย เพราะผู้ประกอบการส่วนใหญ่อยู่ต่างประเทศ และประเทศต้นตอน้ันเขาเปิดให้เล่นการพนันออนไลน์อย่างถูกกฎหมาย แต่มันผิดกฎหมายบ้านเรา ขณะท่ีกลุ่มผู้เข้าไปเล่นการพนันนั้นส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มนักเรียน นักศึกษา ท่ีเป็นลกู หลานผู้มีอนั จะกินทีท่ าบัตรเครดิตเสริมให้อย่างไรก็ดีในการแก้ปัญหาเด็กติดการพนันออนไลน์น้ันผู้ปกครองต้องหมั่นตรวจสอบการใช้งานคอมพิวเตอร์ในกรณีที่มีใช้ที่บ้าน โดยควรตรวจสอบดูโปรแกรมต่างๆ ในเครื่อง หรืออาจหาโปรแกรมป้องกันการเข้าถึงเว็บไซต์ท่ีไม่เหมาะสมมาใช้ เพื่อป้องกันบุตรหลานเขา้ เว็บไซต์ดงั กลา่ วได้ ดังนั้น การสร้างจิตสานึกที่ดีงามและถูกต้องแก่เยาวชนจึงเป็นเกราะป้องกันท่ีสาคัญด่านแรกท่ีจะไม่ให้เด็ก เยาวชน หรือแม้แต่ใครก็ตาม สามารถเข้าไปดู หรือ เล่นการพนันแบบออนไลน์เช่นว่านี้ได้ ถึงแม้จะจับกุมหรือพบเห็นการลักลอบเล่น แต่การหาพยานหลักฐานประกอบก็เป็นเรื่องค่อนข้างลาบาก หรือการเดินทางไปท่องเที่ยวต่างประเทศ ที่มีสถานท่ีเล่นการพนันอย่างถูกกฎหมาย หรือตามเขตชายแดนประเทศไทยที่สามารถเดินทางเข้า-ออกได้โดยง่าย ก็ไม่ได้ทาให้การงมงาย หรือกระหายอยากที่จะเล่นการพนันได้ลดน้อยลงไปไม่ ตราบใดที่ยังมีผู้จัดให้มีการเล่นและผู้เล่นการพนันอยู่ การสรรหาอุปกรณ์ วิธีการเล่น สถานท่ีการเล่นพนัน ก็ไม่ใช่เร่ืองยากสาหรับการเลน่ การพนัน220

การพัฒนาตนคาถามทา้ ยบท 1. จงอธิบายหลักการและแนวคดิ ทเี่ ก่ียวข้องกบั พฤติกรรมเสยี่ งจากปัจจัยภายนอก 2. จงวเิ คราะห์ พฤติกรรมเส่ียงจากปัจจยั ภายนอกตามแนวคิดท่ีเก่ียวข้อง 3. บอกวิธกี ารปอ้ งกนั การเกิด พฤติกรรมเสีย่ งจากปัจจยั ภายนอก 4. บอกวธิ กี ารประยกุ ต์ใช้ความร้แู กไ้ ข พฤติกรรมเสี่ยงจากปัจจัยภายนอก 221

การพัฒนาตน เอกสารอ้างองิ โครงการอนิ เตอร์เน็ตสีขาวเพ่ือเยาวชน. 2553. ไฮไลมือถือวยั รนุ่ ขาโจฮ๋ ิตแติดงอมงม. (ออนไลน์) แหล่งที่มา : www.dailynews.co.th. (สบื ค้นเมอ่ื 18 ตลุ าคม 2553)ชูมิตร ชุณหวาณชิ พทิ กั ษ์. ร.ต.ท. การพนัน (ลกู กลม ๆ ) ไม่เคยทาให้ใครร่ารวย แล้วคุณจะดนั ทุรงั ไป ทาไม. (ออนไลน)์ แหล่งที่มา http://www.f 16falcon.exteen.com (สืบคน้ เม่ือ 13 ตุลาคม 2553)พชั รี นยิ มศลิ ป.์ มองบ่อนการพนนั เชงิ บวก : ทรรศนะในการพัฒนาส่โู ลกเสรนี ิยม. คณะนิตศิ าสตร์ จฬุ า จฬุ าลงมหาวิทยาลยั . (ออนไลน)์ แหลง่ ทมี่ า http://law.chula.ac.th (สบื ค้นเมือ่ 18 ตลุ าคม 2553) เรวดี ผลวัฒนสุข. หลวงปู่โต สมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ (โต พรหมรงั สี). กรงุ เทพมหานคร : ศิลป์ สยามบรรจภุ ณั ฑ์ และการพิมพ์, 2553 สนกุ ดอดคอม. 2553 . ไฮไลมอื ถือดาบสองคมบนโลกไร้สาย (ออนไลน)์ แหล่งทมี่ า : www.game.sanook.com. (สืบคน้ เม่ือ 28 มิถุนายน 2553) สุนทร ช่นื ชิด . พ.ต.ท. พัฒนาการของการพนนั ทายผลฟุตบอลกับแนวทางการป้องกันและ ปราบปราม. เอกสารศึกษาหลกั สูตรผู้กากับการรุ่นที่ 66 Casino.2553. เชญิ ชวนเล่นการพนันออนไลน์. (ออนไลน์) แหลง่ ท่มี า : WWW.plazadd.com. (สืบค้นเมอื่ 26 มิถุนายน 2553)222

การพัฒนาตน บทท่ี 7 การสรางคุณคาในการดําเนนิ ชีวติ อิสรี ไพเราะหัวขอ เนอ้ื หา ตอนที่ 7.1 ความหมายของการเห็นคณุ คาในตนเอง (Self-Esteem)10 7.1.1 ความหมายของคณุ คา ในตนเอง 7.1.2 ความสาํ คัญของการเหน็ คุณคาในตนเอง 7.1.3 พฒั นาการของความรสู ึกเหน็ คุณคาในตนเอง 7.1.4 องคป ระกอบของการเหน็ คุณคาในตนเอง 7.1.5 ความรูค ุณคา ในตัวเอง (self-esteem) 7.1.6 การสรางความม่ันใจในตัวเองดวยความรูคุณคาในตัวเอง (self-esteem) ตอนท่ี 7.2 การสรา งคณุ คา ในการดาํ เนินชวี ิตในแตล ะชวงวยั 7.2.1 การสรา งคุณคา ในการดาํ เนินชีวติ ของเด็กปฐมวยั 7.2.2 การสรา งคุณคาในการดาํ เนนิ ชวี ิตของวยั รนุ 7.2.3 การสรา งคุณคา ในชีวิตของวยั ผูใหญหรอื วยั ทํางาน 7.2.4 การสรางคุณคา ในการดําเนินชีวิตของผูสงู อายุแนวคดิ 1. แนวคิดการเห็นคุณคาในตนเอง 2. พัฒนาการของความรูสึกเหน็ คณุ คาในตนเอง 3. องคประกอบของการเหน็ คุณคาในตนเอง 4. ความรูคณุ คา ในตัวเอง 5. การสรางความม่นั ใจในตัวเองดว ยความรูค ุณคา ในตวั เอง 223

การพัฒนาตนวตั ถุประสงค เมื่อศึกษาในบทเรยี นนแี้ ลว ผเู รยี นสามารถ 1. อธบิ ายหลกั การการเห็นคุณคา ในตวั เอง 2. อธบิ ายหลักการความรูคุณคาในตัวเอง 3. วิเคราะหองคประกอบของการเห็นคุณคา ในตนเองได 4. กําหนดแผนการพฒั นาตนดวยการสรางความม่ันใจในตวั เองดว ยความรู คณุ คาในตัวเอง224

การพัฒนาตนบทนาํ การสรางคุณคาในตนเองสงผลตอการดําเนินชีวิตของมนุษยในทุกยุคทุกสมัยและการเห็นคุณคาในตนเองมีความสําคัญอยางย่ิงตอมนุษยเน่ืองจากเปนความตองการข้ันพ้ืนฐานของจติ ใจทาํ ใหมนษุ ยส ามารถดํารงชีวิตอยูอยางมีคุณคาและสามารถบงชี้คุณภาพชีวิตของบุคคลตามแนวความคิดของบุคคลนั้นๆ ซึ่งการเห็นคุณคาในตนเองเปนส่ิงสําคัญที่กอใหเกิดพฤติกรรมท่ีมีประสิทธิภาพเพราะมาจากความคิดที่มีคุณคาสงผลถึงการเลือกตัดสินใจกระทําตามปจจัยตางๆอยางมีคุณคาในการดําเนินชีวิตอันจะสงผลตอสังคมและประเทศชาติเพราะถาในสังคมมีบุคคลที่เหน็ คุณคา ในตนเองมากสังคมนั้นจะเปนสงั คมทมี่ คี ณุ ภาพตอนท่ี 7.1 แนวคดิ เกีย่ วกับการเหน็ คุณคา ในตนเอง10 เร่อื งท่ี 7.1.1 ความหมายของคุณคาในตนเอง การสรางคุณคาในตนเองสงผลตอการดําเนินชีวิตของมนุษยในทุกยุคทุกสมัยและการเห็นคุณคาในตนเองมีความสําคัญอยางย่ิงตอมนุษยเนื่องจากเปนความตองการขั้นพ้ืนฐานของจิตใจทําใหมนุษยสามารถดํารงชีวิตอยูอยางมีคุณคาและสามารถบงชี้คุณภาพชีวิตของบุคคลตามแนวความคิดของบุคคลนั้นๆ ซึ่งการเห็นคุณคาในตนเองเปนสิ่งสําคัญท่ีกอใหเกิดพฤติกรรมทีม่ ีประสิทธภิ าพเพราะมาจากความคิดท่ีมีคุณคาสงผลถึงการเลือกตัดสินใจกระทําตามปจจัยตางๆอยางมีคุณคาในการดําเนินชีวิตอันจะสงผลตอสังคมและประเทศชาติเพราะถาในสงั คมมบี คุ คลที่เหน็ คณุ คาในตนเองมากสังคมนัน้ จะเปนสังคมท่มี ีคุณภาพ คําวา “คุณคาในตนเอง” ตรงกับคําภาษาอังกฤษวา “Self-esteem” หมายถึงความรูสึกของแตละบคุ คลท่ีมตี อตนเองวา มีความสําคัญ มีความสามารถ มีความสําเร็จมีความนับถือในตนเอง เชื่อมั่นในตนเอง เคารพตนเอง ภาคภูมิใจในตนเอง การประมาณคาตนเอง และความรูสึกเหน็ คุณคาในตนเอง การเห็นคุณคาในตนเอง (Self-Esteem) ของบุคคลเปนการตัดสินคุณคาของตน(Self) และการแสดงออกในรูปของทัศนคติท่ีบุคคลน้ันมีตอตนเอง (Mussen, Conger andKagan. 1969 : 489) ซึ่งเปนผลจากการที่บุคคลไดมีปฏิสัมพันธกับส่ิงแวดลอมโดยเฉพาะอยางยิ่งเชิงประเมินจากผูอ่ืนโครงสรางของตนจึงคอยพัฒนาขึ้นเปนภาพอันเกิดจากการรวมตัวของความคิดความเชื่อประสบการณของบุคคล (Roger. 1951 : 498-501) ทําใหบุคคลมีมโนภาพหรือความคิดตอตนเองแลวประเมินวัดมโนภาพเหลาน้ันโดยอาศัยกระบวนการตัดสินคุณคาของตนจากผลงานความสามารถคณุ ลักษณะตา งๆ ตามมาตรฐานของคา นิยมสว นตนในท่ีสุดจึงพัฒนามา 225

การพฒั นาตนเปนการเหน็ คุณคา ในตนเอง หรือการเห็นคุณคาในตน(Self-Esteem) (Coopersmith. 1984 อางในจันทรฉายพิทักษศิริกุล. 2532 : 4) มีผูใหความหมายของการเห็นคุณคาในตนเองไวหลากหลายดังน้ี บันดาราห (Bundara. 1986 : 356) ใหความหมายของการเห็นคุณคาในตนเองวาเปน การประเมินตนเองวา ตนเองเปนอยางไร ถาประเมินตนเองวาไรคา ก็จะมีความภาคภูมิใจในตนเองตาํ่ แตถ า ประเมินวามีความสามารถกจ็ ะรูสกึ ภาคภมู ิใจในตนเอง หรือเห็นคณุ คา ในตนเองสงู คูเปอรส มิธ (Coopersmith. 1984 : 5) ใหความหมายไววา เปน การท่ีบุคคลพจิ ารณาประเมินตนเองแลวแสดงออกในแงของการยอมรบั ตนเองหรือไมย อมรับตนเองเปน การแสดงใหเ ห็นถึงขอบเขตความเชือ่ ของบุคคลท่ีมีตอตนเองในดา นความสามารถ ความสาํ คัญความสําเรจ็ และความมีคณุ คา ของตนเองซึ่งเปนเร่อื งอัตวสิ ัย บุคคลอ่นื สามารถรับรูไดจากคําพดูและทา ทีทีบ่ ุคคลนั้นแสดงออกมา แซสซ่ี (Sasse. 1978 : 48) ใหความหมายไววา เปนความรูสึกของบุคคลวาตนเองมีความสําคัญและมีคุณคา มีความตองการไดรับความเชื่อถือ การยอมรับนับถือโดยไดรับการสนับสนุนหรือยอมรับนับถือจากผูอื่น เพ่ือทีจ่ ะไดเ กดิ ความรูสึกภูมใิ จและนบั ถอื ตนเอง คาลฮัม (Calhoum. 1977 : 321) ใหความหมายวา เปนความพึงพอใจภายในที่บุคคลใดบุคคลหน่ึงมีความคิดตอตนเอง แบรนเดน (Brandenm. 1981 : 110-125) มีความเห็นสอดคลอ งและเสริมวาเปนความเชือ่ ม่นั และการมีความนับถือตนเอง อันเกิดจากความมีคุณคาของตนเอง ความเช่ือมั่นในความสามารถของตนท่ีจะกระทําสงิ่ ใดๆ ใหสําเร็จไดตามความปรารถนา มาสโลว Maslow (อางถึงใน อภิรดี ปราสาทภรณ. 2515: 52) การมองเห็นคุณคาในตนเอง หมายถึง ความปรารถนาของบุคคลที่ตองการใหบุคคลยกยองชมเชย เกียรติ และนําไปสกู ารแสดงออกทางพฤตกิ รรม เชน การทาํ กจิ กรรม และอาสาสมัคร แมคคอสสกี้ ริชมอนด และสจวต ( McCrosky Richmond, and Stewart. 1986 :116) กลาววา เปนทัศนะของบุคคลท่ีมองเห็นตัวเองในเชิงคุณคาโดยรวม ผูที่เห็นคุณคาในตนเองต่ําจะมีแนวโนมขาดความเช่ือม่ันในความสามารถของตนเอง และวัดสมรรถนะของตนเองทางลบแทบทุกดา น ไมว า จะพยายามมากเพียงใด มกั จะคิดวา ตนเองลมเหลว เมื่อเปนเชนน้ีผูท่ีเห็นคุณคาในตนเองต่ําจึงมักจะมีความสัมพันธทางบวกกับความกลัวในการสนทนาโตตอบ มักตกอยูภายใตอิทธพิ ลของผอู ่ืนและควบคุมตนเองไมคอยไดดังน้ันผูที่มีการเห็นคุณคาในตนเองต่ําจึงมีแนวโนมท่ีจะยอมและคลอยตามกลุม การท่ียอมรับความเห็นของผูอื่นโดยงายก็เพราะมักจะคิดวาความเห็นของตนมคี ุณคา นอยกวา ในขณะที่ผูที่มีการเห็นคุณคาในตนเองสูงมักจะเปนผูนําในการสนทนา มี226

การพัฒนาตนความเชือ่ ม่ันและคาดหวงั ในความสําเร็จท่จี ะไดรับเปนอยา งดี หากนาํ ผูที่มีการเห็นคุณคาในตนเองแตกตางกันมาทํากิจกรรมรวมกันผูที่มีการเห็นคุณคาในตนเองสูงจะเปนผูที่ผูกขาดการสนทนาแตเพียงผูเ ดียว ลอเรนซ (Lawrence. 1987 : 4) ใหค วามหมายของการเห็นคุณคาในตนเองไววาหมายถึง การที่บุคคลประเมินตนเองถึงความแตกตางระหวางตนที่เปนอยูจริงในปจจุบันกับตนที่อยากจะเปน (Ideal Self) ซ่ึงเปนกระบวนการทางดานอารมณท่ีวัดไดจากการท่ีบุคคลเอาใจใสตอความแตกตางน้ี บุคคลซ่ึงมีความแตกตางในการประเมินมากจะมีความรูสึกมีคุณคาในตนเองตํ่าถา หากมคี วามแตกตา งนอยจะมคี วามรสู กึ มีคุณคา ในตนเองสงู เสมอจนั ทร อะนะเทพ (2535 : 40) และนงลักษณ บุญไทย (2539 : 53) กลาววาความรูสึกเห็นคุณคาในตนเอง หมายถึง ความรูสึกท่ีเกิดจากการประเมินตนเองเก่ียวกับการมีคุณคาความสําคัญ ความสามารถ การประสบผลสําเร็จ การยอมรับตนเอง การมีประโยชนตอสงั คม ตลอดจนไดร บั การยอมรบั จากสงั คม เกียรติวรรณ อมาตยกุล (2540 : 4 - 8) กลาววา ความรูสึกเห็นคุณคาในตนเองเปนการสรางภาพพจนที่ดีใหกับตนเอง มีความรูสึกท่ีดีเก่ียวกับตนเอง มองตนเองวามีคุณคามีความสามารถ จากที่กลาวมาท้ังหมดน้ีสรุปไดวาการเห็นคุณคาในตนเองหมายถึงการที่บุคคลมีความรูสึกเห็นคุณคาของตนเอง หรือมีความภาคภูมิใจในตนเอง ซึ่งพิจารณาจากการประเมินคณุ คา ตนเองในดา นความสามารถ ความสําคัญ ความสําเร็จ และความมีคุณคาของตนเองรวมทั้งการสามารถยอมรับการเห็นคุณคาท่ีผูอ่ืนมีตอตน มีความเชื่อมั่นในตนเอง และมีความนับถือตนเอง ซึ่งเก่ียวของกับแนวคิดการมองตัวเอง หรือ มโนภาพแหงตน (Self-Concept) ของแตละบุคคลเน่ืองจากการเห็นคุณคาในตนเองมีพื้นฐานมาจากความรูสึกทีมีตอตนเองซ่ึงเปนมโนภาพแหงตน10 เรอ่ื งที่ 107.1.2 ความสําคญั ของการเหน็ คณุ คา ในตนเอง เปนท่ียอมรับกันวาการเห็นคุณคาในตนเองเปนปจจัยสําคัญย่ิงในการปรับตัวทางอารมณแ ละสงั คม การเห็นคุณคาในตนเองนับวามีคุณคาสูงยิ่งเพราะเปนพ้ืนฐานของการมองชีวิต สมรรถนะทางดานอารมณและสังคมเกิดจากการเห็นคุณคาในตนเอง บุคคลที่เห็นคุณคาในตนเองสูงจะสามารถเผชิญกับอุปสรรคที่ผานเขามาในชีวิต สามารถยอมรับสถานการณท่ีทําใหตนเองรูสึกผิดหวังและทอแทใจดวยความเช่ือมั่นในตนเอง ดวยความหวัง และความกลาหาญจึงเปนบุคคลท่ีประสบความสําเร็จ มีความสุข สามารถดําเนินชีวิตตามที่ตนปรารถนาไดอยางดี 227

การพัฒนาตน(Qubein. 1983 อางในจันทรฉาย พิทักษศิริกุล. 2532:3) นอกจากน้ี พบวา ผูที่เห็นคุณคาในตนเองสูงจะมีพลังในการหลีกเลี่ยงปญหารุนแรงในอนาคตไดเปนอยาง การเห็นคุณคาในตนเองน้ีเปนความรูสึกที่บุคคลมีตอตนเองตามความเปนจริงและมีความถอมตน (Bruno.1983 อางในจันทรฉาย พิทักษศิริกุล. 2532 : 22) การเห็นคุณคาในตนเองนับวามีความสําคัญตอการพัฒนาดานตางๆ โดยเฉพาะดานสุขภาพจิตและสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนซ่ึงมีผลงานวิจัยจํานวนมากที่ยืนยันวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับการเห็นคุณคาในตนเองมีความสัมพันธกันผูท่ีเห็นคุณคาในตนเองสูงมักจะมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงแตก็ไมอาจยืนยันไดวาคนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสงู จะมกี ารเหน็ คุณคาในตนเองสูงดวยเทาท่ีกลาวมาจะเห็นไดวาการเห็นคุณคาในตนเองเปนคณุ ลกั ษณะทส่ี มควรไดร บั การสรา งเสรมิ ต้งั แตเยาววยั10 เรอ่ื งที่ 7.10 1.3 พฒั นาการของความรสู ึกเห็นคุณคาในตนเอง การพัฒนาการเห็นคุณคาในตนเองจะเกิดข้ึนภายใตการพัฒนาความสัมพันธระหวางลักษณะพื้นฐานทางอารมณของเด็กและปจจัยดานส่ิงแวดลอมท่ีตอบสนองตอเด็กจากผลงานของเชสสและโทมัส (Chess and Thomas. 1987:72 ) ไดชี้ใหเห็นวาเด็กทารกมีความแตกตางกันต้ังแตเกิดเด็กบางคนมีการเคล่ือนไหวมากบางคนเคลื่อนไหวนอยและบางคนมีความรูสึกไวมากในการท่ีจะรับรูสิ่งตางๆ และตอบสนองตอบุคคลท่ีเขามาสัมพันธดวย เด็กบางคนดูเหมือนจะระมัดระวังมาก บางคนมีลักษณะมีความพึงพอใจงาย ในขณะท่ีเด็กบางคนดูจะมีลักษณะไมมีความสุข ซึ่งเกิดจากรูปแบบพื้นฐานทางอารมณท่ีแตกตางกันออกไป ซึ่งเชสสและโทมัส(Chess and Thomas. 1987:72 ) ไดจําแนกเด็กออกเปน 3 กลุม คือ เด็กเล้ียงงาย(The Easy Child) เด็กเอาใจยาก (The Slow-to-Warm-Up Child) และเด็กเล้ียงยาก(The Difficult Child) เขาใหความเห็นวาต้ังแตเกิดเด็กบางคนอาจจะมีความยากลําบากในการพฒั นาภาพพจนแหงตน (Self-Image) โดยมีสาเหตุมาจากลักษณะพ้ืนฐานทางอารมณของตัวเดก็ ซ่ึงเรยี กวา \"เด็กเล้ยี งยาก\" และทาทายตอ การท่ีจะชว ยพัฒนาและใหการศึกษาเด็กเหลาน้ีมักจะตอบสนองตอสถานการณมากเกินไป และพบวามีความพึงพอใจตอผลงานที่ไดรับคอนขางนอยออกมาและยากท่ีจะสนองความตองการและความรูสึกของตนเองไมสนใจหรือตอบสนองตอผูอ่ืนในดานดี พบวาเด็กที่มีพฤติกรรมท่ีเปนปญหาเมื่อโตขึ้นมักจะมีลักษณะที่สืบเน่ืองมาจากพื้นฐานทางอารมณตั้งแตในวัยทารก กุมารแพทยและบุคคลที่ทํางานดานเด็กเปนบุคคลแรกท่ีจะพบกับบิดามารดาตลอดจนทารกและสามารถสงเสริมความสัมพันธระหวางบิดามารดากับทารกโดยการใหความรูเก่ียวกับความแตกตางในลักษณะพื้นฐานทางอารมณของทารกใหบิดามารดาไดมีความเขา ใจวาตัวเด็กมิใชสาเหตขุ องเดก็ เลยี้ งยากและมใิ ชวาเดก็ เล้ียงยากจะไมส ามารถแกไขไดแต228

การพฒั นาตนตองเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเลี้ยงดูของบิดามารดาซึ่งเปนส่ิงสําคัญมากในการที่จะพัฒนาเดก็ หญงิ มากกวา เดก็ เพศชาย กลาวโดยสรุปบุคคลท่ีมีลักษณะทางกายภาพที่ดีท่ีนาพึงพอใจจะเห็นคุณคาในตนเองสูงกวาบุคคลท่ีมีลักษณะทางกายภาพไมนาพึงพอใจ ซึ่งสอดคลองกับกระบวนการรับรูความรสู กึ เหน็ คณุ คา ในตนเอง การรับรูความรูสึกเห็นคุณคาในตนเองของบุคคลมีกระบวนการอยู 2 ข้ันตอนดงั น(ี้ Coopersmith. 1981: 120-123) 1. การรับรูความรูสึกเห็นคุณคาในตนเอง (Inner self-esteem)เปนการรับรูคุณคาของตนเอง โดยประเมินจากความสามารถ สมรรถนะและการกระทําตางๆวาผลที่ไดรับตรงตามท่ีตนปรารถนาหรือคาดหวังหรือไม ซ่ึงการรับรูในลักษณะนี้จะถูกสรางขึ้นอยา งถาวรจากประสบการณต ั้งแตช ว งแรกของชีวิต 2. การรับรูคุณคุณคาของตนเองจากภายนอก (Outer self-esteem)เปนการรับรูคุณคาของตนเอง โดยประเมินจากเจตคติและการยอมรับของบุคคลอื่นท่ีมีตอตนเองซ่ึงการรรับรูในลักษณะน้ีสามารถเปลี่ยนแปลงไดตามบทบาททางสังคมและความสามารถในการเผชิญปญ หาของบุคคลนั้นๆ10 เรอ่ื งที่ 107.1.4 องคป ระกอบของการเหน็ คุณคา ในตนเอง องคประกอบภายในตน หมายถึง ลกั ษณะเฉพาะของแตละบคุ คล ที่มีผลทําใหการเห็นคณุ คาในตนเองของบคุ คล แตล ะคนแตกตา งกัน ประกอบดวย 1. ความสามารถทั่วไป สมรรถภาพ และผลงาน (General Capacity,Ability andPerformance) องคประกอบทั้ง 3 ดานนี้ มีความสัมพันธระหวางกันและกันและมีผลตอการเห็นคณุ คาในตนเองของบุคคลโดยแตละดานจะแสดงถึงความถ่ีของการประสบความสําเร็จของบุคคลทั้งในขณะท่ีอยูในระบบโรงเรียนและเมื่ออยูในสังคมขณะเดียวกัน จะมีเร่ืองของสติปญญาเปนตัวเสริม และความสามารถทางวิชาการนี้นับวาเปนเกณฑที่สําคัญในการตัดสินประสิทธภิ าพของเดก็ ในวัยเรียนจากการศึกษาของบลูมพบวา นักเรียนท่ีมีสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนสูงเปนผูเห็นคุณคาในตนเอง สูง กวานักเรียนที่ประ สบความสําเร็จในการเรียนต่ําผลของความสาํ เร็จหรอื ความลมเหลวในการเรยี นนเ้ี กย่ี วขอ งกับหลายสาเหตุ นอกจากวัสดุอุปกรณการเรียนการสอนแลว ยังรวมไปถึงปจจัยอ่ืนๆ เชนครูผูสอนพอแม และเพ่ือนซึ่งเปนปจจัยท่ีมีความสําคัญอยางย่ิงในการทําใหบุคคลมีสัมฤทธ์ิผลทางการเรียนดี และสามารถใชเปนตัวบงบอก 229

การพัฒนาตนถึงการประสบความสําเรจ็ ไดค อนขางชัดเจน สัมฤทธิ์ผลทางการเรียนจึงใชเปนพื้นฐานการทดสอบความสาํ เรจ็ ในอนาคตของบคุ คลและเปน ตวั บงบอกถึงการเห็นคุณคาในตนเองของบุคคลดวย 2. ภาวะทางอารมณ (Affective States) ภาวะทางอารมณเกิดจากการท่ีบุคคลมีปฏิสัมพันธกับบุคคลอื่นแลวประเมินตนเองโดยที่บุคคลอาจประเมินตนเองในทางบวกซ่ึงสงผลใหบุคคลมองตนเองวา เปนบุคคลท่ีมีความสามารถประสบความสําเร็จแลวเกิดความรูส ึกพอใจ ความสุข ฯลฯ เปนผูทเ่ี หน็ คุณคาในตนเองสูง สวนผูที่ประเมินตนเองในดานลบ จะมองตนเองวาไรความสามารถหรือไรสมรรถภาพ จะรูสึกดอย วิตกกังวล การคิดเชนน้ีนอกจากเปนการลดความสุขในชีวติ ปจจุบันแลว ยงั เปน การทาํ ลายความหวังในอนาคตอกี ดว ย 3. ปญหาและพยาธิสภาพ (Problems and Pathology) ไดแกปญหาสุขภาพท่ัวๆ ไปและปญหาทางกายท่ีมีสาเหตุมาจากจิตใจ (Psychosomatic Symptoms) รวมท้ังการกระทําอันเกิดจากปญหาซึ่งมีผลตอการเห็นคุณคาในตนเอง กลาวคือ ผูท่ีมีปญหาดังกลาวสูงจะเห็นคุณคาในตนเองตํ่าและแสดงออกในรูปของความวิตกกังวลมีความทุกขมีความยุงยากสวนตัว สวนผูท่ีมีปญหาดังกลาวนอยจะมีความรูสึกมีคุณคาในตนเองสูง ดังการศึกษาของกลุมนักวิจัยพบวาเด็กวัยรุนที่มีการพัฒนาตนเองตํ่าลงและมีโรคภัยไขเจ็บแทรกแซงจะเห็นคุณคาในตนเองต่าํ 4. คานิยมสวนบุคคล (Self-Values) โดยท่ัวไปแลวบุคคลจะใหคุณคาตอส่ิงตางๆ แตกตางกันออกไปและเมื่อใหคุณคาตอส่ิงใดแลวก็มักจะมีความเช่ือวาส่ิงน้ันเปนมาตรฐานที่สําคัญในการตัดสินคุณคาของตน เชน บุคคลใหความสําคัญตอสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน เม่ือพบวาตนเองไมประสบความสําเร็จในดานนี้จะมีผลใหบุคคลประเมินคุณคาของตนเองตํ่าลงและยังพบวาบุคคลมีแนวโนมท่ีจะใชมาตรฐานทางสังคมในการตัดสินคุณคาของตนเองอีกดวย กลา วคือ บคุ คลจะใหคณุ คา ตอ สงิ่ ตา งๆ ตามท่ตี นใหค ณุ คาไว 5. ความใฝฝนของบุคคล (Aspiration) การตัดสินคุณคาของตนเกิดจากการทบี่ คุ คลเปรยี บเทียบผลงานและความสามารถของตนกับเกณฑความสําเร็จที่บุคคลน้ันตั้งไว ถาผลงานและความสามารถเปนไปตามเกณฑท่ีบุคคลตั้งไว หรือดีกวาท่ีตั้งไวจะทําใหบุคคลเห็นวาตนเองมีคุณคาในทางตรงขาม หากผลงานและความสามารถไมเปนไปตามเกณฑที่บุคคลตั้งไว บุคคลก็จะมองวาตนเองลมเหลว และตัดสินวาตนเองไรคา ดังน้ัน การมองความสําเร็จในดานตางๆ ของบุคคล เชน ความเปนเลิศทางวิชาการ การเขาสังคม และความสําเร็จอ่ืนๆจากภายนอกจึงยังไมเพียงพอที่จะตัดสินคุณคาของบุคคลจําเปนตองพิจารณาถึงความคาดหวังความนึกคิดและความปรารถนาของบุคคลประกอบดวย ซ่ึงสัมพันธก ับองคป ระกอบภายนอกตน230

การพัฒนาตน องคป ระกอบภายนอกตน องคประกอบภายนอกตน (Coopersmith. 1981: 142-148) หมายถึงสภาพแวดลอ มทบ่ี คุ คลมีปฏสิ มั พนั ธตอ กนั สง ผลใหบ ุคคลเกิดการเห็นคณุ คาในตนเองท่ีแตกตางกันประกอบดว ย 1. ความสัมพันธกับผูปกครอง-ครอบครัว ปจจัยท่ีสงผลตอการพัฒนาการเห็นคุณคาในตนเองตอเด็ก คือ สัมพันธภาพระหวางผูปกครองกับเด็ก โดยอยูภายใตสภาพแวดลอ มดังนี้ 1.1 การที่ผูปกครองยอมรับเด็กทั้งหมด หรือเกือบท้ังหมดเก่ียวกับความคิด ความรสู กึ และคณุ คา อยางทเ่ี ด็กเปนอยู 1.2 การที่ผูปกครองกาํ หนดขอบเขตการกระทําไวอยางชัดเจน และดูแลใหเ ดก็ ทําตามของเขตนั้น 1.3 การท่ีผูปกครองใหความนับถือและความเปนอิสระแกเด็กในขอบเขตการกระทาํ ทกี่ ําหนดให รวมทงั้ เนนการใหร างวัลมากกวาการลงโทษ 2. โรงเรียน-การศึกษา โรงเรียนสามารถจัดสภาพแวดลอมในการพัฒนาการเหน็ คุณคา ในตนเองของเด็กตอ จากทางบานได ซ่ึงการที่ครูเปดโอกาสใหเด็กสามารถทํากิจกรรมตางๆ อยางอิสระ โดยไมขัดตอระเบียบท่ีวางไว การใหความชวยเหลือแกเด็กในการแกปญหาตางๆ จะทําใหเด็กเกิดความรูสึกวา ตนไดรับการยอมรับจากครูและเพ่ือนๆ ในหองเรียนซง่ึ สงิ่ เหลา น้ีจะเปนการสง เสรมิ ใหเ ด็กเกิดการเห็นคุณคา ในตนเองได 3. สถานภาพทางสังคม สถานภาพทางสังคมเปนสิ่งท่ีแสดงถึงตาํ แหนงหรอื สถานะของบุคคลในสังคม โดยพจิ ารณาจากลักษณะความเปนอยู รายไดและสถานท่ีอยูอาศัย บุคคลท่ีมีสถานภาพทางสังคมในระดับสูง จะเห็นคุณคาในตนเองสูงกวาบุคคลท่ีมีสถานภาพทางสังคมในระดับปานกลางและต่ํา 4. กลุมเพ่ือน กลุมเพื่อนนับเปนองคประกอบสําคัญที่จะสงผลตอการเห็นคุณคาในตนเอง โดยบุคคลจะเรียนรูและเห็นคุณคาของตนเองจากการประเมิน และเปรียบเทียบตนกับเพื่อนในเร่ืองของทักษะ ความสามารถและความถนัด หากส่ิงเหลาน้ีไดรับการยอมรับ ยกยองจากกลุมเพื่อนที่ตนนิยมชมชอบ บุคคลนั้นจะมองวาตนมีคุณคา มีความหมายและการตัดสินใหค ณุ คา แกตนเองยอ มสูงขึ้นบุคคลทุกคนในสังคมตองการเห็นคุณคาในตนเองและการเห็นคุณคาน้ีสามารถแบงออกเปน 2ประเภทดว ยกนั คือ (Branden. 1981: 110-114) 231

การพัฒนาตน 1. ความตองการความรูสึกมีคุณคาในตนเอง (Self-Esteem) เปนความตองการท่บี ุคคลอยากใหตนเปนผูเขม แขง็ ประสบความสําเร็จ เปนผูมีความสามารถเพียงพอในการกระทําส่ิงตางๆ เปนผูเช่ียวชาญและมีความสามารถชวยเหลือตนเองได มีอิสรภาพ และมีความเช่ือมัน่ ในการเผชญิ กับสิง่ ตาง ๆในโลก 2. ความตองการใหผูอื่นเห็นคุณคาของตน (Esteem from OtherPeople) เปนความตองการของบุคคลที่อยากใหผูอ่ืนยอมรับวาตนเปนผูมีเกียรติมีชื่อเสียง เปนผูมีอํานาจเหนือผูอ่ืนเปนบุคคลท่ีมีความสําคัญและเปนท่ีช่ืนชมของผูอ่ืน องคประกอบที่มีอิทธิพลตอความรูสึกมีคุณคาในตนเองมี 2 ประเภท เชนเดียวกันคือองคประกอบเฉพาะของบุคคล และองคประกอบภายนอกของบุคคล แบรนเดนไดแสดงทัศนะเกี่ยวกับความรูสึกมีคุณคาในตนเองไววา ความรูสึกมีคุณคาในตนเองมีความสําคัญใน 2 แงดวยกัน คือ เปนสิ่งบงบอกถึงคุณสมบัติของบุคคลและบงบอกถึงคุณคาของบุคคลและประกอบดวย องคประกอบที่สําคัญ 2 ประการ คือความมั่นใจในตนเองและความเคารพนับถือตนเอง ความรูสึกมีคุณคาในตนเองจึงเปนความเช่ือมั่นท่ีบุคคลเช่ือวาตนเองมีคุณสมบัติในการทํางานอยางเพียงพอและมีคุณสมบัติเพียงพอในการดํารงชีวิต เบรนเดน (Branden. 1981 : 110-114) มีความเชื่อวาโดยธรรมชาติแลวมนุษยโดยท่ัวไปมีความตองการเห็นคุณคาในตนเองแตบุคคลอาจไมมีความรูวาจะทําอยางไรเพื่อตอบสนองความตอ งการน้ีและไมร วู า มมี าตรฐานการวัดความรสู ึกมีคุณคาในตนเองนี้อยา งไร10 เรื่องที่ 107.1.5 ความรูสกึ เห็นคุณคา ในตัวเอง เกรนส Glen Stenhouse (1994, pp. 7-12) ไดกลาวถึงความรูสึกเห็นคุณคาในตนเองวา เปนพลังท่ีไดรับจากพอแมใหแกเด็กๆ ผูเปนลูกของเขา แตการเห็นคุณคาในตนเองไมใชส่ิงที่ไดรับมาจากกรรมพันธุ ความรูสึกเห็นคุณคาในตนเองเปนสิ่งท่ีถูกสรางขึ้นมาจากประสบการณสวนบุคคล และกอตัวเปนรูปรางข้ึนตามกาลเวลาที่เปล่ียนไป พรอมกับการรับประสบการณใหมๆ ในชีวิตของแตละคน พอแมเปนบุคคลสําคัญ ผูหญิงท่ีจะเปนผูสรางความรูสึกเห็นคุณคาในตนเองของลกู ๆ ใหเกดิ ขึน้ ความรูสึกเห็นคุณคาในตนเองนั้น ข้ึนอยูกับการมองตนเองในทางท่ดี ี หรอื ไมดี ถาหากวาพวกเรามีความรูสึกท่ัวๆ ไปวา เก่ียวกับตนเองวาพอใชได และตัวเราสามารถจัดระดบั ตนเอง เมอ่ื เปรียบเทียบกับคนอน่ื อยใู นระดบั ดี สามารถบอกถึงสวนที่ดีของตนเองได มแี นวคิดเกย่ี วกับตนเองในแงดี กถ็ ือวาเปนคนที่มคี วามรสู ึกเหน็ คณุ คาในตนเองสูง สวนพวกคนท่ีเห็นวาโดยทั่วไปแลวจัดตัวเองวาอยูในระดับท่ีลมเหลว มองตนเองในแงไมดี มีแนวคิดเก่ียวกับตนเองวาไมดไี มไดเ รอ่ื งเปนกลมุ ท่มี ีความรูส กึ เห็นคุณคา ในตนเองระดับตํ่า232

การพฒั นาตน ความรูสึกเห็นคุณคาในตัวเองสูง หมายถึง บุคคลท่ีมีความรับผิดชอบตอการกระทําของตวั เอง มคี วามซอื่ สตั ย มีความภมู ิใจในผลสาํ เร็จ ของงาน บุคคลซึ่งมีความคิดริเริ่ม และมีความมุงมั่น ท่ีจะแกปญหา และรับผิดชอบปญหา ท่ีจะเกิดตามมา เปนคนที่คนอื่นรัก และรักคนอื่น เปนบุคคลท่สี ามารถควบคุมตัวเอง เพ่ือใหบรรลุเปาหมายของงาน คนท่ีมีความรูสึกเห็นคุณคาในตัวเองสูง จะหมายถึงคนที่มีความคิด สรางสรรค มีความรับผิดชอบสูง และซ่ือสัตยตรงกันขามกับคนที่มีความรูคุณคาในตัวเอง ตํ่าหรือพฤติกรรมปองกัน (defensive) คนกลุมนี้มักจะตองการพสิ จู นตวั เอง หรอื วจิ ารณคนอื่น ใชคนอื่น เพ่อื ผลประโยชนของตัวเอง บางคนอาจจะหย่ิง หรือดูถูกผูอื่น มักจะไมมีความม่ันใจในตัวเอง ไมมั่นใจวาตัวเองจะมีคุณคา หรือความสามารถ หรือการยอมรบั ทําใหคนกลมุ นี้ไมก ลาที่จะทาํ อะไร เนือ่ งจากกลัวความลมเหลว คนกลุมน้ีมักจะวิจารณคนอื่น มากกวาท่ีจะกระทําดวยตัวเอง และยังพบอีกวา คนกลุมน้ีมักจะ ชอบความรุนแรง ติดสุรายาเสพติด มีเพศสัมพันธุกอนวัย คนท่ีมีความรูสึกเห็นคุณคาในตัวเอง จะตองมีความสมดุลของความตองการผลสําเร็จ หรืออํานาจ และความรูจักคุณคา ความมีเกียรติ และความซื่อสัตยซึ่งอาจจะหมายถึง จิตใตสํานึก และพฤติกรรมนั่นเอง จิตใตสํานึกของคนท่ีมีความรูสึกเห็นคุณคาในตัวเอง จะตองรูจักบาป บุญคุณโทษ รูสิ่งใดดี สิ่งใดไมดี ความซื่อสัตย ความมีเกียรติสวนพฤติกรรมของ ความรูคุณคาในตัวเอง มีความสามารถที่จะคิดแกปญหา เช่ือม่ันในความคิดและความสามารถ ของตัวเอง สามารถเลือกวิธีการตัดสินใจท่ีถูกตอง หากสูญเสียความสมดุลก็จะทําใหเกิดปญหา เชน หากจิตใตสํานึกไมแข็งแรง หรือสมบูรณพอ ก็จะทําใหคนเกิด พฤติกรรมเช่ือมั่นตัวเองมากเกินไป หย่ิงยโส ดูถูกคนอ่ืน หากแตมีแตจิตใตสํานึกท่ีดี แตไมมีความมุงมั่นท่ีจะประสบผลสําเร็จชีวิต ก็อาจจะไมถึงเปาหมาย ดังน้ัน บุคคลท่ีชอบพูดถึงแตตัวเอง อวดดี ดูถูกคนอื่น คนพาล ชอบเอาเปรียบคนอื่น คนท่ีกลาวโทษคนอื่นไมถือวา มีความรูสึกเห็นคุณคาในตัวเองความรูส กึ เห็นคณุ คาในตัวเองประกอบดว ย ความตระหนักถึงคุณคาตนเอง (Self-respect) และ ความเช่ือม่ันในความสามารถตนเอง (Self-efficacy) จนกลายเปน ภาพแหงตน (Self-image) ความตระหนักถึงคุณคาตนเอง(Self-respect) หมายถึง ความเชื่อวา ตนเองมีคุณคา มีความหมาย มีศักด์ิศรีเทา เทียมผอู ่นื มสี ิทธมิ โี อกาสที่จะสําเร็จ ไดรับส่ิงที่มุงหวัง มีสุขได เชนเดียวกับผูอ่ืน ชีวิตมีคาสมควรไดรับการดูแลปกปองใหดี การไดร ับ (Glen Stenhouse (1994, pp. 7-12) ความเชื่อม่ันในความสามารถตนเอง (Self-efficacy) หมายถึงความเช่ือวาตนเองสามารถ คิด เขาใจ เรียนรู ตัดสินใจในการแกปญหาการเผชิญหนากับความทาทาย 233

การพฒั นาตนหรืออุปสรรคตางๆ ในชีวิตได ไววางใจตนเองวามีความสามารถ มีพลัง มีประสิทธิภาพ และพึ่งพาตนเองได ภาพแหงตน ภาพแรก ในอุดมคติ ท่ีฝนอยากจะเปนภาพทเี่ รามองตนเอง (Self-image) ภาพสอง เปน ภาพแหง ความจรงิความแตกตา งระหวา งความฝน กับความ ใกลเ คยี ง ขาเกง นับถือตวั เองสูงจรงิ (Gap) แตกตา ง ขา แย ภาคภูมิใจตํ่า ไรคา นับถือตนเองตํ่าเรามองตนเองเปน ใคร อยา งไร และคิดหรอื เช่ือ หรือมีทศั นคติเกี่ยวกบั ตนเองอยางไร เรากท็ าํเปน ประจาํ บอยๆ จนเราเปนภาพอยางน้นั ทางกาย ทางวาจา และทางใจทแ่ี สดงออกมา จุดแข็งจุดออ น(S&W) ความเปน ไปไดและขอจาํ กัด (O&T) ของตนเองภาพของเราเปนอยางไร ภาพบวก หรือภาพลบ กับตนเองตารางท่ี 7.1 ภาพแหงตนทมี่ า http://www.novabizz.com/NovaAce/SelfEsteem.htm การสรางภาพแหงตน และความรูคณุ คาในตวั เองปฏกิ ิรยิ าที่ผูอ่นื มตี อเรา แลว เราก็ - ถูกชมวา ดีอยเู รือ่ ยๆ -->ภาพแหง ตน ดี นารัก ฉลาด สรา งภาพตนเองขนึ้ มา -ถูกดาบอยๆ-->ภาพแหงตน ไมด ี ไมน ารัก โงไมเขาทา ภาพของเราเปนอยางไร -ภาพจะถกู สะสมทุกๆวนั -->สะสมขอมลู ตนเองและโลก หากดี ...ภูมใิ จ เชื่อถือตนเอง รอบตัวลงในดวงจติ ของตนเอง-->กลายเปนทศั นคตแิ ละ หากไมด ี ...ดูตนเองไรคา ความเชือ่ ตนเอง-->ตารางท่ี 7.2 การสรางภาพแหง ตน และการความรูคุณคา ในตัวเองทีม่ า http://www.novabizz.com/NovaAce/SelfEsteem.htm234

การพัฒนาตน คนทมี่ คี วามรูคณุ คาในตัวเอง (self-esteem) มักจะประกอบดวยสงิ่ ตอไปน้ี 1. มองโลกในแงดเี สมอมองวิกฤตใหเปน โอกาส เมอื่ มีมืดตองมีสวาง มรี ายตองมดี ี 2. ประเมินตัวเราใหม ีคณุ คาอยูเสมอ 3. เช่ือมัน่ ในความสามารถตัวเอง 4. มองวา ตัวเราเปนสวนหนงึ่ ของชีวติ และเราสามารถเปลี่ยนแปลงตามท่เี ราตองการ ผูที่ไมรูค ณุ คา ตวั เองไมมีความม่ันใจจะไมมีความหวัง ไมมพี ลังในการตอสใู นท่สี ุดจะเปนคนทซี่ มึ เศรากระบวนการเรียนรู จากการเติบโตมากับ ผลลัพธนี้ เขาจะเปนคนที่คาํ ตําหนิ สงสยั ตนเองความเฉยเมย รูส ึกไรคาความอบั อาย รูสึกผดิความกลัว วติ กกังวลกาํ ลงั ใจ มคี วามเชอ่ื ม่ันคํายกยอ งชมเชย เห็นคณุ คาของตนเองการยอมรับนับถือ ยอมรับนับถือตนเองความรัก รกั ตนเองและผูอ่ืนความม่ันคงปลอดภยั รสู ึกวา โลกน้ีเปนท่นี า อยูความสงบ มสี ันตสิ ุขในจิตใจตารางที่ 7.3 คนท่ีมีความรูคุณคา ในตวั เอง ประกอบดวยสิง่ ตอไปนี้ท่ีมา http://www.novabizz.com/NovaAce/SelfEsteem.htm10 เรอื่ งที่ 107.1.6 การสรา งความม่ันใจในตวั เองดว ยความรคู ณุ คา ในตวั เอง ความเชื่อม่ันตนเองและรูคุณคาตัวเองเปนสวนสําคัญในการดําเนินชีวิตลําพงั ความคดิ อยา งเดียวไมส ามารถสรา งความม่ันใจในตัวเองได ความมน่ั ใจจะเร่ิมสรางตั้งแตเด็กจนกระทั่งเราตาย ความมั่นใจจะกระทบตอการตัดสินใจ ดังนั้น ทุกคนควรความสรางความม่ันใจใหก บั ตัวเองอยา งสมาํ่ เสมอ ตัวอยางของความมั่นใจ เชน หากคนจะเปล่ียนอาชีพเขาจะตองม่ันใจในตัวเองหรือมีคนอื่นเห็นถึงความสามารถของเขาที่จะทําใหใหสําเร็จ เมื่อมีความผิดหวังหรือความเครยี ดความมนั่ ใจหรอื เชอ่ื มัน่ ในตวั เองจะชว ยใหแกไ ขสถานการณใหผานไปดว ยดี 235

การพฒั นาตน ในสังคมปจจุบันมีการเปล่ียนแปลงเร็ว ความไมแนนอนทางเศรษฐกิจ คนที่มีความมั่นใจและมีความสามารถในการตัดสินใจ ความคิดริเร่ิมใหมๆการปฏิบัติงานเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงค ความสามารถในการแกปญหา ความสามารถในการสื่อสารกับผูอื่น เพ่ือใหเขาใจเหมอื นกนั คนเชน น้ีจงึ จะอยรู อดในสังคมเหตปุ จ จัย ความรูคุณคาในตัวเองสูง ความรูค ุณคา ในตัวเองตํ่า พกิ าร เจ็บปวยบอ ย ประสบการณลมเหลวปจ จัยภายใน หนาตาดี พืน้ ฐานอารมณหนักแนน บอ ยปจ จัยภายนอก ครูชม เพือ่ นเลน ดว ย นายชอบ ครูดา แมดา เพอื่ นไมคบ เปนสว นหน่งึ เขารว ม กลุมยอมรบั เพื่อนไมยอมใหเขากลมุ เขากบั พนี่ องไมไดความสัมพันธ ครอบครัวกลมเกลียว พอ แมขัดแยง แมข ้บี น ทาํ งานสําเร็จ>ผูอืน่ เหน็ คณุ คา>รูสกึประสบการณ ตนเองมคี า>สรางคณุ คาและ ลม เหลว>ปฏกิ ริ ยิ าเชงิ ลบจากผอู น่ื >รูสกึ ไรสําเรจ็ ความหวัง>พยายามมากขนึ้ คา >ขาดแรงจูงใจและไมอยากพยายามตารางท่ี 7.4 ปจจัยที่สง ผลตอความรคู ณุ คาในตวั เองทีม่ า http://www.novabizz.com/NovaAce/SelfEsteem.htm10 เรือ่ งที่ 7.10 1.7 แนวทางการสรา งคณุ คา ในตนเอง การเสริมสรางความรูคุณคาในตัวเอง เพ่ือท่ีจะเปนคนท่ีมีประสิทธิภาพสูงPeakPerformance หาเวลาสักหน่ึงชั่วโมงในตอนเชาเพ่ือพัฒนาตัวเอง อาจจะเปนการนั่งสมาธิหรือการพจิ ารณาตวั เอง หรือา นหนังสอื ท่สี รา งความเชอ่ื ม่นั หรือฟงเทปคําสอนตางๆ การเร่ิมตนที่ดีจะทาํ ใหเ กดิ ความมัน่ ในและประสบผลสาํ เรจ็ 1.ม อง ป ญหาแ ละ ม อง โล กในแง ดี เลิ กบ นส่ิ ง ท่ี ไ ม ดี เก่ี ย วกั บตั วเอ งลองหากระดาษสักแผนจดความคิดที่ดีๆ เกี่ยวกับตัวเองไวดานหน่ึง อีกดานหน่ึงจดสิ่งที่ไมดีแลวมาวเิ คราะห วามีส่ิงไมดีหรือสิ่งที่ดีมากวากัน หานามบัตรจดส่ิงที่ดีหรือคําขวัญท่ีดีไวกระตุนเตือนตัวเองอยตู ลอดเวลา 2. ทาํ บานใหปราศจากความวุนวาย ฟง เพลง อานหนงั สอื หรอื คุยกับเพอ่ื นทีส่ นิท 3. หาวันละ 10 นาทีเพ่อื พจิ ารณาจดุ ยนื ของตัวเอง สิ่งท่ีสําคัญของชีวิตคืออะไร เราบรรลหุ รือยงั เราเดินผิดแนวทางหรือไม236

การพฒั นาตน 4. คนกับคนที่มองโลกในแงดีหรือคนท่ีมีความรูคุณคาในตัวเอง เพราะเพื่อนจะกระตุนใหเรามีความม่ันใจและความมุงม่ันเพ่ิมขึ้น ตรงกันขาม หากคบคนท่ีมองโลกในแงราย จะทําใหเ รามองโลกในแงราย ความมน่ั ใจกจ็ ะสูญเสียไปดว ย ดังนัน้ เลิกคบกับคนทมี่ องโลกแงราย 5. ใหเลิกเปรียบเทียบตัวเองกับผูอื่น เพราะเราตองยอมรับวาคนเราไมสมบูรณ100% ทกุ คน หากเราเปรยี บเทยี บกับคนอื่นจะทําใหเกิดปญหาทไี่ มส ามารถแกไขไดม ากมาย 6. ใหหาคนที่จะเปน ตนแบบเพือ่ เปนแนวทางการดําเนนิ ชีวิต 7. ตง้ั เปาหมายทเี่ ปนไปไดและมุง สูความสําเร็จนัน้ 8. หาผูท่คี อยชว ยเหลือดานทักษะและทัศนคติในการดาํ รงชีวิตหรือการงาน 9. หากมีคนชมหรือกลาวโทษใหก ลาวคําวาขอบคุณ 10. อยาดูถูกตัวเองหรืออยามองวาตัวเองไมมีความสามารถ หากเราคอยตอกย้ําถงึ จดุ ดอยของเรา เราจะไมมที างประสบผลสําเรจ็ 11. ใหเ พมิ่ ทกั ษะหรอื คณุ ภาพชีวิตจากการทาํ งาน การอานหนงั สอื หรือจากส่ืออน่ื ๆ 12. ใหจดสิ่งท่ีดีเกี่ยวกับตัวคุณ เชน ความซื่อสัตย ความคิดริเร่ิม ความมุงม่ันความเอ้ืออาทร เปน ตน ใหอ านสงิ่ เหลา นีบ้ อยๆ 13. จดผลงานท่ีคุณชื่นชมหรือประสบผลสําเร็จสัก 10 อยาง เชน การศึกษาผลการศกึ ษา การไดรับรางวลั การชวยเหลือผูอ ่ืน 14. จดคําขวัญไวในที่เห็นชัดและนํามาทองเม่ือมีโอกาส เชน ผมยอมรับความสามารถตัวเอง ผมเปนคนลิขิตชะตาชีวิตของผมเอง หนูภูมิใจและเช่ือมั่นในตัวเองตอนที่ 7.2 การสรา งคณุ คาในการดาํ เนนิ ชวี ติ ในแตละชว งวยั10 เรื่องท่ี 107.2.1 การสรา งคณุ คา ในการดาํ เนนิ ชีวติ ของเดก็ ปฐมวยั เด็กปฐมวัย คือ วัยทม่ี ชี วงอายุระหวา งแรกเกิด จนถึง 12 ป โดยสามารถแบงชวงอายุของเดก็ ปฐมวยั ไดดงั น้ี (พวงทอง ไกรพบิ ลู ย. http://haamor.com/th) เด็กแรกเกิด9หรอื ทารกแรกเกิด9หรือเดก็ 9แดง (New born หรือ Neonate) ซ่งึ หมายถงึ เดก็ 9ต้งั แตเ กิดจนอายุ 28 วันหรือ 1 เดอื น เด็กออน9หรอื เด็กทารก9 (Infant) หมายถึง เด็ก9อายุต้ังแต 1 เดอื นถงึ 1 ป เดก็ 9วยั เตาะแตะ (Toddler) คือ ชวงอายุ 1 - 3 ป เดก็ 9กอ นวยั เรียน (Preschool age) คอื ชว งอายุ 3 - 5 ป เด็ก9วัยเรยี น (School age) คอื ชว งอายุ 6 - 12 ป 237

การพฒั นาตน การแบงเด็ก9เปนวัยตางๆ นั้นเนื่องจากเด็ก9เปนวัยท่ีรางกายและจิตใจยังเจริญเตบิ โตไมสมบรู ณรา งกายและจติ ใจจึงมีการเจรญิ เติบโตและพัฒนาอยูตลอดเวลาซ่ึงแตกตางกันในแตละชว งวยั ดงั กลาว และแตกตางกบั ผูใหญ การแยกเด็ก9เปน วัยตางๆ จึงชวยใหการดูแลเด็กท้ังดานการศึกษาและดานสุขภาพที่ถูกตองเหมาะสมกับวัยของเด็ก ซึ่งการสรางคุณคาในตนเองของเด็กปฐมวัย เด็กปฐมวัยที่มีความรูคุณคาในตัวเองหมายถึง เด็กที่มีความคิดท่ีดีตอตนเองมองเห็นและแนใจวาตนเองมีคุณลักษณะตางๆ เชน ความสามารถความรับผิดชอบท่ีจะชวยเหลือตนเองใหประสบความสําเรจ็ ไดมคี วามมน่ั ใจในตนเองรับผิดชอบ ต้ังใจทํางานที่ไดรับมอบหมายใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยตนเอง สวนเด็กที่ขาดความเช่ือมั่นในตนเอง หมายถึง เด็กท่ีมีความรูสึกนึกคิดที่ไมดีเก่ียวกับตนเองมักมีแตความสงสัยในความสามารถของตนเองไมแนใจวาตนมีความสามารถที่ชวยเหลือตนเองได หรือถาทําแลวงานจะสําเร็จดวยดี เด็กประเภทขาดท่ีความเช่ือม่ันในตนเองจะมีความรูสึกไมไววางใจหรือไมพอใจในตนเองอยูเสมอผลที่ตามมาก็คือ ขาดความกลา และไมยอมตอ สกู ับสงิ่ ตา งๆ หรอื เผชญิ กบั อปุ สรรคท่ีเกิดข้ึน จะตองคอยแตพ่ึงพาผูอ่ืนอยูเสมอ การเร่ิมปลูกฝงความเช่ือมั่นในตนเองใหกับเด็กเปนสวนหนึ่งของการพัฒนาบุคลิกภาพของเดก็ ตามทฤษฎีและแนวคดิ ของ Erik Erikson นกั จิตวิเคราะหชาวอเมริกันท่ีเนนและใหความสําคัญกับส่ิงที่มีผลตอพัฒนาการทางบุคลิกภาพและการมีความเชื่อมั่นในตนเองของเด็กมากที่สุด คือการปฏิบัติตนของพอแมท่ีมีตอเด็ก ส่ิงแวดลอมรอบตัวเด็ก และประสบการณตางๆ ท่ีเขาไดรับต้ังแตแรกเกิด ดังน้ัน จึงสรุปไดวา แม คือ บุคคลแรกท่ีชวยสรางความเชื่อม่ันใหแกลูก ดังนี้(พิทยาภรณ มานะจตุ ิ. (2543) ในชวงปแรกของชีวิตแมจะเปนผูสรางความรูสึกไววางใจ ความรูสึกมองโลกในแงด ีใหกับชวี ิตทารก เพราะเม่ือทารกรองไหไมวาจะเปนความรูสึกหิว ความรูสึกอะไรก็แลวแต หากไดรับการตอบสนองจากผูเปนแม ทารกก็จะรูจักการรอคอยรอเวลาที่แมจะมาทําสิ่งตางๆตอบสนองตอความตองการของทารก ทารกเรียนรูวิธีการรองไหเม่ือตองการแม และแมจะเปนผูตอบสนองความตองการนั้นๆได Erikson ไดกลาวถึงความเก่ียวของสัมพันธระหวางแมและทารกวาเปนพ้ืนฐานของการพัฒนาความรูสึกของเด็กท่ีจะไวไจหรือไมไวใจสิ่งตางๆ ในโลก (พิทยาภรณมานะจตุ ิ. (2543). ในชวงอนุบาลหรือปฐมวัยซึ่งเปนวัยทองของชีวิตเด็กเร่ิมเรียนรูวาตนเองมีความสามารถท่ีจะชวยตนเองไดหรืออาจจะเปนเด็กที่ชางสงสัยเม่ือเขาสามารถพัฒนาความไวว างใจจากแมและสภาพแวดลอมรอบตัวเขาไดเ ขาก็จะเกิดความนึกคิดที่ดีเกี่ยวกับตนเองในดานตางๆ พรอมกันนั้นก็จะสรางความเชื่อม่ันใหมีข้ึนตอตนเอง การเล้ียงดูอยางเอาใจใสจากแม การให238


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook