1 ... การท่องเทีย่ วไปสู่ความสาเร็จ ... คาแนะนาการดาเนินชวี ิตของคนหนมุ่ สาว …Rovering to Success .. A Guide to Young Manhood By Lord Baden Powell of Gilwell เขียนโดย เบเดน โพเอลล์ ผกู้ ่อกาเนดิ ลกู เสอื โลก แปลเป็นภาษาไทยโดย นายอภัย และ อาทร จันทวิมล (พิมพภ์ าษาไทยครงั้ แรกพ.ศ. 2520 แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ อีบคุ พ.ศ. 2565)
2 การทอ่ งเท่ยี วไปสคู่ วามสาเร็จ คาแนะนาการดาเนินชีวติ ของคนหนุ่มสาว แปลและเรยี บเรยี งจากหนังสือ Rovering to Success A Guide for your Manhood ของ ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ แห่งกิลเวลล์ พรอ้ มด้วยภาพประกอบซึง่ เป็นฝมี อื ของทา่ น แปลและเรียบเรียงโดย นายอภยั จันทวิมล และ นายอาทร จนั ทวมิ ล พมิ พ์ครงั้ ทีส่ ่ี อีบคุ หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2565
3
4 ชือ่ หนังสอื การท่องเที่ยวไปสู่ความสาเร็จ ผแู้ ต่ง(ภาษาอังกฤษ) ลอรด์ เบเดน โพเอล แห่งกิลเวลล์ ผู้แปล (ภาษาไทย) นายอภัย จันทวิมล และ นายอาทร จันทวมิ ล ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมดุ แหง่ ชาติ การท่องเทย่ี วสู่ความสาเรจ็ Rovering to Success แตง่ โดย ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ แห่ง กลิ เวลล์ Lord Baden Powell of Gilwell พมิ พค์ รง้ั แรกในภาษาองั กฤษ เมื่อ ค.ศ. 1922 (พ.ศ. 2465) หมดอายลุ ิขสทิ ธ์ิ 50 ปี เมื่อ ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) แปลโดย นายอภัย จันทวิมล และ นายอาทร จนั ทวมิ ล ลกู เสอื 2. ลกู เสือวสิ ามัญ 3. โรเวอร์ 4. การทอ่ งเทีย่ วไปส่คู วามสาเร็จ 5. Rovering to Success พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2520 1,000 เล่ม โดยโรงพมิ พ์คุรุสภา พมิ พ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2523 1,000 เลม่ โดยโรงพิมพค์ ุรุสภา พมิ พค์ ร้ังท่ี 3 พ.ศ. 2536 2,000 เลม่ อนุสรณ์งานพระราชทานเพลงิ ศพ นายอภัย จันทวมิ ล พิมพ์ครงั้ ท่ี 4 อบี คุ หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ 16 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 จัดทาโดย นายอาทร จนั ทวมิ ล 165 สขุ ุมวิท 4 กทม 10110 โทรศัพท์ 0866-77-5555 อีเมล์ [email protected]
5 สารบาญ คานา บทท่ี1 ทาอยา่ งไรจงึ จะมคี วามสุขไมว่ า่ จะรา่ รวยหรือยากจน (How to be Happy through Rich or Poor) 1.1 การเดินทางของชีวติ 1.2 จุดมงุ่ หมายของหนงั สอื นี้ 1.3 การย่นื คาแนะนาให้ 1.4 ความสาเร็จของชวี ติ อยา่ งแท้จรงิ เทา่ นน้ั คอื ความสขุ 1.5 กุญแจสองดอกแหง่ ความสุข 1.6 คนทีม่ ีความสุข 1.7 ความสขุ อยใู่ กลแ้ ค่มอื เอื้อม 1.8 ความเพลิดเพลินมใิ ชค่ วามสุข 1.9 เศรษฐที น่ี ่าสงสาร 1.10 การทางานอยา่ งกระตอื รือรน้ ทาใหเ้ กดิ ความสุข 1.11 จงพายเรอื ของทา่ นเอง 1.12 การศึกษาเพิ่มเตมิ ดว้ ยตนเองเปน็ ส่ิงจาเป็น 1.13 จงกา้ วไปข้างหน้าดว้ ยความมน่ั ใจ 1.14 คติเตือนใจทมี่ ีผูอ้ ่ืนกล่าวไว้ บทที่ 2 อุปสรรคชวี ิตหมายเลข 1 การพนัน (Rock Number One: Horse) 2.1 มา้ ประจาตวั ของข้าพเจ้า 2.2 ม้า 2.3 การแขง่ ขันชงิ รางวลั ท่ีกลายเป็นการหาเงิน 2.4 ฟตุ บอล เป็นเกมกีฬาทยี่ ิ่งใหญ่...แต่
6 2.5 การพนนั ในการกีฬา เปน็ การทาลายกฬี าที่แทจ้ ริง 2.6 ข้อควรระวงั ในการกีฬา 2.7 การพนนั มอี ันตรายอย่างไร? 2.8 กีฬาท่แี ทจ้ รงิ 2.9 กีฬาคืออะไร? 2.10 วิธหี าความสนุกและเงินอย่างซ่อื สตั ย์ 2.11 อยา่ ข้เี กยี จ 2.12 กฬี าทไ่ี ดล้ งไปเลน่ เอง 2.13 กีฬาปนี ภเู ขา 2.14 งานอดเิ รกและคุณคา่ ของงานอดเิ รก 2.15 อาชพี ท่เี หมาะสม 2.16 ความประหยดั มธั ยัสถ์ 2.17 จงฉวยโอกาสของท่าน 2.18 วธิ สี ะสมเงนิ ทาไดอ้ ย่างไร? 2.19 ลกั ษณะนสิ ัยท่ดี ีสาหรบั งานอาชีพ 2.20 ความรบั ผดิ ชอบ 2.21 อมิ หะลาลา – แพนซี พวกซ่มุ ยงิ 2.22 วธิ ีเตรียมความพร้อมสาหรับงานอาชีพ 2.23 การทาตนใหเ้ ป็นคนทข่ี าดไมไ่ ด้ 2.24 คตสิ อนใจ
7 บทที่ 3 อปุ สรรคชีวติ หมายเลข 2 เหล้า และการตามใจตนเอง (Rock Number Two: Wine) 3.1 เหลา้ แกว้ ท่สี าม 3.2 การดืม่ เหล้าระหวา่ งกินอาหาร 3.3 ความพยายามหาเพ่ือน เปน็ ขัน้ แรก ของการด่ืมเหลา้ 3.4 การด่มื เหล้าคนเดียวเพ่ือดบั ทุกข์ 3.5 พลงั แรงของตวั อยา่ ง 3.6 การสบู บหุ ร่ี 3.7 การกินอาหารมากเกินไป 3.8 การนอนหลบั นานเกนิ ไป 3.9 การใชค้ าพูดและภาษาหยาบคายและรุนแรงเกินไป 3.10 การทางาน มากเกนิ ไป 3.11 การมรี ่างกายแข็งแรงจะช่วยในการควบคุมตนเอง 3.12 ตานานของ ลงุ จอหน์ เชลล์ คนดอื้ รัน้ 3.13 ทางอ้อมอุปสรรคหรือหนิ โสโครก 3.14 การบงั คับใจตนเอง 3.15 วิธฝี กึ บงั คบั ใจตนเองของนายพลโนกิ 3.16 การบงั คบั ใจตนเองทาคนให้ธรรมดาเปน็ สภุ าพบรุ ุษ 3.17 ความจงรกั ภักดี ซอ่ื ตรงหรือเลอื่ มใส 3.18 การรักษาคาพดู วาจาสตั ย์
8 3.19 ความละอายใจ ทาใหก้ ลายไปเปน็ คนนอกสังคม 3.20 คนหนมุ่ สาวอยากบกุ ไปอยา่ งไมห่ ยดุ ย้งั แต่บางทีขาดความรอบคอบ 3.21 การแนะนาและควบคมุ ตนเอง 3.22 ทอมม่ี ทอมกินส์ เอาชนะความตาย ไดอ้ ยา่ งไร? 3.23 การรักษาพยาบาล ตนเอง 3.24 คติเตือนใจทม่ี ผี อู้ ่ืนเคยกล่าวไว้ บทที่ 4 อปุ สรรคชวี ิตหมายเลข 3 เรอื่ งเพศสมั พนั ธ์ (Rock Number Three: Woman) 4.1 ความสาคัญของผหู้ ญงิ 4.2 สญั ชาตญิ าณทางเพศ และความเส่ยี งภัยของราชาแห่งขนุ เขา 4.3 ความเปน็ หนุ่มสาว 4.4 ความตอ้ งการทางเพศมาจากสาเหตธุ รรมชาติ 4.5 วธิ ที ที่ าใหช้ วี ิตเกิดขน้ึ ใหม่ 4.6 หวั เชือ้ สายพันธุ์ของพ่อและแมม่ ีความสาคัญ 4.7 การสาเรจ็ ความใครด่ ว้ ยตนเอง 4.8 กามโรค 4.9 บาปของพ่อแมซ่ ึง่ อาจตกไปถึงลกู 4.10 ความเป็นผใู้ หญ่ 4.11 ไม่ใชห่ น้าทขี่ องฉัน 4.12 จงเปน็ นายของตนเอง
9 4.13 การแนะแนวให้ตนเอง 4.14 อิทธพิ ลของพ่อแม่ 4.15 จงรักษาตนเองใหป้ ลอดภัย และช่วยดารงรักษาเผา่ พนั ธ์ุ 4.16 วิธีทาใหส้ ขุ ภาพดีและมคี วามแขง็ แรง 4.17 อากาศบริสทุ ธิ์ 4.18 ความสะอาด 4.19 ฟัน 4.20 การออกกาลงั กาย 4.21 กระเป๋าเป้สะพายหลัง 4.22 จงเปน็ คนที่มคี ่า 4.23 การแต่งงาน 4.24 ความรกั อยา่ งเดก็ ๆ 4.25 วธิ ีหาค่คู รองท่ีเหมาะสม 4.26 คาเตือนจากคนขายหมู 4.27 หน้าทีข่ องชายหญงิ ในการแต่งงาน 4.28 เด็กๆ 4.29 ความรบั ผิดชอบของการเป็นพอ่ แม่ 4.30 เคลด็ ลบั สุดทา้ ยเพอ่ื ความสุข
10 บทท่ี 5 อปุ สรรคชีวิตหมายเลข 4 คนเอาแตไ่ ดแ้ ละคนขี้โกง (Rock Number Four: Cuckoos and Humbugs) 5.1 คนเอาแตไ่ ด้ 5.2 ผพู้ ดู จูงใจคน 5.3 ไมก้ ระดก 5.4 การปฏิรปู และการปฏิวตั ิ 5.5 อสิ ระแห่งความคดิ 5.6 รฐั บาลแห่งชาติ 5.7 สภาวะของกรรมกรในประเทศอังกฤษ 5.8 คนจาพวกนกกาเหว่าที่มักใหญ่ใฝ่สงู 5.9 การขาดอารมณ์ขันของคนทเี่ อาแต่ได้ 5.10 ต้องการความเคารพ 5.11 คนหย่งิ ยโส 5.12 คนอวดรู้ 5.13 การเรียนรดู้ ้วยตนเอง 5.14 คนขโ้ี กง 5.15 การเดนิ ทางเพ่ือศึกษาเรียนรู้ 5.16 การแสดงตนเองออกมา 5.17 บทเรยี นจากเปรมเปรห่ ์ เพอื่ คนใจร้อน 5.18 การฟัง
11 5.19 การใหบ้ รกิ าร 5.20 การใหบ้ รกิ ารเพ่อื ทอ้ งถน่ิ 5.21 รัฐสภา 5.22 สาธารณรฐั แหง่ ใหม่ 5.23 ความคดิ สองฝา่ ยในการแกป้ ญั หา 5.24 กระทะท่ีรอ้ นนน้ั อาจเยน็ กว่าเปลวไฟทีร่ ้อนย่ิงกวา่ 5.25 ความสัมพนั ธ์ระหว่างนานาชาติ 5.26 จงเปน็ คนใจกว้าง 5.27 อาหารความคิดเพอื่ บารุงสมอง บทท่ี 6 อุปสรรคชวี ิตหมายเลข 5 การคดั คา้ นความเชอ่ื ทางศาสนา (Rock Number Five :Irreligion) 6.1 ความไมเ่ ชือ่ วา่ มีพระผ้เู ป็นเจา้ 6.2 ผมู้ รี สนยิ มและการศกึ ษาสูง 6.3 ศาสนามีความสาคญั ต่อความสุข 6.4 หนงั สอื แหง่ ธรรมชาติ 6.5 ความรู้เกยี่ วกบั ธรรมชาติเป็นบนั ไดไปส่สู วรรค์ 6.6 ความมหศั จรรย์ของป่า 6.7 นา้ ตกอันยิ่งใหญ่ 6.8 ความงามของธรรมชาติ 6.9 การเดนิ ทางไกลโดยไมใ่ ชย้ านพาหนะ
12 6.10 ร่างกายคน เปน็ สงิ่ หนึ่งในการเรียนร้ธู รรมชาติ 6.11 ธรรมชาตสิ ว่ นท่เี ล็กจนมองไมเ่ หน็ ด้วยตาเปลา่ 6.12 ธรรมชาติทอี่ ยไู่ กลจนตอ้ งสอ่ งด้วยกลอ้ งดดู าว 6.13 โลกของสัตว์ 6.14 จติ วญิ ญาณ 6.15 ความรสู้ ึกรบั ผิดชอบ 6.16 ความรกั 6.17 ข้อคดิ ที่มคี ติจากหลายแหลง่ บทท่ี 7 การลูกเสอื วสิ ามัญ หรือ ลกู เสอื โรเวอร์ (Rover Scout) 7.1 ลกู เสอื วิสามญั คืออะไร? มีจุดมงุ่ หมายอย่างไร? 7.2 การอยเู่ ต็นทพ์ ักแรม 7.3 วิธเี ขา้ เปน็ ลูกเสอื วสิ ามญั 7.4 ตวั อย่างกิจกรรมของลูกเสือวิสามัญ 7.5 ความรูใ้ นเชงิ พรานของนกั นิยมไพร 7.6 จงเตรียมพรอ้ ม 7.7 การจัดองค์กรของลกู เสอื วสิ ามญั 7.8 จดุ มุ่งหมายขององคก์ รลกู เสอื วิสามัญ 7.9 ขน้ั ตอนการฝกึ อบรมลกู เสอื วสิ ามญั 7.10 ขัน้ เตรียมลูกเสือวสิ ามญั 7.11 การให้บรกิ ารในหนา้ ท่ีของพลเมอื ง
13 7.12 กจิ กรรมเสนอแนะสาหรับลูกเสอื วสิ ามญั 7.13 การพักผอ่ นหย่อนใจเป็นหมคู่ ณะ 7.14 กจิ กรรมกลางแจง้ ทีเ่ หมาะสม 7.15 กจิ กรรมในรม่ ทเี่ หมาะสม 7.16 การปีนปา่ ยภูเขา 7.17 การใหบ้ รกิ ารเพ่อื ผู้อ่ืน 7.18 ตัวอย่างการฝึกปฏิบัติงานของลกู เสอื วสิ ามญั สาหรบั เตรยี มช่วยผ้ปู ระสบอบุ ตั เิ หตุ 7.19 ความเบิกบานแหง่ ชวี ิต 7.20 ความรับผดิ ชอบของลกู เสือวสิ ามัญ โรเวอร์ 7.21 การให้บริการขัน้ ทสี่ งู ขึ้น ของลกู เสอื วสิ ามัญ 7.22 ความเปน็ พ่อแม่ 7.23 การอุดซ่อมแซมรูร่วั ชองชวี ติ 7.24 คาขอรอ้ งสุดท้าย ***************************
14 คานา หนังสอื “การทอ่ งเทยี่ วสคู่ วามสาเรจ็ ” เลม่ น้ี เปน็ เรอื่ งเกย่ี วกบั วธิ กี ารท่ีจะนา ชวี ิตของคนหนุม่ สาวไปสู่ “ความสาเร็จ” โดยมเี รอ่ื งสาคญั ดังนี้ - การดาเนินชีวิตของคนเราน้ัน เปรียบเสมือนการพายเรือล่องแม่น้าลาธาร ออกสู่ทะเลลึก ที่จะต้องผ่านคลื่นลมพายุ และหินโสโครกใต้น้า เช่นเดียวกับชีวิตคน ทต่ี อ้ งหาทางตอ่ สใู้ หผ้ ่านพ้นอุปสรรคปญั หาชีวิตตา่ งๆ ไปสคู่ วามสาเร็จ - คนรุ่นเก่าควรถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ท่ีผ่านมา ให้คนรุ่นใหม่ ทราบ ก่อนท่ีคนรุ่นเก่าจะตายจากโลกนี้ไป แล้วปล่อยให้คนรุ่นใหม่ต้องประสบปัญหา เช่นเดยี วกับทค่ี นรุ่นเกา่ เคยพบมาแล้ว ความสาเร็จทแี่ ทจ้ รงิ เพยี งอยา่ งเดยี วคือความสขุ สองขั้นตอนสู่ความสุขคือ: การใช้ชีวิตเป็นเกมกีฬาที่มีแพ้มีชนะ และมอบความรัก ช่วยเหลือผู้อ่ืนในสงิ่ ทเี่ ขาต้องการ - ความสุขไม่ใช่แค่ความเพลิดเพลิน และไม่ใช่ผลของความม่ังคั่งร่ารวย ความสขุ เกิดจากการทางานทีก่ ระตอื รอื ร้นมากกว่าความเพลิดเพลิน ความสาเร็จข้ึนอยู่ กับความพยายามของตนเองในการเดินทางชีวิต และการหลีกเลี่ยงอุปสรรค์ท่ีเปรียบ เสมือนหินโสโครกใต้น้าบางชนิด การศึกษาด้วยตนเองท่ีต่อจากสิ่งท่ีได้จากโรงเรียนเป็น สง่ิ จาเป็น - จงกา้ วไปข้างหน้าอยา่ งม่ันใจ จงพายเรอื ชวี ิตของทา่ นด้วยตนเอง เบเดน โพเอลล์ แหง่ กลิ เวลล์
15 คาอธบิ ายของผู้แปลและเรียบเรยี ง ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ แหง่ กลิ เวลล์ หรือ บีพี ผู้ให้กาเนิดการลูกเสือ ได้เขียน หนงั สือค่มู อื ลูกเสือทสี่ าคญั เปน็ ภาษาองั กฤษ ไว้ 3 เลม่ คือ 1. Scouting for Boys การลกู เสือสาหรบั เด็กชาย 2. Wolf Cub’s Handbook คู่มอื ลูกเสือสารอง 3. Rovering to Success การท่องเที่ยวไปสูค่ วามสาเร็จ หนังสอื ท้งั 3 เลม่ ดังกลา่ วไดม้ ีการแปลเป็นภาษาไทยเรยี บรอ้ ยแล้ว หนังสือเรื่อง “การท่องเที่ยวสู่ความสาเร็จ”น้ี เคยเป็นหนังสือทีขายดีระดับ โลก (International Best Seller) เพราะเป็นตาราคู่มือสาคัญของลูกเสือวิสามัญ และ แนวทางชีวิตคนหนุ่มสาว เก่ียวกับวิธีฝ่าฟันอุปสรรคขวากหนาม และ การหา ความสขุ ทแี่ ท้จรงิ ซ่งึ เปรียบเสมอื นการพายเรอื ผ่านเกาะแก่งในธารนา้ ไปสทู่ ะเลใหญท่ ่ีมี คล่นื ลมหนัก ซึ่งอาจทาใหเ้ รอื ชวี ติ พลกิ ควา่ ได้ ในหนังสือนี้ บี พี ได้แนะนาอุปสรรคที่เปรียบเสมือนหินใต้น้า หรือคล่ืนใหญ่ แหง่ ชวี ิต เช่น การพนัน เหลา้ เพศสัมพันธ์ คนเอาแต่ได้ และคนขี้โกง โดยบรรยาย เร่ืองต่างๆไปคล้ายการที่พ่อหรือลุง เล่านิทาน ให้ลูกหลานฟัง โดยสอดแทรก ประสบการณ์จริงของท่านระหว่างเป็นทหารท่ีอินเดียและแอฟริกา แยกรายละเอียด ลงไปในเร่ืองสาคัญ เช่น วิธีหลบเล่ียงปัญหาใหญ่ และส่ิงท่ีไม่คาดคิด การรีบลงมือทา ทนั ทีไม่รอถึงวนั พรงุ่ นี้ การพึง่ ตนเอง การประหยดั มัธยัสถ์ การเตรียมตวั ให้พรอ้ มอยู่เสมอ การฝึกผจญภัย อันตราย และความยากลาบาก วิธีหาความสุขให้ตนเอง การฝืนใจทา ส่งิ ท่ีไมช่ อบ ไมส่ ะดวก ไม่รน่ื รมย์ วิธที างานฝา่ ฟันปญั หาอปุ สรรคและท่ียากลาบาก การทางานของชิ้นส่วนในร่างกาย เช่น หัวใจ หู ตา ตับ ไต อวัยวะเพศ การรักษาสุขภาพ อันตรายของการสูบบุหรี่ การออกกาลังกายแบบเดินสลับวิ่ง กามโรคทตี่ ดิ ต่อไปถงึ ลกู หลาน
16 วิธีปฏบิ ัตติ นใหม้ เี กียรติ เชอื่ ถือได้ ความซ่อื ตรง ซอื่ สตั ย์ รับผดิ ชอบ การฝึกคน ใหเ้ ปน็ มนุษย์ ให้เปน็ สภุ าพบุรุษ สุภาพสตรี การปกป้องสตรีและเด็ก การช่วยเหลือคนอ่ืน ที่ประสบความลาบากในสิ่งท่ีเขาต้องการ การทาความดีเพ่ือสังคมและประเทศชาติ การทาใหโ้ ลกนีด้ ีกว่าเมื่อเราเกดิ มาแม้เพียงเลก็ น้อย การศกึ ษาด้วยตนเอง เบเดนโพเอล ได้อธิบายให้คนหนุ่มสาวรู้ถึงหลักการของการปกครอง ส่วนท้องถ่ิน การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา การปกครองแบบ สาธารณรัฐ และแบบประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข ความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ ถึงแม้หนังสือนี้จะเขียนมานานกว่าหน่ึงร้อยปีมาแล้ว ดังน้ันบางข้อความ จงึ อาจไมท่ นั สมยั ในปัจจุบัน แต่ขอ้ คดิ คาแนะนาตา่ งๆ ส่วนใหญ่นั้น ยังสามารถนาไปใช้ ในชวี ติ ประจาวนั ในปัจจุบันได้อย่างดี การแปลหนังสือน้ีจากต้นฉบับภาษาอังกฤษเป็นไทยนั้นค่อนข้างลาบาก เพราะคาศพั ท์และคาเปรียบเปรยบางอย่างเป็นสานวนท่ีนิยมใช้เมื่อร้อยปีก่อน ซึ่งบางที ก็หาคาแปลในพจนานุกรมไมพ่ บ และถ้าใชก้ ารแปลผ่านคอมพิวเตอร์ เชน่ กูเกิล ทรานสเลต กอ็ ่านไดเ้ ปน็ ภาษาไทยที่เขา้ ใจยากจนแทบจะไม่รเู้ รื่อง แต่เดิม หนังสือนี้ได้เขียนไว้สาหรับเด็กผู้ชาย แต่ในการแปลคร้ังน้ี ได้พยายามปรับปรุงให้สามารถนาไปใช้กับผู้หญิงได้ด้วย เพราะในปัจจุบันมีลูกเสือ วิสามญั ที่เป็นหญงิ จานวนมาก หนังสือน้ีในฉบับภาษาอังกฤษได้พิมพ์ครั้งแรกใน พ.ศ. 2465 (ค.ศ. 1922) หมดอายุลขิ สทิ ธิ์ 50 ปี เม่ือ ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) ฉบับภาษาไทยพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2520 โดยนายอภัย จันทวิมล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2515 และ นายอาทร จันทวิมล อธิบดีกรมการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ 2545 และได้แก้ไข ปรบั ปรุงในการเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต แบบอีบคุ๊ ใน พ.ศ. 2564
17 การแปลเอกสารครง้ั น้ี ใช้ตน้ ฉบับจาก The World Federation of Independent Scouts (https://isf-world.org/pdf/RTS-A5.pdf) โดยได้ระบุเลขหน้าของต้นฉบับ ไว้ในวงเล็บตน้ หน้าแตล่ ะหน้า นายอภัย จนั ทวมิ ล นายอาทร จนั ทวิมล
18 (7) บทท่ี 1 ทาอย่างไรจงึ จะมคี วามสุข ไมว่ ่าจะม่งั มีหรอื ยากจน (How to be happy through Rich or Poor) บทแรกน้ี จะอธบิ ายวตั ถุประสงคข์ องหนงั สือเลม่ น้ี 1.1 การเดินทางของชีวิต (The Voyage of Life) มีครั้งหน่ึง ข้าพเจ้าเคยติด อย่ใู นเรอื พายกลางพายุ เม่ือพายเรือลาเลก็ ๆ ท่ีทามาจากเปลือกไม้เบิร์ช ข้ามทะเลสาบ ทางเหนอื ของแคนาดา การเดินทางครง้ั นน้ั เป็นประสบการณ์ที่ตื่นเต้น แม้จะใช้เวลามาก แต่กค็ ้มุ ค่ากับความยากลาบาก ตอนนั้น เราพายเรือท่องเที่ยวไปตามแม่น้าและลาธาร ซึ่งบางครั้งสายน้า ก็ราบเรียบ แต่บางทีก็ไหลเชี่ยวกรากเมื่อพุ่งผ่านเกาะแก่ง ทิวทัศน์ป่าเขาที่งดงามน้ัน เปล่ียนแปลงไปตลอดเสน้ ทาง เราได้ประสบการณ์ใหม่ เม่ือได้พายเรือตามแม่น้าลาธาร ออกไปสู่ทะเลสาบ อนั กว้างใหญ่ ท่ีมีแสงแดดอันสดใส แต่อกี ไมน่ านนัก ทอ้ งฟา้ ก็กลับมืดครึม้ ตามด้วยลมพายุ ท่พี ัดอยา่ งรุนแรง ทาใหน้ า้ ในทะเลสาบ มีคลืน่ ใหญ่พัดแรง เรือคะนูอันบอบบาง ซึ่งก่อนหน้าน้ี อาจมองว่าเป็นเพียงสิ่งเล็กๆที่พาเรา เคล่ือนที่ไปบนท้องน้า กลับกลายเป็นอุปกรณ์แห่งความหวังเพียงสิ่งเดียวท่ีจะทาให้ ชีวิตรอด ถ้านา้ กระเซ็นเขา้ เรือมาก หรือเรอื พุ่งไปชนกับท่อนไม้หรือก้อนหินใต้น้าท่ีมีอยู่ มากมายบริเวณนนั้ ชวี ติ ของเราก็อาจจะสนิ้ สดุ ลงได้ ไม้พายของเรา ท่ีเคยเป็นเพียงไม้ท่อนเล็กๆ ที่ทาให้เรือเคลื่อนท่ีไป กลับกลายเป็นอาวุธสาคัญ สาหรับป้องกันการโจมตีของคลื่น ที่เปรียบเสมือนข้าศึก ทาให้เรือของเราไม่ต้องถอยร่นไปข้างหลัง แต่สามารถก้าวรุกคืบไปข้างหน้าได้ การต่อสทู้ ่ียงิ่ ใหญ่ครัง้ นัน้ ข้นึ อยกู่ ับเทคนิค วธิ ีการใช้ไมพ้ ายเลก็ ๆอนั เดียวเท่าน้ัน
19 นายสจ๊วต อี ไว้ท (Stewart E White) ผู้แต่งหนังสือเรื่อง “the Forest” เขยี นไวว้ ่า “ช่วงเวลาสี่ชั่วโมงในการพายเรือข้ามอ่าวนั้น ท่านจะพบกับคล่ืนหลายพันลูกท่ี ไม่ซ้าแบบกันเลย ถ้าท่านไม่รู้จักวิธีพายเรือโต้คล่ืนอย่างถูกวิธี คล่ืนใหญ่เพียงลูกเดียว อาจซัดน้าเขา้ เตม็ ลาเรือ จนทาใหเ้ รือพลกิ ควา่ ไดโ้ ดยง่าย” (8) เขาเล่าต่อถึงวิธีพายเรือสู้คล่ืนในทะเลว่า “หากคล่ืนซัดมาทางหัวเรือ (Sea over one bow) ท่านต้องพายให้เรือเชิดหัวข้ึนบนคล่ืน ปล่อยให้ยอดคลื่นโยนหัวเรือ ขึ้นเล็กนอ้ ย ทันใดท่หี ัวเรือเริ่มกดลงไปอีกด้านหนึ่ง ท่านต้องรีบจ้วงพาย พร้อมกับคัดท้าย อย่างเรว็ เพ่ือควบคมุ ใหเ้ รือแล่นไปในทางที่ต้องการ” “ถ้าคล่ืนซัดมาทางด้านข้างของเรือ (Sea abeam) ซ่ึงอาจทาให้เรือจมได้ โดยง่าย ท่านต้องพายเรือตรงไปข้างหน้า หันหัวเรือเข้าสู้คล่ืน และเล้ียงตัวให้ดี พยายามไม่ใหเ้ รือพลกิ คว่าเม่อื ถูกคลื่นซดั ด้านข้าง โดยเอยี งตัวไปอีกข้างหนึ่ง” “ช่วงอนั ตรายทีส่ ดุ คอื เมอื่ สนั คลื่นแตกใตท้ ้องเรอื ในกรณนี ใ้ี ห้จุ่มใบพายลกึ ลง ไปในน้า เพื่อป้องกันไม่ให้เรือพลิกคว่า และเอียงตัวไป โดยวิธีน้ีจะทาให้ด้านข้างและ คร่ึงหน่งึ ของเรือรบั แรงกระแทกของน้าไว้ “ “ทา่ นจะตอ้ งรีบกลบั ตวั อยา่ งรวดเร็ว เมือ่ สนั คลนื่ ผ่านไป เพราะถ้ากลับตัวช้า เพียงวนิ าทีเดียว กเ็ ป็นอนั จบกัน” (9) งานนี้เปน็ สิง่ ท่ีนา่ ตนื่ เต้นมใิ ช่นอ้ ย ผู้เขยี นเรื่องน้ไี ด้เล่าต่อไป โดยมีรายละเอียดในทานองเดียวกันถึงวิธีพายเรือ ขณะทะเลปนั่ ป่วน มีคล่ืนซัดจากดา้ นหน้า ด้านข้าง และดา้ นหลงั ของเรือ
20 จงพายเรือไปตามวิถีทางของท่าน โดยใช้ สมอง กาลังใจ และกล้ามเน้ือของตนเอง ในทุกกรณี ต้องอาศัยความต้ังใจจดจ่อ ความมานะอดทน และความว่องไว ของตนเอง การกระทาบางอย่างท่ีชักช้าอืดอาดเพียงเล็กน้อยอาจทาให้เรือคว่าจมลง อย่างง่ายดาย แต่การต่อสู้อย่างหนักเช่นนี้นั้นมักมีผลตอบแทนที่คุ้มค่า ในทันที ท่แี ก้ปญั หาได้สาเรจ็ ทา่ นจะรู้สกึ เบิกบาน ใจของทา่ นจะลมื นึกถึงปัญหาท่ีเก่ียวกับคลื่น ลกู สดุ ทา้ ยท่ผี ่านไป และนาเรอื กระโจนใสค่ ลนื่ ลกู ตอ่ ไปอย่างกระตอื รอื ร้น ถา้ เปรียบคลืน่ แต่ละลูกเหมือนกับเป็นคน และการต่อสู้กับคลื่นเหมือนกับต่อสู้ ศัตรูท่ีเป็นคน ท่านจะรู้สึกยินดีปรีดา เมื่อสามารถเอาชนะคลื่นแต่ละลูกมาได้ เสียง คารามของลมและคล่ืนน้าทะเลที่ซัดเข้ามา จะทาให้ท่านย่อตัวลงเหมือนกับนักมวย ทีก่ าลงั ป้องกนั ตนเอง คอยหลบหลกี ป้องกันการโจมตขี องฝา่ ยตรงข้าม พอมีโอกาสเปิด ช่องให้ ก็จะใช้พายจ้วงเพื่อให้เรือแล่นไป ท่านจะมัวต่อสู้กับคลื่น จนลืมถึงระยะทางที่ ได้ผ่านมา แต่เมื่อเข้าใกล้จุดหมายอีกสองร้อยหลาก็จะถึงฝั่งท่ีเป็นเป้าหมาย ก็จงอย่า คลายความมานะพยายามของท่าน เพราะคล่ืนที่ท่านจะต้องเผชิญในอีกหน่ึงร้อยหลา สุดท้ายน้ัน จะมีอันตรายมากเช่นเดียวกับคลื่นน้อยใหญ่ที่ท่านเคยผ่านมาแล้วในระยะ สไ่ี มล์หา่ งจากฝั่ง และนั่นก็เหมือนกับ “ชีวิตจริงของคนเราทุกคน ต้องผ่านความยุ่งยากอย่าง มากมายตอ่ เน่อื งตลอดชีวติ ”
21 1.2 จดุ ม่งุ หมายของหนงั สือน้ี (The Intention of this book) เรื่องที่เล่ามาในตอนที่ 1.1 กล่าวถึงการเดินทางในช่วงแรกๆ ผ่านธารน้า ที่ราบเรียบ ออกไปสู่ทะเลสาบอันกว้างใหญ่ ท่ีมีความยุ่งยากลาบากเกิดข้ึนระหว่างทาง หลายอย่าง เชน่ ระลอกคล่ืนที่ต่อเน่ือง และหินใต้น้า ซึ่งจะสามารถหลีกเลี่ยงได้โดยการ พายเรืออย่างระมดั ระวัง แต่ภายหลังจากท่ีผ่านพ้นอันตรายต่างๆ จนสามารถนาเรือไป จอดรมิ ฝ่ัง หรือท่าเรือที่สามารถกาบังคล่ืนได้สาเร็จ ท่านก็จะสามารถต้ังเต็นท์ ก่อกองไฟ แล้วนอนหลับตอนกลางคืนอย่างเป็นสุข เหมือนกับคนที่ทางานสาเร็จมาแล้วอย่าง เหน็ดเหน่ือย เร่ืองดังกล่าวก็เหมือนกับส่ิงคนเราทุกคนต้องผจญในชีวิต ที่จะมีบางคน ติดอยู่ในปลักตมของความยุ่งยาก หรือส่ิงย่ัวยวนใจในชีวิตที่มีอุปสรรคเป็นคร้ังคราว ส่วนใหญ่เพราะบุคคลเหล่าน้ัน ไม่เคยได้รับคาตักเตือนล่วงหน้า ว่าอาจจะพบปัญหา อปุ สรรคอะไรในอนาคต และจะแกห้ รอื ผอ่ นคลายปัญหาเหลา่ น้นั ไดอ้ ยา่ งไร ข้าพเจ้าได้ คัดลอกคาแนะนาจากประสบการณ์ของ นายสจ๊วต อี ไว้ท์ เกี่ยวกับการพายเรือฝ่าคลื่นลมข้ามทะเลสาบ ให้ท่านทราบมาแล้ว และต่อจากน้ี ข้าพเจ้า (เบเดน โพเอล) จะให้คาแนะนาทานองเดียวกันต่อท่านผู้อ่าน จาก ประสบการณ์ของข้าพเจา้ เอง เพื่อนาท่านให้ผ่านพ้นอุปสรรคคล้ายหินใต้น้า และคล่ืนลม ที่ท่านทั้งหลายอาจจะไดพ้ บตอ่ ไปในอนาคตตลอดชวี ิต อุปสรรคของชีวิตสาคัญ ที่เปรียบเหมือน หินใต้น้า และคลื่นลมอุปสรรคของ ชวี ติ มรี ะบุไวใ้ นภาษิตอังกฤษโบราณ คอื “การพนัน เหล้า และความสัมพันธ์ทางเพศ” (Horse, Wines, Women ) ตามด้วย “คนเอาแต่ได้ และ คนขี้โกง” (Cuckoos and Humbugs) ซ่ึงท่านจะต้องเกย่ี วข้องตลอดชีวิต ในบทต่อไป ข้าพเจ้าจะได้อธิบายถึงข้อดีและจุดอันตรายเก่ียวกับอุปสรรค ชีวิตท่ีเสมือนเป็นหินใต้น้า และคล่ืนลมดังกล่าวที่ท่านจะได้พบต่อไปในชีวิต และจะ แนะนาเทคนิควิธกี ารพายเรือชีวติ ฝ่าฟนั หลบหลีกให้ผ่านพน้ อปุ สรรคตา่ งๆ เพื่อนาไปสู่ ความกา้ วหนา้ และความสาเรจ็ ไดโ้ ดยสวัสดิภาพ
22 (10) 1.3 การย่ืนคาแนะนาให้ (Handling on Advice) ข้าพเจ้ารู้สึกว่าเป็นเรื่องที่ ชอบกล เมื่อคนจานวนมากส้ินชีวิตลงไป เขามักจะเก็บหอบหิ้วเอาความรู้และ ประสบการณ์ท้ังหมด ที่เขาเคยได้รับตลอดชีวิตท้ังในเร่ืองไม่ดี เสเพล หรือเรื่องการทา ความดี ท่ีเขาเคยประสบความสาเร็จ ให้ตายสูญหายไปกับการสิ้นสุดลมหายใจของเขา แล้วปลอ่ ยให้น้องหรือลูกชายหญิงของเขาต้องเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเร่ืองต่างๆดังกล่าว ซ้าอีกคร้ังหนึ่ง ทาไมเขาจึงไม่ส่ังสอนลูกหลานของเขาให้เริ่มต้นทาสิ่งดีๆ ที่เขาเคยรู้ และป้องกันหลีกเลี่ยงอุปสรรคล่วงหน้าก่อนที่จะเกิด เพ่ือจะได้ดาเนินชีวิตต่อไปในขั้น สงู ข้นึ อย่างมีประสทิ ธิภาพและคุณภาพทเี่ หมาะสม ด้วยความคิดแบบนั้นในใจ ทาให้ข้าพเจ้าจดบันทึกเร่ืองราวความยุ่งยาก ลาบากบางอย่างท่ีข้าพเจ้าประสบมาในชีวิต และเล่าถึงวิธีจัดการว่า ในขณะน้ันได้ใช้ วิธีแก้ปัญหาอย่างไร ซ่ึงบางทีอาจเป็นวิธีการท่ีไม่ถูกต้องนัก แต่ต่อมาภายหลัง ก็มัก มองเห็นวา่ ควรจะทาอยา่ งไร จากความผิดพลาดทีเ่ คยทามา ขอเตือนว่า หนังสือเล่มนี้ไม่ได้เขียนไว้สาหรับคนท่ีมีประสบการณ์เจนจัด ต่อชีวิตมาอ่าน เพราะข้าพเจ้าเขียนไว้สาหรับคนหนุ่มสาวคนรุ่นใหม่ ที่มองไกลไป ข้างหน้า กระตือรอื รน้ อยากรูว้ ่าจะดาเนนิ ชีวิตไปทางไหน และจะทาอะไรต่อไปในชวี ติ ขา้ พเจา้ ใช้ชอ่ื หนงั สอื นีว้ า่ “การทอ่ งเทยี่ วส่คู วามสาเร็จ Rovering to Success” โดยคาว่า “การท่องเที่ยวไป” น้ัน มิใช่การเร่ร่อนไปอย่างไร้จุดหมาย แต่หมายถึงการ คน้ หาเส้นทางอันสะดวกสบาย ไปยังเป้าหมายแน่นอน ที่กาหนดไว้และมีข้อมูลล่วงหน้า เก่ียวกบั ความลาบากและอนั ตรายท่อี าจพบระหวา่ งทาง ข้าพเจ้าได้เคยผ่านความขมขื่น และความหวานช่ืน จากหลายประเทศ ท่ัวโลกมาแล้วตลอดชีวิต ดังน้ันท่านจึงไม่ต้องเกรงว่า ข้าพเจ้าจะให้คาแนะนา ทเ่ี หลวไหลเพ้อเจอ้ ต่อท่าน
23 (11) ชีวิตของคนเราน้ัน จะจืดชืดซีดเซียวไม่มีรสชาด ถ้ามีแต่ความราบร่ืน สะดวกสบาย เปรยี บเสมือนอาหารหวานท่ีใชน้ า้ ตาลเพียงอย่างเดยี ว ไม่มีรสเผ็ดเปรี้ยว เค็มขม เม็ดเกลอื น้ันจะมีรสเค็มไม่อร่อย ถ้ากินเปล่าๆ แต่หากนาเกลือจานวนเล็กน้อย ไปใส่ในอาหาร มักจะทาให้อาหารนั้นมีรสดีขึ้น “ความยากลาบากคือเกลือแห่งชีวิต (Difficulties are the salt of life)” แม่ของเกอเธ่ (กวีเยอรมันผู้มีชื่อเสียง ค.ศ. 1749-1832) ได้ให้หลักการที่ดี ในการดาเนินชีวิตโดยกล่าวว่า “ฉันไม่แสวงหาความยุ่งยาก ที่คล้ายหนามแหลมคม มาใส่ตัว แตช่ อบไขว่ควา้ หาความสุขเล็ก ๆ นอ้ ยๆ ตลอดเวลา ถ้าฉันจาเป็นจะต้องเดิน ผ่านประตูเตย้ี ๆ ฉนั จะกม้ ตัวลงลอด ไมใ่ หห้ วั ชนคานประตู ถา้ พบก้อนหินขวางทางและ สามารถยกออกได้ ฉันก็จะทาเช่นน้ัน แต่ถ้าหินก้อนนั้นใหญ่และหนักเกินที่จะยกได้ ฉันกจ็ ะหาทางเดนิ อ้อมหินกอ้ นน้ัน ไมเ่ สยี เวลาไปทุบหรือยกก้อนหินใหญ่” กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ เธอ“ไม่พยายามหาเรื่องใส่ตัว พยายามหลีกเลี่ยง ไม่เข้าไป ใกล้อุปสรรค ขวากหนาม แต่หากมีเรื่องยุ่งยากเกิดขึ้นโดยเลี่ยงไม่ได้ ก็ยอมรับสภาพ และหาทาง แก้ไข โดยอาจใช้วิธีเดินอ้อม ไม่ใช้วิธีแบบเถรตรง หรือแบบหัวชนกาแพง” และนั่นคือ หนทางสู่ความสาเรจ็ ทแ่ี ท้จรงิ 1.4 ความสาเร็จของชีวิตอยา่ งแทจ้ รงิ เท่านั้น คือความสุข (The Only True Success is Happiness) มหี ลายคนสงสัยวา่ ความสาเร็จของชีวติ นน้ั คืออะไร? ความสาเร็จของชีวิตน้ัน ไม่ใช่การท่ีได้ปีนต้นไม้ข้ึนไปจนถึงยอดไม้สูงสุด ไม่ใช่ความม่ังมีเงินทองเป็นมหาเศรษฐี ไม่ใช่การมีตาแหน่งอันสูงส่งได้เป็นเจ้าคนนายคน และไม่ใชพ่ ลังอานาจ ท่สี ามารถเอาชนะข้าศึกศตั รูทุกสารทศิ ความคิดดังกล่าวแปลได้ว่า การได้เปรียบหรือได้รับชนะในการแข่งขันกับ คนอื่น อาจเป็นความสาเร็จท่ีเกิดขึ้นกับจิตใจของคนท่ัวไป เพราะได้รับการสั่งสอน สืบต่อกันมาตามวัฒนธรรมปกติ เช่น การได้ชัยชนะในการแข่งขันกีฬา หรือได้ผลกาไร จากการประกอบธุรกิจทั่วไป แต่การที่ท่านได้ชัยชนะหรือทาได้ดีกว่าคนอื่นในกิจการ
24 อย่างใดอย่างหนึ่งน้ัน ท่ีแท้คือการได้ที่ท่านได้ประโยชน์ของท่านจากการเสียประโยชน์ ของคนอนื่ หรอื การขคี่ อเหยียบหัวคนอืน่ เพอ่ื ยกตนเองใหข้ ้นึ ไปยงั ท่สี ูงกว่านน่ั เอง แต่ในความคิดของข้าพเจ้า (เบเดน โพเอลล์) ความสาเร็จของชีวิตมิได้เป็น เช่นนัน้ ความเชือ่ ของข้าพเจ้ามีว่า “เราทุกคนเกิดมาในโลกแห่งความมหัศจรรย์และ สวยงาม ด้วยความสามารถพิเศษที่จะช่ืนชมยินดีกับส่ิงต่างๆ โดยบางครั้ง เราจะรู้สึก สนุกสนาน ในการท่ีได้มีส่วนพัฒนาอะไรบางอย่างให้ดีข้ึน และอาจมีโอกาสท่ีจะ ช่วยเหลือผู้อื่นแทนท่ีจะเอาเปรียบเอาชนะหรือทาตัวให้ดีเด่นสูงส่งกว่าคนอื่น การกระทา ดังกล่าวจะทาให้เราได้รับความสนุกสนานแห่งชีวิต ทาให้เรา “มีความสุข” อย่าง ต่อเนือ่ ง” ข้าพเจ้าถือว่าการประสบความสาเร็จนั้น คือความสุข แต่ความสุขของ ข้าพเจ้า มิได้หมายความว่าจะให้น่ังหรือยืนอยู่เฉยๆ โดยไม่ทาอะไร ท่านจะไม่ได้รับ ความสุขมากนัก หากจะน่ังคอยเพื่อรอรับลาภที่อาจจะลอยมา เพราะลาภลอยนั้นมีค่า นอ้ ย เนือ่ งจากก่อให้เกดิ ความเพลิดเพลินยนิ ดีเพยี งชัว่ คราวเท่านนั้ แต่เม่ือเราเกิดมาเป็นมนุษย์ ที่มีแขนขา สมอง และความทะเยอทะยาน ซึ่งทาให้คนเราต้องทางาน ดังน้ัน เราจะต้องลงมือลงแรงทาสิ่งท่ีมีประโยชน์ ไม่ใช่อยู่ เฉยๆ เพื่อจะไดร้ บั ความสขุ ที่แท้จริง
25 จงพายเรอื ชีวติ ด้วยตนเอง สู่ความสุข (12) 1.5 กุญแจสองดอกสคู่ วามสขุ (Two Keys to Happiness) คนที่ร่ารวยมั่งมีนั้นมีขอบเขตจากัด เพราะถึงแม้ว่าเขาอาจมีบ้านสองหรือ สามหลัง แตล่ ะหลังมีหลายสิบห้อง แต่จะสามารถครอบครองอยู่ในห้องเหล่านี้ได้เพียง ครั้งละห้องเดียวเท่านั้น เพราะเขามีเพียงร่างกายเพียงร่างเดียว คนม่ังมีน้ันมิใช่จะมี ดีกว่าคนยากจนทุกอย่างไป ถึงแม้ว่าเศรษฐีอาจมีความสุขได้ จากการมองพระอาทิตย์ตก มีความเพลิดเพลินกับทิวทัศน์อันสวยงาม แต่คนยากจนก็สามารถทาสิ่งเหล่านั้นได้ อยา่ งมีความสุขเช่นเดยี วกนั ถ้าคนที่ยากจน รู้จักใช้กุญแจสองดอกต่อไปนี้ไปไขปัญหาชีวิต เขาก็จะมี ความสุขไดพ้ อ ๆ หรือมากกว่า กับเศรษฐที ม่ี เี งนิ มากมาย กุญแจดอกแรกคือ : อย่าให้ความจริงจังกับส่ิงต่างๆในชีวิตให้มากเกินไป แตจ่ งใช้ส่ิงเท่าที่มีอยู่ให้ดีท่ีสุดเสียก่อน จงมองชีวิตเหมือนเกมกีฬา ท่ีมีท้ังการแพ้และชนะ และมองดูโลกเป็นเพียงสนามกีฬา ดังท่ีนักบุกเบิกขั้วโลกใต้ชาวอังกฤษชื่อ แช็คเคิลตัน
26 (Shackleton 1874-1922) เคยกล่าวไว้ว่า “ชีวิตเป็นเกมกีฬาที่ยิ่งใหญ่ท่ีสุด หากจะ ใครจะคิดว่าชีวิตเป็นเกมกีฬาท่ีไม่สาคัญ จะมีอันตราย.... เป้าหมายสาคัญคือชัยชนะ อย่างสมเกยี รติและงดงาม” กุญแจดอกที่สองคือ : ให้การกระทาและความคิดต่างๆ ของท่านน้ัน ต้ังอยู่ บนฐานของความรัก ความรักในท่ีนี้ ไม่ได้หมายถึงการตกหลุมรักระหว่างชายหญิง แต่ข้าพเจ้าหมายถึงความเมตตากรุณาท่ีท่านแสดงออกเมื่อได้ทาความดีต่อผู้อ่ืน เม่ือ ท่านมีเมตตาเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน และเมื่อท่านแสดงความกตัญญูกตเวที รู้คุณ ทดแทน บุญคุณ ผู้ท่ีเคยให้ความเมตตากรุณาต่อท่าน นั่นคือ น้าใจไมตรีอันดีงาม ซ่ึงเป็นส่ิงท่ี โลกต้องการ 1.6 คนท่ีมีความสุข (A Happy People) ประชาชนในประเทศอันมีความสุข ท่สี ดุ ในโลก ซ่ึงข้าพเจ้าเคยพบมาคือ ชาวพม่า ความร่าเริงแจ่มใสของชาวพม่าน้ันเป็น ท่ีเล่ืองลือรู้ท่ัวกัน ชาวพม่ามีความเมตตากรุณาต่อสัตว์มากจนอาจกล่าวได้ว่าเป็นหนึ่ง ใน “จุดอ่อน” ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของพวกเขา เพราะจะไม่มีชาวพม่าคนใดต้ังใจฆ่าสัตว์ แม้ว่าจะเป็นการระงับความเจบ็ ปวดทรมาน ชาวพม่าไม่กินเน้ือสัตว์ และปฏิบัติต่อสัตว์ ทั้งหลายเหมือนสัตว์เล้ียง ชายหญิงและเด็กชาวพม่าทุกคนมีหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส ความงดงามของภูมิประเทศ ท่ีเต็มไปด้วย ดอกไม้ แสงแดดจากดวงอาทิตย์ ผืนป่า รอยยิ้ม การร้องเพลง และเสียงหวั เราะ โดยแทบจะไม่มกี ารคดโกงเงนิ เกดิ ขนึ้ ถงึ แมค้ น ชาติอื่นบางคนอาจกล่าวหาคนพม่าว่าขี้เกียจ เพราะพวกเขาไม่กระตือรือร้นในการหาเงิน เขาปลูกพชื แบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง ให้พอกนิ พอใช้ และใช้เวลาท่ีเหลือสาหรับหาความ เพลดิ เพลนิ ตอ่ ชีวติ (13) แต่ความเพลิดเพลินของชาวพม่านั้นไม่ได้เกิดจากการอยู่เฉยๆ แบบคนข้ีเกียจ ชายหนุ่มชาวพม่าทุกคนต้องผ่านการฝึกฝนอบรม ด้วยการบวชเป็นพระสงฆ์ ในพระพุทธศาสนา ถึงแม้ว่าก่อนบวชนั้นเขาจะมั่งมีร่ารวยเพียงใด แต่ระหว่างที่อุปสมบทอยู่ เขาจะต้องสมัครใจที่จะมีชีวิตอยู่อย่างยากจนแบบขอทานส้ินเน้ือประดาตัว โดยจะต้อง พักอยู่ในวัดและปฏิบัติตามวินัยสงฆ์ 227 ข้ออย่างเคร่งครัด อุทิศเวลาให้กับการสวดมนต์
27 น่ังสมาธิปฏิบัติกรรมฐาน สอนเด็กๆ ที่เป็นศิษย์ให้ประพฤติตนเป็นคนดี ตามหลักธรรม ของพระพุทธศาสนา และเรียนร้วู ิธีชว่ ยผทู้ ี่ตอ้ งการความช่วยเหลือ ดังนั้นเมื่อชาวพม่า สึกออกมาเป็นฆราวาส เขาก็จะเป็นคนที่มีจิตใจพร้อมที่จะบาเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น และมีชวี ติ ความเป็นอยู่อย่างเรียบงา่ ย ซงึ่ จะทาให้เขาเปน็ พลเมอื งดขี องโลก นายฟีลดิง ฮอลล์ (Fielding Hall) นักเขียนชาวอังกฤษ ได้เขียนเร่ือง เกี่ยวกับชาวพม่า ไว้ในหนังสือชื่อ จิตวิญญาณของชนชาติ (Soul of a People) ว่า “ไม่วา่ คนพม่าแต่ละบคุ คลจะประสบความสาเรจ็ หรอื ล้มเหลว ณ ทใี่ ดก็ตาม แต่ชนชาติ พม่าจะยิ่งใหญ่เสมอ เพราะคนพมา่ นั้นมีความสุขทีส่ ดุ ในโลก” 1.7 ความสุขอยู่ใกล้แค่มือเอ้ือม (Happiness) ความสุขน้ัน อยู่ใกล้แค่เอ้ือม มือคว้าของทุกคน ไม่ว่าจะม่ังมีหรือยากจน แต่ก็มีคนส่วนน้อยเพียงไม่กี่คนเท่านั้น ท่ีมี ความสขุ อยา่ งจริงจงั ข้าพเจ้าเช่ือว่าการท่ีเป็นเช่นนี้ก็เพราะคนส่วนใหญ่ไม่รู้จักตัวความสุข แม้ว่า จะอย่ใู กลต้ ัวเพียงชวั่ มือเอ้ือมเท่านั้นเอง หนังสอื นกนอ้ ยสนี ้าเงิน Wikipedia free royalty
28 ท่านเคยอ่านหนังสือช่ือ นกน้อยสีน้าเงิน (The Blue Bird) ท่ีแต่งโดย นายเมเธอร์ลิงค์ (Maeterlinck) หรือไม่? เป็นเรื่องราวของเด็กผู้หญิงช่ือ มีลทิล (Myltyl) และน้องชายของเธอท่ีช่ือ ทิลทีล (Tyltyl) ซ่ึงเดินทางไปค้นหา \"นกสีน้าเงิน แห่งความสุข\" เด็กทั้งสองได้เดินทางไปท่ัวประเทศแต่ก็หาไม่พบ จนกระท่ังตอนสุดท้าย ปรากฏว่าพวกเขาไม่ต้องเร่ร่อนค้นหาไปตามท่ีต่างๆ เลย เพราะจะได้พบนกสีน้าเงิน แห่งความสุข เม่อื เขาตกลงใจทาความดเี พ่ือผ้อู น่ื ในบา้ นเดิมของเขาเอง ถ้าท่านลองตรึกตรอง และนาเอาคติในนิทานดังกล่าวไปใช้ ท่านอาจจะ คน้ พบได้เช่นเดยี วกันว่า ความสขุ น้ันอยใู่ กล้แต่มอื ไขวค่ ว้า มไิ ดอ้ ย่ไู กลถึงโลกพระจันทร์ ดงั ท่เี คยคาดคดิ มาก่อน (14) คนจานวนมากมองว่างานประจาซ้าซากของตนเป็นเร่ืองน่าเบ่ือหน่าย แม้แต่ การเดินทางไปกลับ ประจาวันก็เป็นสิ่งน่าราคาญ คนพวกนี้จะคอยนึกถึงแต่วันหยุด อันเป็นเวลาที่จะได้รับความสุข แต่พอวันหยุดมาถึงจริง ฝนก็อาจตก หรือเจ้าตัวเป็น ไข้หวดั ใหญ่ ทาให้ความคดิ ที่รอมานานต้องลม้ เหลวไป ความจรงิ ก็คอื ไมม่ ปี ระโยชน์อะไรท่ีจะรอคอยความสุข ซ่ึงจะอาจมาถึงในวัน ข้างหน้า เพราะวิธีที่ถูกต้องคือหาให้มีความสุขกับชีวิตตลอดเวลา เนื่องจากคนฉลาดน้ัน ย่อมไม่ฝากความหวังไว้กับสวรรค์อันเลือนราง หรืออนาคตที่มืดมิด ควรตระหนักว่า เราสามารถสร้างสวรรค์ให้กับตนเองได้ ในที่น้ี ในโลกนีแ้ ละ ในปัจจุบันน้ี ถ้าใครสามารถ สร้างสวรรคท์ ่ีดีไวใ้ นตอนนีไ้ ด้ ก็จะทาให้สวรรค์ในอนาคตของเขาน้ันดยี ่งิ ขึ้น 1.8 ความเพลิดเพลินมิใช่ความสุข (Pleasure is not Happiness) หลายคน คิดว่า “ความเพลิดเพลิน (Pleasure) คือส่ิงเดียวกับความสุข (Happiness)” นั่นคือ จดุ ท่พี วกเขาเข้าใจผดิ พลาด ความเพลิดเพลินน้ัน มักจะปรากฏบ่อยๆว่าเป็นเพียง การแก้ราคาญ เช่น ชมการแข่งขันฟุตบอล ดูละครโทรทัศน์ อ่านหนังสือท่ีชอบ ซุบซิบนินทาเพื่อนบ้าน กินอ่ิมจนล้นท้อง หรือด่ืมเหล้าจนเมามาย แต่ความเพลิดเพลินที่ได้รับดังกล่าวน้ัน จะเกิดขึ้นเพียงช่ัวคราว และจะคงอยู่เพียงชั่วระยะเวลาหนึ่งเท่านั้นแล้วก็จะเส่ือมสลาย
29 ไปอย่างรวดเร็ว และบางทีก็มีอาการแทรกซ้อนท่ีไม่เพลิดเพลินเกิดตามมาภายหลัง เชน่ การปวดหวั ในวันร่งุ ขนึ้ แต่ความสุข (Happiness) น้ันเป็นอีกอย่างหนึ่งที่จะเกาะติดตัวและเติมเต็ม ชีวิตตลอดไป เมื่อท่านมีความสุข จะพบว่าสวรรค์นั้น มิใช่เป็นสิ่งคลุมเครือลอยอยู่บนฟ้า แตอ่ ยูท่ ่นี บี่ นพนื้ โลกใบนี้ อย่ใู นดวงใจ และอยรู่ อบตวั ของทา่ นเอง นักเขียนชาวอังกฤษชื่อ อาร์โนลด์ เบนเนท (Arnold Bennett) อธิบาย ความหมายของความสุขไว้ว่า “ความพึงพอใจหลังจากได้ใช้ความพยายามด้วยความ ซ่ือสัตย์อย่างเต็มที่” แต่มีความสุขมีอะไรมากกว่านั้น เขากล่าวว่า “การแต่งงานเกือบ ทุกคร้ังน้ัน ดีกว่าไม่มีการแต่งงาน เพราะคู่สมรสจะมีความสุขในมิตรภาพที่เกิดจาก ความรักและความกระตือรือรน้ ท่จี ะมลี ูกด้วยกัน” เซอร์ เออรเ์ นสต์ คาสเซลิ (Sir Ernest Cassel) ท่คี นสว่ นใหญ่ยกย่องว่าเป็น ผู้ประสบความสาเร็จ สารภาพถึงความล้มเหลวในบั้นปลายชีวิต ถึงแม้เขาจะร่ารวย มีอานาจตาแหน่งและประสบความสาเร็จเกินกว่าธรรมดาท้ังด้าน (15) การค้า อุตสาหกรรม และการกีฬา แต่ในบั้นปลายชีวิต เขายอมรับว่า ได้ขาดสิ่งสาคัญไป อย่างหนงึ่ คอื “ความสขุ ” เพราะเขามชี ีวติ อยู่ด้วยความเหงาหงอยโดดเด่ยี ว เขากล่าวว่า “คนส่วนใหญ่” เช่ือในทฤษฎีท่ีว่าความมั่งคั่งนามาสู่ความสุข แต่ตัวข้าพเจ้าที่มีฐานะม่ังมีพอสมควร อาจมีสิทธ์ิท่ีจะกล่าวว่า ความจริงไม่ได้เป็น เชน่ นัน้ เสมอไป “ส่งิ ซงึ่ มคี ่ามากท่สี ุด สาหรับคนเรา คือสงิ่ ท่ีเงินซื้อไม่ได้” คากล่าวของเซอร์ เออเนสต์ ข้างต้น คงจะทาให้คนท่ียากจน รู้สึกสบายใจ มีกาลังใจและมีความหวงั ในชีวิตมากข้ึนมาบา้ ง มีสภุ าษติ ศรลี ังกาบทหนงึ่ กล่าวว่า “บคุ คลทีม่ ีความสุขน้ันร่ารวยเสมอ แต่ผู้ท่ี ร่ารวยบางคนอาจไมม่ คี วามสขุ เสมอไป”
30 1.9 เศรษฐีที่น่าสงสาร (The Poor Rich) ข้าพเจ้าและภรรยาเคยไปเท่ียว แบบพิสดารในแอฟริกา โดยเดินเท้าไปยังบริเวณชายขอบทะเลทรายซาฮารา ซ่ึงเป็น ถิ่นทุรกันดารแห้งแล้งของเทือกเขาอูเรส เราใช้ล่อสองตัวขนอุปกรณ์อยู่ค่ายพักแรม และมีชาวอาหรับติดอาวุธสองคน เป็นมัคคุเทศก์และยาม ระหว่างการเดินทาง เราเดิน ขา้ มถนนท่ีพวกฝร่ังเศสสร้างไว้ ไปยังเมืองบิสกรา กลางทะเลทราย แต่แทนท่ีจะได้เห็น กองคาราวานอฐู ท่เี ดนิ คดเคยี้ วไปมาตามปกติ เรากลบั เห็นรถยนตห์ ลายคันวิง่ ตามกันมา อย่างรวดเร็ว ภายในรถมีนักท่องเที่ยวที่รีบเดินทางไปยังจุดหมายปลายทาง คือโรงแรม ขนาดใหญ่ในเมืองบิสกรา นักท่องเท่ียวเหล่านั้นไม่รู้อะไรเลยเก่ียวกับความสุขของการ เหยยี บยา่ พืน้ ทะเลทราย ไมร่ ้วู ิธหี าอาหารในทะเลทราย เชน่ เหด็ ดา ทรัฟเฟลิ ท่ีงอกอยู่ ใต้ดนิ ไมร่ ู้วธิ ีปรุงอาหารกลางแจง้ และการนอนหลับตอนกลางคืนใตแ้ สงดาว ทนั ทีท่เี ราเหน็ นักทอ่ งเทย่ี วเหล่านนั้ เราทัง้ สองรู้สึกสังเวชและอุทานออกมา ว่า “เศรษฐที ีน่ า่ สงสาร” ถ้าท่านมีความร่ารวย ท่านอาจพลาดความสนุกสนานหลายอย่างท่ีคน ยากจนจะได้รับ อยา่ งมากมายทเี ดยี ว (16) 1.10 การทางานอย่างกระตือรือร้นทาให้เกิดความสุข (Active Wok Brings Happiness) แต่เพียงแต่ความสุขในครอบครัวนั้นอาจไม่ใช่ความสุขท่ีแท้จริง เพราะ ความสุขเช่นนนั้ มไิ ด้ขยายไปไกลกวา่ วงจรของตนเอง ดังนั้นเพียงเป็นการทาเพื่อตนเอง
31 หรือเห็นแก่ตัว ความสุขอันแท้จริงนั้นเปรียบเสมือนกับแร่เรเดียม ที่สามารถแผ่รังสี ไปรักษาโรคมะเร็งในผู้ป่วยได้ ความสุขน้ันเป็นความรักรูปแบบหน่ึง ท่ีเพิ่มขึ้นตาม สัดส่วนท่ีแบ่งกระจายออกไปให้กับคนอ่ืน ดังน้ันความสุขจึงอยู่ในเอื้อมมือของทุกๆคน แม้กระทง่ั คนยากจนที่สดุ บาทหลวงมิตเชลล์ (Canon Mitchell) เขียนว่า “อยา่ ขอรอ้ งออ้ นวอน พระ ผเู้ ปน็ เจา้ ใหม้ อบความสขุ แกท่ ่าน แต่จงขอให้พระผูเ้ ป็นเจ้า ช่วยให้ท่านทาประโยชน์ต่อ คนอ่นื อย่างเหมาะสม แล้วความสุขนั้นจะเดินทางมาหาตวั ท่านเอง” A Scout is active in doing good, not passive in being good ลูกเสือไม่เป็นคนดีเพียงด้วยการอยู่เฉยๆ แต่ต้องลงมือทาความดีที่เป็นประโยชน์ ต่อผอู้ น่ื ตามความรู้สกึ ของข้าพเจ้าน้นั ความสุขสว่ นหนึ่งเกิดจากการที่อยู่เฉยๆ แต่ ความสขุ สว่ นใหญ่เกดิ จากการทางาน ดว้ ยความกระตอื รือรน้ ความสุขจากการอยู่เฉยๆ ได้แก่ การชื่นชมความงามของธรรมชาติ ดูแสงทอง ตอนพระอาทิตย์ตกดนิ ความยงิ่ ใหญ่ของภเู ขาลาเนาไพร ความมหัศจรรย์ของชีวิตสัตว์ กลิ่นของกองไฟท่ีค่ายพักแรม รวมท้ังการท่ีได้อยู่กับครอบครัวท่ีสุขสันต์ แต่ความสุข จากการอยเู่ ฉยๆที่วา่ น้ันยงั ไม่สมบรู ณน์ กั เพราะความสุขท่ีแทจ้ ริงนน้ั จะต้องมีการลงมือ กระทาความดี ที่เปน็ ประโยชนต์ ่อคนอ่ืน ในสิ่งทีเ่ ขาตอ้ งการดว้ ย “การมีครอบครัวที่มีความสนุกสนาน ประกอบกับความสามารถในการ ชว่ ยเหลือผอู้ นื่ ยอ่ มจะนาความสขุ มาใหม้ ากที่สดุ ”
32 เคยมีเร่ืองเล่ามาว่า มีเด็กชายคนหน่ึงถูกนาตัวไปข้ึนศาล ในข้อหาลักขโมย เด็กคนน้นั กล่าวแก้ตวั วา่ “เปน็ ความผดิ ของพระผู้เป็นเจา้ เพราะถา้ พระเจ้าไม่ต้องการ ใหข้ ้าพเจา้ เปน็ คนเลว ท่านจะตอ้ งชว่ ยปกปกั รักษาและทาใหข้ า้ พเจา้ เป็นคนดี” เรื่องดังกล่าวทาให้ข้าพเจ้านึกถึงทหารคนหนึ่งของพวกโบเออร์ (ชาว เนเธอรแ์ ลนดท์ ีไ่ ปตัง้ ถิ่นฐานในแอฟรกิ าใต้ ซึ่งสู้รบกับทหารอังกฤษเพื่อแย่งผลประโยชน์ และดินแดน ทาให้มีคนเสียชีวิตกว่า 3 หม่ืนคน) ท่ีทหารอังกฤษจับตัวได้ เขาได้ตาหนิ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ของเขา ที่ไม่จัดหาปืนใหญ่ให้กองทหารอย่างเพียงพอ เขาบอกว่า ประธานาธิบดีได้ให้คาตอบท่ีน่าขมขื่นว่า “ถ้าพระผู้เป็นเจ้าต้องการให้เรา ชนะสงคราม เราก็จะต้องชนะ ไม่ว่าจะมีปืนใหญ่หรือไม่ก็ตาม” เขาตอบอย่างประชด ประชันเชิงให้ประธานาธิบดีไปออกรบด้วยตนเอง ว่า “พระผู้เป็นเจ้าได้ให้ปากท้องแก่ ท่านประธานาธิบดี เพื่อจะได้กินห่านย่าง แล้ว พระองค์คงคาดหวังจะให้ท่านถอนขน ห่านและทาอาหารม้ือน้ีด้วยตัวท่านเอง” มีความจริงซ่อนแฝงอยู่ในข้อความน้ี เพราะ ธรรมชาติ หรือ พระผู้เป็นเจ้าได้ประทานสิ่งต่างๆในโลกน้ีอย่างเพียงพอที่ทาให้ชีวิต มคี วามสนกุ สนานแล้ว ข้นึ อยู่กับตวั เราเองทีจ่ ะใชส้ ่งิ เหล่าน้ันให้เกิดประโยชน์หรือทาให้ ยุ่งเหยงิ (18) “เน่ืองจากชีวิตของคนเรานั้นส้ันนัก ดังนั้นจึงจาเป็นจะต้องรีบทาส่ิงท่ีควรทา และลงมอื ทาทนั ทีในตอนนี้” ขั้นตอนแรกคือ จงอย่าพอใจท่ีจะนาเอาชีวิตและแนวคิดของท่านท้ังหมด ไปผูกพันที่รวมอยู่ในส่ิงก่อสร้างที่เป็นอิฐ ปูน การค้า การเมือง การหาเงิน หรือส่ิงท่ี มนุษย์สร้างขึ้นชั่วคราว และส่งิ ท่ีไม่สาคัญ แต่จงมองให้รอบด้านและเรียนรู้ให้มากที่สุด เท่าท่ีจะทาได้ เกี่ยวกับความมหัศจรรย์ของธรรมชาติ จงเปิดหูเปิดตาให้มากเพ่ือจะได้ เห็นโลกที่สวยสดงดงาม และสิ่งน่าสนใจหลายอย่างแตกต่างกันที่ธรรมชาติมอบไว้ แก่ท่าน โดยอีกไม่นานนัก ท่านก็จะรู้เองว่าสิ่งใดมีค่าและอะไรเป็นสิ่งที่ไม่มีค่า ตอ่ ความสขุ ในชีวติ
33 ในกรณีของตัวข้าพเจ้าเอง ข้าพเจ้าเคยพูดกับตัวเองมาหลายปีแล้วว่า “อีกสามปีก็จะถึงเวลาท่ีข้าพเจ้าจะตายจากโลกนี้ไป ดังนั้นข้าพเจ้าจึงต้องรีบทาส่ิงนี้ และสิ่งนั้น ให้เข้ารูปและเสร็จ ก่อนท่ีทุกอย่างจะสายเกินไป” ความคิดดังกล่าวทาให้ ข้าพเจ้าเร่งรีบทาส่ิงต่างๆ ให้สาเร็จ แทนท่ีจะรอไว้จนถึงวันรุ่งข้ึน โดยเหตุน้ี ทาให้ ข้าพเจา้ ได้ไปเย่ยี มชมส่วนต่างๆ ท่วั โลก โดยไมเ่ สยี เวลารอคอยโอกาสท่ีดีกว่า วันหน่ึง ข้าพเจ้านอนหลับตอนกลางวัน แล้วฝันว่าได้ตายจากโลกน้ีแล้ว ได้ไปที่ประตูสวรรค์ เทวดาที่เฝ้าประตูถามว่า “ท่านชอบประเทศญี่ปุ่นอย่างไร?” “ญ่ีปุ่นรึ?” ข้าพเจ้าถามเทวดา “ ผมเป็นคนอังกฤษ อยู่ในประเทศอังกฤษนะครับ” เทวดาถามต่อไปว่า “แล้วท่านใช้เวลาตลอดชีวิตทาอะไร ในโลกแห่งความมหัศจรรย์ ท่ีเต็มไปด้วยสถานท่ีสวยงามและสถานที่ท่ีน่าสนใจ ทาไมท่านไม่ใช้เวลาท่ีธรรมชาติ หรือพระผู้เป็นเจ้าให้มาอย่างเป็นประโยชน์?” พอต่ืนจากฝัน ข้าพเจ้าก็รีบไปซื้อตั๋วเพ่ือ เดนิ ทางไปประเทศญ่ปี นุ่ ทนั ที สิ่งท่ีทาให้หลายคนไม่สบายใจในวัยชราก็คือ เมื่อถึงเวลาแก่ตัวแล้วจึงจะ มองเห็นสิง่ ต่างๆในสดั ส่วนท่ีเหมาะสม ซึ่งเป็นเวลาที่สายเกินไปท่ีจะมองเห็นว่า เขาได้ ทาลายเวลาใหเ้ สียไป โดยทาสิ่งต่างๆทีไ่ ด้ประโยชน์ไม่คุม้ ค่า (18) 1.11 จงพายเรือของท่านด้วยตนเอง (Paddle your own Canoe) สาหรบั หนุ่มสาวทีเ่ พ่ิงเรม่ิ ต้นชวี ติ ทา่ นอาจรู้สึกวา่ ตนเองเปน็ เพียงหนงึ่ ในฝูงชน และสามารถทาเหมือนหรือตามไปกับคนอื่นได้อย่างปลอดภัย คล้ายกับหญิงสาว ท่ีได้รับคาเตือนจากผู้ปกครองว่าประพฤติตัวไม่เหมาะสม ซึ่งอาจนาเธอไปลงนรกแล้ว เธอตอบว่า “คนอ่นื ๆ ก็ทากนั ท้งั นัน้ หนูก็ตอ้ งทาบา้ งซ”ี่ ความคิดดังกล่าว เป็นการกระทาที่ไม่เหมาะสมเหลวไหล จาไว้ว่าท่านน้ัน เป็นเจ้าของของตัวเอง มีชีวิตอยู่ได้ด้วยลมหายใจของตนเอง ถ้าต้องการความสุข ก็จะตอ้ งหาความสุขด้วยความสามารถของตนเอง จะอาศยั ใครคนอืน่ มาทาแทนใหไ้ มไ่ ด้
34 จงพายเรอื ของท่านด้วยตนเอง โดยมองไปขา้ งหนา้ ถ้าทา่ นยอมใหค้ นอื่นน่ังหนั หลงั ตกี รรเชียงเรือของทา่ น โดยมองไม่เหน็ อันตรายทร่ี ออยู่ข้างหนา้ เรอื ของท่านก็อาจพลิกคว่าโดยงา่ ย ตอนที่ข้าพเจ้ายังเป็นเด็ก มีเพลงยอดนิยมเพลงหน่ึงช่ือว่า \"จงพายเรือด้วย ตนเอง” ซ่ึงมีบทเพลงดังน้ี “อย่ามัวนั่งหล่ังน้าตาหรือหน้างอ จงใช้ถ่อหรือพายไป ให้ตนเอง” (Never sit down with a tear or frown, but paddle your own canoe) เพลงน้ใี หแ้ นวทางดีในการดาเนนิ ชีวติ เปน็ คาแนะนาทดี่ มี าก ในภาพขา้ งบน ท่านจะเหน็ คนพายเรอื ไปข้างหนา้ ไมใ่ ชต่ ีกรรเชยี งเรือแบบน่ัง กลับหลัง การพายเรือไปข้างหน้านั้น คนพายจะมองเห็นควบคุมเรือไปข้างหน้าได้ ตลอดเวลา ซ่ึงต่างจากการตีกรรเชียงเรือที่คนตีกรรเชียงนั่งหันหลังแล้วบังคับทิศทาง โดยคนถือท้าย ทาให้คนท่ีตีกรรเชียงไม่สามารถกาหนดทิศทางของเรือได้ คนจานวนมาก ดาเนินชีวิตแบบตีกรรเชียงเรือ ท่ีไม่สามารถควบคุมชีวิตไปตามทิศทางท่ีต้องการ และมี บางคนท่ีปล่อยให้ชีวิตล่องลอยไปกับโชคชะตา หรือเคราะห์กรรม เหมือนกับเรือที่ไม่มี หางเสือหรือคนคัดท้าย หรือปล่อยให้เรือหันเหไปตามทิศทางลม การดาเนินชีวิตแบบ ดงั กล่าวน้ันดงู า่ ย และสะดวกดี แตก่ ม็ อี ันตรายต่อชวี ติ เป็นอย่างมาก (19) ข้าพเจ้าอยากให้หนุ่มสาว ที่อ่านหนังสือเล่มน้ี “จงมองไปข้างหน้า และลงมือ พายเรือถอื หางเสือด้วยตนเอง เพ่ือขอลิขิตชีวติ ของตนเอง” จงอย่าอาศยั ยืมมือของผู้อ่ืน มาพายหรือควบคุมคัดท้ายเรือชีวิตของท่าน ชีวิตของท่านนั้น เหมือนกับการพายเรือ
35 ผ่านลาธารเล็กๆต้ังแต่วัยเด็ก ออกสู่แม่น้าใหญ่ตอนวัยรุ่น ออกสู่ทะเลกว้างตอนเป็น ผ้ใู หญ่ เพอื่ มุ่งไปสูเ่ ป้าหมายทา่ เรอื ท่ตี ้งั ใจจะไปให้ถึง การพายเรือผา่ นธารน้าและทะเลสาบนั้นจะตอ้ งผา่ นเกาะแกง่ เพิงผา หนิ ใต้นา้ คล่ืนลม และพายุระหว่างทาง ซึ่งเหมือนกับชีวิตของคนเราที่จะต้องมีอุปสรรค ปัญหา และภยั อนั ตราย ทีด่ ักรออยู่ โดยอาจไมม่ กี ารเตอื นภยั ลว่ งหนา้ และหากการพายเรอื ของ ท่านไม่ได้ผ่านการผจญภัยระหว่างทาง ก็เปรียบได้กับชีวิตท่ีราบเรียบ ซ้าซากจาเจ อนั น่าเบื่อหนา่ ย แตด่ ว้ ยการพายเรืออย่างถูกวิธี อย่างระมัดระวัง จะทาให้การเดินทาง ผ่านอุปสรรค แล้วประสบความสาเร็จถึงเป้าหมายโดยสวัสดิภาพ ถึงแม้จะเร่ิมต้นจาก ลาธารท่มี ีขนาดเลก็ เพียงใดก็ตาม 1.12 การศึกษาเพ่ิมเติมด้วยตนเองเป็นส่ิงจาเป็น(Self Education is Necessary) จงจาไว้ว่า เม่ือท่านเรียนจบจากโรงเรียนน้ัน ท่านยังไม่ได้รับการศึกษาให้เป็นมนุษย์ โดยสมบูรณ์ เพราะท่านได้รับการส่ังสอนเพียงให้รู้จักวิธีหาความรู้เบื้องต้นเท่าน้ันเอง หากท่านต้องการความสาเร็จในชีวิตอย่างแท้จริง ท่านจะต้องหาความรู้ต่อจากที่เรียน ในโรงเรียน โดยการศึกษาด้วยตนเอง โดยข้าพเจ้าขอแนะนาว่า การศึกษาด้วยตนเอง มเี ป้าหมายสาคญั 3 ประการคือ 1. เพ่ือให้มคี วามสามารถ ในอาชพี หรือการคา้ ท่ที า่ นจะทาตอ่ ไป 2. เพอ่ื เตรียมตัว เปน็ พ่อแม่ของลกู ในอนาคต 3. เพอ่ื เปน็ พลเมอื งท่ีดีและเป็นผ้นู าการทาความดีต่อคนอ่นื
36 เม่ือข้าพเจ้าเรียนจบจากโรงเรียน ข้าพเจ้ารู้สึกเหมือนกับว่า ตนเองอยู่ใน ห้องอันมืดมิด การศึกษาที่เรียนมา คล้ายกับการได้รับไม้ขีดไฟก้านหน่ึงท่ีเม่ือถูกจุดข้ึน แล้วจะทาให้เห็นว่าห้องนั้นมืดเพียงใด แล้วก็มีเทียนอีกเล่มหนึ่งสาหรับให้ข้าพเจ้า ใช้เปลวไฟจากไม้ขีดก้านน้ันไปจุดปลายเทียน เพ่ือให้เทียนนั้นมีแสงสว่างสาหรับทา อะไรตอ่ ไปในห้องทไ่ี มม่ ดื หอ้ งนั้น แต่น่นั เปน็ ตัวอย่างเปรียบเทียบเพียงหอ้ งเดยี ว ทใ่ี นโลกแท้จริงนัน้ มอี ยหู่ ลายห้อง มากมาย ดังนั้นจึงเป็นเร่ืองที่ดี ท่ีจะหาทางส่องเทียนเข้าไปดูให้เห็นชีวิตในห้องต่างๆ บริเวณละแวกใกล้เคียง ในจังหวัดและในประเทศอ่ืน ๆ เพ่ือจะได้เรียนรู้ว่า คนในเมือง หรอื ประเทศอนื่ น้นั เขามีชีวิตอยกู่ นั อย่างไร? ท่านอาจพบว่า แม้ห้องท่ีท่านเคยอยู่น้ันจะดูมืด และสกปรก มากเพียงใด แตก่ ็อาจเปดิ หน้าตา่ ง ให้มีแสงแดดส่องเข้ามาในหอ้ งได้มากข้ึน และอาจมีหลายวิธีเลือก ในการ (20) ตกแต่งห้องเก่าของท่านให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกัน ประเทศของท่าน ทด่ี ูเหมือนจะมีปญั หารมุ เร้า จนไม่น่าอยู่อาศัยน้ัน อาจจะดีกว่าประเทศอ่ืนท่ีมีบางคนคิด จะย้ายหนีไปอยู่ และมีลู่ทางหลายอย่างที่จะช่วยกันพัฒนาประเทศของเราให้ดีข้ึน โดยเร่มิ ตน้ จากทา่ นเพียงคนเดยี ว การทาชีวิตให้ประสบความสาเร็จด้วยวิธีดังกล่าว จะยิ่งใหญ่กว่าการหา ความสุขมาสู่ตนเอง เพราะท่านกาลังทาบางอย่างเพ่ือช่วยชาติบ้านเมือง ซึ่งอาจดู เหมือนจะเป็นส่ิงเพ้อฝัน เป็นไปได้ยาก ที่ชายหนุ่มโสดธรรมดาอย่างตัวท่านเพียง คนเดียว จะช่วยประเทศชาติได้ เพราะท่านมิใช่เป็นคนใหญ่คนโตหรือมีเงินมากนัก แต่ข้าพเจา้ ขอยืนยันวา่ ทา่ นคนเดยี วสามารถช่วยชาติไดจ้ ริง ความเจริญสมัยใหม่ ท่ีประกอบด้วยชีวิตในเมืองใหญ่ ท่ีมีทุกส่ิงที่ทาขึ้นเพ่ือ ความสะดวกสบายน้ัน ทาใหม้ นษุ ย์ ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการทางาน เหมอื นคนโบราณ พวกนักเรียนในโรงเรียนของอังกฤษน้ัน ถือว่าการเรียนในห้องเรียน ไม่สาคัญ เท่ากับการเรยี นในสนามกีฬาและนอกห้องเรียน เพราะนักเรียนจะต้องเล่นกีฬาอย่างไม่ ตุกติก มีน้าใจเป็นนักกีฬา ตรงไปตรงมา สานึกในเกียรติ และร่าเริง อยู่ในระเบียบวินัย
37 โดยต้องปฏบิ ัติตามคาส่งั หรอื สงิ่ ได้รบั มอบหมาย คล้ายกบั “การถกู ปราบหรอื ทุบตีเหล็ก ร้อนให้เป็นมีด” ทาให้นักเรียนในช้ันเล็กได้รับความยากลาบากมากพอควร จนเม่ือเขา อยู่ในชั้นสูงขึน้ จงึ จะมโี อกาสออกเสยี งให้ความเหน็ บา้ ง แตป่ ระสบการณ์ดังกล่าวจะเป็น ประโยชน์ต่อเขาในบน้ั ปลาย ในสมัยก่อน ชาวกรีก พวกสปาร์ตัน จะฝึกอบรมเด็กผู้ชายของเขาอย่าง เข้มงวด เพอ่ื ใหม้ ีความแข็งแรงและอดทน ก่อนทีจ่ ะไดร้ ับอนุญาตให้นบั ตวั เองเป็นผู้ใหญ่ เต็มตัว วิธีการเช่นว่าน้ันยังใช้อยู่ในชนเผ่าท่ีดุร้ายหลายเผ่าในแอฟริกา หมู่เกาะทะเลใต้ และชาวพื้นเมืองของออสเตรเลีย ซึ่งข้าพเจ้าได้เคยพบมาด้วยตนเอง กับคนป่าชนเผ่า ซูลู สวาซี และ มาตาเบเล่ ที่มีการฝึกเพ่ือพิสูจน์ตัวเองของชายหนุ่ม ด้วยการให้ ออกไปใช้ชีวิตอยู่ในป่าตามลาพังคนเดียว โดยเด็กหนุ่มจะถูกทาตัวด้วยสีขาวทาจาก บิสมัท ซึ่งไม่สามารถล้างออกได้โดยต้องใช้เวลานานหลายสัปดาห์ก่อนท่ีสีขาวนั้น จะลบเลือนไป เขา (21) จะได้รับหอกสั้นปลายแหลมที่เรียกว่า อาซาไก เพียงเล่มเดียว ต้องดารงชีวิตอยู่ด้วยการพึ่งตนเอง โดยสะกดรอยไล่ตามสัตว์ แล้วล่าสัตว์มากิน เป็นอาหารและนาหนังสัตว์มาทาเครื่องนุ่งห่ม ต้องก่อไฟโดยเอาไม้มาถูกัน และจะต้อง หลบซ่อนตนเอง เพราะมกี ฎว่า ถา้ คนปา่ พนื้ เมืองคนอนื่ เห็นเขา ขณะที่มีสีขาวติดตัวอยู่ คนเหล่าน้นั จะฆา่ เขาเสีย คนป่า นักล่าสิงโต ชาว มาซาอี ในแอฟรกิ า ท่รี า่ เริง เขม้ แข็ง และมสี ขุ ภาพดี
38 เมื่อเด็กหนุ่มที่ผ่านการทดสอบดังกล่าว กลับเข้ามาในหมู่บ้าน เขาจะได้รับ การยกยอ่ ง โดยการโหร่ ้องยนิ ดี ที่ได้พสิ ูจนต์ นว่าเปน็ ผใู้ หญแ่ ลว้ เปน็ ทีน่ ่าเสยี ดายทีเ่ ด็กชายธรรมดาในอารยประเทศปจั จุบนั ไม่ได้รบั การฝึกฝน แบบดังกล่าว เพราะเรามีจาเป็นต้องฝึกอบรมเด็กหนุ่มของเราให้เป็นลูกผู้ชายอย่าง เหมาะสม แทนที่จะปลอ่ ยกลายเป็นคนออ่ นแอ ออ้ นแอ้น เหลวไหล หรอื ใชส้ ารเสพตดิ ท่ีกลา่ วมาแล้วนั้น เป็นเหตุผลว่า ทาไมข้าพเจ้าจึงชักชวนท่านให้เตรียมตัวให้ ประสบความสาเร็จ ตามคาแนะนาที่ให้ไว้ในหนังสือนี้ โดยควรกระทาความดีมิใช่เพียง เพอ่ื ตัวของท่านเองเท่าน้ัน แต่ต้องทาความดีต่อสังคมและประเทศชาติด้วย เพราะการ กระทาของท่านเพียงคนเดียว จะเป็นการเพ่ิมกาลังทาความดีให้ประเทศชาติอีกหนึ่งคน และการทาความดีของท่านนั้น จะเป็นตัวอย่างท่ีแพร่กระจายออกไป เหมือนน้าตก ทก่ี ระแทกลงบนแผน่ หนิ แลว้ คนอนื่ ก็จะทาความดตี ามแบบการกระทาของท่าน 1.13 จงก้าวไปขา้ งหนา้ ดว้ ยความม่ันใจ (Go Forward with Confidence) ข้าพเจ้าได้เคยอธิบายให้ท่านทราบมาบ้างแล้วเกี่ยวกับ “หินใต้น้า หรือหิน โสโครก” ซ่ึงก็คือ อุปสรรคบางส่วนท่ีท่านอาจจะพบระหว่าง การเดินทางของชีวิต ข้าพเจ้าอยากบอกให้ท่านสบายใจได้ว่า ชีวิตของข้าพเจ้านั้นได้เคยผ่านอุปสรรค หรือ หินโสโครกที่มีรูปร่างน่าเกลียดน่ากลัวมาแล้วมากมาย แต่เม่ือได้ผ่านกองหินโสโครก หรืออุปสรรคมาแล้ว เหตุการณ์ต่างๆ มักจะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี โดยมักจะได้พบ แสง(22)สว่างในถ้าที่มืดมิด ครั้งแล้วคร้ังเล่าท่ีข้าพเจ้าคิด ว่ามีบางส่ิงบางอย่างท่ีไม่ดี คอยอย่ขู า้ งหนา้ แต่เมื่อเข้าไปถึงจริง กลับไม่ร้ายแรงเท่าที่คาดไว้ เร่ืองเช่นน้ีได้เกิดข้ึน บ่อยมาก จนตอนนี้ข้าพเจ้าชักจะชอบเผชิญกับอนาคตท่ีมืดมน เพราะแน่ใจว่าผลท่ี เกิดขนึ้ นั้นจะดกี ว่าทีม่ องอย่างเลือนรางในตอนแรก
39 จงแบกหบี ห่อของท่านด้วยตนเอง ข้าพเจ้ามีเสาโตเต็มอันเล็กๆ อันหนึ่ง ตั้งอยู่บนโต๊ะเขียนหนังสือ ข้าพเจ้าวาง ไว้ท่ีนั่น เพราะมันเป็นสิ่งเล็กๆท่ีสร้างแรงบันดาลใจ ช่วยให้คนมีมานะพยายาม ในเม่ือ จะต้องทางานท่ีนา่ เกลียดหรอื ยงุ่ ยาก เสาโตเต็มอันนั้น เป็นท่อนไม้แกะสลัก เป็นรูปนักบุญเซนต์ยอร์ช ขี่ม้าต่อสู้กับ มังกร ข้าพเจ้ามีรูปวาดของนักบุญเซนต์ยอร์ชหลายรูปท้ังแบบโบราณและสมัยใหม่ มภี าพหนึ่งทช่ี อบมากกว่าภาพอื่น ไม่ใช่เพราะเขียนด้วยฝีมือที่ดีกว่า แต่เพราะในภาพน้ัน เซนต์จอรจ์ กาลังต่อสู้กับมังกรด้วยรอยยิ้มแบบตั้งใจจะเอาชนะให้ได้ และน่ันคือวิธีที่จะ ต่อสจู้ ดั การกบั ความยากลาบาก ไมว่ า่ คตู่ ่อส้นู นั้ จะดนู า่ เกลียดนา่ กลวั เพยี งใด “จงอย่าพอใจเพียงแต่จะทางานเพื่อปกป้องตัวเองและปัดป้องส่ิงท่ีเลวร้ายท่ี ท่านอาจเผชิญอยู่ แต่จงทางานอย่างมุ่งมั่นเพ่ือเอาชนะและหาทางให้ได้ประโยชน์จาก ความยุง่ ยากเหล่านั้นให้จงได้” (23) 1.14 คตเิ ตอื นใจทมี่ ีผอู้ ื่นกลา่ วไว้ (What Othe Fellow have said) วิธีทีด่ ที ี่สุดในการประสบความสาเร็จในโลกน้ี คือปฏิบัติตามคาแนะนาที่ท่าน ใหแ้ ก่ผู้อนื่ (ไมท่ ราบผแู้ ต่ง) (ฟังแลว้ เหมือนกบั เฆ่ยี นตตี ัวเอง!) The best way to succeed in this world is to act on the advice you give to others (Anon.). (Sounds rather like a hit at myself!)
40 ส่ิงท่ีย่ิงใหญ่ในโลกน้ีนั้นไม่ได้สาคัญว่าเรากาลังยืนอยู่ท่ีจุดใด แต่ข้ึนอยู่กับว่า เรากาลังเคลอ่ื นทไ่ี ปในทศิ ทางใด (โฮล์มส)์ The great thing in the world is not so much where we stand as in what direction we are moving (Holmes). ความสาเรจ็ ไมไ่ ด้ขน้ึ อยกู่ ับความช่วยเหลอื จากภายนอกมากนกั แต่ขึ้นกับการ พึ่งตนเอง (อับราฮัมลินคอล์น) Success does not depend so much upon external help as on self reliance (Abraham Lincoln) อยา่ เปน็ เพยี งไม้พ่มุ เต้ียๆ แต่จงเป็นตน้ ไม้ซดี ารท์ ส่ี ูงใหญ่ในหมขู่ องท่าน (เซอร์ โธมัส บราวน์) Be not a shrub but a cedar in your generation (Sir Thomas Browne). เราไมไ่ ดเ้ ปน็ อะไรตามท่ีเราคดิ แตส่ งิ่ ท่เี ราคิดนั้นจะแสดงวา่ เราเป็นคนอย่างไร (ไม่ทราบผู้แต่ง) We are not what we think we are, but what we think, we are. (Anon) โลกใบนี้ เต็มไปด้วยส่ิงที่จะทาให้เกิดความสุขต่างๆมากมาย ข้าพเจ้าแน่ใจว่า พระมหากษัตริย์ก็ไม่ได้มีความสุขมากกว่าพวกเราสักเท่าไหร่ (อาร์แอล สตีเวนสัน) The world is so full of a number of things, I’m sure we should all be happy as kings. (R. L. Stevenson.) จงแบกหบี หอ่ ของท่านดว้ ยตนเอง (ภาษิตแคนาดา) Hump your own Pack. (Canadian saying) ความสุขเป็นสิ่งลึกซ้ึงกว่ารอยยิ้มบนใบหน้า ความสุขคือ ความเบิกบาน ในดวงใจ ความสุขคอื ความสานึกคลา้ ยกับเคร่อื งจักรกลของเราท่ีทางานอย่างเรียบร้อย สมบูรณแบบตามที่ออกแบบล่วงหน้าไว้ (อาร์ พาเลต) Happiness is more than a grin on one’s face, it is the glory in one’s heart. It is the consciousness that one’s machinery is working perfectly at the job for which it was designed. (R. Parlette).
41 1.14 จงพายเรือของท่านดว้ ยตนเอง (Paddle Your Own Canoe) เกดิ เป็นชาย อย่าหมาย เป็นลกู ไก่ หวงั คอยให้ คนอืน่ มาชว่ ยเหลอื เป็นคนจริง อยา่ อยู่น่ิง ต้องเออื้ เฟ้ือ หมน่ั นาเรอื ของตนเอง เร่งพายไป ไมย่ อ่ ท้อ ตอ่ ปวงภยั ในภายหนา้ ทั้งสรุ า มาตุคาม คนกา้ มใหญ่ ไมเ่ ถรตรง แตค่ อยหลีก ปลกี ตวั ไป ยิม้ สดใส ในเรือ เพือ่ ตนเอง (ร้องพร้อมกนั ) การรกั เพ่อื น เหมือนตนเอง กด็ อี ยู่ เมอ่ื เกดิ สู่ ตามวิถี โลกนหี้ นอ อยา่ มัวนงั่ หลง่ั นา้ ตา หรือหน้างอ จงนาเรือ พายถ่อ ด้วยตนเอง (เร่อื งท่เี ขยี นข้นึ เพอื่ ลอ้ เลียน) For a man ‘tis absurd to be one of a herd, Needing others to pull him through; If he’s got the right grit he will do his own bit And paddle his own canoe. He’ll look without dread at the snags on ahead, Wine, Women and Highbrows too;
42 He won’t run aground but will work his way round, With a smile, in his own canoe. Chorus : So love your neighbour as yourself As the world you go travelling through, And never sit down with a tear or a frown, But paddle your own canoe. (Parody) เบเดน โพเอล เมอ่ื อายุ 39 ปี พ.ศ.2439 (ค.ศ.1896)
43 (24) บทที่ 2 อปุ สรรคชวี ติ หมายเลข 1 การพนัน (Rock Number one : Horses) 2.1 มา้ ประจาตวั ของข้าพเจา้ (My Horse Comrades) เจา้ ดิ๊ก ทเ่ี ปน็ ม้าประจาตวั ของขา้ พเจา้ เม่ือข้าพเจ้า เป็นทหารในกองพันทหารม้าของกองทัพอังกฤษในอินเดีย มีม้าประจาตัวชื่อ “ด๊ิก” ด๊ิกเป็นม้าที่ไม่ดุร้าย มันเป็นเพื่อนท่ีดีของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ สอนใหด้ ิ๊ก ร้จู กั กลเมด็ ต่างๆหลายอยา่ ง ประการแรกคือ ถ้าข้าพเจ้าสั่งให้รอ ด๊ิกจะต้อง ยืนรออยู่ท่ีนั่นเป็นช่ัวโมงโดยไม่เคล่ือนที่ไปไหน คร้ังหนึ่งที่พรมแดนทางตะวันตกเฉียง เหนือของอินเดีย ม้าตัวหน่ึงในกองพันทหารม้าของข้าพเจ้าที่ชื่อ เอ44 ได้แหกคอก หายไปออกจากค่ายตอนกลางคืน เอ44 เป็นม้าที่ดีตัวหน่ึงของกรมทหาร ดังน้ันทุกคน ตา่ งกร็ สู้ ึกเดือดรอ้ นทีม่ ้าตวั นีไ้ ด้หายไป โดยเฉพาะผพู้ ันทเี่ ป็นหวั หน้า ขา้ พเจา้ ขมี่ า้ เจา้ ด๊ิกไปตามหา เอ44 ท่ามกลางฝนและหิมะที่ตกทงั้ คืน เพียงไมน่ าน ข้าพเจ้าก็พบรอยเท้าของม้า เอ44 หลงั จากตามฝ่าโคลน หิมะ และป่าเขาท่ีมีพ้ืนเป็นหิน ทาให้การสะกดรอยเป็นไปได้อย่างลาบาก หลังจากที่ติดตามไปหลายช่ัวโมง เป็นระยะทางหลายไมล์ ก็เห็นรอยเท้าม้า เอ44 ขึ้นไปบนเขาท่ีแคบและสูงชัน ข้าพเจ้า จึงลงจากหลังเจ้าด๊ิก บอกให้มันรออยู่ท่ีน่ัน แล้วเดินเท้าปีนเขาข้ามห้วยต่อไปจนพบม้า เอ44 ยืนตัวส่ันด้วยความหนาว หวาดกลัว และมีเลือดไหลออกมาจาก บาดแผล
44 หลายแห่ง ข้าพเจ้าต้องใช้เวลานานมากกว่าจะพาม้า เอ44 กลับลงมาสู่เชิงเขาที่เจ้าดิ๊ก ยืนรออยูอ่ ย่างสงบ แลว้ ข้าพเจา้ ก็ขี่ เจ้าดิ๊ก กลบั คา่ ยทหารโดยจูงเจา้ เอ44 ตามมาดว้ ย (25) แต่ม้า A44 ท่ีน่าสงสารน้ันไม่ลืมเรื่องที่เกิดขึ้น มันกลายเป็นม้าที่มิใช่ตัวเดิม อีกต่อไป ต่อจากนั้นมันก็ป่วยและเสียชีวิต แต่ผู้พันก็ยินดีมากกับสิ่งท่ี ด๊ิกและข้าพเจ้า ไดท้ าเพ่อื ใหม้ ้า เอ44 กลับมา ซงึ่ กลายเปน็ โชคดสี าหรับข้าพเจ้าในภายหลงั เร่อื งเป็นไปอยา่ งนี้ ด๊ิกเป็น \"ม้าประจาตัวตัวที่หนึ่ง” ของข้าพเจ้า ซึ่งถึงแม้ว่าจะเป็นม้าที่ ราชการมอบให้ใช้ แต่ข้าพเจ้าต้องใช้เฉพาะการขี่สวนสนามหรืองานในราชการเท่านั้น ไม่สามารถนาไปเทียมรถม้าหรือขี่ไปล่าสัตว์ได้ ในวันหนึ่งขณะที่ข้าพเจ้าขี่เจ้าด๊ิกไปไม่ไกล จากค่ายทหาร ข้าพเจ้ามองเห็นหมูป่าตัวหน่ึงวิ่งข้ามทุ่งนา จนอดใจไว้ไม่ได้เพราะ ขา้ พเจา้ ชอบการลา่ หมปู ่าเป็นท่สี ุด ตอ้ งเรียกใหค้ นเล้ียงม้าที่เป็นชาวอินเดียส่งหอกของ ข้าพเจ้ามาให้ แล้วก็ขเี่ จ้าดิ๊กตามหมปู ่าไปโดยลมื ถึงระเบียบข้อหา้ มในการใช้มา้ ราชการ หลังจากการควบขับอย่างรวดเร็ว จนเข้าไปใกล้ตัวหมูป่า ข้าพเจ้าก็โน้มตัวไปข้างหน้า เพื่อพุ่งหอกแทงหมูป่า ทันใดน้ัน ดิ๊กก็หยุดว่ิงและยกขาหน้าทั้งสองข้ึน ทาให้ข้าพเจ้า เกอื บกระเด็นตกจากหลงั ม้า เน่อื งจากด๊ิกเคยได้รับการสอนมาว่า ถ้าข้าพเจ้าก้มตัวลง เพ่ือคานับผู้ใด ด๊ิกจะต้องยกขาหน้าท้ังสองข้ึนแล้วยืนบนขาหลัง ดังนั้นเมื่อข้าพเจ้า ก้มตัวลง เพ่ือเอาหอกพุ่งแทงหมูป่า ด๊ิกก็คิดว่าข้าพเจ้ากาลังทาความเคารพใครสักคน จงึ ยกขาหนา้ ขน้ึ ตามที่เคยได้รับการฝึกมา หมูป่าตัวน้ันเกือบจะหนีไปได้แล้ว แต่หมูป่า ทชี่ าญฉลาดตวั น้ันคงฉุกคิดไดว้ า่ ควรจะแก้แค้นสังหารคนและม้าท่ีกาลังจะเอาหอกแทงตน แทนท่ีจะวิ่งหนีไป มันจึงว่ิงกระโจนเข้าใส่เราทันที โดยข้าพเจ้าได้เตรียมหอกไว้รับมือ กบั หมูป่าตวั น้ันไวแ้ ล้ว แต่พอข้าพเจ้าก้มตัวลงจะพุ่งหอกอีกคร้ัง เจ้าดิ๊กก็ยกขาหน้าข้ึนอีก ทาให้ข้าพเจา้ ใช้หอกแทงพลาด หมูป่าใช้เขี้ยวของมันแทงถูกขาหลังของด๊ิก ซ่ึงเคราะห์ดี ที่ไม่แทงถูกตรงท้องของม้า ต่อจากนั้นพอหมูป่าวิ่งกลับมาหาเราอีกคร้ัง ข้าพเจ้าก็เอา ส้นรองเท้ากระแทกสขี า้ งของ ด๊ิกอย่างแรง จนทาให้มันกระโดดลอยข้ึนไป ขณะท่ีหมูป่า วิ่งลอดทอ้ งม้า ขา้ พเจ้าก็ใชห้ อกแทงสังหารหมปู า่ ตวั นน้ั ไดส้ าเร็จ
45 แต่ส่ิงท่ีน่ากลัวต่อมา คือการเผชิญหน้ากับผู้พันและอธิบายสาเหตุของ บาดแผลทีข่ าของมา้ ประจาตัวของขา้ พเจา้ (26) “ท่านครับ” ข้าพเจ้าพูด “หมูป่าว่ิงมาทาร้ายผมและผมต้องปกป้องตัวเอง!” “น่ันคือเหตุผลท่ีดีมาก” ผู้พันกล่าว “แต่ท่านข่ีม้าประจาตาแหน่งมาเข้าใกล้หมูป่าตัวน้ี ได้อย่างไร โดยมีหอกอยู่ในมือ? ไหนขอดูหน่อยสิ ว่าเป็นม้าตัวท่ีท่านข่ีไปช่วยหาม้า เอ44 ท่ีเคยหนีไปใช่ไหม คราวนี้ไม่เป็นไร แต่คราวหน้าอย่าขี่ม้าของราชการประจา ตาแหนง่ ไปไล่ล่าหมูปา่ เลน่ อีกนะ เพราะมนั เปน็ การกระทาทผี่ ิดวินยั ทหาร” 2.2 ม้า (Horse) ข้าพเจ้ารักม้า มีภาพม้าหลายตัวที่ข้าพเจ้าเคยใช้เป็นคู่ขา ติดอยู่บนฝาผนังที่บ้าน ข้าพเจ้ามีม้าเป็นพาหนะเพ่ือนร่วมทาง ในช่วงเวลาต่างๆ ของชีวิต ม้าเป็นเพือ่ นที่ดกี บั ข้าพเจ้าไมว่ ่าจะเปน็ การสงคราม ล่าสตั ว์ เล่นโปโล หรือ แข่งมา้ การแข่งม้าเป็นกีฬาที่น่าดึงดูดอย่างแท้จริง มันทาให้เลือดฉีดแรงเม่ือได้เห็น มา้ ตวั งามจากสายพนั ธทุ์ ด่ี ีทสี่ ดุ ม้าท่ดี ีจะได้รับการฝึกฝนให้ใช้กาลังท้ังหมดเพ่ือเอาชนะ ในการแข่งขัน ภายใต้การควบคุมของจ๊อกกี้ช้ันครู ที่ รอบรู้ศิลปะของการขี่ม้า (27) แต่ก็เป็นเช่นเดียวกับสิ่งอื่น ๆ การดูม้าแข่งย่อมสนุกน้อยลงหากดูซ้าซาก เหมือน การกนิ เนือ้ วัวยา่ งอย่างดอี ย่างตอ่ เนือ่ ง ทจี่ ะอรอ่ ยน้อยลง ถ้าไม่มเี กลือคอยชูรสไว้
46 ตัวอย่างของการกีฬาโดยแท้ คนทไ่ี ปสนามมา้ ส่วนมาก ไมไ่ ดส้ นกุ สนานกับการดตู วั มา้ แต่มัวสนใจกับการ พนันแทงมา้ โดยคนทไ่ี มไ่ ด้รว่ มพนนั ในสนามมา้ น้นั จะกลายเป็นคนท่แี ปลกประหลาด การที่สนามม้าสามารถดึงดูดคนได้เป็นจานวนมากก็เพราะ มีโอกาสที่จะได้ เงนิ จากการแทงม้าตวั ท่วี ่ิงเร็วท่ีสุด ไม่ใช่เพราะต้องการไปชมความสามารถของม้า และ มีนักเลงม้าจานวนมากท่ีไม่ได้เดินทางไปที่สนามแข่งม้า แต่น่ังแทงม้าทางโทรศัพท์ บนเก้าอี้นวมในบ้านของเขาเอง บุคคลประเภทน้ีจึงกลายเป็นเหยื่อของโชคชะตา หรือ อาจเป็นหมูท่ีถูกหลอกลวงต้มตุ๋น เขาไม่ได้ทาความดีให้แก่ผู้ใด เว้นแต่พวกเจ้ามือท่ีรับ แทงม้า การแข่งขันชิงถ้วยรางวัลในการแข่งม้า กลับเปล่ียนเป็นการกอบโกยหาเงิน จากการพนัน 2.3 การแข่งขันชิงรางวัลที่กลายเป็นการพนันเอาเงิน (Prize-Fighting is becoming Money Grubbing) สิ่งท่คี ล้ายคลึงกบั การแข่งม้า คือการชกมวย ซึ่งได้รบั ยกย่องจากคนบางกลุ่มว่าเป็น “กีฬา” ระดับชาติ การแข่งขันชกมวยที่ดี จะทาให้เรา เห็นการต่อสู้ของคนแข็งแรง ท่ีได้รับการฝึกฝนมาอย่างดี ท้ังด้านรุกและรับ ภายใต้ กฎเกณฑท์ ีย่ ตุ ธิ รรม อย่างมอี ารมณ์ดี โดยไมท่ ะเลาะกัน
47 ข้าพเจ้าต้องสารภาพโดยส่วนตัวว่า ชอบดูการแข่งขันชกมวยสมัครเล่นของ ลกู เสอื มากกวา่ มวยอาชีพที่มชี อื่ เสยี งยงิ่ ใหญท่ ส่ี นามมวยอลั เบิร์ต ในกรุงลอนดอน ซึ่งมี การประชาสมั พันธอ์ ย่างมากมาย การชกมวยท่ีเคยเป็นวธิ อี อกกาลงั กายทด่ี เี ยย่ี ม ปัจจุบนั กลับถกู ใชเ้ ปน็ วิธีหาเงิน การชกมวยสมัครเล่นของลูกเสือเป็นการกีฬาอย่างแท้จริง ส่วนการชกมวย อาชีพตามสนามมวยนั้นเป็นการหาเงินที่ใหญ่โตอย่างหน่ึง นักมวยจะได้รับเงินรางวัล เปน็ จานวนมากจากการต่อยมวย(สว่ นหน่งึ เปน็ การกอดกนั )เพียงไม่กี่นาที โดยผเู้ ขา้ ชม ต้องเสียค่าบัตรเข้าชม ในราคาแพงมาก ผู้ท่ีได้รับประโยชน์มากคือผู้จัดการเข่งขัน (28) การแข่งขันชกมวยอาชีพในปัจจุบันนั้น เทียบไม่ได้กับการชกมวยในสมัยก่อน ที่ทอม สปริง (Tom Spring) ชกกับ แจค แลงกัน (Jack Langan) ในปี พ.ศ 2367 (ค.ศ. 1824) เพ่ือชิงแชมเป้ียน มวยสากลของประเทศอังกฤษ ที่เมืองวอร์เชสเตอร์ การต่อสดู้ าเนนิ ไปถงึ 77 ยก กอ่ นทีแ่ ลงกัน จะถกู ต่อยจนลกุ ไมข่ ึ้นในตอนสุดทา้ ย
48 2.4 ฟุตบอล เปน็ เกมกฬี าท่ีย่งิ ใหญ.่ ..แต่ (Football A Grand Game..But) อยา่ เพียงแต่เปน็ คนดูกฬี า แต่จงลงสนามเลน่ กีฬาด้วยตนเอง ฟุตบอลนั้นเป็นกีฬาท่ียิ่งใหญ่ คล้ายกับคริกเกต (กีฬาตีลูกบอลแบบอังกฤษ) และการชกมวย ฟุตบอลเคยเป็นกีฬาที่ปราศจากการพนัน ก่อนเปลี่ยนเป็นการชกมวย อาชพี ในฐานะที่ข้าพเจ้าเป็นนักฟุตบอลเก่า ข้าพเจ้าคาดหวังว่า ท่านเองก็คงชอบ ฟตุ บอลเหมอื นกัน เรามองว่าฟตุ บอลเป็นหนึ่งในกีฬาท่ดี ีทีส่ ุดในโลก ไม่มีอะไรท่ีดีเหมือน ฟตุ บอล เพอื่ สุขภาพ ความแขง็ แรง ทาให้ใจกล้า มีระเบียบวินัย การมีอารมณ์ดี และให้ บทเรียนท่ีย่ิงใหญ่ ของการเล่นกีฬาเป็นหมู่คณะอย่างไม่เห็นแก่ฝ่ายตนข้างเดียว และ ไมใ่ ช่เพื่อการเชิดชูชื่อเสียงของตนเอง ฟุตบอลเป็นกีฬาที่ยิ่งใหญ่ น่าต่ืนเต้นในการรับชม ด้วยเหตุน้ีหนุ่มสาวบางคน จึง “ถูกดึงดูด” ให้เป็นผู้ชมฟุตบอลขาประจาในสนามกีฬา แทนท่ีจะเป็นผู้ลงเตะ ฟุตบอลในสนาม แต่ข้าพเจ้าคิดว่ากีฬาต่างๆนั้นควรจะลงเล่นในสนามด้วยตนเอง ถึงแมว้ า่ จะเล่นไดไ้ มเ่ ก่งนกั แต่มิใชเ่ ปน็ เพยี งผู้สง่ เสยี งร้องเชียร์ขา้ งสนาม 2.5 การพนันในการกีฬา เป็นการทาลายกีฬาที่แท้จริง (Money Grubbing is killing True Sport) ไม่มีใครคิดว่าการเล่นไพ่เป็นเกมกีฬา แต่เป็นการพนันหาเงิน กอล์ฟ เป็นกีฬาอีกชนิดหน่ึงซึ่งถูกดูดเข้าไปสู่การพนัน เช่นเดียวกับการเดินและวิ่งเพื่อ สุขภาพ ท่ีขึ้นอยู่กับสปอนเซอร์ผู้สนับสนุนที่มีตราอยู่บนเสื้อและป้ายในบริเวณ
49 จัดกิจกรรม การแข่งขันจักรยานและรถยนต์ก็ตกอยู่ในสภาพคล้ายกัน ทาให้สภาวะ การกฬี าในปจั จุบนั ตกต่าลงมาก ถงึ แมก้ ารพนันในกฬี าจะใหค้ วามสนกุ สนานกบั บางคน 2.6 ข้อควรระวัง (Take Warning) ปัจจุบันนี้ มีกีฬาเพียงไม่กี่ชนิด ที่ไม่มี การพนันเข้ามาเกี่ยวข้อง ถึงแม้ท่านอาจคิดว่าการพนันมีอันตรายเพียงเล็กน้อย และ คนท่ัวไปอื่นๆก็เล่นพนันกันทั้งนั้น เพราะเป็นธรรมชาติของมนุษย์ และไม่สามารถ เปลย่ี นแปลงธรรมชาติของมนษุ ยไ์ ด้ ดังน้นั จะมัวกังวลกลมุ้ ใจไปทาไม ? ข้าพเจ้าทราบดีว่า คนเรามีความพึงพอใจในการชนะ ไม่ว่าจะด้วยโชคหรือ จากการศึกษา แต่โดยส่วนตัวแล้วข้าพเจ้ามีความเกลียดชังท่ีได้เห็นกีฬาที่แท้จริง ถูกเปล่ียนไปเป็นวิธีหาเงิน โดยผู้ส่งเสริมและเจ้ามือการพนันท่ีมุ่งจะหาผลกาไรส่วนตัว เป้าหมายอย่างเดียวของคนเหล่าน้ี ก็คือการดูดเงินจากกระเป๋าของท่านไม่ทางใดก็ ทางหน่ึง ในฐานะที่ข้าพเจ้าได้เห็นเรื่องหลอกลวงต้มตุ๋นเช่นน้ีมามาก จึงต้องการส่ง เสียงเตือนไว้ เพื่อให้ท่านระวังตัวให้ดีเมื่ออยู่ในวงการพนัน มีคนจานวนมากร่ารวย จากการ (29) การพนันโดยการเป็นเจ้ามือ แต่ไม่มีผู้ใดที่ข้าพเจ้ารู้จักแม้แต่คนเดียว ทร่ี ่ารวยดว้ ยการเป็นลูกมือในการเล่นการพนนั 2.7 การพนนั มีอันตรายอยา่ งไร? (What is the Harm of Betting) น่ันเปน็ คาถามทท่ี ่านอาจถามขนึ้ ตามปกติ ความจรงิ มีอยู่ว่า ผู้ท่ีเล่นเป็นลูกมือการพนันนั้นเป็นคนที่โง่มาก และเป็นการ เล่นเกมท่ีมีอันตราย ถึงแม้เขาจะมีเงินมากมาย การมองเห็นใครบางคนได้เงินรางวัล ก้อนใหญ่จากการพนัน จะดึงดูดให้อีกหลายคนเลิกทามาหากินตามปกติแล้วลอง เสี่ยงโชค ซึ่งดูเหมือนจะเป็นวิธีใหม่ท่ีอาจทาให้ร่ารวยโดยเร็ว แต่บ่อยคร้ังที่กลับกลาย จนทาให้เงินหมดเกล้ยี งกระเป๋า ท้ังยังเป็นการสร้างนิสัยท่ีน่ารังเกียจคือความโลภ และ เม่อื ใดท่ีความโลภเข้ามา ความซ่อื สตั ย์สุจริตกจ็ ะหายไป
50 ผ้ชู นะและร่ารวยจากการพนันคือเจ้ามือเทา่ นัน้ คนจานวนมากคิดว่าการพนัน เป็นวิธีที่ง่ายในการหาเงินและมักถลาตัว จมลึกลงจนเกินกว่าที่เขาจะหาเงินมาจ่ายได้ เหตุการณ์ที่เลวร้ายยิ่งกว่าจะมาถึง เม่ือต้องขโมยหรือยักยอกเงิน เพ่ือนามาจ่ายหนี้สินท่ีเกิดจากการเสียพนัน น่ันคือเรื่อง เลวร้ายที่ปรากฏในข่าวหนังสือพิมพ์ซ้าแล้วซ้าเล่า แต่คาเตือนดังกล่าวแทบไม่ได้รับ การเอาใจใส่ ความจริงก็คือว่าทุกๆปี จะมีเงินหลายล้านปอนด์ท่ีเปล่ียนมือระหว่าง เจ้ามือและลูกมือการพนัน และถ้าท่านได้เห็นความหรูหราฟุ่มเฟือยในชีวิตของเจ้ามือ การพนนั ทา่ นกจ็ ะทราบทันทวี า่ ใครเปน็ ผู้รบั ประโยชนจ์ ากการพนันทงั้ หลาย การล่อวัวใหห้ มากดั (Bull Baiting) https://upload.wikimedia.org/wikipedia/
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238