Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CPS_Plan_2565_kalasin_Final

CPS_Plan_2565_kalasin_Final

Description: CPS_Plan_2565_kalasin_Final

Search

Read the Text Version

69. สหกรณ์ออมทรัพย์สถานประกอบการกาฬสนิ ธุ์ จำกดั ประเภท : ออมทรพั ย์ การวเิ คราะหข์ ้อมลู และบริบทของสหกรณ์ ขอ้ มลู พนื้ ฐานของสหกรณ์ 1) ขอ้ มูลท่ัวไป : จำนวนสมาชิก : 296 ราย จำนวนสมาชกิ ทรี่ ่วมทำธรุ กิจ : 240 ราย ธุรกจิ หลกั /ผลผลติ หลัก : ธุรกิจสนิ เชอ่ื และรบั ฝากเงนิ มาตรฐานสหกรณ์ : ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ระดบั ดเี ลิศ ระดบั ช้นั สหกรณ์ : ระดบั ช้นั 2 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต : สหกรณ์ไม่ไดร้ วบรวมผลผลิต การแปรรปู : ไม่มี ผลิตภณั ฑ์เดน่ ฯลฯ : ไม่มี 2) โครงสร้างพืน้ ฐานของสหกรณ์: ไม่มีอปุ กรณ์การตลาด 3) ขอ้ มลู การดำเนินธรุ กิจของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด ) : ประเภทธุรกิจ ปี 2561 ปี 2562 หน่วย : บาท 1. ธุรกิจสนิ เชื่อ 41,972,490.33 27,007,532.00 ปี 2563 2. ธรุ กิจรบั ฝากเงนิ 3,703,963.56 3,131,927.46 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลติ 34,797,000.00 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลิต 0.00 0.00 16,177,390.46 5. ธุรกิจจดั หาสินคา้ มาจำหน่าย 0.00 0.00 6. ธรุ กิจบรกิ าร 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 รวม 45,676,453.89 30,139,459.46 0.00 0.00 50,974,390.46 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

4) สถานภาพทางการเงินของสหกรณ์ (ขอ้ มลู ยอ้ นหลงั 3 ปีบญั ชลี ่าสดุ ) หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงิน/งบกำไรขาดทนุ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 สินทรัพย์ 150,724,466.82 134,828,449.78 131,612,387.04 หน้ีสิน 98,332,038.36 80,447,897.33 73,330,046.80 ทนุ ของสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร 52,392,428.46 54,380,552.45 58,282,340.24 กำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ 3,558,889.31 3,512,349.00 2,422,947.98 อตั ราส่วนทางการเงนิ ทีส่ ำคญั - อตั ราส่วนหน้สี นิ ต่อทนุ (DE Ratio) 1.87 2.48 1.26 - อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) 6.92 6.53 4.30 - อัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรพั ย์ (ROA) 2.42 2.46 1.82 - อตั ราส่วนทุนหมุนเวียน 2.18 1.59 1.47 - อตั ราสว่ นทุนสำรองต่อสินทรัพย์ 0.02 0.04 0.04 5) ข้อสงั เกตของผสู้ อบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลงั 3 ปีบญั ชลี า่ สดุ ) การประมาณการ ค่าเผื่อหนสี้ งสัยลูกหนเ้ี งินใหก้ ยู้ มื และค่าเผอื่ สงสยั จะสูญลกู หน้ตี ามคำพพิ ากษาและ ลกู หนอี้ ืน่ อันมมี ูลหนีท้ ่ีเกดิ จากใหเ้ งนิ กู้ยืม-ตามคำพิพากษาต้องอาศยั ระเบียบนายทะเบียนสหกรณท์ เี่ กยี่ วขอ้ ง รวมทัง้ ดลุ ยพินจิ ของคณะกรรมการดำเนินการสหกรณป์ ระกอบดว้ ยในการประเมนิ พฤตกิ รรมของลูกหนท้ี ่ีคาด วา่ จะชำระหนีไ้ ม่ได้ เมอื่ พิจารณษถงึ ลกั ษณธการดำเนินธรุ กจิ สินเช่อื ของสหกรณ์ซ่ึงมีเงนิ ใหก้ ้ยู มื จำนวน 109,896,463.96 บาท (คดิ เป็นรอ้ ยละ 83.55 ของสนิ ทรัพย์ทั้งสน้ิ )และลกู หนอ้ี น่ื อันมมี ลู หนท้ี เี่ กดิ จากการให้ เงินกู้ยมื -ตามคำพิพากษา จำนวน 16,227,357.89 บาท (คิดเป็นรอ้ ยละ 12.34 ของสินทรัพยท์ ัง้ สนิ้ ) 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลงั 3 ปีบัญชีลา่ สดุ ) ไมม่ ี การวิเคราะห์ SWOT Analysis จดุ ออ่ น(W) W1สมาชิกบางส่วนไม่สามารถชาระหน้ีไดต้ ามกำหนดเวลา จุดแขง็ (S) W2มกี ารวางแผนการปฏิบตั งิ าน แต่ยงั ขาดการควบคุมและ S1คณะกรรมการเป็นผมู้ คี วามรคู้ วามสามารถ การประเมินผลทดี่ ีพอ S2มเี จ้าหนา้ ทพ่ี รอ้ มบริการ W3สมาชิกมหี นี้หลายทาง S3สมาชกิ เข้าใจบทบาทของตัวเอง อุปสรรค(T) โอกาส(O) T1บางหน่วยงาน ไมห่ ักเงิน ณ ทจ่ี า่ ย ของสมาชิก O1พ.ร.บ.สหกรณ์ กาหนดให้ผมู้ หี น้าทจ่ี ่ายเงนิ ได้ หกั เงิน ณ T2ค่าครองชีพสูงส่งผลใหส้ มาชิกมคี ่าใชจ้ ่ายเพ่มิ ข้ึนทาให้เกิด การผิดนดั ชาระหนี้ ที,จา่ ย สง่ ให้กบั สหกรณ์ กอ่ นเจ้าหน้รี ายอน่ื T3ธนาคารขยายวงเงนิ กู้ และ ระยะเวลาการชำระหน้ีนาน กวา่ สหกรณ์ O2สมาชกิ ของสหกรณ์ ไดร้ บั การยกเว้น ภาษดี อกเบยี้ เงนิ T4สถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid 19) ฝากออมทรพั ย์ O3ระเบียบท่อี อกโดยนายทะเบียนสหกรณถ์ ือเป็นกรอบ แนวทางในการดำเนนิ งานของ สหกรณ์ได้ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

⚫ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลของสหกรณ์ สหกรณ์มที ุนดำเนินงานทงั้ ส้ิน 131,612,062.74 บาท ลดลงจากปกี อ่ น 3,216,062.74 บาท หรอื ลดลงรอ้ ยละ2.39ทุนดำเนินงานประกอบดว้ ย เงนิ จากแหลง่ จากภายในรอ้ ยละ 51.90(68.30 ลา้ นบาท) ประกอบดว้ ยเงนิ รบั ฝากจากสมาชกิ ร้อยละ 7.61(10.02 ล้านบาท)และทนุ ของสหกรณร์ ้อยละ 44.29 (58.28 ล้านบาท)และแหลง่ เงนิ ทุนภายนอกรอ้ ยละ 48.10(63.31 ล้านบาท)หากพจิ ารณาถึงความเข็มแข็งและเพียงพอ ของเงินทุนต่อความเส่ยี งแล้ว ทุนของสหกรณ์ไมส่ ามารถคมุ้ ครองหนไ้ี ดท้ ้ังหมด เนอ่ื งจากสหกรณม์ อี ัตราส่วน หนี้สนิ ตอ่ ทุน 1.26 เท่า และมีอัตราผลตอบแทนต่อส่วยของทุนร้อยละ 4.30 (ปีกอ่ นร้อยละ 6.58) อตั ราการ เตบิ โตของทนุ สหกรณ์รอ้ ยละ 7.17 (ปีกอ่ นร้อยละ 3.79) สหกรณ์ดำเนินธุรกจิ 2 ด้าน คอื ธรุ กจิ สินเช่ือ กบั เงนิ รับฝาก ปรมิ าณธุรกจิ เพม่ิ ขึน้ รอ้ ยละ 48.79 มีมูลคา่ ธุรกจิ ทง้ั สิน้ จำนวน 50,694,870.97 บาท เฉล่ียเดือนละ 4,224,572.58 บาท การบรหิ ารธรุ กิจแตล่ ะดา้ น สรปุ ไดด้ งั นี้ 1. ธรุ กจิ สนิ เชอื่ ระหว่างปสี หกรณจ์ ่ายเงนิ กู้ใหส้ มาชกิ 34,524,176.72 บาท เฉลย่ี เดอื นละ 2,877,014.73 บาท เพ่มิ ข้นึ จากปกี ่อน จำนวน 7,733,,289.12 บาท หรอื เพมิ่ ขึ้นรอ้ ยละ 28.87 โดยอำนวนป ระโยชนใ์ หส้ มาชิกตามประเภทใหเ้ งนิ กูฉ้ กุ เฉิน รอ้ ยละ 26.31 และให้เงนิ กสู้ ามัญรอ้ ยละ 73.69 มีรายได้ ดอกเบี้ยเงินให้กู้ คิดเปน็ ร้อยละ 93.98 ของรายได้ดอกเบี้ยและผลตอบแทนจากเงนิ ลงทนุ การดำเนนิ ธุรกจิ สว่ น ใหญเ่ ปน็ ไปตามระเบยี บทก่ี ำหนดไว้ ทงั้ สนิ้ 27,007,532.00 บาท ระหว่างปไี ดร้ บั ชำระคืน 34,881,000.00 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 92.84 ของหนท้ี ถ่ี ึง กำหนดชำระ 2. การรับฝากเงนิ ระหว่างปสี หกรณ์รบั ฝากเงินประเภทออมทรพั ย์ และออมทรัพย์พเิ ศษ ท้ังส้ิน 3,852,141.33 บาท วนั ส้นิ ปีมเี งินฝากคงเหลือ 151 บญั ชี เป็นเงนิ 4,398,052.59 บาท แผนการแนะนำสง่ เสรมิ พฒั นา และกำกบั ดูแลสหกรณ์ จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์ สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และ กำกบั ดแู ลสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดังน้ี 1) ระดับช้นั สหกรณ์ :  รกั ษาระดับสหกรณช์ น้ั 1 และชั้น 2  ยกระดบั สหกรณ์ชน้ั 2 และ ชั้น 3 ส่ชู นั้ ท่ีดขี ้นึ 2) มาตรฐานสหกรณ์/ก :  รักษามาตรฐานสหกรณ์/ให้อยใู่ นระดบั ดีข้นึ ไป  ผลกั ดนั สหกรณ/์ ใหผ้ า่ นมาตรฐานหรอื อย่ใู นระดับทีด่ ีข้ึน 3) อ่นื ๆ 3.1. ดา้ นการบริหารจดั การทม่ี ธี รรมาภบิ าล/การควบคมุ ภายใน 3.2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนนิ ธรุ กิจ 3.3. ด้านการกำกบั ดูแล ตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์ 3.4. ส่งเสรมิ สหกรณ์ปรมิ าณธุรกจิ เพมิ่ ขึ้นไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 3 เทยี บกบั ปที แ่ี ล้ว 3.5. สมาชิกมสี ว่ นร่วมในการทำธรุ กจิ เพิ่มข้นึ 3.6. ส่งเสริมและสนบั สนนุ สหกรณใ์ หม้ ที นุ ดำเนินงานเพิ่มข้นึ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

 แผนการแนะนำส่งเสริม พฒั นา และแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์เปน็ ผู้ดำเนินการ : แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนินการ 1. ดา้ นการส่งเสรมิ และพัฒนาองคก์ ร 1.1 กิจกรรม การรักษา/ยกระดบั การควบคมุ ภายในของสหกรณ์ 12 ครั้ง ต.ค.64-ก.ย.65 1.2 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดับมาตรฐานของสหกรณ์ 12 ครงั้ ต.ค.64-ก.ย.65 2. ระดับช้ันสหกรณ์  รักษาชั้น 1 และ ชน้ั 2  ยกระดับสหกรณ์ ชนั้ 2 และ ชั้น 3 สชู่ ัน้ ทดี่ ขี ึ้น 2.1 กจิ กรรม สร้างแผนความเข้มแข็งของสหกรณ์ 4 ครงั้ ต.ค.64-ก.ย.65 3. ดา้ นการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ 4 ครั้ง ต.ค.64-ก.ย.65 3.1 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดบั การให้บริการสมาชกิ ของ 4 ครั้ง ต.ค.64-ก.ย.65 สหกรณ์ 3.2 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดบั ประสิทธภิ าพการดำเนินธรุ กจิ 1 ครั้ง ต.ค.64-ก.พ.65 4 ครง้ั ต.ค.64-ก.ย.65 ของสหกรณ์ 4. ดา้ นการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 4.1 กจิ กรรม การตรวจการสหกรณ์ 4.2 กจิ กรรมการแก้ไขข้อสังเกตสหกรณ์ แผนงาน/กจิ กรรมที่กล่มุ สง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนำส่งเสรมิ ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดำเนินการ แผนงาน/กิจกรรม ค่า หน่วย ช่วงเวลาท่ี เป้าหมาย นบั ดำเนินการ 1. ส่งเสริมสหกรณป์ ริมาณธรุ กิจเพิ่มขึ้นไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 3 เทียบกบั ปที แ่ี ล้ว ต.ค.64-ก.ย.65 1.1 กิจกรรมแนะนำช้แี จงการรบั ฝากเงนิ จัดหาสนิ ค้ามาจำหน่าย 4 คร้ัง ต.ค.64-ก.ย.65 2 .สมาชิกมีส่วนรว่ มในการทำธุรกจิ เพิม่ ขนึ้ ต.ค.64-ก.ย.65 2.1 กิจกรรม จัดทำแผนประชาสมั พันธแ์ ละกระตุน้ การมสี ่วนรว่ มของสมาชกิ 4 คร้ัง 3. สง่ เสริมและสนบั สนุนสหกรณใ์ หม้ ีทนุ ดำเนนิ งานเพ่ิมข้ึน 3.1 กจิ กรรมแนะนำช้แี จงการระดมทนุ ภายในสหกรณ์ 4 คร้ัง ลงชื่อ รณฉตั ร เครือวรรณ เจ้าหนา้ ท่ีผ้รู บั ผิดชอบ (นายรณฉัตร เครือวรรณ) วนั ที่ 15 เดอื น สิงหาคม พ.ศ.2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

70. สหกรณอ์ อมทรัพยส์ าธารณสุขกาฬสินธ์ุ จำกัด ประเภท : ออมทรัพย์ การวิเคราะหข์ ้อมลู และบริบทของสหกรณ์ ⚫ ข้อมลู พ้ืนฐานของสหกรณ์ 1) ข้อมูลท่วั ไป : จำนวนสมาชิก 4,334 ราย จำนวนสมาชกิ ที่รว่ มทำธรุ กจิ 4,334 ราย ธุรกิจหลัก ธรุ กิจสินเช่ือ และธรุ กิจรับฝากเงิน มาตรฐานสหกรณ์ ระดบั ดมี าก ระดบั ช้ันสหกรณ์ ระดับ 1 2) โครงสรา้ งพ้ืนฐานของสหกรณ์ : ไมม่ อี ุปกรณก์ ารผลติ /การตลาด 3) ขอ้ มลู การดำเนินธุรกจิ (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปบี ัญชลี ่าสดุ ) : ประเภทธุรกิจ ปี 2562 ปี 2563 หนว่ ย : บาท 1. ธุรกิจสนิ เชื่อ 222,338,693.85 4,006,782,017.72 ปี 2564 2. ธรุ กจิ รบั ฝากเงิน 490,186,756.44 702,432,577.69 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลิต 0 4. ธุรกิจแปรรปู ผลผลิต 0.00 0.00 0 5. ธุรกิจจัดหาสนิ คา้ มาจำหน่าย 0.00 0.00 0.00 6. ธรุ กจิ บริการ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 รวม 712,525,450.29 4,709,214,595.41 0.00 0 4) สถานภาพทางการเงนิ (ขอ้ มลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชีล่าสดุ ) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไร หนว่ ย ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ขาดทนุ นบั สนิ ทรัพย์ บาท 5,456,885,920.95 5,693,057,367.46 0 หน้ีสนิ บาท 3,583,008,861.55 3,701,158,234.17 0 ทนุ ของสหกรณ์ บาท 1,873,877,059.40 1,991,899,133.29 0 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 178,028,820.39 173,026,536.64 0 อัตราสว่ นทางการเงนิ ท่ีสำคัญ - อตั ราส่วนหนีส้ ินตอ่ ทนุ (DE Ratio) เท่า 1.91 1.86 0 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

- อตั ราผลตอบแทนต่อทุน รอ้ ยละ 9.87 8.01 0 (ROE) - อัตราผลตอบแทนตอ่ ร้อยละ 3.43 6.74 0 สินทรพั ย์ (ROA) เท่า 1.45 1.45 0 - อตั ราส่วนทุนหมนุ เวยี น - อัตราส่วนทนุ สำรองตอ่ เทา่ 0.03 7.44 0 สนิ ทรพั ย์ 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ถา้ มี) - 6) ขอ้ บกพรอ่ งของสหกรณ์ (ถ้ามี) - ⚫ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลของสหกรณ์ ทุนดำเนินงานของสหกรณ์ส่วนใหญ่มาจากแหล่งเงินทุนภายนอกโดยเฉพาะการกู้ยืมจาก สถาบันการเงินจากภายนอก ทุนของสหกรณ์จึงไมส่ ามารถคุม้ ครองหนีส้ ินได้ ดังนั้นสหกรณค์ วรจะตอ้ งระดม ทุนจากแหล่งภายในใหม้ ีอัตราสว่ นท่ีใกล้เคียงกบั แหล่งเงินทุนจากภายนอก หรอื ควรหาแหล่งเงินทุนท่ีมีต้นทุน ทางการเงินที่ต่ำ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในเรื่องดอกเบี้ยลง และควรบริหารจัดการลูกหนี้ให้มีประสิทธิภาพเพราะ สภาพคลอ่ งของสหกรณข์ ้ึนอยกู่ บั การบริหารลูกหนท้ี ีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ แผนการแนะนำสง่ เสริม พฒั นา และกำกับดแู ลสหกรณ์ จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์ สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และ กำกบั ดูแลสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1) ระดบั ช้นั สหกรณ์ :  รักษาระดบั สหกรณ์ช้ัน 1 และชน้ั 2  ยกระดับสหกรณ์ชั้น 2 และ ช้ัน 3 สู่ช้ันท่ีดีข้ึน 2) มาตรฐานสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร :  รกั ษามาตรฐานสหกรณใ์ หอ้ ยู่ในระดบั ดขี ึ้นไป  ผลกั ดนั สหกรณใ์ หผ้ ่านมาตรฐานหรอื อยู่ในระดับทด่ี ขี น้ึ 3) อ่นื ๆ  แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหา ของสหกรณ์ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมทกี่ ลุม่ ส่งเสริมสหกรณ์เป็นผดู้ ำเนินการ : แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนนิ การ 1. ด้านการสง่ เสรมิ และพัฒนาองค์กร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ 10 ดำเนนิ การ 1.1 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดับการควบคมุ ภายในของสหกรณ์ 10 คร้งั ต.ค.64-ก.ย.65 1.2 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดับมาตรฐานของสหกรณ์ ครง้ั 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนินธรุ กจิ 4 ต.ค.64-ก.ย.65 2.1 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดับการใหบ้ ริการสมาชิกของ 4 สหกรณ์ 1 ครง้ั ต.ค.64-ก.ย.65 2.2 กิจกรรม การรักษา/ยกระดบั ประสทิ ธิภาพการดำเนินธุรกิจ ครั้ง ต.ค.64-ก.ย.65 ของสหกรณ์ ครั้ง ม.ค.65-ก.ย.65 3. ด้านการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 3.1 กจิ กรรม การตรวจการสหกรณ์ แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนำสง่ เสริมให้สหกรณ์ดำเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดำเนินการ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลกั การสร้างความมั่นคงให้กบั สหกรณ์ ต.ค.64-ก.ย.65 1.1 กจิ กรรม ระดมทุนเรอื นหนุ้ และเงินฝาก 1 ครง้ั ต.ค.64-ก.ย.65 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก การเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการบริหาร ต.ค.64-ก.ย.65 จดั การ ต.ค.64-ก.ย.65 2.1 กิจกรรม การบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 1 ครง้ั 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก พฒั นาบุคลากรสหกรณ์ 3.1 กจิ กรรม พัฒนากรรมการบริหาร 1 ครง้ั 3.2 กิจกรรม พฒั นาผตู้ รวจสอบกจิ การ 1 ครงั้ ลงช่ือ สิบเอกผดงุ เดช บญุ สวัสดิ์ เจา้ หน้าทผ่ี ้รู ับผดิ ชอบ เจา้ หนา้ ทีส่ ง่ เสรมิ สหกรณอ์ าวโุ ส วนั ท่ี 14 เดอื นสิงหาคม พ.ศ. 2565 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

71. สหกรณอ์ อมทรัพยเ์ สมากาฬสนิ ธ์ุ จำกดั ประเภท : ออมทรัพย์ การวิเคราะหข์ อ้ มลู และบริบทของสหกรณ์ ⚫ ขอ้ มลู พืน้ ฐานของสหกรณ์ 1) ข้อมลู ท่ัวไป : 1.1 จำนวนสมาชกิ 1,704 คน (สมาชกิ สามัญ 1,662 คน สมาชิกสมทบ 42 คน) กล่มุ สมาชกิ 4 กล่มุ 1.2 คณะกรรมการดำเนินการ 15 คน ฝ่ายจดั การ 11 คน ( มผี ู้จัดการ  ไม่มผี จู้ ดั การ) 1.3 ผู้ตรวจสอบกจิ การ 2 คน 1.4 วันสิ้นปีทางบญั ชี 30 พฤศจกิ ายน ของทกุ ปี 1.5 สหกรณ์ดำเนนิ ธุรกจิ 2 ด้าน ได้แก่ 1) สนิ เชอ่ื 2) เงนิ รบั ฝาก 1.7 ธุรกจิ หลัก คือ สนิ เช่ือ 1.8 ผลการประเมนิ มาตรฐานสหกรณ์  ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน  มาตรฐานดีเลศิ  มาตรฐานดมี าก  มาตรฐานดี  ไม่ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน 1.9 ผลการจัดช้นั สหกรณ์ ระดบั ชน้ั 1 1.10 ผลผลติ หลักของสหกรณ์ คือ ไมม่ ี ผลผลิตรองของสหกรณ์ คอื ไม่มี 1.11 ผลติ ภณั ฑ์เดน่ ของสหกรณ์ คือ ให้สินเชื่อ 2) โครงสรา้ งพื้นฐานของสหกรณ์ : อาคารสำนกั งาน 3) ขอ้ มูลการดำเนินธุรกจิ (ข้อมูลยอ้ นหลัง 3 ปบี ญั ชีล่าสุด ) : หนว่ ย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 1. ธุรกิจสินเชอื่ 115,509,882.04 138,833,618.31 133,868,412.73 2. ธรุ กจิ รบั ฝากเงิน 116,939,783.19 157,478,956.26 185,379,736.56 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลิต 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลิต 0.00 0.00 - 5. ธุรกิจจดั หาสินคา้ มาจำหน่าย 0.00 0.00 - 6. ธุรกิจบรกิ าร 0.00 0.00 - 0.00 0.00 - รวม 232,449,665.23 296,312,574.57 319,248,149.29 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

4) สถานภาพทางการเงิน (ขอ้ มลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกำไรขาดทนุ หนว่ ยนับ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 สินทรพั ย์ บาท 1,431,133,235.90 1,492,246,674.76 1,488,836,869.14 หนีส้ ิน บาท 647,108,218.52 649,899,481.01 557,685,009.15 ทุนของสหกรณ์ บาท 784,025,017.38 842,347,193.75 911,151,859.99 กำไร (ขาดทุน) สทุ ธิ บาท 63,410,952.90 65,207,955.73 68,361,573.40 อัตราส่วนทางการเงนิ ทสี่ ำคญั - อตั ราสว่ นหนีส้ นิ ต่อทนุ (DE Ratio) เท่า 0.82 0.77 0.63 - อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) % 8.50 7.74 7.80 - อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) % 4.49 4.36 4.59 - อตั ราสว่ นทุนหมุนเวยี น เท่า 0.65 0.58 0.54 - อตั ราสว่ นทุนสำรองต่อสนิ ทรพั ย์ เทา่ 0.02 0.035 0.04 5) ขอ้ สงั เกตของผู้สอบบญั ชี (ถ้ามี) ไมม่ ขี อ้ สงั เกตท่มี นี ัยสำคัญ 6) ข้อบกพรอ่ งของสหกรณ์ (ถ้ามี) ไม่มีขอ้ บกพรอ่ งในระบบ ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลของสหกรณ์ จากข้อมลู พน้ื ฐาน และสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์ ดังนี้ 1. ด้านบคุ ลากรของสหกรณ์: 1.1 คณะกรรมการ จำนวน 15 คน เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ในการ บริหารงาน และมีความรู้เรื่องกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบสหกรณ์ แต่อย่างไรก็ตามสหกรณ์ควรมี แผนพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการคนใหม่ ทั้งในด้านการควบคุมภายใน การวางแผนธรุ กิจ การบริหาร จดั การธุรกิจ และกฎหมายอ่นื ที่เกี่ยวขอ้ งอย่างต่อเนอื่ ง 1.2 เจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ สหกรณ์ได้จัดจ้างเจ้าหนา้ ที่สหกรณ์จำนวน 11 คน ซึ่งสอดคล้องและ เหมาะสมกบั ปริมาณงาน และปริมาณธรุ กิจ แตก่ ารปฏิบัตหิ นา้ ทต่ี ้องมีโครงการศักยภาพตามที่ไดร้ บั มอบหมาย เพื่อลดขอ้ ผิดพลาดท่อี าจเกิดขน้ึ ได้ ท้ังด้านเทคโนโลยี การบรกิ ารที่ดี การสอื่ สารทด่ี ี อยา่ งตอ่ เนื่อง 1.3 สมาชิกของสหกรณ์: สมาชิกเป็นบุคลากรทางการศึกษา ซง่ื มคี วามรคู้ วามสามารถด้านวิชาชีพ ครู แต่ความรู้ดา้ นการสหกรณ์ยังจำเป็นต้องพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง เพื่อให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง ทั้งทางดา้ น กฎหมายสหกรณ์ กฎกระทรวงต่างๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง เพ่อื รักษาผลประโยชนข์ องสมาชิกและสหกรณ์ 2 ดา้ นทรพั ยากร 2.1 เงินทุนของสหกรณ์ สหกรณ์มีความเข้มแข็งและเพียงพอของเงินทุนนับว่ามคี วามเข้มแขง็ พอควร สามารถคุ้มครองเจ้าหนี้ได้ แต่มีทุนสำรองต่อสินทรัพย์อยู่ในระดับที่ควรปรับปรุง โดยการพิจารณา จัดสรรกำไรสุทธิเพ่ิมใหม้ ากกว่าอัตราท่ีกฎหมายกำหนด จะทำใหส้ หกรณ์มีความเพียงพอของเงินทุนต่อความ เส่ยี งอยใู่ นเกณฑ์ท่ดี ขี ึน้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

2.2 ด้านการบริหารจัดการองคก์ ร คณะกรรมการดำเนินการ มีความรู้ความสามารถด้านบริหาร จดั การองค์กร การดำเนินงานเป็นไปภายใต้กรอบกฎหมาย ขอ้ บังคบั ระเบยี บสหกรณ์ มติที่ประชมุ ใหญ่ มติท่ี ประชุมคณะกรรมการดำเนนิ การ มีการตดิ ตามผลการดำเนินงานเปน็ ประจำทกุ เดือน ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร ซึ่งประเมินจากการจดั ชั้นคุณภาพควบคุมภายใน อยู่ใน “ดี มาก” สหกรณ์ปฏิบตั งิ านเปน็ ไปตามระเบียบ ขอ้ บังคับ มีการแบ่งแยกหน้าทีช่ ดั เจน มรี ะบบการควบคุมภายใน ที่มีประสิทธิภาพ และมีการติดตามประเมินผลการปฏิบัตงิ านของฝา่ ยจัดการและใช้หลักธรรมาภิบาลในการ บริหารงาน สหกรณ์ควรจดั ทำแผน รักษาระดับการควบคมุ ภายใน และตดิ ตามเปน็ ประจำทกุ เดือน 4. ด้านการดำเนินธุรกิจ: สหกรณ์มีธรุ กิจหลักคือ ให้สินเชื่อ รองลงมาคือธรุ กจิ รับฝากเงิน ซึ่งมีอัตรา การเติบโตของธุรกจิ อย่างตอ่ เนือ่ ง 5. ผลการประเมินความเขม้ แขง็ ตามเกณฑย์ กระดับชนั้ พบว่า สหกรณ์อยู่ช้นั 1 โดยสมาชิกมีส่วนร่วม มากกวา่ รอ้ ยละ 70 ประสทิ ธภิ าพการดำเนนิ ธรุ กจิ อยู่ในระดับ มัน่ คงดี ประสิทธิภาพการควบคุมภายในอยู่ใน ดีมาก มีประสิทธิภาพในการบรหิ ารงาน โดยสหกรณ์ ไม่มีข้อบกพร่อง สหกรณ์ต้องรักษาระดับชัน้ 1 ของ สหกรณ์ และตดิ ตามผลการดำเนนิ งานตามแผนเพ่ือรกั ษาระดับช้นั 1 ของสหกรณ์เป็นประจำทุกเดือน 6. ผลการประเมนิ มาตรฐาน สหกรณผ์ า่ นการประเมนิ ตามเกณฑม์ าตรฐาน ในระดับ ดเี ลิศ สหกรณ์ ควรกำหนดแนวทางในการรกั ษามาตรฐานของสหกรณ์ พร้อมทั้งมกี ารตดิ ตามและรายงานผลความคบื หน้าเพอ่ื รักษาระดับมาตรฐานของสหกรณ์ ในทปี่ ระชุมคณะกรรมการทราบเป็นประจำทกุ เดอื น 7. ปจั จัยภายนอก ได้แก่ เสถยี รภาพดา้ นการเมอื ง หรือนโยบายรฐั สภาวะเศรษฐกิจและสงั คม ดา้ น เทคโนโลยี และปญั หาดา้ นสภาพแวดลอ้ ม อาจส่งผลกระทบตอ่ สหกรณ์และสมาชกิ เกิดความเสย่ี งในด้านตา่ งๆ เช่น ด้านการดำเนนิ ธุรกิจ ความเส่ยี งในการชำระหน้ีของสมาชกิ ความเสีย่ งในดา้ นการประกอบอาชพี ของ สมาชิก ปญั หาการระบาดของไวรสั COVID-19 สง่ ผลใหส้ มาชกิ มรี ายไดล้ ดลง คา่ ครองชพี สูง คุณภาพชีวิต ถดถอย สหกรณ์ต้องเตรียมการรองรบั ผลกระทบ และกำหนดแผนงาน และแนวทางในการบรหิ ารจัดการธรุ กิจ ให้สามารถดำเนินต่อไปได้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ภายใตผ้ ลกระทบจากปัจจยั ภายนอกดงั ทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ แผนการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนา และกำกบั ดแู ลสหกรณ์ จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์ สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และ กำกับดูแลสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังน้ี 1) ระดบั ช้ันสหกรณ์ :  รกั ษาระดบั สหกรณ์ชั้น 1 และช้ัน 2  ยกระดับสหกรณ์ช้ัน 2 และ ช้นั 3 สู่ชั้นทีด่ ีขึ้น 2) มาตรฐานสหกรณ์ :  รักษามาตรฐานสหกรณ์ให้อยใู่ นระดบั ดีขน้ึ ไป  ผลกั ดันสหกรณใ์ หผ้ า่ นมาตรฐานหรอื อยู่ในระดบั ทดี่ ีขนึ้ 3) อนื่ ๆ ไมม่ ี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

 แผนการแนะนำสง่ เสรมิ พัฒนา และแกไ้ ขปญั หาของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมทกี่ ลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์เปน็ ผดู้ ำเนินการ : แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ย ช่วงเวลาที่ นบั ดำเนินการ 1. ดา้ นการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร 1.1 กจิ กรรม รกั ษาระดบั การควบคมุ ภายในของสหกรณ์ ดีมาก ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.2 กิจกรรม รกั ษาระดบั มาตรฐานของสหกรณ์ ดีเลศิ ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.3 กิจกรรม รักษาระดบั ชั้นความเข้มแขง็ สหกรณ์ รักษาระดับ 1 ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.4 กิจกรรม ยกระดับคะแนนตามเกณฑ์ประเมินการประยกุ ต์ใช้ 490 คะแนน ต.ค.64 - ก.ย. 65 หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 1.5 กิจกรรม ยกระดบั คะแนนตามเกณฑด์ ีเดน่ แห่งชาติ 950 คะแนน ต.ค.64 - ก.ย. 65 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนนิ ธุรกิจ 2.1 กิจกรรม รักษาระดบั การให้บริการสมาชิกของสหกรณ์ มากกว่า 70 รอ้ ยละ ต.ค.64 - ก.ย. 65 2.2 กิจกรรม รกั ษาระดบั ประสทิ ธภิ าพการดำเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ์ เพมิ่ ข้นึ 3 ร้อยละ ต.ค.64 - ก.ย. 65 3. ดา้ นการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 3.1 กิจกรรม ตรวจการสหกรณ์ตามแผนทก่ี ำหนด ตามท่ีกรม ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย. 65 กำหนด 3.2 กจิ กรรม ติดตาม/รายงานผล ตามที่กรม ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย. 65 กำหนด แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุม่ สง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์ดำเนนิ การ : แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาท่ี ดำเนินการ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั พัฒนาความเข้มแข็ง 1.1 กิจกรรม จัดประชุมใหญ่สามัญ 1 ครงั้ ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.2 กิจกรรม จดั ทำแผนพัฒนาความเขม้ แขง็ 1 แผน ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.3 กิจกรรม ปฏบิ ตั ิตามแผน/ตดิ ตาม/รายงานผล 10 ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย. 65 2. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ยกระดบั มาตรฐาน 2.1 กิจกรรม ประชมุ คณะกรรมการดำเนินการ 10 ครัง้ ต.ค.64 - ก.ย. 65 2.2 กิจกรรม จดั ทำแผนยกระดบั มาตรฐาน 1 คร้งั ต.ค.64 - ก.ย. 65 2.3 กจิ กรรม ปฏบิ ัตติ ามแผน/ตดิ ตาม/รายงานผล 10 ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย. 65 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก แกไ้ ขปญั หาการดำเนินงาน 3.1 กจิ กรรม ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ 10 ครั้ง ต.ค.64 - ก.ย. 65 3.2 กจิ กรรม จดั ทำแผนแก้ไขปญั หาการดำเนินงาน 1 คร้ัง ต.ค.64 - ก.ย. 65 3.3 กจิ กรรม ปฏบิ ัตติ ามแผน/ตดิ ตาม/รายงานผล 10 ครัง้ ต.ค.64 - ก.ย. 65 4. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั ขับเคลอื่ นประยกุ ตใ์ ช้หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งทัง้ ระดบั องค์กร และระดับสมาชิก ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนนิ การ 4.1 กจิ กรรม แนะนำในทป่ี ระชมุ ใหญ่สามัญประจำปี 1 ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย. 65 4.2 กิจกรรม ประชมุ คณะกรรมการดำเนินการ 10 ครั้ง ต.ค.64 - ก.ย. 65 4.3 กิจกรรม จดั ทำแผนขบั เคล่ือนประยุกต์ใช้หลกั ปรชั ญาของ 1 แผน เศรษฐกจิ พอเพียง ต.ค.64 - ก.ย. 65 4.4 กิจกรรม ปฏิบตั ิตามแผน/ติดตาม/รายงานผล 5. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก ยกระดับตามเกณฑด์ เี ด่นแห่งชาติ 10 คร้ัง ต.ค.64 - ก.ย. 65 5.1 กิจกรรม แนะนำในทีป่ ระชมุ ใหญ่สามัญประจำปี 5.2 กจิ กรรม ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ 1 คร้งั ต.ค.64 - ก.ย. 65 5.3 กจิ กรรม จดั ทำแผนยกระดบั ตามเกณฑ์ดเี ด่นแหง่ ชาติ 10 คร้งั ต.ค.64 - ก.ย. 65 5.4 กิจกรรม ปฏิบัติตามแผน/ติดตาม/รายงานผล 1 แผน ต.ค.64 - ก.ย. 65 10 คร้ัง ต.ค.64 - ก.ย. 65 ลงช่ือ นายธนาดุล บุตรวงษ์ เจ้าหนา้ ท่ีผู้รับผดิ ชอบ วันท่ี 15 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

72. กลุม่ เกษตรกรทำนากมลาไสย ประเภท : ทำนา การวิเคราะหข์ อ้ มูลและบริบทของกลมุ่ เกษตรกร ⚫ ขอ้ มลู พืน้ ฐานของกล่มุ เกษตรกร 1) ข้อมูลทั่วไป : จำนวนสมาชิก/จำนวนสมาชิกที่ร่วมทำธุรกิจ/ธุรกิจหลัก/ผลผลติ หลัก/มาตรฐาน กลุม่ เกษตรกร/ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลติ /การแปรรูป/ผลิตภณั ฑเ์ ดน่ ฯลฯ 1.1 จำนวนสมาชกิ 110คน (สมาชกิ สามญั 110 คน สมาชกิ สมทบ 0 คน)กล่มุ สมาชิก 1 กลมุ่ 1.2 จำนวนสมาชิกทมี่ ีส่วนรว่ มในการทำธุรกจิ กบั สหกรณ์ 60 คน 1.3 คณะกรรมการดำเนนิ การ 7 คน ฝ่ายจดั การ - คน (มผี จู้ ดั การ  ไม่มีผูจ้ ัดการ) 1.4 ผู้ตรวจสอบกจิ การ 2 คน 1.5 วนั สิน้ ปีทางบัญชี 30 มิถุนายน ของทุกปี 1.6 กลุ่มเกษตรกรดำเนินธรุ กจิ ด้านเดียว คอื ธรุ กิจสินเชอ่ื 1.7 กลุ่มเกษตรกรทำนากมลาไสย ผ่านมาตรฐาน เมื่อปที ี่แลว้ 2) โครงสรา้ งพ้ืนฐานของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร:อปุ กรณก์ ารผลติ /การตลาด เชน่ ฉาง โกดงั ฯลฯ 3) ข้อมูลการดำเนินธรุ กิจ (ขอ้ มลู ย้อนหลงั 3 ปีบัญชีลา่ สดุ ) : หน่วย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกจิ สนิ เช่ือ 1,055,000.00 1,160,000.00 - 2. ธุรกิจรับฝากเงิน - 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ - - - 4. ธุรกิจแปรรปู ผลผลติ - - - - - - รวม - - 4)สถานภาพทางการเงนิ (ข้อมลู ย้อนหลงั 3 ปีบัญชีลา่ สุด) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทนุ หน่วยนบั ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรัพย์ 1,113,244.37 1,275,016.93 - หนสี้ ิน 870,000.00 970,000.00 - ทนุ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 243,244.37 305,016.93 - กำไร (ขาดทุน) สทุ ธิ 10,385.05 30,322.56 - อัตราส่วนทางการเงนิ ทสี่ ำคญั - อัตราส่วนหน้ีสนิ ต่อทนุ (DE Ratio) 3.58 3.18 - - อตั ราผลตอบแทนต่อทนุ (ROE) 4.68 11.06 - - อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรพั ย์ (ROA) 1.05 2.54 - - อัตราส่วนทุนหมุนเวียน 1.28 1.59 - - อัตราส่วนทุนสำรองตอ่ สนิ ทรัพย์ 0.11 0.09 - ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

5) ข้อสงั เกตของผสู้ อบบญั ชี สำหรบั ปสี ิ้นสุดวันท่ี 30 มถิ นุ ายน 2563 ด้านการบรหิ ารจัดการทั่วไป 5.1 ระเบียบว่าด้วยการรับจ่ายและเก็บรักษาเงินสด กำหนดให้เก็บรักษาเงินสดไว้ไม่เกินวันละ 5,000 บาท การตรวจนบั เงนิ สดวนั ท่ี 9 กรกฎาคม 2563 กลุม่ เกษตรกรเก็บรักษาเงินสดไว้ 109,803.71 บาท อยู่ในความรับผิดชอบของประธานกรรมการซึ่งเกินกว่าระเบียบกำหนดเป็นจำนวนมากโดยไม่มีเหตุผลอัน สมควรอกี ท้ังการเก็บรักษาเงินสดไม่ปลอดภัยเท่าท่ีควร เพอื่ ปอ้ งกนั ความเสียหายท่อี าจเกิดขึ้นคณะกรรมการ ดำเนินการควรแจ้งให้ผู้รบั ผิดชอบปฏบิ ัตใิ หเ้ ป็นไปตามระเบยี บท่ีกำหนดโดยเคร่งครดั สำหรับเงินสดสว่ นที่เกิน กว่าวงเงินเกบ็ รกั ษาควรนำฝากธนาคารหรือสหกรณอ์ ื่นทกุ ส้ินวัน หรือควรพิจารณานำไปใช้ดำเนนิ ธุรกิจ เพื่อ อำนวยประโยชนใ์ ห้กบั สมาชกิ และไม่ใหเ้ สยี โอกาสท่จี ะกอ่ ใหเ้ กดิ รายได้อีกด้วย 5.2 คณะกรรมการดำเนินการของกลุ่มเป็นผูด้ ำเนินการปฏิบัติงานดา้ นตา่ งๆ เนื่องจากไม่ไดจ้ ดั จ้างเจ้าหน้าท่ีจึงให้เหรญั ญิกทำหนา้ ท่ี รับ-จา่ ย และเกบ็ รกั ษาเงินสดส่วนเลขานกุ ารทำหน้าทจี่ ดั ทำเอกสาร รบั - จ่าย และบันทึกบัญชี ซึ่งในระหว่างปีสหกรณ์บนั ทึกบัญชีในสมุดเงินสดเรียบร้อย แต่ไม่เป็นปัจจุบันและไม่ สามารถผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไปได้เนื่องจากคณะกรรมการสหกรณ์ ยังขาดความรู้ความ ชำนาญดา้ นการเงินและบัญชี จงึ ไม่สามารถจดั ทำบัญชีและงบการเงนิ แตไ่ ดร้ ับความชว่ ยเหลือจากเจ้าหน้าท่ี ของทางราชการเปน็ ผจู้ ัดทำบญั ชีเพ่ือใหส้ ามารถปดิ บัญชปี ระจำปไี ด้ 6) ข้อบกพรอ่ งของกลุม่ เกษตรกร -ไมม่ ี ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร จากข้อมลู พื้นฐาน และสภาพแวดลอ้ มของกลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของกลุ่มเกษตรกรได้ ดังน้ี 1. การวเิ คราะห์ SWOTของกล่มุ เกษตรกรทำนากมลาไสย จดุ แขง็ (strengths) จดุ อ่อน (Weaknesses) - กล่มุ เกษตรกรมขี ้อบงั คบั และระเบยี บ - กลุ่มเกษตรกรมีเงนิ ทนุ ไมเ่ พียงพอในการดำเนนิ - คณะกรรมการมคี วามเข้มแข็งและให้ความร่วมมอื ธรุ กจิ ในทุกๆด้าน - คณะกรรมการดำเนนิ การ ไม่มีความรู้ในดา้ นบญั ขี - คณะกรรมการขาดความรู้ในดา้ นกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั โอกาส (Opportunities) อปุ สรรค(Threats) - ไดร้ ับการสนบั สนนุ เงินทนุ จากภาครฐั - สภาวะทางเศรษฐกจิ ตกตำ่ - เทคโนโลยที ที่ นั สมยั - ตน้ ทุนการผลิต และค่าครองชีพทส่ี งู ขนึ้ - ภัยทางธรรมชาติ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และกำกับดูแลกลุ่มเกษตรกร จากการวเิ คราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนาและกำกบั ดแู ลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565ดงั น้ี 1) ระดบั ช้นั กลมุ่ เกษตรกร:  รกั ษาระดับสหกรณช์ ้นั 1 และชั้น 2  ยกระดบั สหกรณช์ น้ั 2 และ ชนั้ 3 ส่ชู ั้นทด่ี ขี ึ้น 2) มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร:  รกั ษามาตรฐานกลมุ่ เกษตรกรให้อยใู่ นระดบั ดขี นึ้ ไป  ผลกั ดันกลมุ่ เกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐานหรอื อยใู่ นระดับท่ดี ีข้นึ 2.1 แนะนำให้กลุม่ เกษตรกรมกี ารระดมทนุ ภายในใหเ้ พ่มิ มากข้นึ 2.2 แนะนำใหก้ ลมุ่ ฯ กูย้ มื เงินจากแหลง่ เงินทุนดอกเบี้ยตำ่ หรือปลอดดอกเบ้ียจากการกรม ส่งเสรมิ สหกรณ์ เพอ่ื นำมาใชใ้ นการดำเนนิ ธรุ กจิ 2.3 กำกับ แนะนำ ส่งเสริมการดำเนินธุรกิจของกลุ่มฯ ให้เป็นไปตามกรอบวัตถุประสงค์ของ กลุ่มเกษตรกร 2.4 ผลกั ดันใหก้ ล่มุ เกษตรกรผา่ นเกณฑ์มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 2.5 สง่ เสรมิ ใหก้ ลมุ่ เกษตรกรปิดบญั ชีและประชมุ ใหญไ่ ดภ้ ายในกำหนด 2.6 พัฒนากลมุ่ เกษตรกรภายใตห้ ลกั ธรรมาภบิ าล และการควบคมุ ภายในทดี่ ี 2.7 แนะนำ ส่งเสรมิ ใหก้ ลุม่ เกษตรกรดำเนนิ ธรุ กจิ ให้เปน็ ไปตาแผนงานทก่ี ำหนดไว้ 2.8 ส่งเสริมใหก้ ลมุ่ เกษตรกรให้บรกิ ารสมาชิกอย่างท่ัวถงึ 2.9 ส่งเสริมใหก้ ลมุ่ เกษตรกรนำหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ตใ์ ช้ในการบรหิ ารงาน และพัฒนาสสู่ มาชกิ  แผนการแนะนำสง่ เสริม พฒั นา และแก้ไขปญั หาของกลมุ่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมทก่ี ลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์เปน็ ผูด้ ำเนนิ การ: แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ ดำเนนิ การ 1. ดา้ นการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร ผา่ นเกณฑ์ ควบคุมภายใน ตค 64- กย 65 1.1 กจิ กรรม ยกระดบั การควบคุมภายในของกล่มุ เกษตรกร ตค 64- กย 65 1.2 กิจกรรม การรักษาระดับมาตรฐานของกล่มุ เกษตรกร รกั ษา 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนินธรุ กจิ ตค 64- กย 65 2.1 กิจกรรม ยกระดับการให้บริการสมาชิกของกลุ่มเกษตรกร สมาชิกมสี ่วน รอ้ ยละ ร่วม รอ้ ยละ 60 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนับ ชว่ งเวลาท่ี ดำเนินการ 2.2 กจิ กรรม ยกระดับประสทิ ธิภาพการดำเนนิ ธรุ กิจของกลุ่ม เพ่ิมข้ึนรอ้ ยละ ร้อยละ ตค 64- กย 65 เกษตรกร 3 บาท ตค 64 –กย65 2.3 กิจกรรม แผนธุรกิจสินเชอ่ื 1,000,000.00 คน ตค 64 - กย65 2.4 กจิ กรรม แผนรับสมาชกิ เพ่ิม 3 บาท ตค 64 - กย65 2.5 กิจกรรม แผนระดมหนุ้ เพมิ่ บาท ตค 64 - กย65 2.6 กจิ กรรม แผนกู้เงินกองทุนสงเคราะห์ 15,000.00 บาท ตค 64 - กย65 2.7 กจิ กรรม แผนชำระเงินกองทนุ สงเคราะห์ 1,000,000.00 3. ดา้ นการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ/์ 1,000,000.00 กลมุ่ เกษตรกร กจิ กรรม กำกบั ดแู ล ตรวจสอบให้เป็นไปตามกฎหมาย ไม่ให้เกดิ - ตค 64 - กย65 ขอ้ บกพรอ่ ง แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนำส่งเสรมิ ให้กลุม่ เกษตรกรดำเนนิ การ: แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนินการ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลกั การดำเนนิ ธรุ กจิ 1 แหง่ 1.1 กิจกรรม .การปล่อยสินเช่ือเงินกู้ 1 แห่ง ตค 64 - กย65 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั พัฒนาองคก์ ร ตค 64 - กย65 2.1 กจิ กรรม ส่งเสริมรักษามาตรฐาน ลงชื่อ พรรณี มลู วัตร เจา้ หนา้ ที่ผรู้ ับผิดชอบ เจ้าพนักงานส่งเสรมิ สหกรณ์ วนั ท่ี 15 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

73. กลมุ่ เกษตรกรทำนาคำบง ประเภท : ทำนา การวิเคราะห์ขอ้ มูลและบริบทของกลมุ่ เกษตรกร ⚫ ข้อมลู พื้นฐานของสหกรณ์ 1) ขอ้ มลู ทว่ั ไป : 1.1 จำนวนสมาชกิ 163 คน 1.2 ธุรกจิ ของกลมุ่ เกษตรกร จดั หาสนิ ค้ามาจำหนา่ ย 1.3 ผลผลิตหลัก ข้าว 1.4 มาตรฐานสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร ผ่านมาตรฐาน 1.5 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต/การแปรรปู /ผลติ ภณั ฑเ์ ดน่ ฯลฯ 2) โครงสรา้ งพน้ื ฐานของกลมุ่ เกษตรกร : ไมม่ อี ปุ กรณก์ ารตลาด 3) ขอ้ มูลการดำเนนิ ธรุ กิจของกลมุ่ เกษตรกร (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ ) : ประเภทธุรกิจ ปี 2562 ปี 2563 หนว่ ย : บาท 1. ธรุ กิจสินเช่ือ - - ปี 2564 2. ธุรกิจรบั ฝากเงิน - - 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลติ - - - 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลติ - - - 5. ธรุ กจิ จดั หาสินคา้ มาจำหนา่ ย 220,320.00 254,550.00 - 6. ธรุ กิจบริการ - - - 220,320.00 254,550.00 276,000.00 รวม - 276,000.00 4) สถานภาพทางการเงนิ ของกลุ่มเกษตรกร (ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสดุ ) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทุน ปี 2562 ปี 2563 หนว่ ย : บาท สินทรัพย์ 283,821.69 297,037.88 ปี 2564 หนสี้ ิน 255,298.25 255,298.25 ทนุ ของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 28,523.44 41,739.63 กำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ 5,893.06 13,216.19 อตั ราสว่ นทางการเงินท่ีสำคัญ - อัตราสว่ นหน้ีสินต่อทนุ (DE Ratio) 9.96 เทา่ 6.12 เทา่ - อตั ราผลตอบแทนต่อทนุ (ROE) 23.04 % 37.62 % - อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) 2.14 % 4.55 % - อตั ราส่วนทุนหมุนเวยี น 1.26 เทา่ 1.32 เทา่ - อัตราส่วนทุนสำรองตอ่ สินทรัพย์ 0.22 า่ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

5) ข้อสังเกตของผ้สู อบบญั ชี (ขอ้ มลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชลี า่ สดุ ) กลุม่ เกษตรกรไมส่ ามารถบันทกึ บญั ชีและจดั ทำงบการเงินได้ แต่ไดร้ บั ความชว่ ยเหลือจาก เจา้ หนา้ ทีข่ องสว่ นราชการเปน็ ผู้จดั ทำบญั ชีและงบการเงนิ 6) ข้อบกพร่องของกลุ่มเกษตรกร (ข้อมูลยอ้ นหลงั 3 ปีบญั ชีลา่ สุด) –ไมม่ ี- ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร การวิเคราะห์ SWOT Analysis จุดออ่ น จุดแข็ง -สมาชิกขาดความรูท้ างวชิ าการด้านการเกษตรแผน -สมาชกิ อาศยั อย่ใู นหมบู่ ้านเดยี วกนั ทำให้งา่ ยตอ่ การ ใหมเ่ พอ่ื การพฒั นา ประสานงาน -ราคาสินค้าเกษตรของสหกรณ์ตอ้ งพงึ พาพ่อค้า -คณะกรรมการมีความเสียสละ -สมาชกิ สว่ นใหญเ่ ปน็ ผสู้ งู อายุ -สมาชิกยงั ไม่เข้าใจในหลกั การ อุดมการณ์ และ วิธีการสหกรณ์ หรอื บทบาทหนา้ ท่ขี องสมาชิก -มีทนุ ดำเนนิ งานไมเ่ พยี งพอ อุปสรรค โอกาส -ภยั ธรรมชาติ (ฝนแลง้ น้ำท่วม พายุ ฯ) -รัฐบาลให้การสนบั สนนุ การรวมกลมุ่ โดยเฉพาะการ -มีพอ่ คา้ คนกลางในพืน้ ที่เขา้ ถึงแหล่งชมุ ชน รวมกนั เปน็ สหกรณ์ -มสี ถาบนั การเงินเป็นคแู่ ขง็ ภายในหม่บู ้าน -การปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ให้การสนบั สนุน -หน่วยงานทางราชการใหก้ ารสนบั สนุน 1. ความพยี งพอของเงินทุน จากการพจิ ารณาถงึ ความเขม้ แข็งและเพยี งพอของเงินทนุ ตอ่ ความเส่ียงแลว้ นบั ว่ากลมุ่ เกษตรกรมี ความเส่ยี งดา้ นเงินทุน เนอื่ งจากทุนของกลมุ่ เกษตรกรเองไมส่ ามารถคุ้มครองหนี้ได้ หากพจิ ารณาการถอื หนุ้ ของสมาชกิ ทม่ี ีเพยี ง 20,650.00 บาท กลมุ่ เกษตรกรควรระดมทนุ โดยใหส้ มาชิกถือหนุ้ เพม่ิ มากข้ึน เพอ่ื เสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ของเงนิ ทนุ 2. คุณภาพของสินทรพั ย์ กลุม่ เกษตรกรมสี นิ ทรัพย์ทงั้ สิน้ 297,037.88 บาท เป็นสนิ ทรัพย์หมุนเวยี นทงั้ จำนวน โดยอยใู่ น รูปแบบของเงินสด จำนวน 291,862.00 บาท และเงนิ ฝากธนาคาร จำนวน 5,175.88 บาท สินทรัพยท์ มี่ ีอยไู่ ด้ ถกู นำไปใช้ในการดำเนินงานเพ่อื ก่อให้เกดิ รายได้ สร้างผลตอบแทนให้แกก่ ลมุ่ เกษตรกร 3. สภาพคล่อง กล่มุ เกษตรกรมสนิ ทรัพยห์ มนุ เวยี นทง้ั สิ้น 297,037.88 บาท มีอตั ราส่วนทุนหมุนเวียน 1.32 เท่า แสดงใหเ้ ห็นวา่ กลุม่ เกษตรกรมสี นิ ทรพั ย์หมนุ เวยี นเป็นประกนั การรบั ชำระหน้ไี ดท้ ้ังจำนวน ซึง่ นบั ว่าสภาพ คลอ่ งทางการเงนิ อยู่ในเกณฑท์ ่ดี ี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

• แผนการแนะนำสง่ เสรมิ พฒั นา และกำกับดแู ลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดแู ล กลุ่มเกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั นี้ 1) ระดบั ชั้นสหกรณ์ :  รกั ษาระดบั สหกรณ์ชั้น 1 และชัน้ 2  ยกระดบั สหกรณช์ น้ั 2 และ ช้ัน 3 สู่ ชั้นทดี่ ขี ึน้ 2) มาตรฐานสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร :  รักษามาตรฐานกลุม่ เกษตรกรใหอ้ ยู่ในระดบั ดขี ้ึนไป  ผลักดนั สหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับที่ดีข้นึ 3) อื่น ๆ  แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหาของ กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน/กจิ กรรมทก่ี ลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เปน็ ผู้ดำเนนิ การ : ค่า หนว่ ย ช่วงเวลาที่ เป้าหมาย นบั ดำเนินการ แผนงาน/กิจกรรม 4 แห่ง ต.ค.64-ก.ย.65 1. ด้านการส่งเสริมและพฒั นาองค์กร 4 แหง่ ต.ค.64-ก.ย.65 1.1 กิจกรรม การรกั ษาการควบคมุ ภายในกลุม่ เกษตรกร 1.2 กิจกรรม การรักษามาตรฐานของกลุ่มเกษตรกร 4 แห่ง ต.ค.64-ก.ย.65 แห่ง 2. ด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกจิ ต.ค.64-ก.ย.65 2.1 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดบั การใหบ้ ริการสมาชกิ ของกลุ่มเกษตรกร 2.2 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดบั ประสทิ ธภิ าพการดำเนินธุรกจิ ของกลุ่ม 4 เกษตรกร 4 แห่ง ต.ค.64-ก.ย.65 3. ดา้ นการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ กลมุ่ เกษตรกร 3.1 กิจกรรม การแกไ้ ขข้อสงั เกตกลุ่มเกษตรกร แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์จะแนะนำสง่ เสรมิ ให้สหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรดำเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม ค่า หนว่ ย ช่วงเวลาท่ี เปา้ หมาย นับ ดำเนินการ 1. การส่งเสริมการประชุมกลุ่มสมาชิก 1.1 กจิ กรรม เข้าร่วมประชุมกลมุ่ สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 1 กลุ่ม ตค 64- กย 65 2. สง่ เสริมและสนับสนนุ การแก้ไขปญั หาหนคี้ ้างกลุ่มเกษตรกร 2.1 กจิ กรรม การแนะนำการจดั ทำแผนและแกไ้ ขปญั หาลูกหนค้ี ้างชำระ 4 ครัง้ ตค 64- กย 65 3. สง่ เสรมิ กลุม่ เกษตรกรปริมาณธรุ กิจเพ่ิมขน้ึ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 3 เทยี บ กับปที ่แี ลว้ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กจิ กรรม คา่ หนว่ ย ชว่ งเวลาที่ เปา้ หมาย นบั ดำเนนิ การ 3.1 กิจกรรมแนะนำช้ีแจงการทำธรุ กิจสินเช่ือกบั สมาชิก ครั้ง ตค 64- กย 65 3.2 กจิ กรรมแนะนำช้แี จงการจัดหาสินค้ามาจำหนา่ ยแก่สมาชิก 4 ครั้ง ตค 64- กย 65 4. สง่ เสรมิ และสนับสนุนสหกรณ์ให้มีทุนดำเนนิ งานเพิ่มข้ึน 4 4.1 กจิ กรรมแนะนำชี้แจงการระดมทุนภายในกลุ่มเกษตรกร ครง้ั ตค 64- กย 65 5. สง่ เสริมสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกจิ เพิ่มขึน้ 4 5.1 กจิ กรรมแนะนำชแ้ี จงการมีส่วนร่วมทำธุรกจิ กบั สมาชกิ ครัง้ ตค 64- กย 65 6. แนะนำส่งเสรมิ กลุ่มเกษตรกรรักษามาตรฐาน 4 6.1 กจิ กรรมแนะนำชี้แจงการวิเคราะหจ์ ดุ คุ้มทุน คร้ัง ตค 64- กย 65 6.2 กิจกรรมชี้แจงประเมินความเส่ียงของธุรกิจ 4 คร้งั ตค 64- กย 65 7. ส่งเสรมิ ให้กลุม่ เกษตรกรปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ ขอ้ บังคบั กลมุ่ เกษตรกรอย่าง 4 เครง่ ครัด ครัง้ ตค 64- กย 65 7.1 กิจกรรมแนะนำชีแ้ จงบทบาทหน้าท่ีของสมาชิก และกรรมการ 4 ลงช่ือ สมหวัง เพง็ ลุน เจา้ หนา้ ทผี่ ้รู ับผดิ ชอบ นกั วชิ าการสหกรณ์ วันที่ 13 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2563 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

74. กลมุ่ เกษตรกรทำนาโคกสะอาด ประเภท : ทำนา การวเิ คราะหข์ อ้ มูลและบริบทของกลุ่มเกษตรกร (รายแหง่ ) • ขอ้ มลู พืน้ ฐานของกลมุ่ เกษตรกร 1) ข้อมูลท่วั ไป : 1.1 จำนวนสมาชกิ 48 คน 1.2 สมาชกิ มสี ว่ นรว่ มทำธุรกจิ กบั กลมุ่ เกษตรกร 32 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 15.36 1.3 คณะกรรมการดำเนนิ การ 7 คน 1.4 ผู้ตรวจสอบกจิ การ 2 คน 1.5 วันส้ินปีทางบญั ชี 31 มีนาคม ของทุกปี 1.6 ดำเนินธุรกิจ ดา้ นเดียว ได้แก่ ธรุ กจิ สินเช่ือ 1.7 ผลการประเมินมาตรฐาน  ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน 2) โครงสร้างพ้ืนฐานของกลมุ่ เกษตรกร : ไม่มี 3) ขอ้ มลู การดำเนนิ ธรุ กจิ ของกลุ่มเกษตรกร (ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สดุ ) : หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กจิ สนิ เช่อื 505,000.00 230,000.00 885,400.00 2. ธุรกิจรบั ฝากเงิน - - - 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลิต - - - 4. ธุรกจิ แปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธรุ กจิ จัดหาสนิ คา้ มาจำหนา่ ย - - - 6. ธรุ กจิ บรกิ าร - - - รวม 505,000.00 230,000.00 885,400.00 4) สถานภาพทางการเงินของกลมุ่ เกษตรกร (ข้อมูลย้อนหลงั 3 ปีบัญชีลา่ สุด) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทนุ ปี 2562 ปี 2563 หน่วย : บาท สนิ ทรัพย์ 217,615.38 258,159.67 ปี 2564 หนี้สิน 36,320.00 31,970.00 ทุนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 181,295.38 226,189.67 271,151.75 กำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ 16,160.44 17,677.29 30,000.00 อตั ราส่วนทางการเงนิ ทสี่ ำคัญ 241,151.75 15,977.34 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

- อตั ราส่วนหน้ีสนิ ตอ่ ทนุ (DE Ratio) 0.20 0.14 0.12 - อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) 0.07 0.07 0.06 - อตั ราผลตอบแทนตอ่ สินทรัพย์ (ROA) 0.07 0.06 0.01 - อัตราสว่ นทนุ หมนุ เวียน 5.99 13.04 9.03 - อัตราสว่ นทนุ สำรองต่อสนิ ทรพั ย์ 0.37 0.34 0.03 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี 5.1 ด้านการบรหิ ารจดั การทวั่ ไป 1) กลมุ่ เกษตรกรไม่ได้จดั จ้างเจา้ หนา้ ที่ การดำเนนิ งานด้านต่างๆ คณะกรรมการดำเนินการ ช่วยกันปฏิบัติ โดยมอบหมายให้เหรัญญิก ทำหน้าที่รับ-จ่ายและเก็บรักษาเงิน และมอบหมายให้ประธาน กรรมการทำหน้าทีจ่ ัดทำบัญชีของกลุม่ เกษตรกร ซึ่งกลุ่มเกษตรกรสามารถรวบรวมเอกสารหลักฐานประกอบ ฐานประกอบการบันทกึ บญั ชเี ทา่ นน้ั สว่ นการบนั ทึกรายการในสมุดขนั้ ต้น ข้ันปลายรวมท้งั ดารจดั ทำงบการเงนิ และรายละเอียดประกอบงบการเงนิ ได้รบั ความช่วยเหลอื จากหนว่ ยงานของทางราชการที่เกี่ยวข้องช่วยจัดทำ ให้ เพื่อปดิ บญั ชปี ระจำปีได้ ดังน้นั กลมุ่ เกษตรกรควรมีการแบ่งแยกหนา้ ทใ่ี หช้ ัดเจนและเหมาะสม รวมทงั้ จัดให้ มีบุคคลท่มี คี วามรู้ความสมารถดา้ นการบญั ชมี าปฎิบัติงานตลอดจนส่งเสรมิ ใหเ้ ข้ารับการอบรมอย่างสมำ่ เสมอ เพื่อใหก้ ลมุ่ เกษตรกรสามารถจัดทำบญั ชไี ด้และนำข้อมูลมาใช้ประโยชนใ์ นการตดั สนิ ใจในการบริหารงานเปน็ ไป อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 2.) จากการตรวจนับเงินสดคงเหลือในมือ เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2564 ตรวจนบั ได้ จำนวน 73,649.82 บาท ตรงตามบัญชีของกลุ่มเกษตรกร แต่มีการเก็บรักษาเงินสดเกินกว่าระเบียบกำหนดไว้เป็น ประจำ ซง่ึ ตามระเบียบกลุ่มเกษตรกร วา่ ด้วยการรับจ่ายและเก็บรกั ษาเงินสด พ.ศ.2548 กำหนดให้เก็บรักษา เงนิ ในมอื ไว้ไดไ้ ม่เกนิ 5,000.00 บาท คณะกรรมการดำเนนิ การกลุ่มเกษตรกรควรมีการควบคุมการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนดไว้และจัดให้มีการตรวจนับเงินคงเหลือในมือเปรียบกับบัญชีอย่างสม่ำเสมอ เพอ่ื ให้มกี ารยันยอดเงินคงเหลอื ตามบญั ชใี ห้ถูกต้องตรงกัน 3) กลุ่มเกษตรกรได้เลือกตั้งผู้ตรวจสอบกิจการจากที่ประชุมใหญ่ สามัญประจำปีเพ่ือ ดำเนินการตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ านดา้ นตา่ งๆ ของกล่มุ เกษตรกรระหวา่ งปไี มป่ รากฏรายงานผลการตรวจสอบ ที่เป็นลายลักษณ์อักษร กลุ่มเกษตรกรควรแจ้งให้ผู้ตรวจสอบกิจการเข้าปฏิบัติงานตรวจสอบให้เป็นไปตาม ข้อบังคับกำหนดไว้ รวมทั้งรายงานผลการตรวจสอบต่อทีป่ ระชมุ คณะกรรมการดำเนินการโดยสม่ำเสมอ เพ่ือ กลุ่มเกษตรกรจะไดใ้ ชป้ ระโยชน์ในการบริหารงานและแกไ้ ขปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ 5.2 ดา้ นการดำเนินธรุ กิจ ณ วันสิ้นปีบัญชีกลุ่มเกษตรกรมีลูกหน้ีเงินกู้คงเหลือ 18 ราย เป็นเงินจำนวน 242,697.00 บาท ในจำนวนนี้มีลูกหนี้ผิดนัดชำระ จำนวน 3 ราย เป็นเงิน 32,697.00 บาท คณะกรรมการดำเนินการกล่มุ เกษตรกรควรพิจารณาหาแนวทางในการติดตามเร่งรัดให้ลกู หนที้ ผี่ ิดนดั ชำระหน้แี กก่ ลมุ่ เกษตรกรโดยเร็ว ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

ผลการวิเคราะหค์ วามเสีย่ งทางการเงิน ความเพียงพอของเงินทุน กลุ่มเกษตรกรมีทุนดำเนินงานทั้งสิ้น 271,151.75 บาท เพิ่มข้ึน จากปีก่อนจำนวน 25,084.84 บาท หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.19 ทุนดำเนินงานดังกล่าวมาจากแหล่งเงินทนุ ภายในร้อยละ 88.94 เปน็ ทุนของกลุ่มเกษตรกรเองทง้ั จำนวนสว่ นที่เหลอื อกี รอ้ ยละ 11.06 มาจากแหล่งเงนิ ทนุ ภายนอกเป็นเงินอุดหนุนจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ หากพิจารณาถึงความเข้มแข็งและเพียงพอของเงินทนุ ต่อ ความเสยี่ งแลว้ นับว่าทุนของกลุม่ เกษตรกรสามารถคุ้มครองหน้ีได้ท้งั หมด เนื่องจากกลุ่มเกษตรกรมอี ัตราส่วน ของหนี้สินทั้งสิ้นต่อทุน 0.13 เท่ารวมทั้งหนี้สินเป็นเงินที่ได้รักการอุดหน่วยงานของทางราชการ ซึ่งกลุ่ม เกษตรกรไม่มภี าระต้องใช้คนื คณุ ภาพของสินทรัพย์ กลมุ่ เกษตรกรไดน้ ำทนุ ดำเนินงานทมี่ อี ยู่ จำนวน 271,151.75 บาท ไปลงทนุ ในลูกหนีร้ ะยะสัน้ เป็นสว่ นใหญ่ รอ้ นละ 79.00 รองลงมาลงทุนในเงนิ สดและเงินฝากธนาคารร้อยละ 21.00 ลูกหนี้สามารถชำระ หนี้ไดร้ อ้ ยละ 95.89 ของหนถ้ี ึงกำหนดชำระ หากพจิ ารณาจากสว่ นประกอบของสนิ ทรัพยแ์ ล้วจะเห็นได้วา่ กลุ่ม เกษตรกรมลี กู หน้ีผิดนดั ชำระเกนิ 2 ปี จำนวน 32,697.00 บาท ซ่ึงกลุม่ เกษตรกรไดต้ ง้ั ค่าเผือ่ หน้ีสงสยั จะสูญไว้ จำนวน 28,497.00 บาท กลุ่มเกษตรกรได้นำไปใช้ในการดำเนนิ งานเพอ่ื ก่อให้เกดิ รายได้ 0.11 รอบ ในขณะเดียวกันสินทรพั ยท์ ีม่ อี ยสู่ ามารถสร้างผลตอบแทนใหก้ ับกลุ่มเกษตรกรได้ในอตั รารอ้ ยละ 6.17 ขดี ความสามารถในการบรหิ าร ระหว่างปกี ลุ่มเกษตรกรดำเนินธรุ กิจสนิ เช่อื เพยี งดา้ นเดียว โดยจ่ายเงนิ กใู้ หแ้ กส่ มาชกิ จำนวน 67 ราย เป็นเงิน 885,400.00 บาท ลดลงจากปีกอ่ น 229,800.00 บาท หรือลดลงรอ้ ยละ 29.95 สูงกว่า เปา้ หมายทก่ี ำหนดร้อยละ 29.94 ลกู หน้สี ามารถชำระหนี้ได้ตามกำหนดรอ้ ยละ 93.53 วันส้นิ ปมี ลี ูกหนี้คงเหลือ 18 ราย เปน็ เงนิ 242,697.00 บาท และดอกเบ้ียเงินใหก้ คู้ ้างรบั 3,923.64 บาท การทำกำไร กลุ่มเกษตรกรมีรายได้ รวมทงั้ สนิ้ 28,726.30 บาท และคา่ ใชจ้ ่ายรวมทั้งส้ิน 12,748.96 บาท จึงมีกำไรสทุ ธิ 15,977.34 บาท มเี งนิ ออมเฉลีย่ ตอ่ สมาชกิ ซ่งึ เทา่ กบั 2,488.89 บาท กบั หนส้ี นิ เฉลี่ยตอ่ สมาชกิ 4,760.00 บาท ตอ่ คน หากพจิ ารณาสดั สว่ นของหนสี้ ินต่อเงนิ ออมเฉล่ยี ต่อสมาชกิ แลว้ พบว่า สดั ส่วนหนสี้ นิ มากกวา่ เงนิ ออมทสี่ มาชิกมีอยู่สะท้อนใหเ้ หน็ ถึงความสามารถในการชำระหนีข้ องสมาชิกใน อนาคตทอ่ี าจสง่ ผลกระทบตอ่ การดำเนนิ งานของกลุ่มเกษตรกร 6) ข้อบกพรอ่ งของกลมุ่ เกษตรกร (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ ) -ไม่มีขอ้ บกพร่องของกลุม่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1. การวิเคราะห์ SWOT ของกลุ่มเกษตรกรทำนาโคกสะอาด จุดแขง็ (strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) - คณะกรรมการมคี วามเสียสละ ซอื่ สัตย์ - กลุม่ เกษตรกรมเี งินทนุ ไมเ่ พยี งพอในการดำเนินธรุ กิจ - กลุ่มเกษตรกรมขี ้อบังคบั และระเบียบ - คณะกรรมการดำเนินการ ขาดความรู้ด้านการบริหาร - กลุ่มเกษตรกรมีการบรหิ ารจัดการท่ีเข้มแขง็ สามารถ - คณะกรรมการขาดความรใู้ นด้านกฎหมาย ระเบียบ ตดิ ตามการชำระหนี้ได้ ข้อบังคบั โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats) - ไดร้ ับการสนับสนุนเงินทุนจากภาครฐั - สภาวะทางเศรษฐกิจตกตำ่ - เทคโนโลยที ท่ี ันสมัย - ตน้ ทุนการผลติ และค่าครองชพี ทส่ี งู ขึ้น - ภัยทางธรรมชาติ แผนการแนะนำสง่ เสริม พัฒนา และกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1) ระดับช้ันกลมุ่ เกษตรกร :  รกั ษาระดับกลุ่มเกษตรกรช้ัน 1 และช้ัน 2  ยกระดบั กลุ่มเกษตรกรชั้น 2 และ ชั้น 3 ส่ชู ัน้ ทด่ี ขี นึ้ 2) มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร :  รกั ษามาตรฐานกลมุ่ เกษตรกรให้อยใู่ นระดบั ดีขนึ้ ไป  ผลกั ดันกลมุ่ เกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดบั ทด่ี ีขึน้ 3) อ่ืน ๆ 3.1 ด้านการบรหิ ารจัดการท่ีมีธรรมาภบิ าล/การควบคุมภายใน 3.2 แก้ไขปญั หาลูกหนีค้ า้ งของกลุม่ เกษตรกร 3.3 อตั ราการขยายตวั ของปรมิ าณธรุ กจิ เพม่ิ ข้ึนจากปกี อ่ นไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 3 3.4 การพัฒนาและสง่ เสริมศกั ยภาพเพือ่ สนบั สนนุ การประกอบอาชพี และใหบ้ รกิ ารกับสมาชิก 3.5 การกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและแกไ้ ขตามแนวทางทีก่ รมกำหนด 3.6 การตรวจตดิ ตาม/เฝา้ ระวังและตรวจการท่มี ปี ระสทิ ธิภาพเพอ่ื ป้องกนั การเกิดขอ้ บกพร่องและ ปอ้ งกนั การเกิดทจุ รติ ทงั้ ในเชงิ นโยบายและปฏบิ ตั ิ 3.7 กำกบั ดูแลตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบกลมุ่ เกษตรกรดำเนินกจิ การใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ บงั คบั ระเบียบและกฎหมายที่เก่ียวขอ้ ง  แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหา ของกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์เปน็ ผ้ดู ำเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาทด่ี ำเนนิ การ 1. ด้านการส่งเสรมิ และพัฒนาองค์กร โครงการ ต.ค.63 - ก.ย.64 พ.ย.63 - ก.ย.64 1.1 กจิ กรรม การรกั ษาระดบั การควบคุมภายในของกลุม่ เกษตรกร ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 1.2 สง่ เสริม และพัฒนาศักยภาพบุคลากรของกลุ่มเกษตรกร ได้แก่ ระดบั ต.ค 63.-กย.64 คณะกรรมการกลุ่มเกษตรกร สมาชิกกลุ่มเกษตรกร และผ้ตู รวจสอบ อย่างนอ้ ย รอ้ ยละ ต.ค 63.-กย.64 กิจการ 1 โครงการ ต.ค 63.-กย.64 ประเดน็ 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนนิ ธรุ กจิ 90 - ต.ค.63-ก.ย. 64 ต.ค. 63 – ก.ย.64 2.1 ยกระดบั การใหบ้ รกิ ารสมาชกิ ของกลมุ่ เกษตร 2.2 ยกระดบั ประสทิ ธภิ าพการดำเนนิ ธุรกจิ จากระดบั มั่นคงดี ม่นั คงตามมาตรฐาน (วดั จากอัตราส่วนทางการเงนิ ) 2.3 สง่ เสรมิ และสนบั สนุนใหส้ หกรณเ์ พม่ิ ปรมิ าณธุรกจิ เพ่ิมขนึ้ ไมน่ ้อย (เทียบกบั ปริมาณธุรกจิ ปที ี่ผ่านมา) กวา่ รอ้ ยละ 3 3. ดา้ นการกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบ กลุ่มเกษตรกร 3.1 ติดตามการแกไ้ ขตามขอ้ สังเกตผสู้ อบบญั ชี แล้วเสร็จ 3.2 ตรวจสอบ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั และแนะนำการแก้ไข แกไ้ ขแล้วเสรจ็ ปรับปรงุ เพ่ือให้สอดคลอ้ งกบั ร่างของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนำส่งเสรมิ ให้กลมุ่ เกษตรกรดำเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนนิ การ 1 ดา้ นการพฒั นาการดำเนนิ ธรุ กจิ 90 รอ้ ยละ 1.1 ยกระดบั การใหบ้ รกิ ารสมาชิกของกลมุ่ เกษตรกร ต.ค 63.-กย. 64 (การมสี ว่ นร่วมในการดำเนนิ ธรุ กิจ) 1.2 สง่ เสรมิ การเพิ่มปรมิ าณธุรกจิ ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ต.ค 63.-กย. รอ้ ยละ 3 64 2 ด้านการสง่ เสริมและพฒั นาองค์กร 2.1 สง่ เสรมิ แนะนำ ในการติดตามผลการดำเนนิ งานให้ ดีมาก ระดบั ตค.63- กย.64 เป็นไปตามแผนการดำเนนิ งานประจำปีของกลมุ่ เกษตรกร ลงช่ือ กนั ตก์ นษิ ฐ์ เหล็กเพ็ชร เจา้ หน้าที่ผรู้ ับผิดชอบ เจา้ พนักงานสง่ เสรมิ สหกรณ์ วนั ท่ี 13 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

75. กลุม่ เกษตรกร : ทำนาฆอ้ งชัยพัฒนา ประเภท : ทำนา การวิเคราะห์ขอ้ มูลและบริบทของกลมุ่ เกษตรกร (รายแหง่ ) • ขอ้ มูลพืน้ ฐานของกลมุ่ เกษตรกร 1) ข้อมลู ท่วั ไป : 1.1 จำนวนสมาชกิ 43 คน 1.2 สมาชกิ มสี ว่ นรว่ มทำธรุ กจิ กับกลุ่มเกษตรกร 0 คน (กลมุ่ เกษตรกรหยุดดำเนินธุรกจิ ) 1.3 คณะกรรมการดำเนนิ การ 7 คน 1.4 ผู้ตรวจสอบกจิ การ 2 คน 1.5 วนั สน้ิ ปที างบญั ชี 31 มนี าคม ของทุกปี 1.6 ดำเนนิ ธุรกจิ ด้านเดียว ได้แก่ ธุรกจิ สินเช่อื 1.7 ผลการประเมินมาตรฐาน  ไมผ่ า่ นเกณฑม์ าตรฐาน 2) โครงสรา้ งพ้ืนฐานของกลุ่มเกษตรกร : ไม่มี 3) ข้อมูลการดำเนินธุรกจิ ของกลุ่มเกษตรกร(ขอ้ มลู ย้อนหลงั 3 ปบี ัญชีล่าสดุ ) : ปี 2564 ผสู้ อบยังไม่ รับรองงบแสดงฐานะทางการเงิน หนว่ ย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกิจสนิ เชอ่ื 490,000.00 - - 2. ธุรกิจรบั ฝากเงิน --- 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลติ --- 4. ธรุ กิจแปรรปู ผลผลติ --- 5. ธุรกิจจดั หาสนิ คา้ มาจำหน่าย --- 6. ธรุ กจิ บรกิ าร --- รวม 490,000.00 - - 4) สถานภาพทางการเงินของกลุ่มเกษตรกร (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด) ปี 2564 ผู้สอบยังไม่ รับรองงบแสดงฐานะทางการเงิน หนว่ ย : บาท งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทุน ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรัพย์ 101,844.73 101,844.73 - หน้ีสนิ 19,287.50 19,287.50 - ทุนของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 82,557.23 82,557.23 - กำไร (ขาดทุน) สุทธิ - (988.06) (988.06) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

อตั ราส่วนทางการเงนิ ทสี่ ำคัญ 0.23 0.23 - - อัตราสว่ นหนี้สินตอ่ ทุน (DE Ratio) -0.01 -0.01 - - อตั ราผลตอบแทนตอ่ ทนุ (ROE) 0.00 0.00 - - อตั ราผลตอบแทนตอ่ สนิ ทรัพย์ (ROA) 5.28 5.28 - - อตั ราสว่ นทนุ หมุนเวยี น 0.44 0.44 - - อตั ราสว่ นทนุ สำรองตอ่ สินทรัพย์ 5) ข้อสงั เกตของผู้สอบบญั ชี(ข้อมูลยอ้ นหลัง 3 ปบี ัญชลี า่ สุด) -ไม่มขี ้อสังเกตของกลมุ่ เกษตรกร 6) ข้อบกพร่องของกลุ่มเกษตรกร (ขอ้ มลู ยอ้ นหลงั 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ ) -ไม่มีขอ้ บกพร่องของกลุม่ เกษตรกร ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1. การวิเคราะห์ SWOT ของกลมุ่ เกษตรกรทำนาฆอ้ งชัยพัฒนา จุดแข็ง (strengths) จดุ อ่อน (Weaknesses) - คณะกรรมการมีความเสยี สละ ซอื่ สัตย์ - กลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนไมเ่ พยี งพอในการดำเนินธรุ กิจ - กล่มุ เกษตรกรมีขอ้ บังคบั และระเบยี บ - คณะกรรมการดำเนนิ การ ขาดความรู้ด้านการบรหิ าร - กลมุ่ เกษตรกรมีการบรหิ ารจดั การที่เขม้ แข็ง - คณะกรรมการขาดความรูใ้ นดา้ นกฎหมาย ระเบียบ สามารถติดตามการชำระหนไ้ี ด้ ขอ้ บงั คับ โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats) - ได้รบั การสนบั สนนุ เงนิ ทุนจากภาครฐั - สภาวะทางเศรษฐกจิ ตกตำ่ - เทคโนโลยที ท่ี ันสมยั - ต้นทุนการผลิต และค่าครองชพี ท่สี งู ขน้ึ - ภัยทางธรรมชาติ แผนการแนะนำส่งเสริม พฒั นา และกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำ สง่ เสรมิ พัฒนาและกำกับดูแลกล่มุ เกษตรกรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั นี้ 1) ระดบั ชัน้ กลมุ่ เกษตรกร:  รักษาระดบั กลุ่มเกษตรกรช้ัน 1 และช้นั 2  ยกระดับกลมุ่ เกษตรกรชน้ั 2 และ ชัน้ 3 สชู่ ั้นที่ดีข้นึ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

2) มาตรฐานกลุม่ เกษตรกร/กล่มุ เกษตรกร:  รกั ษามาตรฐานกลมุ่ เกษตรกรใหอ้ ยู่ในระดบั ดีขนึ้ ไป  ผลักดันกลุ่มเกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐานหรอื อย่ใู นระดบั ทด่ี ีขึน้ 3) อื่น ๆ 1. ดา้ นการบรหิ ารจัดการทม่ี ธี รรมาภบิ าล/การควบคุมภายใน 2. แก้ไขปญั หาการดำเนินหยดุ กจิ การและการแก้ไขปัญหาลกู หนีค้ า้ งของกลมุ่ เกษตรกร 3. อตั ราการขยายตวั ของปรมิ าณธุรกิจเพม่ิ ขน้ึ จากปกี อ่ นไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 3 4. การพฒั นาและสง่ เสริมศักยภาพเพ่อื สนบั สนนุ การประกอบอาชพี และใหบ้ ริการกบั สมาชิก 5. การกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและแก้ไขตามแนวทางท่กี รมกำหนด 6. การตรวจตดิ ตาม/เฝ้าระวังและตรวจการทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพเพอ่ื ป้องกนั การเกดิ ขอ้ บกพรอ่ งและ ป้องกันการเกดิ ทจุ รติ ทงั้ ในเชิงนโยบายและปฏบิ ตั ิ 7. กำกบั ดูแล ตรวจสอบและคุม้ ครองระบบกลมุ่ เกษตรกรดำเนนิ กจิ การให้เปน็ ไปตามขอ้ บงั คบั ระเบียบและกฎหมายท่ีเก่ยี วข้อง  แผนการแนะนำส่งเสริม พฒั นา และแก้ไขปญั หาของกล่มุ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผดู้ ำเนินการ: คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนินการ แผนงาน/กิจกรรม 12 5 ครั้ง ต.ค.64– ก.ย.65 1.ดา้ นการส่งเสริมและพัฒนาองคก์ ร 12 1.1กจิ กรรม กำกบั แนะนำใหส้ ถาบันเกษตรกรปดิ บัญชี ภายใน 12 ครง้ั เม.ย.65 – ส.ค.65 1 30 วนั นับแตว่ ันสิน้ ปที างบัญชีเพ่ือรอรบั การตรวจสอบ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.2 กิจกรรม การประชุมใหญ่สามญั ประจำปี ภายใน 150 วัน 12 12 ครง้ั ต.ค.64– ก.ย.65 (ตามปบี ัญชี) 12 1.3 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสรมิ กลมุ่ เกษตรกร การบริหารจัดการที่ ครง้ั ส.ค.65 มธี รรมาภบิ าล ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.4 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสริมกลมุ่ เกษตรกรมรี ะดับชนั้ คุณภาพ ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 การควบคมุ ภายใน ครัง้ ต.ค.64 – ก.ย.65 1.5 กจิ กรรมแนะนำสง่ เสริมการมสี ่วนร่วมของสมาชกิ โดยการ ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 เข้ารว่ มประชุมกลมุ่ สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 1.6 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสรมิ กลมุ่ เกษตรกรและสมาชิกกบั ทุก ภาคส่วน 1.7 กิจกรรมแนะนำ สง่ เสริมการแก้ไขปัญหาลกู หน้คี ้าง 1.8 กิจกรรม แนะนำ สง่ เสริมการรบั สมาชิกกลุ่มเกษตรกรเพม่ิ 1.9 กจิ กรรมแนะนำ ส่งเสริมการรักษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกร ของกรมส่งเสรมิ กลุม่ เกษตรกร 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนินธรุ กจิ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ช่วงเวลาท่ี 12 ดำเนินการ 2.1 กิจกรรม แนะนำ สง่ เสริมกลุ่มเกษตรกรมีอตั ราการขยายตัว ของปริมาณธรุ กจิ เพม่ิ ข้ึนจากปีกอ่ นไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 3 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 2.2 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสรมิ การดำเนินงานตามแผนประจำปี 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 ของกลุ่มเกษตรกร และเพิ่มศกั ยภาพในธรุ กิจการจัดหาสินคา้ มา จำหน่าย 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 3 ดา้ นการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบกลมุ่ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร 1 ครง้ั พ.ค.65 3.1 กจิ กรรมกำกับดูแล ตรวจสอบและแก้ไขตามแนวทางท่ีกรม กำหนด 3.2 กจิ กรรม ตรวจติดตาม/เฝ้าระวงั และตรวจการท่มี ี ประสิทธิภาพเพอ่ื ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องและปอ้ งกันการเกดิ ทุจรติ ท้ังในเชิงนโยบายและปฏิบัติ 3.3 กิจกรรมแนะนำ ป้องกนั การเกิดข้อบกพร่อง (ตรวจการกล่มุ เกษตรกรรายบุคคล) แผนงาน/กิจกรรมที่กลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์จะแนะนำส่งเสรมิ ให้กลุ่มเกษตรกรดำเนินการ: แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนนิ การ 1. ดา้ นการส่งเสริมและพฒั นาองคก์ ร 1.1 กิจกรรมบันทึกบัญชีใหถ้ ูกตอ้ งเป็นปัจจบุ ัน และจัดทำ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 รายละเอียดต่างๆ ประกอบงบการเงิน 1.2 กจิ กรรมจดั ประชมุ ใหญ่สามัญประจำปี ภายใน 150 วัน (ตาม 5 ครั้ง เม.ย.65 – ส.ค.65 ปบี ัญช)ี 1.3 กจิ กรรม กลุ่มเกษตรกรปฏบิ ัตติ ามหลักธรรมาภบิ าล 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.4 กจิ กรรม กลุ่มเกษตรกรปฏบิ ัตติ ามระบบการควบคุมภายใน 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.5 กิจกรรม กลุ่มเกษตรกร/สมาชิกมีส่วนรวมทุกภาคสว่ น 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.6 กิจกรรม การรบั สมาชิกเพ่ิมระหว่างปี 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.7 กจิ กรรม กลุ่มเกษตรกรปฏบิ ตั ิตามเกณฑ์มาตรฐานของกลุ่ม 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร 1.8 กจิ กรรมแนะนำ สง่ เสรมิ การแก้ไขปญั หาลกู หนคี้ ้าง 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 2. ด้านการพัฒนาการดำเนนิ ธรุ กจิ 2.1 กจิ กรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปขี องกลุ่ม 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร และเพิ่มศักยภาพในธรุ กิจเพื่อให้มอี ัตราการขยายตัวของ ปรมิ าณธรุ กจิ เพ่ิมขน้ึ จากปีก่อนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 3 2.2 กิจกรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปีของกลุ่มเกษตรกร 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 และเพ่ิมศกั ยภาพในธรุ กิจการจัดหาสินคา้ มาจำหน่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาท่ี ดำเนนิ การ 3. ด้านการกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบกล่มุ เกษตรกร 12 ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 3.1 กจิ กรรม กลุ่มเกษตรกรตดิ ตาม/เฝ้าระวังและป้องกัน ข้อบกพร่อง 3.2 กิจกรรม กลุ่มเกษตรกรปฏบิ ัตติ ามระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ พ.ศ.2542 แก้ไขฉบบั ที่ 3 พ.ศ.2562 ลงชื่อ กนั ตก์ นิษฐ์ เหลก็ เพช็ ร เจา้ หน้าที่ผรู้ ับผิดชอบ เจ้าพนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณ์ วนั ที่ 13 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

76. กลุ่มเกษตรกร : ทำนาแซงบาดาล ประเภท : ทำนา การวเิ คราะหข์ อ้ มูลและบรบิ ทของกลุ่มเกษตรกร ⚫ ขอ้ มลู พนื้ ฐานของกลมุ่ เกษตรกร 1) ข้อมูลทั่วไป : 1.1 จำนวนสมาชกิ 118 คน 1.2 จำนวนสมาชกิ ทรี่ ว่ มทำธรุ กจิ กลมุ่ หยดุ ดำเนนิ ธรุ กจิ 1.3 ธุรกิจหลัก คอื ธรุ กจิ สนิ เช่ือ /ผลผลิตหลัก คอื ข้าว 1.4 มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร ไม่ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน เน่อื งจากหยุดดำเนนิ ธุรกจิ และขาดทุนจากมี คา่ เผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ 1.5 ศักยภาพการรวบรวมผลผลติ กลมุ่ ไม่ได้ดำเนินธรุ กจิ รวบรวม 1.6 การแปรรปู ไม่ได้ทำ 1.7 ผลติ ภัณฑ์เดน่ ฯลฯ ไมม่ ี 2) โครงสร้างพื้นฐานของกลมุ่ เกษตรกร : ไมม่ ีอปุ กรณก์ ารผลิต/การตลาด 3) ขอ้ มลู การดำเนนิ ธุรกจิ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด ) : หน่วย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กิจสนิ เชอ่ื 16,769 - - 2. ธรุ กิจรบั ฝากเงนิ - - - 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลิต - - - 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธรุ กิจจัดหาสนิ คา้ มาจำหนา่ ย - - - 6. ธุรกจิ บริการ - - - - - รวม 16,769 4) สถานภาพทางการเงนิ (ข้อมลู ยอ้ นหลงั 3 ปีบัญชีล่าสุด) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกำไรขาดทนุ หน่วยนบั ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรัพย์ บาท 147,056.17 147,853.17 129,315.74 หนีส้ ิน บาท 80,500 80,500 80,500 ทนุ ของกลุ่มเกษตรกร บาท กำไร (ขาดทุน) สทุ ธิ บาท 66,556.17 67,353.17 48,815.74 อตั ราสว่ นทางการเงินทีส่ ำคัญ -978.33 797 (17,094.60) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

- อตั ราสว่ นหนี้สนิ ตอ่ ทนุ (DE Ratio) เท่า 1.21 1.20 1.64 - อตั ราผลตอบแทนต่อทนุ (ROE) รอ้ ยละ -1.47 % 1.18 % -35.01 - อัตราผลตอบแทนตอ่ สินทรัพย์ (ROA) ร้อยละ -0.67 % 0.54 % -13.21 - อัตราส่วนทุนหมุนเวยี น เทา่ 294.11 295.71 - อตั ราส่วนทนุ สำรองต่อสนิ ทรัพย์ เท่า 1.60 0.25 0.20 0.13 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ถา้ มี) กลุ่มเกษตรกรไม่ไดจ้ ัดจ้างเจ้าหน้าท่ี การดำเนินงานด้านต่างๆ ในระหว่างปีไม่ปรากฎรายงานผล การตรวจสอบทเ่ี ปน็ ลายลักษณ์อกั ษรของผ้ตู รวจสอบกิจการ และคณะกรรมการดำเนินการไม่มกี ารตดิ ตามผล การปฏบิ ัติงาน กลมุ่ เกษตรกรมีทุนดำเนินงานท้ังสน้ิ 129,315.74 บาท มอี ัตราสว่ นหนสี้ ินต่อทุน 3.83 บาท นบั ว่าทุนไม่สามารถคุ้มครองหน้ีได้ทัง้ หมด มีสินทรพั ย์ทั้งส้นิ จำนวน 129,315.74 บาท ส่วนใหญ่อยู่ในรูป ของลกู หนี้เงนิ ใหก้ ูร้ ะยะส้ัน รอ้ ยละ 61.78 เงินสดและเงนิ ฝากธนาคาร ร้อยละ 35.94 และดอกเบีย้ เงินให้กู้ ค้างรับร้อยละ 2.28 วันสิ้นปีบัญชี มีลูกหนี้เงินใหกู้คงเหลือ จำนวน 106,516 บาท ซึ่งเป็นลูกหนี้ท่ผี ิดนดั ชำระหน้ีทัง้ จำนวน มีดอกเบยี้ เงนิ ใหก้ ู้ค้างรบั จำนวน 13,776.12 บาท และค่าปรบั เงินให้กู้ค้างรับ จำนวน 11,003.46 บาท มีรายได้รวมทั้งสิ้น 7,875.38 บาท และมีค่าใช้จ่ายรวมทั้งสิ้น 24,969.98 บาท ขาดทุน สุทธิ 17,094.60 บาท เน่อื งจากรับภาระหนสี้ งสัยจะสญู ลหู นีเ้ งินกู้ จำนวน 15,977.60 บาท และหนสี้ งสัย จะสูญค่าปรับเงินให้กู้ค้างรับ จำนวน 3,195.48 บาท สัดส่วนปริมาณเงินออมเฉลี่ยต่อสมาชิกซึ่งเท่ากับ 177.97 บาทต่อคน กับหนี้สินเฉลี่ยต่อสมาชิก จำนวน 1,112.67 บาทต่อคน และสภาพคล่องของกลุ่ม เกษตรกรขึ้นอยู่กบั การบริหารลกู หน้ีเปน็ สำคัญ อีกทั้งผลขาดทุนเกินก่งึ หนึง่ ของจำนวนทุนเรอื นหนุ้ ทชี่ ำระแล้ว ตามพระราชกฤษฎีกา ว่าดว้ ยกลมุ่ เกษตรกร พ.ศ. 2547 มาตรา 17 กลมุ่ เกษตรกรต้องเรยี กประชมุ ใหญ่วสิ ามญั โดยมิชักชา้ แตไ่ ม่เกินสามสบิ วนั นบั แตว่ ันท่กี ลมุ่ เกษตรกรรับทราบ 6) ข้อบกพรอ่ งของกลุ่มเกษตรกร (ถา้ มี) กลมุ่ ไม่มีข้อบกพร่อง ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของกลุ่มเกษตรกร 1. ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร ประเมินชั้นคุณภาพของการควบคุมภายใน จากสรปุ ผลระบบการ ควบคมุ ภายในของกรมตรวจบัญชสี หกรณ์ การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพของการควบคมุ ภายใน (✓) ดีมาก ดี พอใช้ ต้อง ไม่มีการ สว่ นท่ี 1 สภาพแวดลอ้ มการควบคมุ สว่ นที่ 2 จดุ อ่อนของการควบคมุ ภายใน ปรบั ปรุง ควบคุม ภายใน คณะกรรมการดำเนินการ ✓ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

การประชุมคณะกรรมการดำเนนิ การและการตดิ ✓ ตามงานไม่เปน็ ไปอย่างตอ่ เน่ือง ผ้ตู รวจสอบกจิ การ การติดตามผลการปฏบิ ัตงิ านของคณะกรรมการ ดำเนินการไมเ่ ปน็ ไปอย่างตอ่ เนอ่ื ง สรปุ การประเมินจดั ช้ันคณุ ภาพ ด้านประสทิ ธิภาพในการจัดการองคก์ รของกลุ่มเกษตรกร ตามสรปุ ผลการประเมินชั้นคณุ ภาพของการ ควบคุมภายใน ของกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ อย่ใู นระดบั ไม่มกี ารควบคุมภายใน 2. ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารงาน ประเมินถงึ การบริหารงานของคณะกรรมการ โดยพิจารณาจาก ขอ้ บกพรอ่ งในการบรหิ ารงานของกลมุ่ เกษตรกร ไม่มีขอ้ บกพร่องหรือมี มีข้อบกพร่องแต่ได้ มขี ้อบกพร่อง ข้อบกพร่องแต่ได้ ดำเนินการแก้ไข และยังไม่เรม่ิ ประเด็นข้อบกพรอ่ ง ดำเนนิ การแกไ้ ขแล้ว แล้วเสรจ็ แต่ตอ้ งติดตาม ดำเนนิ การแกไ้ ข เสร็จสมบูรณ์ หรืออยู่ระหว่าง (✓) (✓) ดำเนินการแกไ้ ข (✓) 1. การทจุ รติ ในกลุ่มเกษตรกร 2. ข้อบกพร่องทางบญั ชี 2. ข้อบกพรอ่ งทางการเงิน 3. การดำเนินการนอกกรอบ วัตถุประสงค์ 4. พฤตกิ รรมที่อาจก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายตอ่ กลมุ่ เกษตรกร 5. ข้อบกพร่องอ่นื ๆ ระบุ........... ด้านประสิทธิภาพของการบริหารงาน เป็นการประเมินถึงการบริหารงานของคณะกรรมการ โดย พจิ ารณาจากข้อบกพรอ่ งในการบรหิ ารงานของกลมุ่ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกรทำนาแซงบาดาลไม่มขี ้อบกพร่อง 3. การประเมินเกณฑม์ าตรฐานกล่มุ เกษตรกร 5 ขอ้ สรุปผลการผา่ นเกณฑม์ าตรฐานกลมุ่ เกษตรกร เกณฑม์ าตรฐานสหกรณ์ ผลการประเมิน (✓) ผา่ น ไม่ผา่ น ระบสุ าเหตุ 1.คณะกรรมการดำเนินการ จัดให้มีการจัดทำงบดุลรอบสิบสอง เดือนแล้วเสรจ็ และจดั ให้มีผู้สอบบัญชีตรวจสอบได้ภายใน 150 ✓ วนั ตามกฎหมาย 2. ไม่มีข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับรายการข้อบกพร่อง ✓ ทางการเงินและบัญชอี ย่างร้ายแรง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

3. มกี ารทำธรุ กิจหรอื การบริการอยา่ งน้อย 1 ชนดิ ✓ 4. มกี ารประชุมใหญส่ ามญั ประจำปภี ายในกำหนดเวลา 150 ✓ วนั ตามกฎหมาย 5. มีกำไรสุทธิประจำปีและมีการจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีตาม ✓ หยุดดำเนนิ ธุรกิจ กฎหมาย และมีค่าเผื่อหนี้ สญู กลุ่มเกษตรกรทำนาแซงบาดาลมีผลการประเมินมาตรฐานกลุ่มเกษตรกรอย่ใู นระดบั ไม่ผ่านมาตรฐาน การวิเคราะห์ SWOT Analysis จดุ ออ่ น จดุ แข็ง - สมาชกิ ขาดความรูท้ างวชิ าการด้านการเกษตรแผน - สมาชกิ อาศัยอยใู่ นหมบู่ ้านเดยี วกันทำใหง้ า่ ยตอ่ การ ใหม่เพอ่ื การพัฒนา ประสานงาน - ราคาสนิ คา้ เกษตรของสหกรณต์ อ้ งพงึ พาพอ่ คา้ - สมาชกิ ส่วนใหญอ่ าศัยอยู่ในหมบู่ ้านเดียวกนั - สมาชิกยงั ไม่เขา้ ใจในหลักการ อุดมการณ์ และ วธิ กี ารสหกรณ์ หรือบทบาทหน้าท่ขี องสมาชิก - มที ุนดำเนินงานไม่เพยี งพอ - คณะกรรมการดำเนินการไม่รบู้ ทบาทหนา้ ท่ขี อง ตวั เอง อปุ สรรค โอกาส - ภัยธรรมชาติ (ฝนแล้ง น้ำท่วม พายุ ฯ) - รัฐบาลให้การสนบั สนุนการรวมกลมุ่ โดยเฉพาะการ - มพี อ่ คา้ คนกลางในพน้ื ทเ่ี ข้าถึงแหล่งชมุ ชน รวมกันเปน็ สหกรณ์ - มสี ถาบนั การเงินเป็นคแู่ ข็งภายในหมบู่ า้ น - การปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ใหก้ ารสนบั สนนุ - คา่ ครองชีพสงู สง่ ผลใหส้ มาชิกมคี า่ ใช้จา่ ยเพิ่มขึน้ ทา - หนว่ ยงานทางราชการให้การสนบั สนุน ใหเ้ กดิ การผิดนดั ชาระหนี้ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนา และกำกบั ดแู ลกล่มุ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลกลุ่มเกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1) ระดบั ชน้ั กลมุ่ เกษตรกร:  รักษาระดบั สหกรณช์ ัน้ 1 และช้ัน 2 ยกระดับสหกรณช์ ้นั 2 และ ชั้น 3 สชู่ ั้นท่ีดีขึ้น 2) มาตรฐานกลุม่ เกษตรกร:  รกั ษามาตรฐานกลมุ่ เกษตรกรใหอ้ ยูใ่ นระดบั ดขี น้ึ ไป  ผลกั ดันกลมุ่ เกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรอื อยู่ในระดบั ทด่ี ขี ึ้น 3) อน่ื ๆ แนะนำส่งเสรมิ เพมิ่ ปรมิ าณธุรกจิ สมาชกิ มสี ว่ นรว่ มในการดำเนินธรุ กจิ กบั กลมุ่ เกษตรกร เพิ่มขึ้น  แผนการแนะนำสง่ เสริม พฒั นา และแก้ไขปญั หาของกลุม่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมทก่ี ลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์เปน็ ผดู้ ำเนนิ การ : ค่า หน่วย ช่วงเวลาที่ เปา้ หมาย นบั ดำเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม 6 คร้ัง ต.ค.64- ก.ย.65 1. ดา้ นการสง่ เสริมและพฒั นาองค์กร 6 คร้ัง ต.ค.64- ก.ย.65 1.1 กจิ กรรม ยกระดับการควบคมุ ภายในของกลุ่มเกษตรกร 1.2 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดบั มาตรฐานของกลุ่มเกษตรกร 6 ครง้ั ต.ค.64- ก.ย.65 6 ครั้ง ต.ค.64- ก.ย.65 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนนิ ธรุ กจิ 2.1 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดบั การใหบ้ ริการสมาชกิ ของกลมุ่ เกษตรกร - ครั้ง 2.2 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดบั ประสิทธภิ าพการดำเนินธรุ กิจกลุม่ เกษตรกร 3. ด้านการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ กล่มุ เกษตรกร 3.1 กจิ กรรม การแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งของกลมุ่ เกษตรกร แผนงาน/กิจกรรมที่กลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรดำเนินการ : แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเปา้ หมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนินการ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลัก ดำเนินธุรกิจ เพิม่ ปริมาณธุรกิจ 1.1 กจิ กรรม การเพ่มิ ปรมิ าณธรุ กิจ 6 ครง้ั ต.ค.64 –ม.ิ ย. 65 1.2 กิจกรรม สง่ เสริมการมสี ่วนรว่ ม 6 คร้งั ต.ค.64 –มิ.ย. 65 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก ระดมทุนภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กิจกรรม ค่าเปา้ หมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาท่ี 6 ครั้ง ดำเนินการ 2.1 กิจกรรม เขา้ ร่วมประชุม ติดตาม แนะนำการถอื หุน้ ต.ค.64 –มิ.ย. เพ่ิม 65 3. แผนงาน/กิจกรรมหลัก พฒั นาองค์กร 6 ครัง้ ต.ค.64 –มิ.ย. 3.1 กิจกรรม การจัดทำเอกสารรายงานประจำปี บนั ทกึ 65 รายงาน 6 ครง้ั ต.ค.64–ม.ิ ย. 3.2 กิจกรรม การจดั ทำเอกสาร หลกั ฐานทางบญั ชี 65 ลงช่ือ จิตราภณ สกลุ ซ้ง เจา้ หน้าที่ผรู้ บั ผดิ ชอบ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัตกิ าร วันที่ 15 เดือน สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

77. กลุ่มเกษตรกรทำนาดงลิง ประเภท : ทำนา การวิเคราะห์ข้อมลู และบรบิ ทของสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ⚫ ขอ้ มลู พืน้ ฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มลู ทวั่ ไป : 1.1 จำนวนสมาชิก 89 คน (สมาชกิ สามัญ 89 คน สมาชิกสมทบ 0 คน) กลมุ่ สมาชกิ 1 กลุ่ม 1.2 จำนวนสมาชกิ ทมี่ สี ว่ นร่วมในการทำธุรกจิ กับกล่มุ เกษตรกร ด้านสินเชอื่ 74 คน จัดหาสนิ ค้า มาจำหน่าย 31 คน 1.3 คณะกรรมการดำเนินการ5 คน ฝา่ ยจัดการ - คน (มผี ู้จัดการ  ไมม่ ีผูจ้ ัดการ) 1.4 ผู้ตรวจสอบกจิ การ 2 คน 1.5 วันสนิ้ ปีทางบัญชี 31 มนี าคม ของทกุ ปี 1.6 กลุม่ เกษตรกรดำเนินธรุ กิจ 2 ดา้ น คือธุรกจิ สินเช่ือ และธรุ กิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย 1.7 กลุ่มเกษตรกรทำนาดงลงิ ผ่านมาตรฐาน 2) โครงสรา้ งพนื้ ฐานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร:อปุ กรณก์ ารผลิต/การตลาด เชน่ ฉาง โกดัง ฯลฯ 3) ข้อมลู การดำเนินธรุ กิจ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปบี ัญชลี ่าสดุ ) :ปรบั ตามปีบญั ชีกลมุ่ เกษตรกร หนว่ ย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กิจสนิ เช่ือ 1,373,980.00 1,513,095.00 1,979,100.00 2. ธุรกิจรบั ฝากเงิน - - - 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลิต - - 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลติ - - - 5. ธุรกจิ จดั หาสินค้ามาจำหนา่ ย - 6. ธรุ กิจบริการ 150,720.00 116,980.00 138,745.00 - - - รวม 2,117,845.00 1,524,700.00 1,630,075.00 4)สถานภาพทางการเงนิ (ขอ้ มูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด)ปรับตามปีบัญชีของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทนุ หนว่ ยนับ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สนิ ทรพั ย์ 430,014.65 506,739.03 563,357.10 หนี้สนิ 60,000.00 60,000.00 61,770.00 ทนุ ของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 370,014.65 446,739.03 501,587.10 กำไร (ขาดทนุ ) สุทธิ 77,204.22 44,044.38 322.07 อัตราส่วนทางการเงนิ ทส่ี ำคญั - อตั ราส่วนหน้ีสนิ ตอ่ ทุน (DE Ratio) 0.16 0.13 0.12 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

- อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) 12.22 6.97 0.07 - อัตราผลตอบแทนตอ่ สนิ ทรัพย์ (ROA) 10.69 6.10 0.62 - อัตราส่วนทุนหมนุ เวยี น 7.17 8.45 318.28 - อัตราส่วนทนุ สำรองต่อสนิ ทรัพย์ 0.45 0.47 0.45 5) ขอ้ สังเกตของผู้สอบบญั ชี ดา้ นการบรหิ ารจัดการทวั่ ไป 5.1 กลุ่มเกษตรกรไมไ่ ดจ้ ดั จ้างเจา้ หน้าที่ การดำเนินงานต่างคณะกรรมการดำเนนิ การชว่ ยกนั ปฏิบัติ โดยมอบหมายใหเ้ หรญั ญิกทำหน้าทร่ี บั -จา่ ยและเกบ็ รักษาเงนิ รวมท้ังรวบรวมเอกสารหลักฐาน ประกอบการบันทกึ บญั ชี ซึ่งกลุ่มเกษตรกรสามารถบันทกึ รายการในเอกสารประกอบการบันทกึ บญั ชไี ด้ แตไ่ ม่ สามารถบันทึกสมดุ ข้ันตน้ สมดุ ข้ันปลาย การจดั ทำงบการเงนิ และรายละเอียดประกอบงบการเงนิ ได้ ตอ้ งไดร้ บั ความชว่ ยเหลือจากหนว่ ยงานของทางราชการท่ีเก่ยี วขอ้ งช่วยจัดทำให้ 5.2 จากการตรวจนับเงินสดคงเหลือในมือ เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2564 ตรวจนับเงินสดได้ 3,620.00บาท ตรงตามบญั ชีกล่มุ เกษตรกร แต่มีการเก็บรักษาเงินสดเกนิ กว่าท่ีระเบียบกำหนดไว้เป็นครงั้ คราว ซึ่งตามระเบยี บกลมุ่ เกษตรกรกำหนดระเบียบว่าด้วยการรบั จา่ ยและเกบ็ รักษาเงินสด พ.ศ 2548 หมวด 3 การ จ่ายเงินสด ขอ้ 25(25.1) กำหนดให้เก็บรักษาเงินสดไว้ไมเ่ กินวนั ละ 5,000 บาทวนั สนิ้ ปีบญั ชกี ล่มุ เกษตรกรเกบ็ รกั ษาเงินสดไว้ 89,702.19 บาท อย่ใู นความรบั ผดิ ชอบของเหรญั ญกิ ซ่ึงเกนิ กวา่ ระเบียบกำหนดเป็นจำนวนมาก โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรอีกทั้งการเก็บรักษาเงินสดไม่ปลอดภัยเท่าที่ควร เพื่อป้องกันความเสียห ายที่อาจ เกิดขึ้นคณะกรรมการดำเนินการควรแจ้งให้ผู้รับผิดชอบปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนดโดยเคร่งครดั สำหรับเงินสดส่วนที่เกินกวา่ วงเงินเก็บรักษาควรนำฝากธนาคารหรือสหกรณ์อืน่ ทุกสิ้นวัน หรือควรพิจารณา นำไปใช้ดำเนนิ ธุรกจิ เพ่ืออำนวยประโยชนใ์ หก้ บั สมาชกิ และไม่ให้เสยี โอกาสทจี่ ะก่อให้เกิดรายไดอ้ ีกด้วย 5.3 กลุ่มเกษตรกรได้เลือกตั้งผู้ตรวจสอบรายงานกิจการที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปีเพ่ือ ดำเนินการตรวจสอบการปฏิบตั ิงานดา้ นตา่ งๆ ของกลุม่ เกษตรกร ระหว่างปีไม่ปรากฏรายงานผลการตรวจสอบ ที่เป็นลายลักษณอ์ กั ษร กลมุ่ ฯควรแจ้งใหผ้ ูต้ รวจสอบกิจการเขา้ ปฎิบัตงิ านตรวจสอบให้เปน็ ไปตามข้อบงั คบั 5.4 กล่มุ เกษตรกรจดั ใหม้ กี ารประชมุ คณะกรรมการดำเนินการเป็นคร้งั คราว แตไ่ มม่ ีการติดตาม ผลการปฏิบัตงิ านในที่ประชมุ คณะกรรมการดำเนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามแผนและงบประมาณทก่ี ำหนดไว้ 6) ข้อบกพรอ่ งของกลุ่มเกษตรกร -ไม่มี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

⚫ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พื้นฐาน และสภาพแวดล้อมของกลุม่ เกษตรกร สามารถวเิ คราะห์ข้อมลู ของกลมุ่ เกษตรกรได้ ดังน้ี การวิเคราะห์ SWOTของกลมุ่ เกษตรกรทำนาดงลิง จดุ แขง็ (strengths) จดุ ออ่ น (Weaknesses) - กลุม่ เกษตรกรมีข้อบังคบั และระเบยี บ - กลมุ่ เกษตรกรมีเงนิ ทนุ ไมเ่ พยี งพอในการดำเนิน - คณะกรรมการมคี วามเข้มแขง็ และใหค้ วามร่วมมือ ธรุ กจิ ในทุกๆดา้ น - คณะกรรมการดำเนินการ ไมม่ คี วามรใู้ นด้านบญั ขี - คณะกรรมการขาดความรู้ในดา้ นกฎหมาย ระเบียบ ข้อบงั คับ โอกาส (Opportunities) อุปสรรค(Threats) - ได้รบั การสนบั สนนุ เงนิ ทุนจากภาครัฐ - สภาวะทางเศรษฐกจิ ตกต่ำ - เทคโนโลยีทท่ี นั สมัย - ตน้ ทุนการผลติ และคา่ ครองชพี ที่สงู ขนึ้ - ภัยทางธรรมชาติ แผนการแนะนำสง่ เสริม พฒั นา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พฒั นาและกำกบั ดแู ลสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565ดังน้ี 1) ระดบั ชัน้ กลมุ่ เกษตรกร: รักษาระดบั สหกรณช์ น้ั 1 และชัน้ 2 ยกระดบั สหกรณ์ช้นั 2 และ ช้นั 3 สู่ชนั้ ทดี่ ีขน้ึ 2) มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร: รกั ษามาตรฐานกลมุ่ เกษตรกรใหอ้ ยใู่ นระดบั ดขี นึ้ ไป ผลักดนั กล่มุ เกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับทดี่ ีข้ึน 2.1 แนะนำให้กลุม่ เกษตรกรมกี ารระดมทนุ ภายในใหเ้ พ่มิ มากขึน้ 2.2 แนะนำให้กลมุ่ ฯ กูย้ ืมเงินจากแหล่งเงินทุนดอกเบย้ี ตำ่ หรือปลอดดอกเบีย้ จากการกรม สง่ เสริมสหกรณ์ เพ่อื นำมาใช้ในการดำเนนิ ธรุ กจิ 2.3 กำกับ แนะนำ สง่ เสรมิ การดำเนินธรุ กจิ ของกลมุ่ ฯ ให้เป็นไปตามกรอบวัตถปุ ระสงคข์ องกลมุ่ เกษตรกร 2.4 ผลักดันให้กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานกลุม่ เกษตรกร 2.5 สง่ เสริมให้กลมุ่ เกษตรกรปดิ บญั ชีและประชุมใหญไ่ ด้ภายในกำหนด 2.6 พัฒนากลุม่ เกษตรกรภายใต้หลกั ธรรมาภิบาล และการควบคมุ ภายในทีด่ ี 2.7 แนะนำ สง่ เสรมิ ให้กลมุ่ เกษตรกรดำเนินธุรกจิ ใหเ้ ปน็ ไปตาแผนงานทีก่ ำหนดไว้ 2.8 ส่งเสริมใหก้ ลมุ่ เกษตรกรใหบ้ รกิ ารสมาชกิ อย่างท่วั ถงึ 2.9 ส่งเสริมให้กลมุ่ เกษตรกรนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการบรหิ ารงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

 แผนการแนะนำสง่ เสริม พฒั นา และแก้ไขปัญหาของกลมุ่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมทก่ี ลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์เป็นผดู้ ำเนนิ การ: แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาท่ี ดำเนินการ 1. ดา้ นการส่งเสริมและพฒั นาองคก์ ร ผา่ นเกณฑ์ ควบคมุ ภายใน ตค 64- กย 65 1.1 กิจกรรม ยกระดบั การควบคุมภายในของกลุ่มเกษตรกร 1.2 กจิ กรรม การรกั ษาระดบั มาตรฐานของกลุ่มเกษตรกร รักษา ตค 64- กย 65 2. ด้านการพัฒนาการดำเนนิ ธุรกิจ สมาชิกมีส่วน ร้อยละ ตค 64- กย 65 2.1 กจิ กรรม ยกระดับการใหบ้ รกิ ารสมาชิกของกล่มุ เกษตรกร ร่วม ร้อยละ 2.2 กิจกรรม ยกระดับประสทิ ธภิ าพการดำเนนิ ธุรกจิ ของกลุ่ม ร้อยละ ตค 64- กย 65 เกษตรกร 60 2.3 กจิ กรรม แผนธรุ กจิ สินเช่ือ เพิม่ ขน้ึ รอ้ ยละ บาท ตค 64 –กย65 2.4 กิจกรรม แผนรบั สมาชกิ เพมิ่ คน ตค 64 - กย65 2.5 กิจกรรม แผนระดมหุ้นเพิม่ 3 บาท ตค 64 - กย65 2.6 กจิ กรรม แผนกูเ้ งินกองทุนสงเคราะห์ 1,500,000.00 บาท ตค 64 - กย65 2.7 กิจกรรม แผนชำระเงินกองทุนสงเคราะห์ บาท ตค 64 - กย65 3. ด้านการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ/์ 5 กลุ่มเกษตรกร 15,000.00 ตค 64 - กย65 กิจกรรม กำกบั ดูแล ตรวจสอบให้เป็นไปตามกฎหมาย 1,500,000.00 1,500,000.00 ไม่ให้เกดิ - ข้อบกพร่อง แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุม่ ส่งเสรมิ สหกรณ์จะแนะนำส่งเสรมิ ให้กลุม่ เกษตรกรดำเนนิ การ: แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดำเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั การดำเนนิ ธุรกจิ 1 แห่ง 1.1 กจิ กรรม .การปล่อยสินเชื่อเงินกู้ 1 แห่ง ตค 64 - กย65 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลักพฒั นาองคก์ ร ตค 64 - กย65 2.1 กจิ กรรม สง่ เสริมรกั ษามาตรฐาน ลงชื่อ นางพรรณี มูลวตั ร เจา้ หน้าที่ผู้รับผิดชอบ เจ้าพนักงานสง่ เสริมสหกรณ์ วนั ท่ี 15 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

78. กลมุ่ เกษตรกรทำนาดินจี่ ประเภท : ทำนา การวเิ คราะหข์ อ้ มูลและบริบทของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ⚫ ขอ้ มลู พนื้ ฐานของกลุ่มเกษตรกร 1) ขอ้ มลู ทั่วไป : จำนวนสมาชิก : 178 ราย จำนวนสมาชิกท่รี ว่ มทำธรุ กจิ : 56 ราย ธุรกิจหลัก : ธุรกจิ สนิ เช่ือ ผลผลติ หลกั : ขา้ ว มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร : อยูร่ ะหว่างการประเมินมาตรฐาน ระดับชน้ั กลมุ่ เกษตรกร : ระดับช้นั 2 ศักยภาพการรวบรวมผลผลติ : เป็นกลุ่มเกษตรกรขนาดเลก็ ไม่มีศักยภาพการรวบรวมผลผลติ การแปรรปู : ไมม่ ี สินคา้ เดน่ : ไม่มี 2) โครงสร้างพนื้ ฐานของกลุ่มเกษตรกร : เปน็ กลุ่มเกษตรกรขนาดเล็กไมม่ ีอปุ กรณ์การตลาด 3) ขอ้ มูลการดำเนินธุรกิจ (ขอ้ มูลย้อนหลงั 3 ปีบัญชลี ่าสุด ) : ปรับตามปีบัญชขี องกลุ่มเกษตรกร หน่วย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กิจสินเช่อื 369,400.00 419,400.00 620,000.00 2. ธรุ กิจรบั ฝากเงนิ 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลิต - - - 4. ธุรกจิ แปรรปู ผลผลติ - - - 5. ธุรกจิ จัดหาสินคา้ มาจำหนา่ ย - - - 6. ธรุ กิจบริการ - - - - - - รวม 369,400.00 419,400.00 620,000.00 4) สถานภาพทางการเงนิ (ขอ้ มูลยอ้ นหลงั 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ )ปรบั ตามปบี ัญชีของกลุ่มเกษตรกร งบแสดงฐานะทางการเงนิ /งบกำไร(ขาดทนุ ) ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรัพย์ :(บาท) 461,382.11 438,809.54 447,318.37 หน้ีสนิ :(บาท) 4,562.00 1,562.00 2 ทนุ ของกลมุ่ เกษตรกร :(บาท) 456,820.11 437,247.54 447316.37 รายได้ :(บาท) 76,772.88 8,278.43 26,132.83 ค่าใช้จา่ ย :(บาท) 30,328.52 7,105.00 25,014.00 กำไร(ขาดทุน)สุทธิ :(บาท) 46,444.36 1,173.43 1,118.83 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

อตั ราส่วนทางการเงินท่สี ำคัญ - อัตราสว่ นหนส้ี ินต่อทนุ (DE Ratio) : (เทา่ ) 0.01 0.00 0.00 - อัตราผลตอบแทนต่อทนุ (ROE) : (%) 10.75 2.78 6.70 - อัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรพั ย์ (ROA) : (%) 5.67 3.04 2.30 - อัตราส่วนทนุ หมนุ เวยี น : (เทา่ ) 40.38 32.08 1.14 - อัตราสว่ นทนุ สำรองต่อสนิ ทรัพย์ : (เทา่ ) 0.73 0.81 0.04 - อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหัก 36.45 10.89 15.90 ค่าใช้จา่ ยดำเนินงาน : (%) - อตั ราสว่ นหน้ีระยะส้ันท่ีชำระไดต้ ามกำหนด : 96.70 98.91 97.80 (%) 5) ข้อสังเกตของผ้สู อบบญั ชี(ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปบี ญั ชลี ่าสุด) -ไม่มขี ้อสังเกตของกลมุ่ เกษตรกร 6) ขอ้ บกพรอ่ งของกลุม่ เกษตรกร (ขอ้ มลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ ) -ไมม่ ขี ้อบกพร่องของกลุ่มเกษตรกร ⚫ ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ของกลุ่มเกษตรกร จากข้อมูลพื้นฐาน และสภาพแวดล้อมของกลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ SWOT Analysis โดย วิเคราะหจ์ ากสภาพแวดล้อมภายใน 4M, 4P’s, วเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก PESTEL และ Five Force Model สำหรบั วิเคราะห์คู่แข่ง มีดงั น้ี จุดแขง็ จดุ อ่อน - ทนุ ท่ไี ดม้ าเปน็ ทนุ ภายในของกลุ่มเกษตรกรเอง - การประชาสมั พนั ธ์ยังไม่ทั่วถึง - คณะกรรมการมคี วามเสยี สละในการบรหิ าร - ทนุ ภายในของกลมุ่ เกษตรกรยงั มีไมเ่ พยี งพอตอ่ การ - สมาชกิ กลุ่มเกษตรกรมอี าชพี การเกษตร มพี ้ืนที่ใน ดำเนนิ ธรุ กิจของกลมุ่ เกษตรกร ทำใหก้ ลมุ่ เกษตรกร การเพาะปลูกมาก ตอ้ งกู้ยมื เงนิ จากแหลง่ เงนิ ทุนภายนอก - สถานที่ในการใหบ้ ริการสะดวก งา่ ยตอ่ การติดต่อ - อปุ กรณ์การผลิต/การตลาด ยงั ไม่เพียงพอตอ่ การ ประสานงาน ขยายธุรกจิ - สมาชิกยังไมม่ คี วามรใู้ นด้านการเกบ็ เกยี่ วผลผลติ ท่ีดี - กรรมการบางรายยังไมเ่ ขา้ ใจในกฎหมาย ข้อบงั คบั และระเบียบของกลุม่ เกษตรกร - สมาชกิ ยงั ขาดวนิ ัยในการชำระหนี้ - สมาชกิ มีหนเ้ี พม่ิ ขน้ึ เกษตรกรสว่ นใหญเ่ ป็นหน้ีหลาย ทาง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

โอกาส อปุ สรรค - มีพืน้ ทีเ่ หมาะแกก่ ารปลกู ขา้ ว และผลิตมคี ณุ ภาพ - ในบางพื้นทรี่ ะบบชลประทานไมค่ รอบคลมุ ทว่ั ถึง - รฐั บาลมนี โยบายชว่ ยเหลือเกษตรกรในด้านการลด - ราคาซอื้ ขาย ผลผลติ ทางการเกษตรตำ่ ตน้ ทนุ การผลิต และชดเชยค่าเกบ็ เกย่ี ว - ต้นทุนการผลิตทางการเกษตร (ขา้ ว) ราคาสูง ชว่ ยใหส้ มาชิกกลมุ่ เกษตรกรและเกษตรกรมี -สภาวะเศรษฐกจิ ไม่ดี เนอื่ งจากไดร้ ับผลกระทบจาก คา่ ใชจ้ า่ ยในการผลติ ลดลง การแพรร่ ะบาดของเช้อื โรคโควิค19 - รัฐบาลมีนโยบายสนบั สนนุ สถาบันเกษตรกร โดย การใหส้ ินเชอื่ อัตราดอกเบยี้ ตำ่ เพ่อื รวบรวมผลผลติ (ข้าว) ของเกษตรกรในพนื้ ที่ ผา่ น ธกส. - กลุ่มเกษตรกรไดร้ บั การยกเว้นภาษีอากรเรอ่ื งการ ทำนติ ิกรรม และการดำเนนิ ธรุ กิจ - กฎหมายสหกรณช์ ่วยให้กลมุ่ เกษตรกรดำเนนิ ธุรกจิ ได้กวา้ งขวาง และโปรง่ ใสมากข้ึน แผนการแนะนำสง่ เสริม พฒั นา และกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร จากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของกลมุ่ เกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริมพัฒนาและ กำกับดูแลกลมุ่ เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1) ระดับชน้ั กล่มุ เกษตรกร :  รกั ษาระดับกลมุ่ เกษตรกรช้ัน 1 และชั้น 2  ยกระดับกลมุ่ เกษตรกรชั้น 2 และ ชัน้ 3 ส่ชู ้ันท่ีดขี ึน้ 2) มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร/กลมุ่ เกษตรกร:  รกั ษามาตรฐานกลมุ่ เกษตรกรใหอ้ ยใู่ นระดับดีขนึ้ ไป  ผลกั ดันกลุ่มเกษตรกรให้ผา่ นมาตรฐานหรืออยู่ในระดบั ที่ดขี ้ึน 3) อ่นื ๆ 1. ดา้ นการบริหารจัดการทมี่ ธี รรมาภิบาล/การควบคุมภายใน 2. แก้ไขปญั หาการดำเนนิ หยดุ กิจการและการแกไ้ ขปญั หาลกู หนีค้ า้ งของกลมุ่ เกษตรกร 3. อัตราการขยายตัวของปริมาณธรุ กิจเพม่ิ ข้นึ จากปกี อ่ นไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 3 4. การพัฒนาและส่งเสรมิ ศักยภาพเพ่อื สนบั สนนุ การประกอบอาชพี และใหบ้ ริการกบั สมาชกิ 5. การกำกบั ดูแล ตรวจสอบและแกไ้ ขตามแนวทางทก่ี รมกำหนด 6. การตรวจติดตาม/เฝา้ ระวงั และตรวจการท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพเพอ่ื ป้องกันการเกิดข้อบกพรอ่ งและ ป้องกนั การเกิดทจุ ริตทงั้ ในเชงิ นโยบายและปฏิบัติ 7. กำกับดแู ล ตรวจสอบและค้มุ ครองระบบกลมุ่ เกษตรกรดำเนนิ กิจการให้เป็นไปตามข้อบงั คับ ระเบยี บและกฎหมายท่ีเกยี่ วขอ้ ง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

 แผนการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และแกไ้ ขปญั หาของกลมุ่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุม่ ส่งเสรมิ สหกรณ์เป็นผ้ดู ำเนนิ การ: คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาที่ ดำเนินการ แผนงาน/กิจกรรม 12 5 ครั้ง ต.ค.64– ก.ย.65 1. ดา้ นการส่งเสริมและพฒั นาองคก์ ร 12 1.1 กิจกรรม กำกบั แนะนำให้สถาบันเกษตรกรปิดบญั ชี ภายใน 12 ครั้ง เม.ย.65 – ส.ค.65 1 30 วนั นับแต่วันสิ้นปที างบัญชีเพื่อรอรบั การตรวจสอบ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.2 กิจกรรม การประชุมใหญส่ ามัญประจำปี ภายใน 150 วัน 12 12 ครง้ั ต.ค.64– ก.ย.65 (ตามปบี ัญชี) 12 1.3 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสริมกลุ่มเกษตรกร การบรหิ ารจัดการ ครง้ั ส.ค.65 ที่มีธรรมาภิบาล ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.4 กิจกรรม แนะนำ สง่ เสรมิ กล่มุ เกษตรกรมีระดับชั้นคณุ ภาพ ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 การควบคุมภายใน ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.5 กจิ กรรมแนะนำสง่ เสริมการมสี ่วนร่วมของสมาชกิ โดยการ ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 เข้าร่วมประชมุ กลมุ่ สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 1.6 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสรมิ กลุ่มเกษตรกรและสมาชิกกับทุก ภาคสว่ น 1.7 กิจกรรมแนะนำ สง่ เสรมิ การแก้ไขปัญหาลูกหน้คี ้าง 1.8 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสรมิ การรบั สมาชกิ กลุ่มเกษตรกรเพิ่ม 1.9 กจิ กรรมแนะนำ สง่ เสรมิ การรกั ษามาตรฐานกล่มุ เกษตรกร ของกรมสง่ เสริมกลุ่มเกษตรกร 2. ดา้ นการพฒั นาการดำเนินธรุ กิจ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 2.1 กิจกรรม แนะนำ สง่ เสรมิ กลมุ่ เกษตรกรมีอัตราการขยายตวั 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ของปริมาณธุรกจิ เพ่ิมข้ึนจากปีกอ่ นไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 3 2.2 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสรมิ การดำเนินงานตามแผนประจำปี ของกลุ่มเกษตรกร และเพมิ่ ศกั ยภาพในธรุ กิจการจัดหาสินค้ามา จำหน่าย 3. ดา้ นการกำกบั ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบกลุ่ม 12 ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 3.1 กจิ กรรมกำกับดูแล ตรวจสอบและแกไ้ ขตามแนวทางที่กรม 1 ครั้ง พ.ค.65 กำหนด 3.2 กจิ กรรม ตรวจติดตาม/เฝา้ ระวัง และตรวจการทีม่ ี ประสิทธภิ าพเพือ่ ป้องกันการเกดิ ขอ้ บกพร่องและปอ้ งกนั การเกิด ทุจริตท้ังในเชิงนโยบายและปฏบิ ตั ิ 3.3 กจิ กรรมแนะนำ ป้องกันการเกิดข้อบกพร่อง (ตรวจการ กลมุ่ เกษตรกรรายบุคคล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์จะแนะนำสง่ เสริมให้กลุม่ เกษตรกรดำเนินการ: แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดำเนินการ 1. ด้านการสง่ เสริมและพฒั นาองคก์ ร 1.1 กิจกรรมบันทึกบัญชีใหถ้ กู ต้องเปน็ ปัจจบุ ัน และจดั ทำ 12 ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 รายละเอียดตา่ งๆ ประกอบงบการเงนิ 1.2 กิจกรรมจัดประชุมใหญส่ ามญั ประจำปี ภายใน 150 วัน 5 ครั้ง เม.ย.65 – ส.ค.65 (ตามปีบญั ชี) 1.3 กจิ กรรม กลุ่มเกษตรกรปฏบิ ัติตามหลักธรรมาภิบาล 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.4 กจิ กรรม กล่มุ เกษตรกรปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายใน 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.5 กิจกรรม กลมุ่ เกษตรกร/สมาชิกมีสว่ นรวมทุกภาคส่วน 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.6 กจิ กรรม การรับสมาชิกเพ่มิ ระหว่างปี 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.7 กจิ กรรม กลมุ่ เกษตรกรปฏิบตั ิตามเกณฑม์ าตรฐานของกลุม่ 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร 1.8 กจิ กรรมแนะนำ สง่ เสริมการแกไ้ ขปญั หาลูกหนี้คา้ ง 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 2. ด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกจิ 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 2.1 กจิ กรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปขี องกลุ่ม 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร และเพ่ิมศกั ยภาพในธุรกิจเพ่ือให้มอี ัตราการขยายตวั ของ ปริมาณธรุ กจิ เพ่ิมขน้ึ จากปกี ่อนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 3 2.2 กจิ กรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปขี องกลุ่ม เกษตรกร และเพิ่มศักยภาพในธรุ กิจการจัดหาสนิ คา้ มาจำหน่าย 3. ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบกลุ่ม 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 3.1 กจิ กรรม กลุ่มเกษตรกรตดิ ตาม/เฝ้าระวงั และป้องกัน ข้อบกพร่อง 3.2 กิจกรรม กล่มุ เกษตรกรปฏบิ ัติตามระเบยี บ ขอ้ บงั คับ พระราชบัญญตั ิสหกรณ์ พ.ศ.2542 แก้ไขฉบบั ท่ี 3 พ.ศ.2562 ลงชอ่ื พชั รวี รรณ กูลวงค์ เจา้ หน้าทผี่ ้รู บั ผิดชอบ (นางสาวพัชรวี รรณ กลู วงค)์ วนั ท่ี 9 สิงหาคม 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

79. กลมุ่ เกษตรกรทำนาตำบลดอนจาน ประเภท : ทำนา การวิเคราะห์ข้อมูลและบริบทของกลมุ่ เกษตรกร ⚫ ขอ้ มูลพืน้ ฐานของกลมุ่ เกษตรกร 1) ข้อมลู ท่ัวไป : (กล่มุ เกษตรกรหยุดดำเนินธุรกจิ ) จำนวนสมาชกิ : 55 ราย จำนวนสมาชกิ ทร่ี ว่ มทำธุรกจิ : 43 ราย(ในระหว่างปีกลุม่ ไม่ไดจ้ า่ ยเงินกู้เพมิ่ มีแตเ่ กบ็ หนเ้ี กา่ ท่คี า้ ง) ธุรกิจหลัก : สนิ เช่ือ ผลผลิตหลกั : ข้าวเปลอื ก มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร : ไมผ่ ่านเกณฑม์ าตรฐาน 2) โครงสร้างพื้นฐานของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร : ไมม่ อี ุปกรณก์ ารผลติ /การตลาด 3) ข้อมูลการดำเนินธรุ กิจ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีล่าสดุ ) : หน่วย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กิจสินเชื่อ 752,188.00 619,688.00 - 2. ธรุ กจิ รบั ฝากเงนิ - - - 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลิต - - - 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลติ - - - 5. ธรุ กิจจดั หาสนิ ค้ามาจำหน่าย - - - 6. ธุรกิจบริการ - - - - รวม 752,188.00 619,688.00 4) สถานภาพทางการเงนิ (ขอ้ มูลยอ้ นหลัง 3 ปบี ัญชีลา่ สดุ ) ปี 2563 ปี 2564 งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทุน หน่วยนับ ปี 2562 646,470.53 - สินทรพั ย์ บาท 781,900.91 421,739.42 - หน้ีสนิ บาท 530,000.00 224,731.11 - ทุนของกลมุ่ เกษตรกร บาท 251,900.91 -16,719.80 - กำไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 8,292.63 อตั ราส่วนทางการเงนิ ท่ีสำคญั 1.88 - - อตั ราสว่ นหนสี้ นิ ตอ่ ทุน (DE Ratio) เท่า 2.10 -7.02 - - อัตราผลตอบแทนตอ่ ทุน (ROE) รอ้ ยละ 3.27 -2.34 - - อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) ร้อยละ 1.06 1.65 - - อตั ราสว่ นทนุ หมุนเวียน เท่า 1.56 0.17 - - อตั ราสว่ นทนุ สำรองตอ่ สินทรัพย์ เทา่ 0.16 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

หมายเหตุ : กลมุ่ เกษตรกรไมด่ ำเนนิ การจดั ทำงบการเงนิ เนอ่ื งจากหยุดดำเนนิ ธุรกิจและกรมส่งเสริม สหกรณฟ์ อ้ งผิดนดั ชำระหน้ี 5) ขอ้ สงั เกตของผู้สอบบัญชี (ถา้ มี) - ไมม่ ขี ้อสงั เกตผสู้ อบบัญชี 6) ขอ้ บกพรอ่ งของกลมุ่ เกษตรกร (ถา้ ม)ี - ไม่มีขอ้ บกพรอ่ ง ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของกลมุ่ เกษตรกร จากขอ้ มลู พื้นฐาน และสภาพแวดล้อมของกลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะหข์ อ้ มลู ของกลุ่มเกษตรกรได้ ดังนี้ กลุ่มเกษตรกรทำนาตำบลดอนจาน เป็นกลุ่มเกษตรกรประเภททำนา ดำเนินธุรกิจสินเชื่อ โดยกลุ่ม เกษตรกรฯ ประสบภาวะขาดทุนและหยุดดำเนินธุรกิจ อีกทั้งกลุ่มเกษตรกรยังมีเจ้าหนี้เงินกู้ยืมจากกรม สง่ เสริมสหกรณ์ กองทนุ สงเคราะหเ์ กษตรกร โครงการสนบั สนนุ สนิ เชอ่ื เพ่ือใหก้ ลุ่มเกษตรกรเขา้ ถงึ แหลง่ เงินทนุ ในการผลติ และการตลาด สาเหตุมาจากกลมุ่ เกษตรกรฯ ไมส่ ามารถเก็บหน้ีกบั ลกู หนไ้ี ด้ ในปีงบประมาณ 2562 2563 ไม่สามารถประชมุ ใหญ่ได้ คาดวา่ ปี 2564 ในปนี กี้ จ็ ะไมส่ ามารถประชมุ ใหญส่ ามัญประจำปไี ด้ แผนการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดูแลกล่มุ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี 1) ระดับช้นั กลุ่มเกษตรกร :  รักษาระดบั กลมุ่ เกษตรกรชั้น 1 และชั้น 2  ยกระดบั กลมุ่ เกษตรกร ชน้ั 2 และ ช้นั 3 สชู่ ั้นทด่ี ขี ้ึน 2) มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร :  รักษามาตรฐานกล่มุ เกษตรกรให้อยใู่ นระดบั ดขี ้นึ ไป  ผลักดนั กลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยใู่ นระดับทด่ี ีข้ึน  แผนการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนา และแก้ไขปญั หาของกลมุ่ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณเ์ ปน็ ผดู้ ำเนนิ การ : แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนับ ช่วงเวลาที่ ดำเนินการ 1. ดา้ นการสง่ เสริมและพฒั นาองค์กร ไมม่ คี วบคุม - ต.ค. 64-ก.ย.65 1.1 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดบั การควบคมุ ภายในของกลุ่ม ภายใน เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาที่ ดำเนนิ การ 1.2 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดับมาตรฐานของ กลมุ่ เกษตรกร รกั ษา/ผลักดัน - ต.ค. 64-ก.ย.65 2. ด้านการพัฒนาการดำเนนิ ธุรกิจ การมีส่วนร่วมไม่ % ต.ค. 64-ก.ย.65 2.1 กิจกรรม การรักษา/ยกระดับการให้บริการสมาชิกของกล่มุ เกษตรกร น้อยกว่าร้อยละ 2.2 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดบั ประสทิ ธิภาพการดำเนินธุรกิจ 50 ของกลุ่มเกษตรกร มีผลการ 3. ดา้ นการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ดำเนนิ งานไม่ 3.1 กจิ กรรม การแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งของกล่มุ เกษตรกร ขาดทนุ - ต.ค. 64-ก.ย.65 3.2 กจิ กรรม ตรวจการกลุ่มเกษตรกร ไมม่ ีข้อบกพรอ่ ง - ต.ค. 64-ก.ย.65 ต.ค. 64-ก.ย.65 1 ครั้ง แผนงาน/กิจกรรมท่กี ลุม่ ส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนำสง่ เสริมให้กลมุ่ เกษตรกรดำเนนิ การ : แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดำเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 6 ครง้ั พ.ย. 64-มิ.ย.65 1.1 กจิ กรรม แนะนำหลักเกณฑก์ ารจัดมาตรฐานกล่มุ เกษตรกร 6 ครง้ั ต.ค. 64-ก.ย.65 1.2 กจิ กรรม แนะนำกลุม่ เกษตรกรปฏิบัตติ ามระเบียบ ข้อบังคับ 12 ครั้ง ต.ค. 64-ก.ย.65 และราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยกลุ่มเกษตรกร 2 คร้ัง ม.ี ค65-เม.ย 65 8 ครงั้ ต.ค. 64-ก.ย.65 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก ปิดบัญชใี หไ้ ด้ภายใน 30 วัน 1 คร้ัง มิ.ย. 65-ส.ค.65 2.1 กิจกรรม แนะนำ สง่ เสรมิ ช่วยเหลอื ใหก้ ลุ่มเกษตรกรบนั ทึก 6 ครง้ั ต.ค. 64-ก.ย.65 บัญชีให้เปน็ ปจั จุบัน 2.2 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสรมิ ช่วยเหลือ ปดิ บัญชีให้ไดภ้ ายใน 30 วนั 2.3 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริม ตดิ ตามหน้ีกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกร 3. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ประชุมใหญส่ ามัญประจำป/ี กรรมการ 3.1 กจิ กรรม ประชมุ ใหญส่ ามัญประจำปี 3.2 กิจกรรม ประชมุ คระกรรมการดำเนินการ ลงชื่อ สุภาพร สอนการ เจา้ หน้าที่ผูร้ ับผิดชอบ เจา้ พนักงานสง่ เสรมิ สหกรณ์ วันที่ 6 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

80. กล่มุ เกษตรกรทำนาทุง่ คลอง ประเภท : ทำนา การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและบรบิ ทของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ⚫ ข้อมูลพ้ืนฐานของกลุม่ เกษตรกร 1) ขอ้ มลู ทวั่ ไป : จำนวนสมาชิก : 76 ราย จำนวนสมาชกิ ทร่ี ่วมทำธรุ กจิ : 41 ราย ธุรกิจหลัก: ธุรกิจสินเช่ือ ผลผลิตหลกั : ข้าว มาตรฐานกล่มุ เกษตรกร : อยรู่ ะหว่างการประเมินมาตรฐาน ระดับชัน้ กลุ่มเกษตรกร : ระดับชัน้ 2 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลิต : เปน็ กล่มุ เกษตรกรขนาดเลก็ ไมม่ ศี กั ยภาพการรวบรวมผลผลติ การแปรรูป : ไม่มี สนิ ค้าเด่น : ไมม่ ี 2) โครงสรา้ งพนื้ ฐานของกลมุ่ เกษตรกร : เปน็ กลุ่มเกษตรกรขนาดเล็กไมม่ อี ปุ กรณ์การตลาด 3) ข้อมูลการดำเนนิ ธุรกจิ (ข้อมูลยอ้ นหลัง 3 ปบี ัญชลี ่าสดุ ) :ปรับตามปีบญั ชขี องกลุ่มเกษตรกร หน่วย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กิจสินเช่อื 940,000.00 1,079,000 1,086,990.00 2. ธุรกิจรบั ฝากเงนิ 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลิต - - - 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธรุ กจิ จดั หาสินค้ามาจำหนา่ ย - - - 6. ธุรกจิ บรกิ าร - - - - - - รวม 940,000.00 1,079,000 1,086,990.00 4) สถานภาพทางการเงิน (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีล่าสดุ )ปรับตามปบี ญั ชีของกลมุ่ เกษตรกร งบแสดงฐานะทางการเงิน/งบกำไร(ขาดทุน) ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สนิ ทรัพย์ :(บาท) 741,722.86 774,754.82 899,291.06 หน้ีสนิ :(บาท) 71,763.00 51,148.00 51,188.00 ทนุ ของกลมุ่ เกษตรกร :(บาท) 669,959.86 723,606.82 848,103.06 รายได้ :(บาท) 81,481.80 65,248.41 83,123.74 ค่าใชจ้ า่ ย :(บาท) 22,956.54 31,453.45 27,3667.50 กำไร(ขาดทนุ )สุทธิ :(บาท) 58,525.26 33,794.96 55,756.24 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

อัตราสว่ นทางการเงนิ ที่สำคญั - อัตราส่วนหน้ีสนิ ตอ่ ทุน (DE Ratio) : (เท่า) 0.11 0.07 0.4 - อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) : (%) 9.66 7.60 11.90 - อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรพั ย์ (ROA) : (%) 5.67 5.40 6.50 - อัตราส่วนทุนหมุนเวียน : (เทา่ ) 0.38 1.89 3.10 - อัตราสว่ นทุนสำรองตอ่ สินทรัพย์ : (เท่า) 0.40 0.60 0.01 - อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหัก 36.45 42.88 33.40 ค่าใชจ้ ่ายดำเนินงาน : (%) - อัตราสว่ นหนี้ระยะสัน้ ทชี่ ำระได้ตามกำหนด : 96.70 98.91 96.07 (%) 5) ขอ้ สงั เกตของผสู้ อบบญั ชี(ข้อมูลยอ้ นหลงั 3 ปบี ญั ชลี ่าสุด) -ไม่มีข้อสังเกตของกลมุ่ เกษตรกร 6) ขอ้ บกพรอ่ งของกลมุ่ เกษตรกร (ข้อมูลยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สุด) -ไม่มีข้อบกพร่องของกลุ่มเกษตรกร ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลของกลมุ่ เกษตรกร จากข้อมูลพื้นฐาน และสภาพแวดล้อมของกลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ SWOT Analysis โดย วเิ คราะห์จากสภาพแวดลอ้ มภายใน 4M, 4P’s, วิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก PESTEL และ Five Force Model สำหรับวิเคราะห์ค่แู ข่ง มีดังนี้ จุดแข็ง จุดอ่อน - ทุนที่ไดม้ าเปน็ ทุนภายในของกลุ่มเกษตรกรเอง - การประชาสมั พนั ธ์ยงั ไม่ทวั่ ถงึ - คณะกรรมการมีความเสยี สละในการบริหาร - ทนุ ภายในของกลมุ่ เกษตรกรยงั มไี มเ่ พียงพอต่อการ - สมาชกิ กลมุ่ เกษตรกรมีอาชพี การเกษตร มพี ื้นทใ่ี น ดำเนินธุรกจิ ของกลมุ่ เกษตรกร ทำให้กล่มุ เกษตรกร การเพาะปลกู มาก ต้องกยู้ ืมเงินจากแหลง่ เงินทุนภายนอก - สถานท่ีในการใหบ้ ริการสะดวก ง่ายต่อการติดต่อ - อปุ กรณ์การผลิต/การตลาด ยังไม่เพยี งพอต่อการ ประสานงาน ขยายธรุ กจิ - สมาชิกยังไมม่ ีความรูใ้ นดา้ นการเกบ็ เกย่ี วผลผลติ ท่ดี ี - กรรมการบางรายยงั ไมเ่ ขา้ ใจในกฎหมาย ขอ้ บังคบั และระเบียบของกลมุ่ เกษตรกร - สมาชิกยงั ขาดวนิ ัยในการชำระหน้ี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook