การวเิ คราะห์หน้าท่ีทางธรุ กิจในโซอ่ ปุ ทานสนิ ค้าผักปลอดสารและผลไม้ ของสหกรณ์การเกษตรก้าวแสน จำกัด การเกษตรกา้ วส่วนของสมาชกิ ส่วนของผคู้ ้า สว่ นของสหกรณ์ และผบู้ ริโภค ผลผลติ ผกั ปลอดสารพิษและผลไม้ การบรหิ าร การแปรรปู การทำ พอ่ ค้า/ตลาดนดั จดั การ การตลาด ชมุ ชน/รพ. ผกั ปลอดสารพษิ -การเจรจาการขาย การขายสง่ -ปลีก และผลไม้ การปลูกผกั ปลอดสารพิษ ผลลัพธท์ าง การให้ความรูส้ มาชกิ -การประชาสมั พนั ธ์ และผลไม้ การเงิน ทุน เตรยี มการ การวางแผนการผลติ -การขนส่งฟักทอง, ผกั ปลอดสารพิษให้ เก็บผลผลผลิต พ่อคา้ การจำหน่าย การจัดการดิน การกำหนดราคารบั ซ้ือ -การรบั ชำระค่าสนิ คา้ /บรกิ าร นำ้ การรวบรวมผลไม้,ผกั ปลอดสารผพลิษลพั ธ์ทางการเงิน พันธ์ุ การจำหนา่ ยฟักทอง,ผกั ปลอดสารพิษ ทนุ การดูแลรักษา การจำหนา่ ยปัจจัยการผลิต ฟกั ทอง,ผกั ปลอด สารพษิ การใหเ้ งินทุนหมุนเวยี น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำสง่ เสริม พัฒนา และกำกับดแู ลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากการวเิ คราะห์ขอ้ มูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดูแลสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1) ระดับช้นั สหกรณ์ : รักษาระดับสหกรณช์ ัน้ 1 และชนั้ 2 ยกระดับสหกรณช์ ้นั 2 และ ช้ัน 3 สู่ช้นั ทีด่ ีข้นึ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร : รกั ษามาตรฐานสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรใหอ้ ยู่ในระดบั ดีขนึ้ ไป ผลกั ดนั สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออย่ใู นระดบั ที่ดขี นึ้ 3) ส่งเสริมการดำรงสนิ ทรัพยส์ ภาพคลอ่ ง : รกั ษาสภาพคลอ่ งทางการเงิน 4) ดำเนนิ การตามแนวทางการกำกับ ดแู ล และค้มุ ครองระบบสหกรณ์ 5) ส่งเสรมิ สหกรณป์ รมิ าณธรุ กิจเพมิ่ ข้นึ 6) สง่ เสรมิ และสนบั สนุนสหกรณ์ใหม้ ที ุนดำเนินงานเพมิ่ ขนึ้ 7) ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการบริหารจัดการองคก์ รที่ดีตามหลกั ธรรมาภิบาล 8) สง่ เสรมิ สมาชกิ มสี ่วนรว่ มในการทำธรุ กิจเพิม่ ขน้ึ 9) ส่งเสริมสหกรณ์ดำเนนิ งานไมข่ าดทุน 10) สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร แผนการแนะนำส่งเสริม พฒั นา และแกไ้ ขปญั หาของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมที่กล่มุ ส่งเสริมสหกรณ์เปน็ ผ้ดู ำเนินการ : ค่า หนว่ ย ชว่ งเวลาที่ เป้าหมาย นับ ดำเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม 1 แห่ง ต.ค. 64- ก.ย.65 1. ด้านการสง่ เสริมและพฒั นาองค์กร 1 แห่ง ต.ค. 64- ก.ย.65 1.1 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดับการควบคมุ ภายในของสหกรณ์ 1.2 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดบั มาตรฐานของสหกรณ/์ 4 ครัง้ ต.ค. 64- ก.ย.65 4 ครั้ง ต.ค. 64- ก.ย.65 กลมุ่ เกษตรกร 4 ครงั้ ต.ค. 64- ก.ย.65 1.3 กิจกรรม การรกั ษาช้ัน 1 และ ชน้ั 2 1 ครัง้ ต.ค. 64- ก.ย.65 1.4 กจิ กรรมส่งเสริมการดำรงสินทรพั ย์สภาพคล่อง 4 คร้ัง ต.ค. 64- ก.ย.65 1.5 กจิ กรรมส่งเสริม และสนับสนุนสหกรณ์ให้มที นุ ภายในเพ่ิมข้ึน 1.6 กิจกรรมการพฒั นาศักยภาพของบคุ ลากร 1 คร้ัง ต.ค. 64- ก.ย.65 1.7 กิจกรรมแนะนำคณะกรรมการดำเนินการบรหิ ารจัดองคก์ รตามหลักธรร 1 แห่ง ต.ค. 64- ก.ย.65 มาภบิ าล 1.8 สง่ เสริม แนะนำการดำเนนิ งานตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. ด้านการพัฒนาการดำเนินธรุ กจิ 2.1 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดับการให้บริการสมาชกิ ของสหกรณ/์ กลุ่ม เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กิจกรรม คา่ หน่วย ช่วงเวลาท่ี เป้าหมาย นบั ดำเนินการ 2.2 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดบั ประสทิ ธภิ าพการดำเนินธรุ กิจของ 1 แหง่ ต.ค. 64- ก.ย.65 สหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร 2.3 กิจกรรมส่งเสรมิ ปรมิ าณธุรกจิ เพ่ิมขนึ้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 เทียบกับปีท่ี 6 ครงั้ ต.ค. 64- ก.ย.65 แล้ว 2.4 กิจกรรมสง่ เสริมสมาชิกมีส่วนรว่ มในการทำธรุ กจิ เพิ่มขึ้น 4 ครัง้ ต.ค. 64- ก.ย.65 2.5 กจิ กรรมสง่ เสรมิ การดำเนินงานสหกรณ์ไมข่ าดทุน 4 คร้งั ต.ค. 64- ก.ย.65 2.6 กิจกรรมส่งเสรมิ การดำเนินธรุ กิจผลผลติ 4 ครั้ง ต.ค. 64- ก.ย.65 -แนะนำการวเิ คราะหห์ น้าที่ทางธรุ กิจในโซ่อปุ ทานสินคา้ ฟักทองและผกั ปลอด สาร -แนะนำให้สหกรณ์ฯใหเ้ ป็นศนู ย์กลางในการบริหารจัดการผลผลติ และ การตลาดของสมาชิก 3. ด้านการกำกบั ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 3.1 กิจกรรม การแกไ้ ขขอ้ สงั เกตของสหกรณ์ 6 ครั้ง ต.ค. 64- ก.ย.65 3.2 กจิ กรรม แนะนำ ใหส้ หกรณป์ ฏบิ ัตติ ามพระราชบัญญตั ิสหกรณ์ 6 ครงั้ ต.ค. 64- ก.ย.65 ขอ้ บังคับสหกรณ์ และระเบียนสหกรณ์ ตลอดจนมติทปี่ ระชมุ คณะกรรมการ ดำเนินการ 3.3 กิจกรรมแนะนำการควบคุมภายในสหกรณ์ 4 คร้งั ต.ค. 64- ก.ย.65 3.4 กิจกรรมตรวจการสหกรณ์ 1 ครั้ง ต.ค. 64- ก.ย.65 แผนงาน/กจิ กรรมที่กล่มุ สง่ เสรมิ สหกรณ์จะแนะนำสง่ เสริมให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดำเนนิ การ : แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนินการ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลักด้านการส่งเสริมและพฒั นาองคก์ ร 1.1 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดับการควบคมุ ภายในของสหกรณ์ 1 แหง่ ต.ค. 64- ก.ย.65 1.2 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดบั มาตรฐานของสหกรณ/์ 1 แหง่ ต.ค. 64- ก.ย.65 กลุ่มเกษตรกร 1.3 กจิ กรรม การรักษาช้ัน 1 และ ชน้ั 2 4 ครง้ั ต.ค. 64- ก.ย.65 1.4 กิจกรรมสง่ เสริมการดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง 4 คร้ัง ต.ค. 64- ก.ย.65 1.5 กิจกรรมส่งเสริม และสนบั สนนุ สหกรณ์ให้มที นุ ภายในเพิม่ ขึ้น 4 ครงั้ ต.ค. 64- ก.ย.65 1.6 กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพของบคุ ลากร 1 ครั้ง ต.ค. 64- ก.ย.65 -การแนะนำการเขา้ รับอบรมพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร - การสง่ เสริม แนะนำเร่อื งระบบสหกรณ์ อุดมการณ์ วิธีการ และหลักการสหกรณ์ รวมถึงบทบาทหนา้ ทแ่ี กส่ มาชกิ และกรรมการ 1.7 กิจกรรมแนะนำคณะกรรมการดำเนินการบรหิ ารจดั องค์กร 4 ครั้ง ต.ค. 64- ก.ย.65 ตามหลักธรรมาภบิ าล 1.8 ส่งเสริม แนะนำการดำเนินงานตามแนวทางปรัชญาของ 1 คร้ัง ต.ค. 64- ก.ย.65 เศรษฐกจิ พอเพยี ง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนับ ช่วงเวลาท่ี ดำเนินการ 2. แผนงาน/กิจกรรมหลักด้านการพฒั นาการดำเนนิ ธุรกิจ 2.1 กิจกรรม การรักษา/ยกระดบั การใหบ้ ริการสมาชกิ ของ 1 แห่ง ต.ค. 64- ก.ย.65 สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร 1 แหง่ ต.ค. 64- ก.ย.65 2.2 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดับประสทิ ธิภาพการดำเนินธรุ กจิ 6 คร้งั ต.ค. 64- ก.ย.65 ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร 2.3 กิจกรรมส่งเสรมิ ปริมาณธรุ กจิ เพ่ิมขึน้ ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 3 4 ครั้ง ต.ค. 64- ก.ย.65 4 ครั้ง ต.ค. 64- ก.ย.65 เทียบกับปีท่ีแลว้ 4 ครัง้ ต.ค. 64- ก.ย.65 2.4 กิจกรรมส่งเสริมสมาชิกมีสว่ นรว่ มในการทำธุรกิจเพ่ิมขน้ึ 2.5 กิจกรรมส่งเสริมการดำเนนิ งานสหกรณไ์ มข่ าดทุน 6 ครั้ง ต.ค. 64- ก.ย.65 6 ครั้ง ต.ค. 64- ก.ย.65 - การวิเคราะหจ์ ดุ คุ้มทุน,การประเมินความเสีย่ งของธรุ กจิ - การลดตน้ ทุน/คา่ ใช้จ่าย 4 ครง้ั ต.ค. 64- ก.ย.65 2.6 กิจกรรมส่งเสรมิ การดำเนินธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ 1 ครง้ั ต.ค. 64- ก.ย.65 -แนะนำการวิเคราะห์หนา้ ที่ทางธรุ กิจในโซ่อุปทานสนิ ค้า ฟักทองและผักปลอดสาร -แนะนำใหส้ หกรณ์ฯให้เปน็ ศูนยก์ ลางในการบรหิ ารจัดการ ผลผลิตและการตลาดของสมาชิก 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลักด้านการกำกบั ดูแล ตรวจสอบและ คมุ้ ครองระบบสหกรณ์ 3.1 กจิ กรรม การแก้ไขข้อสังเกตของสหกรณ์ 3.2 กิจกรรม แนะนำ ให้สหกรณ์ปฏบิ ัตติ ามพระราชบัญญัติ สหกรณ์ ขอ้ บังคบั สหกรณ์ และระเบียนสหกรณ์ ตลอดจนมติท่ี ประชมุ คณะกรรมการดำเนินการ 3.3 กิจกรรมแนะนำการควบคุมภายในสหกรณ์ 3.4 กิจกรรมตรวจการสหกรณ์ ลงชื่อ ส.ต.ต.หญิงศภุ างค์ วันชเู พลา เจ้าหนา้ ทผี่ รู้ ับผิดชอบ นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ วันท่ี 5 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
7. สหกรณ์การเกษตรกฉุ นิ ารายณ์ จำกดั ประเภท : การเกษตร การวิเคราะหข์ อ้ มลู และบริบทของสหกรณ์ 1) ข้อมูลทั่วไป : สำนกั งานต้ังอยเู่ ลขท่ี 94 หมทู่ ี่ 15 ถนนสมเดจ็ – มุกดาหาร ตำบลบวั ขาว จังหวัดกาฬสินธ์ุ โทรศัพท์ 043-851439 โทรสาร 043-851439 จดทะเบยี นวันที่ 20 เมษายน 2519 ปีบัญชี 30 มิถนุ ายน ของทุกปี จำนวนสมาชกิ : 3,477 ราย จำนวนสมาชิกทรี่ ่วมทำธรุ กิจ : 1,749 ราย ธรุ กจิ หลกั /ผลผลติ หลัก : ธรุ กิจสินเช่อื /ธรุ กจิ จัดหาสินคา้ มาจำหนา่ ย/ธรุ กจิ รวบรวมผลติ ผลและรับ ฝากเงิน มาตรฐานสหกรณ์ : ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ระดบั ดมี าก ระดบั ชน้ั สหกรณ์ : ระดับชนั้ 2 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลติ : สหกรณม์ ีศักยภาพในการรวบรวมผลผลิต มลู ค่า 11,558,130.00บาท การแปรรปู : ไมม่ ี ผลติ ภณั ฑเ์ ดน่ ฯลฯ : ไม่มี 2) โครงสร้างพ้นื ฐานของสหกรณ์ : ที่ อุปกรณ์การผลิต/ตลาด จำนวน หมายเหตุ 1 ฉาง 500 ตนั 1 ฉาง งบเงินอุดหนุนกรมสง่ เสริมสหกรณ์ 2 เครื่องช่งั 40 ตัน 1 เคร่ือง งบอุดหนนุ กรมส่งเสริมสหกรณ์ 3 ลานตาก 250 ตร.วา 1 ลาน งบอดุ หนนุ กรมส่งเสริมสหกรณ์ 4 รถตักขนาด 80 แรง 1 คนั งบสหกรณ์ 5 รถบรรทุก ขนาด 1 ตัน 1 คัน งบสหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
3) ขอ้ มลู การดำเนนิ ธุรกจิ ของสหกรณ์ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสดุ ) : ปรับตามปีบญั ชขี องสหกรณ์ หนว่ ย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 1. ธุรกิจสนิ เชื่อ 150,830,400 160,140,800.00 132,430,487.00 2. ธรุ กิจรบั ฝากเงนิ 24,301,353 21,615,734.51 23,591,675.51 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ 11,009,904 11,558,130.00 11,201,914.00 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลิต 5. ธรุ กจิ จัดหาสินค้ามาจำหน่าย 0.00 0.00 0.00 6. ธรุ กจิ บรกิ าร 614,080 403,620.00 458,000.00 261,900 324,000.00 296,042.00 รวม 187,017,637.00 194,042,284.51 167,978,118.51 4) สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ (ขอ้ มลู ย้อนหลงั 3 ปบี ัญชลี า่ สุด) ปรบั ตามปบี ญั ชีของสหกรณ์ หนว่ ย : บาท งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทุน ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 สินทรพั ย์ 312,464,133 321,830,003.41 322,335,521.54 หน้ีสิน 328,598,338 335,344,858.03 334,917,972.71 ทนุ ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร (16,134,204) (13,514,854.67) (12,582,451.17) กำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ (1,766,273) 412,964.53 412,964.53 อตั ราส่วนทางการเงินที่สำคญั - อัตราสว่ นหน้ีสนิ ตอ่ ทุน (DE Ratio) - อัตราผลตอบแทนตอ่ ทุน (ROE) - อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) - อัตราสว่ นทนุ หมนุ เวียน 0.93 0.94 0.95 - อัตราสว่ นทุนสำรองต่อสนิ ทรัพย์ 5) ข้อสงั เกตของผสู้ อบบญั ชี (ข้อมลู ย้อนหลงั 3 ปบี ญั ชลี า่ สุด) ด้านการดำเนินธุรกิจ ธุรกิจสินเชือ่ สหกรณ์มีลูกหนีผ้ ิดนัดชำระ จำนวน 132,668,847.00 บาท หรือร้อยละ 43.55 ของ ลูกหนี้ถึงกำหนดชำระ อีกทั้งมีดอกเบี้ยเงินกู้ค้างรับและรายได้ค่าปรับค้างรับเป็นจำนวนมาก เนื่ องจากขาด ประสิทธภิ าพในการตดิ ตามเร่งรัดหนี้ การรบั ฝากเงิน สหกรณม์ ีการรับฝากเงนิ จากบคุ คลภายนอก 508 บัญชี เป็นเงนิ 30,117,593.72 บาท 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สุด) 1. ปฏเิ สธหนี้ มลู คา่ 17,214,229 บาท คงเหลือ 7,833,648 บาท 2. ลกู หนี้ลูกหนีป้ ฏิเสธหนี้ชดุ ท่ี 2 มลู คา่ ความเสียหาย 56,988,336 บาท ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
การวเิ คราะห์ SWOT Analysis จดุ แขง็ (S) จุดออ่ น(W) S1ผู้นำมีความเข้มแขง็ W1หนีส้ ินรายเดิมไมส่ ามารถชำระหนี้ได้ S2มสี มาชกิ จำนวนกระจายอยทู่ กุ ตำบล W2ดอกเบ้ียเงนิ ฝากสงู กวา่ ธนาคารมาก S3สหกรณม์ คี วามพรอ้ มที่จะดำเนินการรวบรวม W3สมาชิกขาดความรทู้ างวชิ าการด้านการเกษตร ผลผลิตทางการเกษตรจากสมาชิกและเกษตรกร แผนใหมเ่ พื่อการพฒั นา เชน่ มตี ลาดกลาง ฉาง ลานตาก เคร่ือง W4สหกรณไ์ ม่มีตลาดรองรบั ในการจำหน่ายสนิ คา้ ที่ ชงั่ และรถตัก รวบรวม มแี ตพ่ ่อค้าคนกลาง คูแ่ ขง่ ขนั ทางการค้ามี S4สหกรณม์ ีทรพั ย์สินทไ่ี ม่มีตน้ ทุน (อปุ กรณ์ มาก ราคาผลผลิตตกต่ำ การตลาด)ไดม้ าจากเงนิ อุดหนนุ W5สมาชกิ ส่วนใหญ่เปน็ ผสู้ งู อายุ W6สมาชิกขาดความเชื่อม่ันในสหกรณ์ โอกาส(O) อุปสรรค(T) O1รฐั บาลใหก้ ารสนบั สนนุ การรวมกลมุ่ โดยเฉพาะ T1ภยั ธรรมชาติ (ฝนแล้ง นำ้ ท่วม พายุ ฯ) การรวมกนั เปน็ สหกรณ์ T2มพี ่อค้าคนกลางในพ้ืนที่เข้าถงึ แหลง่ ชมุ ชน O2สมาชกิ ของสหกรณ์ได้รบั การยกเว้น ภาษีดอกเบย้ี T3มีสถาบนั การเงนิ เปน็ คู่แขง็ ภายในหมบู่ า้ น เงินฝากออมทรพั ย์ T4วาระการดำรงตำแหนง่ ของกรรมการดำเนนิ การ O3ระเบยี บท่อี อกโดยนายทะเบยี นสหกรณถ์ ือเปน็ ส่งผลกระทบตอ่ การได้มาซงึ่ กรรมการทม่ี ีศักยภาพ กรอบแนวทางในการดำเนนิ งานของ และความพรอ้ ม สหกรณ์ได้ T5ค่าครองชพี สงู ส่งผลใหส้ มาชกิ มีคา่ ใช้จ่ายเพมิ่ ขึน้ ทาให้เกดิ การผิดนัดชาระหน้ี T6สถานการณร์ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (covid 19) ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของสหกรณ์ สหกรณด์ ำเนนิ ธรุ กิจ 5 ดา้ น มีมลู ค่าร่วมทงั้ ส้ิน 168,307,912.51 บาท เฉลี่ยเดอื นละ 14,025,659.38 บาท มีอัตราการเตบิ โตของธรุ กจิ เพ่ิมข้นึ รอ้ ยละ 7.73 โดยใหเ้ งนิ กู้แกส่ มาชิกมากที่สุด รองลงมาเป็นเงนิ รบั ฝาก การบรหิ ารธุรกจิ แตล่ ะด้าน สรปุ ไดด้ งั นี้ 1. ธุรกจิ สินเช่อื ระหว่างปีจา่ ยเงินกใู้ หส้ มาชกิ 132,430,487 บาท ระหวา่ งปีไดร้ บั ชำระคนื 172,440,138 บาท แยกเป็นหน้ีที่ชำระได้ก่อนกำหนด 470,257 บาท และชำระได้ตามกำหนด จำนวน 171,969,881 บาท หรือร้อยละ 56.45 ของหนี้ที่ถึงกำหนดชำระ ผลการดำเนินงานมีกำไรเฉพาะธุรกิจ 55,290,251.42 บาท 2. ธุรกิจจัดหาสินคา้ มาจำหน่าย ระหวา่ งปีจดั หาสินค้ามาจำหน่าย 403,620.00 บาท จำหนา่ ย ใหส้ มาชิกจำนวน 156 รายผลการดำเนนิ งานมีกำไรเฉพาะธรุ กิจ 234,873.00 บาท 3. ธรุ กิจรวบรวมผลิตผล ระหว่างปีสหกรณร์ วบรวมผลติ ผลทั้งสิ้น 11,558,130.00 บาท ผลการ ดำเนนิ งานมีกำไรเฉพาะธรุ กจิ 91,955.00 บาท 4. การรบั ฝากเงนิ ระหว่างปสี หกรณร์ บั ฝากเงินประเภทออมทรพั ย์ เงนิ ออมทรัพย์สัจจะและออม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
ทรัพย์พเิ ศษทง้ั สิน้ 23,591,675.51 บาท วนั สิน้ ปมี เี งินฝากคงเหลอื 1,359 บญั ชี เป็นเงนิ 38,358,990.45 บาท 5. ธุรกิจบริการ ระหว่างปีสหกรณ์ใหบ้ รกิ ารเช่าสถานีวิทยุ มลู ค่า 324,000.00 บาท ผลการ ดำเนนิ งานมีกำไรเฉพาะธุรกจิ 296,042.00 บาท แผนการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และกำกบั ดแู ลสหกรณ์ จากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของสหกรณ์ สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำสง่ เสรมิ พัฒนา และ กำกบั ดูแลสหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั นี้ 1) ระดบั ชน้ั สหกรณ์ : รกั ษาระดบั สหกรณช์ ัน้ 1 และช้ัน 2 ยกระดบั สหกรณช์ ้ัน 2 และ ชั้น 3 ส่ชู ั้นทด่ี ขี ึ้น 2) มาตรฐานสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร : รักษามาตรฐานสหกรณใ์ ห้อยูใ่ นระดบั ดีขน้ึ ไป ผลกั ดนั สหกรณใ์ หผ้ ่านมาตรฐานหรอื อยใู่ นระดับทด่ี ีขึ้น 3) อืน่ ๆ 3.1.ด้านการบรหิ ารจัดการทม่ี ธี รรมาภิบาล/การควบคมุ ภายใน 3.2.ดา้ นการพฒั นาการดำเนนิ ธุรกจิ 3.3.ดา้ นการกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์ 3.4.สง่ เสรมิ การประชุมกลุม่ สมาชิก 3.5.ส่งเสริมและสนบั สนนุ การแกไ้ ขปญั หาหนีค้ ้างสหกรณ์ 3.6.ส่งเสริมสหกรณป์ ริมาณธรุ กจิ เพ่ิมขน้ึ ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 3 เทียบกับปที ี่แลว้ 3.7.สง่ เสรมิ สหกรณใ์ ชป้ ระโยชน์จากอปุ กรณ์การตลาด 3.8.สง่ เสริมสมาชิกมสี ่วนรว่ มในการทำธุรกจิ เพม่ิ ขนึ้ 3.9.สง่ เสริมสหกรณ์ดำเนนิ งานไม่ขาดทนุ 3.10สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร แผนการแนะนำสง่ เสรมิ พฒั นา และแก้ไขปญั หาของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์เปน็ ผ้ดู ำเนนิ การ: แผนงาน/กจิ กรรม ค่า หนว่ ยนบั ช่วงเวลาท่ี เปา้ หมาย ดำเนนิ การ 1. ด้านการส่งเสรมิ และพัฒนาองคก์ ร 1.1 กิจกรรม การรักษา/ยกระดับการควบคมุ ภายในของสหกรณ์ 12 ครั้ง ต.ค.64-ก.ย.65 1.2 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดบั มาตรฐานของสหกรณ์ 12 ครั้ง ต.ค.64-ก.ย.65 2. ระดบั ชั้นสหกรณ์ รักษาชน้ั 1 และ ช้ัน 2 ยกระดบั สหกรณ์ ชนั้ 2 และ ชนั้ 3 ส่ชู ั้นที่ดขี ึ้น 2.1 กจิ กรรม สร้างแผนความเข้มแขง็ ของสหกรณ์ 4 คร้งั ต.ค.64-ก.ย.65 3. ด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกจิ 4 ครัง้ ต.ค.64-ก.ย.65 3.1 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดับการให้บริการสมาชิกของสหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กิจกรรม คา่ หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาที่ เป้าหมาย ดำเนินการ ต.ค.64-ก.ย.65 3.2 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดบั ประสทิ ธิภาพการดำเนินธุรกิจของ 4 คร้งั ต.ค.64-ก.พ.65 สหกรณ์ ต.ค.64-ก.ย.65 4. ดา้ นการกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร 4.1 กิจกรรม การตรวจการสหกรณ์ 1 ครั้ง 4.2 กจิ กรรมการแก้ไขข้อสังเกตสหกรณ์ 4 ครง้ั แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุม่ สง่ เสรมิ สหกรณ์จะแนะนำสง่ เสรมิ ให้สหกรณด์ ำเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ หน่วย ชว่ งเวลาที่ เป้าหมาย นบั ดำเนินการ 1. การส่งเสริมการประชุมกลมุ่ สมาชกิ 1.1 กจิ กรรมเข้าร่วมประชุมกลมุ่ สมาชิกสหกรณ์ 114 กล่มุ ต.ค.64-ก.ย.65 2. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการแกไ้ ขปญั หาหน้ีค้างสหกรณ์ 2.1 กิจกรรมการแนะนำการจัดทำแผนและแกไ้ ขปญั หาลกู หนีค้ ้างชำระ 4 ครง้ั ต.ค.64-ก.ย.65 3. สง่ เสริมสหกรณป์ ริมาณธุรกจิ เพมิ่ ขึ้นไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 3 เทยี บกับปที ่ีแล้ว 3.1 กิจกรรมแนะนำชแ้ี จงการรวบรวมผลผลิตจากสมาชกิ 4 ครั้ง ต.ค.64-ก.ย.65 3.2 กิจกรรมแนะนำชี้แจงการจัดหาสนิ คา้ มาจำหน่าย 4 ครั้ง ต.ค.64-ก.ย.65 4. ส่งเสริมสหกรณ์ใชป้ ระโยชนจ์ ากอุปกรณ์การตลาด 4.1 กจิ กรรมแนะนำชี้แจงการจดั ทำแผนการใชป้ ระโยชน์จากอุปกรณก์ ารตลาด 4 ครง้ั ต.ค.64-ก.ย.65 5. สง่ เสริมและสนับสนนุ สหกรณ์ใหม้ ีทุนดำเนนิ งานเพ่ิมขน้ึ 5.1 กจิ กรรมแนะนำชี้แจงการระดมทนุ ภายในสหกรณ์ 4 ครง้ั ต.ค.64-ก.ย.65 6. สง่ เสริมสมาชิกมีส่วนรว่ มในการทำธุรกจิ เพ่ิมขึ้น 6.1 กิจกรรมแนะนำช้ีแจงการออมทรัพยข์ องสมาชิก 4 ครั้ง ต.ค.64-ก.ย.65 7. ส่งเสรมิ สหกรณ์ดำเนินงานไมข่ าดทนุ 7.1 กจิ กรรมแนะนำชี้แจงการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน 4 คร้งั ต.ค.64-ก.ย.65 7.2 กจิ กรรมแนะนำชแี้ จงประเมินความเสยี่ งธรุ กิจ 4 ครั้ง ต.ค.64-ก.ย.65 8. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการพัฒนาศักยภาพบุคลากร 8.1 กจิ กรรมแนะนำชีแ้ จงการจดั ทำแผนการบรหิ ารงานบคุ คล 2 ครง้ั ต.ค.64-ก.ย.65 8.2 กิจกรรมแนะนำช้แี จงการสับเปลยี่ นหมนุ เวียนการปฏิบัติงานเจ้าหนา้ ที่สหกรณ์ 2 คร้งั ต.ค.64-ก.ย.65 ลงช่ือ นายรณฉตั ร เครือวรรณ เจ้าหน้าทผ่ี ู้รบั ผิดชอบ เจา้ พนักงานสง่ เสรมิ สหกรณอ์ าวโุ ส วนั ท่ี 15 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
8. สหกรณก์ ารเกษตรกุดหวา้ จำกัด ประเภท : การเกษตร การวเิ คราะห์ข้อมลู และบริบทของสหกรณ์ ⚫ ข้อมลู พ้ืนฐานของสหกรณ์ 1) ขอ้ มูลทัว่ ไป : • จำนวนสมาชกิ 295 คน • จำนวนสมาชกิ ทร่ี ว่ มทำธุรกจิ 50 คน (ธรุ กิจรวบรวมผลผลิต) • ผลผลติ หลัก คอื ขา้ ว /ธุรกจิ หลกั ของสหกรณ์ คือ ธรุ กิจสนิ เช่ือ • ระดับมาตรฐานสหกรณ์ ผา่ นมาตรฐาน • ระดบั ช้ันสหกรณ์ (ข้อมลู ณ วนั ที่ 31 มนี าคม 2564) อยู่ในระดับชน้ั 2 2) โครงสรา้ งพนื้ ฐานของสหกรณ์ : ไมม่ ี 3) ข้อมลู การดำเนินธุรกจิ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบญั ชลี า่ สุด ) : หน่วย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กิจสินเช่อื 100,000 0 0 2. ธุรกิจรบั ฝากเงนิ 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลิต - -- 4. ธุรกจิ แปรรปู ผลผลิต 5. ธรุ กจิ จัดหาสนิ คา้ มาจำหน่าย - - 31,009 6. ธรุ กจิ บริการ - -- รวม - -- - -- 100,000 0 31,009 4) สถานภาพทางการเงนิ (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกำไรขาดทนุ หน่วยนับ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สนิ ทรัพย์ บาท 119,258.32 130,389.12 186,504.52 4,725.74 3.65 หนี้สิน บาท 4,806.03 125,663.38 365.37 186,500.87 ทนุ ของสหกรณ์ บาท 114,452.29 865.40 0.04 กำไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 5,428.86 4.74 % - 4.55 % 0.46 อัตราสว่ นทางการเงินทีส่ ำคัญ 24.81 0.46 0.31 - อตั ราส่วนหนสี้ ินตอ่ ทนุ (DE Ratio) เท่า 0.04 - 0.24 - อตั ราผลตอบแทนตอ่ ทนุ (ROE) ร้อยละ 5.19 % - อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรพั ย์ (ROA) ร้อยละ 4.97 % - อัตราส่วนทุนหมุนเวยี น เท่า 23.97 - อตั ราสว่ นทนุ สำรองตอ่ สินทรพั ย์ เทา่ 0.29 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ถ้ามี) สหกรณ์ไม่ได้จัดจ้างเจ้าหน้าที่ การดำเนินงานด้านต่างๆ ในระหว่างปีไม่ปรากฎรายงานผลการ ตรวจสอบที่เป็นลายลกั ษณ์อักษรของผู้ตรวจสอบกิจการ และคณะกรรมการดำเนินการไม่มกี ารติดตามผลการ ปฏิบตั งิ าน สหกรณ์มกี ารถอื เงินสดเกนิ ระเบยี บกำหนดไว้ มที ุนดำเนนิ งานท้ังส้นิ 186,504.52 บาท เพิ่มข้ึน จากปกี อ่ น 56,115.40 บาท สหกรณไ์ ม่มีความเส่ียงดา้ นเงินทุน สินทรพั ยท์ งั้ ส้ิน 186,504.52 บาท อยู่ใน รปู เงินสด และเงินฝากธนาคาร มีอตั ราการเตบิ โตของสินทรัพย์เพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 43.04 นำไปสร้างผลตอบแทน ใหก้ บั สหกรณไ์ ด้ในอัตรารอ้ ยละ 0.55 ควรหาแนวทางในการใช้ประโยชน์จากสนิ ทรัพย์ ที่มีอยู่ให้มากข้ึน และ เกิดผลตอบแทนสงู สดุ ทางกลมุ่ ดำเนินธุรกิจดา้ นเดยี ว โดยรวบรวมข้าวจากสมาชิกเพือ่ จำหน่าย จำนวน 2,398 กิโลกรัม เป็นเงิน 31,009 บาท สมาชิกได้รับการบริการ 50 ราย มีรายได้รวมทั้งสิ้น 33,284.40 บาท และมคี ่าใชจ้ า่ ยรวมท้งั สนิ้ 32,419 บาท กำไรสทุ ธิ จำนวน 865.40 บาท สดั ส่วนปรมิ าณเงินออมเฉลี่ยต่อ สมาชกิ 424.10 บาทต่อคน มีกำไรเฉลย่ี ต่อสมาชกิ 2.93 บาทต่อคน สนิ ทรพั ยห์ มุนเวียนเป็นเงนิ สดและเงิน ฝากธนาคารทั้งจำนวน สภาพคล่องของสหกรณ์จึงขึ้นอยู่กับการบริหารเงินสดและเงินฝากธนาคาร ควรพจิ ารณานำไปใชใ้ นการดำเนนิ ธรุ กิจ เพื่อเอือ้ อำนวยประโยชน์ใหส้ มาชกิ และไมใ่ ห้สญู เสียโอกาสที่จะนำไป ก่อเกิดรายได้ 6) ข้อบกพรอ่ งของสหกรณ์ (ถ้ามี) สหกรณไ์ มม่ ีข้อบกพรอ่ ง ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลของสหกรณ์ 1. ประสทิ ธิภาพในการจัดการองค์กร ประเมนิ ชั้นคุณภาพของการควบคุมภายใน จากสรุปผลระบบ การควบคมุ ภายในของกรมตรวจบัญชสี หกรณ์ ดา้ นประสทิ ธิภาพในการจัดการองคก์ รของสหกรณ์ ตามสรปุ ผลการประเมนิ ชน้ั คณุ ภาพของการควบคมุ ภายใน ของกรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ อยู่ในระดบั ไมม่ กี ารควบคุมภายใน 2. ประสิทธภิ าพของการบริหารงาน ประเมินถงึ การบริหารงานของคณะกรรมการ โดยพิจารณาจาก ข้อบกพรอ่ งในการบรหิ ารงานของสหกรณ์ -ด้านประสิทธภิ าพของการบริหารงาน เป็นการประเมินถึงการบริหารงานของคณะกรรมการ โดย พิจารณาจากขอ้ บกพรอ่ งในการบริหารงานของสหกรณ์ สหกรณก์ ารเกษตรกดุ หวา้ จำกดั ไมม่ ีขอ้ บกพร่อง 3. การประเมนิ เกณฑม์ าตรฐานสหกรณ์ 7 หมวด 136 ขอ้ สรุปผลการผา่ นเกณฑม์ าตรฐานสหกรณ์ ระดบั ดีมาก เกณฑม์ าตรฐานสหกรณ์ ผลการประเมิน (✓) ผา่ น ไมผ่ ่าน ระบสุ าเหตุ 1. ผลการดำเนินงานในรอบสองปีบัญชีย้อนหลัง สหกรณ์มีผลการ ดำเนินงาน ไม่ขาดทุน เว้นแต่ปีใดมีอุบัติภัยหรือภัยธรรมชาติจนเกิด ✓ ความเสยี หายตอ่ สมาชกิ และสหกรณ์โดยรวมให้ตัดปีน้ันออก 2. ในรอบสองปบี ัญชีย้อนหลงั ต้องไม่มีการกระทำอนั ถอื ได้ว่าทุจริตตอ่ ✓ สหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
3. ผลการดำเนินงานในรอบปีสุดท้าย สหกรณต์ ้องจดั ทำงบการเงินแล้ว ✓ เสร็จและส่งใหผ้ สู้ อบบัญชตี รวจสอบแล้วนำเสนอเพ่ืออนมุ ตั ใิ นท่ีประชุม ✓ ใหญ่ของสหกรณภ์ ายในหน่งึ รอ้ ยหา้ สบิ วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี ✓ 4. ผลการดำเนินงานในรอบปสี ดุ ท้าย สหกรณต์ ้องมีสมาชิกไมน่ อ้ ยกว่า รอ้ ยละ 60 ของสมาชกิ ทง้ั หมด มาทำธรุ กจิ กบั สหกรณ์ ✓ 5. ต้องจดั จ้างเจ้าหน้าที่สหกรณ์ปฏิบัตงิ านประจำ รับผดิ ชอบดำเนินการ และธุรกิจของสหกรณ์ หากไม่มีการจัดจ้าง ต้องมีกรรมการดำเนนิ การ ✓ หรอื สมาชกิ ท่ีได้รับมอบหมายให้ปฏิบตั หิ นา้ ทปี่ ระจำ 6.ผลการดำเนนิ งานในรอบสองปยี อ้ นหลังสหกรณต์ ้องมีการจัดสรรกำไร สทุ ธแิ ละจา่ ยเงินทนุ สวสั ดกิ ารสมาชิกหรอื ทนุ สาธารณะประโยชน์อยา่ ง น้อยหนึง่ ครัง้ 7. ผลการดำเนินงานในรอบปบี ญั ชสี ุดทา้ ย สหกรณ์ตอ้ งไมก่ ระทำการอนั เปน็ การ ฝา่ ฝืนกฎหมาย ระเบยี บ หรอื คำสง่ั นายทะเบยี นสหกรณ์ การวิเคราะห์ SWOT Analysis จดุ ออ่ น จุดแขง็ -สมาชกิ ขาดความรทู้ างวิชาการด้านการเกษตรแผน -มที นุ ดำเนินงานเพยี งพอ ใหมเ่ พอื่ การพัฒนา -สมาชกิ อาศัยอยูใ่ นหมบู่ ้านเดยี วกันทำใหง้ า่ ยตอ่ การ -ราคาสนิ คา้ เกษตรของกลมุ่ ฯต้องพงึ พาพอ่ ค้า ประสานงาน -สมาชกิ สว่ นใหญเ่ ป็นผสู้ งู อายุ -คณะกรรมการมีความเสยี สละ -สมาชกิ ยังไมเ่ ขา้ ใจในหลักการ อุดมการณ์ และ วิธกี ารสหกรณ์ หรือบทบาทหนา้ ท่ขี องสมาชิก อุปสรรค โอกาส -ภัยธรรมชาติ (ฝนแล้ง น้ำทว่ ม พายุ ฯ) -รฐั บาลใหก้ ารสนบั สนนุ การรวมกลมุ่ โดยเฉพาะการ -มพี อ่ คา้ คนกลางในพื้นทเ่ี ขา้ ถงึ แหลง่ ชุมชน รวมกันเปน็ สหกรณ์ -มสี ถาบันการเงนิ เปน็ คู่แข็งภายในหม่บู ้าน -การปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ให้การสนบั สนนุ -หน่วยงานทางราชการใหก้ ารสนบั สนนุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำส่งเสริม พฒั นา และกำกบั ดแู ลสหกรณ์ จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์ สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และ กำกบั ดแู ลสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั นี้ 1) ระดับชน้ั สหกรณ์ : รกั ษาระดับสหกรณช์ ั้น 1 และชั้น 2 ยกระดบั สหกรณช์ ัน้ 2 และ ชั้น 3 ส่ชู ้นั ที่ดีข้นึ 2) มาตรฐานสหกรณ์ : รกั ษามาตรฐานสหกรณใ์ หอ้ ยใู่ นระดบั ดขี นึ้ ไป 3) อื่น ๆ เพม่ิ ปริมาณการรวบรวมผลผลิต แนะนำสง่ เสรมิ สมาชกิ มสี ว่ นร่วมในการดำเนนิ ธุรกจิ กบั สหกรณ์เพม่ิ ข้นึ แผนการแนะนำสง่ เสรมิ พฒั นา และแก้ไขปญั หาของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมทกี่ ลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์เปน็ ผู้ดำเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม คา่ หนว่ ยนบั ช่วงเวลาที่ เปา้ หมาย ดำเนินการ ครั้ง 1. ดา้ นการส่งเสริมและพัฒนาองคก์ ร ครั้ง ต.ค.64 - ก.ย.65 ครัง้ ต.ค.64 - ก.ย.65 1.1 กิจกรรม การรักษา/ยกระดับการควบคุมภายในของสหกรณ์ 6 ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย.65 1.2 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดับมาตรฐานของสหกรณ์ 6 แหง่ ต.ค.64 - ก.ย.65 2. ด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ 2.1 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดับการให้บริการสมาชิกของสหกรณ์ 6 2.2 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดบั ประสทิ ธิภาพการดำเนินธรุ กิจของ 6 สหกรณ์ 3. ดา้ นการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร 3.1 กจิ กรรม การแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งของสหกรณ์ - แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์จะแนะนำสง่ เสริมให้สหกรณด์ ำเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาท่ี ดำเนินการ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ดำเนนิ ธุรกิจ เพมิ่ ปริมาณธรุ กจิ 1.1 กิจกรรม การรวบรวมผลผลิตตามแผนการดำเนนิ งานของ สหกรณ์ 6 คร้ัง ต.ค.64 –ม.ิ ย.65 1.2 กจิ กรรม สง่ เสริมการประกอบอาชพี 6 ครง้ั ต.ค.64 –ม.ิ ย.65 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก ระดมทุนภายใน 2.1 กิจกรรม เข้าร่วมประชมุ ตดิ ตามการถือหุ้นเพมิ่ 6 ครัง้ ต.ค.64 –มิ.ย.65 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั พฒั นาองคก์ ร 3.1 กิจกรรม การจัดทำเอกสารรายงานประจำปี บนั ทึกรายงาน 6 ครง้ั ต.ค.64 –มิ.ย.65 3.2 กจิ กรรม การจดั ทำเอกสาร หลักฐานทางบญั ชี 6 คร้ัง ต.ค.64 –มิ.ย.65 ลงช่ือ นางสาวจติ ราภณ สกลุ ซง้ เจ้าหนา้ ที่ผู้รบั ผดิ ชอบ ( นกั วิชาการสหกรณป์ ฏิบัติการ ) วนั ท่ี 15 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
9. สหกรณก์ ารเกษตรแกม้ ลิงหนองเลิงเปลือย จำกดั ประเภท : การเกษตร การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และบรบิ ทของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ⚫ ขอ้ มลู พืน้ ฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มลู ทว่ั ไป : จำนวนสมาชกิ 227 ราย จำนวนสมาชกิ สมทบ 1 ราย จำนวนสมาชกิ ทรี่ ่วมทำธรุ กิจ 200 ราย ธรุ กิจหลกั /ผลผลิตหลัก ธรุ กิจรวบรวม/ ผักปลอดสารพิษ มาตรฐานสหกรณ์ อยูใ่ นระดบั B ระดบั ช้ันสหกรณ์ 3 ศักยภาพการรวบรวมผลผลติ มศี กั ยภาพในการรวบรวมผลติ ผกั ปลอดภยั 2) โครงสรา้ งพืน้ ฐานของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร : สหกรณ์ไมม่ ีอุปกรณ์การผลิต/การตลาด 3) ข้อมูลการดำเนนิ ธุรกิจ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีล่าสุด ) : ปรับตามปีบัญชีของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร หน่วย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กจิ สนิ เช่ือ 0 0 2. ธุรกจิ รบั ฝากเงิน 0 0 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลติ 485,263.31 1,204,452.20 4. ธุรกจิ แปรรูปผลผลติ 0 0 5. ธุรกจิ จดั หาสินคา้ มาจำหน่าย 0 0 6. ธรุ กจิ บริการ 0 0 485,263.31 1,204,452.20 รวม 4) สถานภาพทางการเงนิ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีล่าสดุ ) ปรับตามปบี ญั ชีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร งบแสดงฐานะการเงิน/งบกำไรขาดทนุ หน่วยนบั ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรัพย์ บาท 151,628.01 535,243.10 หนส้ี ิน บาท 0 2,229.00 ทนุ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร บาท 151,268.01 533,014.10 กำไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 93,128.01 396,669.09 อัตราสว่ นทางการเงินทีส่ ำคัญ - อัตราสว่ นหนี้สนิ ต่อทุน (DE Ratio) 0 0.004 - อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) 0.61 116.69 - อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) 0.61 117.83 - อัตราส่วนทุนหมุนเวียน 1.00 240.12 - อตั ราสว่ นทุนสำรองตอ่ สนิ ทรพั ย์ 0.32 0.09 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
5) ข้อสังเกตของผ้สู อบบญั ชี การควบคุมภายใน 1) ผ้ตู รวจสอบกิจการไม่ได้เข้าตรวจสอบกจิ การของสหกรณ์ 2) คณะกรรมการดำเนนิ การของสหกรณ์เปน็ ผ้ดู ำเนนิ การปฏิบตั ิงานด้านต่างๆ เนอื่ งจากไม่ไดจ้ ดั จ้างเจา้ หนา้ ท่ี จงึ มอบให้เหรญั ญิกทำหนา้ ทร่ี ับ-จ่ายและเกบ็ รักษาเงินสด 6) ขอ้ บกพรอ่ งของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร - ไมม่ ี – ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมูลพื้นฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของ สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรได้ ดงั นี้ 1. SWOT (SWOT Analysis) สรปุ ผลการวิเคราะห์ จดุ แขง็ (S) จดุ ออ่ น (W) S1 กรรมการมคี วามรคู้ วามสามารถ W1 สมาชกิ ยังขาดองค์ความรู้ดา้ นวิชาการ เทคนิค S2 สหกรณ์มีที่ตง้ั อยู่ในพนื้ ที่คมนาคมสะดวก ทางการเกษตร ทำใหต้ น้ ทนุ การผลิตสูง W2 ไม่มเี งนิ ทนุ ในการดำเนินธรุ กจิ สนิ เชอ่ื ให้สมาชิก โอกาส (O) อปุ สรรค (T) O1 นโยบายการสนบั สนนุ ปจั จยั การผลติ และเงนิ ทุนใน T1 นโยบายภาครฐั หรือกลไกตลาดไมแ่ นน่ อน การดำเนินธรุ กจิ ดอกเบีย้ ตำ่ จากภาครฐั ราคาพชื ผลทางการเกษตรตกตำ่ สง่ ผลใหส้ มาชิก O2 สมาชิกสหกรณม์ พี ืน้ ทท่ี ำการเกษตรและมแี หลง่ นำ้ ใช้ ขาดทนุ หรือไดก้ ำไรลดลง ไม่เพยี งพอกบั คา่ ใชจ้ ่ายใน ในการเกษตรทเี่ พยี งพอ ครวั เรือนและการชำระหนสี้ หกรณ์ T2 ภยั ธรรมชาติ นำ้ ท่วมผลผลติ ทางการเกษตรของ สมาชกิ หรือ ภัยแล้ง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำสง่ เสรมิ พัฒนา และกำกบั ดแู ลสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร จากการวเิ คราะห์ขอ้ มูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และกำกับดแู ลสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1) ระดบั ชน้ั สหกรณ์ : รกั ษาระดบั สหกรณช์ น้ั 1 และชัน้ 2 ยกระดับสหกรณ์ชั้น 2 และ ชนั้ 3 สชู่ นั้ ท่ีดีขึ้น 2) มาตรฐานสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร : รกั ษามาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดบั ดีขึ้นไป ผลักดนั สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับที่ดีข้นึ 3) อ่นื ๆ - แผนการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมทกี่ ลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์เปน็ ผดู้ ำเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนบั ช่วงเวลาที่ ดำเนินการ 1. ดา้ นการส่งเสรมิ และพฒั นาองค์กร 1 แห่ง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 10 ครง้ั ต.ค. 64 – ก.ย. 65 1.1 กิจกรรม การรักษา/ยกระดับการควบคุมภายในของสหกรณ์ 1.2 กจิ กรรม แนะนำให้สหกรณป์ ฏิบัติตามระเบยี บ ขอ้ บังคับ 1 แห่ง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 กฎหมายและคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ในท่ปี ระชุมคณะกรรมการ ดำเนนิ การ 1 แหง่ ต.ค. 64 – ก.ย. 65 1.3 แนะนำคณะกรรมการดำเนินการบริหารจัดองค์กรตามหลัก 1 แหง่ ต.ค. 64 – ก.ย. 65 ธรรมาภบิ าล 1 แห่ง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ 1 1 แห่ง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 2.1 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดบั การใหบ้ รกิ ารสมาชิกของสหกรณ์ แห่ง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 2.2 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดับประสิทธิภาพการดำเนินธุรกจิ ของ สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 2.3 กจิ กรรมกจิ กรรม เร่งรดั และตดิ ตามการแกไ้ ขปัญหาหน้คี ้าง ในทป่ี ระชุมคณะกรรมการดำเนินการ 3. ดา้ นการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร 3.1 กจิ กรรม การแก้ไขข้อสงั เกตของสหกรณ์ 3.2 กิจกรรม แนะนำ ใหส้ หกรณ์ปฏบิ ตั ติ ามพระราชบญั ญัติ สหกรณ์ ขอ้ บังคับสหกรณ์ และระเบยี นสหกรณ์ ตลอดจนมติที่ ประชมุ คณะกรรมการดำเนินการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์จะแนะนำส่งเสรมิ ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดำเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม คา่ หนว่ ยนับ ชว่ งเวลาท่ี เปา้ หมาย ดำเนินการ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลักการดำเนนิ ธรุ กิจ 1 แห่ง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 1.1 กจิ กรรม การจัดหาสนิ คา้ มาจำหน่าย 1 แห่ง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 1.2 กิจกรรม ประชมุ กลุ่มสมาชกิ สหกรณ์ 1.3 กจิ กรรม อบรมและแปรรปู ผลิตภณั ฑส์ มาชกิ สหกรณ์ 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลักพฒั นาองคก์ ร 10 คร้ัง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 2.1 กจิ กรรมแนะนำ ส่งเสรมิ การควบคุมภายใน 10 ครั้ง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 มธี รรมาภบิ าล ตามโครงการสหกรณ์สขี าว 2.2 กจิ กรรมแนะนำ สง่ เสรมิ การแก้ไขตามขอ้ สังเกตของ ผู้สอบบญั ชี 2.3 กจิ กรรมแนะนำ สง่ เสรมิ การรักษารกั ษามาตรฐาน 10 ครั้ง ต.ค. 63 – ก.ย. 64 และรกั ษาระดับชั้นสหกรณ์ ลงชื่อ นางเพียงพิศ โสภพิ ันธ์ เจ้าหนา้ ท่ีผ้รู บั ผิดชอบ นักวชิ าการสหกรณ์ วนั ที่ 15 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
10. สหกรณก์ ารเกษตรเขาวง จำกดั ประเภท : การเกษตร การวิเคราะห์ข้อมูลและบริบทของสหกรณ์ ⚫ ขอ้ มูลพ้นื ฐานของสหกรณ์ 1) ขอ้ มูลทั่วไป : • จำนวนสมาชกิ 1,232 คน • จำนวนสมาชกิ ทีร่ ว่ มทำธุรกิจ 271 คน • ผลผลิตหลกั คือ ข้าว,ยางพารา ธุรกิจหลกั ของสหกรณ์ คอื ธรุ กิจสินเชื่อ และธุรกิจรวบรวมผลผลติ • ระดับมาตรฐานสหกรณ์ ไม่ผ่านมาตรฐาน เนื่องจากขาดทุนสะสม ตัดค่าเผื่อหนี้สงสยั จะ สญู และ มีขอ้ บกพรอ่ ง • ระดับชนั้ สหกรณ์ (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 31 มีนาคม 2564) อยใู่ นระดบั ช้ัน 2 • ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต • การแปรรูป สหกรณ์มีการแปรรปู ยางเครป แตไ่ มต่ อ่ เนื่อง 2) โครงสร้างพื้นฐานของสหกรณ์ : สหกรณม์ ีอปุ กรณ์การผลติ /การตลาด คือ โกดัง 1 หลัง ลานตาก เครอ่ื งชง่ั ขนาด 30 ตัน เครื่องทำยางเครป 2 เครือ่ ง 3) ขอ้ มลู การดำเนินธุรกจิ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปบี ญั ชลี ่าสดุ ) : หนว่ ย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กจิ สินเชื่อ 13,554,750 11,225,322.90 4,519,300 2. ธุรกิจรบั ฝากเงิน 2,104,173.38 1,080,637.37 505,471 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลิต 19,363,985.55 42,629,605.01 4. ธุรกิจแปรรปู ผลผลติ 7,147,317.95 5. ธรุ กิจจดั หาสนิ ค้ามาจำหน่าย - - - 6. ธุรกจิ บริการ 8,440,213.00 235,490 112,750 รวม 160,069.50 - 237,816.50 43,623191.43 55,171,055.28 12,522,655.45 4) สถานภาพทางการเงิน (ข้อมลู ย้อนหลงั 3 ปีบัญชีล่าสุด) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทนุ หนว่ ยนับ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 สินทรัพย์ บาท 69,620,507 55,808,936 51,475,446.42มลู หน้ีสิน บาท 84,256,373 71,457,182 68,714,986.30 ทุนของสหกรณ์ บาท -14,635,867 -15,648,246 -17,239,539.88 กำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ บาท -13,015,194 -1,663,689 -2,006,298.89 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
อตั ราส่วนทางการเงนิ ที่สำคญั เท่า -5.76 -4.57 3.98 - อตั ราส่วนหน้ีสินตอ่ ทนุ (DE Ratio) ร้อยละ 88.93 % 10.63 % 11.63% - อัตราผลตอบแทนต่อทนุ (ROE) รอ้ ยละ -18.69 % -2.98 % 3.89% - อัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรพั ย์ (ROA) เท่า 0.48 - อัตราส่วนทุนหมุนเวยี น เท่า 0.54 0.48 - อัตราสว่ นทนุ สำรองต่อสินทรพั ย์ -0.15 -0.42 - 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี จากรายงานการตรวจสอบบญั ชี สำหรบั ปีส้ินสุดวนั ท่ี 31 มีนาคม 2563 มขี ้อสังเกตท่ีพบ ธุรกิจสินเชือ่ สหกรณ์มีลกู หนีผ้ ิดนดั ชำระหนี้ จำนวน 17,291,664.41 บาท หรือร้อยละ 60.70 ของหน้ถี ึง กำหนดชำระ และมีดอกเบี้ยเงินให้กู้คา้ งรับและรายได้ค่าปรบั ลูกหนีเ้ งนิ กูค้ ้างรบั เป็นจำนวนมาก การดำเนิน ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย มีผลขาทุนเป็นปีแรก ควรพิจารณาแก้ไขปรับปรุงการดำเนินธุรกิจให้มี ประสทิ ธภิ าพเพม่ิ ข้นึ สหกรณม์ กี ารรบั ฝากเงนิ จากบคุ คลภายนอก จำนวน 3 บญั ชี เปน็ เงิน 785,892.85 บาท ซึ่งไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2542 มาตรา 46(5) และที่แก้ไขเมเติม และตามระเบียบว่าด้วยการรบั ฝากเงินจากสมาชิกสหกรณ์ พ.ศ.2560 ข้อ 4 ท่ีกำหนดใหส้ หกรณร์ บั ฝากเงนิ จากสมาชิกเทา่ น้ัน ทุนดำเนินงาน ของสหกรณไ์ ดส้ ูญไปในการดำเนนิ งานทป่ี ระสบผลขาดทุนตอ่ เน่อื งกันมาหลายปี จนมผี ลขาดทนุ สะสม จำนวน 27,145,791.22 บาท เป็นเหตใุ หม้ ีสว่ นขาดแห่งทุนหรอื มีหนสี้ ินทัง้ ส้นิ สงู กว่าสินทรัพย์ท้ังส้ิน 17,239,539.88 บาท เจ้าหนี้มีความเสี่ยงสูงมากที่จะไม่ได้รับชำระหนี้คืน สหกรณ์ดำเนินธุรกิจ 4 ด้าน มีมูลค่าธุรกิจรวม ทั้งสิ้น 55,171,055.28 บาท เฉลี่ยเดือนละ 4,597,587.94 บาท อัตราการเติบโตของธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 38.13 โดยเป็นการรวบรวมผลิตผลมากที่สดุ รองลงมาเป็นการให้เงนิ กู้แก่สมาชิก สหกรณ์มีรายไดร้ วมทั้งส้นิ จำนวน 48,518,626.33 บาท และมีค่าใช้จ่ายรวมท้ังส้ิน จำนวน 50,524,925.22 บาท ส่งผลให้ขาดทนุ สทุ ธิ 2,006,298.89 บาท สภาพโดยรวมสหกรณ์มอี ัตราค่าใชจ้ ่ายดำเนินงานต่อกำไรกอ่ นหกั ค่าใช้จ่ายสูงถึง 231.65 เท่า ซงึ่ อยใู่ นเกณฑต์ อ้ งปรบั ปรุง เมอื่ เทยี บเคยี งกบั ค่ามาตรฐานทางการเงินของสหกรณ์ ซงึ่ กำหนดให้ อตั ราค่าใชจ้ ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหักค่าใชจ้ า่ ยไม่ควรเกินร้อยละ 45 สดั สว่ นปรมิ าณเงนิ ออมกับหนี้สนิ ของ สมาชกิ ไม่สมดุลกัน คือสมาชิกมีปรมิ าณเงนิ ออมเฉล่ยี เพยี งคนละ 9,858.21 บาท มปี ริมาณหน้ีสินเฉลี่ยถึงคน ละ 35,303.05 บาท ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงกำลังความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกในอนาคต เม่ือ พิจารณาจากอัตราส่วนทุนหมุนเวียน 0.48 เท่า ชี้ให้เห็นว่าสหกรณ์มีสภาพคล่องทางการเงินค่อนข้างน้อย สินทรัพย์หมุนเวยี นส่วนใหญเ่ ปน็ ลูกหนเ้ี งินใหก้ ้ถู งึ รอ้ ยละ 80.27 สามารถชำระหนี้ได้ตามกำหนดเพยี ง ร้อยละ 37.30 ของหนีท้ ี่ถงึ กำหนดชำระ ขาดทุนสะสมทั้งสิ้น 27,145,791.22 บาท จากการคำนวณมูลค่า ณ วันที่ 31 มีนาคม 2563 สหกรณ์มีมูลค่าหุ้นติดลบ 89.32 บาท สหกรณ์จึงไม่สามารถจ่ายคืนค่าหุ้นให้สมาชิกท่ี ลาออกได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
6) ขอ้ บกพร่องของสหกรณ์ กรณี 1 รองนายทะเบียนสหกรณ์มีคำสั่ง ที่ 8/2561 สั่ง วันที่ 24 กรกฎคม 2561 กรณีสหกรณถ์ ูก สหกรณ์นคิ มดอนตาลสอง จำกดั ปฏเิ สธเงินฝาก (ยางพารา) จำนวน 3,709,051.86 บาท ผลการแก้ไข :- เนื่องจากสหกรณ์มีมูลค่าความเสียหายจากกรณีสหกรณ์ถูกสหกรณ์นิคมดอนตาล สอง จำกดั ปฏิเสธเงินฝาก (ยางพารา) 12,089,051,86 บาท โดยสหกรณ์ได้รับเงนิ เยียวยาจาก บริษทั รับเบอร์ แลนด์ โปรดักส์ จำกัด จำนวน 8,380,000.00 บาท ทำให้มูลค่ำความเสียหายคงเหลือ จำนวน 3,709,51.86 บาท และสหกรณ์มีมติที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ชุดที่ 23 ครั้งที่ 10 วันที่ 5 มิ.ย. 2561 ให้ คณะกรรมการดำเนนิ กรชดุ ท่ี 18 และผจู้ ดั การ รวม 14 ราย รับผดิ ชอบและจดั ทำหนงั สือรบั สภาพหน้ี กำหนด ชำระ 5 งวด มีกำหนดชำระงวดภายในวันที่ 31 มี.ค. 2563 อีกทั้ง พบว่า หนังสือรับสภาพหนี้ ยังขาด หลักประกัน - ในส่วนที่สหกรณ์รว่ มเปน็ โจทก์ฟอ้ งกับสำนักงานอยั การสูงสุด ศาลอาญาได้มีคำพิพากษา เม่ือวันที่ 17 มถิ ุนายน 2563 ให้จำเลยท่ี 1 - 5 และ 7 รว่ มกนั คนื หรือใช้เงินใหแ้ ก่สหกรณก์ ารเกษตรเขาวง จำกัด โจทก์ รว่ มที่ 5 เปน็ เงนิ 11,980,981.00 บาท กรณี 2 นายทะเบียนสหกรณ์มีคำสั่ง ที่ 6/2561 ลงวันที่ 7 พฤษภาคม 2561 ให้สหกรณ์แก้ไข ข้อบกพรอ่ ง กรณี สหกรณ์จ่ายคนื คา่ หุน้ ใหแ้ กส่ มาชกิ ลาออก จำนวน 1,748,320.- บาท ในขณะท่ีสหกรณ์มมี ลู คา่ ตอ่ ห้นุ ตดิ ลบ ผลการแกไ้ ข : - นายทะเบยี นสหกรณ์ใช้อำนาจตามมาตรา 17 แหง่ พระราชบญั ญัตสิ หกรณ์ พ.ศ. 2542 - สหกรณ์มีมติที่ประชุมคณะกรมการดำเนินการชุดที่ 24 ครั้งที่ 1 วันที่ 5 กันยายน 2561 ให้นางขวัญธิดา ทองภู ตำแหน่งผจู้ ัดการสหกรณ์ รับผิดชอบความเสยี หายท้งั จำนวน โดยกรจัดทำหนงั สอื รบั สภาพหนี้ กำหนด ชำระ 5 งวด งวดแรกชำระภายในวันท่ี 31 มนี าคม 2563 และขำระใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายใน 31 มีนาคม 2567 งวด ละ 349,664.00 บาท อีกทัง้ พบวา่ หนงั สือรบั สภาพหนี้ ยงั ขาดหลกั ประกัน กรณี 3 กรณีสหกรณ์น้ำเงินไปฝากสหกรณ์กองทุนสวนยางภูจองนาจะหลวย จำกัด โดยไม่คำนึงถึง ความมั่นคงของสหกรณ์รับฝาก เป็นการดำเนินการไม่รอบคอ ไม่ระมัดระวังและประมาทเลินเล่อ จำนวน 6,111,543.40 บาท ปัจจบุ นั ไม่สามารถถอนเงนิ ฝากได้ ผลการแก้ไข : สหกรณ์สมารถถอนเงนิ ฝากจากสหกรณ์กองทนุ สวนยางนาจะหลวย จำกัด เมอื่ วนั ที่ 24 ธันวาคม 2562 จำนวน 20,000.00 บาท มูลค่าความเสียหายคงเหลือ จำนวน 6,091,543.90 บาท โดยการ จัดทำหนังสือรับสภาพหนี้ กรรมการและผูจ้ ัดการ รวม 5 ราย กำหนดชำระ 5 งวด งวดแรกชำระภายในวนั ที่ 31 มีนาคม 2563 และชำระใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายใน 31 มีนาคม 2567 อีกทั้ง พบว่า หนังสือรับสภาพหนี้ ยังขาด หลักประกัน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
⚫ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลของสหกรณ์ 1. ประสทิ ธิภาพในการจดั การองค์กร ประเมินชั้นคณุ ภาพของการควบคมุ ภายใน จากสรปุ ผลระบบ การควบคุมภายในของกรมตรวจบัญชสี หกรณ์ ระดบั คุณภาพของการควบคมุ ภายใน (✓) การประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ไมม่ ีการ ควบคุมภายใน ส่วนท่ี 1 สภาพแวดลอ้ มการควบคุม ✓ สว่ นท่ี 2 ความเสย่ี งและกิจกรรมควบคุม ✓ - ดา้ นการเงิน/การบญั ชี ✓ - ธรุ กิจสนิ เช่ือ ✓ - ธรุ กิจรับฝากเงิน ✓ - ธรุ กิจรวบรวมผลผลิต ✓ - ธรุ กจิ แปรรูปผลผลิต ✓ - ธุรกจิ จัดหาสินค้ามาจำหนา่ ย ✓ - ธุรกจิ บรกิ าร ✓ - เงนิ ลงทุนในหลักทรพั ย์ ✓ - ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ✓ - เจา้ หนีเ้ งนิ กู้ ✓ - สมาชิกและทุนเรือนหุ้น ✓ สว่ นที่ 3 ระบบข้อมลู สารสนเทศและการสื่อสาร ✓ ส่วนท่ี 4 ระบบการติดตามและประเมินผล ✓ สรปุ การประเมินจัดช้ันคุณภาพ ✓ ด้านประสทิ ธภิ าพในการจัดการองค์กรของสหกรณ์ ตามสรปุ ผลการประเมนิ ชน้ั คุณภาพของการควบคมุ ภายใน ของกรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ อยูใ่ นระดบั ดี (ขอ้ มลู ณ ปีบญั ชสี ้นิ สุด 31 มนี าคม 2563) 2. ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารงาน ประเมนิ ถึงการบริหารงานของคณะกรรมการ โดยพจิ ารณาจาก ข้อบกพรอ่ งในการบรหิ ารงานของสหกรณ์ -ด้านประสิทธภิ าพของการบรหิ ารงาน เป็นการประเมินถึงการบริหารงานของคณะกรรมการ โดย พิจารณาจากข้อบกพร่องในการบริหารงานของสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรเขาวง จำกัด มีข้อบกพร่องทาง การเงินและอยรู่ ะหวา่ งดำเนินการแกไ้ ข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
3. การประเมินเกณฑม์ าตรฐานสหกรณ์ 7 หมวด 136 ขอ้ สรุปผลการผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ เกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ ผลการประเมนิ (✓) ผ่าน ไมผ่ า่ น ระบสุ าเหตุ 1. ผลการดำเนินงานในรอบสองปีบัญชีย้อนหลัง สหกรณ์มีผลการ ผลการดำเนนิ งาน ดำเนินงาน ไมข่ าดทุน เว้นแตป่ ีใดมีอุบตั ิภัยหรือภัยธรรมชาติจนเกิดความ ✓ ขาดทุน เสยี หายตอ่ สมาชกิ และสหกรณ์โดยรวมใหต้ ัดปนี ้ันออก 2. ในรอบสองปีบัญชีย้อนหลังต้องไม่มีการกระทำอันถือได้ว่าทุจริตต่อ ✓ สหกรณ์ 3. ผลการดำเนินงานในรอบปีสุดท้าย สหกรณ์ต้องจัดทำงบการเงินแล้ว เสร็จและส่งให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแล้วนำเสนอเพื่ออนุมัติในที่ประชุม ✓ ใหญข่ องสหกรณ์ภายในหนึ่งร้อยห้าสบิ วัน นับแต่วนั สิน้ ปีทางบัญชี 4. ผลการดำเนินงานในรอบปีสุดทา้ ย สหกรณ์ต้องมีสมาชิกไม่นอ้ ยกว่าร้อย ละ 60 ของสมาชิกทง้ั หมด มาทำธุรกจิ กับสหกรณ์ ✓ 5. ต้องจัดจ้างเจ้าหน้าที่สหกรณ์ปฏิบัติงานประจำ รับผิดชอบดำเนินการ และธรุ กจิ ของสหกรณ์ หากไม่มกี ารจัดจ้าง ต้องมกี รรมการดำเนินการหรือ ✓ สมาชิกท่ีได้รับมอบหมายใหป้ ฏิบัตหิ น้าทป่ี ระจำ 6.ผลการดำเนินงานในรอบสองปยี ้อนหลงั สหกรณ์ต้องมกี ารจดั สรรกำไร สทุ ธแิ ละจ่ายเงินทุนสวัสดิการสมาชิกหรอื ทุนสาธารณะประโยชน์อย่างน้อย ✓ หนึง่ ครั้ง 7. ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชีสุดท้าย สหกรณ์ต้องไมก่ ระทำการอนั เปน็ การ ฝา่ ฝืนกฎหมาย ระเบียบ หรือคำส่งั นายทะเบยี นสหกรณ์ ✓ -สหกรณ์มผี ลการประเมินระดบั มาตรฐานสหกรณอ์ ย่ใู นระดบั ไมผ่ ่าน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
การวิเคราะห์ SWOT Analysis จุดแข็ง (S) จดุ อ่อน(W) S1ผูน้ ำมีความเข้มแข็ง W1หนส้ี นิ รายเดมิ ไมส่ ามารถชำระหนไี้ ด้ S2มสี มาชิกจำนวนกระจายอยทู่ กุ ตำบล W2ดอกเบีย้ เงนิ ฝากสงู กว่าธนาคารมาก S3สหกรณม์ ีความพร้อมท่ีจะดำเนินการรวบรวม W3สมาชกิ ขาดความรทู้ างวชิ าการด้านการเกษตร ผลผลิตทางการเกษตรจากสมาชิกและเกษตรกร เช่น แผนใหมเ่ พ่อื การพฒั นา โกดงั ลานตาก เครือ่ งช่งั ขนาด 30 ตัน เครือ่ งทำ W4สหกรณ์ไมม่ ตี ลาดรองรับในการจำหน่ายสนิ ค้าที่ ยางเครป 2 เครอ่ื ง รวบรวม มีแต่พ่อคา้ คนกลาง คแู่ ข่งขันทางการคา้ มี มาก ราคาผลผลติ ตกต่ำ W5สมาชกิ สว่ นใหญเ่ ป็นผสู้ ูงอายุ W6สมาชกิ ขาดความเชื่อมั่นในสหกรณ์ โอกาส(O) อุปสรรค(T) O1รัฐบาลให้การสนบั สนุนการรวมกลมุ่ โดยเฉพาะ T1ภัยธรรมชาติ (ฝนแล้ง น้ำทว่ ม พายุ ฯ) การรวมกนั เปน็ สหกรณ์ T2มพี อ่ ค้าคนกลางในพน้ื ทเ่ี ขา้ ถึงแหลง่ ชุมชน O2สมาชิกของสหกรณ์ไดร้ บั การยกเวน้ ภาษีดอกเบีย้ T3มีสถาบนั การเงินเป็นคแู่ ข็งภายในหมบู่ า้ น เงินฝากออมทรพั ย์ T4วาระการดำรงตำแหน่งของกรรมการดำเนนิ การ O3ระเบียบที่ออกโดยนายทะเบียนสหกรณถ์ ือเปน็ สง่ ผลกระทบต่อการไดม้ าซงึ่ กรรมการทมี่ ีศกั ยภาพ กรอบแนวทางในการดำเนนิ งานของ และความพร้อม สหกรณ์ได้ T5คา่ ครองชีพสงู สง่ ผลใหส้ มาชิกมคี ่าใช้จา่ ยเพมิ่ ขนึ้ ทาให้เกดิ การผดิ นัดชาระหน้ี T6สถานการณ์ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (covid 19) แผนการแนะนำสง่ เสริม พัฒนา และกำกับดแู ลสหกรณ์ จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์ สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และ กำกบั ดูแลสหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1) ระดบั ช้นั สหกรณ์ : รกั ษาระดบั สหกรณช์ ั้น 1 และชัน้ 2 ยกระดับสหกรณช์ นั้ 2 และ ชั้น 3 สชู่ น้ั ทด่ี ขี ึ้น 2) มาตรฐานสหกรณ์ : รกั ษามาตรฐานสหกรณ์ใหอ้ ยใู่ นระดบั ดีข้นึ ไป ผลกั ดนั สหกรณใ์ ห้ผ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดบั ทดี่ ขี ึน้ 3) อ่ืน ๆ เพิม่ ปริมาณการรวบรวมผลผลิต แนะนำสง่ เสรมิ สมาชกิ มสี ว่ นร่วมในการดำเนินธรุ กจิ กบั สหกรณ์ เพม่ิ ข้ึน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำสง่ เสรมิ พฒั นา และแก้ไขปญั หาของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมทกี่ ลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์เป็นผู้ดำเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาท่ี ดำเนนิ การ 1. ดา้ นการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร 6 ครั้ง ต.ค.64 - ก.ย.65 1.1 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดับการควบคุมภายในของสหกรณ์ 6 คร้ัง ต.ค.64 - ก.ย.65 1.2 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดับมาตรฐานของสหกรณ์ 6 ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย.65 6 2. ด้านการพัฒนาการดำเนินธรุ กจิ ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย.65 2.1 กิจกรรม การรักษา/ยกระดบั การใหบ้ ริการสมาชกิ ของ 12 1 ครั้ง ต.ค.64 - ก.ย.65 สหกรณ์ ครง้ั ต.ค.64–เม.ย.65 2.2 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดับประสิทธิภาพการดำเนินธรุ กิจ ของสหกรณ์ 3. ด้านการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 3.1 กจิ กรรม การแกไ้ ขขอ้ บกพร่องของสหกรณ์ 3.2 กจิ กรรม ตรวจการสหกรณ์ แผนงาน/กจิ กรรมที่กล่มุ ส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนำส่งเสรมิ ให้สหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรดำเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนับ ชว่ งเวลาที่ ดำเนินการ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก ดำเนินธุรกิจ เพมิ่ ปริมาณธรุ กจิ 1.1 กิจกรรม การรวบรวมผลผลิต จัดหาสินมาจำหน่าย ตาม แผนการดำเนินงานของสหกรณ์และแผนฟ้ืนฟกู ิจการ 6 ครง้ั ต.ค.64 –ม.ิ ย.65 1.2 กจิ กรรม สง่ เสรมิ การประกอบอาชพี และการมีส่วนรว่ มของ ครั้ง ต.ค.64 –ม.ิ ย.65 สมาชิก 6 2. แผนงาน/กิจกรรมหลัก แกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง 2.1 กิจกรรม ประชุมคณะกรรมการดำเนินการติดตามการแก้ไข ครั้ง ต.ค.64 –มิ.ย.65 ข้อบกพร่อง 6 2.2 กจิ กรรม การรายงานการแก้ไขข้อบกพรอ่ ง 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก พัฒนาองค์กร 3.1 กิจกรรม การจัดทำเอกสาร บันทกึ รายงาน จดั ส่งรายงาน ครั้ง ต.ค.64–มิ.ย.65 ติดตามงาน 6 3.2 กจิ กรรม การแก้ไขปัญหาหนค้ี ้างชำระ 6 ครั้ง ต.ค.64 –มิ.ย.65 ลงชื่อ นางสาวจิตราภณ สกุลซง้ เจา้ หนา้ ที่ผรู้ ับผดิ ชอบ นักวิชาการสหกรณป์ ฏิบัติการ วนั ที่ 15 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
11. สหกรณก์ ารเกษตรคำม่วง จำกดั ประเภท : การเกษตร การวิเคราะหข์ ้อมลู และบรบิ ทของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ⚫ขอ้ มลู พ้นื ฐานของสหกรณ์ 1) ข้อมูลทั่วไป : จำนวนสมาชกิ : 2,865 ราย จำนวนสมาชิกทร่ี ว่ มทำธรุ กจิ : 2,865 ราย ธรุ กิจหลัก: ธุรกจิ สินเช่อื ผลผลติ หลกั : ขา้ ว ยางพารา ปาลม์ มันสำปะหลงั และ พุทรา มาตรฐานสหกรณ์ : อยูร่ ะหว่างการประเมินมาตรฐาน ระดบั ช้นั สหกรณ์ : ระดบั ชน้ั 2 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต : ระดบั ดี การแปรรูป : มันสำปะหลัง (มนั เส้น) 2) โครงสรา้ งพื้นฐานของสหกรณ์ : ท่ี อปุ กรณก์ ารผลิต/ตลาด ขนาด หมายเหตุ 1 ฉาง 500ตนั งบประมาณจากกรมสง่ เสริมสหกรณ์ ปี 2538 2 เครือ่ งช่งั 40 ตัน ปี 2538 3 ลานตาก 3,290ตร.ม. ปี 2538 4 ฉาง 500 ตัน งบประมาณจากกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ งบกลางปี 2560 5 โรงคลุมพรอ้ มเคร่อื งช่ัง 50 ตัน งบประมาณจากกรมสง่ เสริมสหกรณ์ งบกลางปี 2560 6 ลานตาก 1,600 ตร.ม. งบประมาณจากกรมสง่ เสริมสหกรณ์ งบกลางปี 2560 7 ฉาง 1,000 ตนั งบโครงการไทยนิยม ย่งั ยืน งบกลางปี 2561 8 ลานตาก 3,200 ตร.ม. งบโครงการไทยนิยม ยัง่ ยนื งบกลางปี 2561 9 เครื่องสบั มันสำปะหลงั 15-20 ตัน/ชม. งบโครงการไทยนยิ ม ยั่งยืน งบกลางปี 2561 3) ข้อมลู การดำเนนิ ธุรกจิ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปบี ัญชีลา่ สุด ) หน่วย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกิจสินเช่ือ 161,149,240.00 225,108,000 178,088,000.00 2. ธรุ กจิ รบั ฝากเงิน 44,657,892.38 47,338,034.42 62,165,661.74 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ 96,891,142.50 154,495,884.50 132,634,741.00 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลติ 0.00 1,148,494.00 5. ธุรกจิ จดั หาสินค้ามาจำหน่าย 12,916,061.00 589,838.00 14,808,005.00 6. ธุรกิจบริการ 187,643.00 14,841,099.00 315,801,978.88 534,731.57 รวม 284,945.45 389,379,633.31 442,657,801.37 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
4) สถานภาพทางการเงนิ (ข้อมลู ยอ้ นหลงั 3 ปีบัญชีลา่ สดุ ) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกำไรขาดทุน หน่วยนับ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรพั ย์ บาท 335,792,850.39 361,784,037.59 367,223,299.42 หนสี้ ิน บาท 219,567,913.75 236,211,176.48 232,211,176.48 ทนุ ของสหกรณ์ บาท 116,164,936.64 125,572,861.11 134,309,981.85 กำไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 11,194,414.97 10,408,845.74 อตั ราสว่ นทางการเงินที่สำคัญ 6,120,078.57 - อตั ราส่วนหนี้สนิ ต่อทุน (DE Ratio) เทา่ 1.92 1.73 - อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) ร้อยละ 1.89 9.26 8.01 - อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรพั ย์ (ROA) รอ้ ยละ 5.36 2.60 2.86 - อัตราส่วนทุนหมุนเวียน เทา่ 1.81 0.91 1 - อัตราส่วนทุนสำรองต่อสนิ ทรพั ย์ เทา่ 1.11 0.03 0.05 0.05 5) ขอ้ สังเกตของผ้สู อบบญั ชี(ขอ้ มูลยอ้ นหลงั 3 ปบี ัญชลี ่าสุด) ข้อสังเกตของผสู้ อบบญั ชี ในรายงานผลการตรวจสอบบญั ชีสหกรณ์การเกษตรคำมว่ ง จำกดั สำหรับปสี ิน้ สดุ วันที่ 31 มีนาคม 2563 เกีย่ วกบั จุดออ่ นของการควบคุมภายในสหกรณ์ดังนี้ สหกรณ์มีการจ่ายเงินกู้ให้แก่สมาชิกเกนิ กว่าวงเงินตามระเบียบของสหกรณ์ ว่าด้วยการให้ เงนิ กู้และดอกเบยี้ เงินกู้ พ.ศ.๒๕๕๘ ขอ้ ๑๐ จำนวนเงินกู้ระยะยาวเพอ่ื การลงทุนประกอบอาชีพ ซึ่งให้สมาชกิ ผู้ กู้คนหนึ่งๆ นั้น ย่อมสุดแต่คณะกรรมการดำเนินการพิจารณากำหนดตามที่เห็นสมควร ต่ำไม่เกิน ๑,๕๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท ซึ่งจากการสุ่มตัวอย่างรายการจ่ายเงินกูร้ ะหว่างปี จำนวน ๗๗ ราย พบว่ามีการจา่ ย เงินกู้เกินกว่าวงเงินตามระเบียบสหกรณ์กำหนดไว้ จำนวน ๑ ราย อาจส่งผลให้ไม่สามารถรับชำระหนี้ตาม กำหนดสัญญาและเกิดภาระหน้สี งสัยจะสูญขึ้นได้ 6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลงั 3 ปีบัญชีลา่ สุด) ข้อบกพร่องของสหกรณ์การเกษตรคำม่วง จำกัด กรณีที่สหกรณ์ขายยางพาราให้กับสหกรณ์ นิคมดอนตาลสอง จำกัด เมื่อขายยางพาราแล้วได้ฝากเงินไว้ที่สหกรณ์นิคมดอนตาลสอง จำกัด และต่อมา สหกรณถ์ ูกปฏิเสธเงินรบั ฝากจากสหกรณน์ คิ มดอนตาลสอง จำกดั มลู คา่ ความเสยี หาย ๒,๓๗๕,๙๐๖.๙๑ บาท ต่อมาสหกรณ์ได้รับการช่วยเหลือและการบรรเทาเยียวยาความเสียหายอันเกิดขึ้นเกี่ยวกับการรับซื้อและ จำหน่ายยางพาราจาก บริษัทรับเบอร์แลนด์ โปรดักส์ จำกัด จำนวน ๑,๔๕๗,๐๐๐.๐๐ บาท นายทะเบียน สหกรณ์มีคำสั่งตาม ม.22 (1) ให้แก้ไขข้อบกพร่อง คณะกรรมการดำเนินการและผู้จัดการ รวม ๑๕ คน ทำ หนังสือรับสภาพหน้ีที่เกิดขึ้นคนละ ๔๓,๒๒๖.๙๗ บาท รวมเป็นเงิน ๖๔๘,๔๐๔.๕๕ บาท เมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ โดยให้ผอ่ นชำระหนเี้ ป็นรายปี จำนวน 5 ปี ใหเ้ สรจ็ สน้ิ เรมิ่ ชำระหนีง้ วดแรก 31 มีนาคม 2562 - 31 มีนาคม 2566 ปจั จบุ นั มีลูกหนร้ี บั สภาพหน้ีคงเหลอื 228,354.55 บาท ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
⚫ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ของสหกรณ์ จากขอ้ มูลพืน้ ฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์ สามารถวิเคราะห์ SWOT Analysis โดยวิเคราะห์ จากสภาพแวดลอ้ มภายใน 4M, 4P’s, วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก PESTEL และ Five Force Model สำหรับวเิ คราะหค์ แู่ ข่ง มดี งั น้ี จดุ แขง็ (strengths) จดุ อ่อน (Weaknesses) 1. มบี ุคลากรเพยี งพอและมคี วามร้คู วามสามารถในการ 1. สมาชิกบางส่วนมีความรูใ้ นดา้ นสหกรณ์ไมเ่ พยี งพอ บรหิ ารจัดการ 2. สหกรณ์ไมม่ ีการนำแผนยทุ ศาสตร์มาใช้อย่างตอ่ เนอื่ ง 2. คณะกรรมการมคี วามสามารถในการบริหารงาน 3. ขาดการประชาสัมพนั ธ์ทดี่ ี 3. มีทนุ ดำเนนิ งานพียงพอ 4. เจ้าหน้าทีส่ หกรณ์ยังไม่มคี วามรดู้ า้ นเทคโนโลยีทเ่ี พยี งพอ 4. สมาชิกมีสทั ธาและส่วนร่วมในการทำธรุ กจิ 5. ต้งั อยหู่ ่างใกล้จากชุมชน 5. ระบบบรหิ ารงานของสหกรณ์มีเอกภาพ 6. ใชท้ นุ ภายนอกมากกว่าภายใน โอกาส (Opportunities) อปุ สรรค(Threats) 1. มวี งเงินก้ยู มื เพยี งพอตอ่ การดำเนนิ งาน 1. การแข่งขันทางธรุ กิจสงู 2. ได้รบั การสนับสนุนจากภาครัฐ 2. นโยบายภายรัฐไมแ่ น่นอน 3. มแี หลง่ เงินทุนดอกเบี้ยต่ำ 3. โรคระบาดฯ ภยั ธรรมชาติ 4. มีเครือขา่ ยพันธมิตรท่ีหลากหลาย 4. คา่ นยิ มของชมุ ชนทเี่ ปลี่ยนไป 5. พน้ื ท่ีดำเนินงานมพี ืชเศรษฐกิจหลากหลาย 5. สภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ แผนการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนา และกำกบั ดแู ลสหกรณ์ จากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเปา้ หมายในการแนะนำสง่ เสริม พัฒนาและกำกับดูแลสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดังน้ี 1) ระดบั ชัน้ สหกรณ์: รักษาระดับสหกรณ์ช้นั 1 และชน้ั 2 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร: รักษามาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรใหอ้ ยใู่ นระดับดขี ้ึนไป 3) อ่นื ๆ 1. ด้านการบรหิ ารจัดการทม่ี ธี รรมาภิบาล/การควบคุมภายใน 2. แกไ้ ขปญั หาการดำเนินกจิ การของสหกรณ์ 3. อตั ราการขยายตวั ของปรมิ าณธุรกจิ เพิม่ ขึน้ จากปกี อ่ นไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 3 4. การพัฒนาและสง่ เสริมศักยภาพเพอ่ื สนบั สนนุ การประกอบอาชีพและใหบ้ รกิ ารกบั สมาชกิ 5. สหกรณใ์ ชป้ ระโยชนจ์ ากอปุ กรณ/์ ส่งิ ก่อสร้างทไ่ี ด้รบั การสนบั สนุนงบประมาณจากภาครัฐ 6. การพฒั นาศกั ยภาพการรวบรวมผลติ และการตลาด 7. การกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและแก้ไขตามแนวทางทีก่ รมกำหนด 8. การตรวจติดตาม/เฝ้าระวงั และตรวจการท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพเพอื่ ป้องกนั การเกิดข้อบกพรอ่ งและปอ้ งกัน การเกิดทจุ รติ ทง้ั ในเชิงนโยบายและปฏิบัติ 9. กำกบั ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณด์ ำเนนิ กิจการให้เป็นไปตามขอ้ บงั คับระเบียบและ กฎหมายทเ่ี กยี่ วข้อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุม่ สง่ เสรมิ สหกรณ์เป็นผ้ดู ำเนินการ: ค่า หนว่ ย ช่วงเวลาท่ี เปา้ หมาย นบั ดำเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม 12 ครง้ั ต.ค.64–ก.ย.65 1. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร 1.1 กิจกรรม กำกับแนะนำใหส้ ถาบันเกษตรกรปดิ บัญชี ภายใน 30 วนั 5 ครงั้ เม.ย.65 – ส.ค.65 นับแต่วนั สิ้นปที างบญั ชีเพื่อรอรบั การตรวจสอบ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.2 กิจกรรม การประชุมใหญส่ ามัญประจำปี ภายใน 150 วัน (ตามปีบญั ช)ี 12 ครง้ั ต.ค.64– ก.ย.65 1.3 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสรมิ สหกรณ์ การบริหารจดั การท่มี ธี รรมาภิบาล 1.4 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์มีระดับช้นั คุณภาพการควบคุม 1 ครงั้ ส.ค.65 ภายใน 1.5 กิจกรรม แนะนำส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของสมาชิก โดยการเข้าร่วม 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 ประชมุ กลมุ่ สมาชิกสหกรณ์ 1.6 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกรและสมาชิกกบั ทกุ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 ภาคส่วน 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.7 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริมการแกไ้ ขปัญหาลูกหนี้คา้ ง 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.8 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสริมการรบั สมาชิกสหกรณ์เพิ่ม 1.9 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสรมิ การรกั ษามาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริม 12 ครัง้ ต.ค.64 – ก.ย.65 สหกรณ์ 1.10 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสรมิ สหกรณ์ให้มีความเข้มแขง็ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 2. ดา้ นการพฒั นาการดำเนินธรุ กจิ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 2.1 กิจกรรม แนะนำ สง่ เสรมิ สหกรณ์มอี ตั ราการขยายตัวของปริมาณ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ธรุ กจิ เพิ่มข้ึนจากปีก่อนไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 2.2 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริมการรวบรวมผลผลิต/การชะลอผลผลติ 2.3 กิจกรรม การพฒั นาศักยภาพการรวบรวมผลติ /แปรรูป 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 2.4 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสริมการใชป้ ระโยชน์จากอุปกรณ/์ สง่ิ กอ่ สร้าง 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 3. ดา้ นการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์ 1 ครั้ง พ.ค.65 3.1 กิจกรรม กำกับดแู ล ตรวจสอบและแก้ไขตามแนวทางทกี่ รมกำหนด 3.2 กจิ กรรม ตรวจตดิ ตาม/เฝา้ ระวัง และตรวจการท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพเพ่ือ ปอ้ งกันการเกดิ ขอ้ บกพร่องและป้องกันการเกิดทุจรติ ท้งั ในเชิงนโยบาย และปฏิบัติ 3.3 กจิ กรรม แนะนำ ปอ้ งกันการเกดิ ขอ้ บกพรอ่ ง (ตรวจการสหกรณ์ รายบคุ คล)และตรวจการสหกรณ์โดยทมี ตรวจสอบระดบั จังหวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กิจกรรมท่ีกล่มุ ส่งเสรมิ สหกรณ์จะแนะนำส่งเสริมให้สหกรณด์ ำเนินการ: แผนงาน/กจิ กรรม ค่า หน่วย ชว่ งเวลาที่ เป้าหมาย นับ ดำเนนิ การ 1. ด้านการสง่ เสรมิ และพัฒนาองคก์ ร 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.1 กจิ กรรม บนั ทกึ บญั ชีให้ถกู ต้องเป็นปจั จุบัน และจดั ทำรายละเอียดตา่ งๆ ประกอบงบการเงิน 1.2 กจิ กรรมจัดประชมุ ใหญส่ ามญั ประจำปี ภายใน 150 วนั (ตามปีบญั ชี) 5 ครั้ง เม.ย.65 – ส.ค.65 1.3 กจิ กรรม สหกรณ์ปฏบิ ัติตามหลักธรรมาภิบาล 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.4 กจิ กรรม สหกรณป์ ฏบิ ัตติ ามระบบการควบคมุ ภายใน 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.5 กจิ กรรม สหกรณ/์ สมาชิกมสี ่วนรวมทุกภาคสว่ น 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.6 กิจกรรม การรับสมาชิกเพ่ิมระหว่างปี 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.7 กจิ กรรม สหกรณ์แกไ้ ขปัญหาลูกหนี้คา้ ง 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.8 กจิ กรรม สหกรณ์รบั สมาชิกสหกรณเ์ พิ่ม 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.9 กจิ กรรม สหกรณ์รกั ษามาตรฐานสหกรณ์ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.10 กจิ กรรม สหกรณ์ดำเนินตามแนวทางการสร้างความเข้มแขง็ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนินธรุ กจิ 12 ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 2.1 กิจกรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปขี องสหกรณ์ และเพม่ิ ศักยภาพในธรุ กิจเพ่ือให้มีอตั ราการขยายตวั ของปรมิ าณธุรกจิ เพ่ิมข้ึนจากปี ก่อนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 3 2.2 กจิ กรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปีของสหกรณ์ และเพม่ิ 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 ศกั ยภาพในธรุ กิจการจดั หาสินค้ามาจำหน่าย 2.3 กจิ กรรม การพฒั นาศกั ยภาพการรวบรวมผลิต 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 2.4 กจิ กรรม สหกรณใ์ ช้ประโยชน์จากอุปกรณก์ ารตลาด 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 3. ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 3.1 กิจกรรม สหกรณ์ตดิ ตาม/เฝา้ ระวังและปอ้ งกันข้อบกพร่อง 3.2 กจิ กรรม สหกรณ์ปฏบิ ัติตามระเบียบ ข้อบังคบั พระราชบัญญัติสหกรณ์ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 พ.ศ.2542 แก้ไขฉบบั ที่ 3 พ.ศ.2562 ลงชอ่ื นายจิรายทุ ธ สุโพธแิ์ สน เจา้ หนา้ ทผี่ ้รู ับผิดชอบ นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ วนั ที่ 9 สิงหาคม 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
12. สหกรณก์ ารเกษตรฆอ้ งชัย ประเภท : การเกษตร การวิเคราะห์ขอ้ มลู และบรบิ ทของสหกรณ์ ⚫ ขอ้ มูลพน้ื ฐานของสหกรณ์ 1) ขอ้ มลู ท่วั ไป : จำนวนสมาชิก 2,215 ราย จำนวนสมาชิกท่รี ่วมทำธรุ กิจ 1,822 ราย ธรุ กิจหลัก/ผลผลติ หลกั สินเชอ่ื /ข้าวเปลอื ก มาตรฐานสหกรณ์อยใู่ นระดบั A ระดบั ช้นั สหกรณ์ 1 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต ไม่มกี ารดำเนนิ ธุรกิจการรวบรวมผลผลิต 2) โครงสร้างพืน้ ฐานของสหกรณ์ : ที่ อุปกรณก์ ารผลติ /ตลาด จำนวน หมายเหตุ 1 ฉาง 1 ฉาง งบสหกรณ์ 2 รถตกั 1 คนั งบสหกรณ์ 3 เครอ่ื งช่ัง 1 เครอื่ ง งบสหกรณ์ 4 ลานตาก 1 ลาน งบสหกรณ์ 3) ข้อมูลการดำเนินธุรกิจ (ข้อมูลยอ้ นหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สดุ ) : หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กิจสินเช่อื 127,888,530.00 134,160,825.00 128,224,160.00 2. ธรุ กจิ รบั ฝากเงนิ 94,118,297.31 120,356,384.18 115,034,059.40 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลติ 0 45,000.00 60,000.00 5. ธรุ กิจจัดหาสนิ ค้ามาจำหนา่ ย 0 00 6. ธุรกจิ บริการ 78,915,334.07 43,327,716.43 39,159,643.61 0 00 รวม 300,922,161.38 297,889,925.61 282,477,863.01 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
4) สถานภาพทางการเงิน (ขอ้ มูลย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีล่าสุด) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทุน หนว่ ย ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 นบั สินทรัพย์ บาท 316,386,609.58 325,972,625.37 297,555,904.50 หนส้ี ิน บาท 182,680,465.92 182,071,111.90 151,876,277.38 ทนุ ของสหกรณ์ บาท 133,706,143.66 143,901,513.47 145,679,627.12 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 6,717,259.00 11,106,004.71 9,107,612.38 อัตราสว่ นทางการเงินท่ีสำคญั - อัตราสว่ นหนี้สนิ ต่อทุน (DE Ratio) 1.37 1.26 1.04 - อตั ราผลตอบแทนต่อทนุ (ROE) 0.05 0.07 6.25 - อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) 0.02 0.03 1.47 - อัตราส่วนทุนหมุนเวียน 1.46 1.40 1.81 - อตั ราสว่ นทุนสำรองตอ่ สนิ ทรพั ย์ 0.07 0.07 0.08 5) ข้อสงั เกตของผสู้ อบบัญชี 1. ข้อสังเกตทพ่ี บจากการตรวจสอบ เก่ียวกับจดุ อ่อนของการควบคุมภายใน 1.1) ดา้ นการบรหิ ารจดั การทวั่ ไป สหกรณ์นำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งพัฒนาโดยเอกชนมาใช้ในการประมวลผลข้อมลู ด้านลูกหนเ้ี งินกู้ สนิ ค้า เงนิ รับฝากและทุนเรือนห้นุ และใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอรซ์ ่ึงพฒั นาโดยกรมตรวจบัญชี สหกรณ์ในการประมวลผลข้อมูลด้านการจัดทำบัญชีแยกประเภททั่วไป การควบคุมภายในสำหรับการใ ช้ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ประมวลผลขอ้ มูล มีขอ้ สังเกตดังนี้ โปรแกรมระบบบญั ชีสามารถแกไ้ ขรายการยอ้ นหลงั ได้ โดยทีส่ หกรณ์ทำการปิดงานประจำวนั เรียบร้อยแล้ว รวมทั้งสามารถแก้ไขรายการโดยไรร้ ่องรอย ซึ่งอาจกอ่ ให้เกิดความเสีย่ งและความเสยี หายต่อ ข้อมูลที่สำคญั ของสหกรณ์ได้ ดังนั้น สหกรณ์ต้องปรับปรุงโปรแกรมระบบบัญชเี พื่อป้องกันการแก้ไขรายการ ย้อนหลัง หากมีการแกไ้ ขรายการปรับปรุงบัญชีและได้รบั การอนุมัติจากผู้มีอำนาจก่อนท่ีจะบนั ทึกรายการใน โปรแกรมระบบบัญชีรวมทัง้ จัดใหม้ ีรายงานการเข้าถึงโปรแกรมระบบบัญชี เพื่อตรวจสอบการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าทีท่ ี่ได้รับมอบหมาย สหกรณ์ไมม่ กี ารสำรองขอ้ มลู จัดเกบ็ ไว้ภายนอกท่ีทำการสหกรณ์ เพื่อป้องกันความเสียหายท่ี อาจเกิดขึ้นสหกรณ์ ต้องจัดให้มีการสำรองขอ้ มูลจัดเก็บไว้ภายนอก หากเกิดเหตุสุดวิสัยสหกรณ์ก็สามารถใช้ ข้อมูลดังกลา่ วในการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องได้ รวมทั้งจัดหาโปรแกรมแอนต้ีไวรัส เพื่อป้องกันการคุกคาม ข้อมลู จากภายนอก ซึ่งตอ้ งดำเนนิ การให้เป็นเวอรช์ ั่นล่าสดุ เพื่อใหก้ ารทำงานมีประสทิ ธภิ าพยิ่งขนึ้ 1.2) ดา้ นการดำเนินธรุ กิจ ธุรกิจสินเชื่อ สหกรณ์มีลูกหนี้ที่ไม่สามารถชำระหนี้ได้ตามกำหนด จำนวน 136,223,330.00 บาท หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 50.77 ของหน้ที ีถึงกำหนดชำระ สหกรณ์ควรตดิ ตามเรง่ รดั ใหล้ กู หน้ชี ำระหนโี้ ดยเรว็ เพื่อนำเงินส่วนนี้มาหมุนเวียนดำเนินธุรกิจ สามารถอำนวยประโยชน์ให้แก่สมาชิกเพิ่มขึ้น และลดภาระ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
ค่าใชจ้ ่ายในรปู หนส้ี งสัยจะสูญซึ่งอาจเกิดขน้ึ ในภายหนา้ จากกรณีทสี่ หกรณม์ ีลกู หนีผ้ ิดสญั ญาและค้างชำระเป็น จำนวนมาก 6) ขอ้ บกพรอ่ งของสหกรณ์ ไม่มี ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลของสหกรณ์ 1. จากข้อมลู พ้ืนฐาน และสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์ สามารถวิเคราะห์ขอ้ มลู ของสหกรณ์ได้ ดงั น้ี SWOT (SWOT Analysis) สรปุ ผลการวิเคราะห์ จุดแขง็ (S) จดุ ออ่ น(W) S1 สหกรณม์ อี ปุ กรณ์การผลติ /การตลาด ได้แก่ ลาน W 1 สหกรณไ์ ม่ไดด้ ำเนินธุรกจิ รวบรวมผลผลิต แต่ ตาก ฉาง และเครื่องชงั่ เพ่ือใช้ในการรวบรวมผลผลิต สหกรณต์ อ้ งรับภาระค่าใช้จ่ายเฉพาะธรุ กิจ ได้แก่ สนิ ค้าเกษตร ดอกเบ้ียจ่ายเงนิ กู้ยืมเพ่ือกอ่ สร้างลานตาก ค่าเสือ่ ม S2 มีเงินทนุ ในการดำเนนิ ธรุ กจิ สนิ เชือ่ ใหส้ มาชกิ ราคาและคา่ ซอ่ มบำรุงกา S3 สหกรณม์ ีเจ้าหน้าทฝ่ี า่ ยจดั การที่เพยี งพอในการ W2 ติดตามหนไ้ี มม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ บรหิ ารจัดการสหกรณ์และการใหบ้ ริการแก่สมาชิก W3 สหกรณจ์ ัดหาสนิ คา้ มาจำหน่ายไมต่ รงตามความ สหกรณ์ ต้องการของสมาชิกสง่ ผลใหม้ สี นิ ค้าค้างในคลงั สินคา้ S4 สหกรณ์มีทตี่ ง้ั อยใู่ นพื้นที่คมนาคมสะดวก W4 สมาชกิ ยังขาดองคค์ วามรู้ดา้ นวิชาการ เทคนคิ ทางการเกษตร ทำให้ตน้ ทุนการผลิตสูง โอกาส(O) อุปสรรค(T) O1 นโยบายการสนบั สนนุ ปจั จัยการผลิตและเงนิ ทนุ ใน T1 นโยบายภาครัฐหรอื กลไกตลาดไม่แนน่ อ การดำเนนิ ธรุ กิจดอกเบยี้ ต่ำจากภาครัฐ T2 ราคาพชื ผลทางการเกษตรตกต่ำส่งผลให้สมาชิก O2 สหกรณส์ ามารถหาคคู่ ้าในการทำธรุ กจิ รวบรวมขา้ ว ขาดทนุ หรือได้กำไรลดลง ไม่เพียงพอกบั ค่าใชจ้ ่ายใน จากสมาชกิ และจำหน่ายขา้ วไดง้ า่ ย เนื่องจากมี ครวั เรอื นและการชำระหนส้ี หกรณ์ ผปู้ ระกอบการโรงสีพืน้ ท่ี T3 สหกรณม์ คี ู่แข่งเอกชน โรงสี ในการรบั ซือ้ ผลผลิต O3 สมาชกิ สหกรณ์มีพนื้ ที่ทำการเกษตรและมีแหลง่ นำ้ ใช้ ทางการเกษตรในท้องที่ ในการเกษตรทเี่ พยี งพอ T4 ภยั ธรรมชาติ น้ำทว่ มผลผลติ ทางการเกษตรของ O4 มบี รษิ ทั เอกชน (บางจาก) ใหก้ ารสนบั สนนุ และให้ สมาชกิ ความรู้ด้านการบรกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำสง่ เสริม พฒั นา และกำกับดแู ลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากการวเิ คราะห์ขอ้ มูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พฒั นา และกำกับดแู ลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังน้ี 1) ระดบั ช้นั สหกรณ์ : รกั ษาระดบั สหกรณ์ชนั้ 1 และช้นั 2 ยกระดับสหกรณ์ชน้ั 2 และ ชัน้ 3 สชู่ น้ั ที่ดีข้ึน 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : รักษามาตรฐานสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรใหอ้ ยใู่ นระดบั ดีข้ึนไป ผลกั ดนั สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยใู่ นระดบั ที่ดขี ึ้น 3) อน่ื ๆ ไมม่ ี แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมทกี่ ลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์เป็นผู้ดำเนินการ : แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ ดำเนนิ การ 1. ดา้ นการสง่ เสรมิ และพฒั นาองค์กร 1 แห่ง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 10 คร้งั ต.ค. 64 – ก.ย. 65 1.1 กิจกรรม การรักษา/ยกระดับการควบคุมภายในของสหกรณ์ 1 แห่ง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 1.2 กิจกรรม แนะนำให้สหกรณป์ ฏบิ ตั ิตามระเบียบ ข้อบังคบั กฎหมายและคำสัง่ นายทะเบียนสหกรณ์ ในที่ 1 แห่ง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ 1 แห่ง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 1 แหง่ ต.ค. 64 – ก.ย. 65 1.3 แนะนำคณะกรรมการดำเนนิ การบรหิ ารจดั องค์กร ตามหลกั ธรรมาภิบาล 1 แห่ง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 1 แห่ง ต.ค. 64 – ก.ย. 65 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนนิ ธุรกจิ 2.1 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดับการใหบ้ ริการสมาชิกของ สหกรณ์ 2.2 กิจกรรม การรักษา/ยกระดบั ประสทิ ธภิ าพการดำเนนิ ธรุ กิจของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.3 กิจกรรมกิจกรรม เร่งรัดและตดิ ตามการแกไ้ ขปญั หา หน้คี ้างในที่ประชุมคณะกรรมการดำเนนิ การ 3. ดา้ นการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ กลุม่ เกษตรกร 3.1 กิจกรรม การแกไ้ ขข้อสงั เกตของสหกรณ์ 3.2 กจิ กรรม แนะนำ ให้สหกรณ์ปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญตั ิ สหกรณ์ ขอ้ บังคบั สหกรณ์ และระเบียนสหกรณ์ ตลอดจนมตทิ ่ี ประชมุ คณะกรรมการดำเนินการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กจิ กรรมที่กลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนำสง่ เสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดำเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม คา่ หนว่ ยนับ ชว่ งเวลาท่ี เป้าหมาย ดำเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั การดำเนนิ ธุรกิจ 1.1 กิจกรรม การแก้ไขปัญหาหนคี้ ้าง 1 แห่ง ต.ค.64–ก.ย. 65 1.2 กจิ กรรม การจัดหาสินคา้ มาจำหน่าย 1 แห่ง ต.ค.64–ก.ย. 65 2. แผนงาน/กิจกรรมหลกั พัฒนาองคก์ ร 10 ครัง้ ต.ค.64–ก.ย. 65 2.1 กจิ กรรมแนะนำ สง่ เสริมการควบคุมภายในมีธรรมาภิบาล ตาม 10 ครงั้ ต.ค.64–ก.ย. 65 โครงการสหกรณ์มขี าว 2.2 กิจกรรมแนะนำ ส่งเสริมการแกไ้ ขตามข้อสังเกตของผ้สู อบบัญชี 2.3 กจิ กรรมแนะนำ สง่ เสรมิ การรักษารกั ษามาตรฐาน และรกั ษา 10 คร้งั ต.ค.64–ก.ย. 65 ระดบั ชนั้ สหกรณ์ ลงชื่อ นางธัศยธรณ์ พรมประเทศ เจา้ หนา้ ที่ผรู้ บั ผิดชอบ เจา้ พนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณอ์ าวโุ ส วันที่ 13 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
13. สหกรณก์ ารเกษตรชมุ ชนหนองกงุ ใหญ่ จำกัด ประเภท : การเกษตร การวิเคราะห์ขอ้ มลู และบริบทของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ⚫ ขอ้ มูลพื้นฐานของสหกรณ์ 1) ขอ้ มลู ท่วั ไป : จำนวนสมาชิก : 106 ราย จำนวนสมาชกิ ทรี่ ่วมทำธรุ กจิ 65 ราย ธรุ กจิ หลกั : ธุรกจิ สินเชื่อ ผลผลติ หลัก : มนั สำปะหลัง มาตรฐานสหกรณ์ : อยรู่ ะหวา่ งการประเมนิ มาตรฐาน ระดบั ชนั้ สหกรณ์ : ระดบั ชน้ั 2 สินค้าเดน่ : มะม่วงน้ำดอกไม้ และมนั เทศญปี่ ุ่น 2) โครงสร้างพื้นฐานของสหกรณ์: เป็นสหกรณ์ขนาดเล็กไมม่ ีอุปกรณ์การตลาด 3) ข้อมลู การดำเนินธุรกจิ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด ) :ปรบั ตามปีบญั ชขี องสหกรณ์ หน่วย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกจิ สินเช่ือ 804,000.00 252,000.00 357,000.00 2. ธุรกิจรับฝากเงิน 20,400.00 10,800.00 965.60 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลิต 0.00 4. ธรุ กิจแปรรปู ผลผลติ 0.00 0.00 0.00 5. ธรุ กิจจดั หาสินคา้ มาจำหน่าย 0.00 0.00 0.00 6. ธุรกจิ บริการ 11,040.00 7,475.00 0.00 0.00 0.00 รวม 835,440.00 270,275.00 357,965.60 4) สถานภาพทางการเงิน (ขอ้ มูลยอ้ นหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด)ปรับตามปบี ัญชีของสหกรณ์ งบแสดงฐานะทางการเงิน/งบกำไร(ขาดทุน) ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรัพย์ :(บาท) 1,243,748.68 941,066.94 657,624.76 หน้สี ิน :(บาท) 558,729.78 291,380.17 73,020.18 ทุนของสหกรณ์ :(บาท) 685,018.90 649,686.77 584,604.58 รายได้ :(บาท) 129,366.25 91,752.75 83,503.20 ค่าใชจ้ ่าย :(บาท) 51,633.81 68,003.56 83,441.90 กำไร(ขาดทุน)สทุ ธิ :(บาท) 77,732.44 23,749.19 61.30 อตั ราสว่ นทางการเงนิ ท่ีสำคัญ - อัตราสว่ นหนสี้ นิ ต่อทุน (DE Ratio) : (เท่า) 0.82 0.45 0.12 - อตั ราผลตอบแทนตอ่ ทนุ (ROE) : (%) 11.35 3.47 0.01 - อตั ราผลตอบแทนตอ่ สินทรพั ย์ (ROA) : (%) 6.38 2.17 0.00 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
- อัตราส่วนทนุ หมนุ เวยี น : (เท่า) 2.22 3.22 8.98 - อัตราส่วนทุนสำรองตอ่ สนิ ทรัพย์ : (เท่า) 0.12 0.20 0.29 - อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหักค่าใช้จ่าย 32.51 63.86 99.93 ดำเนนิ งาน : (%) - อตั ราส่วนหน้ีระยะสน้ั ทชี่ ำระไดต้ ามกำหนด : (%) 68.87 58.63 79.90 5) ขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชี(ข้อมูลยอ้ นหลัง 3 ปบี ัญชลี ่าสุด) สหกรณ์มีการกำหนดระเบียบว่าด้วยการรับ-จ่ายและเก็บรักษาเงินขึ้นถือใช้เป็นแนวทางใน การปฏบิ ัตงิ าน โดยกำหนดเกบ็ รักษาเงนิ สดไม่เกนิ วันละ 5,000 บาท และคณะกรรมการดำเนินการของสหกรณ์ ได้มอบหมายใหป้ ระธานกรรมการเปน็ ผทู้ ำหน้าทรี่ บั – จ่าย และเก็บรกั ษาเงนิ สด ณ วันส้นิ ปี 31 มนี าคม 2564 สหกรณเ์ ก็บรักษาเงินสดไว้จำนวน 546,535.63 บาท ซงึ่ เกนิ กว่าระเบยี บโดยไมม่ เี หตจุ ำเป็น 6) ขอ้ บกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด) -ไมม่ ขี ้อบกพรอ่ งของสหกรณ์ ⚫ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของสหกรณ์ จากขอ้ มลู พื้นฐาน และสภาพแวดลอ้ มของสหกรณ์ สามารถวิเคราะห์ SWOT Analysis โดยวิเคราะห์ จากสภาพแวดล้อมภายใน 4M, 4P’s, วิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก PESTEL และ Five Force Model สำหรบั วเิ คราะหค์ แู่ ขง่ มีดังนี้ จุดแข็ง (S) จุดออ่ น(W) S1 ดอกเบยี้ เงินฝากของสหกรณ์สงู กว่าธนาคารพาณิชย์ W1 สหกรณ์ไมไ่ ด้จดั จ้างเจ้าหนา้ ท่ี ตา่ งๆ และมเี งนิ ปนั ผล เงนิ เฉล่ียคนื ให้ W2 สมาชกิ ไม่มีความสนใจมาทำธรุ กจิ กับสหกรณ์ W3สมาชกิ ไม่ปฏิบตั ติ ามบทบาทและหนา้ ท่เี ท่าทค่ี วร W4 สมาชกิ ผดิ นดั ชำระหน้ีกบั สหกรณแ์ ละมดี อกเบยี้ คา่ ปรบั คา้ งชำระ W5 คณะกรรมการยังไม่ปฏบิ ัตติ ามบทบาทและหนา้ ท่ี เทา่ ทค่ี วร W6 สหกรณ์ไม่มอี ปุ กรณ์การตลาด โอกาส(O) อุปสรรค(T) O1 รฐั บาลมีนโยบายสง่ เสรมิ และสนับสนนุ เชน่ เงนิ T1คู่แขง่ ทางการคา้ มีมาก ทงั้ ทเ่ี ปดิ กจิ กรรมการอยแู่ ล้ว อุดหนนุ ในการจัดหาเครื่องมอื และอุปกรณ์ เงินกูย้ มื และเปิดใหม่ มกี ารแขง่ ขนั กันท่รี ุนแรง อตั ราดอกเบยี้ ตำ่ และมีการฝึกอบรมเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ T2 สภาพเศรษฐกิจในปจั จบุ นั ที่ตกตำ่ ทำให้การคา้ การ การบริหารจดั การสหกรณ์ ขาย และการลงทนุ มปี รมิ าณนอ้ ย O2 มเี ครื่องมอื สอื่ สารและเทคโนโลยีในการตดิ ต่อซื้อ- T3 ปัจจยั ในการผลติ สนิ ค้าเกษตรมีราคาสงู ขึ้น เชน่ ปยุ๋ ขายหลายชอ่ งทาง ท่สี ะดวก รวดเร็วเชน่ การขาย และเคร่ืองมอื การเกษตรตา่ ง ๆ ออนไลน์ ผ่านเฟชบ๊คุ ไลน์ และเว็บไซด์ต่าง ๆ ของ T4 คา่ จา้ งแรงงานไดป้ รบั ตวั สงู ข้ึน หนว่ ยงานภาครฐั ทไี่ ม่เสยี คา่ ใช้จ่าย T5 สถาบนั การเงินและบรษิ ทั ไฟแนนช์เกดิ ขน้ึ หลายแหง่ O3 สหกรณ์ตง้ั อยู่ในอำเภอสามชยั ซง่ึ ปลูกพชื ทาง T6 ภัยธรรมชาติ ฝนแลง้ น้ำทว่ ม เศรษฐกิจท่ีสำคัญไดแ้ ก่ ออ้ ย ขา้ ว มนั สำปะหลงั T7 สถานการณ์การแพรข่ องไวรสั โควดิ 19 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และกำกับดูแลสหกรณ์ จากการวเิ คราะห์ขอ้ มูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พฒั นาและกำกบั ดแู ลสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1) ระดับชน้ั สหกรณ์:รกั ษาระดับสหกรณ์ชั้น 1 และชั้น 2ยกระดับสหกรณ์ชน้ั 2 และ ชั้น 3 สชู่ ัน้ ทด่ี ขี ้ึน 2) มาตรฐานสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร: รกั ษามาตรฐานสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรใหอ้ ยใู่ นระดับดขี ้ึนไป ผลกั ดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐานหรืออย่ใู นระดบั ทด่ี ีข้นึ 3)อน่ื ๆ 1. ดา้ นการบรหิ ารจดั การทม่ี ธี รรมาภิบาล/การควบคุมภายใน 2. แก้ไขปญั หาการดำเนนิ กจิ การของสหกรณ์ 3. อัตราการขยายตวั ของปรมิ าณธุรกิจเพ่มิ ขนึ้ จากปกี อ่ นไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 3 4. การพฒั นาและส่งเสรมิ ศกั ยภาพเพอ่ื สนบั สนนุ การประกอบอาชีพและใหบ้ ริการกบั สมาชิก 5. การกำกบั ดูแล ตรวจสอบและแกไ้ ขตามแนวทางท่ีกรมกำหนด 6. การตรวจตดิ ตาม/เฝ้าระวังและตรวจการทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพอื่ ป้องกนั การเกดิ ข้อบกพรอ่ งและป้องกนั การเกดิ ทุจรติ ทงั้ ในเชิงนโยบายและปฏบิ ัติ 7. กำกบั ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณด์ ำเนนิ กิจการใหเ้ ปน็ ไปตามข้อบังคบั ระเบียบและ กฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ ง แผนการแนะนำส่งเสริม พฒั นา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมที่กลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์เป็นผู้ดำเนินการ: แผนงาน/กิจกรรม คา่ หนว่ ย ช่วงเวลาที่ เป้าหมาย นบั ดำเนินการ 1.ด้านการส่งเสรมิ และพฒั นาองค์กร 1.1 กจิ กรรม กำกบั แนะนำให้สถาบันเกษตรกรปดิ บญั ชี ภายใน 30 วนั นบั 12 คร้ัง ต.ค.64– ก.ย.65 แต่วนั สิ้นปที างบญั ชเี พอ่ื รอรับการตรวจสอบ 1.2 กิจกรรม การประชมุ ใหญ่สามัญประจำปี ภายใน 150 วัน (ตามปบี ัญชี) 5 ครั้ง เม.ย.65 – ส.ค.65 1.3 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์ การบริหารจดั การที่ 12 ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 มีธรรมาภิบาล 1.4 กิจกรรม แนะนำ สง่ เสริมสหกรณม์ รี ะดับชนั้ คุณภาพการควบคมุ ภายใน 12 ครง้ั ต.ค.64– ก.ย.65 1.5 กจิ กรรม แนะนำสง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของสมาชิก โดยการเข้าร่วม 1 คร้ัง ส.ค.65 ประชมุ กลมุ่ สมาชิกสหกรณ์ 1.6 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและสมาชิกกบั ทุกภาค 12 ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 ส่วน 1.7 กิจกรรมแนะนำ สง่ เสริมการแกไ้ ขปัญหาลูกหน้ีค้าง 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.8 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสริมการรับสมาชิกสหกรณ์เพม่ิ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กจิ กรรม ค่า หนว่ ย ชว่ งเวลาที่ เปา้ หมาย นับ ดำเนินการ 1.9 กจิ กรรมแนะนำ ส่งเสรมิ การรกั ษามาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริม 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 สหกรณ์ 1.10 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริมสหกรณใ์ หม้ คี วามเข้มแขง็ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 2.ด้านการพฒั นาการดำเนินธรุ กจิ 2.1 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์มีอัตราการขยายตวั ของปริมาณธุรกิจ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 เพ่ิมขึน้ จากปีกอ่ นไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 3 2.2 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริมสหกรณจ์ ดั หาสินคา้ มาจำหน่าย 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 3 ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 3.1 กิจกรรมกำกบั ดูแล ตรวจสอบและแก้ไขตามแนวทางที่กรมกำหนด 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 3.2 กจิ กรรม ตรวจตดิ ตาม/เฝา้ ระวัง และตรวจการท่มี ปี ระสิทธิภาพเพ่ือ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ป้องกันการเกดิ ข้อบกพร่องและป้องกันการเกดิ ทจุ ริตทงั้ ในเชงิ นโยบายและ ปฏบิ ตั ิ 3.3 กิจกรรม แนะนำ ป้องกันการเกิดข้อบกพร่อง (ตรวจการสหกรณ์ 1 ครง้ั พ.ค.65 รายบุคคล)และตรวจการสหกรณโ์ ดยทีมตรวจสอบระดบั จงั หวดั แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์จะแนะนำสง่ เสริมให้สหกรณ์ดำเนินการ: แผนงาน/กิจกรรม คา่ หนว่ ย ชว่ งเวลาที่ เป้าหมาย นบั ดำเนนิ การ 1. ด้านการส่งเสรมิ และพฒั นาองค์กร 1.1 กิจกรรม บนั ทึกบัญชใี หถ้ ูกต้องเป็นปัจจบุ ัน และจดั ทำรายละเอียดต่างๆ 12 ครัง้ ต.ค.64 – ก.ย.65 ประกอบงบการเงนิ 1.2 กิจกรรม จดั ประชมุ ใหญส่ ามัญประจำปี ภายใน 150 วนั (ตามปีบญั ช)ี 5 คร้งั เม.ย.65 – ส.ค.65 1.3 กิจกรรม สหกรณป์ ฏิบตั ิตามหลักธรรมาภิบาล 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.4 กิจกรรม สหกรณป์ ฏิบัติตามระบบการควบคมุ ภายใน 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.5 กจิ กรรม สหกรณ์/สมาชิกมสี ่วนรวมทุกภาคสว่ น 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.6 กิจกรรม การรบั สมาชกิ เพ่ิมระหว่างปี 12 ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 1.7 กจิ กรรม สหกรณแ์ กไ้ ขปัญหาลูกหนี้คา้ ง 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.8 กิจกรรม สหกรณร์ บั สมาชิกสหกรณเ์ พม่ิ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.9 กิจกรรม สหกรณ์รักษามาตรฐานสหกรณ์ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.10 กจิ กรรม สหกรณด์ ำเนนิ ตามแนวทางการสร้างความเข้มแข็ง 12 ครัง้ ต.ค.64 – ก.ย.65 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ 2.1 กจิ กรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปีของสหกรณ์ และเพิม่ ศกั ยภาพ 12 ครัง้ ต.ค.64 – ก.ย.65 ในธุรกิจเพือ่ ให้มอี ัตราการขยายตัวของปริมาณธรุ กิจเพ่ิมข้นึ จากปกี ่อนไม่นอ้ ย กวา่ ร้อยละ 3 2.2 กจิ กรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปีของสหกรณ์ และเพม่ิ ศักยภาพ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 ในธุรกิจการจัดหาสินค้ามาจำหน่าย 3. ด้านการกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กิจกรรม ค่า หนว่ ย ชว่ งเวลาท่ี เป้าหมาย นบั ดำเนินการ 3.1 กจิ กรรม สหกรณ์ติดตาม/เฝ้าระวงั และป้องกันขอ้ บกพร่อง 3.2 กิจกรรม สหกรณป์ ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ ขอ้ บังคับ พระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 พ.ศ.2542 แก้ไขฉบบั ท่ี 3 พ.ศ.2562 12 ครัง้ ต.ค.64 – ก.ย.65 ลงช่ือ นายจิรายุทธ สุโพธแ์ิ สน เจ้าหน้าที่ผูร้ บั ผิดชอบ (นายจิรายุทธ สุโพธ์ิแสน) วันท่ี 9 สงิ หาคม 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
14. สหกรณก์ ารเกษตรดงพยุง จำกดั ประเภท : การเกษตร การวิเคราะหข์ อ้ มลู และบรบิ ทของสหกรณ์ ⚫ ขอ้ มลู พ้ืนฐานของสหกรณ์ 1) ข้อมูลทั่วไป : จำนวนสมาชกิ 384 คน จำนวนสมาชิกที่ร่วมทำธรุ กจิ 384 คน ธรุ กิจหลกั รวบรวมผลผลิต ผลผลติ หลกั ยางพารา มนั สำปะหลงั ปาล์ม ข้าว มาตรฐานสหกรณ์ ระดบั ดี ระดบั ชัน้ สหกรณ์ ชนั้ 2 2) โครงสรา้ งพื้นฐานของสหกรณ์ : ฉาง ลานตาก เครื่องชงั่ เครอ่ื งสับมนั สำปะหลงั รถตัก เครื่องผสมปุ๋ย 3) ข้อมูลการดำเนนิ ธุรกจิ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) : ปรบั ตามปบี ญั ชขี องสหกรณ์ หนว่ ย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กจิ สินเชอ่ื 0.00 148,050.00 1,050,000.00 2. ธรุ กจิ รบั ฝากเงนิ 51,410.20 2,433,910.48 2,045,812.84 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลติ 58,735,760.15 53,332,622.00 62,706,952.81 4. ธรุ กิจแปรรปู ผลผลิต 156,944.00 5. ธุรกจิ จดั หาสินค้ามาจำหนา่ ย 3,087,184.00 418,396.00 185,635.00 6. ธุรกิจบรกิ าร 3,152,813.00 3,253,702.00 0.00 รวม 62,031,298.35 0.00 0.00 59,485791.48 69,242,102.65 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
4) สถานภาพทางการเงนิ (ข้อมูลยอ้ นหลงั 3 ปีบัญชีล่าสดุ ) ปรับตามปบี ัญชีของสหกรณ์ งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทุน หนว่ ย ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 นบั สินทรัพย์ บาท 12,767,255.17 8,603,959.23 16,267,997.48 7,339,920.18 15,679,577.51 หน้ีสิน บาท 11,630,105.23 1,264,039.05 588,419.97 ทุนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร บาท 1,137,149.94 279,104.11 (627,665.58) กำไร (ขาดทุน) สทุ ธิ บาท 335,073.36 อตั ราส่วนทางการเงนิ ที่สำคัญ - อตั ราสว่ นหนสี้ นิ ตอ่ ทุน (DE Ratio) เท่า 10.22 5.80 26.65 22.08 -67.77 - อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) % 121.16 3.24 -5.05 1.17 0.52 - อัตราผลตอบแทนตอ่ สินทรัพย์ (ROA) % 2.60 0.05 0.00 - อัตราส่วนทุนหมนุ เวยี น เท่า 0.73 - อตั ราส่วนทุนสำรองต่อสินทรัพย์ เทา่ 0.02 5) ขอ้ สงั เกตของผูส้ อบบัญชี (ถา้ มี) - ด้านการบรหิ ารจดั การทว่ั ไป เจา้ หนา้ ท่ผี ปู้ ฏิบัตงิ านมรี หสั ผา่ นแยกจากกัน แตไ่ มเ่ คยเปลย่ี นรหสั ผ่าน - ด้านความเพยี งพอของเงนิ ทุนตอ่ ความเสี่ยง ทนุ สหกรณไ์ มส่ ามารถคมุ้ ครองหนส้ี ินได้ทงั้ หมด - ด้านการทำกำไร สหกรณ์ต้องควบคมุ ค่าใช้จ่ายให้อยู่ในเกณฑม์ าตรฐาน เนื่องจากสหกรณม์ อี ตั รา ค่าใช้จา่ ยดำเนินงานตอ่ กำไร(กอ่ นหกั ค่าใชจ้ ่ายดำเนินงาน) 2.29 เท่า - ด้านการติดตามข้อสังเกต สหกรณ์ความมแี นวทางในการตดิ ตามเรง่ รดั เรยี กเกบ็ หนจี้ ากสมาชกิ โดยเร็ว เพอ่ื นำมาเปน็ ทนุ หมุนเวียนในการดำเนนิ งานหรือนำไปชำระหนเ้ี งินก้ยู มื ซ่ึงจะลดภาระดอกเบ้ียได้ และ จากการคำนวณมลู ค่าหุน้ ณ 31 มีนาคม 2564 สหกรณม์ มี ลู คา่ ต่อหุน้ คงเหลอื ตดิ ลบ 244.41 บาท ตาม คำแนะนำนายทะเบยี นสหกรณ์ เรอื่ งแนวทางปฏิบัติในการจา่ ยคนื หนุ้ กรณสี หกรณ์/ชมุ นมุ สหกรณ์ขาดทนุ สะสม พ.ศ. 2549 หากสมาชิกลาออกจากสหกรณใ์ นระยะเวลานี้ จึงทำใหส้ มาชิกไมไ่ ดร้ ับคืนหนุ้ แตอ่ ย่างใด 6) ขอ้ บกพร่องของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร รับฝากเงนิ จากบุคคลภายนอก ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของสหกรณ์ สหกรณก์ ารเกษตรดงผยงุ จำกดั ดำเนนิ ธุรกจิ 5 ธุรกจิ ไดแ้ ก่ ธุรกจิ รวบรวมผลผลิต ธรุ กจิ จดั หาสินค้า มาจำหน่าย ธุรกิจแปรรูปผลผลิต และธุรกจิ เงนิ รับฝาก สหกรณ์ดำเนินธุรกิจหลายด้านและมกี ารสร้างอาคาร สถานที่ รวมทง้ั มกี ารได้รบั งบประมาณสนบั สนนุ ด้านตา่ งทำใหผ้ ลการดำเนินงานท่ีผ่านมามผี ลขาดทุน ส่วนหนง่ึ มาจากค่าเสื่อมราคา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเปา้ หมายในการแนะนำส่งเสริม พฒั นา และกำกบั ดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั นี้ 1) ระดับช้นั สหกรณ์ : รกั ษาระดบั สหกรณ์ชัน้ 1 และชัน้ 2 ยกระดบั สหกรณช์ ้นั 2 และ ชั้น 3 สู่ช้ันที่ดีขึน้ 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร : ผลกั ดนั สหกรณ์ใหผ้ ่านมาตรฐานหรอื อยใู่ นระดบั ทด่ี ีข้นึ 3) อ่ืน ๆ (ระบุเป้าหมายอน่ื ๆ เชน่ การเพม่ิ ปริมาณการรวบรวมผลผลิต/แปรรูปผลผลติ สมาชกิ มสี ว่ นร่วมใน การดำเนนิ ธรุ กจิ กบั สหกรณ์เพมิ่ ขึ้น เปน็ ต้น) แผนการแนะนำสง่ เสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์เปน็ ผู้ดำเนนิ การ : ค่า หนว่ ยนับ ชว่ งเวลาที่ดำเนนิ การ เปา้ หมาย แผนงาน/กิจกรรม ครั้ง 1 ต.ค. 64 – 30 ก.ย. 65 12 ครง้ั 1 ต.ค. 64 – 30 ก.ย. 65 1. ด้านการสง่ เสริมและพัฒนาองค์กร 12 ครง้ั 1 ต.ค. 64 – 30 ก.ย. 65 1.1 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดบั การควบคมุ ภายในของสหกรณ์ 12 1.2 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดบั มาตรฐานของสหกรณ์ ครง้ั 1 ต.ค. 64 – 30 ก.ย. 65 1.3 กจิ กรรม สง่ เสริมสหกรณด์ ้วยบันได 7 ขั้น 12 ครงั้ 1 ต.ค. 64 – 30 ก.ย. 65 12 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนนิ ธุรกจิ ครั้ง 1 ต.ค. 64 – 30 ก.ย. 65 2.1 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดับการใหบ้ ริการสมาชิกของสหกรณ์ 12 ครั้ง 1 ต.ค. 64 – 30 ก.ย. 65 2.2 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดบั ประสทิ ธิภาพการดำเนินธุรกิจ 12 ของสหกรณ์ 3. ดา้ นการกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 3.1 กิจกรรม กำกบั ดแู ล ตรวจสอบตามกฎหมายสหกรณ์ 3.2 กิจกรรม กำกับ ดูแล ตรวจสอบตามกฎหมาย ปปง. แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์ดำเนินการ : (เช่น การแก้ไขปัญหาหนี้คา้ ง นานของสมาชิก การรวบรวมผลผลิตตามแผนการดำเนินงานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร การส่งเสริมการใช้ประโยชน์ อปุ กรณก์ ารตลาดให้เต็มศักยภาพ เป็นตน้ ) แผนงาน/กิจกรรม คา่ หน่วยนับ ช่วงเวลาทดี่ ำเนนิ การ เปา้ หมาย 1. แผนงาน/กิจกรรมหลัก การบรหิ ารความเสี่ยง 1.1 กิจกรรมแนะนำเร่อื งการบรหิ ารลกู หนี้การค้า 12 ครั้ง 1 ต.ค. 64 – 30 ก.ย. 65 1.2 กจิ กรรมแนะนำเร่อื งการกำหนดแผนเพ่ือเทยี บกบั ผลงาน 12 ครง้ั 1 ต.ค. 64 – 30 ก.ย. 65 ลงชื่อ นางสาวชไมพร มาตย์คำมี เจา้ หน้าท่ีผู้รับผิดชอบ นักวิชาการสหกรณป์ ฏิบตั กิ าร วนั ท่ี 3 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
15. สหกรณก์ ารเกษตรตำบลคำใหญ่ กพอ จำกดั ประเภท : การเกษตร การวิเคราะหข์ อ้ มูลและบรบิ ทของสหกรณ์ ⚫ ข้อมูลพนื้ ฐานของสหกรณ์ 3) ข้อมูลทว่ั ไป : จดทะเบยี นเม่อื : วันท่ี 27 พฤศจกิ ายน 2545 ท่ีต้งั เลขที่ 52 หมู่ท่ี 2 ตำบลพมิ ลู อำเภอห้วยเมก็ จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ 46170 โทร.081-0588931 จำนวนสมาชกิ : 59 คน - สามญั 59 คน - สมทบ - คน จำนวนคณะกรรมการ : 9 คน - ชาย 1 คน - หญิง .........8.....คน จำนวนสมาชกิ ที่รว่ มทำธุรกจิ : ประเภทการดำเนินธรุ กจิ รอ้ ยละจำนวนสมาชิกท่ีร่วมทำธรุ กิจ 1) ธรุ กจิ สนิ เช่อื ปี 2562 ปี 2563 ปี ปี 2564 2) ธรุ กจิ รับฝากเงิน 3) ธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ 63.79 - 49.15 4) ธรุ กิจแปรรูปผลผลิต 63.79 62.71 54.23 5) ธรุ กจิ จัดหาสนิ คา้ มาจำหน่าย 6) ธุรกิจอ่ืน - - - - - - 25.86 8.50 15.25 - - - ประเภทธรุ กิจหลักของสหกรณ์ : ธุรกจิ สนิ เชอ่ื ประเภทธรุ กจิ 1. ธรุ กจิ สนิ เช่ือ 2. ธุรกิจรับฝากเงิน 3. ธุรกจิ จัดหาสินคา้ มาจำหนา่ ย (ปุ๋ย) ผลผลิตหลกั : มันสำปะหลงั มาตรฐานของสหกรณ์ : ไมผ่ ่านเกณฑ์มาตรฐาน (F) ระดับชั้นของสหกรณ์ : ระดับ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
3) ข้อมลู การดำเนินธรุ กิจของสหกรณ์ (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชีล่าสดุ ) ประเภทธรุ กจิ ปี 2562 ปี 2563 หน่วย : บาท 1) ธุรกิจสินเชื่อ 670,000.00 - ปี 2564 2) ธรุ กิจรบั ฝากเงิน 27,890.00 27,890.00 3) ธุรกิจรวบรวมผลผลติ 530,000.00 4) ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลติ - - 11,200.00 5) ธุรกิจจัดหาสนิ คา้ มาจำหน่าย - - 29,040.00 4,500.00 - - 13,550.00 4) สถานภาพทางการเงนิ (ขอ้ มูลยอ้ นหลงั 3 ปีบัญชีล่าสุด) งบแสดงฐานะทางการเงนิ /งบกำไร(ขาดทุน) ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรพั ย์ :(บาท) 893,238.11 260,265.01 98,430.62 หนี้สิน :(บาท) 810,888.01 148,143.35 143,743.35 ทุนของสหกรณ์ :(บาท) 82,350.10 112,121.66 -45,312.73 รายได้ :(บาท) 109,134.20 45,306.11 73,827.56 ค่าใช้จา่ ย :(บาท) 402,499.18 19,234.55 252,161.95 กำไร(ขาดทุน)สุทธิ บาท) (293,364.98) 26,071.56 -178,334.39 อตั ราส่วนทางการเงนิ ทสี่ ำคญั ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 - อัตราส่วนหนสี้ นิ ต่อทนุ (DE Ratio) : (เท่า) 9.85 1.32 -3.17 - อัตราผลตอบแทนตอ่ ทนุ (ROE) : (%) -356.24 23.25 -393.56 - อัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) : (%) -32.84 10.02 -181.17 - อัตราสว่ นทนุ หมุนเวยี น : (เทา่ ) 1.10 1.76 2.30 - อัตราสว่ นทนุ สำรองตอ่ สินทรัพย์ : (เท่า) - - - 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี สหกรณ์ดำเนนิ ธุรกิจสินเชื่อและธรุ กจิ จัดหาสินค้ามาจำหนา่ ย มมี ลู คา่ ธรุ กจิ รวมทั้งส้นิ 543,550.00 บาท การบรหิ ารธุรกจิ แตล่ ะด้านสรุปไดด้ งั น้ี -ธุรกิจสินเชือ่ ระหว่างปีสหกรณ์ปล่อยเงินกู้ จำนวน 530,000.00 ระหว่างปีไดร้ ับชำระหน้จี าก ลูกหนี้เงนิ กู้ จำนวน 545,050.00 บาท ณ วันสน้ิ ปบี ญั ชมี ีลูกหนเี้ งินกคู้ งเหลือ จำนวน 435,711.09 บาท เป็น ลูกหนี้ท่ผี ิดนดั ชำระหน้ีทัง้ จำนวน สหกรณค์ วรตดิ ตามเรง่ รัดใหล้ ูกหนช้ี ำระหนี้ใหเ้ ปน็ ไปตามกำหนดสัญญาเพื่อ นำเงินมาเป็นทนุ หมุนเวียนในการดำเนินงานและดำเนินธุรกิจตอ่ ไป -สหกรณม์ ยี อดขาดทุนสทุ ธิ จำนวน 178,334.39 บาท ทำใหม้ ยี อดรวมหนีส้ ินทัง้ สิ้นสงู กว่า ยอด รวมสนิ ทรัพยท์ ้ังสนิ้ จำนวน 45,312.75 บาท จากสถานการณด์ งั กลา่ วแสดงถงึ ความไม่แน่นอนท่ีสำคัญที่อาจ ทำให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนัยสำคัญเกี่ยวกับความสามารถในการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องของสหกรณ์ ดังนั้น สหกรณ์ควรพจิ ารณาปรับปรงุ การดำเนนงิ านให้มีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงข้ึน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
-สหกรณ์ดำเนนิ งานมีผลขาดทนุ สะสมท้งั สนิ้ 329,039.87 บาท ตามคำสง่ั นายทะเบยี นสหกรณ์ท่ี 278/2549 เรื่อง ให้สหกรณ์และชุมนมุ สหกรณ์กำหนดเรอื่ งการจา่ ยคนื ค่าหนุ้ ในกรณีทีข่ าดทนุ เกินทุนสำรองท่ีมี อยู่ในขอ้ บังคบั จากการคำนวณมลู ค่าหนุ้ ณ วันท่ี 31 มนี าคม 2564 สหกรณ์มมี ลู คา่ ตอ่ ห้นุ คงเหลอื ติดลบ 7.45 บาทตอ่ หุ้น หากสมาชิกลาออกจากสหกรณ์ในระยะเวลานจี้ ะทำให้สมาชกิ ไม่ไดร้ บั เงนิ ค่าหุ้นคืนแตอ่ ยา่ งใด 6) ขอ้ บกพร่องของสหกรณ์ -ไม่มี- ⚫ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลของสหกรณ์ การวิเคราะห์ SWOT ผลการวิเคราะห์ SWOT Analysis โดยวิเคราะห์จากสภาพแวดล้อมภายใน 4M, 4P’s, วิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายนอก PESTEL มีดงั นี้ จดุ แข็ง (S) จุดอ่อน (W) S1 คณะกรรมการดำเนนิ การมีจำนวนเพยี งพอในการ W 1 สหกรณ์ใช้แหล่งเงินทุนภายนอกเป็นส่วนมาก ดำเนนิ งานและดำเนนิ ธรุ กิจ W 2 สหกรณ์ประสบปญั หาขาดทุนเกินกึง่ หนง่ึ ของทุนเรือน S2 คณะกรรมการดำเนินการมีการแบง่ หน้าท่ีและ หุ้น มอบหมายงานทชี่ ัดเจน W3 สมาชิกไมม่ ีสว่ นรว่ มในการทำธุรกิจรวบรวมผลผลิตกับ S3 คณะกรรมการมีความเสียสละในการปฏบิ ตั งิ าน และมี สหกรณ์ ความซ่ือสตั ย์ W4 สมาชิกไม่ปฏิบตั ติ ามบทบาทและหน้าทเ่ี ทา่ ทีค่ วร S4 สมาชิกมสี ่วนรว่ มในการทำธุรกิจสินเชอื่ กับสหกรณ์ W 5 สมาชิกสหกรณม์ หี น้หี ลายทาง ทำให้ไมม่ วี ินัยในการส่ง ชำระหน้ี W 6 กรรมการบางรายยังขาดความรู้ ความเขา้ ใจเร่ือง อดุ มการณ์ หลักการ และวิธกี ารสหกรณ์ รวมถงึ บทบาทหนา้ ที่ W 7 คณะกรรมการยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการ บรหิ ารจดั การธุรกจิ สหกรณ์อย่างมืออาชีพ W 8 สหกรณ์ฯเปน็ สหกรณ์ขนาดเล็ก ยังขาดอปุ กรณ์ การตลาดที่เพยี งพอ อาทิ ลานตาก รถตกั พรอ้ ม อปุ กรณ์ และรถแทรกเตอร์ W 9 สหกรณ์ฯ ยงั ไม่มีสำนักงานเป็นของตน โอกาส (O) อุปสรรค (T) O1 รัฐบาลมีนโยบายส่งเสรมิ และสนับสนุน เช่น เงินอดุ หนุน T1 คู่แข่งทางการค้ามีมาก และมีการแขง่ ขนั กันท่ีรุนแรง ในการจดั หาเครอ่ื งมือและอุปกรณ์ เงนิ กยู้ ืมอตั ราดอกเบ้ียต่ำ T2 สภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันทีช่ ะลอตัว ทำใหก้ ารคา้ การ และมกี ารฝึกอบรมเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจดั การ ขาย และการลงทุนมีปริมาณมีน้อย สหกรณ์ T3 ปจั จัยในการผลติ สนิ ค้าเกษตรมรี าคาสงู ข้ึน เช่น นำ้ มนั O2 มเี ครอื่ งมอื ส่ือสารและเทคโนโลยใี นการติดตอ่ ซื้อ-ขาย ปุ๋ย และเครือ่ งมอื การเกษตรต่าง ๆ หลายชอ่ งทาง ที่สะดวก รวดเรว็ เช่น การขายออนไลน์ ผา่ น T4 ขาดแคลนแรงงานในภาคการเกษตร และมรี าคาจา้ งที่ เฟชบุ๊ค ไลน์ และ เวบ็ ไซด์ต่าง ๆ ของหนว่ ยงานภาครฐั ทไ่ี ม่ แพง เสยี ค่าใช้จ่าย T5 สภาพดินฟ้า อากาศไม่อำนวยประกอบอาชพี O3 ระบบการคมนาคมสะดวก การเกษตรบางปกี ฝ็ นแลง บางปีก็น้ำทว่ ม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
จากผลวิเคราะห์ SWOT Analysis ของสหกรณ์การเกษตรตำบลคำใหญ่ กพอ. จำกัด สามารถนำไปสู่ Tows Matrix เพอื่ กำหนดกลยุทธ์ในการดำเนนิ งานของสหกรณ์ ดังน้ี ปจั จัยภายใน S จุดแข็งภายในองคก์ ร W จุดอ่อนภายในองคก์ ร /ปจั จยั ภายนอก O โอกาสภายนอก SO WO ขยายและเพิ่มปรมิ าณธรุ กจิ ของ -พฒั นาศกั ยภาพในการปฏิบตั งิ าน T อปุ สรรคภายนอก สหกรณ์ ของบุคลากร - การลดต้นทนุ และค่าใช้จา่ ย ST - การส่งเสริมการออมทรพั ย์ - การใหเ้ งนิ กู้ทเ่ี พียงพอในการ - ระดมหุน้ จากสมาชกิ ประกอบอาชพี ของสมาชกิ - ทบทวนและจดั ทำแผนฟ้ืนฟู -การจัดหาปัจจัยการผลิตทม่ี ี กจิ การ คณุ ภาพและราคาทยี่ ตุ ิธรรม - การแกป้ ญั หาหน้คี ้างชำระนาน -ประชาสัมพนั ธ์ ให้สมาชิกและ ของสมาชิก บคุ คลภายนอกได้ทราบนโยบาย ขบั เคลอ่ื นสหกรณ์ของรฐั บาล WT - การสรา้ งความสัมพันธก์ ับสมาชิก - ส่งเสริมเสริมอาชีพให้สมาชิกมี รายไดเ้ พิ่มขนึ้ - การวเิ คราะหแ์ ผนธุรกจิ - การวเิ คราะห์จุดคมุ้ ทนุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำสง่ เสรมิ พัฒนา และกำกบั ดแู ลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากการวเิ คราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดแู ลสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1) ระดับชั้นสหกรณ์ : รกั ษาระดับสหกรณ์ชน้ั 1 และช้นั 2 ยกระดบั สหกรณช์ ้นั 2 และ ชั้น 3 สู่ชัน้ ท่ดี ขี ึ้น 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร : รกั ษามาตรฐานสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรให้อยใู่ นระดบั ดีขนึ้ ไป ผลักดันสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดบั ทด่ี ขี ้ึน 3) ติดตามและตรวจสอบการหยดุ ดำเนนิ ธุรกจิ ของสหกรณใ์ นช่วงตั้งแต่ 30 เมษายน 2564 เป็นตน้ มา 4) ติดตามแนะนำสหกรณ์ให้เรียกประชุมคณะกรรมการ เพอ่ื พิจารณาแก้ไขปญั หาหรือเตรียมเลกิ สหกรณ์หาก คณะกรรมการไมม่ ีความสนใจทจี่ ะแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ์ 5) แนะนำให้คณะกรรมการเรยี กประชุมสมาชิก เพื่อช้แี จงปัญหา/อปุ สรรคของการดำเนนิ งานหากมแี นวทางท่จี ะ ฟืน้ ฟูสหกรณค์ วรทจี่ ะจัดทำแผน และถ้าไม่มีแผนทจ่ี ะฟ้นื ฟูสหกรณ์ก็ควรที่จะเลกิ แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปญั หาของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลมุ่ ส่งเสริมสหกรณเ์ ปน็ ผู้ดำเนินการ : ค่า หนว่ ยนับ ช่วงเวลาท่ี เปา้ หมาย ครัง้ ดำเนินการ แผนงาน/กิจกรรม ต.ค.64-ก.ย.65 3 คร้ัง 1)ติดตามและตรวจสอบการหยุดดำเนินธรุ กจิ คร้ัง ต.ค.64-ก.ย.65 1.1 กจิ กรรมตรวจเยี่ยมคณะกรรมการ 3 2)ติดตามแนะนำสหกรณใ์ หเ้ รียกประชุมคณะกรรมการ ต.ค.64-ก.ย.65 2.1 กจิ กรรมช้แี จงแนวทางการฟ้นื ฟูสหกรณ/์ เตรยี มเลกิ สหกรณ์ 1 3)แนะนำให้คณะกรรมการเรียกประชุมสมาชิก 3.1 กิจกรรมช้ีแจงแนวทางการฟ้นื ฟูสหกรณ/์ เตรยี มเลกิ สหกรณใ์ นทปี่ ระชุมสมาชิก แผนงาน/กจิ กรรมที่กลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์จะแนะนำส่งเสริมให้สหกรณด์ ำเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ หนว่ ยนับ ช่วงเวลาท่ี เป้าหมาย คร้งั ดำเนนิ การ คร้ัง 1)สหกรณ์เรียกประชมุ คณะกรรมการ ต.ค.64-ก.ย.65 1.1 กจิ กรรมฟื้นฟสู หกรณ์/เตรยี มเลกิ สหกรณ์ 3 ต.ค.64-ก.ย.65 2)คณะกรรมการเรียกประชุมสมาชกิ 2.1 กจิ กรรมฟ้ืนฟูสหกรณ์/เตรยี มเลิกสหกรณ์ 1 ลงช่ือ ส.ต.ต.หญิงศุภางค์ วันชูเพลา เจ้าหนา้ ท่ีผู้รับผิดชอบ นกั วิชาการสหกรณ์ชำนาญการ วนั ท่ี 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
16. สหกรณก์ ารเกษตรตำบลดอนจาน จำกดั ประเภท : การเกษตร การวเิ คราะหข์ ้อมูลและบริบทของสหกรณ์ ⚫ ขอ้ มลู พน้ื ฐานของสหกรณ์ 1) ขอ้ มูลทว่ั ไป : (หยุดดำเนินธุรกจิ ) จำนวนสมาชกิ 53 ราย จำนวนสมาชกิ ทีร่ ่วมทำธุรกจิ 0 ราย ธรุ กิจหลกั ธรุ กิจสนิ เชอื่ ผลผลิตหลกั ข้าว มาตรฐานสหกรณ์ ไมน่ ำมาจดั ระดบั ชั้นสหกรณ์ ระดับ 3 2) โครงสรา้ งพ้ืนฐานของสหกรณ์ : ไม่มีอปุ กรณ์การผลิต/การตลาด 3) ข้อมูลการดำเนนิ ธรุ กิจ (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปบี ญั ชลี ่าสดุ ) : ประเภทธรุ กจิ ปี 2562 ปี 2563 หน่วย : บาท 1. ธรุ กิจสนิ เชอื่ 45,000.00 258,460.00 ปี 2564 2. ธรุ กิจรบั ฝากเงิน 0.00 0.00 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ 0.00 0.00 0.00 4. ธรุ กิจแปรรูปผลผลติ 0.00 0.00 0.00 5. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหนา่ ย 0.00 0.00 6. ธุรกจิ บริการ 523,980.00 0.00 0.00 0.00 0.00 รวม 258,460.00 0.00 568,980.00 0.00 4) สถานภาพทางการเงนิ (ขอ้ มลู ย้อนหลงั 3 ปีบญั ชีล่าสุด) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทุน หนว่ ยนับ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรพั ย์ บาท 613,370.44 661,328.86 481,225.56 หน้ีสิน บาท 505,043.59 505,162.83 368,024.00 ทนุ ของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร บาท 108,326.85 156,166.03 113,201.56 กำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ บาท 11,924.46 12,966.12 - 42,964.47 อตั ราสว่ นทางการเงินท่ีสำคญั - อตั ราส่วนหนสี้ ินตอ่ ทนุ (DE Ratio) เทา่ 4.66 3.23 3.25 - อัตราผลตอบแทนตอ่ ทนุ (ROE) รอ้ ยละ 13.16 9.80 -31.90 - อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) ร้อยละ 3.47 2.03 -7.52 - อัตราสว่ นทุนหมนุ เวยี น เทา่ 1.21 1.31 - อัตราสว่ นทุนสำรองตอ่ สนิ ทรัพย์ เท่า 0.03 0.03 1.31 0.00 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
5) ขอ้ สังเกตของผู้สอบบญั ชี (ถ้ามี) - 6) ข้อบกพรอ่ งของสหกรณ์ (ถา้ มี) - ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลของสหกรณ์ จากข้อมูลพื้นฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์ได้ ดังนี้ สหกรณห์ ยุดดำเนินธรุ กจิ เนอ่ื งคณะกรรมการดำเนินการบรหิ ารงานไม่มปี ระสทิ ธภิ าพ สมาชกิ ขาดความเชอ่ื มน่ั และศรทั ธาต่อสหกรณ์ และสหกรณ์มหี น้ีทีไ่ ม่สามารถชำระหน้ีตามสญั ญาที่กำหนดได้ ซึ่งอาจจะถูกเจ้าหน้ีฟ้อง คดใี นอนาคต แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์ จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์ สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และ กำกับดแู ลสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั นี้ 1) ระดบั ช้ันสหกรณ์ : รกั ษาระดบั สหกรณช์ ้ัน 1 และชน้ั 2 ยกระดับสหกรณ์ช้นั 2 และ ชั้น 3 สูช่ ั้นทดี่ ขี ึ้น 2) มาตรฐานสหกรณ์ : รักษามาตรฐานสหกรณใ์ หอ้ ยู่ในระดบั ดขี ้ึนไป ผลกั ดันสหกรณ์ใหผ้ ่านมาตรฐานหรอื อยใู่ นระดบั ทดี่ ีขนึ้ 3) อื่น ๆ แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และแกไ้ ขปญั หาของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมทกี่ ลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์เป็นผู้ดำเนินการ : ค่า หน่วยนับ ชว่ งเวลาที่ เปา้ หมาย ดำเนินการ แผนงาน/กิจกรรม 4 ครงั้ ม.ค.65-ก.ย.65 1. ด้านการสง่ เสริมและพัฒนาองคก์ ร 4 ครั้ง ม.ค.65-ก.ย.65 1.1 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดับการควบคมุ ภายในของสหกรณ์ 1.2 กิจกรรม การรักษา/ยกระดับมาตรฐานของสหกรณ์ 4 คร้งั ม.ค.65-ก.ย.65 4 ครงั้ ม.ค.65-ก.ย.65 2. ด้านการพัฒนาการดำเนนิ ธรุ กจิ 2.1 กิจกรรม การรักษา/ยกระดบั การใหบ้ รกิ ารสมาชิกของสหกรณ์ 1 ครง้ั ม.ค.65-ก.ย.65 2.2 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดบั ประสิทธภิ าพการดำเนินธุรกจิ ของ 1 ครั้ง ม.ค.65-ก.ย.65 สหกรณ์ 3. ดา้ นการกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 3.1 กจิ กรรม การแก้ไขขอ้ บกพร่องของสหกรณ์ 3.2 กจิ กรรม ตรวจการสหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์จะแนะนำสง่ เสรมิ ให้สหกรณด์ ำเนนิ การ : แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ ดำเนินการ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลัก การดำเนนิ ธุรกิจ 1 ครั้ง 1.1 กจิ กรรม การดำเนินธุรกจิ ตามวัตถปุ ระสงคส์ หกรณ์ ม.ค.65-ก.ย.65 1 ครงั้ 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก การประชุมสหกรณ์ 4 ครัง้ ม.ค.65-ก.ย.65 2.1 กจิ กรรม ประชมุ ใหญ่สามัญประจำปี ม.ค.65-ก.ย.65 2.2 กจิ กรรม ประชมุ คณะกรรมการดำเนินการ 1 ครงั้ ม.ค.65-ก.ย.65 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั การแก้ไขปญั หาหนี้คา้ ง 3.1 กจิ กรรม ติดตามเร่งรัดหนี้รายตวั ลงช่ือ นายพนมพร กางสำโรง เจา้ หน้าท่ีผู้รบั ผิดชอบ นกั วิชาการสหกรณ์ชำนาญการ วันที่ 13 เดือน สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 683
Pages: