แผนงาน/กจิ กรรมที่กล่มุ ส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนำสง่ เสริมให้สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรดำเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาที่ ดำเนินการ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลัก การสร้างความมั่นคงใหก้ ับกลุ่มฯ 1.1 กิจกรรม ระดมทนุ เรือนหุน้ 1 ครั้ง ต.ค.64-ต.ค.65 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั การเพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหาร จดั การกลุ่มเกษตรกร 2.1 กจิ กรรม บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 1 ครง้ั ต.ค.64-ต.ค.65 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั พัฒนาบุคลากรกลมุ่ ฯ 3.1 กิจกรรม พัฒนากรรมการบริหาร 1 ครง้ั ต.ค.64-ต.ค.65 3.2 กจิ กรรม พัฒนาสมาชิกกลุ่มฯ 1 ครง้ั ต.ค.64-ต.ค.65 ลงชื่อ เจา้ หนา้ ท่ีผรู้ ับผดิ ชอบ (ผดงุ เดช บญุ สวสั ด์ิ) วันท่ี 16 เดือน สงิ หาคม พ.ศ. 2565 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
96. กล่มุ เกษตรกรทำนาสงเปลือย ประเภท : ทำนา การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและบริบทของกลมุ่ เกษตรกร ⚫ ขอ้ มูลพ้นื ฐานของกล่มุ เกษตรกร 1) ข้อมูลทัว่ ไป : จำนวนสมาชิก : 82 ราย จำนวนสมาชกิ ท่ีรว่ มทำธุรกจิ : 39 ราย ธรุ กิจหลกั /ผลผลิตหลกั : ธรุ กิจสินเชื่อ /ข้าว มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร : ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน ระดับชัน้ : ไมม่ กี ารจดั ช้ัน ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลิต : ไม่มี การแปรรูป : ไม่มี ผลิตภณั ฑ์เดน่ ฯลฯ : ขา้ วเหนยี วเขาวง 2) โครงสร้างพื้นฐานของกลมุ่ เกษตรกร : ไม่มอี ปุ กรณก์ ารตลาด 3) ข้อมูลการดำเนินธุรกจิ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปบี ญั ชีลา่ สุด ) ประเภทธรุ กิจ ปี 2562 ปี 2563 หน่วย : บาท 1. ธรุ กจิ สินเช่ือ 0 527,100.00 ปี 2564 2. ธรุ กิจรบั ฝากเงนิ - - 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลติ - - 535,500 4. ธรุ กิจแปรรปู ผลผลติ - - - 5. ธุรกจิ จัดหาสนิ คา้ มาจำหน่าย 3,500 - - 6. ธรุ กิจบริการ - - - 3,500 - รวม 527,100.00 - 535,500.00 4) สถานภาพทางการเงนิ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ ) หน่วย : บาท ปี 2564 งบแสดงฐานะการเงิน/งบกำไรขาดทุน ปี 2562 ปี 2563 280,049.98 253,433.43 สนิ ทรัพย์ 210,982.08 37,141.00 30,000.00 หน้สี ิน 37,141.00 216,292.43 250,049.98 ทุนของกลมุ่ เกษตรกร 173,841.08 18,701.35 13,222.55 กำไร (ขาดทนุ ) สุทธิ อัตราสว่ นทางการเงนิ ท่สี ำคัญ 161.30 0.17 0.12 - อัตราสว่ นหนีส้ ินตอ่ ทุน (DE Ratio) 0.21 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
- อตั ราผลตอบแทนตอ่ ทนุ (ROE) 0.09 9.59 3.69 - อัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) 0.08 8.05 3.36 - อตั ราส่วนทนุ หมุนเวยี น 29.55 35.49 N/A - อตั ราส่วนทนุ สำรองตอ่ สินทรพั ย์ 0.561 0.468 0.46 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ถ้ามี) 1.) กลุ่มเกษตรกรเก็บรกั ษาเงินสดเกนิ ระเบียบกำหนด 6) ข้อบกพรอ่ งของกล่มุ เกษตรกร –ไมม่ ี- ⚫ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ของกลมุ่ เกษตรกร จากขอ้ มลู พน้ื ฐาน และสภาพแวดล้อมของกลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของกลมุ่ เกษตรกรได้ ดังน้ี จุดแข็ง 1. สมาชิกประกอบอาชีพเดียวกัน และอยู่ในพ้นื ที่ใกล้เคียงกนั ทำให้งา่ ยในการบริหารงาน 2. คณะกรรมการมีความกระตอื รือรน้ ในการปฏิบัติหนา้ ที่ 3. กลุ่มฯ สามารถส่งชำระหน้ีกองทนุ สงเคราะห์เกษตรกรฯ ตามกำหนดระยะเวลา จุดอ่อน 1. กลุ่ม ฯ ไม่สามารถปิดบญั ชไี ดด้ ้วยตนเอง ต้องอาศัยเจ้าหนา้ ที่ส่งเสริมช่วยแนะนำ 2. มที นุ ดำเนนิ งานไมเ่ พยี งพอตอ่ ความต้องการของสมาชิก 3. คณะกรรมการยงั ขาดความรู้ในการบรหิ ารงาน 4. สมาชิกส่วนใหญเ่ ป็นบคุ คลท่มี ีอายมุ าก ทำใหก้ ารมาร่วมทำธรุ กิจกบั กล่มุ ฯ น้อย 5. สมาชิกท่ีไม่ได้กเู้ งินกบั กล่มุ ฯ จะไมม่ กี ารเพ่ิมหุ้นกบั กลมุ่ ฯ โอกาส 1. กลุ่ม ฯ ไดร้ ับเงินอดุ หนุนจากกรมสง่ เสรมิ สหกรณเ์ พอื่ จัดหาปัจจยั การผลิต จำนวน 30,000 บาท 2. กลุ่ม ฯ สามารถเขา้ ถึงแหลง่ เงินทุนของหน่วยงานราชการ เชน่ กรมส่งเสริมสหกรณ์ อุปสรรค 1. ผลผลติ ของเกษตรกรข้นึ อยกู่ บั สภาพภมู อิ ากาศตามธรรมชาติ (ภัยแลง้ , นำ้ ท่วม) 2. ราคาสินคา้ การเกษตรไม่แนน่ อนขึน้ อยู่กับกลไกลการตลาด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนา และกำกบั ดูแลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลกลุ่มเกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1) ระดบั ช้ันสหกรณ์ : รกั ษาระดบั สหกรณช์ น้ั 1 และชั้น 2 ยกระดบั สหกรณช์ ั้น 2 และ ช้ัน 3 สชู่ น้ั ทดี่ ีข้ึน 2) มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร : รกั ษามาตรฐานกลมุ่ เกษตรกรใหอ้ ย่ใู นระดบั ดขี ้นึ ไป ผลักดนั กลมุ่ เกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐานหรอื อยใู่ นระดับทดี่ ีขน้ึ แผนการแนะนำสง่ เสรมิ พฒั นา และแก้ไขปัญหาของกลมุ่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมทกี่ ล่มุ ส่งเสรมิ สหกรณ์เป็นผดู้ ำเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาที่ ดำเนินการ 1. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร 1.1 กจิ กรรม ประชุมกลมุ่ สมาชิก 1 กลมุ่ ก.พ. – ม.ี ค. 65 1.2 กิจกรรม แนะนำส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรปฏิบัตติ ามระเบยี บ 12 ครั้ง ต.ค.64 – มี.ค.65 ขอ้ บงั คบั ของกล่มุ ฯ อย่างเครง่ ครัด 1.3 กจิ กรรม ส่งเสรมิ แนะนำให้มกี ารควบคมุ ภายในทีด่ ี 12 คร้ัง ต.ค.64 – ม.ี ค.65 2. ด้านการพัฒนาการดำเนนิ ธุรกจิ 2.1 กิจกรรมแนะนำชี้แจงรกั ษามาตรฐานกลุ่ม 6 ครง้ั ต.ค.64 – ม.ี ค.65 2.2 กิจกรรมแนะนำช้แี จงการระดมทุนภายในกลุ่มฯ 1 ครง้ั ต.ค.64 – มี.ค.65 3. ดา้ นการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ/์ กลุ่ม เกษตรกร 3.1 กิจกรรม การแกไ้ ขขอ้ สงั เกตของกลุ่มเกษตรกร 12 ครงั้ ต.ค.64 – มี.ค.65 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกล่มุ ส่งเสริมสหกรณจ์ ะแนะนำส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรดำเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดำเนินการ 1. กลมุ่ เกษตรกรปริมาณธุรกิจเพ่มิ ข้ึนไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 เทยี บกับปีที่แล้ว 2 ครั้ง 1.1 กจิ กรรมการให้สินเช่อื เพ่ือเป็นทุนในการประกอบอาชพี 2 ครัง้ เม.ย. 64 – ก.ค. 65 2 . สมาชิกมีส่วนรว่ มในการทำธรุ กจิ เพ่ิมขึ้น ก.ย.64 – มี.ค.65 2.1 กิจกรรม ประชาสมั พนั ธ์ สง่ เสริมการมสี ่วนร่วมของสมาชิก ลงชื่อ ยุพาภรณ์ นาทมุ เจ้าหนา้ ท่ีผรู้ บั ผดิ ชอบ นักวชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ วนั ท่ี 10 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
97. กลุ่มเกษตรกรทำนาสงเปลือย ประเภท : ทำนา การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และบรบิ ทของกลุ่มเกษตรกร ⚫ ขอ้ มูลพื้นฐานของกลุ่มเกษตรกร 1) ข้อมูลทวั่ ไป : 1.1 จำนวนสมาชกิ 63 คน (สมาชกิ สามญั 63 คน สมาชิกสมทบ 0 คน) กลุ่มสมาชกิ 1 กล่มุ 1.2 จำนวนสมาชิกทม่ี สี ว่ นร่วมในการทำธุรกิจกับกลุม่ เกษตรกร 18 คน 1.3 คณะกรรมการดำเนนิ การ 7 คน ฝา่ ยจดั การ 0 คน ( มีผูจ้ ดั การ ไม่มีผจู้ ดั การ) 1.4 ผู้ตรวจสอบกิจการ 1 คน 1.5 วนั สิน้ ปที างบัญชี 31 มีนาคม ของทุกปี 1.6 กลุม่ เกษตรกรดำเนินธรุ กิจด้านเดียว คือ ธรุ กจิ สนิ เชอ่ื 1.7 ธุรกจิ หลกั คือ ธรุ กิจให้สนิ เชือ่ 1.8 ผลการประเมนิ มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร ยงั ไม่ได้ประชมุ ใหญส่ ามญั ประจำปี (คาดวา่ ไมผ่ า่ น เกณฑม์ าตรฐาน เน่ืองจากขาดทุนสะสม การมีส่วนร่วมของสมาชิกไม่ถึงเกณฑ์) ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน ไมผ่ า่ นเกณฑม์ าตรฐาน 1.9 ผลการจัดชั้นกลุ่มเกษตรกร ระดับชั้น 2 (ไมม่ ีระบบควบคมุ ภายใน) 1.10 ผลผลติ หลักของกลมุ่ เกษตรกร คอื ข้าว ผลผลิตรองของกลมุ่ เกษตรกร คอื มนั สำปะหลงั 1.11 ผลิตภัณฑเ์ ดน่ ของกลุม่ เกษตรกร คือ ไมม่ ี 1.12 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิตของกล่มุ เกษตรกร : ไม่มีศกั ยภาพ 1.13 ศักยภาพการแปรรูปผลผลิตของกลุ่มเกษตรกร : ไมม่ ีการแปรรปู 1.14 กลุ่มเกษตรกรเขา้ ร่วมโครงการ/นโยบายรัฐบาล : ไมม่ ี 2) โครงสร้างพืน้ ฐานของกลุ่มเกษตรกร : ไมม่ ี 3) ขอ้ มูลการดำเนนิ ธุรกจิ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปบี ัญชีล่าสุด ) : หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกจิ สินเชอื่ 536,019.00 161,615.00 76,200.00 2. ธรุ กจิ รบั ฝากเงิน - - - 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลิต - - - 4. ธุรกจิ แปรรปู ผลผลติ - - - 5. ธุรกจิ จดั หาสนิ คา้ มาจำหนา่ ย - - - 6. ธุรกจิ บรกิ าร - - - รวม 536,019.00 161,615.00 76,200.00 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
4) สถานภาพทางการเงนิ (ขอ้ มูลย้อนหลงั 3 ปีบัญชีลา่ สดุ ) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทนุ หน่วยนบั ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สนิ ทรัพย์ บาท 569,770.20 196,034.01 84,192.36 หนส้ี ิน บาท 378,750.00 78,750.00 78,750.00 ทุนของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร บาท 191,020.20 117,284.01 5,442.36 กำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ บาท 21,965.89 (25,955.99) (111,841.65) อัตราส่วนทางการเงนิ ท่ีสำคญั - อัตราสว่ นหนส้ี ินตอ่ ทนุ (DE Ratio) เท่า 1.98 0.67 14.45 - อตั ราผลตอบแทนตอ่ ทุน (ROE) % 11.49 -22.13 - - อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) % 3.85 -13.24 - - อัตราสว่ นทนุ หมนุ เวยี น เทา่ 1.50 - อตั ราสว่ นทนุ สำรองตอ่ สินทรัพย์ เทา่ 0.05 2.45 1.07 0.00 - 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบญั ชี (ถา้ มี) กลมุ่ เกษตรกรดำเนนิ งานมผี ลขาทนุ สทุ ธิ จำนวน 111,841.65 บาท ซง่ึ เกินกง่ึ หนงึ่ ของจำนวนทนุ เรอื นหุ้นท่ชี ำระแล้ว ตามพระราชกฤษฎกี า วา่ ดว้ ยกลมุ่ เกษตรกร พ.ศ. 2547 มาตรา 17 กลุม่ เกษตรกรตอ้ งเรียกประชมุ ใหญว่ ิสามญั โดยมชิ กั ช้า แตไ่ ม่เกินสามสบิ วนั นับแต่วันท่ีกลมุ่ เกษตร ทราบ 6) ข้อบกพร่องของกลุ่มเกษตรกร (ถา้ มี) เงนิ สดขาดบญั ชี จำนวน 112,198.68 บาท ⚫ ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ของกลมุ่ เกษตรกร จากขอ้ มลู พน้ื ฐาน และสภาพแวดล้อมของกลมุ่ เกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของกลมุ่ เกษตรกรได้ ดงั น้ี กลุ่มเกษตรกรทำนาสงเปลือย เป็นกลุ่มเกษตรกรกลุ่มเกษตรกรขนาดเล็ก ไม่มีเจ้าหน้าที่ ไม่มีการ ประชุมของคณะกรรมการดำเนินการ ไม่มีการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ไม่ปฏิบัติตามแนวทางการบรหิ าร จัดการ 126 ข้อ มกี ารดำเนินธรุ กจิ สนิ เช่ือ และไม่มกี ารชำระหน้ีตามกำหนด ส่งผลให้ผลประกอบการขาดทุน ในปีนี้ ทำใหก้ ลุม่ เกษตรกรไมอ่ าจดำเนนิ การให้เปน็ ผลดตี ่อไปได้ มาตรา 33 (4) นายทะเบียนสหกรณม์ อี ำนาจ ส่ังใหเ้ ลกิ กล่มุ เกษตรกรไดเ้ มอื่ ปรากฏวา่ การดำเนินการของกลุ่มเกษตรกรก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายอย่างร้ายแรง แกก่ ลมุ่ เกษตรกรน้ัน หรอื กลมุ่ เกษตรกรไม่อาจดำเนนิ การให้เปน็ ผลดตี ่อไปได้ จากการเข้าไปแนะนำสง่ เสรมิ และนดั หมายประชมุ คณะกรรมการ ปรากฏวา่ คณะกรรมการดำเนินงาน ไมป่ ฏบิ ตั ิตามหนา้ ที่ ไม่มาประชมุ จึงได้พูดคยุ กบั ประธานกรรมการเพือ่ แก้ไขปัญหา เบื้องต้นกลมุ่ เกษตรกรจะ เรียกประชมุ ใหญ่ เพอื่ พิจารณาเสนอแผนฟืน้ ฟกู จิ การและหรอื เลกิ กิจการต่อไป ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนา และกำกับดูแลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดแู ลกลมุ่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั นี้ 1) ระดับชน้ั กลุ่มเกษตรกร : รกั ษาระดับกล่มุ กล่มุ เกษตรกรชนั้ 1 และชนั้ 2 ยกระดับกลมุ่ เกษตรกรชั้น 2 และ ชั้น 3 สู่ชน้ั ท่ีดีข้ึน 2) มาตรฐานกลุม่ เกษตรกร : รกั ษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรให้อยูใ่ นระดบั ดขี ้ึนไป ผลกั ดนั กลมุ่ เกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐานหรอื อยใู่ นระดบั ทด่ี ีขึน้ 3) อืน่ ๆ ใหก้ ลมุ่ เกษตรกรเรียกประชมุ ใหญ่ เพ่อื พจิ ารณาเสนอแผนฟนื้ ฟูกจิ การและหรอื เลกิ กิจการ ต่อไป แผนการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และแกไ้ ขปญั หาของกลมุ่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมทกี่ ลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์เป็นผดู้ ำเนนิ การ : คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนับ ชว่ งเวลาท่ี ดำเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม ให้มรี ะบบ รอ้ ยละ 1. ด้านการสง่ เสรมิ และพฒั นาองค์กร ควบคมุ ภายใน รอ้ ยละ ต.ค.64 - ก.ย. 65 ยกระดับ ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.1 กจิ กรรม ยกระดับการควบคมุ ภายในของกลุ่มเกษตรกร มาตรฐานให้ดี คร้ัง ข้นึ ครัง้ ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.2 กจิ กรรม ยกระดบั มาตรฐานของกลุ่มเกษตรกร รักษาระดบั 2 ต.ค.64 - ก.ย. 65 ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.3 กิจกรรม รกั ษาระดบั ชั้นความเข้มแขง็ กลมุ่ เกษตรกร 60 % ขึน้ ไป 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนนิ ธุรกิจ เพิม่ ขึน้ 3% ต.ค.64 - ก.ย. 65 ต.ค.64 - ก.ย. 65 2.1 กจิ กรรม ยกระดบั การให้บรกิ ารสมาชิกของกลุ่มเกษตรกร ตามทกี่ รม 2.2 กิจกรรม ยกระดบั ประสทิ ธภิ าพการดำเนนิ ธรุ กจิ ของกลมุ่ กำหนด เกษตรกร ตามทก่ี รม 3. ด้านการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบ กำหนด กลมุ่ เกษตรกร 3.1 กจิ กรรม ตรวจการกลมุ่ เกษตรกรตามแผนท่ีกำหนด 3.2 กจิ กรรม ตดิ ตาม/รายงานผล แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุม่ ส่งเสรมิ สหกรณ์จะแนะนำสง่ เสริมให้ กลุม่ เกษตรกรดำเนนิ การ : ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลักพฒั นาความเขม้ แข็ง 1.1 กิจกรรม จัดประชมุ ใหญ่สามัญ 1 ครัง้ ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.2 กิจกรรม จดั ทำแผนพัฒนาความเขม้ แข็ง 1 แผน ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.3 กิจกรรม ปฏิบตั ติ ามแผน/ติดตาม/รายงานผล 10 ครั้ง ต.ค.64 - ก.ย. 65 2. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ยกระดบั มาตรฐาน 10 ครั้ง ต.ค.64 - ก.ย. 65 2.1 กจิ กรรม ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ 1 ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย. 65 2.2 กิจกรรม จดั ทำแผนยกระดับมาตรฐาน 10 ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย. 65 2.3 กจิ กรรม ปฏบิ ัติตามแผน/ตดิ ตาม/รายงานผล 10 ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย. 65 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก แก้ไขปญั หาการดำเนินงาน 1 ครั้ง ต.ค.64 - ก.ย. 65 3.1 กิจกรรม ประชมุ คณะกรรมการดำเนินการ 10 ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย. 65 3.2 กจิ กรรม จัดทำแผนแกไ้ ขปญั หาการดำเนินงาน 3.3 กจิ กรรม ปฏิบัติตามแผน/ตดิ ตาม/รายงานผล ลงชื่อ นายธนาดลุ บตุ รวงษ์ เจ้าหน้าท่ีผู้รบั ผิดชอบ นกั วิชาการสหกรณ์ชำนาญการ วนั ที่ 15 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
98. กล่มุ เกษตรกรทำนาสระพงั ทอง ประเภท : ทำนา การวเิ คราะหข์ อ้ มูลและบรบิ ทของกลมุ่ เกษตรกร ⚫ ข้อมูลพ้ืนฐานของกลุ่มเกษตรกร 1) ขอ้ มูลทวั่ ไป : จำนวนสมาชิก : 57 ราย จำนวนสมาชิกท่ีรว่ มทำธุรกจิ : 28 ราย ธรุ กิจหลกั /ผลผลิตหลกั : ธรุ กิจสนิ เชื่อ /ข้าว มาตรฐานกล่มุ เกษตรกร : ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน ระดับชน้ั : ไมม่ ีการจัดช้นั ศักยภาพการรวบรวมผลผลติ : ไม่มี การแปรรูป : ไม่มี ผลติ ภัณฑ์เดน่ ฯลฯ : ขา้ ว 2) โครงสร้างพื้นฐานของกลุม่ เกษตรกร : ไม่มีอุปกรณก์ ารตลาด 3) ขอ้ มูลการดำเนนิ ธรุ กจิ (ข้อมูลยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ ) หนว่ ย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกิจสนิ เชื่อ 588,000 479,000 470,000 2. ธุรกจิ รับฝากเงิน - - - 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลิต - - - 4. ธรุ กิจแปรรูปผลผลติ - - - 5. ธรุ กิจจดั หาสินคา้ มาจำหน่าย - - - 6. ธุรกิจบริการ - - - 588,000 479,000 รวม 470,000 4) สถานภาพทางการเงนิ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สุด) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทนุ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สนิ ทรัพย์ 212,442.50 248,236.65 266,610.30 หนีส้ ิน 30,000.00 30,000.00 30,000 ทนุ ของกลุ่มเกษตรกร 182,442.50 218,236.65 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 2,934.04 17,144.14 236,610.30 อัตราสว่ นทางการเงนิ ท่ีสำคญั 15,093.66 - อตั ราส่วนหน้สี ินต่อทนุ (DE Ratio) 0.16 0.14 - อัตราผลตอบแทนต่อทนุ (ROE) 1.84 8.56 0.13 - อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) 1.51 7.44 3.32 - อตั ราส่วนทุนหมุนเวียน 2.93 - อัตราส่วนทุนสำรองต่อสินทรัพย์ - - 0.279 0.248 - 0.25 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
5) ขอ้ สงั เกตของผสู้ อบบัญชี (ถา้ มี) 1.) กลุ่มเกษตรกรเก็บรกั ษาเงินสดเกินระเบียบกำหนด 6) ขอ้ บกพร่องของกลุ่มเกษตรกร -ไมม่ ี- ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลของกลุ่มเกษตรกร จากขอ้ มูลพน้ื ฐาน และสภาพแวดลอ้ มของกลุ่มเกษตรกร สามารถวเิ คราะห์ข้อมลู ของกลมุ่ เกษตรกรได้ ดงั น้ี จดุ แขง็ 1. สมาชกิ ประกอบอาชีพเดยี วกนั และอย่ใู นพื้นที่ใกล้เคียงกนั ทำให้งา่ ยในการบริหารงาน 2. คณะกรรมการมคี วามกระตือรอื รน้ ในการปฏบิ ัติหนา้ ท่ี 3. กลมุ่ ฯ สามารถสง่ ชำระหนีก้ องทุนสงเคราะหเ์ กษตรกรฯ ตามกำหนดระยะเวลา จุดอ่อน 1. กลมุ่ ฯ ไมส่ ามารถปิดบญั ชีไดด้ ้วยตนเอง ต้องอาศัยเจ้าหน้าที่ส่งเสริมชว่ ยแนะนำ 2. มีทุนดำเนนิ งานไมเ่ พยี งพอต่อความตอ้ งการของสมาชกิ 3. คณะกรรมการยงั ขาดความรู้ในการบรหิ ารงาน 4. สมาชกิ สว่ นใหญเ่ ป็นบุคคลท่ีมอี ายมุ าก ทำใหก้ ารมารว่ มทำธรุ กจิ กับกลุ่มฯ น้อย 5. สมาชกิ ท่ีไมไ่ ด้กเู้ งินกบั กลุ่มฯ จะไมม่ ีการเพ่ิมหนุ้ กบั กลุ่มฯ 6. กลุ่มฯ มลี กู หน้ีค้างนาน จำนวน 1 ราย เปน็ เงิน 46,867.50 บาท โอกาส 3. กลุ่ม ฯ ไดร้ บั เงนิ อดุ หนุนจากกรมสง่ เสรมิ สหกรณเ์ พื่อจัดหาปัจจยั การผลติ จำนวน 30,000 บาท 4. กลมุ่ ฯ สามารถเข้าถงึ แหล่งเงนิ ทุนของหน่วยงานราชการ เช่น กรมสง่ เสริมสหกรณ์ อุปสรรค 3. ผลผลติ ของเกษตรกรขึ้นอย่กู ับสภาพภมู ิอากาศตามธรรมชาติ (ภัยแล้ง, น้ำทว่ ม) 4. ราคาสนิ คา้ การเกษตรไมแ่ น่นอนขน้ึ อยู่กบั กลไกลการตลาด แผนการแนะนำสง่ เสริม พัฒนา และกำกับดูแลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลกล่มุ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1) ระดับชนั้ สหกรณ์ : รกั ษาระดบั สหกรณช์ ั้น 1 และช้ัน 2 ยกระดับสหกรณ์ชน้ั 2 และ ชนั้ 3 สู่ช้นั ทีด่ ีข้ึน 2) มาตรฐานกล่มุ เกษตรกร : รกั ษามาตรฐานกลุม่ เกษตรกรให้อยู่ในระดบั ดีข้นึ ไป ผลักดันกลุม่ เกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐานหรอื อยู่ในระดับที่ดีข้ึน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนา และแก้ไขปญั หาของกล่มุ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมทก่ี ลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์เป็นผูด้ ำเนนิ การ : คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาที่ ดำเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม 1 กลมุ่ ก.พ. – ม.ี ค. 65 1. ด้านการสง่ เสรมิ และพฒั นาองคก์ ร 12 ครั้ง ต.ค.64 – มี.ค.65 1.1 กิจกรรม ประชมุ กลมุ่ สมาชิก 12 ครง้ั ต.ค.64 – ม.ี ค.65 1.2 กิจกรรม แนะนำสง่ เสรมิ ให้กล่มุ เกษตรกรปฏิบตั ติ ามระเบียบ 6 ครัง้ ต.ค.64 – ม.ี ค.65 ขอ้ บังคบั ของกลุ่มฯ อย่างเครง่ ครดั 1 คร้งั ต.ค.64 – ม.ี ค.65 1.3 กจิ กรรม สง่ เสริม แนะนำให้มกี ารควบคมุ ภายในที่ดี 12 ครงั้ ต.ค.64 – ม.ี ค.65 2. ด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ 12 ครง้ั ต.ค.64 – มี.ค.65 2.1 กิจกรรมแนะนำชีแ้ จงรักษามาตรฐานกลุ่ม 2.2 กจิ กรรมแนะนำช้แี จงการระดมทุนภายในกลุ่มฯ 3. ดา้ นการกำกบั ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร 3.1 กิจกรรม การแกไ้ ขขอ้ สงั เกตของกลุม่ เกษตรกร 3.2 กจิ กรรมแนะนำ วางแผนการติดตามหน้ีค้างของกลุ่มเกษตรกร • แผนงาน/กิจกรรมทกี่ ลุ่มสง่ เสริมสหกรณจ์ ะแนะนำส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรดำเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ ดำเนนิ การ 1. กลุม่ เกษตรกรปริมาณธุรกิจเพมิ่ ข้ึนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 3 เทยี บกับปที ่ี 2 ครง้ั แล้ว 2 ครง้ั เม.ย. 64 – ก.ค. 65 12 ครงั้ ก.ย.64 – ม.ี ค.65 1.1 กิจกรรมการให้สินเช่อื เพ่ือเป็นทุนในการประกอบอาชีพ เม.ย. 64 – ก.ค. 65 2 . สมาชกิ มสี ่วนร่วมในการทำธุรกจิ เพิม่ ข้ึน 2.1 กิจกรรม ประชาสัมพันธ์ ส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของสมาชกิ 3. ติดตามหนคี้ ้างนานของกลุ่มเกษตรกร 3.1 กิจกรรม ตดิ ตามหนี้ค้างนานของกลุ่มเกษตรกร ลงชื่อ ยุพาภรณ์ นาทมุ เจ้าหนา้ ท่ีผู้รับผิดชอบ นักวชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ วนั ท่ี 10 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
99. กลุ่มเกษตรกรทำนาสะอาดไชยศรี ประเภท : ทำนา การวเิ คราะหข์ อ้ มูลและบริบทของกลมุ่ เกษตรกร ⚫ ข้อมลู พน้ื ฐานของกล่มุ เกษตรกร 1) ขอ้ มลู ทัว่ ไป : จำนวนสมาชกิ : 53 ราย จำนวนสมาชิกทร่ี ว่ มทำธุรกิจ : 35 ราย ธุรกิจหลกั : ธุรกิจสินเช่ือ ผลผลติ หลกั : ขา้ วเปลอื ก มาตรฐานสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร : ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน ระดบั ชน้ั สหกรณ์ : ช้ัน 2 ศักยภาพการรวบรวมผลผลติ : ไมไ่ ด้ทำธรุ กิจรวบรวมผลผลิต 2) โครงสรา้ งพ้นื ฐานของกลมุ่ เกษตรกร : - ไม่มอี ุปกรณก์ ารตลาด 3) ข้อมลู การดำเนนิ ธรุ กิจ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สุด ) : ปรบั ตามปบี ัญชีของกลมุ่ เกษตรกร หน่วย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กจิ สินเช่ือ 400,000.00 560,000.00 605,000.00 2. ธุรกิจรบั ฝากเงิน - - - 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ - - - 4. ธรุ กจิ แปรรูปผลผลิต - - - 5. ธุรกจิ จัดหาสินค้ามาจำหน่าย - - - 6. ธุรกจิ บริการ - - - รวม 400,000.00 560,000.00 605,000.00 4) สถานภาพทางการเงนิ (ข้อมลู ย้อนหลงั 3 ปบี ญั ชีลา่ สดุ ) ปรับตามปีบญั ชีของกลมุ่ เกษตรกร งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทุน หน่วยนับ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สนิ ทรพั ย์ บาท 96,734.64 246,508.22 267,614.92 หนี้สนิ ทนุ ของกลุ่มเกษตรกร บาท - 40,000.00 40,000.00 กำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ อตั ราส่วนทางการเงินท่สี ำคญั บาท 96,734.64 206,508.22 227,614.92 - อตั ราสว่ นหน้ีสินต่อทุน (DE Ratio) - อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) บาท 9,602.00 14,997.50 10,230.83 - อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) - อตั ราสว่ นทุนหมุนเวียน เท่า 4.14 0.19 0.18 - อตั ราสว่ นทุนสำรองต่อสนิ ทรพั ย์ ร้อยละ 11.53 7.89 4.71 ร้อยละ 11.53 6.52 3.98 เทา่ 0.24 24.65 26.76 เทา่ 0.08 0.05 0.06 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
⚫ ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ของกลมุ่ เกษตรกร จากขอ้ มลู พ้ืนฐาน และสภาพแวดลอ้ มของกล่มุ เกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมลู ของกลุ่มเกษตรกรได้ ดงั นี้ กล่มุ เกษตรกรทำนาสะอาดไชยศรี เปน็ กลุ่มเกษตรกรประเภททำนา ดำเนินธุรกจิ สนิ เช่อื ในระหว่างปีกลมุ่ เกษตรกรฯ ได้จ่ายเงินกู้ให้กบั สมาชกิ และสามารถส่งชำระหนีไ้ ด้ตามกำหนดทุกสัญญาทกุ รายสิ้นปบี ัญชีของ กล่มุ เกษตรกรไม่มหี นคี้ ้าง มผี ลกำไรจากการดำเนินงานและจดั สรรกำไรตามระเบียบและขอ้ บงั คบั ท่ีกลมุ่ ถือใช้ แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดแู ลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดแู ลกลุม่ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1) ระดบั ชั้นกลมุ่ เกษตรกร : รกั ษาระดบั กลมุ่ เกษตรกร ช้ัน 1 และชนั้ 2 ยกระดับกลมุ่ เกษตรกร ช้นั 2 และ ชนั้ 3 สูช่ ัน้ ที่ดขี ้ึน 2) มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร : รกั ษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรใหอ้ ยใู่ นระดับดขี น้ึ ไป ผลกั ดนั กลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรอื อยู่ในระดบั ทีด่ ขี นึ้ แผนการแนะนำสง่ เสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหาของกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมที่กลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์เป็นผดู้ ำเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนนิ การ 1. ดา้ นการสง่ เสริมและพฒั นาองค์กร ไมม่ คี วบคุม - ต.ค. 64-ก.ย.65 1.1 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดับการควบคุมภายในของกล่มุ ภายใน เกษตรกร 1.2 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดับมาตรฐานของกลุ่มเกษตรกร รกั ษา/ผลักดนั - ต.ค. 64-ก.ย.65 2. ด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกจิ การมสี ่วนร่วมไม่ % ต.ค. 64-ก.ย.65 2.1 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดับการให้บริการสมาชกิ ของ นอ้ ยกว่าร้อยละ กลุม่ เกษตรกร 60 มีผลการ 2.2 กิจกรรม การรักษา/ยกระดับประสิทธภิ าพการดำเนินธรุ กิจ ดำเนนิ งานไม่ ของกลุ่มเกษตรกร ขาดทุน - ต.ค. 64-ก.ย.65 2.3 กิจกรรม แผนธุรกิจสินเช่ือ 650,000 บาท เม.ย65-ม.ิ ย.65 2.4 กจิ กรรม แผนรับสมาชิกเพิ่ม 2 คน เม.ย.65-ก.ค.65 2.5 กจิ กรรม แผนการระดมหนุ้ 30,000 บาท เม.ย.65-ก.ค.65 2.6 กิจกรรม แผนการกู้เงนิ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 500,000 บาท ก.พ.65-พ.ค.65 2.7 กิจกรรม แผนการชำระเงินกองทนุ สงเคราะหเ์ กษตรกร 500,000 บาท ม.ค.65-มี.ค.65 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาท่ี ดำเนินการ 3. ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ กลมุ่ เกษตรกร ไมม่ ีข้อบกพร่อง - ต.ค. 64-ก.ย.65 3.1 กิจกรรม การแกไ้ ขข้อบกพร่องของกล่มุ เกษตรกร แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกล่มุ ส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนำสง่ เสริมให้กลุ่มเกษตรกรดำเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนับ ช่วงเวลาท่ี ดำเนินการ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 8 ครงั้ พ.ย. 64-มิ.ย.64 1.1 กิจกรรม แนะนำหลักเกณฑก์ ารจดั มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 8 ครั้ง ต.ค. 64-ก.ย.65 1.2 กิจกรรม แนะนำกลุ่มเกษตรกรปฏิบัตติ ามระเบียบ ข้อบงั คับ 12 ครั้ง ต.ค. 64-ก.ย.65 และราชกฤษฎีกาว่าด้วยกลุ่มเกษตรกร 2 ครง้ั ม.ี ค65-เม.ย 65 1 ครงั้ มิ.ย. 65-ส.ค.65 2. แผนงาน/กิจกรรมหลัก ปิดบญั ชใี หไ้ ด้ภายใน 30 วัน 6 ครงั้ ต.ค. 64-ก.ย.65 2.1 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสรมิ ช่วยเหลอื ให้กลุ่มเกษตรกรบันทึก บัญชใี หเ้ ป็นปัจจุบัน 2.2 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริม ช่วยเหลอื ปิดบญั ชใี หไ้ ดภ้ ายใน 30 วัน 3. แผนงาน/กิจกรรมหลัก ประชุมใหญส่ ามัญประจำปี/กรรมการ 3.1 กิจกรรม ประชุมใหญส่ ามัญประจำปี 3.2 กจิ กรรม ประชมุ คระกรรมการดำเนินการ ลงช่อื สภุ าพร สอนการ เจ้าหน้าท่ีผรู้ บั ผดิ ชอบ เจ้าพนักงานสง่ เสริมสหกรณ์ วันท่ี 3 เดือน สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
100. กล่มุ เกษตรกรทำนาสำราญใต้ ประเภท : ทำนา การวิเคราะห์ขอ้ มูลและบริบทของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ⚫ ขอ้ มูลพื้นฐานของกลุม่ เกษตรกร 1) ขอ้ มูลทั่วไป : จำนวนสมาชิก : 143 ราย จำนวนสมาชิกท่ีรว่ มทำธรุ กิจ : 42 ราย ธรุ กิจหลกั : ธรุ กิจสินเชื่อ ผลผลติ หลกั : ข้าว มาตรฐานกลุม่ เกษตรกร : อยู่ระหว่างการประเมินมาตรฐาน ระดบั ช้นั กลมุ่ เกษตรกร : ระดบั ชน้ั 2 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต : เป็นกลุ่มเกษตรกรขนาดเล็กไม่มศี กั ยภาพการรวบรวมผลผลิต การแปรรปู : ไม่มี สนิ ค้าเดน่ : ไมม่ ี 2) โครงสรา้ งพื้นฐานของกลมุ่ เกษตรกร : เปน็ กลมุ่ เกษตรกรขนาดเล็กไม่มีอปุ กรณก์ ารตลาด 3) ข้อมลู การดำเนินธุรกิจ (ข้อมูลย้อนหลงั 3 ปีบัญชลี า่ สดุ ) : ปรบั ตามปบี ัญชขี องกลุม่ เกษตรกร หน่วย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกิจสินเชอื่ 233,900.00 240,000.00 243.000.00 2. ธุรกิจรบั ฝากเงนิ - - - 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลติ - - - 4. ธรุ กิจแปรรปู ผลผลติ - - - 5. ธุรกจิ จดั หาสินคา้ มาจำหนา่ ย - - - 6. ธุรกิจบรกิ าร - - - รวม 233,900.00 240,000.00 243.000.00 4) สถานภาพทางการเงนิ (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด)ปรบั ตามปบี ญั ชขี องกลมุ่ เกษตรกร งบแสดงฐานะทางการเงิน/งบกำไร(ขาดทนุ ) ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรัพย์ :(บาท) 311,475.23 331,621.63 341,729.62 หนี้สิน :(บาท) 111,150.00 112,790.00 112,905.00 ทนุ ของกลมุ่ เกษตรกร :(บาท) 200,325.23 218,831.63 228,824.62 รายได้ :(บาท) 35,221.63 27,886.40 36,811.12 ค่าใชจ้ า่ ย :(บาท) 11,700.88 2,890.00 5,327.50 กำไร(ขาดทุน)สทุ ธิ :(บาท) 23,520.75 24,996.40 31,483.62 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
อัตราส่วนทางการเงนิ ทีส่ ำคัญ ปี 2562 ปี 2562 ปี 2564 - อัตราสว่ นหน้สี นิ ตอ่ ทุน (DE Ratio) : (เท่า) 0.56 0.61 0.57 - อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) : (%) 12.42 15.67 19.90 - อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรพั ย์ (ROA) : (%) 11.66 13.02 20.06 - อัตราส่วนทุนหมุนเวยี น : (เท่า) 40.38 45.89 49.00 - อตั ราส่วนทุนสำรองต่อสินทรพั ย์ : (เทา่ ) 0.47 0.47 0.20 - อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหัก 43.11 44.09 71.50 ค่าใชจ้ ่ายดำเนนิ งาน : (%) - อัตราสว่ นหนร้ี ะยะสน้ั ทช่ี ำระไดต้ ามกำหนด : (%) 86.76 91.34 80.27 5) ขอ้ สงั เกตของผ้สู อบบญั ชี(ขอ้ มูลยอ้ นหลัง 3 ปบี ญั ชลี ่าสุด) -ไม่มีขอ้ สงั เกตของกลมุ่ เกษตรกร 6) ขอ้ บกพรอ่ งของกลุ่มเกษตรกร (ข้อมูลย้อนหลงั 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ ) -ไม่มขี ้อบกพร่องของกลุ่มเกษตรกร ⚫ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ของกลมุ่ เกษตรกร จากข้อมูลพื้นฐาน และสภาพแวดล้อมของกลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ SWOT Analysis โดย วิเคราะห์จากสภาพแวดล้อมภายใน 4M, 4P’s, วิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก PESTEL และ Five Force Model สำหรบั วเิ คราะห์คแู่ ขง่ มดี ังนี้ จดุ แข็ง จุดออ่ น - ทุนท่ีไดม้ าเปน็ ทุนภายในของกลุ่มเกษตรกรเอง - การประชาสมั พนั ธ์ยังไมท่ ัว่ ถึง - คณะกรรมการมีความเสียสละในการบรหิ าร - ทนุ ภายในของกลมุ่ เกษตรกรยงั มไี มเ่ พยี งพอต่อการ - สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีอาชีพการเกษตร มีพื้นท่ีใน ดำเนนิ ธุรกจิ ของกลุม่ เกษตรกร ทำให้กลมุ่ เกษตรกร การเพาะปลกู มาก ต้องก้ยู มื เงินจากแหล่งเงินทุนภายนอก - สถานที่ในการให้บริการสะดวก งา่ ยต่อการติดตอ่ - อปุ กรณ์การผลติ /การตลาด ยงั ไมเ่ พยี งพอต่อการ ประสานงาน ขยายธรุ กิจ - สมาชกิ ยงั ไมม่ ีความร้ใู นดา้ นการเกบ็ เกย่ี วผลผลิตท่ีดี - กรรมการบางรายยงั ไมเ่ ข้าใจในกฎหมาย ขอ้ บงั คบั และระเบยี บของกลุม่ เกษตรกร - สมาชกิ ยงั ขาดวนิ ยั ในการชำระหนี้ - สมาชิกมีหนีเ้ พมิ่ ขึ้น เกษตรกรสว่ นใหญเ่ ป็นหนห้ี ลาย ทาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
โอกาส อปุ สรรค - มพี ้นื ที่เหมาะแกก่ ารปลูกข้าว และผลิตมีคุณภาพ - ในบางพืน้ ทรี่ ะบบชลประทานไม่ครอบคลมุ ท่วั ถึง - รฐั บาลมีนโยบายชว่ ยเหลือเกษตรกรในด้านการลด - ราคาซือ้ ขาย ผลผลิตทางการเกษตรตำ่ ต้นทนุ การผลิต และชดเชยคา่ เก็บเก่ียว - ตน้ ทุนการผลติ ทางการเกษตร (ข้าว) ราคาสงู ชว่ ยให้สมาชิกกลมุ่ เกษตรกรและเกษตรกรมี -สภาวะเศรษฐกจิ ไมด่ ี เนอ่ื งจากได้รบั ผลกระทบจาก คา่ ใชจ้ า่ ยในการผลิตลดลง การแพรร่ ะบาดของเชื้อโรคโควคิ 19 - รฐั บาลมนี โยบายสนบั สนุนสถาบันเกษตรกร โดย การใหส้ ินเช่อื อัตราดอกเบี้ยตำ่ เพ่ือรวบรวมผลผลติ (ขา้ ว) ของเกษตรกรในพื้นท่ี ผ่าน ธกส. - กล่มุ เกษตรกรได้รบั การยกเวน้ ภาษีอากรเรอ่ื งการ ทำนติ ิกรรม และการดำเนินธรุ กจิ - กฎหมายสหกรณช์ ว่ ยให้กลมุ่ เกษตรกรดำเนินธรุ กจิ ได้กวา้ งขวาง และโปรง่ ใสมากข้นึ แผนการแนะนำสง่ เสริม พฒั นา และกำกับดแู ลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำ ส่งเสรมิ พัฒนาและกำกบั ดูแลกลมุ่ เกษตรกร/กลมุ่ เกษตรกรประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1) ระดับชน้ั กลมุ่ เกษตรกร : รักษาระดับกลุม่ เกษตรกรชั้น 1 และชน้ั 2 ยกระดับกล่มุ เกษตรกรช้นั 2 และ ช้นั 3 สู่ชั้นทด่ี ขี น้ึ 2) มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร: รกั ษามาตรฐานกลุม่ เกษตรกรให้อยใู่ นระดบั ดีขนึ้ ไป ผลักดันกลุ่มเกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐานหรืออย่ใู นระดบั ท่ีดีขึ้น 3) อื่น ๆ 4.1. ด้านการบริหารจัดการทมี่ ีธรรมาภบิ าล/การควบคุมภายใน 4.2. แก้ไขปญั หาการดำเนินหยุดกิจการและการแกไ้ ขปัญหาลกู หนค้ี า้ งของกลมุ่ เกษตรกร 4.3. อัตราการขยายตัวของปรมิ าณธุรกิจเพมิ่ ข้นึ จากปกี อ่ นไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 3 4.4. การพัฒนาและสง่ เสรมิ ศกั ยภาพเพ่อื สนบั สนนุ การประกอบอาชพี และใหบ้ ริการกบั สมาชิก 4.5. การกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและแกไ้ ขตามแนวทางท่กี รมกำหนด 4.6. การตรวจตดิ ตาม/เฝา้ ระวังและตรวจการทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพเพอ่ื ปอ้ งกนั การเกดิ ข้อบกพรอ่ งและ ป้องกันการเกิดทจุ รติ ทง้ั ในเชิงนโยบายและปฏิบัติ 4.7. กำกบั ดแู ล ตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบกลมุ่ เกษตรกรดำเนนิ กจิ การให้เป็นไปตามขอ้ บงั คับ ระเบยี บและกฎหมายที่เก่ยี วขอ้ ง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำสง่ เสริม พฒั นา และแกไ้ ขปญั หาของกล่มุ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผูด้ ำเนินการ: ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดำเนินการ แผนงาน/กจิ กรรม 12 5 คร้ัง ต.ค.64– ก.ย.65 1.ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองคก์ ร 12 1.1กิจกรรม กำกับแนะนำใหส้ ถาบันเกษตรกรปดิ บัญชี ภายใน 30 12 ครั้ง เม.ย.65 – ส.ค.65 วัน นับแต่วันส้ินปีทางบญั ชเี พอ่ื รอรับการตรวจสอบ 1 1.2 กิจกรรม การประชุมใหญ่สามัญประจำปี ภายใน 150 วัน (ตาม 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 ปีบัญช)ี 12 1.3 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริมกลมุ่ เกษตรกร การบริหารจดั การที่ 12 ครง้ั ต.ค.64– ก.ย.65 มธี รรมาภิบาล 12 1.4 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรมีระดับช้ันคุณภาพการ ครั้ง ส.ค.65 ควบคมุ ภายใน 1.5 กิจกรรมแนะนำสง่ เสริมการมีส่วนร่วมของสมาชกิ โดยการเข้า ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ร่วมประชมุ กลุ่มสมาชิกกล่มุ เกษตรกร 1.6 กิจกรรม แนะนำ สง่ เสริมกลมุ่ เกษตรกรและสมาชิกกับทุกภาค ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ส่วน ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.7 กจิ กรรมแนะนำ สง่ เสรมิ การแก้ไขปัญหาลูกหน้คี ้าง ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.8 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริมการรบั สมาชกิ กลุ่มเกษตรกรเพิ่ม 1.9 กจิ กรรมแนะนำ ส่งเสรมิ การรักษามาตรฐานกลมุ่ เกษตรกรของ กรมสง่ เสรมิ กลุ่มเกษตรกร 2.ด้านการพฒั นาการดำเนินธรุ กิจ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 2.1 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสรมิ กล่มุ เกษตรกรมีอัตราการขยายตวั ของ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ปริมาณธรุ กิจเพ่ิมขน้ึ จากปกี ่อนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 3 2.2 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสรมิ การดำเนนิ งานตามแผนประจำปขี อง กลมุ่ เกษตรกร และเพิม่ ศักยภาพในธรุ กิจการจดั หาสนิ ค้ามาจำหน่าย 3 ด้านการกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบกลุ่ม 12 ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 3.1กิจกรรมกำกับดแู ล ตรวจสอบและแกไ้ ขตามแนวทางทก่ี รม กำหนด 1 ครั้ง พ.ค.65 3.2 กจิ กรรม ตรวจติดตาม/เฝ้าระวัง และตรวจการท่มี ีประสทิ ธิภาพ เพ่ือปอ้ งกนั การเกดิ ข้อบกพร่องและป้องกนั การเกดิ ทุจรติ ท้ังในเชงิ นโยบายและปฏบิ ัติ 3.3 กจิ กรรมแนะนำ ป้องกันการเกิดขอ้ บกพรอ่ ง (ตรวจการกลุม่ เกษตรกรรายบคุ คล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนำสง่ เสรมิ ให้กลุม่ เกษตรกรดำเนนิ การ: แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนับ ชว่ งเวลาที่ ดำเนินการ 1. ด้านการสง่ เสริมและพฒั นาองค์กร 1.1 กจิ กรรมบนั ทกึ บัญชีใหถ้ กู ต้องเปน็ ปัจจบุ นั และจดั ทำ 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 รายละเอียดต่างๆ ประกอบงบการเงนิ 1.2 กิจกรรมจดั ประชุมใหญส่ ามัญประจำปี ภายใน 150 วัน 5 ครงั้ เม.ย.65 – ส.ค.65 (ตามปีบญั ชี) 1.3 กิจกรรม กลมุ่ เกษตรกรปฏิบัตติ ามหลักธรรมาภบิ าล 12 ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 1.4 กิจกรรม กล่มุ เกษตรกรปฏิบตั ิตามระบบการควบคุมภายใน 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.5 กจิ กรรม กลมุ่ เกษตรกร/สมาชิกมสี ่วนรวมทุกภาคส่วน 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.6 กิจกรรม การรับสมาชกิ เพ่ิมระหว่างปี 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.7 กิจกรรม กลุม่ เกษตรกรปฏิบัติตามเกณฑม์ าตรฐานของกลมุ่ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร 1.8 กิจกรรมแนะนำ สง่ เสริมการแกไ้ ขปัญหาลูกหนีค้ ้าง 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนนิ ธุรกจิ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 2.1 กิจกรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปีของกลุ่ม 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร และเพ่ิมศักยภาพในธรุ กิจเพื่อให้มีอัตราการขยายตัวของ ปริมาณธุรกจิ เพ่ิมขน้ึ จากปีก่อนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 3 2.2 กจิ กรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปีของกล่มุ เกษตรกร และเพ่มิ ศักยภาพในธุรกิจการจัดหาสนิ คา้ มาจำหน่าย 3. ดา้ นการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบกลมุ่ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 3.1 กจิ กรรม กลุม่ เกษตรกรตดิ ตาม/เฝ้าระวังและปอ้ งกนั ข้อบกพร่อง 3.2 กิจกรรม กลุ่มเกษตรกรปฏบิ ัติตามระเบียบ ขอ้ บงั คับ พระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ พ.ศ.2542 แก้ไขฉบับท่ี 3 พ.ศ.2562 ลงชอื่ พชั รีวรรณ กูลวงค์ เจา้ หนา้ ที่ผู้รบั ผิดชอบ เจา้ พนักงานสง่ เสรมิ สหกรณ์ วนั ท่ี 9 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
101. กลุ่มเกษตรกรทำนาหนองกงุ ศรี ประเภท : ทำนา การวิเคราะห์ขอ้ มลู และบริบทของกลมุ่ เกษตรกร ⚫ ข้อมลู พ้ืนฐานของกลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มูลทวั่ ไป : จำนวนสมาชกิ : 69 ราย จำนวนสมาชิกทร่ี ว่ มทำธรุ กิจ : 52 ราย ธุรกิจหลกั /ผลผลติ หลัก : สนิ เชอื่ มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร : ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลิต : ยงั ไมม่ ีศกั ยภาพในการรวบรวมการผลติ การแปรรปู : ยังไมม่ ศี ักยภาพในการแปรรปู ผลติ ภัณฑ์เด่น ฯลฯ : ในพืน้ ทท่ี ่ตี ั้ง เพาะปลกู ขา้ วเปน็ สว่ นใหญ่ 2) โครงสรา้ งพ้ืนฐานของกลุ่มเกษตรกร : ไมม่ อี ปุ กรณ์การตลาด 3) ข้อมลู การดำเนนิ ธุรกิจ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด ) : ประเภทธรุ กิจ ปี 2562 ปี 2563 หน่วย : บาท 1. ธุรกจิ สนิ เชอ่ื 691,500.00 628,000.00 ปี 2564 2. ธุรกิจรบั ฝากเงนิ - - 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลิต - - 496,500.00 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลติ - - - 5. ธุรกจิ จัดหาสนิ คา้ มาจำหน่าย - - - 6. ธรุ กจิ บริการ - - - - รวม 691,500.00 628,000.00 - 496,500.00 4) สถานภาพทางการเงนิ (ขอ้ มูลยอ้ นหลงั 3 ปีบัญชีลา่ สดุ ) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกำไรขาดทนุ หนว่ ย ปี 2562 ปี 2563 ปี 2563 นบั 365,252.52 424,014.42 สนิ ทรพั ย์ บาท 324,302.57 50,130.00 100,578.52 315,124.52 323,435.90 หนสี้ นิ บาท 50,230.00 10,461.95 444.38 ทนุ ของกลุ่มเกษตรกร บาท 274,172.57 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 3,433.20 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
อัตราส่วนทางการเงินท่ีสำคัญ 0.15 0.15 0.31 - อตั ราสว่ นหน้สี นิ ตอ่ ทนุ DE Ratio (เท่า) 1.21 3.70 0.14 - อัตราผลตอบแทนต่อทนุ ROE (%) 1.03 3.14 0.10 - อตั ราผลตอบแทนตอ่ สินทรัพย์ ROA (%) 6.45 7.28 4.21 - อตั ราส่วนทนุ หมนุ เวยี น (เท่า) 0.27 0.25 0.23 - อตั ราสว่ นทุนสำรองต่อสินทรัพย์ (เทา่ ) 5) ข้อสงั เกตของผู้สอบบญั ชี - มีการเกบ็ รกั ษาเงินสดเกินกวา่ ทร่ี ะเบียบกำหนดเป็นจำนวนมากโดยไมม่ ีเหตุผลอันควร อีกทง้ั การเกบ็ รกั ษาเงินสดไมป่ ลอดภยั เท่าที่ควร อาจมีความเสย่ี ท่เี งนิ สดจะสญู หายจากการถกู โจรกรรมหรอื นำไปใช้ ส่วนตัว - กลุ่มเกษตรกรไม่ไดจ้ ัดจ้างเจ้าหนา้ ท่ี จงึ มีการแบ่งแยกเจา้ หนา้ ทีก่ นั รับผิดชอบและมอบหมายให้ คณะกรรมการดำเนนิ การเป็นผู้ปฏบิ ัตใิ นแตล่ ะด้าน ไมม่ ีการจำกดั การทำบัญชใี นแตล่ ะรอบปี และสง่ ผลใหไ้ ม่ มกี ารควบคุมภายใน 6) ขอ้ บกพร่องของกลุ่มเกษตรกร - ไม่มีการควบคมุ ภายในทดี่ ี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
⚫ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ของกลมุ่ เกษตรกร จากขอ้ มูลพื้นฐาน และสภาพแวดลอ้ มของกลุ่มเกษตรกร สามารถวเิ คราะห์ขอ้ มลู ของกลุม่ เกษตรกรได้ ดังนี้ 1) SWOT (SWOT Analysis) (ใหส้ รปุ ผลการวเิ คราะห)์ จดุ อ่อน สรุปการวิเคราะห์ จสุดภแขาพง็ แวดลอ้ มองคก์ ร - ทุนทไ่ี ด้มาเปน็ ทุนภายในของกลุม่ เกษตรกรเอง - การประชาสมั พันธ์ยงั ไม่ท่วั ถงึ - คณะกรรมการมคี วามเสียสละในการบรหิ าร - ทนุ ภายในของกลมุ่ เกษตรกรยงั มีไมเ่ พียงพอตอ่ การ - สมาชิกกลมุ่ เกษตรกรมอี าชพี การเกษตร มีพ้ืนที่ใน ดำเนนิ ธรุ กิจของกลุ่มเกษตรกร ทำให้กลุม่ เกษตรกร การเพาะปลกู มาก ต้องก้ยู มื เงนิ จากแหล่งเงินทนุ ภายนอก - สถานทใี่ นการใหบ้ ริการสะดวก งา่ ยต่อการติดตอ่ - อปุ กรณ์การผลติ /การตลาด ยงั ไม่เพยี งพอต่อการ ประสานงาน ขยายธรุ กจิ - สมาชิกยังไมม่ ีความรู้ในดา้ นการเกบ็ เกยี่ วผลผลติ ที่ดี - กรรมการบางรายยงั ไมเ่ ข้าใจในกฎหมาย ข้อบงั คบั และระเบยี บของกลุม่ เกษตรกร - สมาชิกยงั ขาดวินยั ในการชำระหนี้ - สมาชิกมหี นี้เพม่ิ ขึ้น เกษตรกรสว่ นใหญเ่ ปน็ หนห้ี ลาย ทาง โอกาส อุปสรรค - มพี ื้นทีเ่ หมาะแกก่ ารปลกู ขา้ ว และผลติ มคี ณุ ภาพ - ในบางพ้ืนทรี่ ะบบชลประทานไมค่ รอบคลมุ ทว่ั ถงึ - รัฐบาลมนี โยบายช่วยเหลอื เกษตรกรในด้านการลด - ราคาซื้อ ขาย ผลผลติ ทางการเกษตรต่ำ ต้นทนุ การผลิต และชดเชยคา่ เกบ็ เกยี่ ว - ตน้ ทนุ การผลิตทางการเกษตร (ข้าว) ราคาสงู ช่วยใหส้ มาชกิ กลมุ่ เกษตรกรและเกษตรกรมี -สภาวะเศรษฐกิจไมด่ ี เนอ่ื งจากได้รบั ผลกระทบจาก คา่ ใช้จา่ ยในการผลิตลดลง การแพรร่ ะบาดของเชื้อโรคโควิค19 - รฐั บาลมนี โยบายสนบั สนุนสถาบนั เกษตรกร โดย การใหส้ ินเชอื่ อัตราดอกเบีย้ ต่ำเพอื่ รวบรวมผลผลิต (ข้าว) ของเกษตรกรในพื้นท่ี ผ่าน ธกส. - กล่มุ เกษตรกรได้รบั การยกเว้นภาษอี ากรเรอ่ื งการ ทำนติ ิกรรม และการดำเนนิ ธรุ กิจ - กฎหมายสหกรณ์ชว่ ยให้กลมุ่ เกษตรกรดำเนนิ ธุรกจิ ไดก้ ว้างขวาง และโปรง่ ใสมากขึ้น ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนา และกำกบั ดแู ล กล่มุ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1) ระดบั ชนั้ สหกรณ์ : รักษาระดับสหกรณช์ ้ัน 1 และชัน้ 2 ยกระดับสหกรณช์ ั้น 2 และ ชัน้ 3 สชู่ ้ันท่ดี ขี ้ึน 2) มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร : รักษามาตรฐาน กลุม่ เกษตรกรให้อย่ใู นระดบั ดขี ึ้นไป ผลักดนั กลมุ่ เกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรอื อยูใ่ นระดบั ท่ีดขี ้ึน แผนการแนะนำสง่ เสริม พัฒนา และแกไ้ ขปญั หาของ กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมทก่ี ลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์เป็นผู้ดำเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ ดำเนินการ 1. ด้านการสง่ เสรมิ และพัฒนาองค์กร 1 แห่ง ต.ค.64– ก.ย.65 1 1.1 กิจกรรม การรักษา/ยกระดบั การควบคุมภายในของสหกรณ์ แห่ง ต.ค.64– ก.ย.65 1.2 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดับมาตรฐานของสหกรณ์/ 1 กลุม่ เกษตรกร 1 แห่ง ต.ค.64– ก.ย.65 แห่ง ต.ค.64– ก.ย.65 2. ด้านการพัฒนาการดำเนนิ ธรุ กิจ 1 2.1 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดับการใหบ้ รกิ ารสมาชกิ ของ 1 แหง่ ต.ค.64– ก.ย.65 แหง่ ต.ค.64– ก.ย.65 สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร 2.2 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดับประสทิ ธภิ าพการดำเนินธุรกิจ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 3. ดา้ นการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ กลมุ่ เกษตรกร 3.1 กจิ กรรม การแกไ้ ขข้อสังเกตของกลมุ่ เกษตรกร 3.2 กิจกรรม ตรวจสอบกลุ่มเกษตรกร แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรดำเนนิ การ : แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดำเนนิ การ 1. ด้านการสง่ เสริมและพฒั นาองคก์ ร 1.1 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดบั การควบคุมภายในของสหกรณ์ 1 แหง่ ต.ค.64– ก.ย.65 1.2 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดบั มาตรฐานของสหกรณ์/ กล่มุ เกษตรกร 1 แหง่ ต.ค.64– ก.ย.65 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนนิ ธุรกิจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนนิ การ 2.1 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดับการให้บริการสมาชกิ ของ 1 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1 แหง่ ต.ค.64– ก.ย.65 2.2 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดับประสทิ ธภิ าพการดำเนินธรุ กิจ 1 แหง่ ต.ค.64– ก.ย.65 ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1 3. ดา้ นการกำกบั ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ แห่ง ต.ค.64– ก.ย.65 กลุ่มเกษตรกร แห่ง ต.ค.64– ก.ย.65 3.1 กิจกรรม การแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 3.2 กิจกรรม ตรวจสอบกลุ่มเกษตรกร ลงชื่อ ส.ต.ต.หญงิ ศุภางค์ วันชูเพลา เจา้ หนา้ ที่ผ้รู ับผิดชอบ นกั วชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ วันท่ี 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
102. กลุ่มเกษตรกรทำนาหนองช้าง ประเภท : ทำนา การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและบริบทของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ⚫ ข้อมลู พ้ืนฐานของกลุ่มเกษตรกร 1) ขอ้ มลู ทั่วไป : จำนวนสมาชกิ : 168 ราย จำนวนสมาชกิ ทรี่ ่วมทำธุรกิจ : 45 ราย ธุรกิจหลกั : ธรุ กิจสินเชอ่ื ผลผลิตหลัก : ข้าว มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร : อยรู่ ะหวา่ งการประเมินมาตรฐาน ระดบั ชัน้ กลุม่ เกษตรกร : ระดับช้ัน 2 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลิต : เปน็ กลมุ่ เกษตรกรขนาดเล็กไมม่ ีศกั ยภาพการรวบรวมผลผลิต การแปรรูป : ไมม่ ี สินคา้ เด่น : ไม่มี 2) โครงสร้างพนื้ ฐานของกลุม่ เกษตรกร : เป็นกลมุ่ เกษตรกรขนาดเล็กไมม่ ีอุปกรณ์การตลาด 3) ข้อมลู การดำเนินธุรกจิ (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สุด ) :ปรับตามปบี ญั ชขี องกล่มุ เกษตรกร หนว่ ย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกิจสินเชื่อ 88,000 88,000 88.000.00 2. ธุรกจิ รบั ฝากเงนิ - - - 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลิต - - - 4. ธรุ กิจแปรรปู ผลผลติ - - - 5. ธุรกจิ จัดหาสินค้ามาจำหน่าย 6. ธรุ กิจบรกิ าร 335,510 329,000 325,850.00 - - - รวม 423,510.00 417,000.00 413,850.00 4) สถานภาพทางการเงิน (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชีล่าสดุ )ปรบั ตามปีบัญชขี องกลมุ่ เกษตรกร งบแสดงฐานะทางการเงิน/งบกำไร(ขาดทุน) ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สนิ ทรพั ย์ : (บาท) 578,306.32 598,902.83 505,174.70 หน้ีสนิ : (บาท) 30,000.00 32,600.00 30,000.00 ทนุ ของกลุม่ เกษตรกร : (บาท) 548,306.32 566,302.83 475,174.79 รายได้ : (บาท) 346,010.74 282,589.99 297,298.32 ค่าใช้จ่าย : (บาท) 334,551.88 267,693.48 322,845.50 กำไร(ขาดทนุ )สุทธิ : (บาท) 11,458.88 14,896.51 (25,547.18) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
อตั ราส่วนทางการเงนิ ท่ีสำคัญ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 - อตั ราสว่ นหนีส้ ินตอ่ ทนุ (DE Ratio) : (เท่า) 1.22 1.08 2.68 - อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) : (%) 6.87 7.09 11.90 - อัตราผลตอบแทนต่อสินทรพั ย์ (ROA) : (%) 5.67 6.01 - อตั ราสว่ นทนุ หมุนเวยี น : (เท่า) 6.10 6.77 -15.41 - อตั ราส่วนทุนสำรองต่อสินทรพั ย์ : (เทา่ ) 0.40 0.76 4.01 - อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหัก 35.45 33.55 0.20 ค่าใช้จ่ายดำเนนิ งาน : (%) 71.50 - อตั ราส่วนหน้รี ะยะสั้นทชี่ ำระได้ตามกำหนด : (%) 90.85 97.12 80.27 5) ขอ้ สงั เกตของผสู้ อบบญั ชี(ข้อมูลยอ้ นหลัง 3 ปบี ญั ชลี ่าสดุ ) -ไมม่ ขี อ้ สังเกตของกลมุ่ เกษตรกร 6) ขอ้ บกพร่องของกลุ่มเกษตรกร (ขอ้ มลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ ) -ไมม่ ีข้อบกพรอ่ งของกล่มุ เกษตรกร ⚫ ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ของกล่มุ เกษตรกร จากข้อมูลพื้นฐาน และสภาพแวดล้อมของกลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ SWOT Analysis โดย วิเคราะหจ์ ากสภาพแวดลอ้ มภายใน 4M, 4P’s, วเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก PESTEL และ Five Force Model สำหรบั วิเคราะหค์ ู่แข่ง มีดงั น้ี จุดแขง็ จุดอ่อน - ทุนท่ไี ดม้ าเปน็ ทนุ ภายในของกลุม่ เกษตรกรเอง - การประชาสมั พนั ธ์ยงั ไมท่ ่วั ถงึ - คณะกรรมการมีความเสยี สละในการบรหิ าร - ทนุ ภายในของกลมุ่ เกษตรกรยงั มไี มเ่ พียงพอตอ่ การ - สมาชกิ กลุ่มเกษตรกรมีอาชีพการเกษตร มพี ้ืนท่ใี น ดำเนนิ ธรุ กจิ ของกลุ่มเกษตรกร ทำให้กลมุ่ เกษตรกร การเพาะปลูกมาก ตอ้ งกูย้ ืมเงนิ จากแหล่งเงินทุนภายนอก - สถานท่ีในการใหบ้ รกิ ารสะดวก ง่ายตอ่ การตดิ ต่อ - อปุ กรณก์ ารผลิต/การตลาด ยงั ไม่เพยี งพอตอ่ การ ประสานงาน ขยายธรุ กจิ - สมาชกิ ยงั ไมม่ ีความรู้ในด้านการเกบ็ เกยี่ วผลผลิตทด่ี ี - กรรมการบางรายยังไมเ่ ข้าใจในกฎหมาย ข้อบังคบั และระเบียบของกลมุ่ เกษตรกร - สมาชกิ ยังขาดวนิ ยั ในการชำระหน้ี - สมาชิกมหี นีเ้ พิ่มข้นึ เกษตรกรสว่ นใหญเ่ ปน็ หนีห้ ลาย ทาง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
โอกาส อุปสรรค - มพี น้ื ท่เี หมาะแกก่ ารปลูกข้าว และผลิตมีคณุ ภาพ - ในบางพื้นทร่ี ะบบชลประทานไมค่ รอบคลมุ ทว่ั ถึง - รฐั บาลมีนโยบายชว่ ยเหลือเกษตรกรในด้านการลด - ราคาซ้ือ ขาย ผลผลิตทางการเกษตรต่ำ ตน้ ทนุ การผลติ และชดเชยค่าเกบ็ เกีย่ ว - ตน้ ทุนการผลติ ทางการเกษตร (ขา้ ว) ราคาสูง ชว่ ยให้สมาชกิ กลมุ่ เกษตรกรและเกษตรกรมี - สภาวะเศรษฐกจิ ไมด่ ี เน่อื งจากไดร้ บั ผลกระทบจาก คา่ ใชจ้ า่ ยในการผลติ ลดลง การแพรร่ ะบาดของเช้อื โรคโควคิ 19 - รัฐบาลมนี โยบายสนบั สนนุ สถาบนั เกษตรกร โดย การใหส้ นิ เชื่ออตั ราดอกเบ้ียต่ำเพอื่ รวบรวมผลผลิต (ข้าว) ของเกษตรกรในพื้นท่ี ผา่ น ธกส. - กลุ่มเกษตรกรได้รบั การยกเวน้ ภาษีอากรเรอื่ งการ ทำนิติกรรม และการดำเนินธรุ กจิ - กฎหมายสหกรณ์ช่วยให้กลมุ่ เกษตรกรดำเนินธุรกจิ ไดก้ ว้างขวาง และโปรง่ ใสมากขึน้ แผนการแนะนำสง่ เสริม พฒั นา และกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำ ส่งเสรมิ พัฒนาและกำกับดูแลกลมุ่ เกษตรกร/กลมุ่ เกษตรกรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี 1) ระดบั ช้ันกลุ่มเกษตรกร : รกั ษาระดับกลมุ่ เกษตรกรช้ัน 1 และชนั้ 2 ยกระดับกลุม่ เกษตรกรช้ัน 2 และ ช้ัน 3 สู่ชัน้ ทด่ี ขี ึ้น 2) มาตรฐานกล่มุ เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร: รกั ษามาตรฐานกลมุ่ เกษตรกรให้อยใู่ นระดับดีข้ึนไป ผลักดนั กล่มุ เกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรอื อยู่ในระดบั ที่ดีข้ึน 3) อ่นื ๆ 1.1. ด้านการบรหิ ารจดั การทม่ี ีธรรมาภิบาล/การควบคมุ ภายใน 1.2. แกไ้ ขปญั หาการดำเนนิ หยดุ กิจการและการแกไ้ ขปญั หาลกู หนคี้ า้ งของกลมุ่ เกษตรกร 1.3. อตั ราการขยายตวั ของปริมาณธรุ กิจเพมิ่ ข้ึนจากปกี อ่ นไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 3 1.4. การพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพเพื่อสนบั สนนุ การประกอบอาชพี และใหบ้ ริการกบั มาชิก 1.5. การกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและแกไ้ ขตามแนวทางที่กรมกำหนด 1.6. การตรวจตดิ ตาม/เฝ้าระวงั และตรวจการที่มปี ระสิทธิภาพเพอื่ ป้องกันการเกิดขอ้ บกพรอ่ งและ ป้องกันการเกดิ ทจุ รติ ทงั้ ในเชิงนโยบายและปฏิบัติ 1.7. กำกับดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบกลมุ่ เกษตรกรดำเนนิ กิจการใหเ้ ป็นไปตามขอ้ บังคับ ระเบียบและกฎหมายที่เกยี่ วขอ้ ง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำส่งเสริม พฒั นา และแกไ้ ขปญั หาของกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุม่ ส่งเสรมิ สหกรณ์เป็นผ้ดู ำเนินการ: ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาที่ ดำเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม 12 5 ครั้ง ต.ค.64– ก.ย.65 1. ดา้ นการส่งเสรมิ และพฒั นาองคก์ ร 12 1.1กจิ กรรม กำกับแนะนำใหส้ ถาบันเกษตรกรปิดบัญชี ภายใน 12 ครั้ง เม.ย.65 – ส.ค.65 1 30 วนั นบั แต่วันสนิ้ ปที างบัญชเี พ่ือรอรับการตรวจสอบ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.2 กจิ กรรม การประชุมใหญ่สามัญประจำปี ภายใน 150 วัน 12 12 ครง้ั ต.ค.64– ก.ย.65 (ตามปีบญั ชี) 12 1.3 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสริมกลุม่ เกษตรกร การบริหารจดั การ ครง้ั ส.ค.65 ท่ีมีธรรมาภบิ าล ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.4 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสรมิ กลมุ่ เกษตรกรมีระดับชั้นคณุ ภาพ ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 การควบคุมภายใน ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.5 กิจกรรมแนะนำสง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมของสมาชกิ โดยการ ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 เขา้ รว่ มประชมุ กลุ่มสมาชิกกลุ่มเกษตรกร 1.6 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริมกลมุ่ เกษตรกรและสมาชิกกบั ทุก ภาคสว่ น 1.7 กจิ กรรมแนะนำ ส่งเสรมิ การแก้ไขปัญหาลูกหนคี้ า้ ง 1.8 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริมการรับสมาชกิ กลุ่มเกษตรกรเพิ่ม 1.9 กิจกรรมแนะนำ ส่งเสรมิ การรกั ษามาตรฐานกลุม่ เกษตรกร ของกรมสง่ เสรมิ กลมุ่ เกษตรกร 2. ด้านการพัฒนาการดำเนนิ ธุรกจิ 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 2.1 กิจกรรม แนะนำ สง่ เสรมิ กลุม่ เกษตรกรมีอัตราการขยายตัว 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ของปริมาณธรุ กจิ เพม่ิ ขึ้นจากปีกอ่ นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 2.2 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสริมการดำเนินงานตามแผนประจำปี ของกลุ่มเกษตรกร และเพม่ิ ศักยภาพในธุรกิจการจดั หาสินค้ามา จำหน่าย 3. ด้านการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบกลมุ่ 12 ครัง้ ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร 12 ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 3.1กิจกรรมกำกับดูแล ตรวจสอบและแก้ไขตามแนวทางทีก่ รม 1 ครั้ง พ.ค.65 กำหนด 3.2 กจิ กรรม ตรวจติดตาม/เฝา้ ระวงั และตรวจการทม่ี ี ประสิทธภิ าพเพื่อป้องกันการเกดิ ข้อบกพร่องและปอ้ งกนั การเกดิ ทุจรติ ท้ังในเชิงนโยบายและปฏบิ ตั ิ 3.3 กจิ กรรมแนะนำ ปอ้ งกันการเกิดขอ้ บกพรอ่ ง (ตรวจการ กลมุ่ เกษตรกรรายบุคคล) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์จะแนะนำส่งเสรมิ ให้กลมุ่ เกษตรกรดำเนนิ การ: แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนับ ชว่ งเวลาท่ี ดำเนินการ 1. ด้านการส่งเสริมและพฒั นาองคก์ ร 1.1 กจิ กรรม บันทึกบญั ชีให้ถูกต้องเป็นปัจจบุ ัน และจดั ทำ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 รายละเอียดต่างๆ ประกอบงบการเงนิ 1.2 กจิ กรรม จัดประชุมใหญส่ ามญั ประจำปี ภายใน 150 วัน 5 ครั้ง เม.ย.65 – ส.ค.65 (ตามปีบัญช)ี 1.3 กิจกรรม กลุ่มเกษตรกรปฏบิ ตั ติ ามหลักธรรมาภิบาล 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.4 กิจกรรม กล่มุ เกษตรกรปฏิบตั ติ ามระบบการควบคมุ ภายใน 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.5 กจิ กรรม กลุ่มเกษตรกร/สมาชิกมสี ่วนรวมทุกภาคส่วน 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.6กิจกรรม การรบั สมาชิกเพิ่มระหว่างปี 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.7 กิจกรรม กล่มุ เกษตรกรปฏบิ ัติตามเกณฑม์ าตรฐานของกลมุ่ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร 1.8 กิจกรรมแนะนำ ส่งเสริมการแก้ไขปัญหาลูกหน้ีค้าง 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนินธรุ กิจ 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 2.1 กิจกรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปขี องกล่มุ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร และเพ่มิ ศกั ยภาพในธุรกิจเพ่ือให้มีอัตราการขยายตวั ของ ปรมิ าณธรุ กจิ เพ่ิมขน้ึ จากปีก่อนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 3 2.2 กิจกรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปีของกลุม่ เกษตรกร และเพ่ิมศักยภาพในธรุ กจิ การจัดหาสินค้ามาจำหน่าย 3. ดา้ นการกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบกลุ่ม 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 3.1 กิจกรรม กลมุ่ เกษตรกรตดิ ตาม/เฝา้ ระวังและป้องกนั ข้อบกพร่อง 3.2 กิจกรรม กลุ่มเกษตรกรปฏิบตั ิตามระเบียบ ขอ้ บงั คบั พระราชบญั ญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 แก้ไขฉบบั ท่ี 3 พ.ศ.2562 ลงช่ือ พัชรีวรรณ กลู วงค์ เจ้าหนา้ ทผี่ ูร้ บั ผิดชอบ เจา้ พนักงานสง่ เสรมิ สหกรณ์ วันที่ 9 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
103. กลุ่มเกษตรกรทำนาหนองตอกแปน้ ประเภท : ทำนา การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และบริบทของกล่มุ เกษตรกร (รายแห่ง) • ขอ้ มลู พื้นฐานของกลุ่มเกษตรกร 1) ข้อมูลทัว่ ไป : 1.1 จำนวนสมาชิก 87 คน 1.2 สมาชกิ มสี ว่ นรว่ มทำธรุ กิจกับกลุ่มเกษตรกร 36 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 31.32 1.3 คณะกรรมการดำเนินการ 7 คน 1.4 ผตู้ รวจสอบกจิ การ 1 คน 1.5 วันสน้ิ ปีทางบัญชี 31 มนี าคม ของทกุ ปี 1.6 ดำเนินธรุ กจิ ด้านเดียว ได้แก่ ธุรกจิ สนิ เช่ือ 1.7 ผลการประเมนิ มาตรฐาน ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน 2) โครงสร้างพืน้ ฐานของกลมุ่ เกษตรกร : ไมม่ ี 3) ขอ้ มูลการดำเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร(ขอ้ มูลย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีล่าสุด ) : หนว่ ย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กิจสนิ เช่ือ 1,171,330.00 809,310.00 610,700.00 2. ธรุ กิจรบั ฝากเงนิ - - - 3. ธุรกิจรวบรวมผลผลติ - - - 4. ธรุ กิจแปรรปู ผลผลติ - - - 5. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหนา่ ย - - 219,765.00 รวม 1,171,330.00 1,029,075.00 610,700.00 4) สถานภาพทางการเงินของกลุ่มเกษตรกร (ข้อมูลยอ้ นหลงั 3 ปีบัญชีล่าสุด) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกำไรขาดทุน ปี 2562 ปี 2563 หนว่ ย : บาท 1,009,859.78 1,011,494.12 สนิ ทรพั ย์ ปี 2564 หนีส้ นิ 289,002.00 289,002.00 615,395.78 ทุนของกลุ่มเกษตรกร 720,857.78 722,492.12 189,115.42 กำไร (ขาดทุน) สทุ ธิ 11,521.66 13,681.00 426,280.36 อัตราส่วนทางการเงนิ ท่ีสำคญั 36,350.21 - อัตราส่วนหนส้ี นิ ตอ่ ทุน (DE Ratio) 0.49 0.50 - อตั ราผลตอบแทนตอ่ ทนุ (ROE) 0.01 0.01 0.44 0.09 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
- อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) 0.01 0.00 0.05 - อตั ราสว่ นทนุ หมนุ เวยี น 5.3 5.25 3.25 - อตั ราสว่ นทุนสำรองต่อสินทรพั ย์ 0.15 0.16 0.14 5) ขอ้ สงั เกตของผ้สู อบบญั ชี ดา้ นการบรหิ ารจัดการทวั่ ไป 1) กลุ่มเกษตรกรไม่ได้จัดจ้างเจา้ หน้าที่ การดำเนนิ งานด้านต่างๆ คณะกรรมการดำเนินการ ช่วยกันปฏิบัติ โดยมอบหมายให้ประธานทำนาที่รับ-จ่ายและเก็บรักษาเงิน รวมทั้งรวบรวมเอกสารหลัง ประกอบการบนั ทกึ บัญชี ซ่งึ กลมุ่ เกษตรกรสามารถบนั ทึกรายการในเอกสารประกอบการบนั ทกึ บัญชีและสมุด ขั้นต้นได้ แต่ไม่สามารถบันทึกรายการในสมุดขั้นปลาย การจัดทำงบการเงินและรายละเอียดประกอบงบ การเงนิ ได้ ตอ้ งได้รบั ความช่วยเหลือจากหนว่ ยงานของทางราชการที่เก่ียวข้องช่วยจดั ทำให้ เพ่ือใหส้ ามารถปิด บัญชีประจำปไี ด้ ดังนั้น กล่มุ เกษตรกรควรมกี ารแบง่ แยกหน้าท่ีให้เหมาะสมและชัดเจน รวมทง้ั จดั ใหม้ ีบุคคลทม่ี ี ความรู้ ความสามารถจดั ทำบญั ชีได้ และนำขอ้ มูลมาใชป้ ระโยชน์ในการตดั สนิ ใจในการบรหิ ารงานเป็นไปอย่าง มปี ระสทิ ธิภาพ 2) กลุ่มเกษตรกรกำหนดระเบียบว่าด้วยการรับ-จ่ายและเก็บรักษาเงินขึ้นถือใช้เพื่อเป็น แนวทางในการปฏิบัติงานโดยกำหนดให้เก็บรกั ษาเงนิ สดไดไ้ ม่เกินวันละ 5,000.00 บาท ณ วันสิ้นปบี ัญชกี ลุ่ม เกษตรกรเก็บรกั ษาเงินสดจำนวน 11,286.99 บาท ซึ่งเกินวงเงินที่กำหนดไว้ในระเบียบเป็นจำโดยไมม่ ีเหตุผล อันสมควร อีกทงั้ การเกบ็ รักษาเงนิ สดไมป่ ลอดภัยเท่าท่ีควรเท่าท่ีควร อาจมีความเสี่ยงทีเ่ งินสดจะสูญหายจาก การถูกโจรกรรมหรือการนำไปใช้ส่วนตัว เพื่อลดความเสียงและป้องกันความเสียหายที่อาจจำเกิดข้ึน คณะกรรมการดำโดยเคร่งครัด สำหรับเงินสดส่วนทีเ่ กินวงเงินเก็บรักษาควรนำฝากธนาคารทุกสิ้นปี หรือควร พิจารณานำไปใชด้ ำเนินธรุ กิจเพ่ืออำนวยประโยชน์กับสมาชกิ และไมใ่ ห้เสยี โอกาสทีจ่ ะกอ่ ให้เกดิ รายได้ 3) กลุม่ เกษตรกรไดเ้ ลอื กตงั้ ผตู้ รวจสอบกิจการจากทีป่ ระชุมใหญ่สามญั ประจำปีเพื่อดำเนินการ ตรวจสอบการปฏิบัติงานด้านต่างๆ ของกลุ่มเกษตรกร ระหว่างปไี ม่ปรากฏรายงานผลการตรวจสอบทีเ่ ป็นลาย ลกั ษณอ์ ักษร กลุ่มเกษตรกรควรแจง้ ให้ผูต้ รวจสอบกจิ การเข้าปฏิบตั งิ านตรวจสอบใหเ้ ป็นไปตามข้อบังคับกำหนด ไว้ รวมทง้ั รายงานผลการตรวจสอบตอ่ ท่ีประชุมคณะกรรมการดำเนนิ การโดยสม่ำเสมอ เพ่อื กลุ่มเกษตรกรจะได้ ใชป้ ระโยชน์ในการบริหารงานและแก้ไขปรบั ปรงุ การดำเนินงานใหม้ ีประสทิ ธภิ าพย่งิ ข้ึน 4) กลมุ่ เกษตรกรจัดใหม้ ีการประชมุ คณะกรรมการดำเนินการเป็นครั้งคราวแต่ไม่มีการติดตาม ผลการปฏิบัติงานในที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการให้เป็นไปตามแผนงานและงบประมาณกำหนดไว้ คณะกรรมการดำเนนิ การของกลุ่มเกษตรกรควรใช้แผนงานและงบประมาณท่ีกำหนดในที่ประชมุ ใหญ่สามัญ ประจำปี เป็นเครื่องมือในการบริหารทางการเงินและธุรกิจให้เกิดประโยชน์และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้นรวมทั้งพิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขผลการดำเนินงานหากไม่เป็นไปตามแผลงานและ งบประมาณทกี่ ำหนดในที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการอย่างสมำ่ เสมอ ผลการวเิ คราะหค์ วามเส่ียงทางการเงิน ความเพียงพอของเงินทนุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
กลุ่มเกษตรกรมีทนุ ดำเนนิ งานทั้งสนิ้ 315,395.78 บาท เพิ่มขึน้ จากปีกอ่ น จำนวน50,539.63 บาท เพ่ิมขน้ึ ร้อยละ 8.95 ทุนดำเนนิ งานดังกลา่ วมาจากแหลง่ เงินทนุ ภายในร้อยละ 87.00 ประกอบดว้ ยเงนิ รบั ฝากจากสมาชกิ ร้อยละ 17.73 และทุนของกลุม่ เกษตรกรเองร้อยละ 69.27 ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 13.00 มา จากแหลง่ เงนิ ทนุ ภายนอก ซ่ึงเป็นเงินอุดหนุนจากหน่วยงานของทางราชการ หากพิจารณาถึงความเขม้ แข็งและ เพียงพอของเงินทนุ ต่อความเสี่ยงแลว้ นับวา่ ทุนของกลุม่ เกษตรกรสามารถคุ้มครองหนี้ได้ทั้งหมด ประกอบกบั กลุม่ เกษตรกรมอี ัตราส่วนหนสี้ นิ ทงั้ สน้ิ ตอ่ ทนุ 0.44 เทา่ ซงึ่ หน้สี นิ ดังกล่าวส่วนใหญ่เปน็ เงนิ ท่ีได้รับการอุดหนุน จากหน่วยงานราชการ กล่มุ เกษตรกรจึงไม่ต้องรกั ภาระชดใช้คนื อยา่ งไรก็ตาม กลมุ่ เกษตรกรควรพิจารณาหา แนวทางในการบริหารเงนิ ทุนให้เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพย่ิงขน้ึ เพอื่ ลดความเสีย่ งจากการจดั หาแหล่งเงินทุน ในอนาคตและเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ให้กบั กลุม่ เกษตรกรต่อไป คุณภาพของสนิ ทรพั ย์ สนิ ทรพั ย์ทง้ั ส้ินของกลมุ่ เกษตรกรจำนวน 615,395.78 บาท สว่ นใหญ่อยใู่ นรปู ของลกู หนีใ้ ห้ เงนิ กู้ รอ้ ยละ 80.24 รองลงมาเปน็ เงนิ สดและเงินฝากธนาคารร้อยละ 19.76 ทั้งน้ี ลูกหนเี้ งนิ ใหก้ ู้ยืมสามารถ ชำระหนี้ไดต้ ามกำหนดรอ้ ยละ 96.14 ของหนท้ี ่ีถึงกำหนดชำระ ณ วันส้ินปบี ญั ชมี ลี ูกหน้ผี ดิ นดั ชำระหนี้ จำนวน 39,000.00 บาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.39 ของลกู หนค้ี งเหลอื สนิ ทรัพย์ของกลมุ่ เกษตรทม่ี อี ยู่ได้นำไปใชใ้ นการ ดำเนนิ งานเพอื่ ก่อใหเ้ กิดรายได้ 0.03 รอบ และในขณะเดียวกันสินทรัพย์ทมี่ ีอยู่ไดน้ ำไปสรา้ งผลตอบแทนให้ กลมุ่ เกษตรกรได้ในอัตราร้อยละ6.16 ดงั น้ี กลมุ่ เกษตรกรควรหาแนวทางในการใช้ประโยชน์ จากสินทรพั ย์ท่ีมี อย่ใู หม้ ากขนึ้ และกอ่ ใหเ้ กดิ ผลตอบแทนสงู สดุ ขีดความสามารถในการบรหิ าร กลุ่มเกษตรกรดำเนนิ ธรุ กจิ สนิ เชอื่ เพยี งด้านเดียว ในระหวา่ งปีจา่ ยเงนิ กู้ใหก้ บั สมาชิกเปน็ เงนิ 1,071,700.00 บาท ดังที่ กล่าวขา้ งต้นแล้วว่าลูกหนี้ สามารถชำระหนเี้ ปน็ ไปตามกำหนดร้อยละ 96.14 ของหน้ี ท่ถี งึ กำหนดชำระ ณ วันสนิ้ ปบี ญั ชีมลี ูกหนี้เงนิ ก้คู งเหลือ จำนวน 610,700.00 บาท คา่ ปรับเงินให้กคู้ ้างรบั จำนวน 32,526.00 บาท ซึ่งเปน็ ลูกหนผ้ี ิดนดั ชำระจำนวน 13 ราย เป็นเงิน 39,000.00 บาท คิดเปน็ ร้อยลละ 6.39 ของลกู หนเ้ี งนิ กูค้ งเหลอื ณ วนั ส้นิ ปี การทำกำไร กลมุ่ เกษตรกรดำเนินงานมกี ำไรสทุ ธิ จำนวน 36,350.21 บาท กำไรเฉลีย่ ต่อสมาชกิ 417.82 บาท ต่อคนแมว้ ่ากล่มุ เกษตรกรจะมคี วามสามารถในการทำกำไร แตห่ ากพิจารณาเปรยี บเทยี บสดั สว่ นปรมิ าณ เงินออมเฉล่ียต่อสมาชิกซงึ่ เท่ากบั 4,416.96 บาทตอ่ คน กบั หนี้สินเฉลี่ยต่อสมาชิก 7,393.40 บาทตอ่ คน สะท้อนเหน็ ถงึ กำลงั ความสมารถในการชำระหนี้ของสมาชิกในอนาคตทอ่ี าจสง่ ผลกระทบตอ่ การบรหิ ารงานของ กลุ่มเกษตรกรทจี่ ะตอ้ งว่างแผนในการติดตามเรง่ รัดหนสี้ ินให้เปน็ ไปตามกำหนดสญั ญา สภาพคล่อง กล่มุ เกษตรกรมสี ัดสว่ นของสนิ ทรัพยห์ มุนเวยี นตอ่ หนส้ี ินหมนุ เวยี น 5.64 เทา่ ปีก่อน 5.28 เท่าแสดงถงึ สภาพคล่องทางการเงนิ ของกล่มุ เกษตรกรเพ่มิ ขน้ึ จากปีกอ่ น หากพจิ ารณาจากส่วนประกอบของ สินทรพั ยห์ มุนเวยี นแล้วจะเหน็ ได้ว่าส่วนใหญล่ งทนุ ในลูกหนเ้ี งินกรู้ ะยะสั้นรอ้ ยละ 80.24 ของสนิ ทรัพย์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
หมุนเวียนทง้ั สิน้ ดงั นัน้ สภาพคล่องควรคู่กันไปดว้ ยแล้ว จะเหน็ ได้วา่ หนี้สนิ หมุนเวยี นสว่ นใหญเ่ ป็นเงินฝาก ซง่ึ หากสมาชกิ ถอนเงนิ ฝากพรอ้ มกันในคราวเดียวอาจส่งผลสภาพคลอ่ งของกลมุ่ เกษตรกรได้ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1. การวเิ คราะห์ SWOT ของกลุ่มเกษตรกรทำนาหนองตอกแปน้ จดุ แข็ง (strengths) จุดออ่ น (Weaknesses) -คณะกรรมการมีความเสียสละ ซอ่ื สตั ย์ -กลุม่ เกษตรกรมเี งนิ ทนุ ไมเ่ พียงพอในการดำเนินธุรกจิ -กลุม่ เกษตรกรมีข้อบงั คับ และระเบียบ -คณะกรรมการดำเนนิ การ ขาดความรูด้ า้ นการบรหิ าร -กลมุ่ เกษตรกรมกี ารบรหิ ารจัดการทเ่ี ข้มแข็ง - คณะกรรมการขาดความรู้ในดา้ นกฎหมาย ระเบียบ สามารถติดตามการชำระหนี้ได้ ขอ้ บงั คับ โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats) - ไดร้ ับการสนบั สนนุ เงนิ ทนุ จากภาครัฐ - สภาวะทางเศรษฐกจิ ตกตำ่ - เทคโนโลยีทที่ ันสมยั - ตน้ ทนุ การผลติ และค่าครองชพี ท่ีสงู ขึน้ - ภยั ทางธรรมชาติ แผนการแนะนำสง่ เสริม พฒั นา และกำกบั ดูแลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดแู ลกลุม่ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1) ระดับชน้ั กลมุ่ เกษตรกร : รักษาระดบั สหกรณ์ชน้ั 1 และชั้น 2 ยกระดบั สหกรณ์ช้นั 2 และ ชน้ั 3 ส่ชู ้ันทด่ี ีขึ้น 2) มาตรฐานกล่มุ เกษตรกร : รกั ษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรใหอ้ ยู่ในระดบั ดีข้นึ ไป ผลักดนั กลมุ่ เกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐานหรืออยู่ในระดบั ทีด่ ขี ้นึ 3) อนื่ ๆ 3.1 ดา้ นการบรหิ ารจัดการทมี่ ธี รรมาภิบาล/การควบคุมภายใน 3.2 แก้ไขปัญหาลูกหนค้ี า้ งของกลมุ่ เกษตรกร 3.3 อัตราการขยายตวั ของปรมิ าณธุรกิจเพิ่มข้ึนจากปกี ่อนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 3 3.4 การพัฒนาและส่งเสริมศกั ยภาพเพอื่ สนบั สนนุ การประกอบอาชีพและใหบ้ ริการกบั สมาชกิ 3.5 การกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและแก้ไขตามแนวทางทีก่ รมกำหนด 3.6 การตรวจติดตาม/เฝา้ ระวงั และตรวจการทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพเพอ่ื ป้องกนั การเกดิ ข้อบกพรอ่ งและ ป้องกนั การเกดิ ทจุ รติ ทงั้ ในเชิงนโยบายและปฏบิ ัติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
3.7 กำกับดแู ล ตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบกลมุ่ เกษตรกรดำเนนิ กิจการใหเ้ ป็นไปตามข้อบงั คับ ระเบยี บและกฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ้ ง แผนการแนะนำส่งเสริม พฒั นา และแก้ไขปญั หาของกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุม่ สง่ เสรมิ สหกรณ์เปน็ ผู้ดำเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนนิ การ 1. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองคก์ ร ผ่านเกณฑ์ โครงการ ต.ค.63 - ก.ย.64 อย่างน้อย พ.ย.63 - ก.ย.64 1.1 กิจกรรม การรกั ษาระดับการควบคมุ ภายในของกล่มุ เกษตรกร 1 โครงการ รอ้ ยละ 1.2 ส่งเสริม และพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากรของกลุ่มเกษตรกร ได้แก่ ระดับ ต.ค 63.-กย.64 คณะกรรมการกลุ่มเกษตรกร สมาชิกกลุ่มเกษตรกร และผูต้ รวจสอบ 90 รอ้ ยละ ต.ค 63.-กย.64 กิจการ มั่นคงดี ต.ค 63.-กย.64 ประเดน็ 2. ด้านการพัฒนาการดำเนินธรุ กิจ เพมิ่ ข้นึ ไม่นอ้ ย - ต.ค.63-ก.ย. 64 2.1 ยกระดับการใหบ้ ริการสมาชิกของกลุ่มเกษตร กว่าร้อยละ 3 ต.ค. 63–ก.ย.64 2.2 ยกระดับประสิทธภิ าพการดำเนนิ ธุรกิจ จากระดบั มัน่ คงตาม แล้วเสรจ็ มาตรฐาน (วัดจากอัตราส่วนทางการเงนิ ) แกไ้ ขแล้ว 2.3 ส่งเสริมและสนับสนุนใหส้ หกรณ์เพมิ่ ปริมาณธรุ กิจ เสรจ็ (เทยี บกบั ปริมาณธรุ กิจปีที่ผา่ นมา) 3. ดา้ นการกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบ กลุม่ เกษตรกร 3.1 ตดิ ตามการแก้ไขตามข้อสงั เกตผ้สู อบบัญชี 3.2 ตรวจสอบ ระเบยี บ ข้อบังคับและแนะนำการแกไ้ ขปรบั ปรงุ เพือ่ ให้สอดคล้องกบั ร่างของกรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์จะแนะนำส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรดำเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาท่ี ดำเนนิ การ 1 ด้านการพฒั นาการดำเนินธรุ กจิ 90 รอ้ ยละ ต.ค 63.-กย.64 1.1 ยกระดบั การให้บรกิ ารสมาชกิ ของกลมุ่ เกษตรกร รอ้ ยละ ไม่น้อยกวา่ ระดับ ต.ค 63.-กย.64 (การมสี ่วนร่วมในการดำเนนิ ธุรกจิ ) ร้อยละ 3 ตค.63- กย.64 1.2 สง่ เสรมิ การเพม่ิ ปรมิ าณธุรกจิ ดีมาก 2 ด้านการสง่ เสริมและพฒั นาองคก์ ร 2.1 สง่ เสรมิ แนะนำ ในการติดตามผลการดำเนนิ งานให้เปน็ ไป ตามแผนการดำเนนิ งานประจำปขี องกลุ่มเกษตรกร ลงชื่อ กันต์กนษิ ฐ์ เหล็กเพ็ชร เจ้าหน้าท่ีผู้รบั ผิดชอบ เจ้าพนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณ์ วันที่ 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
104. กล่มุ เกษตรกรทำนาหนองบวั ประเภท : ทำนา การวิเคราะห์ขอ้ มูลและบริบทของกลุม่ เกษตรกร ⚫ ข้อมลู พนื้ ฐานของกลุ่มเกษตรกร 1) ข้อมลู ทว่ั ไป : 1.1 จำนวนสมาชิก 36 คน (สมาชิกสามญั 36 คน สมาชิกสมทบ 0 คน) กลมุ่ สมาชิก 1 กลมุ่ 1.2 จำนวนสมาชกิ ทีม่ ีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกบั กลุ่มเกษตรกร 8 คน 1.3 คณะกรรมการดำเนนิ การ 7 คน ฝ่ายจัดการ 0 คน ( มผี จู้ ดั การ ไม่มผี จู้ ัดการ) 1.4 ผูต้ รวจสอบกิจการ 1 คน 1.5 วันสิ้นปีทางบญั ชี 31 มนี าคม ของทุกปี 1.6 กล่มุ เกษตรกรดำเนินธุรกจิ ด้านเดียว คอื ธุรกจิ สินเชอื่ (ระหวา่ งปีไมไ่ ดด้ ำเนินธุรกิจแต่อย่าง ใด มเี พยี งรับชำระหนี้จากลกู หน้ี) 1.7 ธรุ กจิ หลกั คอื ธรุ กิจใหส้ นิ เช่อื 1.8 ผลการประเมินมาตรฐานกล่มุ เกษตรกร ยังไมไ่ ด้ประชุมใหญ่สามัญประจำปี (คาดว่าไม่ผา่ น เกณฑ์มาตรฐาน เนอ่ื งจากไมจ่ ัดประชมุ ใหญใ่ ห้ปีบญั ชีที่ผ่านมา ประกอบกับผลดำเนินงานใน ปีนขี้ าดทนุ ซ่งึ เป็นผลจากคณะกรรมการดำเนนิ การไม่ปฏบิ ัตติ ามหนา้ ท่ีท่ีไดร้ บั มอบหมาย ) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไมผ่ า่ นเกณฑม์ าตรฐาน 1.9 ผลการจดั ชั้นกลุ่มเกษตรกร ระดบั ชั้น 2 (ไม่มรี ะบบควบคุมภายใน) 1.10 ผลผลิตหลักของกลมุ่ เกษตรกร คือ ขา้ ว ผลผลติ รองของกลุ่มเกษตรกร คอื มันสำปะหลงั 1.11 ผลติ ภณั ฑ์เด่นของกลุ่มเกษตรกร คือ ไม่มี 1.12 ศักยภาพการรวบรวมผลผลิตของกล่มุ เกษตรกร : ไม่มีศักยภาพ 1.13 ศกั ยภาพการแปรรูปผลผลิตของกลมุ่ เกษตรกร : ไม่มกี ารแปรรูป 1.14 กลมุ่ เกษตรกรเขา้ รว่ มโครงการ/นโยบายรัฐบาล : ไมม่ ี 2) โครงสร้างพนื้ ฐานของกลุ่มเกษตรกร : ไมม่ ี 3) ขอ้ มูลการดำเนนิ ธุรกิจ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบญั ชลี ่าสุด ) : หนว่ ย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กจิ สินเชื่อ 97,000.00 120,000.00 0.00 2. ธรุ กิจรับฝากเงิน - - - 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลิต - - - 4. ธุรกจิ แปรรูปผลผลติ - - - 5. ธุรกจิ จัดหาสินค้ามาจำหน่าย - - - 6. ธุรกจิ บริการ - - - รวม 97,000.00 120,000.00 0.00 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
4) สถานภาพทางการเงนิ (ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทนุ หน่วยนับ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรัพย์ บาท 137,956.27 151,128.76 122,540.45 หนีส้ นิ บาท 69,245.00 69,245.00 69,245.00 ทุนของกล่มุ เกษตรกร บาท 68,711.27 81,883.76 53,295.45 กำไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 3,448.09 5,032.49 (28,588.31) อตั ราส่วนทางการเงนิ ทีส่ ำคญั - อัตราสว่ นหนี้สนิ ตอ่ ทุน (DE Ratio) เทา่ 1.0 0.84 1.29 - อัตราผลตอบแทนต่อทนุ (ROE) % 5.01 6.14 - - อัตราผลตอบแทนตอ่ สินทรพั ย์ (ROA) % 2.49 3.33 - - อตั ราสว่ นทนุ หมุนเวียน เทา่ 1.99 2.18 - - อตั ราส่วนทุนสำรองต่อสนิ ทรพั ย์ เทา่ 0.16 0.16 - 5) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี (ถ้ามี) กลุ่มเกษตรกรดำเนินงานมีผลขาทุนสุทธิ จำนวน 28,588.31 บาท ซง่ึ เกนิ กึ่งหน่งึ ของจำนวนทุนเรอื นหุ้นท่ชี ำระแลว้ ตามพระราชกฤษฎกี า วา่ ด้วยกลุม่ เกษตรกร พ.ศ. 2547 มาตรา 17 กลุ่มเกษตรกรตอ้ งเรียกประชมุ ใหญ่วิสามัญโดยมิชักช้า แต่ไมเ่ กนิ สามสิบวันนับแต่วันที่กลุ่มเกษตร ทราบ 6) ขอ้ บกพรอ่ งของกลุ่มเกษตรกร (ถ้ามี) กลมุ่ เกษตรไม่จัดให้มีประชุมใหญ่สามัญประจำปี สำหรบั ปี สิน้ สดุ วันท่ี 31 มีนาคม 2563 และมีเงนิ สดขาดบญั ชี จำนวน ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของกลุ่มเกษตรกร จากข้อมูลพ้ืนฐาน และสภาพแวดลอ้ มของกลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลของกลุม่ เกษตรกรได้ ดังน้ี กลุ่มเกษตรกรทำนาหนองบัว เป็นกลุ่มเกษตรกรกลุ่มเกษตรกรขนาดเล็ก ไม่มีเจ้าหน้าที่ ไม่มีการ ประชุมของคณะกรรมการดำเนนิ การ ไม่มีการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ไม่ปฏิบัติตามแนวทางการบรหิ าร จัดการ 126 ข้อ มีการดำเนินธุรกิจสินเชื่อเพียง 8 ราย และไม่มีการชำระหนี้ตามกำหนด ส่งผลให้ผล ประกอบการขาดทุนในปีนี้ ทำให้กลุ่มเกษตรกรไม่อาจดำเนินการให้เป็นผลดีต่อไปได้ มาตรา 33 (4) นาย ทะเบียนสหกรณ์มีอำนาจส่ังให้เลกิ กลุม่ เกษตรกรได้เมือ่ ปรากฏว่าการดำเนินการของกลุ่มเกษตรกรก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายอยา่ งร้ายแรงแก่กลุม่ เกษตรกรนั้น หรอื กลุ่มเกษตรกรไมอ่ าจดำเนินการใหเ้ ป็นผลดตี อ่ ไปได้ จากการเข้าไปแนะนำส่งเสรมิ และนดั หมายประชมุ คณะกรรมการ ปรากฏว่าคณะกรรมการดำเนนิ งาน ไมป่ ฏิบตั ิตามหนา้ ท่ี ไม่มาประชมุ จงึ ได้พดู คยุ กับประธานกรรมการเพ่อื แก้ไขปญั หา เบ้อื งต้นกลุ่มเกษตรกรจะ เรียกประชุมใหญ่ เพือ่ พจิ ารณาเสนอแผนฟืน้ ฟูกจิ การและหรอื เลกิ กจิ การตอ่ ไป ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนการแนะนำสง่ เสริม พฒั นา และกำกบั ดูแลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1) ระดับชน้ั กลุม่ เกษตรกร : รกั ษาระดับกลุ่มกลุ่มเกษตรกรชั้น 1 และช้ัน 2 ยกระดบั กลมุ่ เกษตรกรชน้ั 2 และ ช้ัน 3 สูช่ ัน้ ทด่ี ขี ึน้ 2) มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร : รกั ษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรให้อยใู่ นระดบั ดีข้นึ ไป ผลกั ดันกล่มุ เกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออย่ใู นระดบั ทีด่ ีขึน้ 3) อื่น ๆ ให้กลุ่มเกษตรกรเรยี กประชุมใหญ่ เพ่อื พิจารณาเสนอแผนฟน้ื ฟกู จิ การและหรอื เลกิ กจิ การ ต่อไป แผนการแนะนำสง่ เสรมิ พัฒนา และแกไ้ ขปญั หาของกล่มุ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมทกี่ ลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์เป็นผู้ดำเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วย ชว่ งเวลาท่ี นับ ดำเนินการ 1. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร ต.ค.64 - ก.ย. 65 ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.1 กจิ กรรม ยกระดับการควบคุมภายในของกลุ่มเกษตรกร มรี ะบบควบคมุ ต.ค.64 - ก.ย. 65 ภายใน ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.2 กิจกรรม ยกระดบั มาตรฐานของกลุ่มเกษตรกร ยกระดับมาตรฐาน ต.ค.64 - ก.ย. 65 ให้ดขี ้นึ ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.3 กิจกรรม รกั ษาระดับชัน้ ความเข้มแข็งกลมุ่ เกษตรกร รักษาระดบั 2 ต.ค.64 - ก.ย. 65 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนินธรุ กจิ 2.1 กจิ กรรม ยกระดับการให้บรกิ ารสมาชิกของกล่มุ เกษตรกร 60 % ขน้ึ ไป รอ้ ยละ 2.2 กจิ กรรม ยกระดบั ประสทิ ธิภาพการดำเนนิ ธรุ กิจของกลมุ่ เพ่ิมข้ึน 3% ร้อยละ เกษตรกร 3. ดา้ นการกำกบั ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบ ตามทกี่ รมกำหนด ครั้ง กลมุ่ เกษตรกร ตามทกี่ รมกำหนด ครง้ั 3.1 กิจกรรม ตรวจการกล่มุ เกษตรกรตามแผนที่กำหนด 3.2 กิจกรรม ติดตาม/รายงานผล แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์จะแนะนำสง่ เสริมให้ กลมุ่ เกษตรกรดำเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาท่ี ดำเนนิ การ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลกั พัฒนาความเข้มแข็ง 1.1 กิจกรรม จดั ประชมุ ใหญ่สามญั 1 ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.2 กิจกรรม จดั ทำแผนพัฒนาความเข้มแขง็ 1 แผน ต.ค.64 - ก.ย. 65 1.3 กิจกรรม ปฏิบัตติ ามแผน/ตดิ ตาม/รายงานผล 10 ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย. 65 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนบั ช่วงเวลาท่ี ดำเนนิ การ 2. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ยกระดบั มาตรฐาน 2.1 กิจกรรม ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ 10 ครัง้ ต.ค.64 - ก.ย. 65 2.2 กจิ กรรม จดั ทำแผนยกระดับมาตรฐาน 1 คร้งั ต.ค.64 - ก.ย. 65 2.3 กิจกรรม ปฏิบตั ติ ามแผน/ตดิ ตาม/รายงานผล 10 คร้งั ต.ค.64 - ก.ย. 65 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั แก้ไขปัญหาการดำเนินงาน 10 ครั้ง ต.ค.64 - ก.ย. 65 3.1 กจิ กรรม ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ 1 คร้งั ต.ค.64 - ก.ย. 65 3.2 กจิ กรรม จดั ทำแผนแก้ไขปญั หาการดำเนินงาน 10 ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย. 65 3.3 กิจกรรม ปฏิบตั ติ ามแผน/ติดตาม/รายงานผล ลงช่ือ นายธนาดลุ บตุ รวงษ์ เจา้ หน้าท่ีผ้รู ับผิดชอบ นักวิชาการสหกรณช์ ำนาญการ วันท่ี 15 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
105. กลุ่มเกษตรกรทำนาหนองแปน ประเภท : ทำนา การวเิ คราะห์ข้อมลู และบริบทของกล่มุ เกษตรกร (รายแห่ง) • ข้อมูลพ้นื ฐานของกลุ่มเกษตรกร 1) ข้อมูลท่วั ไป : 1.1 จำนวนสมาชกิ 428 คน 1.2 สมาชกิ มสี ว่ นรว่ มทำธรุ กจิ กบั กลมุ่ เกษตรกร 0 คน 1.3 คณะกรรมการดำเนินการ 5 คน 1.4 ผู้ตรวจสอบกจิ การ 2 คน 1.5 วันสน้ิ ปที างบญั ชี 31 มนี าคม ของทกุ ปี 1.6 ดำเนินธรุ กจิ ดา้ นเดยี ว ได้แก่ ธรุ กิจสินเชอ่ื 1.7 ผลการประเมินมาตรฐาน ไมผ่ า่ นเกณฑม์ าตรฐาน 2) โครงสรา้ งพืน้ ฐานของกลมุ่ เกษตรกร : ไมม่ ี 3) ข้อมูลการดำเนินธุรกจิ ของกลุ่มเกษตรกร(ข้อมลู ย้อนหลงั 3 ปบี ญั ชลี ่าสดุ ) : ไมส่ ามารถปดิ บญั ชไี ดป้ รบั ตามปีบัญชีของสหกรณ์ 4) สถานภาพทางการเงนิ ของกลมุ่ เกษตรกร (ข้อมลู ย้อนหลงั 3 ปีบญั ชีลา่ สุด) : ไม่สามารถปดิ บัญชไี ดป้ รับตามปบี ญั ชีของกล่มุ เกษตรกร 5) ขอ้ สังเกตของผูส้ อบบัญชี(ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปบี ญั ชลี ่าสดุ ) -ไม่มีขอ้ สังเกตของกลมุ่ เกษตรกร 6) ขอ้ บกพรอ่ งของกลุ่มเกษตรกร (ข้อมลู ย้อนหลงั 3 ปีบญั ชีลา่ สุด) -ไมม่ ขี อ้ บกพรอ่ งของกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. การวเิ คราะห์ SWOT ของกลุม่ เกษตรกรทำนาหนองแปน จุดแขง็ (strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) - คณะกรรมการมีความเสียสละ ซือ่ สตั ย์ - กลุ่มเกษตรกรมเี งินทุนไม่เพียงพอในการดำเนิน - กลุ่มเกษตรกรมขี อ้ บังคบั และระเบยี บ ธุรกจิ - กล่มุ เกษตรกรมีการบรหิ ารจัดการทเี่ ขม้ แข็ง - คณะกรรมการดำเนนิ การ ขาดความรูด้ ้านการ สามารถตดิ ตามการชำระหน้ไี ด้ บรหิ าร - คณะกรรมการขาดความรู้ในด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคบั โอกาส (Opportunities) อปุ สรรค (Threats) - ไดร้ บั การสนบั สนนุ เงินทนุ จากภาครัฐ - สภาวะทางเศรษฐกจิ ตกต่ำ - เทคโนโลยที ท่ี นั สมัย - ตน้ ทุนการผลิต และคา่ ครองชพี ทสี่ งู ขนึ้ - ภยั ทางธรรมชาติ ลงชื่อ กันตก์ นษิ ฐ์ เหล็กเพช็ ร เจา้ หนา้ ที่ผ้รู บั ผดิ ชอบ เจา้ พนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณ์ วันท่ี 13 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
105.กลุ่มเกษตรกรทำนาหนองแปน ประเภท : ทำนา ◼ การวเิ คราะห์ข้อมูลและบริบทของกลมุ่ เกษตรกร (รายแห่ง) ข้อมลู พนื้ ฐานของกลุ่มเกษตรกร 1) ขอ้ มูลท่วั ไป : 1.1 จำนวนสมาชิก 428 คน 1.2 สมาชกิ มสี ว่ นรว่ มทำธุรกจิ กบั กลมุ่ เกษตรกร 0 คน 1.3 คณะกรรมการดำเนินการ 5 คน 1.4 ผตู้ รวจสอบกจิ การ 2 คน 1.5 วนั สนิ้ ปีทางบญั ชี 31 มีนาคม ของทุกปี 1.6 ดำเนนิ ธุรกิจ ดา้ นเดยี ว ได้แก่ ธรุ กิจสนิ เชอื่ 1.7 ผลการประเมนิ มาตรฐาน ไมผ่ า่ นเกณฑม์ าตรฐาน 2) โครงสร้างพนื้ ฐานของกลุ่มเกษตรกร : ไม่มี 3) ขอ้ มลู การดำเนนิ ธุรกจิ ของกลมุ่ เกษตรกร(ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปบี ญั ชลี า่ สดุ ) : ไม่สามารถปดิ บญั ชีได้ 4) สถานภาพทางการเงินของกลมุ่ เกษตรกร (ขอ้ มลู ยอ้ นหลงั 3 ปีบัญชลี า่ สดุ ) : ไมส่ ามารถปดิ บญั ชีได้ 5) ข้อสงั เกตของผสู้ อบบญั ชี(ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปบี ัญชลี า่ สดุ ) -ไม่มีขอ้ สังเกตของกลมุ่ เกษตรกร 6) ขอ้ บกพร่องของกลมุ่ เกษตรกร (ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สุด) -ไมม่ ขี อ้ บกพร่อง ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1. การวิเคราะห์ SWOT ของกลุ่มเกษตรกรทำนาหนองแปน จุดแข็ง (strengths) จดุ อ่อน (Weaknesses) -คณะกรรมการมีความเสยี สละ ซอื่ สัตย์ -กลุ่มเกษตรกรมเี งนิ ทุนไมเ่ พียงพอในการดำเนินธรุ กจิ -กลุ่มเกษตรกรมขี ้อบงั คับ และระเบียบ -คณะกรรมการดำเนินการ ขาดความร้ดู า้ นการบรหิ าร -กลมุ่ เกษตรกรมีการบรหิ ารจดั การทเี่ ข้มแขง็ - คณะกรรมการขาดความรูใ้ นด้านกฎหมาย ระเบยี บ สามารถตดิ ตามการชำระหนี้ได้ ขอ้ บงั คบั โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats) -ได้รบั การสนบั สนุนเงินทนุ จากภาครฐั -สภาวะทางเศรษฐกจิ ตกต่ำ -เทคโนโลยที ่ีทันสมัย -ตน้ ทุนการผลิต และคา่ ครองชีพทส่ี ูงข้ึน -ภัยทางธรรมชาติ ลงชื่อ กนั ตก์ นษิ ฐ์ เหลก็ เพช็ ร เจา้ หนา้ ท่ีผูร้ ับผดิ ชอบ เจ้าพนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณ์ วันที่ 13 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
106. กลมุ่ เกษตรกรทำนาหนองผอื ประเภท : ทำนา การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และบรบิ ทของกลมุ่ เกษตรกร • ขอ้ มูลพน้ื ฐานของกลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มลู ท่ัวไป 1.1 จำนวนสมาชกิ ทง้ั สิน้ 46 คน 1.2 จำนวนคณะกรรมการ 5 คน (ชาย 2 คน หญงิ 3 คน) 1.3 ชนดิ ผลผลติ หลกั คือ ข้าว 1.4 ปรมิ าณผลผลิต จำนวน 92 ตัน 1.5 มาตรฐานกลุม่ เกษตรกร ปี 2564 กลุ่มเกษตรกรไม่ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน (ผลการดำเนินงานขาดทุน) 2) โครงสร้างพื้นฐานของกลุ่มเกษตรกร : ไม่มีอุปกรณ์การผลติ /การตลาด 3) ข้อมลู การดำเนนิ ธรุ กิจของกลุม่ เกษตรกร (ข้อมลู ยอ้ นหลงั 3 ปีบัญชลี ่าสุด ) : หน่วย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกิจสนิ เช่ือ 195,000 161,530 151,630 - 2. ธุรกิจรับฝากเงิน -- - - 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ -- - - 4. ธุรกจิ แปรรูปผลผลิต -- 151,630 5. ธุรกจิ จัดหาสินคา้ มาจำหนา่ ย -- หนว่ ย : บาท 6. ธุรกจิ บริการ -- รวม 195,000 161,530 4) สถานภาพทางการเงินของกลมุ่ เกษตรกร (ข้อมลู ยอ้ นหลงั 3 ปีบัญชลี ่าสุด) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทุน ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สนิ ทรัพย์ 287,421.82 294,059.15 282,223.52 หนีส้ นิ 81,000.00 81,000.00 81,000.00 ทนุ ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร 206,421.82 213,059.15 201,223.52 กำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ 11,828.00 7,887.33 (9,385.63) อตั ราส่วนทางการเงนิ ท่ีสำคญั - อตั ราสว่ นหนี้สนิ ต่อทนุ (DE Ratio) 0.39 0.27 0.40 - อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) 5.73 3.70 -0.04 - อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) 3.79 2.68 -0.03 - อตั ราส่วนทุนหมุนเวียน - อตั ราส่วนทุนสำรองตอ่ สินทรัพย์ - - - 0.51 0.51 0.52 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
1. ด้านหนีส้ นิ ตอ่ ทุน : เจ้าหน้ีมเี กราะคุ้มครองความปลอดภัยดี เพราะเจา้ หน้ีมาจากเงนิ อุดหนนุ จ่ายขาด 2. ด้านผลตอบแทนตอ่ ทุน : ผู้ถอื ห้นุ ไมไ่ ดผ้ ลตอบแทนเนอ่ื งจากกลุ่มขาดทนุ จาการต้ังคา่ เผ่ือหน้ี สงสยั จะสูญ 3. ด้านผลตอบแทนตอ่ สินทรัพย์ : ผลตอบแทนตอ่ สนิ ทรพั ย์ไมด่ ีเน่อื งจากกลมุ่ ไมส่ ามารถเรยี กเก็บ ลกู หน้ีได้ตามกำหนดทำให้เกิดลูกหน้คี ้างนานจงึ เกิดการตง้ั ค่าเผ่ือหนีส้ งสัยจะสญู 4. ดา้ นสินทรพั ยห์ มุนเวียน : สภาพคล่องทางการเงนิ ดมี ากเน่อื งจากกลมุ่ ฯไมม่ หี นสี้ นิ ทีค่ รบกำหนด ชำระใน 1ปี มีเพียงเงินอุดหนนุ จ่ายขาดซง่ึ ไม่ต้องชำระคืน 5. ด้านทุนสำรองต่อสนิ ทรัพย์ : กลมุ่ ฯมีทุนสำรองเพื่อปอ้ งกันผลการขาดทนุ ทอ่ี าจเกิดข้นึ ในการ ดำเนนิ ธุรกจิ 5) ข้อสังเกตของผ้สู อบบัญชี (ข้อมูลยอ้ นหลงั 3 ปบี ญั ชลี า่ สดุ ) - ไมม่ ี- 6) ขอ้ บกพรอ่ งของกลมุ่ เกษตรกร (ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สุด) - ไม่มี – ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ของกลมุ่ เกษตรกร การวิเคราะห์ SWOT Analysis จุดอ่อน จดุ แข็ง - สมาชกิ ยังขาดความรใู้ นการเป็นสมาชิกท่ดี ี - คณะกรรมการเป็นผ้มู คี วามซอ่ื สตั ย์ในการ - มีการวางแผนการปฏบิ ัตงิ าน แตย่ ังขาดการควบคมุ ปฏิบตั ิงาน และการประเมินผลท่ดี ีพอ - คณะกรรมการ บรหิ ารงานกลมุ่ ฯด้วยความ - สมาชกิ มีหนี้หลายทาง ระมัดระวงั รอบคอบ - สมาชกิ ขาดองคค์ วามร้ดู ้านวชิ าการเทคนิคทาง การเกษตร ทำให้ใช้ต้นทุนการผลติ สงู ไม่คุ้มค่าต่อ ผลผลติ ท่ีได้ อุปสรรค โอกาส - ภาวะโรคระบาดทำใหร้ าคาผลผลติ ตกต่ำ - รัฐบาลให้การสนบั สนุนการรวมกลมุ่ โดยเฉพาะการ - ภยั ธรรมชาติเชน่ ฝนแลง้ นำ้ ท่วม และโรคพชื ต่างๆ รวมกันเปน็ กล่มุ เกษตรกร - โครงการตา่ งๆของรฐั บาลทล่ี งมาให้เกษตรกร - มาตรการชดเชยรายได้ และการรวมกลมุ่ ผลิตเป็น กลุ่มแปลงใหญใ่ นการทำเกษตรอนิ ทรีย์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
สรุปผลการวิเคราะห์ : กลุ่มเกษตรกรแห่งน้ีมีคณะกรรมการที่บริหารงานดว้ ยความระมัดระวัง การ บริหารงานในธุรกจิ ต่างๆของกลุ่มฯมีกำไรทั้งหมด และสมาชิกกลุ่มฯมีความยอมรับในตัวกลุ่มฯ ทำให้กลุ่มมี กำไรจากการดำเนินงานทุกปี การดำเนินการของกลุ่มต้องเพิ่มทุนดำเนินงานภายในให้มากขึ้นทุกปี และ ประชาสัมพันธก์ ารรบั สมาชิกเพิม่ เนอ่ื งจากสมาชิกยงั นอ้ ย แผนการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และแกไ้ ขปัญหาเป็นรายกลุม่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดแู ลกลมุ่ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1) รักษาระดบั ชนั้ กลุ่มเกษตรกร: รักษาระดบั กลมุ่ เกษตกรช้นั 1 และชน้ั 2 ยกระดบั กลมุ่ เกษตรกรช้ัน 2 และ ชั้น 3 สชู่ ้ันท่ดี ีข้ึน 2) มาตรฐานกล่มุ เกษตรกร: รกั ษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรใหอ้ ยู่ในระดบั ดขี ้ึนไป ผลกั ดันกลมุ่ เกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐานหรอื อยู่ในระดบั ที่ดีข้ึน 3) อนื่ ๆ ปรบั ปรุงการดำเนินงานตามข้อสงั เกตของผสู้ อบบัญชี แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหาของกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมที่กลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์เปน็ ผู้ดำเนนิ การ: แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาที่ ดำเนนิ การ 1. การส่งเสริมการประชุมกลุม่ สมาชกิ 1.1 กิจกรรม ประชุมกลุ่มสมาชิก 1 กลุม่ ก.พ. – มี.ค. 65 2. แผนงานรักษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 2.1 กิจกรรม เขา้ ร่วมประชมุ คณะกรรมการดำเนินการกลุ่มเกษตรกร 6 ครงั้ ต.ค.64 – มี.ค.65 2.2 กิจกรรม การชี้แจงการรกั ษามาตรฐานของกลุ่มเกษตรกร 2 ครง้ั ต.ค.64 – มี.ค.65 3. แผนงานปิดบัญชีและประชุมใหญ่ภายใน 150 วนั 3.1 กิจกรรม เขา้ ร่วมประชมุ ใหญ่สามัญประจำปี 1 ครง้ั ก.ค. – ส.ค. 65 3.2 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสริม การจดั ทำบัญชี 12 คร้ัง พ.ค.64 –มี.ค. 65 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์จะแนะนำส่งเสริมให้กลุม่ เกษตรกรดำเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม ค่า หน่วย ช่วงเวลาท่ี เปา้ หมาย นับ ดำเนนิ การ 1. ส่งเสริมกลมุ่ ปริมาณธุรกจิ เพ่ิมขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 เทียบกับปที ี่แลว้ 1.1 กิจกรรมการปล่อยสนิ เช่ือใหก้ ับสมาชิก 30 ราย พ.ค.64-มี.ค.65 2 .สมาชิกมีสว่ นร่วมในการทำธรุ กจิ เพิ่มข้ึน 2.1 กิจกรรม จดั ทำแผนประชาสมั พันธ์และกระตุน้ การมสี ่วนร่วมของสมาชกิ 6 ครัง้ ก.ย.64 – ม.ี ค.65 3. สง่ เสริมและสนบั สนุนสหกรณ์ให้มีทุนดำเนนิ งานเพ่มิ ขนึ้ 3.1 กิจกรรมแนะนำชแี้ จงการระดมทนุ ภายในกลุ่มเกษตรกร 4 ครง้ั ต.ค.64-ม.ค.65 ลงช่ือ คเชรวทิ ย์ ชะตะ เจ้าหนา้ ที่ผูร้ บั ผดิ ชอบ นกั วิชาการสหกรณ์ชำนาญการ วนั ท่ี 15 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
107. กลมุ่ เกษตรกรทำนาหนองแวง ประเภท : ทำนา การวิเคราะห์ข้อมลู และบริบทของกลุ่มเกษตรกร ⚫ ขอ้ มลู พ้ืนฐานของสหกรณ์ 1) ข้อมลู ทว่ั ไป : 1.1 จำนวนสมาชกิ 125 คน 1.2 ธุรกจิ ของกลมุ่ เกษตรกร สนิ เชอื่ 1.3 ผลผลติ หลกั ข้าว 1.4 มาตรฐานสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร ผา่ นมาตรฐาน 1.5 ศักยภาพการรวบรวมผลผลติ /การแปรรปู /ผลติ ภณั ฑ์เดน่ ฯลฯ -ไมม่ ี- 2) โครงสร้างพืน้ ฐานของ กลมุ่ เกษตรกร : ไม่มีอปุ กรณก์ ารตลาด 3) ขอ้ มลู การดำเนินธรุ กจิ ของกลุม่ เกษตรกร (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สุด ) : ปรบั ตามปีบญั ชี หน่วย : บาท ประเภทธรุ กิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กิจสินเช่ือ 851,800.00 400,000.00 0.00 2. ธุรกจิ รบั ฝากเงิน - - - 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ - - - 4. ธรุ กิจแปรรูปผลผลิต - - - 5. ธรุ กิจจดั หาสินค้ามาจำหนา่ ย - - - 6. ธรุ กจิ บริการ - - - รวม 851,800.00 400,000.00 0.00 4) สถานภาพทางการเงินของกลมุ่ เกษตรกร (ข้อมูลยอ้ นหลงั 3 ปีบัญชีลา่ สุด) ปรบั ตามปบี ัญชี หน่วย : บาท งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทุน ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรัพย์ 1,122,112.36 889,007.43 หน้ีสิน 701,010.37 701,044.89 ทนุ ของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 421,101.99 187,962.54 กำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ 30,804.69 (233,139.45) อตั ราสว่ นทางการเงนิ ทีส่ ำคัญ - อัตราส่วนหนสี้ ินต่อทุน (DE Ratio) 1.66 เทา่ 3.72 เทา่ - อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) 7.57 % -76.55 % - อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) 3.06 % -23.18 % - อตั ราสว่ นทุนหมุนเวียน 2.66 เท่า 2.10 เท่า - อัตราส่วนทุนสำรองตอ่ สินทรัพย์ 0.10 0.00 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
5) ขอ้ สงั เกตของผสู้ อบบญั ชี (ขอ้ มลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ ) กลุ่มเกษตรกรถือเงินสดเกินกวา่ ระเบยี บกำหนด 6) ขอ้ บกพร่องของสหกรณ์ (ข้อมลู ย้อนหลงั 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ ) -ไม่มี- ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร การวเิ คราะห์ SWOT Analysis จุดอ่อน จุดแข็ง - สมาชิกขาดความรู้ทางวิชาการดา้ นการเกษตรแผน - สมาชิกอาศัยอยใู่ นหมู่บา้ นเดยี วกนั ทำใหง้ ่ายต่อการ ใหมเ่ พอ่ื การพฒั นา ประสานงาน - ราคาสินค้าเกษตรของสหกรณต์ ้องพงึ พาพอ่ ค้า - สมาชิกสว่ นใหญ่อาศยั อยู่ในหมบู่ ้านเดียวกัน - สมาชกิ ยังไม่เข้าใจในหลักการ อดุ มการณ์ และ - คณะกรรมการดำเนินการรบู้ ทบาทหน้าท่ขี อง วธิ กี ารสหกรณ์ หรือบทบาทหน้าทีข่ องสมาชิก ตวั เอง - มีทนุ ดำเนนิ งานไม่เพยี งพอ - คณะกรรมการมคี วามเสียสละ อุปสรรค โอกาส - ภยั ธรรมชาติ (ฝนแลง้ น้ำท่วม พายุ ฯ) -รัฐบาลใหก้ ารสนบั สนุนการรวมกลมุ่ โดยเฉพาะการ - มีพอ่ ค้าคนกลางในพ้นื ทเี่ ข้าถงึ แหล่งชุมชน รวมกันเป็นสหกรณ์ - มีสถาบันการเงนิ เป็นคู่แข็งภายในหมบู่ ้าน - การปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ใหก้ ารสนบั สนนุ - ค่าครองชพี สงู สง่ ผลใหส้ มาชิกมคี า่ ใชจ้ ่ายเพมิ่ ขึน้ ทา - หน่วยงานทางราชการใหก้ ารสนบั สนนุ ให้เกิดการผดิ นดั ชาระหนี้ 1. ความเพียงพอของเงินทนุ กลมุ่ เกษตรกรมที ุนดำเนินงานทัง้ สน้ิ จำนวน 889,007.43 บาท ทุนดำเนินงานส่วนใหญเ่ ป็นแหล่ง เงินทนุ ภายนอก รอ้ ยละ 78.86 ซึ่งเปน็ เจ้าหนก้ี ูย้ มื กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ร้อยละ 44.99 หนส้ี นิ ไม่หมนุ เวยี นอื่น รอ้ ยละ 31.38 และหนีส้ ินหมุนเวยี นอืน่ ร้อยละ 2.49 สว่ นท่ีเหลืออกี ร้อยละ 21.14 มาจากแหล่งเงนิ ทุนภายใน หากพิจารณาถึงความเข้มแข็งและเพยี งพอของเงนิ ทุนตอ่ ความเสี่ยงแลว้ กลมุ่ เกษตรกรมคี วามเสย่ี งด้านเงินทนุ เนือ่ งจากมอี ตั ราสว่ นหนีส้ ินต่อทนุ 3.73 เท่า ทนุ ของกลุ่มเกษตรกรไมส่ ามารถคุ้มครองหนี้ได้ทัง้ หมด แสดงให้ เหน็ วา่ กลมุ่ เกษตรกรมที นุ ไมเ่ พยี งพอต่อการชำระหนใ้ี ห้กบั เจา้ หน้ี 2. คณุ ภาพของสนิ ทรพั ย์ สนิ ทรพั ย์ของกลุม่ เกษตรกรทงั้ สนิ้ 889,007.43 บาท ส่วนใหญอ่ ยู่ในรปู ลูกหน้ี ร้อยละ 97.69 เงนิ สด และเงนิ ฝากธนาคาร รอ้ ยละ 2.31 ของสนิ ทรพั ย์ทง้ั ส้นิ กลมุ่ เกษตรกรมีอัตราหมุนของสินทรัพย์ 0.04 รอบ แต่ ไมส่ ามารถสร้างผลตอบแทนใหก้ ล่มุ เกษตรกรได้ กลมุ่ เกษตรกรควรพจิ ารณาหาแนวทางเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพใน การใช้ประโยชนจ์ ากสนิ ทรพั ย์ท่มี อี ย่ใู ห้มากขึน้ เพ่ือให้เกดิ ผลตอบแทนสงู สุด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
3. สภาพคล่อง สภาพคล่องกลมุ่ เกษตรกรมีอัตราส่วนทนุ หมุนเวยี น 2.11 เทา่ แสดงใหเ้ ห็นว่ากลมุ่ เกษตรกรมสี ินทรัพย์ หมนุ เวยี นมากกวา่ หนสี้ ินหมนุ เวยี น 1.11 เทา่ ซึง่ มสี นิ ทรัพยเ์ พียงพอท่จี ะชำระหนรี้ ะยะสั้นได้ อย่างไรกต็ าม สินทรพั ยห์ มุนเวียนส่วนใหญอ่ ย่ใู นรปู ของลกู หน้เี งินใหก้ ูย้ มื รอ้ ยละ 97.69 เงินสดและฝากธนาคาร ร้อยละ 2.31 สภาพคลอ่ งทางการเงนิ ของกลุ่มเกษตรกรข้ึนอยู่กบั การบริหารจัดการลกู หนเี้ ป็นสำคัญ โดยกลมุ่ เกษตรกรควร พิจารณาถึงความสามารถในการชำระหนีข้ องสมาชิกและติดตามหนตี้ ามกำหนดสญั ญา แผนการแนะนำสง่ เสรมิ พฒั นา และกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดแู ล กลุม่ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดังน้ี 1) ระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร : รักษาระดบั ชัน้ 1 และชั้น 2 ยกระดับชัน้ 2 และ ช้ัน 3 สูช่ ้ันทีด่ ีข้ึน 2) มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร : รกั ษามาตรฐานกล่มุ เกษตรกรให้อยู่ในระดับดีขนึ้ ไป ผลกั ดนั กลมุ่ เกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรืออยใู่ นระดบั ที่ดขี นึ้ 3) อน่ื ๆ แผนการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และแก้ไขปญั หาของกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมทก่ี ลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์เปน็ ผดู้ ำเนนิ การ : ค่า หน่วย ช่วงเวลาท่ี เป้าหมาย นับ ดำเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม 4 แห่ง ต.ค.64-ก.ย.65 1. ดา้ นการส่งเสริมและพัฒนาองคก์ ร 4 แหง่ ต.ค.64-ก.ย.65 1.1 กิจกรรม การรกั ษาการควบคุมภายในกล่มุ เกษตรกร 1.2 กจิ กรรม ผลักดันใหผ้ า่ นเกณฑ์มาตรฐานของกลุ่มเกษตรกร 4 แหง่ ต.ค.64-ก.ย.65 4 แหง่ ต.ค.64-ก.ย.65 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนินธรุ กจิ 2.1 กิจกรรม การรักษา/ยกระดับการใหบ้ รกิ ารสมาชกิ ของกลุม่ เกษตรกร 4 แห่ง ต.ค.64-ก.ย.65 2.2 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดับประสทิ ธภิ าพการดำเนินธรุ กิจของกลุ่ม เกษตรกร 3. ดา้ นการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร 3.1 กจิ กรรม การแก้ไขขอ้ สงั เกตกลุ่มเกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์จะแนะนำส่งเสรมิ ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดำเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม ค่า หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาที่ เปา้ หมาย ดำเนินการ 1. การส่งเสริมการประชุมกลุ่มสมาชิก 1.1 กจิ กรรม เขา้ รว่ มประชมุ กล่มุ สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 1 กลมุ่ ต.ค.64-ก.ย.65 2. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การแกไ้ ขปัญหาหนคี้ ้างกลุ่มเกษตรกร 2.1 กิจกรรม การแนะนำการจดั ทำแผนและแก้ไขปญั หาลูกหนค้ี า้ งชำระ 4 ครง้ั ต.ค.64-ก.ย.65 3. ส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรปรมิ าณธุรกิจเพ่ิมขึน้ ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 3 เทียบ กบั ปที แ่ี ล้ว 3.1 กิจกรรมแนะนำชแ้ี จงการทำธรุ กิจสินเชื่อกบั สมาชิก 4 ครง้ั ต.ค.64-ก.ย.65 3.2 กจิ กรรมแนะนำชี้แจงการจดั หาสินค้ามาจำหนา่ ยแก่สมาชิก 4 ครงั้ ต.ค.64-ก.ย.65 4. ส่งเสรมิ และสนับสนุนสหกรณ์ให้มีทุนดำเนินงานเพม่ิ ขนึ้ 4.1 กจิ กรรมแนะนำชแ้ี จงการระดมทุนภายในกลุ่มเกษตรกร 4 ครง้ั ต.ค.64-ก.ย.65 5. สง่ เสรมิ สมาชกิ มสี ่วนรว่ มในการทำธุรกิจเพิ่มขน้ึ 5.1 กิจกรรมแนะนำชแ้ี จงการมีสว่ นรว่ มทำธุรกจิ กบั สมาชิก 4 ครง้ั ต.ค.64-ก.ย.65 6. แนะนำส่งเสรมิ กลุ่มเกษตรกรรกั ษามาตรฐาน 6.1 กิจกรรมแนะนำชีแ้ จงการวิเคราะหจ์ ุดคุ้มทนุ 4 ครั้ง ต.ค.64-ก.ย.65 6.2 กิจกรรมช้ีแจงประเมินความเสย่ี งของธุรกิจ 4 ครั้ง ต.ค.64-ก.ย.65 7. สง่ เสริมให้กลุ่มเกษตรกรปฏบิ ตั ติ ามระเบียบ ขอ้ บังคบั กลุม่ เกษตรกร อย่างเครง่ ครัด 7.1 กิจกรรมแนะนำชแี้ จงบทบาทหน้าทข่ี องสมาชิก และกรรมการ 4 ครง้ั ต.ค.64-ก.ย.65 ลงช่ือ สมหวงั เพง็ ลนุ เจา้ หนา้ ทผี่ ู้รบั ผดิ ชอบ นกั วิชาการสหกรณ์ วันที่ 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
108. กลุ่มเกษตรกรทำนาหนองหา้ ง ประเภท : ทำนา การวเิ คราะหข์ อ้ มูลและบริบทของกล่มุ เกษตรกร ⚫ ขอ้ มูลพืน้ ฐานของกล่มุ เกษตรกร 1) ข้อมูลทัว่ ไป : จำนวนสมาชกิ : 431 ราย จำนวนสมาชิกทรี่ ว่ มทำธรุ กิจ : 58 ราย ธรุ กจิ หลกั /ผลผลติ หลกั : ธุรกิจสนิ เชื่อ /ข้าว มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร : ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (ปี 2563) ระดับชั้น : ไม่มีการจดั ชัน้ ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลติ : ไม่มี การแปรรปู : ไม่มี ผลิตภัณฑ์เดน่ ฯลฯ : ข้าว 2) โครงสรา้ งพน้ื ฐานของกลุม่ เกษตรกร : ไม่มอี ุปกรณ์การตลาด 3) ขอ้ มลู การดำเนินธุรกจิ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปบี ญั ชีล่าสดุ ) หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กจิ สินเชื่อ 941,000เอา 815,000 960,000 2. ธุรกจิ รบั ฝากเงิน - - - 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ - - - 4. ธุรกิจแปรรูปผลผลิต - - - 5. ธุรกจิ จัดหาสินค้ามาจำหน่าย - - - 6. ธุรกิจบริการ - - - 960,000 รวม 941,000 815,000 4) สถานภาพทางการเงนิ (ข้อมลู ยอ้ นหลงั 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ ) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกำไรขาดทุน ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรพั ย์ 444,493.89 511,327.14 อยรู่ ะหวา่ ง หนส้ี ิน 50,000.00 50,000.00 ผสู้ อบบัญชี ทนุ ของกลมุ่ เกษตรกร 394,493.89 461,327.14 ใหค้ วามเห็น กำไร (ขาดทุน) สทุ ธิ 4,525.09 25,683.25 งบการเงิน อัตราสว่ นทางการเงนิ ทีส่ ำคัญ - อัตราสว่ นหนสี้ นิ ต่อทุน (DE Ratio) 0.13 0.11 - อตั ราผลตอบแทนต่อทนุ (ROE) 1.19 6 - อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) 1.04 - อตั ราส่วนทุนหมุนเวยี น N/A 5.37 - อัตราสว่ นทุนสำรองตอ่ สินทรพั ย์ 0.353 N/A 0.313 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 683
Pages: