Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CPS_Plan_2565_kalasin_Final

CPS_Plan_2565_kalasin_Final

Description: CPS_Plan_2565_kalasin_Final

Search

Read the Text Version

5) ขอ้ สังเกตของผสู้ อบบัญชี (ถ้ามี) กลมุ่ เกษตรกรไมไ่ ดจ้ ้างเจา้ หน้าท่ี มกี ารมอบหมายให้ คณะกรรมการเปน็ ผ้จู ัดทำและกลมุ่ ไม่สามารถจดั ทำงบการเงินได้ตอ้ งได้รับการชว่ ยเหลอื จากเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั 6) ขอ้ บกพร่องของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร (ถ้ามี) -ไม่มีข้อบกพรอ่ งของกลมุ่ เกษตรกร ⚫ ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากขอ้ มูลพืน้ ฐาน และสภาพแวดลอ้ มของกลมุ่ เกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของกลมุ่ เกษตรกรได้ ดงั นี้ กลมุ่ เกษตรกรทำไร่โนนน้ำเกลี้ยง เปน็ กล่มุ เกษตรกรประเภททำไร่ ดำเนินธรุ กจิ สินเช่ือเพยี งอยา่ งเดียว แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดูแลกลมุ่ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1) ระดบั ช้นั กล่มุ เกษตรกร :  รักษาระดบั กลุ่มเกษตรกร ชัน้ 1 และช้ัน 2  ยกระดับกลุ่มเกษตรกร ช้ัน 2 และ ช้นั 3 สชู่ ั้นทีด่ ีข้ึน 2) มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร :  รกั ษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรให้อยใู่ นระดับดีข้ึนไป  ผลักดนั กลุ่มเกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐานหรืออย่ใู นระดับท่ีดขี ึ้น  แผนการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และแกไ้ ขปัญหาของกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมทกี่ ลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์เปน็ ผู้ดำเนินการ : แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี - ดำเนินการ 1. ดา้ นการสง่ เสริมและพัฒนาองคก์ ร ไม่มีควบคุม ภายใน - ต.ค. 64-ก.ย.65 1.1 กิจกรรม การรักษา/ยกระดบั การควบคุมภายในของสหกรณ์ % ต.ค. 64-ก.ย.65 1.2 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดับมาตรฐานของสหกรณ/์ รกั ษา/ผลักดัน ต.ค. 64-ก.ย.65 กลมุ่ เกษตรกร 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนินธรุ กจิ การมีส่วนร่วมไม่ 2.1 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดบั การใหบ้ รกิ ารสมาชิกของ นอ้ ยกวา่ ร้อยละ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 50 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ ดำเนินการ 2.2 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดับประสิทธภิ าพการดำเนินธรุ กจิ มีผลการ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ดำเนนิ งานไม่ - ต.ค. 64-ก.ย.65 บาท เม.ย.64-มิ.ย.65 2.3 กิจกรรม แผนธุรกิจสินเชือ่ ขาดทุน คน 2.4 กจิ กรรม แผนรับสมาชกิ เพ่มิ 80,000.00 บาท เม.ย64-ม.ิ ย.65 2.5 กจิ กรรม แผนการระดมหุ้น 3. ด้านการกำกบั ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ - ต.ค. 64-ก.ย.65 กลมุ่ เกษตรกร 4,000.00 ครั้ง พ.ค.65-ก.ย.65 3.1 กิจกรรม การแกไ้ ขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 3.2 กจิ กรรม การตรวจการกล่มุ เกษตรกร ไม่มขี ้อบกพร่อง 1 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุม่ สง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนำส่งเสรมิ ให้สหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรดำเนนิ การ : แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ ดำเนนิ การ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลัก มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 1.1 กิจกรรม แนะนำหลักเกณฑก์ ารจัดมาตรฐานกล่มุ เกษตรกร 8 ครัง้ พ.ย. 64-มิ.ย.65 1.2 กจิ กรรม แนะนำกลมุ่ เกษตรกรปฏบิ ัติตามระเบยี บ ขอ้ บังคบั และราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยกลมุ่ เกษตรกร 8 ครัง้ ต.ค. 64-ก.ย.65 2. แผนงาน/กิจกรรมหลัก ปิดบญั ชใี ห้ไดภ้ ายใน 30 วัน 2.1 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสรมิ ช่วยเหลอื ให้กลุ่มเกษตรกรบนั ทึก บัญชใี หเ้ ปน็ ปจั จุบัน 12 ครง้ั ต.ค. 64-ก.ย.65 2.2 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสริม ช่วยเหลอื ปิดบญั ชีให้ไดภ้ ายใน 30 2 ครั้ง ม.ี ค.65-เม.ย65 วัน 3. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ประชุมใหญส่ ามัญประจำป/ี กรรมการ 3.1 กิจกรรม ประชุมใหญ่สามัญประจำปี 1 คร้ัง มิ.ย. 65-ส.ค.65 3.2 กจิ กรรม ประชุมคระกรรมการดำเนินการ 6 ครงั้ ต.ค. 64-ก.ย.65 ลงชื่อ ชไมพร มาตย์คำมี เจา้ หนา้ ท่ีผู้รับผิดชอบ นกั วิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ วนั ที่ 6 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

120. กลุ่มเกษตรกรทำไรบ่ ่อแกว้ ประเภท : ทำไร่ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และบรบิ ทของกล่มุ เกษตรกร ⚫ ข้อมูลพนื้ ฐานของกลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มลู ทั่วไป : กลุ่มเกษตรกรทำไรบ่ อ่ แกว้ ได้รับการจดทะเบียนตามพระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยกลมุ่ เกษตรกร พ.ศ.2547 เลขทะเบยี น กส.35/2518 กล่มุ เกษตรกรทำไร่บ่อแกว้ เมอื่ วนั ท่ี 7 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 เปน็ กลุ่มเกษตรกร ประเภททำไร่ ทีต่ ั้งสำนกั งานเลขท่ี 40 หมู่ 5 ตำบลบอ่ แกว้ อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ โทรศพั ท์ 0955370347 จำนวนสมาชกิ ที่ร่วมทำธรุ กจิ 23 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 43.40 ของสมาชกิ ท้ังหมด 1.1 จำนวนสมาชิกทง้ั หมด จำนวนสมาชกิ ทงั้ สนิ้ 53 คน ประกอบดว้ ย - สมาชิกสามัญ 53 คน - สมาชกิ สมทบ - คน 1.2 จำนวนคณะกรรมการ คณะกรรมการ 5 คน (ชาย 5 คน ) 1.3 ชนดิ ผลผลิตหลัก คอื ขา้ ว 1.4 มาตรฐานกลุม่ เกษตรกร ปี 2564 กลุม่ เกษตรกรผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน ปี 2563 กลมุ่ เกษตรกรผ่านเกณฑม์ าตรฐาน ปี 2562 กลมุ่ เกษตรกรไมผ่ ่านเกณฑม์ าตรฐาน 2) โครงสร้างพนื้ ฐานของกลุ่มฯ : อปุ กรณ์การผลติ /การตลาดของสหกรณ์ ดังนี้ - ไม่มี - 3) ขอ้ มูลการดำเนนิ ธุรกิจของกล่มุ เกษตรกร (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชลี ่าสุด ) : หน่วย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กจิ สนิ เชอื่ - - - 2. ธรุ กจิ รบั ฝากเงนิ - - - 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลิต - - - 4. ธุรกจิ แปรรปู ผลผลติ - - - 5. ธรุ กิจจดั หาสินคา้ มาจำหน่าย 47,890.00 61,190.00 47,090.00 6. ธรุ กิจบริการ - - - 7. ธุรกจิ อื่น ๆ (ระบ)ุ - - - 47,890.00 61,190.00 47,090.00 รวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

4) สถานภาพทางการเงินของกลมุ่ เกษตรกร (ขอ้ มลู ย้อนหลงั 3 ปีบัญชลี า่ สุด) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกำไรขาดทุน ปี 2562 ปี 2563 หนว่ ย : บาท สินทรพั ย์ 65,989.85 66,096.09 ปี 2564 หนีส้ นิ 39,743.00 39,743.00 ทุนของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร 24,042.73 25,776.85 66,747.25 กำไร (ขาดทุน) สทุ ธิ 2,204.12 39,743.00 อตั ราสว่ นทางการเงนิ ท่ีสำคัญ 576.26 27,004.25 - อตั ราส่วนหน้สี นิ ตอ่ ทุน (DE Ratio) 651.16 - อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) 2.74 1.54 - อัตราผลตอบแทนตอ่ สนิ ทรพั ย์ (ROA) 9.17 2.24 1.47 - อัตราสว่ นทุนหมนุ เวียน 3.34 0.87 2.41 - อัตราส่วนทนุ สำรองตอ่ สินทรัพย์ 6.77 6.78 0.97 0.08 0.11 6.85 0.10 1. ด้านหน้สี นิ ต่อทนุ : เจา้ หนี้มเี กราะคมุ้ ครองความปลอดภัยดี สำหรับผลขาดทนุ ทอี่ าจเกิดข้ึน ในอนาคตจากส่วนของผถู้ ือหุ้นได้ 2. ด้านผลตอบแทนตอ่ ทนุ :ผถู้ อื หุน้ ได้ผลตอบแทนต่ำลงเรอื่ ยๆ ซึง่ อาจเกดิ จากการลงทุน/ ค่าใช้จา่ ยมากเกนิ ไปทไ่ี ม่เหมาะสม 3. ด้านผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ : ผลตอบแทนทไ่ี ด้จากการลงทนุ ทง้ั สิ้นใช้สินทรพั ยส์ ูงกว่า มาตรฐาน และมแี นวโนม้ ต่ำลงเรอื่ ยๆ เป็นอัตราส่วนทฝี่ ่ายบริหารใช้ควบคุมการดำเนนิ กิจการ 4. ดา้ นทนุ สำรองต่อสนิ ทรพั ย์ : สหกรณม์ ที ุนสำรองเพื่อปอ้ งกนั ผลการขาดทนุ ท่ีอาจเกิดขึ้นใน การดำเนินธุรกจิ คงท่ี 5. ค่าใชจ้ า่ ยในการดำเนนิ งานต่อกำไรก่อนหกั คา่ ใช้จา่ ย : มีแนวโน้มเพิ่มข้นึ เรอื่ ยๆ /ค่าใช้จา่ ย สงู ขึ้น 6. หนี้ระยะสน้ั ท่ชี ำระได้ตามกำหนด : กลุ่มมแี นวโนม้ ลกู หนี้ชำระไดต้ ามกำหนดลดลง 5) ขอ้ สังเกตของผสู้ อบบญั ชี (ขอ้ มลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชลี า่ สดุ ) - กล่มุ เกษตรกรถือเงนิ สดเกินระเบยี บ ให้เกบ็ วนั ละ 5,000 บาท เงินสดในมือ 11,469 บาท 6) ข้อบกพรอ่ งของกล่มุ เกษตรกร (ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปีบัญชีลา่ สดุ ) ไม่มี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลของกลุ่มเกษตรกร การวเิ คราะห์ SWOT Analysis จุดอ่อน จุดแขง็ -สมาชิกยังขาดความรู้ในการเปน็ สมาชิกทดี่ ี - มีทุนดำเนนิ งานทเี่ หมาะสม -มีการวางแผนการปฏบิ ตั งิ าน แตย่ ังขาดการควบคมุ - คณะกรรมการดำเนนิ งานมคี วามรู้ความสามารถ และการประเมนิ ผลทีด่ พี อ - เปน็ แหลง่ เงนิ ออมในชุมชนทเี่ ขม้ แข็ง -สมาชกิ มหี นห้ี ลายทาง อปุ สรรค โอกาส -ค่าครองชีพสงู สง่ ผลให้สมาชกิ มีคา่ ใชจ้ า่ ยเพม่ิ ข้ึนทา -รัฐบาลให้การสนบั สนุนการรวมกลมุ่ โดยเฉพาะการ ใหเ้ กดิ การผิดนดั ชาระหน้ี รวมกนั เปน็ กลุ่มฯ - การเกดิ ปญั หาภยั ธรรมชาติ -นโยบายรฐั บาลทเ่ี อือ้ อำนวยต่อการดำเนินงานกลมุ่ - ราคาผลผลิตตกตำ่ เช่น แปลงใหญ่ ฯลฯ สรุปผลการวิเคราะห์: กลุ่มเกษตรกรแหง่ นี้มีคณะกรรมการท่ีบริหารงานด้วยความระมัดระวัง การ บริหารงานในธุรกิจต่างๆของกลุ่มฯมีกำไรทั้งหมด และสมาชิกกลุ่มฯมีความยอมรบั ในตัวกลุ่มฯ ทำให้กลุ่มมี กำไรจากการดำเนินงานทุกปี การดำเนินการของกลุ่มต้องเพิ่มทุนดำเนินงานภายในให้มากขึ้นทุกปี และ ประชาสมั พนั ธ์การรับสมาชิกเพม่ิ เน่ืองจากสมาชกิ ยงั น้อย แผนการแนะนำสง่ เสริม พัฒนา และแกไ้ ขปญั หาเป็นรายกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดแู ลกลมุ่ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1) ระดับชนั้ กลมุ่ เกษตรกร:  รักษาระดบั สหกรณช์ ัน้ 1 และชั้น 2 ยกระดบั สหกรณช์ น้ั 2 และ ชน้ั 3 ส่ชู ั้นทด่ี ขี ้ึน 2) มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร:  รกั ษามาตรฐานกลมุ่ เกษตรกรใหอ้ ยู่ในระดับดีขึ้นไป  ผลกั ดันกลมุ่ เกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐานหรืออยูใ่ นระดับที่ดขี ึ้น 3) ปรบั ปรงุ การดำเนนิ งานตามขอ้ สงั เกตของผสู้ อบบัญชี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

 แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหาของกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกล่มุ สง่ เสริมสหกรณ์เปน็ ผดู้ ำเนินการ: แผนงาน/กจิ กรรม ค่า หน่วยนับ ช่วงเวลาที่ เปา้ หมาย ดำเนินการ 1. การส่งเสริมการประชุมกล่มุ สมาชกิ 1.1 กิจกรรม ประชุมกลมุ่ สมาชิก 1 กลุม่ ก.พ. – ม.ี ค. 65 2. แผนงานรกั ษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 2.1 กิจกรรม เขา้ ร่วมประชมุ คณะกรรมการดำเนินการกลุ่มเกษตรกร 6 ครัง้ ต.ค.64 – ม.ี ค.65 2.2 กิจกรรม การชแ้ี จงการรกั ษามาตรฐานของกลุ่มเกษตรกร 2 ครั้ง ต.ค.64 – ม.ี ค.65 3. แผนงานปิดบัญชีและประชมุ ใหญภ่ ายใน 150 วัน 3.1 กิจกรรม เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจำปี 1 ครั้ง ก.ค. – ส.ค. 65 3.2 กิจกรรม แนะนำ สง่ เสรมิ การจดั ทำบัญชี 12 ครั้ง พ.ค.64 –ม.ี ค. 65 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์จะแนะนำส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรดำเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาท่ี ดำเนินการ 1. สง่ เสรมิ กลมุ่ ปริมาณธุรกจิ เพิ่มข้ึนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 3 เทียบ กบั ปที แ่ี ลว้ 1.1 กิจกรรมการจดั หาสินค้ามาจำหน่ายให้กับสมาชิก 26 ราย พ.ค.64-ม.ี ค.65 2 .สมาชิกมีสว่ นรว่ มในการทำธรุ กิจเพม่ิ ขนึ้ 2.1 กิจกรรม จดั ทำแผนประชาสมั พันธ์และกระตุ้นการมีส่วนรว่ ม 6 ครง้ั ก.ย.64 – ม.ี ค. ของสมาชกิ 65 3. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ สหกรณใ์ ห้มีทนุ ดำเนินงานเพิ่มขึ้น 3.1 กิจกรรมแนะนำชแ้ี จงการระดมทุนภายในกลุ่มเกษตรกร คร้ัง ต.ค.64-ม.ค. 4 65 ลงช่ือ ชุติมันต์ มะลาชาลี เจ้าหนา้ ที่ผู้รับผิดชอบ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ วนั ที่ 11 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ.2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

121. กล่มุ เกษตรกรทำไร่บึงนาเรยี ง ประเภท : ทำไร่ การวเิ คราะหข์ ้อมลู และบริบทของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ⚫ ข้อมลู พนื้ ฐานของกลุ่มเกษตรกร 3) ขอ้ มลู ท่วั ไป : จำนวนสมาชกิ : 79 ราย จำนวนสมาชกิ ทีร่ ว่ มทำธุรกิจ : ระหวา่ งปกี ลุ่มเกษตรกรหยดุ ดำเนินงาน ธรุ กิจหลัก: ธรุ กิจสินเชอ่ื ผลผลติ หลกั : มันสำปะหลัง มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร : อยูร่ ะหวา่ งการประเมินมาตรฐาน ระดบั ชัน้ กลมุ่ เกษตรกร : ระดบั ชนั้ 2 ศักยภาพการรวบรวมผลผลติ : เป็นกลุม่ เกษตรกรขนาดเล็กไม่มศี กั ยภาพการรวบรวมผลผลติ การแปรรูป : ไม่มี สินคา้ เดน่ : ไมม่ ี 2) โครงสร้างพืน้ ฐานของกลุ่มเกษตรกร : เป็นกลมุ่ เกษตรกรขนาดเลก็ ไมม่ ีอปุ กรณ์การตลาด 3) ขอ้ มลู การดำเนินธรุ กิจ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปบี ญั ชลี ่าสุด ) :ปรบั ตามปบี ญั ชขี องกลุ่มเกษตรกร หนว่ ย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกิจสินเชอื่ - -- 2. ธุรกิจรบั ฝากเงิน - -- 3. ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ - -- 4. ธุรกจิ แปรรปู ผลผลิต - -- 5. ธุรกิจจดั หาสนิ ค้ามาจำหนา่ ย - -- 6. ธรุ กิจบริการ - -- - -- รวม 4) สถานภาพทางการเงนิ (ขอ้ มลู ย้อนหลงั 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ )ปรับตามปบี ัญชขี องกลมุ่ เกษตรกร งบแสดงฐานะทางการเงนิ /งบกำไร(ขาดทุน) ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สนิ ทรพั ย์ :(บาท) 380,478.12 378,003.50 175,422.18 หนสี้ ิน :(บาท) 249,650.00 249,650.00 249,650.00 ทุนของกลมุ่ เกษตรกร :(บาท) 130,828.12 128}353.50 (74,227.82) รายได้ :(บาท) 20,994.45 20,810.38 19,730.34 คา่ ใช้จ่าย :(บาท) 20,111.68 6,785.00 206,961.66 กำไร(ขาดทุน)สุทธิ :(บาท) 882.77 14,025.38 (187,231,32) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

อตั ราส่วนทางการเงนิ ทสี่ ำคัญ 0.63 0.66 - 3.36 - อัตราสว่ นหนส้ี นิ ตอ่ ทุน (DE Ratio) : (เท่า) 0.85 13.59 - 291.74 - อตั ราผลตอบแทนต่อทนุ (ROE) : (%) 0.23 3.69 99.06 - อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรพั ย์ (ROA) : (%) 1.52 1.51 33.10 - อตั ราสว่ นทนุ หมนุ เวียน : (เทา่ ) 0.10 0.01 0.00 - อตั ราส่วนทนุ สำรองตอ่ สนิ ทรัพย์ : (เทา่ ) 95.80 32.60 1,048.95 - อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหัก ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน : (%) 0.00 0.00 0.00 - อัตราส่วนหนี้ระยะสนั้ ทชี่ ำระไดต้ ามกำหนด : (%) 5) ขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชี(ข้อมูลยอ้ นหลัง 3 ปบี ัญชลี า่ สุด) ณ วนั สนิ้ สดุ 31 มนี าคม 2564 กลมุ่ เกษตรกรขาดทุนสุทธิ 187,231.32 บาท ตามคำสัง่ นายทะเบียน กลุ่มเกษตรกรที่ 278/2549 เรื่องให้กล่มุ เกษตรกรและชมุ นมุ กลมุ่ เกษตรกรกำหนดเร่อื งการจา่ ยเงนิ คนื คา่ หุน้ ใน กรณที ข่ี าดทุนเกนิ ทุนสำรองทีม่ อี ย่ใู นข้อบังคบั จากการคำนวณคา่ หุ้น ณ วันที่ 31 มีนาคม 2564 กลุ่มเกษตรกร มมี ูลค่าตอ่ หุ้นคงเหลือตดิ ลบ 372.93 บาทต่อหุ้น หากสมาชกิ ลาออกจากกลมุ่ เกษตรกรในระยะเวลาน้จี ะทำให้ สมาชำไมไ่ ดร้ บั เงินค่าหุ้นคนื แต่อยา่ งใด 6) ข้อบกพรอ่ งของกลมุ่ เกษตรกร (ขอ้ มลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ ) -ไม่มขี อ้ บกพรอ่ งของกลุ่มเกษตรกร ⚫ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ของกลมุ่ เกษตรกร จากข้อมูลพื้นฐาน และสภาพแวดล้อมของกลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ SWOT Analysis โดย วเิ คราะหจ์ ากสภาพแวดล้อมภายใน 4M, 4P’s, วเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก PESTEL และ Five Force Model สำหรบั วิเคราะห์คแู่ ขง่ มดี ังน้ี จุดแข็ง (S) จดุ อ่อน(W) S1 ดอกเบยี้ เงินฝากของกลุ่มเกษตรกรสงู กว่าธนาคาร W1 กล่มุ เกษตรกรไมไ่ ดจ้ ัดจา้ งเจ้าหนา้ ท่ี พาณิชยต์ ่างๆ และมเี งนิ ปนั ผล เงินเฉล่ียคืนให้ W2 สมาชิกไม่มคี วามสนใจมาทำธรุ กิจกบั กลุ่มเกษตรกร W3สมาชกิ ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามบทบาทและหนา้ ท่ีเท่าทคี่ วร W4 สมาชิกผิดนดั ชำระหน้กี บั กลมุ่ เกษตรกรและมี ดอกเบ้ีย คา่ ปรบั คา้ งชำระ W5 คณะกรรมการไม่ปฏบิ ัตติ ามบทบาทและหน้าที่ เทา่ ที่ควรและไมก่ ระตือรอื รน้ ในการแก้ไขปญั หาของ กลุ่มเกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

W6 กลุม่ เกษตรกรไมม่ ีอุปกรณก์ ารตลาด โอกาส(O) อุปสรรค(T) O1 รัฐบาลมีนโยบายสง่ เสริมและสนับสนนุ เช่น เงิน T1คแู่ ขง่ ทางการคา้ มีมาก ทง้ั ทเ่ี ปดิ กิจกรรมการอยแู่ ล้ว อดุ หนนุ ในการจัดหาเครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ เงินกู้ยืม และเปดิ ใหม่ มีการแข่งขันกันที่รนุ แรง อัตราดอกเบย้ี ตำ่ และมีการฝกึ อบรมเพิม่ ประสิทธภิ าพ T2 สภาพเศรษฐกจิ ในปัจจบุ ันท่ีตกตำ่ ทำให้การคา้ การ การบริหารจดั การกล่มุ เกษตรกร ขาย และการลงทนุ มปี รมิ าณนอ้ ย O2 มีเคร่อื งมือสือ่ สารและเทคโนโลยใี นการตดิ ตอ่ ซือ้ - T3 ปจั จยั ในการผลิตสนิ คา้ เกษตรมีราคาสงู ขึ้น เชน่ ปุ๋ย ขายหลายช่องทาง ที่สะดวก รวดเร็วเชน่ การขาย และเครื่องมอื การเกษตรต่าง ๆ ออนไลน์ ผา่ นเฟชบคุ๊ ไลน์ และเวบ็ ไซด์ต่าง ๆ ของ T4 คา่ จา้ งแรงงานไดป้ รบั ตวั สงู ขึ้น หน่วยงานภาครฐั ท่ไี ม่เสยี คา่ ใชจ้ า่ ย T5 สถานบันการเงินและบรษิ ทั ไฟแนนชเ์ กดิ ขน้ึ หลาย O3 กลมุ่ เกษตรกรตง้ั อยู่ในเขตอำเภอหนองกงุ ศรี ซึ่ง แหง่ เปน็ พื้นท่ีปลูกพืชเศรษฐกิจทส่ี ำคญั ได้แก่ ยางพารา ออ้ ย T6 ภัยธรรมชาติ ฝนแลง้ น้ำทว่ ม ข้าว มันสำปะหลงั T7 สถานการณ์การแพรข่ องไวรสั โควดิ 19 แผนการแนะนำสง่ เสรมิ พฒั นา และกำกบั ดูแลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะหข์ ้อมลู ของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำสง่ เสรมิ พฒั นาและ กำกบั ดแู ลกลมุ่ เกษตรกรประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังน้ี 1) ระดบั ชัน้ กลมุ่ เกษตรกร:  รกั ษาระดบั กลุม่ เกษตรกรช้ัน 1 และชน้ั 2  ยกระดับกลุ่มเกษตรกรชั้น 2 และ ช้ัน 3 ส่ชู น้ั ทด่ี ีขึน้ 2) มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร:  รกั ษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรใหอ้ ยใู่ นระดบั ดขี ึ้นไป  ผลักดันกลมุ่ เกษตรกรให้ผา่ นมาตรฐานหรืออยใู่ นระดบั ท่ดี ขี ึน้ 3) อน่ื ๆ 1.1. ด้านการบรหิ ารจดั การทมี่ ีธรรมาภบิ าล/การควบคุมภายใน 1.2. แก้ไขปญั หาการดำเนินหยุดกจิ การและการแกไ้ ขปญั หาลกู หนค้ี า้ งของกลมุ่ เกษตรกร 1.3. อัตราการขยายตัวของปริมาณธรุ กิจเพมิ่ ขึ้นจากปกี ่อนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 3 1.4. การพัฒนาและส่งเสรมิ ศกั ยภาพเพ่ือสนบั สนนุ การประกอบอาชพี และใหบ้ ริการกบั สมาชิก 1.5. การกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและแก้ไขตามแนวทางทก่ี รมกำหนด 1.6. การตรวจติดตาม/เฝา้ ระวังและตรวจการทม่ี ปี ระสิทธิภาพเพอ่ื ปอ้ งกนั การเกิดขอ้ บกพรอ่ งและ ป้องกนั การเกดิ ทจุ รติ ทง้ั ในเชิงนโยบายและปฏิบตั ิ 1.7. กำกับดแู ล ตรวจสอบและคุม้ ครองระบบกลมุ่ เกษตรกรดำเนนิ กจิ การใหเ้ ป็นไปตามข้อบงั คับ ระเบยี บและกฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง  แผนการแนะนำสง่ เสริม พฒั นา และแก้ไขปญั หาของกลมุ่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กจิ กรรมที่กลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์เปน็ ผู้ดำเนนิ การ: คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดำเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม 12 5 ครั้ง ต.ค.64– ก.ย.65 1. ดา้ นการสง่ เสริมและพัฒนาองคก์ ร 12 1.1 กจิ กรรม กำกบั แนะนำให้สถาบันเกษตรกรปดิ บญั ชี ภายใน 12 ครั้ง เม.ย.65 – ส.ค.65 1 30 วนั นบั แต่วันส้ินปีทางบญั ชีเพื่อรอรับการตรวจสอบ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.2 กิจกรรม การประชมุ ใหญส่ ามัญประจำปี ภายใน 150 วัน 12 12 ครั้ง ต.ค.64– ก.ย.65 (ตามปบี ัญชี) 12 1.3 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสริมกลุม่ เกษตรกร การบริหารจัดการที่ ครง้ั ส.ค.65 12 มีธรรมาภบิ าล 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.4 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริมกลุม่ เกษตรกรมรี ะดับช้ันคุณภาพ ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 การควบคุมภายใน 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.5 กจิ กรรม แนะนำส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มของสมาชิก โดยการ 1 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 เข้ารว่ มประชุมกลุม่ สมาชิกกลุ่มเกษตรกร ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.6 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสริมกลุม่ เกษตรกรรับสมาชิกเพม่ิ 1.8 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริมการแกไ้ ขปญั หาลกู หน้ีคา้ ง ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 1.9 กิจกรรม แนะนำ สง่ เสรมิ การตามมาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.10 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริมการสร้างความเข้มแข็งใหก้ ลุ่ม ครั้ง พ.ค.65 เกษตรกร 2. ด้านการพัฒนาการดำเนนิ ธรุ กจิ 2.1 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสรมิ กล่มุ เกษตรกรมีอัตราการขยายตวั ของปรมิ าณธุรกจิ เพมิ่ ข้ึนจากปีก่อนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 3 2.2 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสรมิ การดำเนนิ งานตามแผนประจำปี ของกลุ่มเกษตรกร และเพิ่มศักยภาพในธรุ กิจการจดั หาสินคา้ มา จำหน่าย 3. ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบกลมุ่ เกษตรกร 3.1 กจิ กรรม กำกับดูแล ตรวจสอบและแก้ไขตามแนวทางทก่ี รม กำหนด 3.2 กจิ กรรม ตรวจติดตาม/เฝ้าระวงั และตรวจการทมี่ ี ประสิทธิภาพเพ่ือป้องกันการเกิดข้อบกพรอ่ งและป้องกนั การเกดิ ทจุ รติ ทั้งในเชิงนโยบายและปฏิบัติ 3.3 กิจกรรม แนะนำ ปอ้ งกันการเกิดขอ้ บกพรอ่ ง (ตรวจการกลมุ่ เกษตรกรรายบุคคล) แผนงาน/กิจกรรมที่กล่มุ สง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนำส่งเสริมให้กลมุ่ เกษตรกรดำเนนิ การ: ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาท่ี ดำเนนิ การ 1. ด้านการส่งเสรมิ และพัฒนาองค์กร 12 1.1 กิจกรรม บนั ทึกบญั ชีให้ถูกต้องเปน็ ปัจจุบัน และจัดทำ 5 ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 12 รายละเอียดต่างๆ ประกอบงบการเงนิ 12 ครง้ั เม.ย.65 – ส.ค.65 1.2 กจิ กรรม จดั ประชุมใหญ่สามัญประจำปี ภายใน 150 วัน (ตาม 12 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 ปบี ัญช)ี 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.3 กิจกรรม กลุ่มเกษตรกรปฏิบัตติ ามหลักธรรมาภบิ าล 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.4 กจิ กรรม กลุ่มเกษตรกรปฏบิ ตั ติ ามระบบการควบคมุ ภายใน ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.5 กิจกรรม กลุ่มเกษตรกร/สมาชิกมีส่วนรวมทุกภาคสว่ น 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.6 กจิ กรรม การรบั สมาชิกเพม่ิ ระหว่างปี 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.7 กิจกรรม กลุ่มเกษตรกรปฏิบัตติ ามเกณฑ์มาตรฐานของกลุ่ม เกษตรกร 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.8 กจิ กรรม กลุ่มเกษตรกรแก้ไขปญั หาลูกหนค้ี ้าง 12 1.9 กจิ กรรม กลุม่ เกษตรกรดำเนินการตามแนวทางความ ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 เข้มแขง็ ของกลุ่มเกษตรกร 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนนิ ธุรกจิ ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 2.1 กจิ กรรม การดำเนนิ งานตามแผนประจำปีของกล่มุ ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 เกษตรกร และเพ่ิมศกั ยภาพในธุรกิจเพื่อให้มีอตั ราการขยายตวั ของ ปริมาณธุรกิจเพิ่มข้ึนจากปกี ่อนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 3 2.2 กจิ กรรม การดำเนนิ งานตามแผนประจำปขี องกลุ่มเกษตรกร และเพิ่มศักยภาพในธุรกิจการจัดหาสินคา้ มาจำหน่าย 3. ด้านการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบกลุ่ม เกษตรกร 3.1 กิจกรรม กลุ่มเกษตรกรติดตาม/เฝ้าระวงั และป้องกัน ข้อบกพร่อง 3.2 กจิ กรรม กลุ่มเกษตรกรปฏบิ ัติตามระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ พ.ศ.2542 แก้ไขฉบับท่ี 3 พ.ศ.2562 ลงชื่อ จิรายุทธ สุโพธิ์แสน เจ้าหนา้ ที่ผู้รับผิดชอบ นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ วนั ท่ี 9 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

122. กลมุ่ เกษตรกรทำไรผ่ าเสวย ประเภท : ทำไร่ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และบรบิ ทของกลมุ่ เกษตรกร ⚫ ข้อมลู พน้ื ฐานของสหกรณ์ 1) ขอ้ มลู ทว่ั ไป : จำนวนสมาชิก ณ วนั ท่ี 31 มีนาคม 2564 จำนวน 139 คน จำนวนสมาชิกทรี่ ่วมทำธุรกิจ 55 คน คิดเป็นร้อยละ 39.57 ของสมาชิกท้งั หมด ธรุ กิจหลกั : สนิ เช่ือ ผลผลติ หลัก : ขา้ ว จำนวนคณะกรรมการ : 9 คน (ชาย .....5......คน หญงิ .....4......คน) จำนวนฝา่ ยจัดการ : - คน (ชาย .....-......คน หญงิ ......-......คน) 2) โครงสร้างพ้นื ฐานของกลุ่มเกษตรกร : อุปกรณก์ ารผลติ /การตลาดของสหกรณ์ - ไม่มี 3) ข้อมูลการดำเนินธรุ กิจของกลมุ่ เกษตรกร(ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ ) : หนว่ ย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกิจสินเช่ือ 60,000.00 60,000.00 688,216.00 2. ธรุ กจิ รับฝากเงิน - - - 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลติ - - - 4. ธรุ กิจแปรรูปผลผลิต - - - 5. ธุรกิจจดั หาสินค้ามาจำหนา่ ย - - - 6. ธุรกิจบริการ - - - รวม 60,0000.00 60,000.00 688,216.00 4) สถานภาพทางการเงนิ ของกลมุ่ เกษตรกร (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบัญชลี า่ สุด) หนว่ ย : บาท งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทุน ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สนิ ทรัพย์ 306,202.83 306,708.53 341,569.44 หน้ีสิน 146,255.60 146,273.51 144,273.51 ทนุ ของสหกรณ์ 159,947.23 160,435.02 197,294.93 กำไร (ขาดทุน) สทุ ธิ 5,512.68 3,137.79 12,259.91 อตั ราสว่ นทางการเงินทีส่ ำคญั - อัตราส่วนหนี้สนิ ต่อทุน (DE Ratio) 0.91เท่า 0.91 เทา่ 0.73 เท่า - อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) 349.17 % 1.95 % 6.85 % - อตั ราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) 175.36 % 1.02 % 3.78 % - อตั ราสว่ นทุนหมุนเวยี น 153.10 153.35 341,568.44 - อตั ราส่วนทุนสำรองต่อสนิ ทรพั ย์ 0.07 เท่า 0.15 เทา่ 0.14 เท่า ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

5) ขอ้ สงั เกตของผู้สอบบญั ชี 6) ขอ้ บกพร่องของกลุ่มเกษตรกร (ข้อมลู ยอ้ นหลงั 3 ปีบญั ชีลา่ สุด) ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ของกล่มุ เกษตรกร การวเิ คราะห์ SWOT Analysis จดุ ออ่ น จุดแขง็ - สมาชิกขาดความร้ทู างวิชาการดา้ นการเกษตรแผน - มีทนุ ดำเนนิ งานเพียงพอ ใหม่เพอื่ การพัฒนา - สมาชิกอาศยั อย่ใู นหมู่บา้ นเดยี วกันทำใหง้ ่ายตอ่ การ - ราคาสนิ คา้ เกษตรของกล่มุ ฯตอ้ งพงึ พาพ่อคา้ ประสานงาน - สมาชิกส่วนใหญเ่ ป็นผ้สู งู อายุ - คณะกรรมการมคี วามเสยี สละ - สมาชิกยงั ไม่เข้าใจในหลักการ อดุ มการณ์ และ วธิ ีการสหกรณ์ หรือบทบาทหนา้ ทีข่ องสมาชิก อุปสรรค โอกาส - ภัยธรรมชาติ (ฝนแลง้ น้ำท่วม พายุ ฯ) - รัฐบาลให้การสนบั สนนุ การรวมกลมุ่ โดยเฉพาะการ - มพี อ่ คา้ คนกลางในพื้นทเ่ี ขา้ ถึงแหล่งชมุ ชน รวมกันเปน็ สหกรณ์ - มีสถาบนั การเงินเปน็ คแู่ ขง็ ภายในหมบู่ า้ น - การปกครองส่วนท้องถิน่ ให้การสนบั สนนุ - หนว่ ยงานทางราชการให้การสนบั สนุน 1. ความพยี งพอของเงนิ ทนุ กลุม่ เกษตรกรมที ุนดำเนินงานทั้งส้นิ 341,568.44 บาท ทนุ ดำเนินงานสว่ นใหญไ่ ดม้ าจากแหล่ง เงินทนุ ภายใน จำนวน 197,294.93 บาท ซึ่งเป็นทนุ ของกลมุ่ เกษตรกรทง้ั จำนวน หากพิจารณาถงึ ความเข้มแข็ง และเพียงพอของเงนิ ทนุ ต่อความเส่ียงแล้ว กลมุ่ เกษตรกรไมม่ ีความเสยี่ งดา้ นเงินทุน 2. คณุ ภาพของสินทรพั ย์ สนิ ทรพั ย์ของกลุ่มเกษตรกรทงั้ สน้ิ 341,568.44 บาท ซง่ึ สว่ นใหญ่เป็นเงนิ สดและเงนิ ฝาก ธนาคาร จำนวน 190,346.21 บาท รองลงมาเปน็ ลูกหนร้ี ะยะส้นั จำนวน 116,789.25 บาท กล่มุ เกษตรกรควร ตดิ ตามเรง่ รัดใหล้ ูกหนชี้ ำระหนใี้ หเ้ ปน็ ไปตามกำหนด เพอ่ื นำเงินมาเปน็ ทนุ หมุนเวยี นในการดำเนนิ ธรุ กิจและ สรา้ งผลตอบแทนให้กบั กลมุ่ เกษตรกร 3. สภาพคล่อง กลุม่ เกษตรกรมสี ภาพคล่องทางการเงินท่ีดเี น่ืองจากมีเพยี งสนิ ทรัพยห์ มุนเวียน ซง่ึ มีจำนวน 341,568.44 บาท หากพจิ ารณาส่วนประกอบของสินทรพั ยห์ มนุ เวียนแลว้ พบวา่ ส่วนใหญเ่ ปน็ เงนิ สดและเงนิ ฝากธนาคารและลกู หน้ีเงินใหก้ ู้ ดังนั้น กลมุ่ เกษตรกรจะต้องกำหนดแนวทางในการตดิ ตามเร่งรดั ลกู หนใ้ี หช้ ำระ หนเ้ี ปน็ ไปตามกำหนดสญั ญา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

• แผนการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนา และกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแล กลมุ่ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดังน้ี 1) ระดับชั้นกล่มุ เกษตรกร :  รกั ษาระดบั สหกรณช์ ั้น 1 และชั้น 2  ยกระดบั สหกรณ์ชน้ั 2 และ ชัน้ 3 สู่ช้นั ทด่ี ีขึน้ 2) มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร :  รกั ษามาตรฐานกล่มุ เกษตรกรให้อยใู่ นระดบั ดีข้นึ ไป  ผลกั ดันกล่มุ เกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐานหรอื อยใู่ นระดบั ทด่ี ีขนึ้ 3) อน่ื ๆ  แผนการแนะนำสง่ เสริม พัฒนา และแก้ไขปัญหาของกลุม่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมทก่ี ลุ่มส่งเสริมสหกรณ์เป็นผดู้ ำเนนิ การ : ค่า หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาท่ี เป้าหมาย ดำเนนิ การ แผนงาน/กิจกรรม แห่ง ต.ค.64-ก.ย.65 4 แหง่ ต.ค.64-ก.ย.65 1. ดา้ นการส่งเสริมและพฒั นาองคก์ ร 4 แห่ง 1.1 กจิ กรรม การรักษาการควบคุมภายในกลมุ่ เกษตรกร แห่ง ต.ค.64-ก.ย.65 1.2 กจิ กรรม การรักษามาตรฐานของกล่มุ เกษตรกร 4 ต.ค.64-ก.ย.65 4 แห่ง 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนนิ ธุรกิจ ต.ค.64-ก.ย.65 2.1 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดบั การให้บริการสมาชกิ ของกลุ่มเกษตรกร 4 2.2 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดับประสิทธภิ าพการดำเนินธรุ กจิ ของกลุ่ม เกษตรกร 3. ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร 3.1 กิจกรรม การแก้ไขข้อสงั เกตกลุ่มเกษตรกร แผนงาน/กจิ กรรมที่กลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนำส่งเสรมิ ให้กลมุ่ เกษตรกรดำเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม ค่า หนว่ ยนับ ช่วงเวลาที่ เป้าหมาย ดำเนนิ การ 1. การส่งเสริมการประชุมกลุ่มสมาชิก ต.ค.64-ก.ย.65 1.1 กิจกรรม เข้ารว่ มประชมุ กลมุ่ สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 1 กลุ่ม ต.ค.64-ก.ย.65 2. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การแก้ไขปัญหาหนีค้ ้างกลุ่มเกษตรกร 2.1 กิจกรรม การแนะนำการจัดทำแผนและแก้ไขปญั หาลูกหนค้ี า้ งชำระ 4 ครั้ง 3. สง่ เสรมิ กลมุ่ เกษตรกรปริมาณธุรกิจเพ่ิมขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 เทียบ กบั ปีท่ีแลว้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กจิ กรรม ค่า หนว่ ยนบั ช่วงเวลาที่ เปา้ หมาย ดำเนนิ การ 3.1 กิจกรรมแนะนำช้แี จงการทำธรุ กิจสนิ เชื่อกับสมาชกิ ครั้ง ต.ค.64-ก.ย.65 3.2 กิจกรรมแนะนำชี้แจงการจัดหาสนิ ค้ามาจำหน่ายแก่สมาชิก 4 ครง้ั 4. ส่งเสริมและสนบั สนนุ สหกรณ์ใหม้ ีทนุ ดำเนนิ งานเพิ่มขึน้ ต.ค.64-ก.ย.65 4.1 กิจกรรมแนะนำชแี้ จงการระดมทุนภายในกลุม่ เกษตรกร 4 5. ส่งเสริมสมาชิกมีส่วนรว่ มในการทำธุรกิจเพิ่มขน้ึ 5.1 กจิ กรรมแนะนำชแ้ี จงการมีส่วนร่วมทำธุรกจิ กับสมาชกิ 4 คร้งั ต.ค.64-ก.ย.65 6. แนะนำส่งเสริมกลมุ่ เกษตรกรรักษามาตรฐาน 6.1 กิจกรรมแนะนำชแ้ี จงการวเิ คราะห์จดุ คมุ้ ทุน 4 ครั้ง ต.ค.64-ก.ย.65 6.2 กจิ กรรมช้แี จงประเมนิ ความเสี่ยงของธุรกิจ 7. สง่ เสรมิ ให้กลุ่มเกษตรกรปฏบิ ตั ิตามระเบียบ ข้อบังคับ กลมุ่ เกษตรกร 4 ครง้ั ต.ค.64-ก.ย.65 อยา่ งเครง่ ครดั 4 ครง้ั ต.ค.64-ก.ย.65 7.1 กิจกรรมแนะนำช้ีแจงบทบาทหน้าท่ขี องสมาชกิ และกรรมการ 4 คร้งั ต.ค.64-ก.ย.65 ลงช่ือ สมหวัง เพง็ ลนุ เจา้ หน้าทผ่ี ู้รบั ผดิ ชอบ นกั วิชาการสหกรณ์ วันที่ 13 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

123. กลุ่มเกษตรกรทำไรภ่ ูปอ ประเภท : ทำไร่ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และบริบทของสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ⚫ ข้อมลู พน้ื ฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 2) ขอ้ มูลทั่วไป : (หยดุ ดำเนินธุรกิจ) จำนวนสมาชิก : 42 ราย จำนวนสมาชิกทีร่ ว่ มทำธุรกิจ : 22 ราย ธรุ กจิ หลกั : ธรุ กิจสนิ เชื่อ ผลผลิตหลกั : ขา้ วเปลอื ก มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร : ไมผ่ า่ นมาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร (หยุดดำเนินธุรกจิ ) 2) โครงสรา้ งพ้ืนฐานของกลมุ่ เกษตรกร : ไมม่ ีอปุ กรณก์ ารตลาด 3) ขอ้ มูลการดำเนินธุรกจิ (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สุด ) : หนว่ ย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกจิ สินเชื่อ 233,494 -- 2. ธรุ กจิ รบั ฝากเงิน - -- 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลิต - -- 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลิต - -- 5. ธุรกิจจดั หาสินค้ามาจำหนา่ ย - -- 6. ธุรกิจบรกิ าร - -- -- รวม 233,494 4) สถานภาพทางการเงิน (ขอ้ มูลย้อนหลงั 3 ปีบญั ชีลา่ สดุ ) งบแสดงฐานะการเงิน/งบกำไรขาดทุน หนว่ ยนับ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรัพย์ บาท 86,310.54 20,834.92 40,818.77 หนส้ี ิน บาท 40,000.00 40,000.00 40,000.00 ทนุ ของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร บาท 46,310.54 (19,165.08) กำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ บาท (147,481.01) (65,475.62) 818.77 อตั ราสว่ นทางการเงินท่ีสำคญั 19,983.85 - อตั ราสว่ นหนส้ี ินตอ่ ทุน (DE Ratio) 0.86 -2.09 - อตั ราผลตอบแทนตอ่ ทนุ (ROE) -318.46 -482.41 48.85 - อตั ราผลตอบแทนตอ่ สินทรัพย์ (ROA) -89.56 -122.22 -217.85 - อตั ราสว่ นทุนหมุนเวียน 2.16 0.52 64.83 - อัตราสว่ นทนุ สำรองตอ่ สนิ ทรพั ย์ 0.00 0.00 0.00 0.00 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

5) ขอ้ สงั เกตของผู้สอบบัญชี (ถ้ามี) กลมุ่ เกษตรกรทำไร่ภปู อ ไม่มเี จา้ หน้าที่ในการดำเนนิ การด้าน เอกสารคณะกรรมการเปน็ ผจู้ ดั ทำ และเจ้าหน้าทภี่ าครัฐเป็นผจู้ ดั ทำงบการเงินให้ ไมไ่ ดจ้ ดั ทำทะเบียนสมาชกิ และทะเบยี นหนุ้ ไวใ้ หต้ รวจสอบ ในระหวา่ งปกี ลุ่มเกษตรกรไม่มีการดำเนินธุรกจิ มีเพียงรายไดจ้ ากการคำนวณ ดอกเบีย้ เงินกู้ ณ วนั สน้ิ ปมี มี ลู คา่ หนุ้ ติดลบ 6.29 บาท 6) ข้อบกพรอ่ งของกลุ่มเกษตรกร (ถ้ามี) -ไมม่ ขี อ้ บกพร่องของกล่มุ เกษตรกร ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของกลุม่ เกษตรกร จากข้อมูลพนื้ ฐาน และสภาพแวดลอ้ มของกลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกรได้ ดงั น้ี กลุ่มเกษตรกรทำไร่ภปู อ เปน็ กลุ่มเกษตรกรประเภททำไร่ ดำเนินธรุ กจิ สินเชือ่ เพยี งธรุ กิจเดียว กลุ่มหยุด ดำเนินธุรกจิ มีเพยี งการเรยี กเก็บชำระหนีเ้ ดมิ ในปงี บประมาณ 2563 ไม่สามารถประชุมใหญ่ได้ แผนการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนา และกำกับดูแลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดแู ลกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1) ระดับช้นั กลุ่มเกษตรกร :  รักษาระดับกลุม่ เกษตรกรชั้น 1 และชนั้ 2  ยกระดบั กลมุ่ เกษตรกรชัน้ 2 และ ช้ัน 3 สชู่ ั้นที่ดขี ้นึ 2) มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร :  รักษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรให้อยู่ในระดบั ดีขนึ้ ไป  ผลักดันกลมุ่ เกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรอื อยูใ่ นระดบั ทดี่ ขี น้ึ 3) อ่นื ๆ  แผนการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนา และแกไ้ ขปญั หาของกลมุ่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมทกี่ ลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์เปน็ ผู้ดำเนนิ การ : แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาท่ี - ดำเนนิ การ 1. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร ไมม่ คี วบคุม - ต.ค. 64-ก.ย.65 ภายใน ต.ค. 64-ก.ย.65 1.1 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดับการควบคุมภายในของสหกรณ์ รกั ษา/ผลักดนั % 1.2 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดับมาตรฐานของสหกรณ์/ ต.ค. 64-ก.ย.65 กลุ่มเกษตรกร การมสี ่วนร่วมไม่ 2. ด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ น้อยกวา่ 50% 2.1 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดับการใหบ้ รกิ ารสมาชิกของ สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี มผี ลการ ดำเนนิ การ 2.2 กิจกรรม การรกั ษา/ยกระดบั ประสิทธภิ าพการดำเนินธรุ กิจ ดำเนนิ งานไม่ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขาดทนุ ต.ค. 64-ก.ย.65 3. ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ/์ ไม่มขี ้อบกพร่อง - กล่มุ เกษตรกร 1 - ต.ค. 64-ก.ย.65 3.1 กิจกรรม การแก้ไขขอ้ บกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ครั้ง ต.ค. 64-ก.ย.65 3.2 กจิ กรรม ตรวจการกลุ่มเกษตรกร แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์จะแนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรดำเนินการ : แผนงาน/กจิ กรรม ค่า หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ เป้าหมาย ดำเนนิ การ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 1.1 กจิ กรรม แนะนำหลักเกณฑก์ ารจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 8 ครั้ง พ.ย. 64-มิ.ย.65 1.2 กจิ กรรม แนะนำกลุม่ เกษตรกรปฏิบตั ติ ามระเบียบ ขอ้ บังคบั และ ต.ค. 64-ก.ย.65 ราชกฤษฎีกาว่าด้วยกลมุ่ เกษตรกร 8 ครงั้ 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก ปิดบญั ชใี หไ้ ด้ภายใน 30 วัน 2.1 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสรมิ ช่วยเหลอื ให้กลุ่มเกษตรกรบนั ทึกบัญชี ครั้ง ต.ค. 64-ก.ย.65 ใหเ้ ป็นปจั จุบัน 12 2.2 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสรมิ ช่วยเหลือ ปิดบัญชีให้ได้ภายใน 30 วัน 2 ครั้ง ม.ี ค65-เม.ย 65 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก ประชุมใหญส่ ามญั ประจำปี/กรรมการ 3.1 กิจกรรม ประชมุ ใหญ่สามัญประจำปี 1 ครง้ั ม.ิ ย. 64-ส.ค.65 3.2 กจิ กรรม ประชุมคระกรรมการดำเนินการ 6 ครั้ง ต.ค. 64-ก.ย.65 ลงช่ือ ชไมพร มาตยค์ ำมี เจ้าหน้าท่ีผ้รู บั ผดิ ชอบ นักวชิ าการสหกรณ์ปฏิบตั ิการ วนั ที่ 6 เดือน สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

124. กลมุ่ เกษตรกรทำไร่ภแู ล่นช้าง ประเภทกลุ่มฯ : ทำไร่ การวิเคราะหข์ อ้ มลู และบรบิ ทของกลุ่มเกษตรกร ⚫ ข้อมูลพ้ืนฐานของกลมุ่ เกษตรกร 1) ข้อมลู ทว่ั ไป : กลมุ่ เกษตรกรทำไร่ภแู ลน่ ช้าง ได้รบั การจดทะเบียนตามพระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วย กลุ่มเกษตรกร พ.ศ.2547 เลขทะเบียน กส.52/2520 กลมุ่ เกษตรกรทำไร่ภูแล่นช้าง เมอื่ วันท่ี 20 เดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2520 เป็นกลมุ่ เกษตรกร ประเภททำไร่ ที่ตั้งสำนกั งานเลขที่ 16/1 หมู่ 10 ตำบลภูแลน่ ชา้ ง อำเภอนาคู จงั หวดั กาฬสินธุ์ โทรศพั ท์ 0996134096 1.1 จำนวนสมาชิกทงั้ หมด จำนวนสมาชกิ ทั้งสิน้ 152 คน ประกอบด้วย - สมาชิกสามญั 152 คน - สมาชิกสมทบ - คน 1.2 จำนวนคณะกรรมการ คณะกรรมการ 7 คน (ชาย 6 คน หญิง 1 ) 1.3 ชนิดผลผลติ หลัก คอื ข้าว 1.4 มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร ปี 2564 กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑม์ าตรฐาน ปี 2563 กลุ่มเกษตรกรไมผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐาน ปี 2562 กลมุ่ เกษตรกรผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน 2) โครงสร้างพน้ื ฐานของกลุ่มฯ : อปุ กรณ์การผลติ /การตลาดของสหกรณ์ ดงั น้ี - ไมม่ ี - 3) ข้อมูลการดำเนินธุรกจิ ของกลุ่มเกษตรกร (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด ) : หน่วย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกจิ สนิ เชื่อ 0.00 0.00 0.00 2. ธรุ กจิ จดั หาสนิ ค้ามาจำหน่าย 188,010.00 185,750.00 200,970.00 3. ธุรกจิ อืน่ ๆ (ระบุ) 0.00 0.00 0.00 รวม 188,010.00 185,750.00 200,970.00 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

4) สถานภาพทางการเงินของกลมุ่ เกษตรกร (ข้อมลู ยอ้ นหลงั 3 ปีบัญชลี ่าสุด) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทุน ปี 2562 ปี 2563 หนว่ ย : บาท สินทรัพย์ 210,887.39 215,444.43 ปี 2564 หนี้สนิ 50,000.00 50,000.00 ทนุ ของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร 142,586.02 149,907.39 222,898.13 กำไร (ขาดทุน) สทุ ธิ 7,321.37 4,557.04 50,000.00 อตั ราสว่ นทางการเงนิ ท่ีสำคญั 172,898.13 - อตั ราสว่ นหน้ีสนิ ตอ่ ทุน (DE Ratio) 0.35 0.33 7,453.70 - อตั ราผลตอบแทนต่อทนุ (ROE) 5.13 3.04 - อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) 3.47 2.12 0.28 - อัตราสว่ นทุนหมนุ เวยี น 4.20 4.30 0.04 - อตั ราส่วนทนุ สำรองต่อสินทรพั ย์ 0.54 0.13 32.55 4.45 0.04 1.ดา้ นหนส้ี นิ ตอ่ ทุน : เจ้าหนี้มเี กราะค้มุ ครองความปลอดภยั ดี สำหรบั ผลขาดทนุ ทอ่ี าจเกดิ ข้นึ ใน อนาคตจากสว่ นของผถู้ อื หนุ้ ได้ 2.ดา้ นผลตอบแทนตอ่ ทุน :ผูถ้ ือห้นุ ไดผ้ ลตอบแทนตำ่ ลงเรอื่ ยๆ ซึง่ อาจเกดิ จากการลงทุน/ คา่ ใช้จ่ายมากเกนิ ไปทไี่ มเ่ หมาะสม 3.ดา้ นผลตอบแทนต่อสนิ ทรพั ย์ : ผลตอบแทนทไี่ ด้จากการลงทนุ ท้ังสิน้ ใช้สินทรัพยส์ งู กวา่ มาตรฐาน และมแี นวโนม้ ต่ำลงเร่ือยๆ เปน็ อตั ราสว่ นทฝ่ี ่ายบริหารใชค้ วบคุมการดำเนนิ กจิ การ 4.ด้านสินทรพั ยห์ มุนเวียน : สินทรพั ยห์ มุนเวียนมากกว่าหนสี้ นิ หมนุ เวียน 4.45 เทา่ สภาพคล่อง ทาง การเงินขึน้ อยูก่ บั ประสทิ ธิภาพในการบริหารลกู หน้ี กลมุ่ ยังมปี ระสิทธภิ าพในการบรหิ ารจดั การหนท้ี ี่ดี 5.ด้านทนุ สำรองต่อสนิ ทรพั ย์ : สหกรณ์มที นุ สำรองเพ่ือปอ้ งกนั ผลการขาดทนุ ที่อาจเกดิ ขึน้ ในการ ดำเนินธรุ กิจคงที่ 6.ค่าใช้จ่ายในการดำเนนิ งานตอ่ กำไรก่อนหกั ค่าใชจ้ า่ ย : มแี นวโน้มเพิ่มขึ้นเร่อื ยๆ /ค่าใชจ้ า่ ยสงู ขน้ึ 7.หนี้ระยะสน้ั ท่ชี ำระได้ตามกำหนด : กลุ่มมีแนวโนม้ ลูกหนชี้ ำระไดต้ ามกำหนดลดลง 5) ข้อสงั เกตของผู้สอบบัญชี (ข้อมูลย้อนหลงั 3 ปีบญั ชลี า่ สดุ ) - กลมุ่ เกษตรกรถอื เงนิ สดเกนิ ระเบียบ ใหเ้ กบ็ วันละ 2,000 บาท เงินสดในมอื 205,868.21 บาท 6) ขอ้ บกพร่องของกลุม่ เกษตรกร (ข้อมูลยอ้ นหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สุด) - ไมม่ ี - ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ของกลุ่มเกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

การวิเคราะห์ SWOT Analysis จุดอ่อน จุดแขง็ -สมาชกิ ยังขาดความรใู้ นการเปน็ สมาชิกท่ีดี - มที นุ ดำเนินงานทเี่ หมาะสม -มีการวางแผนการปฏบิ ตั งิ าน แตย่ งั ขาดการควบคุม - คณะกรรมการดำเนินงานมคี วามรู้ความสามารถ และการประเมินผลที่ดีพอ - เป็นแหลง่ เงินออมในชุมชนทเ่ี ข้มแข็ง -สมาชิกมีหนหี้ ลายทาง อปุ สรรค โอกาส -คา่ ครองชพี สงู ส่งผลใหส้ มาชกิ มีค่าใชจ้ า่ ยเพมิ่ ขนึ้ ทา -รัฐบาลใหก้ ารสนบั สนนุ การรวมกลมุ่ โดยเฉพาะการ ให้เกิดการผดิ นัดชาระหน้ี รวมกนั เป็นกลมุ่ ฯ - การเกดิ ปญั หาภัยธรรมชาติ - นโยบายรฐั บาลที่เอื้ออำนวยต่อการดำเนินงานกล่มุ - ราคาผลผลิตตกต่ำ เช่น แปลงใหญ่ ฯลฯ สรุปผลการวิเคราะห์: กลุ่มเกษตรมีสมาชิกจำนวน 152 ราย แต่สมาชิกไม่ได้มาทำธุรกิจกับกลุ่มฯ เนื่องจากกลุ่มไม่มีการติดต่อกับสมาชิกอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งสมาชิกอยู่ในพ้ืนที่ไกลกันมาก เป้าหมายในการ พฒั นากลุ่มต้องติดตามหนค้ี า้ งนานจากสมาชิก และลดภาระคา่ ใช้จ่ายลงเพื่อให้กลมุ่ มกี ำไรและลดการขาดทุน สะสมลง การดำเนินการของกลมุ่ ตอ้ งเพิ่มทนุ ดำเนินงานภายในให้มากข้ึนทกุ ปี แผนการแนะนำสง่ เสรมิ พฒั นา และแกไ้ ขปญั หาเป็นรายกล่มุ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกบั ดแู ลกลมุ่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1) ระดับช้นั กลุม่ เกษตรกร:  รกั ษาระดับสหกรณ์ชั้น 1 และช้ัน 2  ยกระดบั สหกรณ์ชนั้ 2 และ ชน้ั 3 สูช่ นั้ ทด่ี ีข้ึน 2) มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร:  รักษามาตรฐานกลมุ่ เกษตรกรให้อย่ใู นระดบั ดีขนึ้ ไป  ผลักดันกลุม่ เกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐานหรืออยู่ในระดบั ท่ีดีขน้ึ 3) ปรับปรงุ การดำเนินงานตามขอ้ สังเกตของผสู้ อบบัญชี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

 แผนการแนะนำส่งเสริม พฒั นา และแกไ้ ขปญั หาของกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมที่กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์เปน็ ผ้ดู ำเนนิ การ: แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาที่ 1. การส่งเสริมการประชุมกล่มุ สมาชิก ดำเนินการ 1.1 กิจกรรม ประชมุ กล่มุ สมาชิก 1 กลุ่ม ก.พ. – ม.ี ค. 65 2. แผนงานรักษามาตรฐานกลุม่ เกษตรกร 2.1 กิจกรรม เขา้ รว่ มประชุมคณะกรรมการดำเนินการกลุ่ม 6 ครั้ง ต.ค.64 – ม.ี ค.65 เกษตรกร 2 คร้งั ต.ค.64 – ม.ี ค.65 2.2 กิจกรรม การชี้แจงการรักษามาตรฐานของกลุ่มเกษตรกร 3. แผนงานปิดบัญชแี ละประชมุ ใหญ่ภายใน 150 วนั 3.1 กิจกรรม เข้ารว่ มประชุมใหญ่สามัญประจำปี 1 คร้งั ก.ค. – ส.ค. 65 3.2 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสริม การจดั ทำบัญชี 12 คร้ัง พ.ค.64 –ม.ี ค. 65 แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์จะแนะนำสง่ เสริมให้กล่มุ เกษตรกรดำเนินการ แผนงาน/กิจกรรม ค่า หนว่ ย ชว่ งเวลาท่ี เป้าหมาย นบั ดำเนนิ การ 1. สง่ เสริมกลมุ่ ปรมิ าณธุรกิจเพมิ่ ขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 เทยี บกับปที แ่ี ลว้ 85 ราย พ.ค.64-ม.ี ค.65 1.1 กิจกรรมการจดั หาสินค้ามาจำหน่ายใหก้ บั สมาชิก ครัง้ ก.ย.64 – ม.ี ค.65 6 ครั้ง ต.ค.64-ม.ค.65 2 .สมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธรุ กจิ เพิม่ ขึน้ 4 2.1 กิจกรรม จดั ทำแผนประชาสัมพันธ์และกระตุ้นการมสี ่วนร่วมของ สมาชิก 3. ส่งเสริมและสนับสนนุ สหกรณ์ให้มีทนุ ดำเนินงานเพิ่มข้ึน 3.1 กิจกรรมแนะนำชแ้ี จงการระดมทุนภายในกลุ่มเกษตรกร ลงชื่อ ชตุ มิ นั ต์ มะลาชาลี เจา้ หนา้ ท่ีผู้รบั ผดิ ชอบ เจ้าพนักงานส่งเสรมิ สหกรณ์ วนั ที่ 11 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ.2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

125. กลุ่มเกษตรกรทำไร่สามัคคี ประเภท : ทำไร่ การวเิ คราะหข์ อ้ มูลและบริบทของสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ⚫ ข้อมลู พนื้ ฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มูลทั่วไป : 1.1 จำนวนสมาชกิ 34 คน (สมาชิกสามญั 34 คน สมาชกิ สมทบ 0 คน)กลมุ่ สมาชกิ 1 กลมุ่ 1.2 จำนวนสมาชิกทม่ี สี ่วนรว่ มในการทำธุรกจิ กบั กลุ่มเกษตรกร 2 คน 1.3 คณะกรรมการดำเนนิ การ5 คน ฝา่ ยจดั การ - คน (มผี จู้ ัดการ  ไมม่ ผี ู้จัดการ) 1.4 ผตู้ รวจสอบกจิ การ 1 คน 1.5 วนั ส้ินปีทางบญั ชี 31 มนี าคม ของทกุ ปี 1.6 กลุ่มเกษตรกรดำเนนิ ธุรกิจ ดา้ นเดียว คอื ธรุ กิจสินเช่ือ 1.7 กล่มุ เกษตรกรทำไรส่ ามัคคี ไมผ่ ่านมาตรฐาน เนื่องจากสมาชิกไม่มาชำระหนี้ สาเหตเุ กดิ การ ระบาดของโรคโควติ -19 ทำใหส้ มาชิกเกษตรกรไม่สามารถไปประกอบอาชีพทางอ่นื ได้ 2) โครงสร้างพ้นื ฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร:อปุ กรณก์ ารผลติ /การตลาด เชน่ ฉาง โกดัง ฯลฯ 3) ขอ้ มลู การดำเนนิ ธรุ กจิ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปบี ัญชีล่าสดุ ) :ปรับตามปีบญั ชีของกลุ่มเกษตรกร หน่วย : บาท ประเภทธุรกจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกิจสนิ เช่อื 40,000.00 40,000.00 40,000.00 2. ธุรกิจรบั ฝากเงิน - - - 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ - - - 4. ธุรกจิ แปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธุรกจิ จดั หาสนิ ค้ามาจำหนา่ ย - - - 6. ธรุ กจิ บริการ - - - รวม 40,000.00 40,000.00 40,000.00 4)สถานภาพทางการเงิน (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีลา่ สุด)ปรับตามปบี ญั ชีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทนุ หน่วยนบั ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรัพย์ 59,952.77 61,967.28 57,656.85 หนีส้ นิ 80,000.00 80,000.00 80,000.00 ทุนของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร -20,047.23 -18,032.72 -22,323.15 กำไร (ขาดทุน) สทุ ธิ -25,897.23 -23,882.72 -28,193.15 อัตราส่วนทางการเงนิ ท่สี ำคญั - อตั ราส่วนหน้ีสินต่อทุน (DE Ratio) -4.00 -4.43 -3.58 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

- อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) -12.63 -10.58 -139.72 - อัตราผลตอบแทนต่อสินทรพั ย์ (ROA) 3.94 3.30 47.14 - อัตราส่วนทนุ หมนุ เวยี น 0.74 0.77 0.72 - อัตราสว่ นทนุ สำรองต่อสินทรัพย์ 0.00 0.00 0.00 5) ขอ้ สังเกตของผู้สอบบญั ชี ดา้ นการบรหิ ารจดั การทว่ั ไป 5.1 กลุม่ เกษตรกรไมไ่ ด้จดั จา้ งเจา้ หน้าท่ี การดำเนนิ งานตา่ งคณะกรรมการดำเนินการชว่ ยกนั ปฏิบตั ิ โดยมอบหมายให้เหรัญญกิ ทำหน้าทรี่ บั -จ่ายและเกบ็ รกั ษาเงนิ รวมทั้งรวบรวมเอกสารหลักฐาน ประกอบการบนั ทึกบญั ชี ซึ่งกล่มุ เกษตรกรสามารถบันทกึ รายการในเอกสารประกอบการบนั ทกึ บญั ชีได้ แต่ไม่ สามารถบันทกึ สมดุ ขนั้ ต้น สมดุ ข้ันปลาย การจัดทำงบการเงนิ และรายละเอียดประกอบงบการเงินได้ ตอ้ งไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จากหน่วยงานของทางราชการทเี่ ก่ียวขอ้ งชว่ ยจัดทำให้ 5.2 กลุ่มเกษตรกรได้เลือกตั้งผู้ตรวจสอบรายงานกิจการที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปีเพื่อ ดำเนินการตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ านด้านตา่ งๆ ของกลมุ่ เกษตรกร ระหว่างปีไม่ปรากฏรายงานผลการตรวจสอบ ท่ีเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร กล่มุ ฯควรแจ้งให้ผตู้ รวจสอบกิจการเข้าปฎิบัตงิ านตรวจสอบให้เปน็ ไปตามข้อบงั คับ 6) ขอ้ บกพร่องของกลุ่มเกษตรกร -ไม่มี- ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พ้นื ฐาน และสภาพแวดลอ้ มของกลุ่มเกษตรกร สามารถวเิ คราะห์ขอ้ มลู ของกลุ่มเกษตรกรได้ ดงั น้ี การวิเคราะห์ SWOTของกล่มุ เกษตรกรทำไรส่ ามคั คี จุดแขง็ (strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) - กลุม่ เกษตรกรมีขอ้ บงั คบั และระเบยี บ - กลุม่ เกษตรกรมเี งินทนุ ไมเ่ พียงพอในการดำเนนิ - คณะกรรมการมคี วามเขม้ แข็งและใหค้ วามร่วมมอื ธุรกจิ ในทุกๆด้าน - คณะกรรมการดำเนินการ ไมม่ ีความรู้ในดา้ นบัญขี - คณะกรรมการขาดความร้ใู นดา้ นกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คบั โอกาส (Opportunities) อุปสรรค(Threats) - ไดร้ บั การสนบั สนนุ เงินทุนจากภาครัฐ - สภาวะทางเศรษฐกจิ ตกตำ่ - เทคโนโลยที ท่ี ันสมัย - ตน้ ทนุ การผลติ และค่าครองชพี ทส่ี งู ขน้ึ - ภยั ทางธรรมชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากการวเิ คราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พฒั นาและกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565ดงั น้ี 1) ระดบั ชัน้ กลุ่มเกษตรกร: รักษาระดับสหกรณช์ ั้น 1 และชน้ั 2 ยกระดับสหกรณ์ชั้น 2 และ ช้ัน 3 สูช่ ้นั ที่ดขี ึน้ 2) มาตรฐานกลุม่ เกษตรกร: รักษามาตรฐานกลุม่ เกษตรกรใหอ้ ยูใ่ นระดบั ดขี ึ้นไป ผลกั ดนั กลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรอื อยูใ่ นระดบั ทด่ี ขี ้ึน 2.1 แนะนำให้กลุ่มเกษตรกรมกี ารระดมทนุ ภายในใหเ้ พิ่มมากขน้ึ 2.2 แนะนำใหก้ ลมุ่ ฯ กู้ยืมเงินจากแหล่งเงนิ ทนุ ดอกเบี้ยตำ่ หรือปลอดดอกเบี้ยจากการกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ เพ่อื นำมาใช้ในการดำเนินธุรกจิ 2.3 กำกบั แนะนำ สง่ เสรมิ การดำเนนิ ธุรกิจของกลมุ่ ฯ ใหเ้ ป็นไปตามกรอบวตั ถุประสงค์ของกลุ่ม เกษตรกร 2.4 ผลกั ดนั ให้กลุ่มเกษตรกรผา่ นเกณฑ์มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 2.5 สง่ เสริมให้กลมุ่ เกษตรกรปดิ บญั ชีและประชุมใหญ่ไดภ้ ายในกำหนด 2.6 พฒั นากลุ่มเกษตรกรภายใตห้ ลกั ธรรมาภบิ าล และการควบคมุ ภายในที่ดี 2.7 แนะนำ ส่งเสรมิ ใหก้ ล่มุ เกษตรกรดำเนินธรุ กจิ ใหเ้ ป็นไปตาแผนงานทีก่ ำหนดไว้ 2.8 สง่ เสริมให้กลมุ่ เกษตรกรให้บรกิ ารสมาชกิ อยา่ งทว่ั ถงึ 2.9 สง่ เสรมิ ให้กลมุ่ เกษตรกรนำหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกตใ์ ช้ในการบรหิ ารงาน  แผนการแนะนำสง่ เสริม พัฒนา และแก้ไขปญั หาของกลุม่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมทก่ี ลุม่ สง่ เสริมสหกรณ์เป็นผดู้ ำเนนิ การ: แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนับ ชว่ งเวลาท่ี ดำเนนิ การ 1. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองคก์ ร ผา่ นเกณฑ์ 1.1 กิจกรรม ยกระดบั การควบคุมภายในของกลุ่มเกษตรกร ควบคมุ ภายใน ตค 64- กย 65 ตค 64- กย 65 1.2 กิจกรรม ผลกั ดนั ให้ผ่านมาตรฐานของกลุม่ เกษตรกร ผลกั ดนั 2. ด้านการพัฒนาการดำเนนิ ธรุ กิจ ตค 64- กย 65 สมาชิกมีส่วน รอ้ ยละ 2.1 กิจกรรม ยกระดับการใหบ้ รกิ ารสมาชิกของกลุ่มเกษตรกร ร่วม รอ้ ยละ 60 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนินการ 2.2 กิจกรรม ยกระดบั ประสทิ ธภิ าพการดำเนินธุรกจิ ของกลมุ่ เพ่มิ ขึน้ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ตค 64- กย 65 เกษตรกร 3 บาท ตค 64 –กย65 2.3 กิจกรรม แผนธุรกิจสินเชอ่ื 40,000.00 คน ตค 64 - กย65 2.4 กจิ กรรม แผนรบั สมาชิกเพมิ่ 2 บาท ตค 64 - กย65 2.5 กิจกรรม แผนระดมห้นุ เพม่ิ 3. ด้านการกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ/์ 200.00 ตค 64 - กย65 กล่มุ เกษตรกร กจิ กรรม กำกบั ดูแล ตรวจสอบให้เป็นไปตามกฎหมาย ไมใ่ หเ้ กดิ - ขอ้ บกพรอ่ ง แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนำส่งเสรมิ ให้กลมุ่ เกษตรกรดำเนินการ: แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนบั ช่วงเวลาท่ี ดำเนนิ การ 1. แผนงาน/กิจกรรมหลักการดำเนนิ ธุรกจิ 1 แหง่ 1.1 กจิ กรรม .การปล่อยสนิ เชื่อเงนิ กู้ 1 แหง่ ตค 64 - กย65 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั พัฒนาองค์กร ตค 64 - กย65 2.1 กจิ กรรม ส่งเสรมิ ผลกั ดันใหผ้ ่านมาตรฐาน ลงชื่อ พรรณี มลู วตั ร เจ้าหน้าท่ีผู้รบั ผิดชอบ เจ้าพนักงานสง่ เสรมิ สหกรณ์ วนั ท่ี 15 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

126. กลุม่ เกษตรกรทำไร่สำราญ ประเภท : ทำไร่ การวิเคราะหข์ อ้ มลู และบริบทของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร ● ข้อมูลพน้ื ฐานของกลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มลู ทว่ั ไป : จำนวนสมาชกิ : 205 ราย จำนวนสมาชกิ ทรี่ ว่ มทำธุรกิจ : 42 ราย ธรุ กจิ หลัก : ธรุ กิจสนิ เชอ่ื ผลผลติ หลกั : ขา้ ว มาตรฐานกล่มุ เกษตรกร : อยรู่ ะหว่างการประเมินมาตรฐาน ระดบั ชนั้ กล่มุ เกษตรกร : ระดบั ชั้น 2 ศกั ยภาพการรวบรวมผลผลิต : เปน็ กลุ่มเกษตรกรขนาดเลก็ ไมม่ ีศกั ยภาพการรวบรวมผลผลติ การแปรรปู : ไมม่ ี สนิ ค้าเดน่ : ไมม่ ี 2) โครงสรา้ งพืน้ ฐานของกลมุ่ เกษตรกร : เป็นกลมุ่ เกษตรกรขนาดเล็กไมม่ อี ุปกรณ์การตลาด 3) ขอ้ มลู การดำเนินธรุ กจิ (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี า่ สดุ ) :ปรับตามปีบญั ชขี องกลุ่มเกษตรกร หนว่ ย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกิจสินเชื่อ - - - 2. ธุรกิจรบั ฝากเงิน - - - 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลติ - - - 4. ธุรกิจแปรรูปผลผลิต - - - 5. ธรุ กจิ จดั หาสินค้ามาจำหนา่ ย 257,020.00 249,000 260,500.00 6. ธุรกิจบริการ - - - 257,020.00 249,000 260,500.00 รวม 4) สถานภาพทางการเงนิ (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปบี ญั ชลี ่าสดุ )ปรับตามปบี ญั ชขี องกลมุ่ เกษตรกร งบแสดงฐานะทางการเงิน/งบกำไร(ขาดทุน) ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สนิ ทรัพย์ :(บาท) 257,576.91 251,171.91 252,625.01 หนสี้ ิน :(บาท) 203,228.00 203,228.00 202,828.00 ทนุ ของกล่มุ เกษตรกร :(บาท) 54,348.91 48,793.91 49,797.01 รายได้ :(บาท) 257,035.49 235,845.00 233,299.65 คา่ ใชจ้ ่าย :(บาท) 253,110.00 241,400.00 227,833.00 กำไร(ขาดทุน)สุทธิ :(บาท) 3,925.49 5,555.00 5,466.65 อัตราสว่ นทางการเงนิ ทีส่ ำคัญ ปี 2562 ปี 2562 ปี 2564 - อัตราส่วนหนี้สนิ ต่อทุน (DE Ratio) : (เท่า) 3.74 4.09 5.57 - อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) : (%) 7.49 8.90 10.67 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

- อัตราผลตอบแทนตอ่ สนิ ทรัพย์ (ROA) : (%) 11.66 9.11 14.01 - อตั ราส่วนทุนหมุนเวยี น : (เทา่ ) 40.38 50.18 49.00 - อัตราสว่ นทุนสำรองตอ่ สินทรัพย์ : (เท่า) 0.12 0.19 0.20 - อตั ราคา่ ใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหักคา่ 43.11 -30.89 45.35 ใช้จา่ ยดำเนนิ งาน : (%) - อัตราสว่ นหนีร้ ะยะส้นั ที่ชำระได้ตามกำหนด : (%) 86.76 90.88 97.10 5) ขอ้ สงั เกตของผสู้ อบบัญช(ี ขอ้ มลู ยอ้ นหลงั 3 ปบี ัญชลี ่าสุด) -ไม่มขี ้อสังเกตของกลุ่มเกษตรกร 6) ข้อบกพรอ่ งของกลุม่ เกษตรกร (ข้อมลู ย้อนหลัง 3 ปบี ญั ชีลา่ สุด) -ไมม่ ีข้อบกพรอ่ งของกลมุ่ เกษตรกร ● ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ของกลุ่มเกษตรกร จากข้อมลู พื้นฐาน และสภาพแวดล้อมของกลมุ่ เกษตรกร สามารถวิเคราะห์ SWOT Analysis โดยวเิ คราะหจ์ ากสภาพแวดลอ้ มภายใน 4M, 4P’s, วิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก PESTEL และ Five Force Model สำหรบั วเิ คราะห์คแู่ ขง่ มีดังน้ี จุดแข็ง จดุ อ่อน - ทนุ ทีไ่ ดม้ าเป็นทนุ ภายในของกลุ่มเกษตรกรเอง - การประชาสมั พันธย์ งั ไม่ทั่วถึง - คณะกรรมการมีความเสียสละในการบริหาร - ทุนภายในของกลมุ่ เกษตรกรยงั มีไมเ่ พยี งพอตอ่ การ - สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมอี าชพี การเกษตร มพี ้ืนท่ี ดำเนนิ ธุรกจิ ทำให้ตอ้ งกยู้ ืมเงินจากแหล่ง เงินทุนภายนอก ในการเพาะปลกู มาก - ไมม่ อี ปุ กรณก์ ารผลิต/การตลาด - สถานทใี่ นการใหบ้ ริการสะดวก ง่ายต่อการติดตอ่ - สมาชิกไมม่ คี วามรู้ในด้านการเก็บเกีย่ วผลผลิตทีด่ ี ประสานงาน - กรรมการขาดความเข้าใจในระเบียบ ข้อบงั คับ - สมาชิกยังขาดวินยั ในการชำระหนี้ โอกาส - สมาชกิ มีหนีเ้ พ่ิมขนึ้ เป็นหน้ีหลายทาง - มพี ้ืนทเ่ี หมาะแก่การปลกู ข้าว และผลิตมคี ุณภาพ - รฐั บาลมนี โยบายช่วยเหลอื เกษตรกรใน การลด ตน้ ทุน อุปสรรค การผลิต และชดเชยคา่ เก็บเกี่ยว ช่วยให้เกษตรกร - ในบางพนื้ ที่ระบบชลประทานไม่ครอบคลุม ทั่วถึง มคี า่ ใช้จ่ายในการผลิตลดลง - ราคาซ้อื ขาย ผลผลติ ทางการเกษตรตำ่ - รัฐบาลมีนโยบายสนับสนนุ สถาบนั เกษตรกร โดยการ - ตน้ ทุนการผลิตทางการเกษตร (ข้าว) ราคาสงู ให้สินเช่ืออตั ราดอกเบยี้ ต่ำเพ่ือรวบรวม ผลผลิต (ข้าว) -สภาวะเศรษฐกิจไม่ดี เนือ่ งจากไดร้ บั ผลกระทบจาก ของเกษตรกรในพื้นท่ี ผ่าน ธกส. การแพรร่ ะบาดของเชื้อโรคโควิค19 - กลมุ่ เกษตรกรไดร้ ับการยกเว้นภาษีอากรเรอ่ื ง การทำ นิตกิ รรม และการดำเนินธรุ กิจ - กฎหมายสหกรณช์ ่วยใหก้ ลุ่มเกษตรกรดำเนินธรุ กิจ ไดก้ ว้างขวาง และโปร่งใสมากขนึ้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร จากการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ของกล่มุ เกษตรกร/กลมุ่ เกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำ สง่ เสรมิ พฒั นาและกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร/กลุม่ เกษตรกรประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี 1) ระดับช้นั กลุ่มเกษตรกร: ⬜ รักษาระดบั กลมุ่ เกษตรกรชน้ั 1 และช้ัน 2 ☑ ยกระดบั กลมุ่ เกษตรกรชน้ั 2 และ ชน้ั 3 สูช่ ัน้ ท่ีดขี ้ึน 2) มาตรฐานกล่มุ เกษตรกร: ⬜ รักษามาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร/กลมุ่ เกษตรกรใหอ้ ยูใ่ นระดับดขี ้นึ ไป ☑ ผลกั ดนั กลมุ่ เกษตรกร/กลมุ่ เกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐาน หรอื อย่ใู นระดบั ที่ดขี ้ึน 3) อ่นื ๆ 3.1. ดา้ นการบริหารจัดการทม่ี ีธรรมาภบิ าล/การควบคุมภายใน 3.2. แกไ้ ขปัญหาการดำเนินหยุดกิจการและการแกไ้ ขปัญหาลกู หนี้ค้างของกลมุ่ เกษตรกร 3.3. อัตราการขยายตวั ของปริมาณธุรกิจเพม่ิ ขึ้นจากปกี ่อนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 3 3.4. การพฒั นาและส่งเสรมิ ศักยภาพเพื่อสนบั สนนุ การประกอบอาชีพและใหบ้ ริการกับสมาชกิ 3.5. การกำกบั ดูแล ตรวจสอบและแก้ไขตามแนวทางทีก่ รมกำหนด 3.6. การตรวจติดตาม/เฝา้ ระวังและตรวจการท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพเพอ่ื ปอ้ งกันการเกดิ ข้อบกพรอ่ งและ ปอ้ งกนั การเกิดทจุ รติ ทง้ั ในเชิงนโยบายและปฏบิ ตั ิ 3.7. กำกับดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบกลมุ่ เกษตรกรดำเนนิ กิจการให้เปน็ ไปตามขอ้ บังคับ ระเบียบและกฎหมายที่เกยี่ วขอ้ ง • แผนการแนะนำสง่ เสริม พัฒนา และแกไ้ ขปญั หาของกลมุ่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุม่ ส่งเสริมสหกรณ์เป็นผดู้ ำเนินการ: แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ชว่ งเวลาท่ดี ำเนนิ การ 1. ด้านการส่งเสริมและพฒั นาองค์กร 1.1 กิจกรรม กำกบั แนะนำให้สถาบันเกษตรกรปดิ บญั ชี ภายใน 12 ครง้ั ต.ค.64– ก.ย.65 30 วัน นับแตว่ ันส้นิ ปที างบัญชีเพ่ือรอรบั การตรวจสอบ 1.2 กิจกรรม การประชมุ ใหญ่สามญั ประจำปี ภายใน 150 วัน 5 ครั้ง เม.ย.65 – ส.ค.65 (ตามปีบญั ช)ี 1.3 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสรมิ กลมุ่ เกษตรกร การบริหารจัดการที่ 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 มีธรรมาภบิ าล 12 คร้ัง ต.ค.64– ก.ย.65 1.4 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสรมิ กล่มุ เกษตรกรมีระดบั ชั้นคุณภาพ การควบคุมภายใน 1.5 กจิ กรรม แนะนำส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของสมาชิก โดยการ 1 ครงั้ ส.ค.65 เข้ารว่ มประชมุ กลมุ่ สมาชิกกลุ่มเกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

1.6 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสริมกลมุ่ เกษตรกรและสมาชิกกับ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ทกุ ภาคสว่ น 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 1.7 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสรมิ การแก้ไขปัญหาลูกหน้คี ้าง 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.8 กิจกรรม แนะนำ สง่ เสริมการรับสมาชิกกลุ่มเกษตรกรเพ่ิม 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.9 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริมการรกั ษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกร ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนินธุรกจิ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 2.1 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสรมิ กล่มุ เกษตรกรให้มีอัตราการ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ขยายตวั ของ ปรมิ าณธรุ กิจเพิ่มขึน้ จากปีก่อนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 3 2.2 กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสรมิ การดำเนนิ งานตามแผนประจำปี ของกลุ่มเกษตรกร และเพิม่ ศกั ยภาพในธุรกิจการจัดหาสินค้ามา จำหน่าย 3. ดา้ นการกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและคุม้ ครองระบบสหกรณ์ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 3.1 กจิ กรรม แนะนำ กำกับดแู ล ตรวจสอบและแก้ไข 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ตามแนวทางที่กรมกำหนด 1 ครั้ง พ.ค.65 3.2 กจิ กรรม แนะนะตรวจติดตาม/เฝ้าระวัง และตรวจการ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพ่ือป้องกันการเกิดข้อบกพร่อง และป้องกนั การเกิด ทุจรติ ทั้งในเชงิ นโยบายและปฏิบตั ิ 3.3 กจิ กรรม แนะนำ ป้องกันการเกดิ ข้อบกพรอ่ ง (ตรวจการ กลมุ่ เกษตรกรรายบุคคล) แผนงาน/กจิ กรรมท่ีกลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์จะแนะนำสง่ เสรมิ ให้กลมุ่ เกษตรกรดำเนินการ: แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนบั ช่วงเวลาที่ดำเนนิ การ 4. ดา้ นการส่งเสริมและพฒั นาองคก์ ร 12 ครั้ง 1.1 กิจกรรม บันทึกบัญชีให้ถูกตอ้ งเป็นปัจจุบัน และจัดทำ ต.ค.64 – ก.ย.65 5 ครั้ง รายละเอยี ดต่างๆ ประกอบงบการเงนิ เม.ย.65 – ส.ค.65 1.2 กจิ กรรม จัดประชมุ ใหญ่สามัญประจำปี ภายใน 150 วัน 12 ครัง้ 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 (ตามปบี ัญช)ี 12 ครัง้ ต.ค.64 – ก.ย.65 1.3 กิจกรรม กลุ่มเกษตรกรปฏิบัติตามหลักธรรมาภบิ าล 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.4 กิจกรรม กล่มุ เกษตรกรปฏิบตั ติ ามระบบการควบคมุ ภายใน 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 1.5 กจิ กรรม กล่มุ เกษตรกร/สมาชกิ มสี ่วนรวมทกุ ภาคส่วน ต.ค.64 – ก.ย.65 1.6 กจิ กรรม การรับสมาชกิ เพิ่มระหว่างปี 12 ครั้ง 1.7 กจิ กรรม กลุ่มเกษตรกรปฏิบตั ติ ามเกณฑม์ าตรฐานของ ต.ค.64 – ก.ย.65 กลุ่มเกษตรกร 1.8 กิจกรรม แนะนำ สง่ เสริมการแกไ้ ขปัญหาลูกหนี้คา้ ง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

5. ดา้ นการพฒั นาการดำเนินธรุ กิจ 12 ครัง้ ต.ค.64 – ก.ย.65 2.1 กิจกรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปขี องกลุ่มเกษตรกร 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 และเพม่ิ ศักยภาพในธุรกิจเพ่ือให้มอี ตั ราการขยายตวั ของปริมาณ ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ธุรกิจเพมิ่ ขึ้นจากปีก่อนไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 2.2 กจิ กรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปีของกลุ่มเกษตรกร และเพม่ิ ศกั ยภาพในธรุ กิจการจัดหาสินค้ามาจำหน่าย 3. ด้านการกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบ กลุ่มเกษตรกร 12 3.1 กิจกรรม กลมุ่ เกษตรกรตดิ ตาม/เฝา้ ระวงั และปอ้ งกนั 12 ขอ้ บกพร่อง 3.2 กจิ กรรม กลุ่มเกษตรกรปฏบิ ัตติ ามระเบยี บ ขอ้ บังคับ พระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ พ.ศ.2542 แก้ไขฉบบั ท่ี 3 พ.ศ.2562 ลงชอื่ พัชรวี รรณ กลู วงค์ เจา้ หนา้ ที่ผ้รู บั ผดิ ชอบ เจา้ พนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณ์ วันท่ี 9 เดือน สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

127. กลมุ่ เกษตรกรทำไร่หนองผือ ประเภท : ทำไร่ การวิเคราะหข์ ้อมลู และบรบิ ทของกลมุ่ เกษตรกร • ข้อมลู พ้ืนฐานของกลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มูลทั่วไป 1.1 จำนวนสมาชกิ ท้ังสนิ้ 268 คน ประกอบดว้ ย - สมาชิกสามญั 268 คน - สมาชิกสมทบ - คน 1.2 จำนวนคณะกรรมการ 5 คน (ชาย 3 คน หญิง 2 คน) 1.3 ชนดิ ผลผลติ หลัก คือ ขา้ ว 1.4 ปริมาณผลผลติ จำนวน 540 ตัน 1.5 มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร ปี 2564 กลุ่มเกษตรกรไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน ปี 2563 กล่มุ เกษตรกรไม่ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน ปี 2562 กล่มุ เกษตรกรไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน 2) โครงสร้างพน้ื ฐานของกลมุ่ เกษตรกร : อปุ กรณก์ ารผลติ /การตลาดของสหกรณ์ ดังนี้ - ไมม่ ี - 3) ขอ้ มลู การดำเนนิ ธุรกจิ ของกลมุ่ เกษตรกร (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสุด ) : หน่วย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กจิ สินเช่ือ 25,000 - - 2. ธรุ กิจรบั ฝากเงิน - - - 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลติ - - - 4. ธุรกิจแปรรปู ผลผลติ - - - 5. ธุรกจิ จัดหาสนิ ค้ามาจำหน่าย - - - 6. ธุรกิจบรกิ าร - - - - - รวม 25,000 หมายเหตุ : ในปีบัญชีสิ้นสุด 31 มีนาคม 2564 กลุ่มเกษตรกรไม่ได้ดำเนินธุรกิจเนือ่ งจากกลุ่มเกษตรกรอยู่ ในชว่ งการดำเนินการตามแผนฟื้นฟู มีเพียงการตดิ ตามลกู หนท้ี ี่ผดิ นัด และลูกหน้เี งินสดขาดบญั ชี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

4) สถานภาพทางการเงินของกลุ่มเกษตรกร (ขอ้ มลู ย้อนหลัง 3 ปีบญั ชีล่าสุด) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทุน ปี 2562 ปี 2563 หนว่ ย : บาท สนิ ทรพั ย์ 145,285.27 194,902.70 ปี 2564 หนส้ี นิ 289,011.00 289,011.00 ทนุ ของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร (143,724.73) (94,508.30) 192,505.99 กำไร (ขาดทุน) สทุ ธิ (170,145.73) 49,616.43 289,411.00 อัตราสว่ นทางการเงนิ ทีส่ ำคัญ (96,904.01) - อัตราสว่ นหน้สี นิ ตอ่ ทุน (DE Ratio) -2.01 -3.05 (2,395.71) - อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) -118.38 52.49 - อัตราผลตอบแทนตอ่ สินทรพั ย์ (ROA) -117.11 25.45 -2.98 - อัตราส่วนทนุ หมนุ เวยี น -0.024 - อตั ราสว่ นทุนสำรองตอ่ สนิ ทรัพย์ - - -0.012 - - - - 1. ด้านหนสี้ นิ ต่อทนุ : เจ้าหนีม้ ีความเส่ยี งมาก แต่กลุม่ ไมต่ อ้ งรบั ภาระเพราะเจา้ หนมี้ าจากเงิน อุดหนุนจ่ายขาด 2. ดา้ นผลตอบแทนตอ่ ทนุ :ผ้ถู อื หุน้ ไมไ่ ด้รบั ผลตอบแทนเนอื่ งจากกลมุ่ มผี ลการดำเนนิ งาน ขาดทุนสะสม 3. ดา้ นผลตอบแทนตอ่ สนิ ทรพั ย์ : กลมุ่ มผี ลขาดทนุ สะสะเพม่ิ ทำใหป้ ระสิทธิภาพการบริหาร จดั การไมด่ ี 4. ดา้ นสินทรพั ย์หมุนเวียน : สภาพคล่องทางการเงินดมี ากเน่ืองจากกลมุ่ ฯไม่มหี นสี้ ินทีค่ รบ กำหนดชำระใน 1ปี มเี พียงเงนิ อุดหนุนจ่ายขาดซง่ึ ไม่ตอ้ งชำระคนื 5. ดา้ นทนุ สำรองต่อสินทรพั ย์ : กลมุ่ ไมม่ ีทนุ สำรองทจี่ ะมาชดเชยการขาดทุนเน่ืองจากกลมุ่ มผี ล การดำเนนิ งานขาดทุนสะสม 5) ขอ้ สังเกตของผสู้ อบบญั ชี (ขอ้ มลู ยอ้ นหลงั 3 ปบี ญั ชลี า่ สุด) - กลุม่ เกษตรกรมีผลการดำเนนิ งานขาดทุนเกนิ กงึ่ หนงึ่ ของทนุ เรอื นหุน้ 6) ขอ้ บกพร่องของกล่มุ เกษตรกร (ข้อมูลย้อนหลงั 3 ปบี ญั ชลี า่ สดุ ) - ไมม่ ี – ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

⚫ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ของกลุม่ เกษตรกร การวิเคราะห์ SWOT Analysis จุดอ่อน จดุ แขง็ - สมาชกิ ยังขาดความรใู้ นการเป็นสมาชกิ ท่ดี ี - คณะกรรมการเปน็ ผ้มู ีความซอื่ สัตยใ์ นการ - มกี ารวางแผนการปฏิบตั ิงาน แตย่ งั ขาดการควบคุม ปฏบิ ัติงาน และการประเมินผลทีด่ ีพอ - คณะกรรมการ บรหิ ารงานกลมุ่ ฯด้วยความ - สมาชกิ มหี นีห้ ลายทาง ระมัดระวังรอบคอบ - สมาชิกขาดองค์ความรู้ดา้ นวิชาการเทคนิคทาง การเกษตร ทำให้ใช้ตน้ ทนุ การผลติ สงู ไมค่ ุ้มค่าต่อ ผลผลติ ที่ได้ - คณะกรรมการยงั เปน็ ผสู้ งู อายทุ ำใหก้ ารปฏบิ ตั มิ ี ความลา้ ชา้ และขาดองค์ความรู้ อปุ สรรค โอกาส - ภาวะโรคระบาดทำใหร้ าคาผลผลิตตกตำ่ -รฐั บาลใหก้ ารสนบั สนุนการรวมกลมุ่ โดยเฉพาะการ - ภยั ธรรมชาติเชน่ ฝนแลง้ นำ้ ทว่ ม และโรคพืชตา่ งๆ รวมกันเปน็ กลมุ่ เกษตรกร - โครงการตา่ งๆของรัฐบาลทล่ี งมาให้เกษตรกร - มาตรการชดเชยรายได้ และการรวมกล่มุ ผลิตเป็น กลุ่มแปลงใหญใ่ นการทำเกษตรอนิ ทรยี ์ สรุปผลการวิเคราะห์: กลุ่มเกษตรมีสมาชิกจำนวน 268 ราย แต่สมาชิกไม่ได้มาทำธุรกิจกับกลุ่มฯ เนื่องจากกลุ่มไม่มีการติดต่อกับสมาชิกอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งสมาชิกอยู่ในพื้นที่ไกลกันมาก เป้าหมายในการ พัฒนากลุ่มต้องติดตามหนี้ค้างนานจากสมาชกิ และลดภาระคา่ ใช้จ่ายลงเพื่อให้ลุ่มมีกำไรและลดการขาดทนุ สะสมลง การดำเนินการของกลุ่มต้องเพิ่มทุนดำเนินงานภายในใหม้ ากขนึ้ ทุกปี แผนการแนะนำสง่ เสริม พัฒนา และแกไ้ ขปญั หาเป็นรายกลมุ่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลกล่มุ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1) รกั ษาระดบั ชนั้ กลมุ่ เกษตรกร:  รกั ษาระดับกลุ่มเกษตกรชั้น 1 และชน้ั 2  ยกระดบั กลมุ่ เกษตรกรชน้ั 2 และ ชน้ั 3 สูช่ น้ั ท่ีดขี ึ้น 2) มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร:  รักษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกรใหอ้ ยใู่ นระดบั ดีข้นึ ไป  ผลกั ดนั กลมุ่ เกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรอื อย่ใู นระดบั ท่ีดขี ้ึน 3) อน่ื ๆ ปรบั ปรุงการดำเนินงานตามข้อสังเกตของผสู้ อบบัญชี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

 แผนการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และแก้ไขปญั หาของกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมที่กลุม่ สง่ เสรมิ สหกรณ์เปน็ ผดู้ ำเนนิ การ: แผนงาน/กิจกรรม คา่ หนว่ ยนับ ช่วงเวลาท่ี เป้าหมาย ดำเนนิ การ 1. การส่งเสริมการประชุมกล่มุ สมาชกิ 1.1 กิจกรรม ประชุมกลุม่ สมาชิก 1 กลุ่ม ก.พ. – มี.ค. 65 2. แผนงานรกั ษามาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 6 คร้ัง ต.ค.64 – มี.ค.65 2.1 กิจกรรม เข้ารว่ มประชุมคณะกรรมการดำเนินการกลุ่มเกษตรกร 2 ครง้ั ต.ค.64 – ม.ี ค.65 2.2 กจิ กรรม การชีแ้ จงการรักษามาตรฐานของกลุม่ เกษตรกร 3. แผนงานปิดบญั ชแี ละประชุมใหญภ่ ายใน 150 วนั 1 ครงั้ ก.ค. – ส.ค. 65 3.1 กิจกรรม เข้ารว่ มประชมุ ใหญ่สามัญประจำปี 12 ครงั้ พ.ค.64 –มี.ค. 65 3.1 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสรมิ การจดั ทำบัญชี แผนงาน/กิจกรรมที่กลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์จะแนะนำส่งเสริมให้กล่มุ เกษตรกรดำเนนิ การ แผนงาน/กจิ กรรม คา่ หนว่ ยนับ ชว่ งเวลาที่ เปา้ หมาย ราย ดำเนินการ 1. ส่งเสรมิ กลุ่มปริมาณธรุ กิจเพ่ิมขึ้นไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 3 เทยี บกับปีทีแ่ ลว้ พ.ค.64-มี.ค.65 1.1 กจิ กรรมการปลอ่ ยสินเช่ือใหก้ บั สมาชิก 25 2 .สมาชิกมีสว่ นรว่ มในการทำธรุ กิจเพ่มิ ขึ้น 2.1 กิจกรรม จัดทำแผนประชาสมั พันธแ์ ละกระตุ้นการมสี ่วนร่วมของสมาชกิ 6 ครั้ง ก.ย.64 – มี.ค.65 3. สง่ เสริมและสนับสนุนสหกรณ์ใหม้ ีทุนดำเนนิ งานเพิม่ ข้นึ 3.1 กจิ กรรมแนะนำช้แี จงการระดมทุนภายในกลมุ่ เกษตรกร 4 ครัง้ ต.ค.64-ม.ค.65 ลงชื่อ คเชรวิทย์ ชะตะ เจา้ หนา้ ที่ผูร้ ับผดิ ชอบ นักวชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ วันที่ 15 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

128. กลมุ่ เกษตรกรทำไร่หนองสรวง ประเภท : ทำไร่ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และบรบิ ทของกลมุ่ เกษตรกร ⚫ ขอ้ มลู พืน้ ฐานของกลุ่มเกษตรกร 1) ขอ้ มูลทว่ั ไป : จำนวนสมาชกิ : 157 ราย จำนวนสมาชกิ ทร่ี ว่ มทำธรุ กจิ : 52 ราย ธุรกิจหลกั /ผลผลิตหลัก : สินเชื่อ มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร : ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต : ยงั ไม่มศี กั ยภาพในการรวบรวมการผลติ การแปรรูป : ยังไมม่ ศี ักยภาพในการแปรรปู ผลติ ภณั ฑเ์ ดน่ ฯลฯ : ในพื้นทท่ี ี่ตั้ง เพาะปลกู ข้าว และ มันสำปะหลงั เปน็ ส่วนใหญ่ 2) โครงสรา้ งพ้นื ฐานของกลุ่มเกษตรกร : -ไม่มี- 3) ข้อมูลการดำเนนิ ธรุ กิจ (ข้อมูลยอ้ นหลัง 3 ปบี ัญชีล่าสดุ ) : ปรับตามปบี ญั ชีของกลุ่มเกษตรกร หน่วย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกจิ สินเชื่อ 699,500.00 - 703,080.00 - 410,191.42 2. ธรุ กิจรบั ฝากเงิน 699,500.00 - 703,080.00 - - 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลิต - - - 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธุรกิจจดั หาสินคา้ มาจำหนา่ ย - - - 6. ธรุ กิจบริการ - รวม 410,191.42 4) สถานภาพทางการเงนิ (ขอ้ มลู ยอ้ นหลงั 3 ปีบัญชีล่าสดุ ) ปรับตามปบี ญั ชีของกลมุ่ เกษตรกร งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทนุ หน่วยนบั ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สนิ ทรัพย์ บาท 367,037.25 807,324.36 410,191.42 หน้สี ิน บาท 77.543.00 469,000.00 74,060.00 ทนุ ของกลุ่มเกษตรกร บาท 289,494.25 338,324.36 336,131.42 รายได้ บาท 32,209.87 16,082.46 ค่าใชจ้ า่ ย บาท 5,679.76 29,665.40 กำไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท (9,699.77) 26,530.11 (13,582.94) อตั ราสว่ นทางการเงินท่สี ำคญั - อัตราสว่ นหนี้สินต่อทุน (DE Ratio) : (เทา่ ) เท่า 0.26 1.38 0.22 - อตั ราผลตอบแทนต่อทนุ (ROE) : (%) ร้อยละ -3.20 8.77 -2.68 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

- อัตราผลตอบแทนตอ่ สินทรพั ย์ (ROA) : (%) ร้อยละ -1.91 5.22 -1.34 - อตั ราส่วนทนุ หมุนเวยี น : (เท่า) เท่า 4.73 1.72 8.11 - อตั ราส่วนทนุ สำรองตอ่ สินทรพั ย์ : (เท่า) เท่า 0.56 0.24 0.52 - อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหักค่าใชจ้ ่าย ร้อยละ ดำเนินงาน : (%) 1.76 1.84 - อตั ราส่วนหนร้ี ะยะสนั้ ทชี่ ำระไดต้ ามกำหนด : (%) ร้อยละ 0.00 95.44 79.49 5) ขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชี ข้อสังเกตของผู้สอบบญั ชี ในรายงานผลการตรวจสอบบญั ชีกลุ่มเกษตรกรทำไร่หนองสรวง สำหรบั ปีสิน้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2564 เกี่ยวกับจุดออ่ นของการควบคมุ ภายในสหกรณ์ ดังนี้ 1) กลุ่มเกษตรกรไมไ่ ดจ้ ัดจ้างเจา้ หน้าท่ี จึงมกี ารมอบหมายใหป้ ระธานกรรมการทำหนา้ ทร่ี บั - จ่ายและเก็บรกั ษาเงนิ สด รวมท้งั รวบรวมเอกสารหลักฐานประกอบการรับ-จ่าย และเป็นผจู้ ดั ทำบัญชี แต่ไม่ สามารถจดั ทำบญั ชีและงบการเงนิ ไดต้ ้องได้รับความชว่ ยเหลือจากเจ้าหน้าท่ีของทางราชการ 2) กล่มุ เกษตรกรมกี ารกำหนดระเบยี บว่าดว้ ยการรบั – จ่ายและเกบ็ รกั ษาเงนิ ขึน้ เปน็ แนวทาง ในการปฏบิ ัตงิ าน โดยกำหนดใหเ้ กบ็ รกั ษาเงนิ สดไมเ่ กนิ วันละ 5,000.00 บาท และคณะการการดำเนนิ งาน มอบหมายใหป้ ระธานกรรมการทำหน้าทร่ี บั -จ่ายและเกบ็ รักษาเงินสด ณ วนั สนิ ปเี กบ็ รักษาเงนิ สดไวจ้ ำนวน 18,930.00 บาท ⚫ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ของกล่มุ เกษตรกร 1) การวเิ คราะห์อตั ราส่วนทางการเงนิ (Ratio Analysis) จากผลการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกรทำไร่หนองสรวง ย้อนหลัง 3 ปี มีผลการวิเคราะห์ อัตราส่วนทางการเงนิ (Ratio) มดี งั น้ี มติ ทิ ่ี 1 ความเพยี งพอของเงินทุนตอ่ ความเสย่ี ง 1.1 อัตราสว่ นหนส้ี นิ ต่อทนุ (DE Ratio) เปน็ อัตราส่วนวดั ความเสย่ี งของเจา้ หน้ี ในการชำระ หน้ีของกล่มุ เกษตรกร ผลลพั ธ์นอ้ ยเทา่ ไรยิ่งดี กลมุ่ เกษตรกรทำไรห่ นองสรวง มอี ัตราส่วนหนสี้ ินตอ่ ทนุ ยอ้ นหลงั 3 ปี ในปี 2564 จำนวน 0.22 เทา่ ของทนุ กลมุ่ เกษตรกร ในปี 2563 เป็นจำนวน 1.38 เทา่ ของทุนกลมุ่ เกษตรกร และปี 2562 เป็น จำนวน 0.26 เท่า ของทุนกลุม่ เกษตรกร ซึ่งมีแนวโนม้ ลดลง มีหนีส้ ินนอ้ ยกว่าทนุ ของกลมุ่ เกษตรกร ซง่ึ หมายถึงทุนของกลมุ่ เกษตรกรค้มุ ครองหนส้ี นิ ทงั้ หมดของกลมุ่ เกษตรกร 1.2 อตั ราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) เป็นอัตราส่วนวัดการลงทนุ ในสว่ นของทุน กอ่ ใหเ้ กดิ กำไร มากน้อยเพียงใดหรอื ความสามารถในการทำกำไรผลลพั ธ์มากเท่าไรยงิ่ ดี กลุม่ เกษตรกรทำไรห่ นองสรวง มอี ตั ราผลตอบแทนตอ่ ทนุ ยอ้ นหลงั 3 ปี ในปี 2564 จำนวน -2.68% ของทนุ กลุ่มเกษตรกรถ่วั เฉล่ยี ในปี 2563 จำนวน 8.77% ของทุนกลุ่มเกษตรกรถ่ัวเฉล่ยี และ ในปี 2562 จำนวน -3.20% ของทนุ กลมุ่ เกษตรกรถวั่ เฉล่ยี แนวโน้มลดลง ซ่ึงหมายถึงกลมุ่ เกษตรกรมี ประสิทธิภาพในการบรหิ ารธรุ กิจต่ำลงมาก ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

1.3 อัตราสว่ นทุนสำรองต่อสินทรพั ย์ เปน็ อัตราสว่ นทีว่ ดั ความเส่ียงจากการดำเนนิ งานของ กลุ่มเกษตรกรผลลัพธ์มากเท่าไรยงิ่ ดี กลุ่มเกษตรกรทำไร่หนองสรวง มอี ตั ราทนุ สำรองตอ่ สนิ ทรพั ยย์ อ้ นหลงั 3 ปี ในปี 2564 จำนวน 0.56 เท่า ในปี 2563 จำนวน 0.24 เท่า และในปี 2562 จำนวน 0.52 เท่า ซึง่ หมายถงึ อัตราการเตบิ โต ของทนุ สำรองมแี นวโนม้ เพมิ่ ขึน้ ซงึ่ หมายถงึ เงนิ ทนุ สำรองเพยี งพอในการดำเนนิ ธุรกจิ ในอนาคต มติ ทิ ่ี 2 คณุ ภาพของสินทรัพย์ อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรพั ย์ (ROA)เปน็ อัตราส่วนท่บี ง่ บอกว่ามีการใชท้ รพั ย์สนิ ในการ กอ่ ให้เกดิ รายไดม้ ากน้อยเพียงใด ผลลัพธ์มากเทา่ ไรยง่ิ ดี กลมุ่ เกษตรกรทำไร่หนองสรวง มีอัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรพั ยย์ อ้ นหลัง 3 ปี ในปี 2564 จำนวน -1.34 เทา่ ในปี 2563 เปน็ จำนวน 5.22 เทา่ และปี 2562 จำนวน -1.91 เทา่ แนวโน้มลดลง ซ่ึง หมายถึงกลุ่มเกษตรกรใชป้ ระโยชน์จากทรพั ย์สินในการกอ่ ใหเ้ กดิ รายได้ลดลงหรือประสิทธภิ าพการใช้ทรัพยส์ ิน นอ้ ยลง มิตทิ ่ี 3 วเิ คราะหส์ ภาพคลอ่ ง 3.1 อัตราส่วนทุนหมนุ เวียน เป็นอตั ราส่วนท่วี ัดความสามารถในการชำระหนีร้ ะยะสั้นของ กลมุ่ เกษตรกรผลลพั ธม์ ากเทา่ ไรยง่ิ ดี กลมุ่ เกษตรกรทำไร่หนองสรวง มอี ตั ราทุนหมนุ เวียนยอ้ นหลงั 3 ปี ในปี 2564 จำนวน 4.73 เทา่ ในปี 2563 จำนวน 1.72 เทา่ และในปี 2562 จำนวน 8.11 เทา่ แนวโน้มเพมิ่ ข้ึน ซง่ึ หมายถึงกลุม่ เกษตรกรยงั มีความสามารถในการรบั ชำระหนี้ 3.2 อัตราสว่ นลกู หนรี้ ะยะสั้นทชี่ ำระไดต้ ามกำหนด เป็นอัตราสว่ นท่วี ดั ความสามารถในการ เก็บหนข้ี องกลุ่มเกษตรกร ผลลพั ธม์ ากเทา่ ไรยิ่งดี กลมุ่ เกษตรกรทำไรห่ นองสรวง มีอัตราสว่ นลกู หนรี้ ะยะส้นั ทชี่ ำระไดต้ ามกำหนดยอ้ นหลงั 3 ปี ลูกหนีถ้ งึ กำหนดชำระหวา่ งในปี 2564 สามารถเก็บหนไ้ี ดร้ อ้ ยละ 79.49 ปี 2563 สามารถเก็บหนไี้ ดร้ ้อยละ 95.44 และในปี 2562สามารถเกบ็ หนี้ไดร้ ้อยละ 0.00 ซ่งึ หมายถึงแนวโน้มประสทิ ธภิ าพในการเรยี กเกบ็ หนี้ ของสหกรณม์ ีประสทิ ธภิ าพและสามารถเกบ็ หน้ไี ด้มากขึน้ มติ ิที่ 4 วเิ คราะหค์ วามสามารถในการทำกำไร อตั ราคา่ ใชจ้ ่ายดำเนินงานตอ่ กำไรกอ่ นหกั ค่าใชจ้ ่ายดำเนินงาน เป็นอตั ราสว่ นที่บง่ บอกถงึ ความสามารถการควบคุมคา่ ใช้จ่ายของกล่มุ เกษตรกร ผลลพั ธ์นอ้ ยเทา่ ไรยง่ิ ดี กลุ่มเกษตรกรทำไรห่ นองสรวง มอี ัตราค่าใช้จ่ายดำเนนิ งานต่อกำไรก่อนหกั ค่าใช้จ่าย ดำเนนิ งานยอ้ นหลัง 3 ปี ในปี 2564 คา่ ใช้จ่ายดำเนินงานตอ่ กำไรก่อนหกั คา่ ใช้จ่ายดำเนนิ งานเป็นร้อยละ 1.84 ในปี 2563 คา่ ใชจ้ า่ ยดำเนินงานตอ่ กำไรกอ่ นหักค่าใช้จา่ ยดำเนินงานเปน็ รอ้ ยละ 1.76 และในปี 2562 คา่ ใชจ้ ่ายดำเนินงานต่อกำไรกอ่ นหกั คา่ ใชจ้ า่ ยดำเนินงานเปน็ ร้อยละ 0.00 แนวโนม้ กลมุ่ เกษตรกรมคี ่าใช้จา่ ย ดำเนนิ งานตอ่ กำไรก่อนหกั ค่าใชจ้ า่ ยดำเนินงานเพ่ิมขึ้น ซึง่ แสดงถงึ กล่มุ เกษตรกรมคี า่ ใชจ้ า่ ยคอ่ นข้างสูงและไม่ สามารถควบคุมค่าใชจ้ ่ายได้ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

2) SWOT (SWOT Analysis) (ให้สรปุ ผลการวิเคราะห)์ จดุ ออ่ น จุดแข็ง - สมาชิกมคี วามเช่อื ม่นั ในกลมุ่ เกษตรกรมสี ่วนร่วมใน - การประชาสมั พันธย์ งั ไม่ทว่ั ถึง การดำเนินธรุ กจิ - ทนุ ภายในของกลมุ่ เกษตรกรยงั มไี มเ่ พียงพอตอ่ การ - คณะกรรมการมคี วามเสียสละในการบริหารและ ดำเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร ทำใหก้ ลุม่ เกษตรกร ปฏบิ ตั งิ านอย่ใู นกรอบกฎหมาย ข้อบงั คับ และ ตอ้ งกยู้ มื เงนิ จากแหล่งเงินทนุ ภายนอก ระเบยี บของกลมุ่ เกษตรกร - อปุ กรณก์ ารผลติ /การตลาด ยังไม่เพยี งพอตอ่ การ - ฝา่ ยจดั การมคี วามสามารถในการปฏิบตั งิ าน มจี ิต ขยายธรุ กิจ อาสาในการใหบ้ รกิ ารสมาชกิ - สมาชกิ ยังไมม่ ีความรูใ้ นดา้ นการเกบ็ เกย่ี วผลผลิตที่ - สมาชกิ กลมุ่ เกษตรกรมอี าชีพการเกษตร มพี น้ื ที่ ดี ในการเพาะปลูกมาก - คณะกรรมการใหม่ เช่น ยังไมเ่ ข้าใจในกฎหมาย - สถานทใี่ นการให้บรกิ ารสะดวก งา่ ยตอ่ การตดิ ต่อ ข้อบงั คับ และระเบียบของกลุม่ เกษตรกร ประสานงาน - ฝ่ายจัดการ เช่น บคุ ลากรยังมไี มเ่ พยี งพอต่อการ ใหบ้ รกิ ารแกส่ มาชกิ - สมาชกิ เชน่ สมาชิกยงั ขาดวินัยในการชำระหน้ี - สมาชกิ มหี น้เี พมิ่ ข้นึ เกษตรกรส่วนใหญเ่ ปน็ หน้ี หลายทาง โอกาส อุปสรรค - มีพื้นท่เี หมาะแก่การปลูกข้าว และผลติ มคี ุณภาพ - ในบางพ้นื ทร่ี ะบบชลประทานไมค่ รอบคลุม ท่ัวถึง - รัฐบาลมนี โยบายชว่ ยเหลือเกษตรกรในดา้ นการลด - ราคาซือ้ ขาย ผลผลิตทางการเกษตรตำ่ ต้นทุนการผลติ และชดเชยคา่ เก็บเกยี่ ว - ตน้ ทนุ การผลิตทางการเกษตร (ขา้ ว) ราคาสงู ช่วยให้สมาชกิ กลมุ่ เกษตรกรและเกษตรกรมี ค่าใช้จ่ายในการผลิตลดลง - รฐั บาลมนี โยบายสนบั สนุนสถาบันเกษตรกร โดย การใหส้ นิ เช่ืออตั ราดอกเบ้ยี ต่ำเพื่อรวบรวมผลผลิต (ข้าว) ของเกษตรกรในพืน้ ที่ ผา่ น ธกส. - กลุม่ เกษตรกรไดร้ บั การยกเวน้ ภาษอี ากรเรอ่ื งการ ทำนติ กิ รรม และการดำเนินธุรกจิ - กฎหมายสหกรณช์ ว่ ยให้กลมุ่ เกษตรกรดำเนินธรุ กจิ ได้กว้างขวาง และโปรง่ ใสมากขึ้น ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนการแนะนำสง่ เสริม พัฒนา และกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร จากการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเปา้ หมายในการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนาและ กำกบั ดูแลกลมุ่ เกษตรกรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1) มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร  รกั ษามาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร/กลมุ่ เกษตรกรใหอ้ ยใู่ นระดบั ดขี ึ้นไป  ผลักดันกลุม่ เกษตรกร/กลมุ่ เกษตรกรใหผ้ า่ นมาตรฐานหรอื อยู่ในระดบั ทด่ี ีขึ้น 2) ดา้ นการบรหิ ารจดั การท่ีมธี รรมาภบิ าล/การควบคุมภายใน 3) แกไ้ ขปญั หาการดำเนนิ กจิ การของกลมุ่ เกษตรกร 4) อตั ราการขยายตัวของปรมิ าณธรุ กจิ เพมิ่ ข้ึนจากปกี อ่ นไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 3 5) การพัฒนาและสง่ เสริมศกั ยภาพเพอื่ สนบั สนนุ การประกอบอาชีพและใหบ้ ริการกบั สมาชกิ 6) กลุ่มเกษตรกรใช้ประโยชนจ์ ากอปุ กรณ/์ สงิ่ ก่อสรา้ งท่ีได้รบั การสนบั สนนุ งบประมาณจากภาครฐั 7) การพัฒนาศกั ยภาพการรวบรวมผลติ และการตลาด 8) การกำกบั ดแู ล ตรวจสอบและแกไ้ ขตามแนวทางทีก่ รมกำหนด 9) การตรวจตดิ ตาม/เฝา้ ระวังและตรวจการที่มีประสิทธิภาพเพอ่ื ป้องกันการเกดิ ข้อบกพรอ่ งและ ปอ้ งกนั การเกิดทจุ ริตทงั้ ในเชงิ นโยบายและปฏบิ ตั ิ 10) กำกับดูแล ตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบกลุ่มเกษตรกรดำเนนิ กิจการใหเ้ ปน็ ไปตามข้อบงั คบั ระเบยี บและกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง  แผนการแนะนำส่งเสริม พฒั นา และแกไ้ ขปัญหาของสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมที่กล่มุ ส่งเสรมิ สหกรณ์เปน็ ผู้ดำเนินการ: แผนงาน/กจิ กรรม คา่ หน่วย ช่วงเวลาที่ เป้าหมาย นบั ดำเนนิ การ 10.ดา้ นการส่งเสริมและพัฒนาองคก์ ร ๑.๑ กจิ กรรม กำกบั แนะนำใหส้ ถาบันเกษตรกรปิดบัญชี ภายใน 30 วนั 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 นับแตว่ นั สน้ิ ปีทางบญั ชีเพ่ือรอรับการตรวจสอบ ๑.๒ กิจกรรม การประชุมใหญ่สามัญประจำปีภายใน 150 วัน (ตามปีบญั ชี) 5 ครง้ั เม.ย.65 – ส.ค.65 ๑.๓ กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริม กลุ่มเกษตรกรการบริหารจัดการท่ี 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 มธี รรมาภบิ าล ๑.๓ กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสริมกลุ่มเกษตรกรมีระดับชั้นคุณภาพการ 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 ควบคุมภายใน ๑.๔ กจิ กรรม แนะนำส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มของสมาชกิ โดยการเขา้ ร่วม 1 ครั้ง ส.ค.65 ประชุมกลมุ่ เกษตรกร ๑.๕ กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสริมสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกรและสมาชิกกับทกุ 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 ภาคสว่ น ๑.๖ กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสรมิ การรบั สมาชิกสหกรณเ์ พ่ิม 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 11. ด้านการพัฒนาการดำเนินธรุ กจิ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กิจกรรม ค่า หนว่ ย ชว่ งเวลาท่ี เปา้ หมาย นับ ดำเนนิ การ ๒.๑ กิจกรรม แนะนำ สง่ เสริมกลมุ่ เกษตรกรมอี ัตราการขยายตัวของ 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 ปริมาณธรุ กจิ เพิ่มข้นึ จากปีก่อนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 3 2.๒ กิจกรรม แนะนำ สง่ เสรมิ การรวบรวมผลผลิตและการพฒั นา 12 ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 ศักยภาพการรวบรวมผลติ ๒.๓ กิจกรรม แนะนำ ส่งเสรมิ การจดั หาสินคา้ มาจำหน่าย 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 ๒.๔ กิจกรรม แนะนำ สง่ เสรมิ การออม 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 12.ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุม้ ครองระบบสหกรณ์ ๓.๑ กจิ กรรม กำกบั ดแู ล ตรวจสอบและแก้ไขตามแนวทาง ทก่ี รมกำหนด 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ๓.๒ กิจกรรม ตรวจตดิ ตาม/เฝา้ ระวงั และตรวจการท่ีมปี ระสิทธภิ าพเพ่อื 12 ครงั้ ต.ค.64 – ก.ย.65 ป้องกันการเกดิ ขอ้ บกพรอ่ ง และป้องกันการเกิดทจุ รติ ทัง้ ในเชงิ นโยบายและ ปฏบิ ัติ ๓.๓ กจิ กรรม แนะนำ ป้องกันการเกิดขอ้ บกพร่อง (ตรวจการสหกรณ์ ครัง้ พ.ค.65 รายบคุ คล) และตรวจการสหกรณโ์ ดยทีมตรวจสอบระดับจงั หวดั 1 แผนงาน/กจิ กรรมที่กลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์จะแนะนำส่งเสริมให้กล่มุ เกษตรกรดำเนนิ การ: แผนงาน/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ชว่ งเวลาท่ี ดำเนินการ ๑. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองคก์ ร ๑.๑ กจิ กรรม บันทกึ บญั ชีใหถ้ กู ตอ้ งเป็นปัจจุบัน และจดั ทำ 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 รายละเอียดต่างๆ ประกอบงบการเงิน ๑.๒ กิจกรรม จัดประชุมใหญส่ ามัญประจำปี ภายใน 150 วนั (ตาม 5 ครง้ั เม.ย.65 – ส.ค.65 ปีบญั ชี) ๑.๓ กจิ กรรม กลมุ่ เกษตรกรปฏบิ ัตติ ามหลักธรรมาภบิ าล 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ๑.๔ กิจกรรม กลมุ่ เกษตรกรปฏบิ ัติตามระบบการควบคุมภายใน 12 คร้งั ต.ค.64 – ก.ย.65 ๑.๕ กิจกรรม กลุ่มเกษตรกร/สมาชกิ มสี ว่ นรวมทุกภาคส่วน 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ๑.๖ กจิ กรรม การรับสมาชิกเพ่มิ ระหว่างปี 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 ๑.๗ กจิ กรรม กลมุ่ เกษตรปฏิบัตติ ามเกณฑ์มาตรฐานของสหกรณ์ 12 คร้ัง ต.ค.64 – ก.ย.65 ๒. ด้านการพฒั นาการดำเนนิ ธุรกจิ ๒.๑ กจิ กรรม การดำเนินงานตามแผนประจำปีของกลุม่ เกษตรกร 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 และเพ่มิ ศักยภาพในธรุ กิจ เพ่ือให้มีอตั ราการขยายตวั ของปริมาณ ธุรกิจเพมิ่ ขึ้นจากปีก่อนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 3 ๒.๒ กิจกรรม การดำเนินงานตามแผนประจำเพ่มิ ศักยภาพในธุรกิจ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 การจดั หาสินค้ามาจำหน่าย ๒.๓ กิจกรรม การพัฒนาศักยภาพการรวบรวมผลติ 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ๒.๔ กจิ กรรม แนะนำ ส่งเสรมิ การออม 12 ครั้ง ต.ค.64 – ก.ย.65 ๓. ด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์ ๓.๑ กจิ กรรม สหกรณต์ ดิ ตาม/เฝ้าระวังและป้องกันขอ้ บกพรอ่ ง 12 ครง้ั ต.ค.64 – ก.ย.65 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หน่วยนบั ช่วงเวลาที่ 12 ดำเนินการ ๓.๒ กิจกรรม สหกรณป์ ฏิบัตติ ามระเบยี บ ข้อบังคับ พระราชบัญญัตสิ หกรณ์ พ.ศ.2542 แก้ไขฉบบั ท่ี 3 พ.ศ.2562 ครัง้ ต.ค.64 – ก.ย.65 ลงชือ่ สจุ ิตรา ฆารเลศิ เจ้าหนา้ ท่ีผ้รู ับผิดชอบ นักวิชาการสหกรณป์ ฏิบตั กิ าร วันที่ 15 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

129. กลุม่ เกษตรกรทำสวนนาโก ประเภท : ทำสวน การวิเคราะหข์ ้อมลู และบริบทของกลมุ่ เกษตรกร ⚫ ข้อมูลพ้ืนฐานของกลุม่ เกษตรกร 1) ขอ้ มลู ทั่วไป : จำนวนสมาชิก 196 คน ธรุ กจิ หลัก คือ รวบรวมผลผลติ /ผลผลิตหลัก คอื ยางพารา มาตรฐานกลุม่ เกษตรกร ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ศักยภาพการรวบรวมผลผลิต ปรมิ าณรวบรวมจำนวน 54 ตนั มลู ค่า 711,221 บาท การแปรรปู ไมไ่ ด้ทำ ผลติ ภัณฑเ์ ดน่ ฯลฯ ไมม่ ี 2) โครงสร้างพน้ื ฐานของกลมุ่ เกษตรกร : ยงั ไม่มอี ุปกรณก์ ารผลิต/การตลาด 3) ขอ้ มูลการดำเนนิ ธุรกิจ (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปีบัญชีล่าสดุ ) : หน่วย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกจิ สินเช่ือ 0 - - 2. ธุรกิจรับฝากเงิน - - - 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ - 1,635,260.00 711,221 4. ธุรกจิ แปรรปู ผลผลิต - - - 5. ธรุ กจิ จดั หาสินคา้ มาจำหนา่ ย 3,750 - - 6. ธุรกิจบริการ - - - 3,750 1,635,260.00 711,221 รวม 4) สถานภาพทางการเงนิ (ขอ้ มลู ย้อนหลงั 3 ปีบัญชีล่าสุด) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทุน หนว่ ยนบั ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรัพย์ บาท 161,776.50 386,407.61 302,949.49 หนี้สิน บาท 55,370.00 280,410.00 126,995.09 ทุนของกลุม่ เกษตรกร บาท 106,406.50 105,997.61 175,954.40 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 579.60 1,391.11 5,356.79 อตั ราสว่ นทางการเงินที่สำคญั - อตั ราส่วนหนส้ี ินต่อทนุ (DE Ratio) เท่า 0.52 2.65 0.72 - อัตราผลตอบแทนต่อทุน (ROE) รอ้ ยละ 0.54 % 1.31 % 3.04 - อัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรพั ย์ (ROA) รอ้ ยละ 0.36 % 0.51 % 1.76 - อัตราสว่ นทุนหมุนเวยี น เท่า 30.13 1.88 - อัตราส่วนทุนสำรองต่อสนิ ทรัพย์ เทา่ 0.26 0.11 - 0.30 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

5) ขอ้ สังเกตของผสู้ อบบัญชี (ถ้ามี) กลุ่มเกษตรกรไม่ไดจ้ ัดจ้างเจ้าหน้าท่ี การดำเนินงานด้านต่างๆ ในระหว่างปไี มป่ รากฎรายงานผล การตรวจสอบท่ีเป็นลายลกั ษณอ์ ักษรของผตู้ รวจสอบกจิ การ และคณะกรรมการดำเนนิ การไม่มีการตดิ ตามผล การปฏิบัตงิ าน กลมุ่ เกษตรกรมกี ารถอื เงนิ สดเกนิ ระเบยี บกำหนดไว้ มีทนุ ดำเนนิ งานทงั้ สน้ิ 302,949.49 บาท กลมุ่ เกษตรกรไมม่ คี วามเสีย่ ง เนอ่ื งจากหนีส้ ินของกลุ่มสว่ นใหญ่เป็นเงินอุดหนุนในลกั ษณะจ่ายขาด ทางกลุ่ม ดำเนินธุรกิจด้านเดียว โดยรวบรวมยางพาราจำหน่ายสมาชิก จำนวน 54,000 กิโลกรัม เป็นเงิน 711,221 บาท สมาชิกได้รับการบริการ 51 ราย มีรายได้รวมทั้งสิ้น 793,225.79 บาท และมีค่าใช้จ่ายรวมทั้งสนิ้ 787,869 บาท กำไรสุทธิ จำนวน 5,356.76 บาท สดั สว่ นปริมาณเงนิ ออมเฉลยี่ ต่อสมาชิก 347.72 บาทต่อ คน มีกำไรเฉลี่ยตอ่ สมาชิก 27.19 บาทต่อคน สินทรัพย์หมนุ เวยี นเป็นเงินสดและเงินฝากธนาคารท้งั จำนวน ควรพิจารณานำไปใชใ้ นการดำเนินธรุ กจิ เพ่ือเออ้ื อำนวยประโยชน์ใหส้ มาชกิ และไม่ให้สูญเสยี โอกาสที่จะนำไป ก่อเกิดรายได้ 6) ข้อบกพรอ่ งของกลุม่ เกษตรกร (ถา้ มี) กลมุ่ ไมม่ ขี อ้ บกพรอ่ ง ⚫ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของกลมุ่ เกษตรกร 1. ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร ประเมนิ ชั้นคุณภาพของการควบคุมภายใน จากสรุปผลระบบ การควบคมุ ภายในของกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ อยใู่ นระดับไม่มกี ารควบคมุ ภายใน 2. ประสิทธิภาพของการบริหารงาน ประเมนิ ถึงการบรหิ ารงานของคณะกรรมการ โดยพิจารณาจาก ขอ้ บกพรอ่ งในการบริหารงานของกลมุ่ เกษตรกร ด้านประสิทธิภาพของการบริหารงาน เป็นการประเมินถึงการบริหารงานของคณะกรรมการ โดย พจิ ารณาจากขอ้ บกพร่องในการบรหิ ารงานของกลุ่มเกษตรกร กลมุ่ เกษตรกรทำสวนนาโกไมม่ ขี อ้ บกพรอ่ ง 3. การประเมินเกณฑม์ าตรฐานกลุม่ เกษตรกร 5 ขอ้ สรุปผลการผา่ นเกณฑม์ าตรฐานกลุม่ เกษตรกร คอื ผา่ นเกณฑม์ าตฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

การวิเคราะห์ SWOT Analysis จดุ ออ่ น จดุ แข็ง - สมาชิกขาดความรู้ทางวิชาการดา้ นการเกษตรแผน - มีทนุ ดำเนินงานเพียงพอ ใหม่เพอ่ื การพฒั นา - สมาชิกอาศยั อยู่ในหมู่บ้านเดียวกนั ทำใหง้ า่ ยตอ่ การ - ราคาสนิ คา้ เกษตรของกลุ่มฯตอ้ งพงึ พาพอ่ ค้า ประสานงาน - สมาชกิ ส่วนใหญเ่ ป็นผูส้ งู อายุ - คณะกรรมการมคี วามเสยี สละ - สมาชิกยังไมเ่ ข้าใจในหลกั การ อดุ มการณ์ และ วธิ กี ารสหกรณ์ หรอื บทบาทหน้าทีข่ องสมาชกิ อปุ สรรค โอกาส - ภัยธรรมชาติ (ฝนแล้ง นำ้ ท่วม พายุ ฯ) - รฐั บาลให้การสนบั สนุนการรวมกลมุ่ โดยเฉพาะการ - มีพอ่ ค้าคนกลางในพื้นทเ่ี ข้าถงึ แหลง่ ชมุ ชน รวมกนั เป็นสหกรณ์ - มสี ถาบันการเงนิ เปน็ คแู่ ขง็ ภายในหมบู่ ้าน - การปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ให้การสนบั สนุน - หน่วยงานทางราชการให้การสนบั สนนุ แผนการแนะนำสง่ เสริม พฒั นา และกำกบั ดแู ลกลุ่มเกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลกล่มุ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังน้ี 1) ระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร:  รกั ษาระดบั สหกรณช์ นั้ 1 และชั้น 2 ยกระดับสหกรณช์ ้ัน 2 และ ชนั้ 3 สชู่ น้ั ที่ดีขึ้น 2) มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร:  รักษามาตรกลมุ่ เกษตรกรใหอ้ ยู่ในระดบั ดขี ึน้ ไป  ผลกั ดันกลมุ่ เกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรอื อยใู่ นระดบั ท่ีดขี น้ึ 3) อ่ืน ๆ แนะนำส่งเสรมิ เพม่ิ ปริมาณธรุ กจิ สมาชิกมีสว่ นรว่ มในการดำเนินธรุ กจิ กบั กลมุ่ เกษตรกร เพ่ิมขน้ึ  แผนการแนะนำส่งเสรมิ พัฒนา และแกไ้ ขปญั หาของกลุม่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กจิ กรรมทก่ี ลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์เป็นผู้ดำเนินการ : แผนงาน/กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนับ ช่วงเวลาท่ี ดำเนินการ 1. ดา้ นการสง่ เสรมิ และพฒั นาองคก์ ร 1.1 กิจกรรม ยกระดับการควบคุมภายในของกลุ่มเกษตรกร 6 ครั้ง ต.ค.64 - ก.ย.65 1.2 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดบั มาตรฐานของกลุ่มเกษตรกร 6 ครั้ง ต.ค.64 - ก.ย.65 2. ด้านการพัฒนาการดำเนินธรุ กิจ 2.1 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดบั การให้บรกิ ารสมาชิกของกลุ่ม 6 ครั้ง ต.ค.64 - ก.ย.65 เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนับ ช่วงเวลาท่ี ดำเนนิ การ 2.2 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดับประสิทธิภาพการดำเนินธุรกจิ กลุ่มเกษตรกร 6 ครง้ั ต.ค.64 - ก.ย.65 3. ดา้ นการกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร - ครง้ั 3.1 กิจกรรม การแกไ้ ขขอ้ บกพร่องของกลุ่มเกษตรกร แผนงาน/กิจกรรมที่กลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์จะแนะนำสง่ เสรมิ ให้สหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรดำเนินการ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนับ ช่วงเวลาที่ ดำเนินการ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก ดำเนินธรุ กิจ เพม่ิ ปริมาณธรุ กิจ 1.1 กิจกรรม การเพิ่มปรมิ าณธรุ กจิ 6 ครงั้ ต.ค.64 –ม.ิ ย.65 1.2 กจิ กรรม ส่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ ม 6 ครง้ั ต.ค.64 –มิ.ย.65 2. แผนงาน/กิจกรรมหลัก ระดมทนุ ภายใน 2.1 กิจกรรม เข้าร่วมประชุม ติดตาม แนะนำ การถือหุ้นเพิ่ม 6 ครง้ั ต.ค.64 –ม.ิ ย.65 3. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก พฒั นาองคก์ ร 3.1 กิจกรรม การจัดทำเอกสารรายงานประจำปี บันทึกรายงาน 6 ครง้ั ต.ค.64 –ม.ิ ย.65 3.2 กจิ กรรม การจดั ทำเอกสาร หลักฐานทางบญั ชี 6 ครั้ง ต.ค.64 –มิ.ย.65 ลงชื่อ จิตราภณ สกุลซ้ง เจา้ หนา้ ที่ผู้รบั ผิดชอบ นกั วิชาการสหกรณ์ปฏบิ ตั กิ าร วันที่ 15 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2564 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

130. กลุ่มเกษตรกรทำสวนยางพาราหว้ ยโพธ์ิ-หลักเมอื ง ประเภท : ทำสวน การวิเคราะห์ข้อมูลและบริบทของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ⚫ ขอ้ มลู พ้นื ฐานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มลู ท่วั ไป : จำนวนสมาชิก : 288 ราย จำนวนสมาชิกท่ีรว่ มทำธุรกจิ : 260 ราย ธุรกจิ หลัก : ธุรกจิ รวบรวม ธุรกิจจัดหาสนิ ค้ามาจำหน่าย ผลผลติ หลัก : ยางกอ้ นถว้ ย มาตรฐานกล่มุ เกษตรกร : ผ่านมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 2) โครงสร้างพน้ื ฐานของกลุ่มเกษตรกร : ตาช่งั เครือ่ งผสมน้ำกรด 3) ข้อมลู การดำเนินธุรกจิ (ข้อมลู ยอ้ นหลัง 3 ปบี ัญชลี ่าสุด ) : หนว่ ย : บาท ประเภทธรุ กจิ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธุรกิจสินเช่ือ - - - 2. ธุรกิจรบั ฝากเงนิ - - - 3. ธุรกจิ รวบรวมผลผลิต 25,422,322.00 26,122,753.95 28,761,879.73 4. ธุรกจิ แปรรปู ผลผลติ - - - 5. ธุรกิจจัดหาสินคา้ มาจำหนา่ ย - 91,020.00 69,165.00 6. ธุรกิจบรกิ าร - - - 25,422,322.00 26,213,773.95 28,831,044.73 รวม 4) สถานภาพทางการเงนิ (ขอ้ มลู ยอ้ นหลงั 3 ปีบญั ชีล่าสดุ ) งบแสดงฐานะการเงนิ /งบกำไรขาดทนุ หนว่ ยนบั ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 สินทรพั ย์ บาท 1,094,961.01 1,227,420.64 1,478,495.31 หน้สี ิน บาท 279,723.21 437,070.91 370,143.46 ทุนของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร บาท 815,237.80 790,349.73 1,108,351.85 กำไร (ขาดทนุ ) สุทธิ บาท 418,637.80 297,008.95 547,980.97 อัตราส่วนทางการเงินทสี่ ำคญั - อัตราส่วนหนี้สินตอ่ ทนุ (DE Ratio) - 0.55 0.33 - อตั ราผลตอบแทนต่อทนุ (ROE) - 37.00 57.72 - อัตราผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพย์ (ROA) - 25.58 40.50 - อตั ราส่วนทนุ หมนุ เวียน - 2.05 2.94 - อัตราสว่ นทุนสำรองตอ่ สินทรพั ย์ - 0.03 0.05 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

⚫ ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จากขอ้ มลู พนื้ ฐาน และสภาพแวดล้อมของกลมุ่ เกษตรกร สามารถวเิ คราะห์ขอ้ มลู ของกลุ่มเกษตรกรได้ ดังนี้ กลุ่มเกษตรกรทำสวนยางพาราห้วยโพธ์ิ-หลักเมือง เป็นกลุ่มเกษตรกรประเภททำสวน ดำเนินธุรกิจ รวบรวมผลผลิต และธุรกิจจัดหาสนิ ค้ามาจำหน่าย มีคณะกรรมการดำเนินงาน 15 คน ผู้ตรวจสอบกิจการ 2 คน ไม่มีฝ่ายจัดการใช้คำสั่งมอบหมายให้คณะกรรมการปฏิบัติหนา้ ที่ ผลการดำเนินงานของกลุ่มมีกำไรทุกปี และสามารถจัดสรรกำไรใหก้ ับสมาชกิ ได้ แผนการแนะนำสง่ เสริม พัฒนา และกำกบั ดูแลสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถกำหนดเป้าหมายในการแนะนำส่งเสรมิ พฒั นา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1) ระดบั ชั้นกลมุ่ เกษตรกร :  รกั ษาระดับกลมุ่ เกษตรกร ชัน้ 1 และชน้ั 2  ยกระดบั กลมุ่ เกษตรกร ชั้น 2 และ ช้นั 3 ส่ชู ั้นทดี่ ขี ้ึน 2) มาตรฐานกล่มุ เกษตรกร :  รักษามาตรฐานกล่มุ เกษตรกรให้อยใู่ นระดบั ดีข้นึ ไป  ผลักดันกลุ่มเกษตรกรใหผ้ ่านมาตรฐานหรอื อยใู่ นระดบั ท่ีดขี ้นึ  แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และแกไ้ ขปัญหาของกลุม่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/กิจกรรมทกี่ ลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์เป็นผ้ดู ำเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย หนว่ ยนับ ช่วงเวลาที่ ดำเนินการ 1. ด้านการส่งเสรมิ และพฒั นาองคก์ ร ไม่มีควบคุม - 1.1 กจิ กรรม การรกั ษา/ยกระดบั การควบคุมภายในของสหกรณ์ ภายใน - ต.ค. 64-ก.ย.65 % ต.ค. 64-ก.ย.65 1.2 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดับมาตรฐานของสหกรณ/์ รกั ษา/ผลักดนั - กลุ่มเกษตรกร ต.ค. 64-ก.ย.65 2. ดา้ นการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ การมสี ่วนร่วมไม่ บาท ต.ค. 64-ก.ย.65 นอ้ ยกวา่ 80% บาท 2.1 กจิ กรรม การรักษา/ยกระดับการใหบ้ รกิ ารสมาชิกของ มผี ลการ คน พ.ค.64-ก.พ.65 สหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร ดำเนนิ งานไม่ บาท ต.ค.64-ก.พ.65 ขาดทุน ต.ค.64-ก.พ.65 2.2 กิจกรรม การรักษา/ยกระดับประสิทธภิ าพการดำเนินธรุ กจิ 27,000,000.00 ต.ค.64-ก.พ.65 ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร 20,000.00 2.3 กิจกรรม แผนธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ 5 2.4 กิจกรรม แผนธรุ กิจจัดหาสนิ ค้ามาจำหนา่ ย 2.5 กจิ กรรม แผนรับสมาชกิ เพ่ิม 20,000.00 2.6 กจิ กรรม แผนการระดมหุน้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร

แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ช่วงเวลาท่ี ดำเนินการ 3. ดา้ นการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร 1 ครัง้ พ.ค.65-ก.ย.65 3.1 กจิ กรรม การตรวจการกลุม่ เกษตรกร แผนงาน/กิจกรรมท่ีกลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์จะแนะนำสง่ เสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดำเนนิ การ : แผนงาน/กิจกรรม คา่ เป้าหมาย หนว่ ยนบั ชว่ งเวลาที่ ดำเนินการ 1. แผนงาน/กจิ กรรมหลกั มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 1.1 กิจกรรม แนะนำหลักเกณฑ์การจัดมาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร 8 ครง้ั พ.ย. 64-ม.ิ ย.65 1.2 กจิ กรรม แนะนำกลุม่ เกษตรกรปฏิบัติตามระเบยี บ ขอ้ บงั คบั และราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยกลุ่มเกษตรกร 8 ครงั้ ต.ค. 64-ก.ย.65 2. แผนงาน/กจิ กรรมหลัก ปิดบัญชใี ห้ได้ภายใน 30 วัน 2.1 กิจกรรม แนะนำ ส่งเสริม ช่วยเหลือ ใหก้ ลุ่มเกษตรกรบนั ทึก บัญชใี หเ้ ป็นปัจจุบัน 12 คร้ัง ต.ค. 64-ก.ย.65 2.2 กจิ กรรม แนะนำ สง่ เสริม ช่วยเหลือ ปิดบญั ชีให้ไดภ้ ายใน 30 วนั 4 ครั้ง มี.ค65-เม.ย 65 3. แผนงาน/กิจกรรมหลกั ประชุมใหญ่สามญั ประจำปี/กรรมการ 3.1 กิจกรรม ประชุมใหญส่ ามัญประจำปี 1 ครั้ง มิ.ย. 65-ก.ย.65 3.2 กจิ กรรม ประชมุ คระกรรมการดำเนินการ 12 ครง้ั ต.ค. 65-ก.ย.65 ลงช่ือ ชไมพร มาตยค์ ำมี เจ้าหนา้ ท่ีผรู้ บั ผิดชอบ นกั วชิ าการสหกรณ์ปฏิบัติการ วนั ที่ 6 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562ร

131. กลุ่มเกษตรกรทำสวนยางพาราจมุ จัง -สมสะอาด ประเภท : ทำสวน การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และบริบทของกลมุ่ เกษตรกร • ขอ้ มลู พืน้ ฐานของกลมุ่ เกษตรกร 1) ขอ้ มลู ท่ัวไป 1.1 จำนวนสมาชิกท้งั สน้ิ 153 คน ประกอบด้วย - สมาชิกสามัญ 153 คน - สมาชกิ สมทบ - คน 1.2 จำนวนคณะกรรมการ/ฝ่ายจดั การ คณะกรรมการ 13 คน (ชาย 8 คน หญิง 5 คน) 1.3 ชนิดผลผลติ หลกั คอื ยางพารา 1.4 ปริมาณผลผลิต จำนวน 620 ตัน 1.5 มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร ปี 2564 กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑม์ าตรฐาน (คาดว่าผา่ นมาตรฐานยงั ไม่ประชมุ ใหญ)่ ปี 2563 กลุม่ เกษตรกรผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน ปี 2562 กลมุ่ เกษตรกรผ่านเกณฑม์ าตรฐาน 2) โครงสร้างพ้ืนฐานของกลุ่มเกษตรกร : อปุ กรณก์ ารผลติ /การตลาดของสหกรณ์ ดังนี้ - ไมม่ ี - 3) ข้อมูลการดำเนินธุรกจิ ของกลมุ่ เกษตรกร (ขอ้ มูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชลี ่าสดุ ) : หนว่ ย : บาท ประเภทธุรกิจ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ธรุ กิจสนิ เช่ือ - - - 2. ธรุ กจิ รับฝากเงิน - - - 3. ธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ 5,293,699.00 5,944,447.00 7,576,891.00 4. ธรุ กจิ แปรรปู ผลผลติ - - - 5. ธุรกิจจดั หาสินค้ามาจำหนา่ ย - - - 6. ธุรกจิ บริการ - - - 5,293,699.00 5,944,447.00 7,576,891.00 รวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook