Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา การจัดการการผลิต

วิชา การจัดการการผลิต

Published by ศจีมาศ หมะอุ, 2021-08-18 08:17:47

Description: ความเข้าใจพื้นฐานในด้านการจัดการการปฏิบัติการและด้านการผลิตให้แก่ผู้เรียน

Search

Read the Text Version

วชิ า การจดั การ การผลติ อ.ศจีมาศ หมะอุ วิทยาลัยเทคโนโลยีหาดใหญ่ อํานวยวิทย์



วทิ ยาลยั เทคโนโลยหี าดใหญอ่ านวยวทิ ย ์ สปั ดาหท์ ี่ 1 คาบที่ 1-4 ท-ป-น 2-2-3 เวลา 4 คาบ 220 นาที รหสั วชิ า30215-2102 วชิ าการจดั การการผลติ หน่วยที่ 1 ชอื่ หน่วยการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร รายการสอน ความหมายของการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร เป้ าหมายของระบบการผลติ สนิ คา้ หรอื บรกิ าร สาระสาคญั การผลิต (Production) หมายถึง การสรา้ งสินคา้ และบรกิ าร ส่ ว น ก า ร จั ด ก า ร ก า ร ป ฏิ บั ติ ก า ร เ ป็ น กจิ กรรมซงึ่ เกยี่ วขอ้ งกบั การสรา้ งมูลค่าในรปู ของสนิ คา้ และบรกิ ารโดยอาศยั ก ร ะ บ ว น ก า ร ก า ร แ ป ร รู ป ห รื อ แ ป ร ส ภ า พ ปั จ จั ย น า เ ข ้ า ใ ห ้ อ อ ก ม า เ ป็ น ปั จ จั ย น า อ อ ก อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ไม่ว่าผลติ ภณั ฑน์ ั้นสุดทา้ ยจะเป็ นสนิ คา้ หรอื รกิ ารกจิ กรรมการผลติ ซง่ึ ดาเนิน การในองคก์ รมักถูกเรียกว่า เป็ นการดาเนิ นงาน (Operations) หรือ การจดั การการปฏบิ ตั กิ าร (Operations Management) คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค ์ นักเรยี นมกี ารพฒั นาดา้ นสตปิ ัญญา ผเู้ รยี นรจู ้ กั คดิ วเิ คราะหแ์ ละแกป้ ัญหาได ้ สมรรถนะประจาหน่วย 11 อธบิ ายความหมายของการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร 12 ปฏบิ ตั หิ นา้ ทงี่ านดา้ นการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร 13 ใฝ่ หาความรหู ้ มน่ั ศกึ ษาเลา่ เรยี นทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

111 บอกความหมายของการผลติ และการปฏบิ ตั กิ ารไดถ้ กู ตอ้ ง 112 อธบิ ายเป้ าหมายของระบบการผลติ สนิ คา้ หรอื บรกิ ารไดถ้ กู ตอ้ ง 131 แสวงหาความรทู ้ งั้ ทางตรงและทางออ้ ม เนือ้ หา (คาบที่ 1-2) ก า ร ผ ลิ ต (Production) ห ม า ย ถึ ง ก า ร ส ร า้ ง สิ น ค ้า แ ล ะบ ริก า ร ส่ ว น ก า ร จั ด ก า ร ก า ร ป ฏิ บั ติ ก า ร เ ป็ น กจิ กรรมซงึ่ เกยี่ วขอ้ งกบั การสรา้ งมูลค่าในรปู ของสนิ คา้ และบรกิ ารโดยอาศยั ก ร ะ บ ว น ก า ร ก า ร แ ป ร รู ป ห รื อ แ ป ร ส ภ า พ ปั จ จั ย น า เ ข ้ า ใ ห ้ อ อ ก ม า เ ป็ น ปั จ จั ย น า อ อ ก อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ไม่ว่าผลติ ภณั ฑน์ ้ันสดุ ทา้ ยจะเป็ นสนิ คา้ หรอื รกิ ารกจิ กรรมการผลติ ซงึ่ ดาเนิน การในองคก์ รมักถูกเรียกว่า เป็ นการดาเนิ นงาน (Operations) หรือ การจดั การการปฏบิ ตั กิ าร (Operations Management) กระบวนการผลติ (Production process) มอี งคป์ ระกอบทีส่ าคญั 3 ประการ อนั ไดแ้ ก่ ปัจจยั นาเข า้ (Input), กระบวนการแปลงสภาพ (Conversion Process) แ ล ะ ผ ล ผ ล ติ (Output) โ ด ย ม รี า ย ล ะเอ ยี ด ดงั ต่อไปนี้ 1. ป ัจ จ ยั น า เข า้ (Input) คอื ทรพั ยากรขององคก์ ารทใี่ ชผ้ ลติ ทงั้ ทเี่ ป็ นสนิ ทรพั ยท์ มี่ ตี วั ตน ( Tangible Assets) เ ช น่ ว ตั ถ ุด บิ เ ค รื อ่ ง จ กั ร อ ุป ก ร ณ์ แ ล ะ ส นิ ท ร พั ย ท์ ี ไ่ ม ่ม ตี วั ต น ( Intangible Assets) เช น่ แ ร ง ง า น ร ะ บ บ ก า ร จ ดั ก า ร ข ่า ว ส า ร ทรพั ยากรทีใ่ ชจ้ ะตอ้ งมีคุณ สมบตั แิ ละประโยชนใ์ ชส้ อยทีเ่ หมาะสม แ ล ะ ม ตี น้ ท ุน ก า ร ผ ล ติ ที ต่ ่ า เพอื่ ใหส้ นิ คา้ สาเรจ็ รูปสามารถแข่งขนั ทางดา้ นราคาไดใ้ นทอ้ งตลาด

2. ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ป ล ง ส ภ า พ ( Conversion Process) เป็ นขนึ้ ตอนทที่ าใหป้ ัจจยั นาเขา้ ทีผ่ ่านเขา้ มามีการเปลยี่ นแป ลงในดา้ นต่างๆ ไดแ้ ก่ 1. รูปลกั ษณ์ (Physical) โดย การผ่านกระบวนการผลติ ในโรงงาน 2. สถานที่ (Location) โดย การขนส่ง การเก็บเขา้ คลงั สนิ คา้ 3. การแลกเปลย่ี น (Exchange) โดย การคา้ ปลกี การคา้ ส่ง 4. การใหข้ อ้ มูล (Informational) โดย การตดิ ต่อสอ่ื สาร 5. จติ วทิ ยา (Psychological) โดย การนันทนาการ ฯลฯ ผลผลติ (Output) เป็ นผลไดจ้ ากระบบการผลติ ทม่ี มี ูลค่าสูงกว่าปัจจยั นาเขา้ ทีร่ วมกนั อนั เนื่องมาจากทีไ่ ดผ้ ่านกระบวนการแปลงสภาพ ผลผลติ แบ่งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื สนิ คา้ (Goods) และบรกิ าร (Service) กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบที่ 1-2) กระบวนความรูค้ วามเขา้ ใจ (ระดมสมอง) ขนั้ ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 1 ขน้ั เรา้ ความสนใจ กลมุ่ ใดสามารถวเิ คราะหก์ ารตดิ ตอ่ สอ่ื สารไดถ้ กู ตอ้ งและนาเสนอไดด้ ี รบั คะแนนโบนัสเพมิ่ 5 คะแนน ขน้ั กจิ กรรม 1. ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู ้ 2. นาเขา้ ส่บู ทเรยี นในเรอื่ งความหมายของการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร

3. นักเรยี นแตล่ ะคนศกึ ษาการผลติ และการปฏบิ ตั กิ ารตนเอง 4. ใหน้ ักเรยี นแบง่ กลมุ่ ออกเป็ น 8 กลมุ่ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาความหมายของการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร 5. แตล่ ะกลุม่ สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอใหเ้ พอื่ นฟั งหนา้ ชนั้ เรยี น เพอื่ นทนี่ ่งั ฟั งรว่ มกนั ประเมนิ ผลการใหค้ ะแนน 6. ครสู รปุ ประเด็นสาคญั อกี ครงั้ พรอ้ มทง้ั ใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ ลงสมดุ ขน้ั สรุป ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ประเด็นสาคญั ของเนือ้ หาพรอ้ มทง้ั ใหน้ ักเรยี นบนั ทึ กลงสมดุ ขนั้ การวดั ผลและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื วดั เกณฑค์ ะแนนการนาเสนอ วธิ กี ารวดั ปฏบิ ตั งิ านกลมุ่ แตล่ ะประเภทไดถ้ กู ตอ้ ง เกณฑก์ ารวดั วเิ คราะหค์ วามหมายไดถ้ กู ตอ้ งชดั เจน90% ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ วชิ า ธรุ กจิ และการเป็ นผปู้ ระกอบการ กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน อนิ เตอรเ์น็ต , หอ้ งสมดุ เอกสารอา้ งองิ

สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,254 8 ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ ุน),สนพ.สมาคม,2545

เนือ้ หา (คาบที่ 3-4) เป้ าหมายในการผลติ และคณุ ลกั ษณะของ Learning Object เป้ าหมายในการผลติ Learning Object คณุ ภาพสูง มคี ณุ ลกั ษณะตอ่ ไปนี้ • เนือ้ หา กจิ กรรม การนาเสนอเหมาะสมกบั ผูเ้ รยี น (อายุ ความสนใจ ความรเู ้ ดมิ ) ถกู ตอ้ ง มุ่งใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความเขา้ ใจอย่างลกึ ซงึ้ • ผเู้ รยี นมโี อกาสเลอื กและตดั สนิ ใจ ลาดบั การนาเสนอเนือ้ หาและกจิ กรรมเออื้ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู ้ • ผเู้ รยี นไดป้ ฏบิ ตั กิ จิ กรรม ไมเ่ พยี งแตร่ บั ขอ้ มูล (สบื เสาะคน้ หา แกป้ ัญหา แปลความหมายขอ้ มลู พฒั นา สรา้ ง นาเสนอชนิ้ งาน) • มกี ารประเมนิ ความกา้ วหนา้ ในการเรยี นรู ้ ผเู้ รยี นสามารถรบั ขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ และ feedback ทเี่ หมาะสมและมปี ระโยชน์ • ผเู้ รยี นเรยี นรจู ้ ากสถานการณท์ สี่ อดคลอ้ งกบั ชวี ติ จรงิ และใชค้ วามรใู ้ นบรบิ ททหี่ ลากหลาย คุณลกั ษณะของLearning Objectsไว้ สามารถแบง่ ไดไ้ ด ้ 6 ประการ ดงั นี้ 1) ค วามสามารถในการน ากลับมาใช ใ้ ห ม่ (reusability) ในที่นี้ หมายถงึ ไดใ้ น 2 ลกั ษณะ ลกั ษณะ ทหี่ น่ึง หมายถงึ การทสี่ ามารถจะเลอื กนา Object ย่ อ ย ๆ ซ่ึ ง เ ป็ น ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง Learning Objects ใ ด ๆ ก ลับ ม า ใช ใ้ ห ม่ เช่น ก ารน าไฟ ล ภ์ าพ จ า ก Learning Objects ห นึ่ ง กลับมาใช ้ สาหรบั Learning Objects อีกชิน้ หน่ึ ง เป็ นตน้ นอกจากนี้ ก า ร น า ก ลั บ ม า ใ ช ้ ใ ห ม่ ยั ง อ า จ ห ม า ย ร ว ม ถึ ง การนากลบั มาใชใ้ หมข่ องทรพั ยากรวตั ถดุ บิ ในการสรา้ ง Learning Objects เชน่ เทมเพลต ป่ ุม เป็ นตน้ 2) ความสามารถในการใชง้ านรว่ มกนั (Sharability) ในทนี่ ี้ หมายถงึ ความสามารถในการใชง้ าน Learning Objects แมว้ ่า Learning Objects น้ั น จ ะ อ ยู่ บ น ร ะ บ บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ก า ร เ รี ย น รู ้ ( LMS) ห รื อ ระบบบรหิ ารจดั การเนื้อหา (LCMS) ที่แตกต่างกนั เช่น ระบบ Learning

Space ของ IBM กับ ระบบ KC MOODLE ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็ นตน้ 3) ความสามารถในการทางานรว่ มกัน (interoperability) ในที่นี้ หมายถึง ค วามสาม ารถในการ เข ้าถึงและใชง้ าน Learning Objects แ ม ้ ว่ า เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช ้ ใ น ก า ร เ ข ้ า ถึ ง ง า น Learning Objects จะมคี วามแตกตา่ งกนั เชน่ การเขา้ ถงึ จาก พซี ี มอื ถอื หรอื พดี เี อ เป็ นตน้ 4) ขนาดกระทัดรดั (bite-sized/ granularity) ซ่ึงหมายถึง เวลาทผี่ ูเ้ รยี นใชใ้ นการเรยี นรูเ้ นือ้ หา หรอื เรยี กดู Learning Objects แต่ละ Learning Objects น้ั น ไ ม่ ค ว ร เ กิ น 10-12 น า ที ซ่ึ ง แ ต ก ต่ า ง จากการออกแบบ CAI ในสมยั ก่อน ซงึ่ มีงานวิจยั หลายชนิ้ ที่สนับสนุ นว่า ค่ า เฉ ล่ี ย ข อ ง เว ล า ที่ ใ ช ้ ใ น ก า ร เรีย น รู เ้ นื้ อ ห า ที่ เห ม า ส ม ข อ ง CAI จะอยู่ที่ประมาณไม่เกิน 25 นาที ต่อ การเรยี นรูข้ อง ผูเ้ รยี นในครง้ั หนึ่งๆ (ถนอมพร 2541) 5) ค ว า ม ส ม บู ร ณ์ ใ น ต น เ อ ง ( self-contained)2 ห รื อ บางครง้ั จะใชค้ าศัพทใ์ นภาษาอังกฤษ ที่ว่า Integrity ซงึ่ หมายถึงการที่ Learning Objects นั้นจะตอ้ งมีความสมบูรณ์ในตนเอง ประกอบดว้ ย วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ์ เ นื้ อ ห า แ บ บ ฝึ ก หั ด แ ล ะ / ห รื อ แ บ บ ท ด ส อ บ ทงั้ นี้อาจเป็ นในลกั ษณะ ของการออกแบบกลยุทธก์ ารเรยี นแบบบอกตรง (expository instruction) ห รือ แ บ บ อ ้อ ม ๆ (inductive instruction) ก็ได ้ 6) เออื้ ใหเ้ กดิ การเรยี นรูท้ ี่มีความหมาย (conducive to learning)3 ห ม า ย ถึ ง ก า ร ที่ Learning Objects ทอี่ อกแบบพฒั นาขนึ้ จะตอ้ งสง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ การเรยี นรใู ้ นลกั ษณะทสี่ ามา รถนาไป เชอื่ มโยงกบั ประสบการณ์ (โลก)จรงิ ของผูเ้ รยี นได ้ ดงั น้ัน Learning Objects ที่ ส ร ้ า ง ขึ้ น จ ะ ต ้ อ ง ออกแบบใหส้ ง่ิ แวดลอ้ มการเรยี นรูข้ องผูเ้ รยี นมคี วามใกลเ้ คยี งกบั โลกแห่งควา มเป็ นจรงิ สาหรบั ผูเ้ รยี น ทั้งนี้เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถถ่ายโยง (transfer) ทกั ษะที่ไดร้ บั จากการใช ้ Learning Objects ดงั กล่าวไปใชใ้ นบรบิ ทอื่นๆ ต่ อ ไ ป ไ ด ้ โ ด ย Learning Objects ที่ ส า ม า ร ถ เ อื้ อ ต่ อ ก า ร เรีย น รู ใ้ น ลั ก ษ ณ ะ ดั ง ก ล่ า ว จึ ง มั ก ไ ด ้รับ ก า ร อ อ ก แ บ บ ใ ห ้อ ยู่ ใ น รปู แบบของการจาลอง เกม การ คน้ พบ หรอื การสารวจ

กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบที่ 3-4) กระบวนความรูค้ วามเขา้ ใจ (ระดมสมอง) ขนั้ ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 2 ขน้ั เรา้ ความสนใจ นักเรยี นทาแบบฝึ กหดั ไดเ้ สรจ็ กอ่ นและถกู ตอ้ งจานวน 10 คนแรกจะไดค้ ะแนนพเิ ศษคนละ 1 คะแนน ขนั้ กจิ กรรม

1. ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู ้ 2. ทบทวนบทเรยี น นาเขา้ สบู่ ทเรยี นในหวั ขอ้ เป้ าหมายของระบบการผลติ สนิ คา้ หรอื บรกิ าร 3. ครูสรุปประเด็นสาคญั อกี ครง้ั นกั เรยี นตงั้ ใจฟั ง พรอ้ มทง้ั บนั ทกึ ลงสมดุ ขน้ั สรุปผล ครสู รปุ เนือ้ หาอกี ครงั้ แลว้ ใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ เนือ้ หาลงสมดุ เพอื่ ความเขา้ ใ จยงิ่ ขนึ้ ขนั้ การวดั ผลc]tประเมนิ ผล เครอื่ งมอื วดั วดั ความรู ้ ความเขา้ ใจ วธิ กี ารวดั ตอบคาถาม เกณฑก์ ารวดั การตอบคาถามไดถ้ กู ตอ้ งและชดั เจน 90% ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ วชิ าธรุ กจิ และการเป็ นผปู้ ระกอบการ กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน อนิ เตอรเ์น็ต / ใบความรู ้ เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,254 8

ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ นุ ),สนพ.สมาคม,2545

วทิ ยาลยั เทคโนโลยหี าดใหญอ่ านวยวทิ ย ์ สปั ดาหท์ ี่ 2 คาบที่ 5-8 ท-ป-น 2-2-3 เวลา 4 คาบ 220 นาที รหสั วชิ า30215-2102 วชิ าการจดั การการผลติ หน่วยที่ 1 ชอื่ หน่วยการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร รายการสอน ระบบการผลติ และระบบย่อย ลกั ษณะของการผลติ สาระสาคญั การผลิต (Production) หมายถึง การสรา้ งสินคา้ และบรกิ าร ส่ ว น ก า ร จั ด ก า ร ก า ร ป ฏิ บั ติ ก า ร เ ป็ น กจิ กรรมซง่ึ เกยี่ วขอ้ งกบั การสรา้ งมูลคา่ ในรปู ของสนิ คา้ และบรกิ ารโดยอาศยั ก ร ะ บ ว น ก า ร ก า ร แ ป ร รู ป ห รื อ แ ป ร ส ภ า พ ปั จ จั ย น า เ ข ้ า ใ ห ้ อ อ ก ม า เ ป็ น ปั จ จั ย น า อ อ ก อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ไม่ว่าผลติ ภณั ฑน์ ้ันสดุ ทา้ ยจะเป็ นสนิ คา้ หรอื รกิ ารกจิ กรรมการผลติ ซงึ่ ดาเนิน การในองคก์ รมักถูกเรยี กว่า เป็ นการดาเนิ นงาน (Operations) หรอื การจดั การการปฏบิ ตั กิ าร (Operations Management) คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค ์ นักเรยี นมกี ารพฒั นาดา้ นสตปิ ัญญา ผเู้ รยี นรจู ้ กั คดิ วเิ คราะหแ์ ละแกป้ ัญหาได ้ สมรรถนะประจาหน่วย 11 อธบิ ายความหมายของการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร 12 ปฏบิ ตั หิ นา้ ทงี่ านดา้ นการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร 13 ใฝ่ หาความรหู ้ มน่ั ศกึ ษาเลา่ เรยี นทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

113 แยกระบบการผลติ และระบบย่อยไดถ้ กู ตอ้ ง 114 อธบิ ายขน้ั ตอนการรเิ รมิ่ โครงการไดอ้ ยา่ งชดั เจน 131 แสวงหาความรทู ้ ง้ั ทางตรงและทางออ้ ม กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบที่ 5-6) กระบวนความรูค้ วามเขา้ ใจ (ระดมสมอง) ขน้ั ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 3 ขนั้ เรา้ ความสนใจ อธบิ ายเนือ้ หาพรอ้ มยกตวั อยา่ งเพอื่ เพมิ่ ความเขา้ ใจใหก้ บั นักเรยี น ขน้ั กจิ กรรม 1. ครูนาเขา้ สู่บทเรยี นโดยการทบทวนเนือ้ หา ถาม ตอบ นกั เรยี น จากคาบทแี่ ลว้ นกั เรยี นใหค้ วามรว่ มมอื ในการตอบคาถาม 2. ครอู ธบิ ายเนือ้ หาเกยี่ วกบั เป้ าหมายของระบบการผลติ สนิ คา้ หรอื บรกิ าร 3. ครใู หน้ ักเรยี นยกตวั อยา่ งระบบการผลติ สนิ คา้ หรอื บรกิ าร ขนั้ สรุป ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ เนือ้ พรอ้ มทงั้ ใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ ลงสมดุ การวดั ผลประเมนิ ผล วดั ความรู ้ ความเขา้ ใจ เครอื่ งมอื ตอบคาถาม วธิ วี ดั

เกณฑก์ ารประเมนิ การตอบคาถามไดถ้ กู ตอ้ งและชดั เจน90% ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ - กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน อนิ เตอรเ์น็ต , หอ้ งสมุด เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,254 8 ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ นุ ),สนพ.สมาคม,2545

เนือ้ หา (คาบที่ 7-8) ลกั ษณะการผลติ การผลติ ตอ้ งมลี กั ษณะดงั นี้ 1.) การทาใหเ้ กดิ สนิ คา้ อยา่ งใดอย่างหน่ึงเพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของมนุษย ์ 2.) การทาใหเ้ กดิ สนิ คา้ หรอื บรกิ ารตอ้ งเกดิ จากการใชแ้ รงกาย สมอง หรอื เครอื่ งจกั ร ตวั อยา่ งการผลติ สนิ คา้ เชน่ การทานา การผลติ สนิ คา้ อตุ สาหกรรม การทานา้ แข็ง เป็ นตน้ การผลติ การบรกิ ารเชน่ อาชพี การตดั ผม การรกั ษาผปู้ ่ วยของแพทย ์ เป็ นตน้ 3) สนิ คา้ หรอื บรกิ ารทผี่ ลติ ขนึ้ น้ันจะตอ้ งมปี ระโยชนใ์ นทางเศรษฐกจิ ทเี่ รยี กวา่ อรรถประโยชน์ ประโยชนท์ กี่ ลา่ วถงึ นีเ้ ป็ นความรสู ้ กึ พงึ พอใจของผูบ้ รโิ ภคไมม่ หี น่วยวดั ไม่อาจ บอกเป็ นตวั เลขไดเ้ มอื่ ซอื้ สนิ คา้ แลว้ เรารสู ้ กึ พอใจ เรยี กว่า สนิ คา้ มปี ระโยชน์ ประเภทของการผลติ แบ่งตามลกั ษณะเฉพาะของผลติ ภณั ฑ ์

การผลติ ตามคาสง่ั ซอื้ (Made-to- order) เป็ นการผลติ ทคี่ ณุ ลกั ษณะของผลติ ภณั ฑจ์ ะเปลยี่ นแปลงไปตามควา มตอ้ งการของ ลกู คา้ แต่ละรายการเตรยี มการผลติ และวตั ถดุ บิ ทตี่ อ้ งการจะใชต้ ลอดจนกระบว นการผลติ จงึ ไม่สามารถ คาดการณไ์ วล้ ว่ งหนา้ ได ้ เครอื่ งจกั รอปุ กรณท์ ใี่ ชต้ อ้ งเป็ นแบบอเนกประสงคแ์ ละผูผ้ ลติ ตอ้ งมคี วามสามา รถและความชานาญหลายอยา่ ง เพอื่ ทาการผลติ สง่ิ ทลี่ กู คา้ ตอ้ งการได ้ ตวั อยา่ งของการผลติ ตาม คาสง่ั ซอ่ื ไดแ้ กก่ ารตดั เย็บชดุ ววิ าห ์ การรบั สรา้ งบา้ นบนทดี่ นิ ของลกู คา้ การทาผม ฯลฯ - การผลติ เพอื่ รอจาหน่าย (Made-to- stock) เป็ นการผลติ ผลติ ภณั ฑท์ มี่ คี ณุ ลกั ษณะเป็ นมาตรฐานเดยี วกนั ตามค วามตอ้ งการของกลมุ่ ลกู คา้ เป้ าหมายสว่ นใหญ่ การจดั หาวตั ถดุ บิ และการเตรยี มกระบวนการผลติ สามารถ ทาไดล้ ่วงหนา้ เครอื่ งจกั รอปุ กรณจ์ ะเป็ นเครอื่ งมอื เฉพาะงานและผผู้ ลติ ถกู อบรมมาเพอื่ ทางา นตามหนา้ ที่ เฉพาะอยา่ ง ตวั อยา่ งของการผลติ เพอื่ รอจาหน่ายไดแ้ กก่ ารผลติ สบู่ การผลติ รถยนตก์ ารผลติ เสอื้ ผา้ เครอื่ งแบบนักเรยี น ฯลฯ - การผลติ เพอื่ รอคาสง่ั ซอื้ (Assembly-to- order) เป็ นการผลติ ชนิ้ ส่วนทจี่ ะประกอบเป็ นสนิ คา้ สาเรจ็ รไู ดห้ ลายชนิด ซงึ่ ชนิ้ สว่ นเหลา่ นั้นจะมลี กั ษณะแยกออกเป็ นสว่ นจาเพาะหรอื โมดลู (Module )โดยผลติ โมดลู รอไวก้ อ่ นเมอื่ ไดร้ บั คาสง่ั ซอื้ จากลกู คา้ จงึ ทาการประกอบโมดู ลใหเ้ ป็ นสนิ คา้ ตามลกั ษณะทลี่ กู คา้ ตอ้ งการ จงึ นับไดว้ ่าการผลติ เพอื่ รอคาสง่ั ซอื้ ไดน้ าเอาลกั ษณะของการผลติ เพอื่ รอจาห น่ายซง่ึ มกี ารผลติ ชนิ้ สว่ นเป็ น โมดลู มาตรฐาน ทใี่ ชป้ ระกอบเป็ นสนิ คา้ หลายชนิดรอไว ้ มาผสมเขา้ กบั ลกั ษณะของ การผลติ ตามคาสง่ั ซอื้ ซงึ่ นาโมดลู มาประกอบและแตง่ เตมิ รายละเอยี ดใหส้ นิ คา้ สาเรจ็ รูป มคี วามแตกตา่ งกนั ไปตามความตอ้ งการของลกู คา้ เฉพาะราย ตวั อยา่ งการผลติ เพอื่ รอคาสง่ั ซอื้ ไดแ้ ก่ การผลติ เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้ า หลายรนุ่ ทมี่ กี ารใชอ้ ะไหลเ่ หมอื นกนั 2

ประเภทของการผลติ แบ่งตามลกั ษณะของระบบการผลติ และปรมิ าณการผลติ - การผลติ แบบโครงการ (Project Manufacturing) เป็ นการผลติ ผลติ ภณั ฑข์ นาดใหญ่ราคาแพง และมลี กั ษณะเฉพาะตามความตอ้ งการของลกู คา้ เฉพาะราย เชน่ การสรา้ งเขอ่ื น การสรา้ งทางด่วน การตอ่ เรอื ดาน้า การต่อเครอื่ งบนิ ฯลฯ การผลติ แบบโครงการมกั มปี รมิ าณการผลติ ต่อครงั้ นอ้ ยมากหรอื ผลติ ครง้ั ละชิ้ นเดยี วและ ใชเ้ วลานาน การผลติ จะเกดิ ขนึ้ ทสี่ ถานทตี่ งั้ ของโครงการ (Site) เมอื่ เสรจ็ งานโครงการหนึ่งจงึ ยา้ ยทง้ั คนและวสั ดสุ งิ่ ของเครอื่ งมอื ตา่ ง ๆไปรบั งานใหม่เครอื่ งมอื ทใี่ ชจ้ งึ เป็ นแบบอเนกประสงค ์ ซงึ่ เคลอื่ นยา้ ยไดง้ ่าย และคนงานตอ้ ง สามารถทางานไดห้ ลายอย่างจงึ ตอ้ ง ใชแ้ รงงานมฝี ี มอื ทผี่ า่ นการอบรมอย่างดี - การผลติ แบบไมต่ ่อเนื่อง (Job Shop หรอื Intermit ten Production) เป็ นการผลติ ผลติ ภณั ฑท์ มี่ ลี กั ษณะหลากหลายตามความตอ้ งการของลกู คา้ โดยมปี รมิ าณการผลติ ต่อครงั้ เป็ นล็อต มกี ารเปลย่ี นผลติ ภณั ฑท์ ผี่ ลติ คอ่ นขา้ งบ่อย และผลผลติ ไมม่ มี าตรฐานมากนัก เชน่ การบรกิ ารคนไขท้ เี่ ขา้ รบั การรกั ษาในโรงพยาบาล เครอื่ งจกั รอปุ กรณต์ ่างๆ จะถกู รวมกนั ตามหนา้ ทกี่ ารใชง้ านไวใ้ นสถานีการผลติ แยกเป็ นหมวดหมอู่ ยตู่ ามส่วนต่างๆ ของผงั โรงงานในจดุ ทจี่ ะสามารถทาใหก้ ระบวนการผลติ ทกุ ผลติ ภณั ฑส์ ามาร ถดาเนินไป ตามขน้ั ตอนการผลติ ทกี่ าหนดไวอ้ ย่างคล่องตวั การเดนิ เครอื่ งจกั รผลติ จะผลติ สนิ คา้ ชนิดหน่ึงจนไดป้ รมิ าณตามทตี่ อ้ งการแล ้ วจงึ เปลย่ี นไปผลติ สนิ คา้ ชนิดอนื่ โดยใชเ้ ครอื่ งจกั ชดุ เดมิ - การผลติ แบบกลมุ่ (Batch Production) เป็ นการผลติ ทคี่ ลา้ ยกบั การผลติ แบบไมต่ ่อเน่ืองมาก จนบางครง้ั จดั เป็ นการผลติ ประเภทเดยี วกนั แตจ่ ะแตกตา่ งกนตรงทกี่ ารผลติ แบบกลมุ่ จะมลี กั ษณะเฉพาะของผลติ ภณั ฑท์ ี่ ผลติ แยกเป็ นกล่มุ ๆ ในแต่ละกลมุ่ จะผลติ ตามมาตรฐานเดยี วกนั ทง้ั ล็อต ในขณะทกี่ ารผลติ แบบไมต่ อ่ เน่ืองจะมลี กั ษณะเฉพาะของผลติ ภณั ฑห์ ลากหล

ายมากกวา่ ลกั ษณะการจดั เครอื่ งจกั รอปุ กรณข์ องการผลติ แบบกล่มุ จะเหมอื นกบั การผลิ ตแบบไมต่ อ่ เน่ืองคอื จดั เครอื่ งจกั รตามหนา้ ทกี่ าร ใชง้ านเป็ นสถานี แลว้ งานจะไหลผา่ นไปแตล่ ะสถานีตามลาดบั ขนึ้ ตอนของง าน และเน่ืองจากการผลติ แบบกลมุ่ เป็ น การผลติ ของเป็ นล็อต ขน้ั ตอนการผลติ จงึ มแี บบแผนลาดบั เหมอื นกนั เป็ นกลมุ่ ๆ ตามล็อตการผลติ เหลา่ นั้น การผลติ แบบกลมุ่ นีใ้ ชไ้ ดก้ บั การผลติ ตามคาสง่ั ซอื้ และการผลติ เพอื่ รอจาหน่า ย เชน่ การเย็บเสอื้ โหล เป็ นตน้ - การผลติ แบบไหลผ่าน หรอื การผลติ ตามสายการประกอบ หรอื การผลติ แบบซา้ (Line- Flow หรอื Assembly หรอื Repetitive Production) เป็ นการผลติ ผลติ ภณั ฑท์ เี่ หมอื นกนั ในปรมิ าณมาก เชน่ การผลติ แชมพู การผลติ รถยนต ์ การผลติ เครอื่ งซกั ผา้ การผลติ แบบไหลผา่ นจะมเี ครอื่ งจกั อปุ กรณเ์ ฉพาะของแตล่ ะ สายผลติ ภณั ฑแ์ ยกต่างหากโดยไมม่ กี ารใชเ้ ครอื่ งจกั รรว่ มกนั เครอื่ งจกั รอปุ กร ณจ์ ะ เป็ นแบบเฉพาะงานสาหรบั แตล่ ะ สายผลติ ภณั ฑเ์ พอื่ การผลติ ทรี่ วดเรว็ และไดป้ รมิ าณมากการผลติ แบบนีจ้ ะเหมาะสมกบั การผลติ เพอื่ รอจาหน่ายหรื อใชใ้ นการประกอบโมดลู ในการผลติ เพอื่ รอคาสง่ั ซอื้ จากลกู คา้ ต่อไป - การผลติ แบบต่อเนื่อง (Continuous Process หรอื Continuous Flow Production) เป็ นการผลติ ผลติ ภณั ฑช์ นิดเดยี วในปรมิ าณทมี่ ากมายอยา่ ง ต่อเน่ืองโดยใชเ้ ครอื่ งจกั รเฉพาะอยา่ งซง่ึ มกั จะเป็ นการผลติ หรอื แปรรปู ทรพั ยา กรธรรมชาตใิ หเ้ ป็ นวตั ถดุ บิ ในการผลติ ขนั้ ตอนตอ่ ไป เชน่ การกลน่ั น้ามนั การผลติ สารเคมี การทากระดาษ ฯลฯ กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบที่ 7-8) กระบวนความรูค้ วามเขา้ ใจ

ขนั้ ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 4 ขนั้ เรา้ ความสนใจ ครเู ลา่ ประสบการณเ์ พอื่ ชงั จงู ใหน้ ักเรยี นฟังเพอื่ เตรยี มความพรอ้ มในกา รเรยี น ขนั้ กจิ กรรม 1. ครนู าเขา้ สบู่ ทเรยี น 2. ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาเนือ้ หาพรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ เพอื่ นาเสนอหอ้ งชน้ั เรยี น 3. เพอื่ นทนี่ ่งั ฟั งชว่ ยกนั วจิ ารณแ์ ละใหข้ อ้ เสนอแนะ 6. ครสู รปุ ประเด็นสาคญั อกี ครง้ั หน่ึงเพอื่ ความเขา้ ใจยงิ่ ขนึ้ ขน้ั สรุป ครสู รปุ เนือ้ หาและประเด็นสาคญั จากการนาเสนอของนักเรยี น ขน้ั การวดั ผลและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื แบบบนั ทกึ การนาเสนอ วธิ วี ดั สงั เกตการนาเสนอ เกณฑก์ ารประเมนิ ความถกู ตอ้ งของเนือ้ หา ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ - กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน อนิ เตอรเ์น็ต / ใบความรู ้ /ใบงาน

เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,254 8 ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ ุน),สนพ.สมาคม,2545

วทิ ยาลยั เทคโนโลยหี าดใหญ่อานวยวทิ ย ์ สปั ดาหท์ ี่ 3 คาบที่ 9-12 ท-ป-น 2-2-3 เวลา 4 คาบ 220 นาที รหสั วชิ า30215-2102 วชิ าการจดั การการผลติ หน่วยที่ 1 ชอื่ หน่วยการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร รายการสอน ขนั้ ตอนการรเิ รมิ่ โครงการ ขน้ั ตอนการนาแผนไปปฏบิ ตั ิ สาระสาคญั โครงการ (project) ตามนิยามของ ISO 9000:2005 หมายถงึ กระบวนการทมี่ คี วามเฉพาะเจาะจงและประกอบดว้ ยชดุ ของ ความรว่ มมอื และการควบคมุ กจิ กรรม โดยมกี ารกาหนดวนั ทเี่ รมิ่ ตน้ และวนั ทสี่ นิ้ สดุ ทตี่ อ้ งดาเนินการเพอื่ ใหบ้ รรลุ วตั ถปุ ระสงคท์ กี่ าหนดและเป็ นไปตามขอ้ กาหนดทรี่ ะบุ รวมถงึ เวลาทกี่ าหนด งบประมาณ และทรพั ยากร การบรหิ ารจดั การโครงการ (project management) ตามนิยามของ ISO 10006:2005 หมายถงึ การวางแผน การจดั องคก์ าร การเฝ้ า ตดิ ตาม การควบคมุ และการรายงานผลประเด็นตา่ ง ๆ ทง้ั หมดของโครงการ และการสรา้ งจงู ใจผูท้ เี่ กยี่ วขอ้ งทงั้ หมดเพอื่ ใหบ้ รรลุ วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค ์ นักเรยี นมกี ารพฒั นาดา้ นสตปิ ัญญา ผเู้ รยี นรจู ้ กั คดิ วเิ คราะหแ์ ละแกป้ ัญหาได ้

สมรรถนะประจาหน่วย 11 อธบิ ายความหมายของการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร 12 ปฏบิ ตั หิ นา้ ทงี่ านดา้ นการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร 13 ใฝ่ หาความรหู ้ มน่ั ศกึ ษาเล่าเรยี นทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 115 อธบิ ายขน้ั ตอนการรเิ รมิ่ โครงการไดอ้ ย่างชดั เจน 121 เขยี นขน้ั ตอนการนาแผนไปปฏบิ ตั ไิ ดถ้ กู ตอ้ ง 131 แสวงหาความรทู ้ งั้ ทางตรงและทางออ้ ม เนือ้ หา (คาบที่ (9-10) โค รงก า ร (project) ต า ม นิ ย า ม ข อ ง ISO 9000:2005 ห ม าย ถึง ก ร ะ บ ว น ก า ร ที่ มี ค ว า ม เฉ พ า ะ เจ า ะ จ ง แ ล ะ ป ร ะ ก อ บ ด ้ว ย ชุ ด ข อ ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ แ ล ะ ก า ร ค ว บ คุ ม กิ จ ก ร ร ม โดยมีการกาหนดวนั ทีเ่ รมิ่ ตน้ และวนั ทีส่ ิน้ สุด ทีต่ อ้ งดาเนินการเพื่อใหบ้ รรลุ วตั ถุประสงคท์ กี่ าหนดและเป็ นไปตามขอ้ กาหนดทรี่ ะบุ รวมถงึ เวลาทกี่ าหนด งบ ป ระม า ณ แ ล ะท รัพ ย า ก ร ก า รบ ริห า รจัด ก า รโค รงก า ร ( project management) ตามนิยามของ ISO 10006:2005 หมายถงึ การวางแผน การจดั องคก์ าร การเฝ้ า ตดิ ตาม การควบคุม และการรายงานผลประเด็นต่าง ๆ ทงั้ หมดของโครงการ และการสรา้ งจูงใจผูท้ ี่เกยี่ วขอ้ งทงั้ หมดเพื่อใหบ้ รรลุ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ์ข อ ง โ ค ร ง ก า ร ก า ร บ ริห า ร จั ด ก า ร โ ค ร ง ก า ร น้ั น เป็ นกระบวนการที่มีโครงสรา้ งของระเบียบขอ้ บงั คบั ตามวธิ กี ารของ Plan- Do-Check-Act: PDCA โดย สามารถกาหนดขน้ั ตอนการดาเนินงานเป็ น 5 ขนั้ ตอน ดงั นี้ 1. การรเิ รมิ่ โครงการ (project initiation) 2. การวางแผนโครงการ (project planning) 3. การดาเนินโครงการ (project execution)

4. การเฝ้ าตดิ ตามและการควบคมุ โครงการ (project monitoring & control) 5. การทบทวนโครงการและปิ ดโครงการ (project review & close) ก า ร ริ เ ริ่ ม โ ค ร ง ก า ร ( project initiation) การเรมิ่ ตน้ จดั ทาโครงการน้ันจะตอ้ งเรมิ่ ตน้ จากการเก็บรวบรวมขอ้ มูลทเี่ กยี่ ว ข ้อ ง เช่ น ข ้อ ก า ห น ด ข อ ง ลู ก ค ้า แ ล ะ อ ง ค ์ก า ร ที่ เกี่ ย ว ข ้อ ง แ ล ะ ขอ้ มูลในอดตี ทเี่ กยี่ วขอ้ ง รวมถงึ การตง้ั สมมตฐิ านของผลสาเรจ็ ของโครงการ เพื่อก่อใหเ้ กดิ ผลการศึกษาดา้ นความเป็ นไปไดข้ องโครงการ (feasibility study) แ ล ะ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ด า เนิ น ก า ร ท า ง ธุ ร กิ จ อ ย่ า ง มี เห ตุ ผ ล ผลจากการศึกษาความเป็ นไปไดข้ องโครงการ (feasibility study) จะ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ไดแ้ ก่ ● ก า ร พิ จ า ร ณ า ส ถ า น ก า ร ณ์ ท า ง ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย ว ข ้ อ ง ปั ญ ห า และโอกาสในการปรบั ปรงุ ● การศกึ ษาวจิ ยั และและเปรยี บเทยี บขอ้ มูลทางอุตสาหกรรม (benchmark) เทคโนโลยแี ละวธิ กี าร ● การหาทางในการแกไ้ ขปัญหาทางธรุ กจิ ● การอธบิ ายทางเลอื กในการดาเนินงาน ประโยชนแ์ ละ ความเสยี่ งทไี่ ดร้ บั ส่ิงที่สาคัญอย่างหน่ึง คือ การประเมินผลตอบแทนจากการ ลงทุน ( Return on Investment: ROI) จ ะ น า ไ ป สู่ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ก า ร ดาเนินโครงการว่ามคี วามคมุ้ ค่าทางเศรษฐกจิ หรอื ไม่ กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบที่ 9-10) กระบวนการปฏบิ ตั ิ ขนั้ ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 5 ขนั้ เรา้ ความสนใจ ครเู ล่านิทานใหน้ ักเรยี นฟังเพอื่ เตรยี มความพรอ้ มในการเรยี น

ขน้ั กจิ กรรม 1. ครนู าเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยการเลา่ ข่าวเพอื่ เตรยี มความในการเรยี น 2. ครอู ธบิ ายเนือ้ หาเกยี่ วกบั กจิ กรรมการปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ แรงจงู ใจใหน้ ักเรยี น ฟัง พรอ้ มทงั้ ยกตวั อยา่ งกจิ กรรมดงั กลา่ ว 3. ครสู มุ่ ใหน้ ักเรยี นตอบคาถาม 4. นกั เรยี นทา Mind Mapping ขนั้ ตอนการรเิ รมิ่ โครงการ มที ศั นคตทิ ดี่ ใี นการทาชนิ้ งาน ชนิ้ งานของใครถูกตอ้ ง สวยงาม ครูจะนามาโชวห์ นา้ ชน้ั เรยี น และใหเ้ พอื่ น ๆ ชนื่ ชม 5. ครสู รปุ เนือ้ หาสาคญั อกี ครงั้ หน่ึง และใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ ลงสมดุ ขนั้ สรุป ครสู รปุ เนือ้ หาและประเด็นสาคญั อกี ครงั้ หลงั จากทนี่ ักเรยี นอธบิ ายจบ เพอื่ ทบทวนเนือ้ หา และใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ ลงสมดุ ขน้ั การวดั ผลและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื วดั ชนิ้ งานMind Mapping วธิ กี ารวดั ตรวจสอบชนิ้ งาน เกณฑก์ ารวดั การตอบคาถามไดถ้ กู ตอ้ งและชดั เจน 90% ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ วชิ าโครงงาน 1 และ วชิ าสมั มนาการจดั การ กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน

อนิ เตอรเ์น็ต , หอ้ งสมดุ เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,254 8 ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ ุน),สนพ.สมาคม,2545

เนือ้ หา (คาบที่ 11-12) ความหมายของการนาแผนสู่การปฏบิ ตั ิ หมายถงึ การดาเนินการทุกอย่างเพอื่ ใหน้ โยบาย บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ กี่ าหนดไว ้ การนาแผนไปสกู่ ารปฏบิ ตั เิ ป็ นการนาโครงการ/กจิ กรรม ทไี่ ดก้ าหนดไวใ้ นแผน ไปดาเนินการใหบ้ รรลตุ ามเป้ าหมาย โดยตอ้ งกาหนดองคก์ รหรอื บุคคลทรี่ บั ผดิ ชอบ และวธิ กี ารดาเนินการชดั เจน ขนั้ การนาแผนไปปฏบิ ตั ิ ขนั้ นีเ้ มอื่ ไดจ้ ดั ทาแผน โครงการและไดต้ รวจสอบความเป็ นไปไดจ้ นแน่ใจแลว้ ก็ตอ้ งนาแผนเสนอผมู้ ี อานาจตามลาดบั เพอื่ ขออนุมตั งิ บประมาณดาเนินการตามแผนและเมอื่ ไดร้ บั อนุมตั แิ ลว้ ก็จะนาไปปฏบิ ตั ิ การปฏบิ ตั ติ ามแผนนีจ้ ดั เป็ นขน้ั สาคญั ทสี่ ดุ ของการวางแผนเพราะวา่ แผนเป็ น เพยี งขอ้ มลู ทมี่ อี ยใู่ นเอกสาร ถา้ ไมม่ กี ารปฏบิ ตั กิ จ็ ะไม่เกดิ ประโยชนอ์ ะไร ในการปฏบิ ตั ติ ามแผนจะเรมิ่ ตง้ั แตก่ ารจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี การดาเนิ นการตามโครงการทมี่ ใี นแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีตามลาดบั ของโครงการกอ่ น หลงั กาหนดระยะเวลาของการปฏบิ ตั งิ านตามแผน เมอื่ ไดศ้ กึ ษางานและคณุ สมบตั ขิ องผูป้ ฏบิ ตั งิ านแลว้ ผวู้ างแผนงานจะสามารถ คาดคะเนไดว้ ่างานชนิ้ หน่ึง ๆ ควรใชก้ าลงั คนปฏบิ ตั งิ านกคี่ นและแผนงานดงั กลา่ วจะใชเ้ วลาเทา่ ใดในแต่ละ แผนและควรใชเ้ วลาเทา่ ใดตลอดแผนงาน เพอื่ ใหก้ ารอา่ นแผนงานง่ายยงิ่ ขนึ้ ควรจดั ทาเป็ นตารางแสดงเวลาทใี่ ชป้ ฏบิ ตั งิ านแต่ละอย่างตลอดเวลา การนาแผนไปปฏบิ ตั เิ ป็ นการบ่งบอกถงึ การตดั สนิ ใจเลอื กทางเลอื กทดี่ ที ี่ สดุ ฉะนั้นเพอื่ ใหก้ ารปฏบิ ตั ติ ามแผนและวตั ถปุ ระสงคก์ ารดาเนินงานจะตอ้ งคา

นึงถงึ การประหยดั และใหผ้ ลประโยชนท์ เี่ หมาะสมโดยใชท้ รพั ยากร คน เงนิ และวสั ดอุ ปุ กรณท์ ไี่ ดร้ บั จดั สรรเพอื่ การดาเนินงานอยา่ งแทจ้ รงิ การปฏบิ ตั ติ ามแผนจะเป็ นการลงมอื ปฏบิ ตั ติ ามโครงการมกี ารมอบหมายง าน การจดั สรรทรพั ยากร การประสานงาน การควบคมุ การปฏบิ ตั งิ านเพอื่ ใหก้ ารดาเนินงานเป็ นไปตามเป้ าหมาย การลงมอื ปฏบิ ตั ติ ามแผนมขี นั้ ตอนการปฏบิ ตั ทิ สี่ าคญั ดงั นี้ 1. ผปู้ ฏบิ ตั ติ ามแผนรบั แผนทไี่ ดอ้ นุมตั แิ ลว้ เพอื่ การดาเนินการ 2. ผู้ป ฏิบัติต าม แผ น จะต ้องท าค วาม เข ้าใจส่วน ป ระก อบ ต่ าง ๆ ทางเทคนิคของแผน 3. ก า ร ท า ค ว า ม เ ข ้ า ใ จ ส่ ว น ต่ า ง ๆ ของแผนโดยเนน้ ถงึ ปัจจยั ทไี่ ม่เกยี่ วกบั วชิ าการเฉพาะดา้ นหรอื เทคนิ คแต่มงุ่ เนน้ ไปทางดา้ นมนุษยส์ มั พนั ธแ์ ละปฏกิ ริ ยิ าของผปู้ ฏบิ ตั ทิ มี่ ตี ่อ แผน 4. การกาหนดบทบาทของผูด้ าเนินการตามแผน 5. การจดั เตรยี มบุคคลผูป้ ฏบิ ตั ติ ามแผนและการกาหนดมอบหมายควา มรบั ผดิ ชอบ 6. การเตรยี มแผนดาเนินการหรอื แผนปฏบิ ตั งิ าน 7. ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ต า ม แ ผ น ตามกระบวนการทกุ ขนั้ ตอนทกี่ ล่าวมาจะเป็ นการเตรยี มงานลว่ งหนา้ เ พอื่ ดาเนินการตามแผนจงึ มลี กั ษณะงานของการวางแผนปะปนอยู่ดว้ ย 8. การแจง้ ใหผ้ เู้ กยี่ วขอ้ งในหน่วยงานทราบถงึ โครงการ 9. การแปลความหมายของแผนใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาทราบ 10. การชแี้ จงใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาทราบถงึ ความรบั ผดิ ชอบเกยี่ วกบั กา รควบคมุ งาน 11. การรวบรวมขอ้ มลู และตวั เลขทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ความกา้ วหนา้ ของแผ น 12. การตรวจสอบและประเมนิ ขอ้ มูลและตวั เลข 13. การปรบั ปรงุ แผนใหเ้ หมาะสม

14. การรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านตามแผนตงั้ แต่ตน้ จนถงึ การสนิ้ สุด ของแผน ความสาเรจ็ ของการนาแผนสูก่ ารปฏบิ ตั ิ มปี ัจจยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ความชดั เจนในวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้ าหมายของแผน 2. การกาหนดและมอบหมายภารกจิ ความรบั ผดิ ชอบในโครงสรา้ งบริ หารแผน มคี วามชดั เจน 3. มรี ะบบการกากบั ตรวจสอบและประเมนิ ผลภายในองคก์ ร และมกี ารเสรมิ แรงผปู้ ฏบิ ตั ใิ นเชงิ สรา้ งสรรค ์ 4. สมรรถนะองคก์ รทนี่ าแผนส่กู ารปฏบิ ตั ิ มคี วามเขม้ แข็งทง้ั ศกั ยภาพ ความสามารถและความพรอ้ ม 5. มกี ารสนับสนุนและมคี วามผูกพนั ของฝ่ ายต่าง ๆ ทงั้ ระดบั นโยบาย และระดบั ปฏบิ ตั ทิ างดา้ นการเมอื ง งบประมาณ และวชิ าการ จากทกี่ ล่าวมาสรปุ ไดว้ า่ ขนั้ นาแผนไปปฏบิ ตั เิ ป็ นการปฏบิ ตั งิ านตามทไี่ ด ้ กาหนดไวใ้ นแผนงานหรอื โครงการเพอื่ ใหง้ านทกี่ าหนดไวใ้ นแผนบรรลเุ ป้ าหมายผบู้ รหิ ารควรมกี ลวธิ ใี น ขนั้ การนาแผนไปปฏบิ ตั ิ การดาเนินการในดา้ นการเตรยี มบคุ คล งบประมาณ วธิ กี าร วสั ดอุ ปุ กรณ์ กอ่ นดาเนินการมกี ารชแี้ จงใหผ้ รู้ บั ผดิ ชอบและผูป้ ฏบิ ตั งิ านดาเนินการมกี ารใ หค้ าแนะนาปรกึ ษาหารอื มกี ารควบคมุ การปฏบิ ตั งิ านและการรายงานตลอดจนการปรบั ปรงุ แกไ้ ขทกุ ระ ยะของการปฏบิ ตั งิ านมคี วามสาคญั ยงิ่

โครงสรา้ งและลาดบั ชน้ั ของแผน ในองคป์ ระกอบของแผนสามารถแยกใหเ้ ห็นโครงสรา้ งและลาดบั ชน้ั ขององคป์ ระกอบทมี่ คี วามสมั พนั ธก์ นั เป็ นลาดบั ไดด้ งั นี้ นโยบาย (Policy ) แผน (Plan) แผนงาน (Programs) โครงการ (Project) กจิ กรรม (Activity)

กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบที่ 11-12) กระบวนการปฏบิ ตั ิ ขน้ั ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 6 ขนั้ เรา้ ความสนใจ ครเู ล่านิทานใหน้ ักเรยี นฟังเพอื่ เตรยี มความพรอ้ มในการเรยี น ขน้ั กจิ กรรม 1. ครนู าเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยการเลา่ ข่าวเพอื่ เตรยี มความในการเรยี น 2. ครอู ธบิ ายเนือ้ หาเกยี่ วกบั กจิ กรรมการปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ แรงจงู ใจใหน้ ักเรยี น ฟัง พรอ้ มทง้ั ยกตวั อยา่ งกจิ กรรมดงั กลา่ ว 3. ครสู มุ่ ใหน้ ักเรยี นตอบคาถาม 4. นกั เรยี นทา Mind Mapping ขน้ั ตอนการนาแผนไปปฏบตั ิ มคี วามตงั้ ใจในการทาชนิ้ งาน ชนิ้ งานของใครถูกตอ้ ง สวยงาม ครูจะนามาโชวห์ น้าชน้ั เรยี น และใหเ้ พอื่ น ๆ ชนื่ ชม 5. ครสู รปุ เนือ้ หาสาคญั อกี ครงั้ หนึ่ง และใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ ลงสมดุ ขน้ั สรุป ครสู รปุ เนือ้ หาและประเด็นสาคญั อกี ครงั้ หลงั จากทนี่ ักเรยี นอธบิ ายจบ เพอื่ ทบทวนเนือ้ หา และใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ ลงสมดุ ขนั้ การวดั ผลและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื วดั ชนิ้ งานMind Mapping วธิ กี ารวดั ตรวจสอบชนิ้ งาน เกณฑก์ ารวดั การตอบคาถามไดถ้ กู ตอ้ งและชดั เจน 90%

ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ วชิ าโครงงาน 1 และ วชิ าสมั มนาการจดั การ กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน อนิ เตอรเ์น็ต , หอ้ งสมุด เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,254 8 ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ ุน),สนพ.สมาคม,2545

วทิ ยาลยั เทคโนโลยหี าดใหญอ่ านวยวทิ ย ์ สปั ดาหท์ ี่ 4 คาบที่ 13-16 ท-ป-น 2-2-3 เวลา 4 คาบ 220 นาที รหสั วชิ า30215-2102 วชิ าการจดั การการผลติ หน่วยที่ 1 ชอื่ หน่วยการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร รายการสอน หนา้ ทงี่ านดา้ นการผลติ และการปฏบิ ตั ิ หนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบพนื้ ฐานของผูบ้ รหิ ารและการปฏบิ ตั กิ าร สาระสาคญั ความหมายของและหนา้ ทขี่ องฝ่ ายผลติ ว่ามอี ะไรกนั บา้ ง ฝ่ ายผลติ หมายถงึ กลมุ่ งานทมี่ หี นา้ ทใี่ นการทาใหว้ ตั ถดุ บิ ทมี่ กี ลายเป็ นสนิ คา้ โดยการแปรรปู จากทรพั ยากรการผลติ ทงั้ วตั ถดุ บิ ทางตรงและวตั ถดุ บิ ทางออ้ ม ใหอ้ อกมาในรปู ของสนิ คา้ หรอื ผลติ ภณั ฑท์ ตี่ รงตามความตอ้ งการของลกู คา้ โดยในการผลติ สนิ คา้ แตล่ ะครง้ั ตอ้ งมมี าตรฐาน และจานวนทเี่ พยี งพอต่อการจดั จาหน่าย ซง่ึ ฝ่ ายผลติ นีถ้ อื เป็ นหวั ใจสาคญั ของการดาเนินธรุ กจิ และเป็ นฝ่ ายทตี่ อ้ งใชแ้ ร งงานคนจานวนมากในแต่ละขน้ั ตอน

เพราะถงึ แตล่ ะโรงงานจะมกี ารใชเ้ ครอื่ งจกั รในการผลติ แตเ่ ครอื่ งจกั รแตล่ ะเครื่ องก็ตอ้ งการคนคอยควบคมุ ดแู ลและจดั สรรทรพั ยากรในการใชง้ านในการผลิ ตอยูด่ ี ดงั น้ันงานฝ่ ายผลติ จงึ เป็ นทตี่ อ้ งการเป็ นอย่างมากในอตุ สาหกรรมนี้ สถานทที่ างานของฝ่ ายผลติ โดยสว่ นมากมกั อยใู่ นโรงงาน มบี า้ งทจี่ ะตอ้ งออกไปวางแผนนอกสถานที่ ฝ่ ายผลติ มหี นา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของงานค่อนขา้ งหลากหลาย ผูท้ ี่ หางานฝ่ ายผลติ หรอื ทางานนีจ้ งึ ตอ้ งมคี วามรหู ้ ลากหลายเพอื่ ใหส้ ามารถ ทางานไดค้ รบถว้ น คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค ์ นักเรยี นมกี ารพฒั นาดา้ นสตปิ ัญญา ผเู้ รยี นรจู ้ กั คดิ วเิ คราะหแ์ ละแกป้ ัญหาได ้ สมรรถนะประจาหน่วย 11 อธบิ ายความหมายของการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร 12 ปฏบิ ตั หิ นา้ ทงี่ านดา้ นการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร 13 ใฝ่ หาความรหู ้ มน่ั ศกึ ษาเลา่ เรยี นทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 122 ปฏบิ ตั หิ นา้ ทงี่ านดา้ นการผลติ และการปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งชดั เจน 123 แสดงหนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบพนื้ ฐานของผบู้ รหิ ารและการปฏบิ ตั กิ ารไดอ้ ย่ างชดั เจน 131 แสวงหาความรทู ้ งั้ ทางตรงและทางออ้ ม เนือ้ หา (คาบที่ 13-14) ความหมายของและหนา้ ทขี่ องฝ่ ายผลติ วา่ มอี ะไรกนั บา้ ง ฝ่ ายผลติ หมายถงึ กลมุ่ งานทมี่ หี นา้ ทใี่ นการทาใหว้ ตั ถดุ บิ ทมี่ กี ลายเป็ นสนิ คา้ โดยการแปรรปู จากทรพั ยากรการผลติ ทง้ั วตั ถดุ บิ ทางตรงและวตั ถดุ บิ ทางออ้ ม ใหอ้ อกมาในรปู ของสนิ คา้ หรอื ผลติ ภณั ฑท์ ตี่ รงตามความตอ้ งการของลกู คา้

โดยในการผลติ สนิ คา้ แตล่ ะครง้ั ตอ้ งมมี าตรฐาน และจานวนทเี่ พยี งพอตอ่ การจดั จาหน่าย ซงึ่ ฝ่ ายผลติ นีถ้ อื เป็ นหวั ใจสาคญั ของการดาเนินธรุ กจิ และเป็ นฝ่ ายทตี่ อ้ งใชแ้ ร งงานคนจานวนมากในแตล่ ะขน้ั ตอน เพราะถงึ แตล่ ะโรงงานจะมกี ารใชเ้ ครอื่ งจกั รในการผลติ แตเ่ ครอื่ งจกั รแตล่ ะเครื่ องกต็ อ้ งการคนคอยควบคมุ ดแู ลและจดั สรรทรพั ยากรในการใชง้ านในการผลิ ตอยู่ดี ดงั นั้นงานฝ่ ายผลติ จงึ เป็ นทตี่ อ้ งการเป็ นอยา่ งมากในอตุ สาหกรรมนี้ สถานทที่ างานของฝ่ ายผลติ โดยสว่ นมากมกั อยูใ่ นโรงงาน มบี า้ งทจี่ ะตอ้ งออกไปวางแผนนอกสถานที่ ฝ่ ายผลติ มหี นา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของงานคอ่ นขา้ งหลากหลาย ผทู้ หี่ างานฝ่ ายผลติ หรอื ทางานนีจ้ งึ ตอ้ งมคี วามรหู ้ ลากหลายเพอื่ ใหส้ ามารถ ทางานไดค้ รบถว้ น ซง่ึ งานของฝ่ ายผลติ มดี งั ตอ่ ไปนี้ 1. วางแผนและพฒั นาผลติ ภณั ฑท์ จี่ ดั จาหน่าย ว่าจะผลติ อะไร เพอื่ ใคร ผลติ เมอื่ ใดและผลติ อยา่ งไร 2. ออกแบบกระบวนการผลติ เพอื่ ใหเ้ หมาะสมกบั รปู แบบของผลติ ภณั ฑแ์ ละความคมุ้ คา่ ของตน้ ทุนการผลติ 3. วางแผนการผลติ และดาเนินงาน โดยการจดั สรรทรพั ยากรการผลติ ใหเ้ หมาะสมและวางแผนการผลติ ใหอ้ อกม ามปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ 4. การจดั การสนิ คา้ คงเหลอื ฝ่ ายผลติ ตอ้ งดแู ลเรอื่ งการเกบ็ รกั ษาวตั ถดุ บิ และสนิ คา้ ใหม้ คี วามพรอ้ มในการ ใชง้ านอยูเ่ สมอ 5. การควบคมุ คณุ ภาพสนิ คา้ เพอื่ ใหส้ นิ คา้ ทผี่ ลติ แลว้ เสรจ็ ไดม้ าตรฐานตามทตี่ งั้ เอาไว ้ 6. ทาใหเ้ กดิ วสั ดเุ สยี นอ้ ยทสี่ ดุ เป็ นปกตทิ กี่ ารผลติ จะเกดิ วสั ดเุ สยี ทไี่ มส่ ามารถนามาใชใ้ นการผลติ ได ้ ฝ่ ายผลติ จงึ ตอ้ งวางแผนใหเ้ กดิ วสั ดเุ สยี เกดิ ขนึ้ นอ้ ยทสี่ ดุ ในการผลติ เพมิ่ ผลผลติ ในการผลติ ฝ่ ายผลติ ตอ้ งหาวธิ กี ารทคี่ มุ้ ค่าทสี่ ดุ ในการผลติ วา่ ทาเชน่ ไรจงึ ไดส้ นิ คา้ มาในขณะทตี่ น้ ทนุ ผลติ ถกู ทสี่ ดุ 7. การบารงุ รกั ษาสนิ คา้ ฝ่ ายผลติ ตอ้ งดแู ลเพอื่ ไมใ่ หส้ นิ คา้ เกดิ ความเสยี หายกอ่ นการจดั จาหน่าย

เพราะจะทาใหเ้ กดิ คา่ เสยี โอกาสจนทาใหต้ น้ ทุนในการผลติ เพมิ่ ขนึ้ และอาจสงู จนเกนิ จดุ คมุ้ ทนุ กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบที่ 13-14) เทคนิคการสอนแบบบรรยาย ขนั้ ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 7 ขนั้ เรา้ ความสนใจ ครเู ลา่ นิทานใหน้ ักเรยี นฟังเพอื่ เตรยี มความพรอ้ มในการเรยี น ขน้ั กจิ กรรม 1. ครนู าเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยการเลา่ นิทานเพอื่ เตรยี มความในการเรยี น 2. ครูอธบิ ายเนือ้ หาเกยี่ วกบั กจิ กรรมการปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ แรงจูงใจให้ นกั เรยี นฟั ง พรอ้ มทง้ั ยกตวั อยา่ งกจิ กรรมดงั กลา่ ว 3. ครใู หน้ ักเรยี นแตล่ ะคนออกแบบแผนทคี่ วามคดิ กจิ กรรมการปฏบิ ตั ใิ หเ้ กิ ดแรงจงู ใจตามความคดิ สรา้ งสรรคข์ องนักเรยี นเอง 4. ครสู มุ่ ใหน้ ักเรยี นเพอื่ ตอบคาถาม 5. ครสู รปุ เนือ้ หาสาคญั อกี ครง้ั หน่ึง และใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ ลงสมดุ ขน้ั สรุป

ครสู รปุ เนือ้ หาและประเด็นสาคญั อกี ครง้ั หลงั จากทนี่ ักเรยี นอธบิ ายจบ เพอื่ ทบทวนเนือ้ หา และใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ ลงสมดุ ขน้ั การวดั ผลและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื วดั ความรู ้ ความเขา้ ใจ วธิ กี ารวดั ตอบคาถาม เกณฑก์ ารวดั การตอบคาถามไดถ้ กู ตอ้ งและชดั เจน 90% ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ - กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน อนิ เตอรเ์น็ต ใบความรู ้ เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,254 8 ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ ุน),สนพ.สมาคม,2545

เนือ้ หา (คาบที่ 15-16) ผูบ้ รหิ าร คอื อะไร? ผบู้ รหิ าร คอื ผูน้ าทมี่ คี วามรูค้ วามสามารถหลาย ๆ ดา้ น และสามารถแบง่ งานใหต้ ามความสามารถของแต่ละบุคคลและใหค้ าแ นะนาการทางานไดอ้ ย่างเป็ นระบบ เพอื่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ คาวา่ บรหิ าร ตามพจนานุกรมหมายถงึ การแบ่งงานกนั ทาโดยทว่ั ถงึ การกระจายงาน ผทู้ ที่ าหนา้ ทดี่ าเนินการต่างๆ ผูท้ ที่ าการปกครอง บทบาทผูบ้ รหิ าร บทบาทสาคญั และหน้าทขี่ องผูบ้ รหิ าร 1. เป็ นผูน้ าในดา้ นความรูค้ วามสามารถในหลาย ๆ ดา้ น และมคี วามทนั สมยั

การเป็ นผนู้ าในการบรหิ ารตอ้ งมคี วามรคู ้ วามสามารถในหลาย ๆ ดา้ น และอปั เดตเทรนดต์ า่ ง ๆ ใหท้ นั ยุคทนั สมยั อย่เู สมอ ตดิ ตามขา่ วสารความรดู ้ า้ นตา่ งๆ เพอื่ นามาปรบั ใชใ้ นหน่วยงาน และเพอื่ ทจี่ ะสามารถสง่ั การบคุ ลากรในหน่วยงานไดแ้ ละสามารถสง่ั 2. เป็ นผูน้ าการสง่ั การ มบี ทบาทหรอื อทิ ธพิ ลตอ่ บคุ ลากรในหน่วยงาน เพราะตอ้ งไดร้ บั หนา้ ทสี่ าคญั ในการบรหิ ารงานใหป้ ระสบผลสาเรจ็ จงึ ตอ้ งเป็ นผนู้ าในการสง่ั การใหก้ บั ทุกฝ่ ายทกุ หน่วยงานสามารถดาเนินงานไปไดอ้ ยา่ ง มปี ระสทิ ธภิ าพ ผบู้ รหิ ารตอ้ งมอบงานใหก้ บั บุคลากรไดอ้ ยา่ งเหมาะสมดว้ ย 3. เป็ นผูจ้ ดั หาสงิ่ ต่าง ๆ ในการดาเนินงาน มบี ทบาทมากกว่าผูอ้ นื่ การเป็ นผบู้ รกิ ารกค็ อื การเป็ นผนู้ า การจะทาอะไรกต็ ามแตจ่ ะตอ้ งดาเนินงาน จดั หาสง่ิ ตา่ ง ๆ เชน่ จะตอ้ งหาทรพั ยากรจากแหลง่ ตา่ งๆ เพอื่ มาดาเนินงานในองคก์ ร เพอื่ ใหง้ านเดนิ ตอ่ ไปไดส้ าเรจ็ 4. เป็ นผูส้ รา้ งความสมั พนั ธอ์ นั ดใี นองคก์ ร เป็ นทยี่ อมรบั จากบุคลากรใหเ้ ป็ นผูน้ า สอนเรอื่ งตา่ ง ๆ ทบี่ คุ ลากรไมม่ คี วามเขา้ ใจในดา้ นนั้น ๆ ได ้ 11 สงิ่ ทผี่ ูบ้ รหิ ารควรมี 1. มภี าวะผูน้ า จงู ใจผูค้ นใหเ้ ต็มใจรว่ มมอื บรหิ ารผคู้ นไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. มเี มตตาธรรม ไมม่ อี คตหิ รอื รกั ต่อบุคคลใด ๆ ไมใ่ ชค้ วามเป็ นสว่ นตวั ในการตดั สนิ รจู ้ กั เสยี สละผลประโยชนส์ ว่ นตวั เพอื่ สว่ นรวม 3. ตอ้ งอยู่บนพนื้ ฐานของเหตุผลและความถูกตอ้ ง มคี วามชดั เจน มคี วามเป็ นธรรม และตดั สนิ ใจแกไ้ ขปญั หาจากพนื้ ฐาน เพอื่ ความถกู ตอ้ ง 4. เป็ นนกั คดิ นกั วเิ คราะห ์ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค ์ สามารถวเิ คราะหส์ ถานะการณต์ า่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 5. มีการสรา้ งวิสยั ทศั น์ มีมุมมองที่มองเห็นอนาคตว่าจะเป็ นอย่างไร จากความรทู ้ สี่ ะสมมา มมี ุมมองทดี่ ใี นทกุ ๆ ดา้ น 6. มี ทัก ษ ะห ล า ย ด้า น ต ้อ งมี ค ว า ม ส า ม า รถ ใน ก า รคิด วิเค ราะห ์ การตดั สนิ ใจ การจดั การทดี่ ี และรจู ้ กั บรหิ ารส่วน ต่าง ๆ

7. รอบรูแ้ ละมขี อ้ มูลทที่ นั สมยั ตอ้ งอปั เดตมคี วามรใู ้ หม่ ๆ เพอื่ ตดั สนิ ใจในการบรหิ าร หรอื ตดั สนิ ใจในหลาย ๆ ดา้ น 8. รูแ้ ละเขา้ ใจบทบาทหน้าที่ รจู ้ กั บทบาทหนา้ ทขี่ องตนเอง ดแู ลหนา้ ทขี่ องตนเองอย่างเหมาะสม ไม่กา้ วกา่ ยงานทตี่ นไมไ่ ดร้ บั ผดิ ชอบ 9. กลา้ ตดั สนิ ใจ กลา้ ทจี่ ะทาตดั สนิ ปัญหาไดอ้ ยา่ งมน่ั คง ไมล่ งั เลในความคดิ 10. มยี ทุ ธวธิ แี ละเทคนิค มที กั ษะและวธิ กี ารทเี่ หมาะสม รวดเรว็ และถกู ตอ้ งในการตดั สนิ ใจในแตล่ ะเรอื่ ง 11. มมี นุษยสมั พนั ธท์ ดี่ ี นักบรหิ ารมอื อาชพี จะตอ้ งเป็ นผูท้ มี่ มี นุษยสมั พนั ธท์ ดี่ กี ั บทุกคน ทงั้ เจา้ นาย ลกู นอ้ ง เพอื่ น และบุคคลทว่ั ไป 8 หลกั การของผูบ้ รหิ าร เพอื่ การทางานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ 1. การวางแผน คอื การรว่ มมอื ของบคุ ลากรกบั ผบู ้ รหิ ารในการวางแบบโครงสรา้ งในอนาคตเ พอื่ จะไดก้ ระทางานใหบ้ รรลเุ ป้ าหมายทตี่ ง้ั ไว ้ 2. การจดั ระบบ คอื การกาหนดหนา้ ทใี่ หก้ บั บุคลากรในการรบั ผดิ ชอบในการกระทาการน้ัน ๆ และขนึ้ ตรงกบั บุคคลใด และรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านกบั บคุ คลใด 3. การรบั บคุ ลากรเขา้ ทางาน คอื การจดั หรอื เพมิ่ จานวนบคุ ลากรทมี่ คี วามสามารถมารบั ตาแหน่งในการทา งารเพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพขององคก์ รใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ 4. การอานวยการ คอื การตดั สนิ ใจ การสง่ั การบคุ ลากร การสรา้ งแรงจงู ใจใหแ้ กบ่ คุ ลากร การตดิ ตอ่ สอ่ื สารกบั หน่วยงานอน่ื ๆ 5. การควบคมุ คอื การจดั การงานใหเ้ ป็ นไปตามแบบแผนทตี่ ง้ั ไวใ้ หไ้ มม่ แี นวโนม้ วา่ จะมกี ารเ บยี่ งเบนออกจากแบบแผนเดมิ ซงึ่ ทาใหไ้ ม่ประสบผลสาเรจ็ 6. การประสานงาน คอื การตดิ ต่อสอื่ สารระหวา่ งหน่วยงานและในหน่วยงานใหม้ คี วามสมั พนั ธท์ ดี่ ี ตอ่ กนั ในการรว่ มกนั ทางานทาใหง้ านน้ันมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ

7. การเสนอรายงาน คอื การรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงานใหไ้ ดท้ ราบการเคลอื่ นไหว 8. การจดั การงบประมาณ คอื การจดั สรรการใชง้ านทรพั ยากรใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ และจดั ระบบการใชง้ บใหเ้ หมาะสมกบั งานทตี่ ง้ั ไวอ้ ย่างเหมาะสม กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบที่ 15-16) เทคนิคการสอนแบบบรรยาย ขนั้ ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 8 ขนั้ เรา้ ความสนใจ ครเู ล่านิทานใหน้ ักเรยี นฟังเพอื่ เตรยี มความพรอ้ มในการเรยี น ขนั้ กจิ กรรม 1. ครนู าเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยการเลา่ นิทานเพอื่ เตรยี มความในการเรยี น 2. ครูอธบิ ายเนือ้ หาเกยี่ วกบั กจิ กรรมการปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ แรงจูงใจให้ นกั เรยี นฟั ง พรอ้ มทง้ั ยกตวั อย่างกจิ กรรมดงั กลา่ ว 3. ครใู หน้ ักเรยี นแตล่ ะคนออกแบบแผนทคี่ วามคดิ กจิ กรรมการปฏบิ ตั ใิ หเ้ กิ ดแรงจงู ใจตามความคดิ สรา้ งสรรคข์ องนักเรยี นเอง 4. ครสู มุ่ ใหน้ ักเรยี นเพอื่ ตอบคาถาม

5. ครสู รปุ เนือ้ หาสาคญั อกี ครงั้ หนึ่ง และใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ ลงสมดุ ขน้ั สรุป ครสู รปุ เนือ้ หาและประเด็นสาคญั อกี ครงั้ หลงั จากทนี่ ักเรยี นอธบิ ายจบ เพอื่ ทบทวนเนือ้ หา และใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ ลงสมดุ ขน้ั การวดั ผลและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื วดั ความรู ้ ความเขา้ ใจ วธิ กี ารวดั ตอบคาถาม เกณฑก์ ารวดั การตอบคาถามไดถ้ กู ตอ้ งและชดั เจน 90% ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ - กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน อนิ เตอรเ์น็ต ใบความรู ้ เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,254 8 ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ ุน),สนพ.สมาคม,2545

วทิ ยาลยั เทคโนโลยหี าดใหญอ่ านวยวทิ ย ์ สปั ดาหท์ ี่ 5 คาบที่ 17-20 ท-ป-น 2-2-3 เวลา 4 คาบ 220 นาที รหสั วชิ า30215-2102 วชิ าการจดั การการผลติ หน่วยที่ 2 ชอื่ หน่วยการวางแผนกาลงั การผลติ รายการสอน ความหมายของกาลงั การผลติ การวางแผนเพอื่ ผลติ สนิ คา้

สาระสาคญั กาลงั การผลติ (Capacity) คอื อะไร สาคญั อยา่ งไรกบั ธุรกจิ ปัจจยั ความสาเรจ็ ประการหนึ่งของการวางแผนและควบคุมการผลติ ทุกวนั นี้ คื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ลั ง ก า ร ผ ลิ ต ก า ลั ง ก า ร ผ ลิ ต หากปราศจากการวางแผนกาลงั การผลิตที่ดีพอ ก็ยากที่จะปฏิบตั ิงานให ้ สาเร็จลุล่วงตามแผนการผลิตที่วางไว ้ เป้ าหมายของธุรกิจโดยท่ัวไปคือ ก า ร ท า ก า ไ ร สู ง สุ ด จ า ก ก า ร ข า ย โ ด ย ใ ช ้ท รัพ ย า ก ร น้ อ ย ที่ สุ ด ผลิตตามความตอ้ งการ ไม่ผลิตมากไปหรอื น้อยเกินไป ขณะเดียวกนั ก็ สามารถตอบสนองความตอ้ งการของตลาดไดก้ ารดาเนินการผลติ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลจาเป็ นตอ้ งมกี ารเตรยี มงานดา้ นการวางแผนการผลติ แล ะ บ ริห า ร ก า ลั ง ก า ร ผ ลิ ต (ก า ร ค ว บ คุ ม ) ที่ ดี มี ร ะ บ บ ก า ร ค ว บ คุ ม และแกไ้ ขปัญหาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค ์ นักเรยี นมกี ารพฒั นาดา้ นสตปิ ัญญา ผเู้ รยี นรจู ้ กั คดิ วเิ คราะหแ์ ละแกป้ ัญหาได ้ สมรรถนะประจาหน่วย 21 อธบิ ายความหมายของกาลงั การผลติ 22 ประยุกตใ์ ชก้ ลยทุ ธก์ ารวางแผนกาลงั การผลติ 23 รจู ้ กั ดารงตนอยโู่ ดยใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งฯ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 211 อธบิ ายความหมายของกาลงั การผลติ ไดถ้ กู ตอ้ ง 212 อธบิ ายการวางแผนเพอื่ ผลติ สนิ คา้ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน 231 ปฏบิ ตั งิ านตามทไี่ ดร้ บั มอบหมายสาเรจ็ ตามกาหนดโดยคานึงถงึ ความปลอดภั ยของตนเองและผอู้ น่ื

เนือ้ หา (คาบที่ 17-18) กาลงั การผลติ (Capacity) คอื อะไร สาคญั อย่างไรกบั ธรุ กจิ ปัจจยั ความสาเรจ็ ประการหนึ่งของการวางแผนและควบคมุ การผลติ ทุกวั นนี้ คอื การวางแผน กาลงั การผลติ กาลงั การผลติ หากปราศจากการวางแผนกาลงั การผลติ ทดี่ พี อ กย็ ากทจี่ ะปฏบิ ตั งิ านให ้ สาเรจ็ ลลุ ่วงตามแผนการผลติ ทวี่ างไว ้ เป้ าหมายของธรุ กจิ โดยทว่ั ไปคอื การทากาไรสงู สดุ จากการขาย โดยใชท้ รพั ยากรนอ้ ยทสี่ ดุ ผลติ ตามความตอ้ งการ ไมผ่ ลติ มากไปหรอื นอ้ ยเกนิ ไป ขณะเดยี วกนั ก็ สามารถตอบสนองความตอ้ งการของตลาดไดก้ ารดาเนินการผลติ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลจาเป็ นตอ้ งมกี ารเตรยี มงานดา้ นการวางแผนการผลติ แล ะบรหิ ารกาลงั การผลติ (การควบคมุ ) ทดี่ มี รี ะบบการควบคมุ และแกไ้ ขปัญหาไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เพราะแผนทวี่ างไวจ้ าเป็ นจะตอ้ งนาไปปฏบิ ตั อิ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพดว้ ย ดงั นั้นจงึ จาเป็ นตอ้ งมกี ารควบคมุ เพอื่ ใหท้ กุ อย่างเป็ นไปตามแผนทไี่ ดว้ างไวก้ ารผลติ ไดใ้ นปรมิ าณทลี่ ูกคา้ ตอ้ งการ เป็ นวตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ทสี่ าคญั อย่ างยงิ่ ประการหน่ึงของการบรหิ ารการผลติ ซงึ่ การทจี่ ะสามารถผลติ ไดต้ ามปรมิ าณทกี่ าหนดไวต้ อ้ งอาศยั ทรพั ยากรของอ งคก์ รหลายอยา่ ง อนั ไดแ้ ก่ เงนิ ทุน วตั ถดุ บิ แรงงาน ตลอดจนเครอื่ งจกั รอปุ กรณต์ า่ ง ๆ แตเ่ น่ืองจากทรพั ยากรขององคก์ ารมอี ยอู่ ย่างจากดั จงึ ตอ้ งวางแผนใชใ้ หเ้ กดิ ป ระโยชนส์ งู สดุ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การลงทุนในสง่ิ อานวยความสะดวก เครอื่ งจกั รอปุ กรณต์ ลอดจนโรงงาน ซง่ึ เป็ นสถานทที่ ใี่ ชท้ าการผลติ ตอ้ งอาศยั เงนิ ลงทนุ จานวนมากและใชเ้ วลาในการคนื ทนุ นาน

ดงั น้ัน การวางแผนและจดั การดา้ นกาลงั การผลติ ซง่ึ เป็ นการวาง แผนและดาเนินการเกยี่ ว กบั ขนาดของโรงงานหรอื สถานทที่ าการผลติ จานวนเครอื่ งจกั รอปุ กรณต์ ลอดจานวนคนงานที่ เหมาะสม จงึ เป็ นภาระงานสาคญั ของการบรหิ ารการผลติ โดยตอ้ งคานึงถงึ ผลลพั ธต์ อ่ อง คก์ ารในระยะสนั้ ควบค่กู บั ระยะยาว และใชป้ ัจจยั เชงิ ปรมิ าณเป็ นหลกั ในการพจิ ารณาประกอบกบั ปัจจยั เชงิ คณุ ภา พใหอ้ งคก์ รมกี าลงั การผลติ ทเี่ หมาะสม ไม่เกดิ ปัญหาการผลติ ไดน้ อ้ ยไม่เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของ ลกู คา้ เพราะกาลงั การผลติ นอ้ ยเกนิ ไป และไม่เกดิ ปัญหาเครอื่ งจกั รมากเกนิ ไปจนกลายเป็ นความ สญู เปลา่ เพราะกาลงั การผลติ มากเกนิ ไป คาจากดั ความทคี่ วรรู ้ 1. กาลงั การผลติ (Capacity) คอื ขดี ความสามารถของ คนงาน เครอื่ งจกั ร หน่วยผลติ แผน หรอื องคก์ รในการผลติ ผลผลติ ต่อหน่วยเวลา(เป็ นปรมิ าณของงานทสี่ ามารถ ทาไดใ้ นชว่ งเวลาใดเวลาหน่ึงที่ กาหนดไว)้ กาลงั การผลติ เป็ นอตั ราการทางานไมใ่ ชป่ รมิ าณของงานที่ ทาได ้ 2. การบรหิ ารกาลงั การผลติ (Capacity Management) คอื หนา้ ทใี่ นการกาหนดวดั วางแผน และควบคมุ (เฝ้ าตดิ ตามและปรบั แกไ้ ข) พกิ ดั หรอื ระดบั ของกาลงั การผลติ เพอื่ ใหส้ ามารถดาเนินการ ตามแผนหรอื ตารางการผลติ ไดท้ งั้ หมด กล่าวโดยสรปุ การบรหิ ารกาลงั การผลติ ประกอบดว้ ยหนา้ ที่ 2 ประการ คอื การวางแผนกาลงั การผลติ และการควบคมุ กาลงั การผลติ และเกยี่ วขอ้ งกบั กาลงั การผลติ 2 ประเภท คอื กาลงั การผลติ ทตี่ อ้ งการ (Capacity Required)

และกาลงั การผลติ ทนี่ าไปใชไ้ ด ้ (Capacity Available) 3. การวางแผนกาลงั การผลติ (Capacity Planning) เป็ น กระบวนการในการจดั หา ทรพั ยากรการผลติ ทจี่ าเป็ นตอ่ การทาใหบ้ รรลุ ตามแผนการผลติ (Priority Plan) ทไี่ ดว้ างไวส้ าหรบั ชว่ งระยะเวลาหนึ่งใน อนาคตอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมถงึ วธิ กี ารทสี่ ามารถทาให ้ กาลงั การผลติ มอี ยู่พรอ้ ม ซงึ่ ขนึ้ อยูก่ บั เครอื่ งจกั รและ/หรอื กาลงั คน โดยอาจพจิ ารณา ถงึ กาลงั การผลติ ในชว่ งเวลา ปกติ ลว่ งเวลา จานวนกะการทางานรวม ทง้ั จากหน่วยผลติ อน่ื ๆ ในโรงงาน และจากแหลง่ ภายนอก (Outsources) แผนการผลติ จะไมส่ ามารถนาไปดาเนินการได ้ หากปราศจากกาลงั การผลติ ทเี่ พยี งพอ ของหน่วยงานในการตอบสนองความตอ้ งการ ดงั น้ัน การวางแผนกาลงั การผลติ จงึ เสมอื นเป็ นการเชอื่ มแผนการผลติ กบั ทรพั ยากรการผลติ ใหม้ คี วามสอดคลอ้ งกนั 4. การควบคุมกาลงั การผลติ (Capacity Control) เป็ นกระบวนการในการเฝ้ าตดิ ตาม ผลผลติ จากการผลติ (Production Output) หลงั จากนั้นเปรยี บเทยี บระหวา่ งระดบั ผลผลติ ตามแผน กาลงั การผลติ และ ระดบั ผลผลติ ทที่ าไดจ้ รงิ เพอื่ ชใี้ หเ้ ห็นถงึ ความแปรปรวนไปจากแผน (ทสี่ งู หรอื ตา่ กวา่ แผน) และดาเนินการจดั หามาตรการแกไ้ ขตามความจาเป็ น เพอื่ ใหห้ น่วยงานสามารถตอบ สนองความตอ้ งการไดอ้ ยา่ งประหยดั ซงึ่ โดยท่วั ไปอาจหมายถงึ การปรบั กาลงั การผลติ หรอื อาจปรบั แผนการผลติ 5. กาลงั การผลติ ทนี่ าไปใชไ้ ด้ (Capacity Available) หมายถงึ ขดี ความสามารถของระบบ หรอื ทรพั ยากรในการผลติ ผลผลติ ออกมาไดต้ อ่ ชว่ งเวลา กาลงั การผลติ ทนี่ าไปใชไ้ ดจ้ ะขนึ้ อยกู่ บั รายละเอยี ด ขอ้ กาหนดของผลติ ภณั ฑ ์ (ความยาก-งา่ ย) สว่ นผสมของผลติ ภณั ฑ ์ โรงงาน และจานวน เครอื่ งจกั ร รวมทงั้ ความอตุ สาหพยายามในการ ทางาน (Work Effort) 6. ความตอ้ งการกาลงั การผลติ หรอื ภาระงาน (Capacity Required or Load) หมายถงึ กาลงั การผลติ หรอื เวลาของระบบ หรอื ทรพั ยากรทจี่ าเป็ นตอ่ การผลติ เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลผลติ ตามทตี่ อ้ ง การใน ชว่ งเวลาหน่ึงทกี่ าหนดให ้ เป็ นความตอ้ งการกาลงั การผลติ ทเี่ กดิ จาก ปรมิ าณงานทกี่ าหนด

ใหก้ บั หน่วยผลติ หน่วยใดหน่วยหน่ึงในชว่ งเวลาใดเวลาหน่ึงจากใบสง่ั ทไี่ ดส้ ง่ั ไ ปแลว้ และใบสง่ั งาน ตามแผน กาลงั การผลติ ทตี่ อ้ งการในหน่วยผลติ หน่ึงสามารถคานวณไดจ้ ากผลรวมของเวลา ที่ ตอ้ งการจากใบสง่ั ตามแผนทง้ั หมดและใบสง่ั จรงิ ทจี่ ะตอ้ งทาการผลติ บนหน่วยผลติ ดงั กล่าวในแต่ ละชว่ งเวลา 7. เวลาทใี่ ชท้ างาน (Available Time) คอื จานวนชว่ั โมง ของหน่วยผลติ ทสี่ ามารถนามาใช ้ ในการทางาน ซง่ึ ขนึ้ อย่กู บั จานวน เครอื่ งจกั ร จานวนคนงาน และชว่ั โมงการปฏบิ ตั งิ านในแตล่ ะกะหรอื แตล่ ะวนั แมว้ ่าองคก์ รจะมกี าลงั การผลติ เป็ นอตั ราสงู สดุ ทจี่ ะสามารถผลติ ได ้ แตใ่ นการปฏบิ ตั งิ านจรงิ อตั ราการผลติ มกั จะต่ากวา่ กาลงั การผลติ เพราะจะตอ้ งคานึงถงึ การหยุดพกั หรอื การบารงุ รกั ษา เครอื่ งจกั รอปุ กรณ์ เพอื่ ถนอมไวใ้ ชง้ านไดใ้ นระยะยาวมากกวา่ การเล็งผลในระยะสนั้ เท่านั้น การใชก้ าลงั การผลติ อยา่ งเต็มทมี่ กั จะเกดิ ตน้ ทุนการทางานลว่ งเวลาในกะพเิ ศ ษหรอื การลดการบารงุ รกั ษาอปุ กรณต์ ามแผนทกี่ าหนดไวป้ ระจาหรอื การใชผ้ ูร้ บั สญั ญาชว่ ง ซง่ึ ลว้ นแลว้ แตท่ าใหต้ น้ ทนุ การผลติ สงู ขนึ้ ทง้ั สนิ้ ดงั น้ันกาลงั การผลติ ทเี่ ต็มทจี่ ะถกู ใชจ้ รงิ ก็ต่อเมอื่ มคี วามจาเป็ นและไมเ่ กดิ ขนึ้ บอ่ ยนักภายในชว่ งระยะเวลาสน้ั ๆ เทา่ นั้น

กจิ กรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรม (คาบท1ี่ 7-18) เทคนิคการสอนปฏบิ ตั ิ (แบบกลมุ่ ) ขนั้ ตอนการสอน กจิ กรรมที่ 9 ขนั้ เรา้ ความสนใจ กล่มุ ใดมเี ทคนิคการนาเสนอเนือ้ หาไดเ้ ป็ นทชี่ น่ื ชอบของเพอื่ นรบั คะแน นโบนัส 5 คะแนน ขน้ั กจิ กรรม 1. ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู ้ 2. ครูใหน้ กั เรยี นแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 3-4 คน ชว่ ยกนั ระดมความคดิ ใหค้ วามรว่ มมอื ศกึ ษาความแตกตา่ งของกาลงั การผลติ กบั บรหิ ารกาลงั การผลิ ต 3. ใหน้ ักเรยี นสรปุ ความรทู ้ ตี่ นเองไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ มา 4. แตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น 5. ครแู ละเพอื่ น ๆ ในชนั้ เรยี นชว่ ยกนั วจิ ารณแ์ ละใหข้ อ้ เสนอแนะเมอื่ แตล่ ะกลมุ่ นาเสนอจบ 6. ครสู รปุ เนือ้ หาและประเด็นสาคญั จากการนาเสนอของนักเรยี น และอธบิ ายเพมิ่ เตมิ อกี ครงั้ หน่ึง เพอื่ ความเขา้ ใจยงิ่ ขนึ้

ขน้ั สรุป ครสู รปุ ประเด็นสาคญั จากการนาเสนอของนักเรยี นและอธบิ ายเพมิ่ เตมิ อี กครงั้ เพอื่ ความเขา้ ใจยงิ่ ขนึ้ การวดั ผลและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื แบบบนั ทกึ การนาเสนอ วธิ วี ดั สงั เกตการนาเสนอ เกณฑก์ ารประเมนิ นาเสนอไดถ้ กู ตอ้ งตรงประเด็น 80% ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าอนื่ - กจิ กรรมเสนอแนะ - สอื่ การสอน อนิ เตอรเ์น็ต ใบความรู ้ เอกสารอา้ งองิ สธุ ี ขวญั เงนิ .การจดั การการผลติ และการปฏบิ ตั กิ าร.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยูเคชน่ั ,254 8 ณัฏฐพนั ธ ์ เขจรนันทน.์ การจดั การ การผลติ และการดาเนินงาน.กรงุ เทพฯ:ซเี อ็ดยเู คชน่ั ,2545 ชมุ พล ศฤงคารศริ .ิ การวางแผนและควบคมุ การผลติ .กรงุ เทพฯ:ส่งเสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ ่ ุน),สนพ.สมาคม,2545


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook