การหาคาตอบเบ้อื งตน้ ดว้ ยวิธีโวเกล วธิ หี าคาตอบเบอ้ื งตน้ ด้วยวธิ ีของโวเกล (Vogel Algorithm Method) มีขนั้ ตอนดงั นี้ ขั้นที่ 1 พิจารณาหาคา่ ขนส่งตา่ สุด ในแตล่ ะแถว (Row), สดมภ์ (Column) จากนน้ั พิจารณา ค่าขนส่งที่สูงข้ึนถัดมา แล้วนาค่าผลต่างท้ังในแนวนอนและแนวต้ัง สาหรับกรณีที่มีค่าขนส่งต่าสุด เทา่ กันสองคา่ ให้พิจารณานาค่าขนส่งทต่ี ่าสุดมาพิจารณาหาผลต่างด้วย ขน้ั ที่ 2 พจิ ารณาว่าผลต่างท่เี กิดข้นึ แนวนอนและแนวตั้งใดมีคา่ สงู สดุ ใหพ้ ิจารณาเคลอ่ื นยา้ ย ไปยัง แนวนอนและแนวตัง้ ที่มคี ่าขนส่งตา่ สดุ ขัน้ ที่ 3 พจิ ารณาดาเนินการในข้ันที่ 1, 2 จนกวา่ จะครบตามเงื่อนไขอุปสงค์และอปุ ทานผลท่ี ไดร้ บั จะไดผ้ ลรวมของต้นทนุ การขนสง่ ทีต่ ่ากวา่ วธิ ีมมุ พายพั ตวั อยา่ งท่ี 4.4 จากตวั อยา่ งที่ 4.3 จงหาคาตอบเบอื้ งตน้ ดว้ ยวิธีของโวเกล โรงงาน ลูกคา้ 1 2 3 ai A 5 4 3 B 3 4 50 5 60 4 35 C 70 bj 50 55 75 180=180 ขัน้ ที่ 1 พิจารณาผลตา่ งระหวา่ งต้นทนุ ขนส่งรองลงมาและต้นทุนขนส่งทต่ี า่ ท่สี ดุ แถว A ผลลัพธ์ = 4-3 = 1 สดมภ์ 1 ผลลัพธ์ = 4-3 = 1 แถว B ผลลัพธ์ = 4-3 = 1 สดมภ์ 2 ผลลพั ธ์ = 4-3 = 1 แถว C ผลลพั ธ์ = 4-3 = 1 สดมภ์ 3 ผลลัพธ์ = 5-3 = 2 การจดั การการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 79
ขน้ั ที่ 2 สดมภ์ 3 มีผลต่างมากทีส่ ดุ พจิ ารณาตน้ ทนุ ตา่ ทสี่ ุดจะอยู่ทชี่ ่อง A,3 เป็นจดุ เริม่ ต้นใน การคานวณ โดยกาหนดปริมาณจากโรงงาน A มายงั ลกู คา้ 3 จานวน 50 หนว่ ย ข้ันที่ 3 เมื่อตัดแถว A ออกเนื่องจากจัดส่งไปแล้ว พิจารณาผลต่างระหว่างต้นทุนขนส่ง รองลงมาและต้นทุนขนส่งท่ีตา่ ท่ีสดุ จะเห็นว่า แถว B, C และ สดมภ์ 1, 2 มีค่าสูงสุดเลอื กจัดสง่ ช่อง ใดก่อนก็ได้ เลือกจัดส่งไปยังช่อง B,1 ก่อนจานวน 50 หน่วย พิจารณาต้นทุนต่าสุดท่ีเหลือ คือช่อง C,2 จดั สง่ ไปจานวน 55 หน่วย เหลือกาลังการผลติ จากโรงงาน B และ C จดั ส่งไปยังสดมภ์ 3 จนครบ จานวนดังภาพ โรงงาน ลูกคา้ 1 2 3 ai A 5 4 3 50 B 3 4 50 50 60 C 3 5 4 55 10 70 bj 180=180 50 55 5 15 75 ภาพท่ี 4.6 แสดงการหาคาตอบเบื้องต้นวธิ โี วเกล ตารางท่ี 4.2 แสดงต้นทุนการขนสง่ รวมวธิ โี วเกล จาก ไป ปรมิ าณ ต้นทุนตอ่ หนว่ ย ตน้ ทุนขนส่งรวม (ตนั ) (บาทต่อตนั ) (บาท) โรงงาน A ลกู ค้า 3 50 3 150 โรงงาน B ลูกค้า 1 50 3 150 โรงงาน B ลกู คา้ 3 10 5 50 โรงงาน C ลูกค้า 2 55 3 165 โรงงาน C ลูกค้า 3 15 5 75 รวม 590 80 บทท่ี 4 | ตัวแบบขนสง่
การพฒั นาผลลพั ธด์ ว้ ยวิธีปรบั ปรงุ การกระจาย การพัฒนาผลลัพธ์ด้วยวิธีปรับปรุงการกระจาย (Modified Distribution Method) เพ่ือ แก้ปัญหาตัวแบบขนสง่ ท่ซี ับซ้อนเพ่อื ให้ตน้ ทุนขนสง่ รวมต่าท่ีสุดมีวิธีการดังน้ี (สุทธิมา ชานาญเวช, 2555: 178) ข้นั ที่ 1 ตรวจสอบจานวนครงั้ ที่จดั สรร = m+n-1 หากมคี ่าไม่เทา่ กันแสดงว่าเกดิ สถานะซอ้ น จะตอ้ งดาเนินการปรับปรงุ ดว้ ยวธิ อี น่ื ข้ันท่ี 2 กาหนด Ri เป็นตัวเลขแถวนอนที่ i และ Kj เป็นตัวเลขแถวต้ังที่ j โดยที่ Cij = Ri + K j เฉพาะช่องที่มีการจัดสรร กาหนดให้ R1 = 0 ขั้นท่ี 3 หาค่าดัชนีการปรับปรุง (Improvement Index: Eij) ช่องว่างที่ไม่มีการจัดสรรจาก Eij = Cij - Ri - K j โดยท่ี Eij 0 ทกุ คา่ น่นั คือคาตอบทีไ่ ด้มคี วามเหมาะสมแลว้ Eij 0 ให้เลือกค่าท่ีต่าที่สุดหรือเป็นลบมากท่ีสุดเพื่อปรับแก้ช่องว่างท่ีไม่มีการ จัดสรรน้นั ทาการปรบั ปรุงจน Eij 0 ทกุ ค่า ตวั อยา่ งท่ี 4.5 จากตัวอยา่ งที่ 4.4 จงพัฒนาผลลพั ธด์ ว้ ยวธิ ปี รับปรุงการกระจาย (MODI) โรงงาน ลูกค้า 1 2 3 ai A 5 4 3 50 3 4 50 B 60 3 5 50 55 10 70 4 180=180 55 5 C 15 bj 50 75 การจดั การการจดั สง่ ทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 81
1) จานวนครง้ั ท่ีจัดสรร = 5 = 3+3-1 สามารถใช้วิธี MODI ปรับปรงุ ผลลพั ธ์ได้ 2) ช่อง (A,3) C13 = R1 + K3 ชอ่ ง (B,3) 3 = 0 + K3 ---> K3 = 3 C23 = R2 + K3 5 = R2 + 3 ---> R2 = 2 ชอ่ ง (B,1) C21 = R2 + K1 3 = 2 + K1 ---> K1 = 1 ชอ่ ง (C,3) C33 = R3 + K3 ชอ่ ง (C,2) 5 = R3 + 3 ---> R3 = 2 C32 = R3 + K2 3 = 2 + K2 ---> K2 = 1 นาคา่ R และ K ลงในตัวแบบขนสง่ ได้ดงั ภาพ โรงงาน ลกู ค้า 1 2 3 ai R1=0 A 5 4 R2 =2 3 50 R3 =2 50 3 45 60 B 10 50 C 4 35 70 55 15 bj 50 55 75 180=180 K1=1 K2=1 K3=3 ภาพท่ี 4.7 แสดงการพฒั นาผลลพั ธ์ดว้ ยวิธปี รับปรุงการกระจาย (MODI) 82 บทที่ 4 | ตัวแบบขนส่ง
3) หาคา่ ดชั นีการปรบั ปรงุ (Improvement Index: Eij) ช่องวา่ งทไ่ี ม่มีการจัดสรร ชอ่ ง (A,1) E11 = C11 - R1 - K1 E11 = 5 - 0 - 1 = 4 ช่อง (A,2) E12 = C12 - R1 - K2 E12 = 4 - 0 - 1 = 3 ชอ่ ง (B,2) E22 = C22 - R2 - K2 ช่อง (C,1) E22 = 4 - 2 - 1 = 1 E31 = C31 - R3 - K1 E31 = 4 - 2 - 1 = 1 Eij 0 ทกุ ค่า นั่นคือคาตอบทีไ่ ดม้ ีความเหมาะสมแล้ว การพฒั นาผลลพั ธ์เมื่อเกดิ สภาพซอ้ นสถานะ สภาพซ้อนสถานะเกิดจากจานวนครัง้ ที่จัดสรรไมเ่ ทา่ กบั m+n-1 ทาให้ไมส่ ามารถคานวณหา คา่ R และ K ได้ ดังนนั้ จะตอ้ งกาหนด Xij ตัวใดตัวหนึง่ ให้มีปริมาณขนสง่ เปน็ 0 โดยจะต้องกาหนดให้ สามารถแกส้ มการไดด้ งั ตวั อย่าง ตัวอย่างท่ี 4.6 จากตัวอย่างท่ี 4.3 จงพัฒนาผลลพั ธ์ด้วยวิธีปรบั ปรงุ การกระจาย (MODI) โรงงาน ลูกคา้ 1 2 3 ai A 5 4 3 50 B 50 4 5 3 55 5 60 C 4 3 5 70 bj 70 180=180 50 55 75 การจัดการการจดั สง่ ทางธุรกจิ | Business Logistics Management 83
1) จานวนคร้ังทจ่ี ัดสรร = 4 3 3 1 จะต้องกาหนดปริมาณขนส่งชอ่ ง A,2 เป็น 0 เพือ่ ใหส้ ามารถแก้สมการได้ดังภาพ โรงงาน ลูกค้า 1 2 3 ai A 5 4 3 50 0 50 3 45 B 60 55 5 4 35 C 70 70 bj 50 55 75 180=180 ภาพที่ 4.8 แสดงการกาหนดปรมิ าณขนส่งเม่อื เกดิ สภาพซ้อนสถานะ 2) ชอ่ ง (A,1) C11 = R1 + K1 ช่อง (A,2) 5 = 0 + K1 ---> K1 = 5 ชอ่ ง (B,2) C12 = R1 + K2 ชอ่ ง (B,3) ช่อง (C,3) 4 = 0 + K2 ---> K2 = 4 C22 = R2 + K2 4 = R2 + 4 ---> R2 = 0 C23 = R2 + K3 5 = 0 + K3 ---> K3 = 5 C33 = R3 + K3 5 = R3 + 5 ---> R3 = 0 คา่ R และ K แสดงดงั ภาพท่ี 4.9 84 บทท่ี 4 | ตวั แบบขนส่ง
โรงงาน ลกู คา้ 1 2 3 ai A 5 4 3 50 R1=0 B 50 0 5 60 R2=0 3 4 5 C 70 R3=0 4 55 5 bj 3 70 180=180 50 75 55 K1=5 K 3 =5 K 2 =4 ภาพที่ 4.9 แสดงการพฒั นาผลลพั ธ์เมอื่ เกดิ สภาพซอ้ นสถานะ 3) หาค่าดัชนกี ารปรบั ปรงุ (Improvement Index: Eij) ช่องวา่ งทีไ่ มม่ กี ารจัดสรร ชอ่ ง (A,3) E13 = C13 - R1 - K3 E11 = 3 - 0 - 5 = -2 ชอ่ ง (B,1) E21 = C21 - R2 - K1 E21 = 3 - 0 - 5 = -2 ช่อง (C,1) E31 = C31 - R3 - K1 E31 = 4 - 0 - 5 = -1 ช่อง (C,2) E32 = C32 - R3 - K2 E32 = 3 - 0 - 4 = -1 4) จะเหน็ วา่ ชอ่ ง A,3 และ B,1 มีคา่ ลบมากทสี่ ุดท้ังคใู่ นการปรับแกจ้ ะส่งผลต่อกนั ดงั น้ันทา การปรับแก้ช่อง B,1 ไดด้ ังภาพ การจัดการการจดั สง่ ทางธุรกิจ | Business Logistics Management 85
โรงงาน ลกู ค้า 1 23 ai A 5 4 3 50 B 50 60 C 3 45 70 bj 50 5 5 180=180 4 35 70 50 55 75 ภาพท่ี 4.10 แสดงการพฒั นาผลลพั ธ์ช่อง B,1 5) ปรบั ปรุงผลลัพธท์ ่ีช่อง A,3 ซึง่ จะส่งผลต่อ C,3 เพอื่ ให้ต้นทนุ รวมต่าทีส่ ดุ ดังภาพท่ี 4.11 โรงงาน ลกู คา้ 1 23 ai A 5 43 50 50 B 3 45 60 C 50 10 4 35 70 bj 45 25 180=180 50 55 75 ภาพท่ี 4.11 แสดงการพฒั นาผลลัพธ์ช่อง A,3 86 บทที่ 4 | ตวั แบบขนส่ง
6) ทาการหาคา่ R และ K ครงั้ ท่ี 2 ช่อง (A,3) C13 = R1 + K3 3 = 0 + K3 ---> K3 = 3 ชอ่ ง (C,3) C33 = R3 + K3 ช่อง (C,2) 5 = R3 + 3 ---> R3 = 2 C32 = R3 + K2 ช่อง (B,2) 3 = 2 + K2 ---> K2 = 1 C22 = R2 + K2 4 = R2 + 1 ---> R2 = 3 ช่อง (B,1) C21 = R2 + K1 3 = 3 + K1 ---> K1 = 0 โรงงาน ลูกคา้ 1 2 3 ai A 5 4 3 50 R1=0 B 3 4 50 60 R2=3 50 10 5 C 70 R3=2 4 3 5 bj 45 25 180=180 50 55 75 K1=0 K 2 =1 K 3 =3 ภาพที่ 4.12 แสดงการพิจารณาเพอ่ื พฒั นาผลลพั ธ์ครงั้ ที่ 2 การจัดการการจดั ส่งทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 87
7) หาคา่ ดชั นีการปรบั ปรุง (Improvement Index: Eij) ช่องวา่ งทไ่ี มม่ ีการจัดสรร ครัง้ ท่ี 2 ชอ่ ง (A,1) E11 = C11 - R1 - K1 E11 = 5 - 0 - 0 = 5 ชอ่ ง (A,2) E12 = C12 - R1 - K2 E21 = 4 - 0 - 1 = 3 ช่อง (B,3) E23 = C23 - R2 - K3 ชอ่ ง (C,1) E23 = 5 - 3 - 3 = -1 E31 = C31 - R3 - K1 E31 = 4 - 2 - 0 = 2 จะเหน็ วา่ ชอ่ ง B,3 ยังมีคา่ เป็นลบ ดังนน้ั ทาการปรับปรงุ ผลลพั ธ์ทช่ี ่อง B,3 ได้ดังภาพ โรงงาน ลูกคา้ 1 2 3 ai A 5 4 3 50 B 3 4 50 50 5 60 10 70 180=180 4 35 C 55 15 bj 50 55 75 ภาพท่ี 4.13 แสดงการพฒั นาผลลพั ธ์ครง้ั ท่ี 2 ช่อง B,3 88 บทที่ 4 | ตัวแบบขนสง่
8) ทาการหาค่า R และ K ครัง้ ท่ี 3 ช่อง (A,3) C13 = R1 + K3 3 = 0 + K3 ---> K3 = 3 ชอ่ ง (C,3) C33 = R3 + K3 ชอ่ ง (C,2) 5 = R3 + 3 ---> R3 = 2 C32 = R3 + K2 ช่อง (B,3) 3 = 2 + K2 ---> K2 = 1 C23 = R2 + K3 5 = R2 + 3 ---> R2 = 2 ชอ่ ง (B,1) C21 = R2 + K1 3 = 2 + K1 ---> K1 = 1 โรงงาน ลูกคา้ 1 2 3 ai A 5 4 3 50 R1=0 B 3 4 50 60 R2=2 50 5 C 3 70 R3=2 4 55 10 bj 5 180=180 50 55 15 K1=1 K 2 =1 75 K 3 =3 ภาพท่ี 4.14 แสดงการพจิ ารณาเพอ่ื พฒั นาผลลพั ธ์ครงั้ ท่ี 3 การจัดการการจดั ส่งทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 89
9) หาคา่ ดัชนกี ารปรบั ปรงุ (Improvement Index: Eij) ช่องว่างที่ไม่มกี ารจดั สรร ครงั้ ที่ 3 ชอ่ ง (A,1) E11 = C11 - R1 - K1 E11 = 5 - 0 - 0 = 5 ชอ่ ง (A,2) E12 = C12 - R1 - K2 E21 = 4 - 0 - 1 = 3 ช่อง (B,2) E22 = C22 - R2 - K2 ช่อง (C,1) E31 = 4 - 2 - 1 = 1 E31 = C31 - R3 - K1 E31 = 4 - 2 - 1 = 1 Eij 0 ทกุ คา่ นนั่ คอื คาตอบทไ่ี ด้มคี วามเหมาะสมแล้ว ซึง่ ได้คาตอบเดยี วกนั กบั การ หาคาตอบเบื้องต้นวิธีโวเกล จะเห็นว่าวิธีของโวเกลอาจจะยุ่งยากกว่าวิธีมุมพายัพ แต่การพัฒนา ผลลัพธ์เพอื่ ใหไ้ ด้ตน้ ทนุ ตา่ ทส่ี ดุ ทาไดง้ ่ายกว่าวธิ มี ุมพายัพ (คานาย อภิปรัชญาสกลุ , 2550: 134) บทสรปุ รูปแบบปัญหาการขนส่ง มีองค์ประกอบท่ีต้องนามาพิจารณา 3 ประเด็น คือ แหล่งต้นทาง แหล่งปลายทาง และตน้ ทุนคา่ ขนสง่ วิธีหาคาตอบเบอ้ื งต้นดว้ ยวิธีมุมพายัพ จะพิจารณากาหนดปรมิ าณในการจัดสง่ ท่ีมมุ บนซา้ ย ก่อนแล้วทาการจดั สรรให้แถวและสดมภ์ถัดมาจนอุปทานเท่ากบั อุปสงค์โดยไม่สนใจต้นทนุ การขนสง่ ตอ่ หนว่ ย แต่วธิ ีของโวเกล จะพจิ ารณาตน้ ทนุ ตา่ สุดในแต่ละแถวหรือสดมภ์ ทาใหก้ ารจดั ส่งไดผ้ ลลพั ธ์ ตน้ ทุนรวมที่ดีกว่าวธิ ีมุมพายพั ในการพัฒนาผลลัพธ์เพ่ือให้ได้ต้นทุนต่าที่สุดทาจะใช้วิธีปรับปรุงการกระจาย กรณีที่เกิด สภาพซ้อนสถานะ ทาให้ไม่สามารถหาผลลัพธ์ได้ จะต้องกาหนดปริมาณขนส่งตัวใดตัวหน่ึงให้มี ปริมาณขนส่งเป็น 0 เพ่ือให้สามารถใช้วิธีปรับปรุงการกระจายในการพัฒนาผลลพั ธ์ได้ 90 บทท่ี 4 | ตัวแบบขนสง่
แบบฝึ กหดั ทา้ ยบท 1. โรงงานผลิตสินค้า 3 แห่ง มีกาลังการผลิต 50, 60 และ 80 หน่วยต่อเดือน โดยมีแหล่งรับซื้อ 3 แหล่ง สามารถรับสินค้าได้ 55, 65, และ 70 ตันต่อเดือน มีต้นทุนขนส่งต่อหน่วยดังตาราง จงหา วธิ กี ารจดั ส่งเพ่อื ใหต้ น้ ทุนขนส่งรวมตา่ ที่สดุ โรงงาน ลูกคา้ 1 2 3 ai A 4 6 3 4 45 B 4 36 C bj 2. โรงงานผลิตสินค้า 3 แห่ง มีกาลังการผลิต 60, 50 และ 80 หน่วยต่อเดือน โดยมีแหล่งรับซื้อ 3 แหล่ง สามารถรับสินค้าได้ 50, 70, และ 80 ตันต่อเดือน มีต้นทุนขนส่งต่อหน่วยดังตาราง จงหา วิธีการจดั สง่ เพื่อใหต้ ้นทุนขนส่งรวมตา่ ท่ีสดุ โรงงาน ลูกค้า 1 2 3 ai A 5 5 4 B 4 4 5 4 53 C bj การจัดการการจดั ส่งทางธุรกจิ | Business Logistics Management 91
เอกสารอา้ งองิ คานาย อภิปรชั ญาสกลุ . (2550). การจัดการการขนส่ง (Transport Management). กรุงเทพฯ: โฟกัสมีเดยี แอนด์ พับลิชชิง่ , 134. สทุ ธิมา ชานาญเวช. (2555). การวเิ คราะหเ์ ชิงปริมาณ. พมิ พค์ ร้ังที่ 6, กรุงเทพฯ: วทิ ยพฒั น,์ 178. Render, B., Stair, R.M. and Hanna, M.E. (2011). Quantitative Analysis for Management. 11th Edition, Pearson Prentice Hall, 115-116. 92 บทที่ 4 | ตวั แบบขนส่ง
แผนบรหิ ารการสอนประจาวชิ าบทที่ 5 การจดั การบรรจุภณั ฑ์ หวั ข้อเนอื้ หาประจาบท 1. ความหมายของบรรจุภัณฑ์และการจดั การบรรจุภัณฑ์ 2. ความสาคญั ของบรรจุภณั ฑ์ 3. ประเภทของบรรจุภณั ฑโ์ ลจสิ ติกส์ 4. ชนิดของวสั ดทุ ีใ่ ชท้ าบรรจุภัณฑ์ 5. ปญั หาของการจัดการบรรจุภณั ฑ์โลจสิ ตกิ ส์ 6. แนวทางการจัดการบรรจภุ ัณฑ์โลจสิ ตกิ ส์ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ 7. บทสรปุ วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1. เพอ่ื ใหผ้ ูศ้ ึกษาสามารถอธบิ ายความหมายของบรรจุภณั ฑแ์ ละการจัดการบรรจุภัณฑ์ 2. เพ่ือให้ผู้ศึกษาสามารถอธิบายความสาคัญบรรจุภัณฑ์ และประเภทของบรรจุภัณฑ์ใน กิจกรรมโลจิสตกิ ส์ 3. เพอื่ ใหผ้ ูศ้ ึกษาสามารถอธิบายชนดิ ของวัสดทุ ใี่ ชท้ าบรรจุภัณฑ์ 4. เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถอธิบายปัญหาของการจัดการบรรจุภัณฑ์โลจิสติกส์และหาแนว ทางการจดั การบรรจุภัณฑ์โลจิสติกสใ์ ห้มีประสิทธิภาพ วธิ กี ารสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอนประจาบท 1. บรรยายเน้ือหาบทเรียนที่เกย่ี วกบั ความหมายของบรรจุภัณฑแ์ ละการจดั การบรรจภุ ณั ฑ์ ความสาคัญบรรจุภัณฑ์ ประเภทของบรรจุภัณฑ์โลจิสติกส์ ชนิดของวัสดุท่ีใช้ทาบรรจุ ภณั ฑ์ ปญั หาของการจัดการบรรจุภัณฑ์โลจสิ ตกิ ส์ และแนวทางการจัดการบรรจุภัณฑ์ใน กิจกรรมโลจสิ ตกิ ส์ใหม้ ปี ระสิทธิภาพ 2. แบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3-4 คน เพ่ือยกตัวอย่างบรรจุภัณฑ์ท่ีใช้ใน กิจกรรมโลจิสติกสก์ ล่มุ ละ 1 บรษิ ัทไมใ่ ห้ซา้ กนั หนา้ ชน้ั เรียน แลว้ อธิบายเสรมิ ในประเดน็ ท่ี การจัดการการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 93
กลุ่มต่าง ๆ มีความเห็นตรงกันหรือยกตัวอย่างคล้ายคลึงกัน และให้นักศึกษาอธิบายใน สว่ นท่ีมคี วามคดิ เห็นต่างกันกับกลุ่มอืน่ ๆ แลว้ จึงอธบิ ายเสรมิ ในประเดน็ ทแี่ ตกต่างนน้ั 3. มอบหมายแบบฝกึ หัดเป็นการบ้าน เพื่อเพม่ิ ทักษะในการหาคาตอบและทบทวนบทเรียน เพอื่ ทาความเข้าใจในเน้ือหามากยงิ่ ขนึ้ ส่อื การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ าการจัดการการจดั สง่ ทางธรุ กิจ 2. เอกสารต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วข้องในเอกสารอา้ งอิง 3. ส่ือทศั นะวัสดปุ ระกอบการสอน การวัดและประเมนิ ผล 1. การเข้าชัน้ เรยี นและการมสี ว่ นร่วมในช้นั เรยี น 2. การนาเสนอหนา้ ช้ันเรียน 3. แบบฝึกหัดทมี่ อบหมาย 94 บทท่ี 5 | บรรจุภณั ฑ์ในระบบโลจสิ ติกส์
บทท่ี 5 การจดั การบรรจภุ ณั ฑ์ การจัดการบรรจภุ ัณฑ์ (Packaging Management) เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการทาง โลจิสติกส์ โดยเฉพาะปัจจุบันท่ีการผลติ สินค้าหรือการบรกิ ารให้ความสาคัญกับผบู้ ริโภค ทาให้การ บรรจุภัณฑ์มบี ทบาทมากข้ึน เน่ืองจากมสี ินค้าชนิดใหมเ่ พิ่มข้ึนอยู่ตลอดเวลา การแข่งขันทางธุรกจิ ก็ เพ่ิมมากข้ึนทุกวัน ผู้บริโภคหรือผู้ซื้อสนิ ค้าย่อมไมอ่ าจติดตามการเคลือ่ นไหวของสนิ ค้าได้ตลอดเวลา บรรจุภัณฑจ์ ึงตอ้ งทาหนา้ ท่แี นะนาผลิตภณั ฑ์ท่ีถกู บรรจอุ ยูใ่ หก้ ับผูซ้ ือ้ และตอ้ งดงึ ความสนใจของผู้ซื้อ ทไ่ี ม่เคยใช้ผลติ ภณั ฑน์ นั้ ๆ ใหส้ นใจใช้สนิ คา้ และเกดิ ความพอใจท่ีจะซื้อใช้อีก บรรจภุ ณั ฑจ์ ะทาหนา้ ท่ี ขายและโฆษณาสินคา้ ควบคกู่ นั ไปในตัวด้วย ดังนั้นการบรรจุภัณฑ์จึงมีความสาคัญ เพราะการมีบรรจุภัณฑ์และการขนส่งที่เหมาะสม นอกจากจะช่วยลดความเสยี หายแลว้ ยังทาให้ธรุ กจิ สามารถจาหนา่ ยสินค้าได้ในราคาทส่ี ูงข้ึน การจัดการบรรจุภณั ฑโ์ ลจสิ ติกสใ์ หม้ ีประสทิ ธภิ าพเป็นสงิ่ สาคญั อย่างย่ิงของธุรกิจเพราะบรรจุ ภัณฑ์จะเกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางโลจิสติกสแ์ ละนับวันจะมีสว่ นสาคัญตอ่ การผลิตและประสทิ ธิภาพ ของระบบโลจิสติกส์ ซึ่งจะมีการเคลอ่ื นย้ายแลกเปล่ียนสินค้าทางไกลกันมากยิ่งข้ึน บรรจุภัณฑ์จึงมี สว่ นสาคญั ต่อการลดต้นทุนโลจสิ ติกสแ์ ละมสี ว่ นสาคญั เพ่ือให้ระบบโลจิสติกสม์ ีการขบั เคลื่อนไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธภิ าพ ท้งั ในด้านเชงิ เวลา ประสทิ ธภิ าพและตน้ ทนุ รวมถึงมีส่วนสาคญั ในลกั ษณะท่ีมกี ารบ่งชี้ แหลง่ ทีม่ าและแหลง่ ทจี่ ะส่งมอบอกี ด้วย การจัดการการจดั ส่งทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 95
ความหมายของบรรจภุ ณั ฑแ์ ละการจดั การบรรจุภณั ฑ์ บรรจภุ ัณฑเ์ ปน็ ส่วนหน่ึงของกระบวนการข้ันตอนหลักในการดงึ ดูดหรือเรียกความสนใจจาก ผู้บรโิ ภคโดยเฉพาะปัจจุบันท่ีการผลิตสินค้าหรือบริการให้ความสาคัญกับผู้บริโภค (Consumer Oriented) บรรจุภัณฑ์ หมายถึงวัสดุใด ๆ ท่ีนามาใช้สาหรับหอ่ หมุ้ ป้องกัน ลาเลียง จัดส่งและนาเสนอ สินคา้ ตงั้ แต่วตั ถดุ ิบถึงสินคา้ ที่ผ่านการผลติ ตั้งแต่ผู้ผลิตถึงผู้ใช้หรือผู้บริโภคโดยมีวัตถุประสงค์ เบื้องต้นในการป้องกนั หรือรกั ษาผลิตภัณฑ์ใหค้ งสภาพ ตลอดจนมีคณุ ภาพใกล้เคยี งกบั เม่อื แรกผลติ ให้มากทส่ี ุด กล่าวโดยสรปุ บรรจุภณั ฑ์ (Package) มีความหมายถงึ ภาชนะ กล่อง หีบ ห่อ ลัง พาเลท ตู้ หรือสิ่งอ่ืนใดท่ีทาหน้าท่ีเพ่ือการบรรจุวัตถุดิบ สินค้าหรือส่ิงของไว้ภายในซึ่งมีส่วนสาคัญท่ีทาให้ ระบบโลจสิ ติกสม์ ีประสทิ ธิภาพและเป็นเครื่องมือในการกระจายสนิ ค้า (Distribution) ไปสู่ผู้ใช้ ผู้ซ้ือ หรือผู้บริโภค (สมพงษ์ เฟ่ืองอารมณ์, 2550: 5) ท้ังนี้สินค้าบรรจุภัณฑ์ เป็นกลไกสาคัญให้มีการส่ง มอบสินค้าแก่ผทู้ ่ีตอ้ งการขายไปส่ผู ทู้ ีต่ อ้ งการซ้อื ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ไดแ้ ก่ การบ่งชร้ี ะบขุ ้อมูลของ สนิ ค้าบนกล่อง ลงั หรอื บรรจภุ ัณฑ์ รายละเอียดของสินค้า แหล่งที่ผลิต และการส่งมอบ ส่วนการจัดการบรรจุภัณฑ์ (Packaging Management) หมายถึง กระบวนการหรอื วิธีการ ในการหอ่ หุ้มสินค้า เพือ่ การขนสง่ ทปี่ ลอดภัยไปยังผบู้ รโิ ภคคนสุดท้าย ในสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ โดย เสียต้นทุนต่าที่สดุ ดังนั้น บรรจุภัณฑ์จึงเป็นงานเทคนิคที่ต้องอาศัยความชานาญ ประสบการณแ์ ละ ความคิดสร้างสรรค์ ในอันท่ีจะออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ์ให้มีความเหมาะสมกับสินค้าท่ีผลิต เพือ่ ใหค้ วามค้มุ ครองสนิ ค้า หรือเพื่อประโยชน์ใชส้ อย อาทิ ความสะดวกสบายในการพกพาหรอื การใช้ ความสาคญั ของบรรจภุ ณั ฑ์ ปัจจุบันบรรจุภัณฑ์มีความสาคัญเป็นอันดับต้น ๆ ของกระบวนการผลิตการค้าและการ อุตสาหกรรม เน่ืองจากเป็นภาพลักษณ์แรกของสินค้าท่ีผบู้ ริโภคได้สัมผสั มีบทบาทในการช้ีขาดการ ตัดสนิ ใจของผบู้ รโิ ภคต่อสินคา้ นอกจากน้นั การมีบรรจุภัณฑแ์ ละการขนสง่ ทีเ่ หมาะสม นอกจากจะมี ส่วนทจ่ี ะช่วยลดความเสียหายแลว้ ยงั ทาให้ธรุ กจิ สามารถจาหน่ายได้ในราคาที่สูงข้ึน 96 บทท่ี 5 | บรรจุภณั ฑ์ในระบบโลจสิ ตกิ ส์
จากการท่ีบรรจุภัณฑ์ มีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางโลจิสติกส์ในฐานะเป็น กลไกทาให้ระบบโลจิสติกส์ มีการขับเคลื่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ บรรจุภัณฑ์โลจิสติกส์จึงมี ความสาคัญ ดังน้ี 1.เพือ่ การเกบ็ รกั ษาสนิ ค้าให้คงสภาพ และสามารถจัดเรียง รวบรวมอยใู่ นเน้อื ทีซ่ ง่ึ จากดั ให้มี ปริมาตรการใช้พน้ื ที่อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ซ่ึงจะสง่ ผลต่อต้นทุนโลจสิ ตกิ ส์ 2.บรรจุภัณฑ์ท่ีดี จะมีการออกแบบเพ่ือให้ทาหน้าท่ีในการป้องกันสนิ ค้าท่ีบรรจุอยู่ภายใน ไมใ่ หไ้ ดร้ ับความเสียหายหรือเสียรูปในขณะเคล่อื นย้ายสนิ ค้า และชว่ ยใหก้ ารจดั วางหรอื จัดเรียงสนิ คา้ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 3.บรรจภุ ัณฑ์ มีส่วนสาคัญในฐานะเป็นอุปกรณ์ทจ่ี าเป็นต่อการขนยา้ ยสินค้าจากแหลง่ ผลิต และเพื่อใหม้ กี ารสง่ ตอ่ สนิ คา้ ผา่ นกจิ กรรมต่าง ๆ ทางโลจิสติกสจ์ นสนิ คา้ ไปสทู่ หี่ มายปลายทางในสภาพ ทป่ี ลอดภัยมคี วามสะดวกโดยมีต้นทุนในการส่งมอบทป่ี ระหยดั 4.บรรจภุ ัณฑ์ มีส่วนสาคัญที่ก่อให้เกิดการสง่ มอบสนิ ค้าภายใต้ความพึงพอใจของลกู คา้ ซ่งึ จะเก่ียวขอ้ งกับพนั ธกิจของโลจสิ ติกสโ์ ดยตรง บทบาททีส่ าคัญของโลจิสตกิ ส์จะเกี่ยวข้องกับกจิ กรรมการเคลื่อนย้าย จัดเก็บ และกระจาย สินคา้ จากแหลง่ ผลิตไปจนถึงผบู้ ริโภคข้ันสุดทา้ ย ภายใต้การจากดั ของเงอื่ นเวลาท่ีจะตอ้ งส่งมอบแบบ ทนั เวลา (Just In Time) และต้นทุนรวม (Total Cost) ที่สามารถแข่งขันได้ ซึ่งจะเห็นได้ว่า มีความ สอดคล้องกับบทบาทและหน้าทขี่ องบรรจุภณั ฑ์ อย่างไรก็ตามเน่ืองจากทางการค้าปัจจุบัน มีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง บรรจุภัณฑ์จึงมี บทบาทสาคัญต่อการสง่ เสริมทางการตลาด โดยเนน้ เรอ่ื งความสวยงาม ความสะดุดตาและดึงดูดความ สนใจของผู้บริโภคให้ตัดสินใจซ้ือ บรรจุภัณฑ์ในยุคปัจจุบันจึงทาหน้าท่ีในการสร้างภาพลักษณ์ของ สินค้าก่อนท่ีผซู้ ้ือจะเหน็ ตัวสนิ ค้า ซึ่งบรรจภุ ัณฑ์ทีบ่ รรจสุ ินค้าสาหรับผบู้ รโิ ภคจะมีการใชร้ ปู แบบหรอื สีสนั ท่ีน่าสนใจรวมถึงมีขอ้ ความประชาสมั พันธแ์ ละโฆษณาสินคา้ ที่บรรจุอยภู่ ายใน การจัดการการจดั สง่ ทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 97
สาหรับหน้าที่ของบรรจภุ ัณฑด์ ้านโลจิสติกส์ จะคานึงถึงผ้บู ริโภคคนสุดทา้ ยน้อยมาก แต่จะ เน้นดา้ นความสะดวกตอ่ การทางานและตน้ ทุน จะสังเกตเห็นวา่ การเปล่ยี นแปลงบรรจภุ ัณฑ์จะกระทา ได้บอ่ ย ๆ โดยไม่กระทบถงึ ลกู ค้า โดยสามารถปรบั เปล่ียนวัสดุ ลดขนาด หรือเพ่ิมขนาดไดท้ ันที ดังนั้น บทบาทและหน้าท่ขี องบรรจุภัณฑ์ในฐานะที่เป็นกิจกรรมสว่ นหนึ่งของโลจิสตกิ สจ์ งึ สรุปได้ 3 ประการ คอื (คานาย อภปิ รัชญาสกุล, 2546: 96) 1. ทาหนา้ ทีด่ ้านการเก็บรกั ษา (Storage Support) ในการปกป้องและเก็บรกั ษาสนิ ค้าไมใ่ ห้ ไดร้ ับความเสียหายและมคี วามสะดวกในระหวา่ งการจดั เก็บ 2. ทาหน้าท่ีด้านการขนส่ง (Transport Support) เพ่ือให้เกิดความสะดวกและมี ความ ปลอดภยั ในการเคลอ่ื นยา้ ยเพ่อื การขนส่ง 3. ทาหนา้ ท่ลี ดต้นทุน (Cost Reduction) ในการทาใหป้ ระหยัดเนื้อที่ทั้งเพ่ือการเก็บรักษา และเพื่อการขนยา้ ยสนิ ค้าหรือการขนสง่ เนอ่ื งจากสามารถจัดวางเรยี งทับซอ้ น ประเภทของบรรจุภณั ฑโ์ ลจสิ ตกิ ส์ บรรจุภัณฑ์อาจจาแนกออกตามวัตถุประสงค์ของการบรรจุภัณฑ์ การบรรจุภัณฑ์มี ความสาคัญที่สุดสาหรับสินค้าสะดวกซื้อ (Convenience Goods) จะเห็นได้ว่าสินค้าที่วางขายตาม ห้างสรรพสนิ คา้ ทุกประเภทจะต้องมีการบรรจุภัณฑ์ โดยเฉพาะสินค้าท่ีต้องมีความระมัดระวังเป็น พิเศษ เชน่ อุปกรณร์ าคาแพง ซึ่งต้องมีการ ออกแบบมาโดยเฉพาะเพอ่ื ให้เหมาะสมกบั ผลิตภณั ฑ์ และ มีมาตรฐานความปลอดภัยจนถึงมือผบู้ ริโภคเพ่ือให้สะดวกท้ังผู้บริโภคและผู้ผลิตแต่สาหรับประเภท ของบรรจุภัณฑ์ตามการใช้ในงานโลจสิ ตกิ ส์ แบ่งได้เปน็ ดงั นี้ 1. บรรจภุ ณั ฑ์เพอ่ื การขายปลีก (Retail Package) เปน็ บรรจภุ ณั ฑ์ทอ่ี อกแบบไว้เพอื่ ความ สะดวกต่อการส่งมอบสินค้าให้กบั ผู้บรโิ ภคโดยตรง จึงมีการออกแบบให้มีความสะดุดตา และเป็นส่อื โฆษณาภายในตัวเอง นอกจากนี้ ยังทาหนา้ ท่ปี กป้องสินค้า มีรปู รา่ งท่ีเหมาะแก่การใช้งาน และมีการ ออกแบบเชิงสง่ เสรมิ การตลาดหรือเชิงพาณชิ ย์ดงั ภาพท่ี 4.1 98 บทท่ี 5 | บรรจภุ ณั ฑ์ในระบบโลจสิ ตกิ ส์
ภาพที่ 5.1 แสดงบรรจุภัณฑเ์ พ่ือการขายปลกี (ทีม่ า: http://www.sha.org/bottle/body.htm, สบื คน้ 28 ต.ค. 2556) 2. บรรจุภัณฑ์เพ่ือการขายส่ง (Wholesale Package) เป็นบรรจุภัณฑ์ท่ีแบ่งสินค้าออก เป็นชุดเพ่ือสะดวกในการจดั จาหนา่ ย เช่น 6 ช้ิน 12 ช้ิน หรือ 24 ช้ิน เพ่ือป้องกันรักษาไม่ให้สนิ คา้ เสยี หายภายในระหวา่ งการเกบ็ รกั ษาในคลงั สินคา้ หรือจากการขนสง่ และสะดวกต่อการส่งมอบสินค้า ไปสูผ่ ้ขู ายปลกี หรอื ขายส่งซ่งึ บรรจภุ ัณฑ์นสี้ าคัญตอ่ กระบวนการกระจายสินค้า ทเ่ี รยี กว่าศนู ย์กระจาย สินค้า หรอื DC (Distribution Center) ดงั ภาพท่ี 5.2 ภาพที่ 5.2 แสดงบรรจุภัณฑเ์ พื่อการขายส่ง (ที่มา: http://www.thaibev.com/th08/product.aspx?sublv1gID=11, สืบค้น 28 ต.ค. 2556) การจัดการการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 99
3. บรรจุภัณฑ์ช้ันนอกหรือบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง (Out Package/Transport- Package) เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบเพ่ือใช้บรรจุสินค้า เพื่อให้สามารถจัดเรียงหรือจัดวางโดยใช้ พื้นท่ีได้น้อยท่สี ุด เพ่ือใช้ในการขนสง่ รวมถึงให้มีสภาพแข็งแรงเพ่ือป้องกันการกระแทกหรือปอ้ งกัน ละอองนา้ หรอื น้า ไม่ใหส้ ินคา้ เสยี หายระหวา่ งการเคลื่อนย้ายหรอื ขนส่ง เช่น ลังไม้ หรือ พาเลท ภาพที่ 5.3 แสดงลังไม้และพาเลทในการขนสง่ (ที่มา: http://www.b2bthai.com/Search/Product/Detail/26200/, สืบคน้ 28 ต.ค. 2556) ชนิดของวสั ดุท่ีใชท้ าบรรจุภณั ฑ์ วัสดุทีน่ ิยมใช้ในการผลิตบรรจภุ ณั ฑ์แบง่ ออกเป็น 5 ประเภทคือ 1. เยื่อและกระดาษ นับได้ว่าเยื่อและกระดาษนามาใช้ทาบรรจุภัณฑ์มากท่ีสุด และมี แนวโน้มใช้มากยิ่งขึ้น สืบเน่ืองจากการรณรงค์ในเร่ืองของส่งิ แวดลอ้ มและกระดาษท่ีใช้แลว้ สามารถ นากลับมาใช้ใหม่ได้ง่าย (Recycle) กระดาษเป็นวัสดุบรรจุภัณฑ์ประเภทเดียวท่ีสามารถสร้างข้นึ มา ใหม่ได้จากการปลกู ปา่ ทดแทน กระดาษที่ใช้ในอุตสาหกรรมบรรจภุ ัณฑม์ ีหลายประเภทและสามารถ พิมพ์ตกแตง่ ได้ง่ายและสวยงาม ท้ังสามารถเคลือบ หรือประกบติดกับวัสดุชนิดอนื่ ได้ดี นอกจากนีย้ งั สะดวกตอ่ การขนส่งจากผูผ้ ลติ ไปยังผใู้ ช้เนื่องจากพบั ได้ ทาใหป้ ระหยัดค่าใช้จา่ ยในการขนสง่ ภาชนะ บรรจภุ ณั ฑท์ าดว้ ยกระดาษ มดี ังนี้ - ซองกระดาษ (Paper Envelope) ใช้บรรจุสินค้าต่าง ๆ ท่ีมีขนาดเล็กหรอื บาง ๆ เช่น ใบ เลื่อย หัวสว่าน ยาเม็ด เมล็ดพืช จดหมาย ฯลฯ การเลือกใช้ขนาดและชนิดของซองขึ้นกับชนิดของ 100 บทที่ 5 | บรรจุภณั ฑ์ในระบบโลจสิ ติกส์
สินค้าและความแน่นหนาทีต่ ้องการ กระดาษท่ีใช้ทาซองตอ้ งพิจารณาถึงความคุ้มครอง รูปร่าง และ ราคาเป็นหลัก ภาพที่ 5.4 แสดงซองกระดาษใสเ่ อกสาร (ทม่ี า: http://tkpress.tarad.com/product-th-326973, สืบค้น 28 ต.ค. 2556) - ถงุ กระดาษ (Paper Bag) มที ง้ั แบบแบนราบ (ใชใ้ สอ่ าหารช้นิ เล็ก ๆ ท่มี ีนา้ หนักเบา) แบบมี ขยายข้างและก้น (ใช้บรรจุสินค้าท่ีมีปริมาณมาก เช่น แป้ง คุกกี้ ข้าวสาร ฯลฯ หรือใช้บุเป็นถุงใน กลอ่ งกระดาษแข็ง) และแบบผนึก 4 ดา้ น บรรจสุ ินค้าประเภทเครื่องเทศ คุณสมบตั ขิ องกระดาษที่ใช้ ขึ้นกับการใช้งานเปน็ หลกั กล่าวคือ สินค้าท่ีมนี า้ หนักมากควรใช้กระดาษเหนียวซง่ึ มี ค่าของการตา้ น แรงดนั ทะลุ และการต้านแรงดงึ ขาด อยใู่ นเกณฑส์ งู หากสินค้ามคี วามชน้ื สูงหรอื เกบ็ ในสภาวะเปียก ช้นื กระดาษทีม่ ีค่าการดดู ซึมน้าตา่ ๆ เช่น กระดาษเคลอื บไข กระดาษเคลอื บพลาสตกิ เปน็ ต้น ภาพที่ 5.5 ถุงกระดาษแบบมสี ่อื โฆษณา (ท่ีมา: http://www.siam-shop.com, สืบค้น 29 ต.ค. 2556) การจัดการการจดั สง่ ทางธุรกจิ | Business Logistics Management 101
- ถุงกระดาษหลายชั้น (Multiwall Paper Sack) สาหรับขนส่งสนิ คา้ ที่มีน้าหนกั มากกวา่ 10 กิโลกรมั สนิ คา้ ที่นยิ มคอื ปูนซีเมนต์ อาหารสัตว์ สารเคมี เมด็ พลาสติก ถงุ ประเภทนี้มที ้งั แบบปากเปดิ และแบบมีล้ิน แต่ละแบบอาจจะมสี ่วนขยายข้างดว้ ยก็ได้ วัสดทุ ใ่ี ชท้ าจากกระดาษเหนียวท่ที าจากเยื่อ เส้นใยยาว เพ่ือให้มีความเหนียวสงู หากต้องการเพ่ิมคุณสมบตั ิในด้านป้องกันความชื้นกอ็ าจเคลอื บ ด้วยพลาสติก หรือยางมะตอยอีกชั้นหนึ่งวัสดุที่ใช้ทาถุงและซองกระดาษ ส่วนใหญ่นิยมใช้กระดาษ คราฟท์ (Kraft) นามาซอ้ นเป็นผนงั หลายช้นั (Multiwall Bag) หรือเคลือบผวิ แตกต่างกนั ไปตามหนา้ ที่ ใช้สอย เป็นบรรจุภัณฑ์ท่ใี ช้กันมากสาหรับผลิตภัณฑ์ประเภทเคร่ืองอุปโภคบริโภคในหน่วยขายแบบ ปลีกย่อยซึ่งจดั ได้ว่าเป็นบรรจภุ ัณฑ์เฉพาะอีกแบบหน่ึง ท่ีมีความใกลช้ ิดกับวิถีชีวิตความเปน็ อยขู่ อง ผู้บริโภคเปน็ อยา่ งมาก อีกท้ังยังเป็นส่ือโฆษณาประเภทส่ิงพิมพท์ ่ีแสดงเอกลักษณข์ องผลติ ภัณฑ์ได้ดี อีกดว้ ย ภาพที่ 5.6 ถงุ กระดาษแบบหลายชั้น (ทีม่ า: http://galleryhip.com/cement-bag.html, สืบคน้ 29 ต.ค. 2556) - เย่อื กระดาษข้ึนรปู (Moulded Pulp Container) มีท้ังชนดิ ทท่ี าจากเยื่อบรสิ ทุ ธ์ซิ ่งึ ใชบ้ รรจุ อาหารสาเรจ็ รปู และอาหารท่ี เขา้ ตูอ้ บไมโครเวฟได้ และชนดิ ท่ที าจากเยือ่ เศษกระดาษซง่ึ ใชบ้ รรจุ ไข่ ผัก ผลไม้สด และทาเป็นวัสดุกันกระแทก การเลือกใช้ต้องคานึงถึงชนิดของผลิตภัณฑ์ทีจ่ ะบรรจเุ ป็น สาคญั เพราะเก่ยี วขอ้ งกับความปลอดภยั ของผบู้ รโิ ภค 102 บทที่ 5 | บรรจภุ ณั ฑ์ในระบบโลจิสติกส์
ภาพที่ 5.7 บรรจภุ ัณฑท์ ท่ี าจากเยอื่ กระดาษแบบขน้ึ รปู (ทม่ี า: http://www.hongthai.co.th, สืบคน้ 29 ต.ค. 2556) - ถังกระดาษ (Fibre Drums) มลี กั ษณะเช่นเดยี วกับกระปอ๋ งกระดาษ แต่มขี นาดใหญ่ ใช้ เพือ่ การขนส่ง สนิ คา้ ท่นี ิยมบรรจคุ ือ สารเคมี เม็ดพลาสติก ฯลฯ การเลือกใช้ตอ้ งคานงึ ความแข็งแรง เมอ่ื เรียงซอ้ นเปน็ หลักโดยการทดสอบค่าของการต้านแรงกด ภาพท่ี 5.8 บรรจภุ ัณฑ์ถังกระดาษ (ทีม่ า: http://www.atsmemall.com, สบื ค้น 29 ต.ค. 2556) การจดั การการจดั สง่ ทางธุรกิจ | Business Logistics Management 103
-กล่องกระดาษแข็ง (Paperboard Box) เป็นบรรจุภัณฑ์ขายปลีกท่ีได้รับความนิยมสูงสุด สามารถทาจากกระดาษแข็งได้หลาย ชนิด อาทิ กระดาษไม่เคลือบ กระดาษขาว – เทา กระดาษ เคลือบ กระดาษการ์ด กระดาษอารต์ มนั กระดาษฮาร์ดบอรด์ เป็นต้น นอกจากนี้ยงั สามารถเคลอื บ วสั ดุอื่น เชน่ วานชิ พลาสติก ไข เพื่อปรบั คณุ สมบัติให้ดีข้ึน รูปแบบของกล่องกระดาษแขง็ แบง่ ได้เป็น 2 ประเภท คือ กล่องแบบพับได้ (Folding Carton) หรือ (Cardboard) กล่องแบบคงรูป (Set-Up Box) ส่วนกระดาษแขง็ ท่ีใช้ทากลอ่ งมี 2 ประเภทดังนี้ 1) กระดาษกลอ่ งขาวไมเ่ คลือบ กระดาษชนดิ นี้คลา้ ยกับชนิดเคลือบแตเ่ นือ้ หยาบ กวา่ สีขาวของกระดาษไมส่ มา่ เสมอ แตร่ าคาถูกกว่า ตอ้ งพมิ พด์ ้วยระบบธรรมดา เชน่ กล่อง ใส่รองเท้า กลอ่ งใสข่ นมไหวพ้ ระจนั ทร์ เป็นต้น 2) กระดาษกล่องขาวเคลือบ กระดาษชนดิ นี้ นยิ มใช้ในการบรรจสุ นิ ค้าอุปโภคและ บรโิ ภคกันมากเพราะสามารถพมิ พ์ระบบออฟเซ็ต สอดสีได้หลายสีสวยงาม และทาให้สนิ คา้ ท่ี บรรจุภายในกล่องดูมคี ุณค่าขึ้น มีขายตามรา้ นขายเคร่อื งเขียนท่ัวไป เรียกอีกช่ือว่ากระดาษ แข็งเทา - ขาว ในการทากลอ่ งบรรจผุ ลิตกัณฑ์อาหารนิยมใช้กระดาษชนดิ นีเ้ พราะหาซอ้ื ง่าย การเลือกใช้กล่องกระดาษแข็ง ต้องพิจารณาคุณสมบัติท่ีเก่ียวกับการใช้งานเป็นหลัก เช่น ความช้ืน การต้านแรงดันทะลุ ความสามารถในการรับน้าหนักได้ประมาณ 2-3 ปอนด์ แล้วแต่ขนาด และความหนาของกระดาษ ความเรียบของผิวกระดาษ ความหนา ความขาว สว่าง สามารถพมิ พส์ ีสนั ได้ดี คงทนต่อการโค้งงอ สามารถพับเป็นแผ่นแบนได้ไม่เปลืองเน้ือที่ในการเก็บและขนส่งมีขนาด มากมาย ให้เลอื กได้ตามตอ้ งการ งา่ ยที่จะตัด เจาะหรือบดิ มีราคาถกู ท้ังวัสดแุ ละกรรมวิธีการผลิตใน การออกแบบกลอ่ งกระดาษแขง็ การเลือกขนาดของกระดาษและแบบของกล่องจะข้ึนอยกู่ บั ชนิดของ สนิ ค้าและความตอ้ งการของตลาด การต้งั วางตอ้ งคงตวั แข็งแรง ให้ความสวยงามเมือ่ ต้งั วางเปน็ กลุ่ม ง่ายแกก่ ารหยบิ และถือ อาจมีหูหว้ิ ก็ได้ 104 บทที่ 5 | บรรจภุ ณั ฑ์ในระบบโลจสิ ติกส์
ภาพที่ 5.9 กลอ่ งใสร่ องเทา้ ทท่ี าจากกลอ่ งกระดาษแข็ง (ทม่ี า: http://www.siamboots.com, สืบค้น 29 ต.ค. 2556) - กล่องกระดาษลูกฟูก (Corrugated Fibreboard Box) เป็นบรรจุภัณฑ์ท่ีมีบทบาทและ ปรมิ าณการใชส้ งู สุด กล่องกระดาษลกู ฟกู มนี ้าหนกั เบา สามารถออกแบบใหม้ ีขนาดรปู ทรงและมคี วาม แขง็ แรงได้ตามตอ้ งการ นอกจากนีย้ งั สามารถพิมพข์ อ้ ความ หรือรปู ภาพบนกล่องใหส้ วยงามเพื่อดงึ ดดู ใจผูซ้ ือ้ และเพื่อแจ้งข้อมูลสินค้า ได้อกี ดว้ ย โดยท่ัวไปกล่องกระดาษลกู ฟูกจะทาหน้าท่ีเพอ่ื การขนสง่ แต่สามารถออกแบบเพ่ือการขาย ปลีกได้ โครงสร้างของกล่องกระดาษลูกฟูกข้ึนกับจานวนแผ่นกระดาษลูกฟูก ส่วนประกอบของ กระดาษ ชนดิ ของลอน รปู แบบของกล่อง ขนาดของกล่อง รอยต่อของกล่องและการปดิ ฝากล่อง การ ออกแบบต้องคานึงถึงคุณสมบัติของสินค้าและสภาพการใช้งาน หากสินค้าเปน็ ประเภทท่สี ามารถรบั น้าหนักกดทับได้ (อาหารกระป๋อง ขวดแก้ว ฯลฯ) การกาหนดคุณภาพของกลอ่ งควรยึดค่าการต้าน แรงดนั ทะลุเปน็ หลกั แต่ถา้ สนิ ค้าไม่สามารถรับน้าหนกั กดทับได้หรอื รับได้เพียงเลก็ นอ้ ย เชน่ ผกั ผลไม้ สด อาหารบรรจใุ นขวดหรือถงุ พลาสตกิ ฯลฯ ก็ควรกาหนดคุณภาพของกล่องด้วยค่าของการตา้ นแรง กดของกล่อง โดยพจิ ารณาจากสภาพการลาเลียงขนสง่ และเกบ็ รกั ษาควบคู่กันไป การจัดการการจดั สง่ ทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 105
ปัจจุบนั นิยมใช้กล่องกระดาษลูกฟูกบรรจุผลติ ผลทางการเกษตร เชน่ ผักและผลไมส้ ด ไดเ้ ร่ิม มกี ารศกึ ษาวจิ ยั เพ่อื พฒั นาและปรับปรุงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ กล่องบรรจุผลไม้สดเพอ่ื การ ส่งออก เพ่ือให้เหมาะสมกับผกั และผลไมแ้ ต่ละชนิด เช่น กล่องบรรจุมะม่วง มะละกอ ทุเรียน มังคุด ลาไย ลิ้นจ่ี เงาะ ฯลฯ ทาให้สะดวกแก่การลาเลียง ขนส่ง การเก็บในคลังสินค้า การรักษาคุณภาพ สินค้า และความสวยงามเม่ือวางขาย ท้งั ในรา้ นสะดวกซอื้ และตลาดทัว่ ไป ทาให้เปน็ ที่รู้จกั และยอมรบั ในตลาดต่างประเทศมากข้ึนอย่างรวดเร็ว กระดาษลูกฟูกเป็นกระดาษท่ีประกอบด้วยแผ่นเรียบ 2 ด้านติดกาวประกบไว้กับกระดาษลกู ฟกู (Corrugated Paper) จะเปน็ ช้ันเดียว 2 ช้ัน หรือ 3 ช้ันกไ็ ด้ คุณสมบัติท่ัว ๆ ไปจะคล้ายกับกล่องกระดาษแข็ง คือ ราคาถูก ทารูปร่างต่าง ๆ ได้ รับน้าหนักได้ มากกว่ากลอ่ งกระดาษแข็ง สามารถพิมพส์ ีสันได้ แตม่ ักจะพิมพ์ 2 สเี พอ่ื ความประหยัด ภาพที่ 5.10 กล่องกระดาษลกู ฟกู แบบกนั กระแทก (ที่มา: http://www.quinl.com, สืบค้น 29 ต.ค. 2556) 2. พลาสติก เป็นวัสดุท่ีมีอัตราการเจริญเติบโตสูงมาก คุณประโยชน์ของพลาสติก คือ มี น้าหนักเบาป้องกันการซึมผ่านของอากาศ และก๊าซได้ระดับหนึ่งสามารถต่อต้านการทาลายของ แบคทีเรยี และเชอื้ รา คุณสมบัตหิ ลายอย่างท่ีสามารถเลอื กใช้งานทเี่ หมาะสม พลาสติกบางชนิดยงั เป็น ฉนวนกันความร้อนอีกด้วย ตัวอย่างบรรจุภัณฑ์จากพลาสติกได้แก่ ฟิล์มพลาสติกรัดรูป ขวด ถาด กลอ่ ง และโฟม ภาชนะบรรจุภณั ฑท์ ท่ี าดว้ ยพลาสตกิ 106 บทที่ 5 | บรรจภุ ณั ฑ์ในระบบโลจิสตกิ ส์
พลาสติกเป็นสารสังเคราะห์จาพวกโพลิเมอร์ มีหลายชนิดและมีคุณสมบัติท่ี แตกต่างกัน ออกไป เชน่ กันการซมึ ของนา้ อากาศ ไขมนั ทนตอ่ ความเยน็ และความรอ้ น ทนต่อกรด หรือด่าง ไม่ เปน็ ตวั นาไฟฟ้า และความร้อน มีลักษณะอ่อนและแข็ง และมหี ลายรปู ทรง พลาสตกิ แบ่งตามรูปแบบ ได้ 2 ประเภทคอื 1) ฟิล์มพลาสติก คือพลาสตกิ ที่เป็นแผ่นบาง ๆ ใช้ห่อ หรอื ทาถงุ เช่น 1.1 ถุงเย็น ทามาจากพลาสติกชนิด พอลิเอทีลีน (PE) ชนิดความหนาแน่นต่า (LDPE) ใชบ้ รรจุของเยน็ สามารถบรรจุอาหารแช่แขง็ ได้ 1.2 ถุงรอ้ น ทามาจากพลาสตกิ ชนิด พอลพิ อพิลีน (PP) มีลกั ษณะใสมาก หรอื พอล-ิ เอทีลนี (PE) ชนดิ ความหนาแน่นสงู (HDPE) ก็ได้ 1.3 ถุงหูหิ้ว ทามาจากพลาสติกชนิด พอลิเอทีลีน (PE) ชนิดความหนาแน่นต่า (LDPE) และเป็นพลาสติกทีใ่ ชแ้ ลว้ นามาหลอมใช้ใหม่ 1.4 ถุงซิป เป็นถุงท่ีมีปากถุงปิดได้ทามาจากพลาสติกชนิด พอลิเอทีลีน (PE) ชนิด ความหนาแน่นตา่ (LDPE) 1.5 ถงุ พลาสตกิ หลายช้ันประกบติดกนั บางครั้งเปน็ พลาสติกชนิดต่างๆ บางคร้ังเปน็ พลาสติกกบั แผน่ อลูมิเนียม เรียกว่า ลามิเนต (Laminate) ใช้บรรจุอาหารที่สามารถอุ่นดว้ ย การนาถงุ ลงตม้ ในนา้ เดอื ดได้ ถุงท่สี ามารถปอ้ งกันไมใ่ ห้อากาศเข้าไดเ้ ลย ถงุ ทีส่ ามารถกันช้ืน กันไขมนั และกันแสงได้ เปน็ ต้น 1.6 พลาสติกหดรัดรูป (Shrink Film) ฟิล์มชนิดน้ี จะหดตัวเมื่อได้รับความร้อน ตัวอย่างเช่นพลาสติกหุ้มห่อกล่องนมท่ีบรรจุขายคราวละ 6 กล่องเป็นต้น หรือฉลากท่ีใช้ ระบบการพมิ พ์ลงบนฟลิ ์มชนิดน้ี เช่น ฉลากของขวดโค้ก เปน็ ตน้ การจดั การการจดั ส่งทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 107
ภาพท่ี 5.11 บรรจุภณั ฑ์ฟลิ ์มพลาสตกิ ชนิดถงุ หหู ้ิว (ที่มา: http://postfree.boardshopping.com/fullpic/007797/, สบื คน้ 29 ต.ค. 2556) 2) ภาชนะพลาสติก คือพลาสติกทขี่ ้ึนรปู เพ่ือใชเ้ ป็นภาชนะ ไดแ้ ก่ 2.1 ขวดพลาสติก แบง่ ออกเป็น - ขวดทาจากพอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) ใชบ้ รรจุนา้ มัน น้าผลไม้ เป็นต้น - ขวดทาจากพอลิเอทีลีน (PE) ชนิดความหนาแน่นสูงใช้บรรจนุ ม น้าด่ืม ยา สารเคมี ผงซกั ฟอก เคร่อื งสาอาง เปน็ ต้น - ขวดทาจากพอลิเอสเธอร์ (PET) ใช้บรรจุนา้ อดั ลม เบียร์ เป็นต้น 2.2 ถ้วยพลาสติก เช่น ถว้ ยไอศกรมี ถว้ ยสงั ขยา เปน็ ตน้ 2.3 ถาดและกล่องพลาสติกแบบมีฝาและไมม่ ีฝา นิยมใช้บรรจอุ าหารสาเรจ็ รูปและ ก่งึ สาเร็จรูป 2.4 สกนี แพค (skin pack) และบริสเตอร์แพค (blister pack) เป็นภาชนะพลาสติก ทท่ี าจากแผ่นพลาสติก ทข่ี นึ้ รปู ดว้ ยความร้อนแลว้ นามาประกบหรอื ประกอบกระดาษแข็ง ซ่ึง แผ่นพลาสติกดังกลา่ วทามาจากพอลไิ วนิลคลอไรด์ (PVC) ตัวอย่างเช่น เครื่องเขียน แปรงสี ฟัน เป็นต้น 108 บทที่ 5 | บรรจภุ ณั ฑ์ในระบบโลจิสตกิ ส์
ภาพท่ี 5.12 บรรจุภณั ฑ์ภาชนะพลาสตกิ (ทมี่ า: http://www.vcharkarn.com/varticle/39192, สบื ค้น 29 ต.ค. 2556) 3 แก้ว นับเปน็ วัสดุบรรจุภัณฑท์ ่ีมีความเฉื่อยต่อการทาปฏิกริ ยิ ากับสารเคมชี ีวภาพเมอื่ เทียบ กับวัสดุบรรจภุ ัณฑ์ชนิดอื่น ๆ และยังรักษาคุณภาพภายในได้ดีมาก ข้อดีของแก้วคือความใสและทา เปน็ สีตา่ ง ๆ ได้ สามารถทนแรงกดได้สูง แต่เปราะแตกงา่ ยในกระบวนการบรรจสุ ามารถบรรจไุ ด้ด้วย ความเรว็ สูงในด้านส่ิงแวดล้อม แก้วสามารถนากลบั มาใชไ้ ด้หลายคร้งั อาจจะถึง 100 ครั้งและสามารถ นามาหลอมใช้ใหม่ไดง้ า่ ย (Recycle) สงิ่ ท่ีพงึ ระวังในเรอื่ งการบรรจคุ อื ฝาขวดแกว้ จะตอ้ งเลอื กใช้ฝาที่ ไดข้ นาดและต้องสามารถปิดได้สนทิ แน่น เพื่อช่วยรักษาคณุ ภาพและยืดอายุของสินค้า ตัวอย่างบรรจุ ภัณฑจ์ ากแกว้ ได้แก่ ขวดแกว้ โหลแก้ว เป็นต้น ภาพท่ี 5.13 บรรจภุ ัณฑ์ทที่ าจากแก้ว (ทม่ี า: http://www.bunjupun.com, สืบค้น 29 ต.ค. 2556) การจัดการการจดั สง่ ทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 109
4. โลหะ โลหะทีใ่ ช้ทาบรรจภุ ณั ฑ์ มี 2 ชนิด คอื - เหล็กเคลือบดีบกุ เป็นบรรจภุ ัณฑ์ท่ีแข็งแรง ป้องกันอันตรายจากสิ่งแวดลอ้ ม และสภาวะ อากาศ การลงทุนในการผลติ ไม่สูงนักและไม่ซบั ซอ้ นสามารถบรรจุอาหารได้ดีเน่ืองจากสามารถปิด ผนกึ ได้สนทิ และฆา่ เช้ือไดด้ ้วยความรอ้ น ในแงข่ องส่ิงแวดล้อมสามารถแยกออกจากขยะได้งา่ ยโดยใช้ แม่เหล็ก - อลมู เิ นยี ม มกั ใช้ในรูปอลมู ิเนียมเปลว หรอื กระปอ๋ งมีนา้ หนักเบาเมือ่ เทียบกบั ความแขง็ แรง ทนต่อการซึมผ่านของอากาศ ก๊าซ แสง และกลิ่นรสไดด้ ีเยีย่ ม ในรูปของอลมู ิเนียมเปลวมกั ใช้ควบกับ วัสดุอ่ืนซ่ึงให้ภาพลักษณ์ทีด่ ีเนอ่ื งจากความเงาวับของอลมู ิเนียม ตัวอย่างบรรจุภัณฑ์จากโลหะได้แก่ กระป๋อง ป๊ีบ ถัง และแผ่นเปลวอลมู เิ นยี ม เป็นต้น ภาพที่ 5.14 บรรจภุ ณั ฑท์ ที่ าจากโลหะ (ท่ีมา: http://www.bangsaphan.com/boardd/data/0636-1.html, สืบค้น 29 ต.ค. 2556) 5. ไม้ เปน็ วสั ดุท่ีใชท้ าบรรจุภณั ฑท์ ี่นอ้ ยมาก เพราะเกดิ การรณรงคเ์ รือ่ งตัดไมท้ าลายป่าและ นบั วันจะมกี ารใช้น้อยลงมากเพราะสามารถหาส่ิงอื่นมาทดแทนไม้ได้ แต่ทพี่ บเหน็ อยู่บ้างได้แก่ ลงั ไม้ เข่ง ตะกรา้ เป็นต้น ภาชนะบรรจภุ ณั ฑท์ าดว้ ยไม้ ได้แก่ - ไมไ้ ผ่ เปน็ วัสดทุ ห่ี าไดง้ ่าย สว่ นใหญ่ทาเปน็ บรรจุภัณฑ์เพอื่ การขนสง่ ไดแ้ ก่ เข่ง ตะกรา้ ซึง่ มี ข้อเสียคือรับแรงกดทับได้ไม่มาก ทาให้ผลติ ภัณฑ์ที่บรรจุอยู่ภายในเกิดความเสยี หายได้งา่ ย เช่นผกั ผลไม้ ผลิตภัณฑเ์ ซรามิกทีแ่ ตกหกั งา่ ย เปน็ ตน้ 110 บทที่ 5 | บรรจภุ ณั ฑ์ในระบบโลจิสตกิ ส์
- ไมเ้ บญจพรรณ ในปจั จุบนั หาค่อนขา้ งยากแตก่ ็ยงั มีอยู่บา้ งดงั นั้นบรรจภุ ณั ฑ์ ประเภทน้พี อ มใี ห้เหน็ บา้ ง ไดแ้ ก่ ลงั กระบะ โครงไม้บรรจเุ ครื่องจักร พาเลท เป็นตน้ ภาพที่ 5.15 บรรจุภณั ฑท์ ที่ าจากไม้ (ทม่ี า: http://www.be2hand.com, สบื ค้น 29 ต.ค. 2556) ปัญหาของการจดั การบรรจุภณั ฑโ์ ลจสิ ตกิ ส์ การจัดบรรจภุ ัณฑ์ทมี่ ีประสิทธิภาพทีม่ ีความจาเปน็ ต่อความสาเร็จของธุรกิจ ท้ังต่อกระบวน การดาเนินการและการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการขนส่ง อย่างไรก็ตามการจัดการบรรจุภัณฑ์ที่ไม่มี ประสทิ ธิภาพจะกอ่ ให้เกิดปัญหาดงั นี้ (Bowersox, Closs and Cooper, 2009: 411) 1. ปัญหาการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ (Packaging Development) เม่ือนาผลิตภัณฑ์ส่วน ใหญ่เข้าสู่ตลาดเพื่อวางจาหน่าย จาเปน็ ต้องมกี ารบรรจภุ ัณฑ์และการติดฉลาก การพัฒนาออกแบบ บรรจุภัณฑ์จะมีบทบาทต่อการตัดสินใจซ้ือของผู้บริโภค ในปัจจุบันการออกแบบบรรจุภัณฑ์เป็น เครื่องมือทางการตลาดที่สาคัญ เพราะบรรจุภัณฑ์ท่ีถูกออกแบบมาดีทาให้ง่ายต่อการใช้งานของ ผู้บริโภค มีส่วนทาให้ผ้บู ริโภคจดจาสินค้าได้ทนั ที ชว่ ยในการส่งเสรมิ การขายของผู้ผลติ ได้ และดึงดูด ความสนใจของผู้บริโภคหากไมม่ กี ารพฒั นาบรรจุภัณฑ์ ธุรกจิ จะไมส่ ามารถแข่งขันทางการค้าได้ ดงั นน้ั การพัฒนาบรรจภุ ัณฑจ์ ะตอ้ งสอดรับประเด็นการตลาด การกระจายสินค้า และการผลิต ซึ่งจะ ต้องเก่ียวข้องกับเรือ่ งโลจิสติกสท์ ้งั ในสว่ นของการออกแบบท่ีเข้ากับการใช้งาน รวมถึงเปน็ เครื่องมือ ประชาสัมพนั ธใ์ ห้เหมาะสมกับรปู แบบการขนสง่ ที่กาหนด การจดั การการจดั สง่ ทางธุรกจิ | Business Logistics Management 111
2. ปญั หาการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (packaging design) บรรจภุ ณั ฑร์ วมถึงภาชนะทบี่ รรจุ (container) และการออกแบบ สสี ัน รูปรา่ ง ตราฉลาก ขอ้ ความโฆษณาประชาสัมพันธ์ การออกแบบ บรรจุภณั ฑใ์ ด ๆ มีวัตถุประสงคเ์ พือ่ สรา้ งบรรจภุ ณั ฑ์ ใหส้ ามารถเอ้อื อานวยคุณประโยชนด์ ้านหน้าท่ีใช้ สอยได้ดี และเพ่ือ สร้างบรรจุภัณฑ์ให้สามารถสื่อสาร และสรา้ งผลกระทบทาง จิตวิทยาต่อผ้บู ริโภค ปัญหาที่ พบในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ได้แก่ ตราเคร่ืองหมายไม่เด่น ขาดความสวยงาม การ ออกแบบไมส่ ะดวกตอ่ การใชง้ าน และไม่สะดวกในการเก็บรกั ษา ดังน้ันการออกแบบบรรจุภณั ฑจ์ ึงสาคัญอยา่ งย่ิงในตลาด ปจั จบุ นั นักออกแบบบรรจภุ ัณฑจ์ งึ ต้องใช้ความรู้และข้อมูลจาก หลายๆ ด้านมาประกอบกัน การใช้ทักษะทางศิลปะในการ ออกแบบ ต้องอาศัยความรู้ และข้อมูลต่างๆ เพอ่ื ให้ได้ผลงานท่ี สาเร็จออกมามีประสิทธิภาพในการใช้งานจริง และสอดคลอ้ งกับการแข่งขนั ทางการคา้ เชน่ ในสภาพปัจจุบนั 3. ปัญหาการขาดบุคลากรในด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑท์ ม่ี ี ความสลับซับซ้อนมาก ๆ ทาให้ เกิดปัญหาหลายประการ เช่น การผลิต การบรรจุ และรวมทั้งการ ขนสง่ ถา้ ไม่คานึงถงึ สภาพการณ์ท่ีเป็นจริงแล้ว ส่งิ ที่ตามมาก็ คือบรรจภุ ณั ฑน์ น้ั จะไมส่ ามารถใชง้ านได้ เตม็ ทเ่ี ท่าทคี่ วร และจะก่อให้เกดิ ความเสียหายรวมในการลงทุนได้ จนกลายเปน็ การเพ่มิ ตน้ ทุนโดยไม่ จาเป็น ปัญหาการขาดบุคลากรในด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีความรู้อย่างลึกซ้ึงหรือขาดการ สนบั สนุนจากหนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ ง และขาดการศึกษาวจิ ัยอย่างจรงิ จงั ถอื เปน็ อุปสรรคสาคญั ทท่ี าให้ การพัฒนาบรรจภุ ัณฑข์ องประเทศยงั ไม่ครบวงจร 4. ปัญหาการเลอื กใชว้ ัสดุบรรจุภัณฑ์ (Packaging Materials) การเลือกใช้บรรจุภณั ฑม์ ี ส่วนสาคัญในการเพ่ิมมูลค่า และสร้างความโดดเด่นให้กับตัวสินค้า โดยเฉพาะอย่างย่ิงสินค้าที่มี คุณสมบัติพิเศษเหนือกว่าสินค้าอื่นในท้องตลาด ซึ่งต้องเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ท่ีมีมูลค่าสูงยกระดับ มาตรฐานสนิ ค้าใหส้ ูงขนึ้ การเลอื กใช้บรรจภุ ัณฑท์ ไี่ ม่เหมาะสมกับสินคา้ จะทาให้สนิ คา้ ดูดอ้ ยคุณภาพ ไม่ได้มาตรฐาน ดงั นนั้ ผู้เลอื กใช้บรรจุภัณฑ์ต้องรู้จกั ชนิดของวสั ดทุ ่ใี ชท้ าบรรจุภณั ฑด์ า้ นคุณสมบตั ทิ าง กายภาพ และคุณสมบัตทิ างเคมี 112 บทที่ 5 | บรรจุภณั ฑ์ในระบบโลจสิ ตกิ ส์
5. ปัญหาต้นทุนบรรจุภัณฑ์ (Packaging Cost) ในสถานการณ์ปัจจุบัน ต้นทนุ บรรจภุ ัณฑ์ เป็นปจั จยั ท่ีสาคญั ของธุรกจิ ตน้ ทุนบรรจุภัณฑ์ประกอบดว้ ย ตน้ ทนุ ในการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ ตน้ ทุน วสั ดุบรรจภุ ัณฑ์ ตน้ ทนุ ในการขนส่ง และต้นทนุ ในคลงั สินคา้ ปญั หาทพี่ บในต้นทุนบรรจภุ ัณฑ์ ไดแ้ ก่ การใช้วัสดใุ นการบรรจุภณั ฑไ์ มเ่ หมาะสมกับราคา ใช้ เคร่อื งมือเคร่ืองจกั รในการผลติ บรรจภุ ณั ฑ์ไม่ค้มุ คา่ หรือซือ้ วตั ถดุ ิบในราคาทส่ี ูง ทั้งนี้การจดั วางบรรจุ ภณั ฑเ์ รยี งทบั ซ้อนกันในทางสูง กจ็ ะสามารถลดตน้ ทุนบรรจุภณั ฑ์ได้ นอกจากน้ี ขนาดของบรรจภุ ัณฑ์ ท่ีเหมาะสมต่อรูปแบบการขนส่ง และประหยัดพ้ืนที่การจัดเก็บในคลังสินค้าจะเกี่ยวโยงถึงต้นทุน ดา้ นโลจสิ ติกส์ดว้ ย เพราะหากบริหารพื้นทตี่ ้คู อนเทนเนอร์ และคลงั สนิ คา้ ได้คุ้มค่ามาก ย่อมหมายถงึ ปริมาณการขนสง่ และการประหยัดต่อเท่ียวท่ีมากขน้ึ 6. ปัญหาบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง บรรจุภัณฑ์เพ่ือการขนส่ง เป็นบรรจุภัณฑ์เพื่อบรรจุ สินค้าสาหรบั การจัดสง่ สินค้า จากแหล่งผลติ ไปยังแหล่งอืน่ ๆ เช่นการสง่ ต่อไปยงั โรงงานอื่น สถานท่ี จัดเก็บ แหล่งจาหนา่ ย เป็นต้น ปัญหาบรรจุภณั ฑเ์ พ่อื การขนส่งทพี่ บ ไดแ้ ก่ บรรจภุ ัณฑไ์ มก่ ะทัดรดั ทา ให้เสียค่าระวางสูง บรรจุภัณฑ์ไม่แข็งแรง ทนทาน ทาให้สินค้าแตกหักง่าย หรือบรรจุภัณฑ์ใช้วัสดุ น้าหนักมาก ทาให้ต้นทุนค่าขนส่งสูง หากบรรจุภัณฑ์นั้นไม่สามารถใช้งานได้เต็มท่ีเท่าที่ควร จะ ก่อให้เกิดความเสียหายรวมในการลงทุนได้จนกลายเป็นการเพ่ิมต้นทุนโดยไม่จาเป็น ดังน้ันการ ออกแบบบรรจภุ ัณฑ์เพื่อการขนสง่ จึงเป็นสงิ่ จาเปน็ อยา่ งยิ่ง นักออกแบบจะต้องวิเคราะห์ลกั ษณะท่ี เหมาะสมของบรรจุภัณฑส์ าหรับสินค้า 7. ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีความเชื่อมโยงกับบรรจุภัณฑ์ บรรจภุ ัณฑ์เปน็ สาเหตุหน่ึงในการ ก่อปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งหลีกเลย่ี งไม่ได้ เนอ่ื งจากบรรจุภัณฑม์ ักมีอายกุ ารใช้งานสัน้ และเปลี่ยนเป็น ขยะภายหลังจากการใช้งานในแต่ละครงั้ ดังน้ันควรนาบรรจุภัณฑก์ ลบั มาใช้ใหม่หรอื มาหลอมใหมไ่ ด้ การกาจัดบรรจุภัณฑ์หลัง จากการใช้แล้วและเลือกใช้วัสดุที่สามารถย่อยสลายได้ รวมท้ังการลด ปริมาณบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วในกองขยะท่ัวประเทศ ด้วยวิธีท่ีปลอดภัยและเหมาะสม จะไม่ก่อมลภาวะ ต่อส่ิงแวดล้อม ท้ังนีก้ ารใชร้ ะบบการจดั การบรรจภุ ณั ฑ์และขยะบรรจภุ ณั ฑ์ จะสามารถลดปญั หาด้าน สงิ่ แวดล้อมท่เี กย่ี วกับบรรจภุ ณั ฑ์ไปไดม้ าก การจัดการการจดั สง่ ทางธุรกจิ | Business Logistics Management 113
แนวทางการจดั การบรรจภุ ณั ฑโ์ ลจสิ ติกสใ์ หม้ ปี ระสทิ ธิภาพ เนอ่ื งจากการจดั การบรรจุภณั ฑ์ เปน็ กิจกรรมทส่ี าคญั กิจกรรมหนงึ่ ของระบบโลจสิ ตกิ สแ์ ละ เป็นหนึ่งในกิจกรรมท่ีสร้าง มูลค่าเพ่ิมทางการตลาดให้กับสนิ ค้า เพราะเป็นภาพลักษณ์ของสินค้าที่ ผู้บริโภคได้สัมผัสและมี บทบาทในการช้ี ขาดการตัดสินใจของผู้บริโภคต่อสินค้า อีกทั้งยังทาหน้าที่ ปกปอ้ งใหส้ นิ ค้าใหถ้ ึงมือผบู้ รโิ ภคปลายทางอยา่ งปลอดภัยโดยสอดคล้องกบั วธิ หี รอื กระบวนการในการ จัดส่งและการกระจาย สินค้า ดังนั้น แนวทางการจัดการบรรจุภัณฑ์โลจสิ ติกส์ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพสรปุ ไดด้ ังนี้ 1. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ (Packaging Development) ในอดีตบรรจุภัณฑ์มีหน้าท่ีเพยี ง ห่อหุ้มและปกปอ้ งผลติ ภัณฑ์เท่านั้นแต่ปัจจบุ ันบรรจภุ ัณฑ์มีหน้าที่ในการโฆษณาประชาสัมพนั ธ์ผ่าน ผลิตภัณฑ์และรูปลกั ษณ์ทส่ี ามารถดึงดดู ผู้ซอื้ ตลอดจนสามารถใช้ในการประชาสมั พันธ์กิจกรรมดา้ น สงั คมขององค์กร เพอ่ื สรา้ งแรงจูงใจใหก้ ับผบู้ ริโภคในการเลือกซือ้ สนิ ค้า จากสภาพการแข่งขันในตลาดและพฤติกรรมผูบ้ รโิ ภคทเ่ี ปล่ียนแปลงไป ทาให้อุตสาหกรรม การบรรจุภัณฑ์เติบโตมาก ท้ังด้านการออกแบบวัสดุบรรจุภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องจักรและเทคโนโลยี การผลติ พรอ้ มทง้ั บทบาทความสาคญั ที่เพ่ิมมากขนึ้ ของบรรจุภณั ฑ์ต่อความสาเร็จทางการตลาด ทง้ั น้ี ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการพัฒนาบรรจภุ ัณฑ์รูปแบบต่าง ๆ จากวัสดุหลากหลาย กระแสของ การรกั ษาสิ่งแวดล้อมในประเทศท่ีพฒั นาแลว้ สง่ ผลให้มีการพัฒนาเทคโนโลยตี ่าง ๆ ท่มี ุ่งสูก่ ารใช้วัสดุ นอ้ ยลงและเพ่ิมความเปน็ มิตรตอ่ สิง่ แวดลอ้ มมากขน้ึ หวั ใจสาคญั ในการพัฒนาคอื ความพยายามลดจุด ดอ้ ยของบรรจภุ ัณฑ์แต่ละชนดิ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์มีผลต่อความอยู่รอดของผลิตภัณฑ์จนถึงมือผู้บริโภค โดยมีสภาพ สมบูรณ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออกจึงมีเป้าหมายเพ่ือให้ได้บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับ ผลิตภัณฑ์ โดยมตี น้ ทนุ ต่าท่ีสุดเท่าที่จะเปน็ ไปได้ 2. การออกแบบบรรจุภัณฑ์โลจิสติกส์ (Packaging Logistics Design) การบรรจุภัณฑ์ เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการออกแบบการสร้างสิ่งบรรจุ เพื่อห่อหุ้มสินค้าให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย ป้องกันไม่ให้เกิดการแตกหักของสินค้า การสูญหายของสินค้าและการเส่ือมสภาพของสินค้า ธุรกิจ สามารถลดความเสี่ยงภัยดงั กล่าว ไดด้ ้วยบรรจภุ ัณฑ์ที่แขง็ แรงทนทานต่อการกดทบั และการเสียดสีที่ 114 บทที่ 5 | บรรจภุ ณั ฑ์ในระบบโลจิสตกิ ส์
เกิดข้ึนจากการเคลือ่ นย้ายและขนสง่ สินค้า รวมท้ังมกี ารกาหนดมาตรฐานของบรรจภุ ัณฑ์ เช่น ขนาด น้าหนกั ของหบี ห่อ เพ่ือให้การขนสง่ สนิ ค้าไปยงั ลูกคา้ เปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ การออกแบบบรรจุภัณฑ์สาหรบั โลจสิ ติกส์จะต้องมลี ักษณะดังนี้ (กมลชนก สุทธิวาทนฤพฒุ ิ, ศลิษา ภมรสถิตย์ และจกั รกฤษณ์ ดวงพัสตรา, 2547: 121-122) 1) สอดรับกับเร่อื งของการตลาด การจดั จาหน่าย และผลิตภัณฑ์ 2) จะตอ้ งเก่ียวขอ้ งกบั เรือ่ งโซอ่ ุปทาน (Supply Chain) ทัง้ ในสว่ นของการออกแบบ ทเี่ ขา้ กบั การใช้งาน 3) เหมาะสมกับรปู แบบการขนสง่ ที่กาหนด 4) จะต้องช่วยในการลดต้นทุน (cost) ในกระบวนการ ตา่ ง ๆ 5) คาถงึ การจัดเกบ็ ในคลงั สินคา้ (warehouse) 6) สามารถเสริมช่วยในการบริหารพ้ืนที่ว่าง (space) ของ การบรรทุกหรือการ ออกแบบการขนส่ง (transport design) ทตี่ อ้ งเหมาะกับผลิตภณั ฑ์ทบ่ี รรจภุ ายใน 7) การใช้วัสดุท่เี บา เพราะจะทาใหป้ ระหยัดค่าขนส่ง 8) ช่วยใหบ้ รรทกุ สินค้าได้ ทาให้เกิดการบรรทกุ สนิ คา้ เต็มคนั รถ เกดิ ความสะดวกใน การยกขนและความสะดวกในการ รองรับสินค้า 9) ช่วยลดของหายและเสียหาย เช่น การใช้พลาสติกใส ส่งผลให้สามารถมองเหน็ สินค้าภายในบรรจภุ ัณฑ์ ทาให้ทราบว่าสินค้าสูญหายหรอื เสียหายหรือไม่ นอกจากน้ียงั ช่วย ใหล้ ูกค้า สามารถเลือกสขี องสินคา้ ได้สะดวก 10) ช่วยเสริมภาพลกั ษณ์ของกจิ การ และคานงึ ถงึ การนากลบั มาใชใ้ หม่อกี ครง้ั 11) ออกแบบให้สามารถวางทับซ้อนกันได้ ส่งผลให้เกิดการขนส่งเต็มคันรถ เพิ่ม ประสิทธิภาพในการทางาน ลดความสญู เปล่าในกระบวนการ และลดตน้ ทุนได้จานวนมาก การจัดการการจดั สง่ ทางธุรกจิ | Business Logistics Management 115
3. การเพิ่มการจ้างงานในการบรรจุภัณฑ์ (Increase Employment Rate) ปัจจุบัน อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์เติบโตขยายตัวอย่างมาก ก่อให้เกิดอุตสาหกรรมต่อเนื่อง (Continuous Industry) จานวนมาก โดยมกี ารพฒั นาคดิ ค้นเทคโนโลยีดา้ นการบรรจภุ ัณฑ์เกดิ ขน้ึ มาก รวมท้งั การใช้ ระบบการบรรจุภัณฑ์แบบอัตโนมัติ กระบวนการบรรจภุ ัณฑ์ทาให้เกิดการจา้ งงานบคุ คลฝ่ายต่าง ๆ จานวนมาก ทั้งในระดับการออกแบบ เชน่ อาชพี นกั ออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ (Packaging Designer) งาน ด้านกราฟิกดีไซน์ (Graphic Design หรือ Visual Design) ตลอดจนระดับแรงงานท่ีใช้ในการบรรจุ ภัณฑ์ เปน็ ตน้ การเพิ่มบคุ ลากรในดา้ นการออกแบบบรรจภุ ัณฑท์ ีม่ ีความรู้อย่างลึกซงึ้ จะช่วยใหธ้ ุรกิจดาเนนิ ต่อไปอย่างมีประสิทธภิ าพ 4. การเลือกวสั ดุบรรจภุ ัณฑ์ (packaging materials) การเลือกวสั ดแุ ละวธิ ีการบรรจภุ ณั ฑ์ ให้เหมาะกบั ผลติ ภณั ฑ์ ต้อง อาศัยความรูแ้ ละพิจารณาข้อมูลตลอดจนปัจจยั ตา่ งๆ ซึ่งต้อง พิจารณามี ความคุ้มทุน หรอื ความเป็นไปไดใ้ นระบบการผลิตและ จดั จาหน่าย ปัจจัยในการพิจารณาเลือกใช้วัสดุ และบรรจุภัณฑ์ ได้แก่ สภาพทางการตลาดและข้อจากัดต่างๆ ธรรมชาติ ลักษณะ เฉพาะของ ผลติ ภณั ฑ์ สภาพการลาเลียง การขนส่ง การเก็บรักษา วธิ ีการบรรจุผลติ ภัณฑ์ และการจัดหาวสั ดุเพ่อื การบรรจุ ปัจจุบันวัสดุหลัก ๆ ท่ีใช้ผลิตบรรจุภัณฑ์ประเภทต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ กระดาษ พลาสติก โลหะ และแก้ว ซ่ึงแต่ละประเภทมีลกั ษณะ เฉพาะท่ีโดดเด่นแตกต่างกันออกไป การเลอื กวสั ดุไปใชจ้ ึงต้อง คานึงถงึ สินคา้ ท่อี ยูภ่ ายในดว้ ยลกั ษณะของบรรจุภณั ฑท์ ีเ่ หมาะสมกบั สินค้า น้ัน ต้อง สอดคล้องกบั ลักษณะของสนิ ค้าที่บรรจลุ งในบรรจุภัณฑ์ ว่ามีลักษณะเป็น น้า ครีม ผง เมด็ ก้อน แผ่นบางกรอบ ก๊าซ หรือ ลักษณะอ่ืน ๆ ซ่ึงอาจช่วยให้สินค้าสามารถอยู่ในสภาพที่ต้องการได้ โดยไม่แตกหักเสียหาย และเนา่ เสยี ก่อนเวลาท่ีกาหนดไว้ 5. การลดค่าใช้จ่ายในการบรรจุภัณฑ์ (Cost Saving) บรรจุภัณฑ์ที่ใช้เป็นส่วนหนึ่งของ การขายให้กับผูบ้ รโิ ภค ณ จดุ ซื้อ หรือผู้ใชร้ ายสุดท้าย บรรจุภัณฑม์ ีความจาเป็นอยา่ งมากในการรกั ษา สินค้าใหค้ งอย่สู ภาพเดิมท่สี ุด ในขณะเดยี วกนั กย็ ังมปี ระโยชนอ์ ย่างยงิ่ ในการขนสง่ สนิ คา้ ไดโ้ ดยสะดวก เช่น เมื่อนาสนิ ค้าที่เปน็ กระปอ๋ ง ลงกลอ่ งกระดาษ จะทาให้สามารถทาการขนถ่ายได้เป็นจานวนมาก 116 บทที่ 5 | บรรจุภณั ฑ์ในระบบโลจสิ ตกิ ส์
ข้ึน พร้อมทั้งลดปริมาณพื้นที่ในการเก็บคงคลัง ก่อให้เกิดความสะดวกในการเรียงซ้อน ซึ่ง ผปู้ ระกอบการ คา้ โดยทว่ั ไปคน้ พบวา่ การเพิ่มต้นทุนของบรรจภุ ณั ฑ์ จะช่วยลดคา่ ใชจ้ ่ายในการขนส่ง และค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ ยังผลให้ต้นทุนรวมของสินค้ามีมูลค่าถูกลง และผู้บริโภคสามารถซ้ือสินค้าด้วย ราคาทถี่ กู ลง ซ่ึงเท่ากับเป็นการลดค่าใช้จ่ายให้กับผบู้ ริโภค บรรจุภัณฑ์ท่ีดีจะช่วยลดความเสียหายต่าง ๆ จากการระเหย การแตกหัก การเสื่อมสภาพ และการถูกแมลงหรอื สตั วอ์ ืน่ ๆ รบกวน เป็นตน้ สินค้าทไี่ ม่ได้บรรจภุ ัณฑ์ จะเสยี หายไดง้ า่ ยกวา่ สนิ ค้า ที่มีการบรรจุภัณฑ์ท่ีดี ดังนั้นบรรจุภัณฑ์จึงช่วยลดความเสียหายและเป็นการประหยัด โดยเสีย ค่าใช้จา่ ยในการดูแลรกั ษาตา่ 6. การป้องกันสินค้ามิให้สูญหายและเสียหายระหว่างการขนส่ง บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม ช่วยป้องกันสินค้าไม่ให้เสียหายในระหว่างการขนส่ง ทั้งนี้ ผู้ผลิตสินค้าควรเรยี นรู้เกีย่ วกับการบรรจุ ภัณฑ์ที่เหมาะสม เช่น เลือกใช้ภาชนะบรรจุที่แข็งแรงทนทานต่อการกดทับ และกระทบกระแทกใน ระหวา่ งการขนสง่ ใชว้ สั ดุทีม่ คี ณุ ภาพซึง่ สามารถปอ้ งกันความชน้ื และก๊าซออกซิเจนได้ มวี ิธีการบรรจุ สินค้าท่ีไม่แน่นหรือหลวมเกินไป หรือใช้วัสดุเสริมภายในภาชนะบรรจุ เพื่อป้องกันการเสียดสีหรอื กระแทก และการใช้อุปกรณ์ช่วยในการขนย้าย อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ก็สามารถช่วยลดปัญหาสนิ ค้า เสียหายได้ รวมท้งั ฉลากเอกสารอ้างองิ ตา่ ง ๆ และเทคโนโลยที ีใ่ ชต้ ิดตามสนิ คา้ ระหว่างการขนส่งเช่น GPS (Global Positioning System) และระบบระบุลกั ษณะของวัตถุด้วยคลืน่ ความถว่ี ทิ ยุ หรอื RFID (Radio Frequency Identification) ก็เป็นสง่ิ ทส่ี าคญั ที่ชว่ ยไมใ่ หส้ นิ ค้าสญู หายได้เช่นกนั ภาพท่ี 5.16 ระบบ GPS-Tacking ตดิ ตามการขนสง่ (ทีม่ า: http://www.mobilegpsonline.com, สบื คน้ 29 ต.ค. 2556) การจัดการการจดั สง่ ทางธุรกิจ | Business Logistics Management 117
7. บรรจุภณั ฑ์เพ่ือสิ่งแวดล้อม (eco packaging) การออกแบบบรรจภุ ณั ฑเ์ พอ่ื สิ่งแวดลอ้ ม จะลดปัญหาจากขยะบรรจุภัณฑ์ การสิ้นเปลืองทรัพยากร การนาบรรจุภัณฑ์มาใช้ซ้าหรือการนา กลับมาแปรรูปใหม่ จะทาให้ระบบการผลติ มกี ารนาทรพั ยากรเหลอื ใช้มาทาประโยชน์ได้ เช่น การแปร รปู ผลิตภัณฑ์ อาหารในโรงงานผลิตอาหารกระปอ๋ ง จะมีสว่ นทเี่ หลือทง้ิ ซง่ึ มาก พอมาท ำประโยชน์ใน การทาวตั ถุ ผลพลอยไดอ้ ื่น ๆ เช่น ป๋ยุ อาหาร สตั ว์ เป็นต้น ปัจจุบันการออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ หรือ eco-design (economic & ecological design) เข้ามามีบทบาทสาคัญต่อ กระบวนการผลติ สินคา้ โดยผนวกแนวคิดดา้ นเศรษฐกิจและดา้ น สิ่งแวดล้อมเข้าไปในข้ันตอนการออกแบบเพ่ือพฒั นาผลติ ภัณฑ์ท่ี เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ซ่ึงรวมถึง การวิเคราะห์สมรรถนะทางด้านส่ิงแวดล้อมของผลิตภัณฑ์ การจัดการซากท่ีหมดอายุ การลด ผลกระทบตอ่ สิง่ แวดลอ้ มในทุกช่วงของวงจรชวี ิตของผลติ ภัณฑ์ โดยควบคกู่ บั การวิเคราะหป์ จั จัยด้าน อื่น ๆ เช่น ต้นทุน กระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ และการตลาด เป็นต้น มาตรการ 7 R สาหรบั การแก้ไขปัญหาสิง่ แวดลอ้ มจากบรรจภุ ัณฑ์ไดแ้ ก่ (1) Reduce เป็นการลดปรมิ าณมลู ฝอยท่ีอาจเกิดข้นึ (2) Reuse นาขยะมลู ฝอยเศษวสั ดมุ าใช้ใหมอ่ กี หรือ เป็นการใชซ้ ้า (3) Refill การใชผ้ ลติ ภัณฑช์ นิดเติม เพอ่ื ลดการใชข้ วดพลาสติก (4) Repair การนามาแก้ไข นาวสั ดุอุปกรณท์ ีช่ ารุดเสียหายมาซอ่ มแซมใชใ้ หม่ (5) Return การนาผลิตภัณฑท์ ผี่ ่านการใช้แล้วมาใช้ใหม่ (6) Recycle การหมนุ เวยี นกลับมาใช้ (7) Reject/Refuse การหลกี เลย่ี งการใช้วสั ดทุ ที่ าลายยาก หรือวัสดุท่ีใช้ครัง้ เดียวแลว้ ท้ิง 118 บทที่ 5 | บรรจภุ ณั ฑใ์ นระบบโลจสิ ตกิ ส์
ภาพท่ี 5.17 การออกแบบบรรจุภัณฑต์ ามแนวคิด eco-design (ท่ีมา : My Thai Design, 2012) 8. การใช้เทคโนโลยีในการบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ เป็นปัจจยั ทีส่ าคัญในการจัดการการนา สนิ ค้าจากแหล่งผลติ สมู่ อื ผ้บู ริโภคในคุณภาพซึ่งเป็นที่ยอมรับได้ การบรรจภุ ณั ฑจ์ ึงมีความ สัมพันธ์กบั ขั้นตอนต่างๆ ต้ังแต่การเตรียมสินค้า การบรรจุ การลาเลียงและขนส่ง จนถึงการตลาด การใช้ เทคโนโลยใี นการบรรจภุ ณั ฑป์ ัจจบุ นั ได้แก่ (วทิ ยา สุหฤทดารง, 2551: 148) 1) การใช้บาร์โค้ด (barcode) เทคโนโลยีบาร์โค้ดถูกนามาใช้ทดแทนการบันทึก ข้อมูล บารโ์ ค้ด (barcode) คือ สัญลกั ษณ์ รหัสแท่งที่ใช้แทนข้อมลู ตัวเลขมีลกั ษณะเป็นแถบ มีความหนาบาง แตกต่างกันข้ึนอยู่กับตัวเลขท่ีกากับด้านล่าง การอ่านข้อมูลจะ อาศัย หลักการสะทอ้ นแสง เพื่ออา่ นข้อมลู เขา้ เก็บในคอมพิวเตอร์โดยตรงไม่ต้องกดปุม่ ทแ่ี ป้นพิมพ์ ระบบนี้เป็นมาตรฐานสากลที่นิยมใช้กนั ทั่วโลก การนาเขา้ ข้อมูลจากรหสั แถบของสินคา้ เปน็ วธิ ที รี่ วดเรว็ และความนา่ เชอื่ ถอื ของข้อมูลมีสงู และใหค้ วามสะดวกแก่ผใู้ ช้งานไดด้ ี ระบบบารโ์ ค้ด จะใช้ควบคู่กับเครอ่ื งอ่าน ทเ่ี รียกวา่ เครือ่ งยงิ บาร์โค้ด (scanner) ซึง่ เป็นตวั อา่ นขอ้ มูลทอ่ี ยู่ในรูปรหสั แทง่ เป็นข้อมลู ตวั เลขหรอื ตวั อักษร ทาใหส้ ามารถเขา้ ใจและ นาขอ้ มูลไปใชง้ านได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ การจดั การการจดั สง่ ทางธุรกจิ | Business Logistics Management 119
ภาพท่ี 5.18 ระบบบารโ์ คด้ ในการตรวจสอบสินคา้ (ทม่ี า: http:// www.thistleroestudio.com, สบื คน้ 29 ต.ค. 2556) 2) ระบบ RFID (Radio Frequency Identification) เป็นระบบระบุลักษณะของ วัตถุดว้ ยคล่นื ความถี่วทิ ยุ มีวตั ถปุ ระสงค์หลกั เพื่อนาไปใชง้ านแทนระบบบาร์โคด้ (barcode) เป็นระบบเก็บข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ท่ีเพ่ิมความสามารถในการคานวณและการรักษา ความปลอดภัยของข้อมูล และส่งกาลังโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแทนการสัมผสั ทางกายภาพ เป็นการเอาคลน่ื วิทยุมาเป็นคลน่ื พาหะ เพือ่ ใช้ในการส่ือสารข้อมูล จุดเด่นของ RFID อยู่ท่ีการอ่านข้อมลู จากแท็ก (tag) ได้หลาย ๆ แท็กแบบไร้สัมผสั และสามารถอ่านคา่ ได้แมใ้ นสภาพท่ีทัศนวิสัยไม่ดี ทนตอ่ ความเปยี กชื้น แรงสน่ั สะเทอื นและ การกระทบกระแทก การพัฒนาระบบ RFID มิได้มีจุดประสงค์เพื่อมาแทนท่ีระบบบารโ์ คด้ แตเ่ ป็นการเสรมิ จุดออ่ นตา่ ง ๆ ของระบบ 3) การใช้วทิ ยาการใหม่ในการบรรจุภัณฑ์ ปจั จุบันการดาเนนิ งานในด้านบรรจภุ ัณฑ์ ไดม้ วี ิทยาการและนวตั กรรมใหม่ๆ เพอื่ ใชก้ ับการบรรจภุ ัณฑ์ในวิธีการจัดสง่ เชน่ บรรจภุ ณั ฑ์ รวม (unitized load) เป็นการจัดส่งโดยนาบรรจุภัณฑ์แต่ละหีบห่อมารวมกันเป็นกลุ่มให้ สามารถรับน้าหนกั และจดั ส่งรวมกนั ได้ ซ่ึงเปน็ วิธีทีป่ ระหยดั ค่าใช้จ่ายในการขนสง่ เช่น การ ใชค้ อนเทนเนอรข์ นสง่ ทางเรือและทางอากาศ 120 บทท่ี 5 | บรรจภุ ณั ฑ์ในระบบโลจิสติกส์
บทสรปุ บรรจภุ ัณฑ์นับว่ามบี ทบาทสาคัญต่อความสาเร็จของธุรกิจ เนื่องจากสามารถเป็นสอื่ โฆษณา ณ จุดขายปลีกไปส่มู อื ผูซ้ ้ือโดยตรง แสดงถึงช่ือเสียงของบริษัทผผู้ ลติ ตราสินค้า คุณสมบัติ สรรพคณุ และวิธีการใช้สินค้า และยังช่วยสร้างภาพลักษณ์ให้สินค้าและองค์กรได้ นอกจากน้ี บรรจุภัณฑย์ งั มี บทบาทสาคัญต่อการค้าและการบริการ ในฐานะช่วยอานวยความสะดวกแกก่ ารขนส่งสินค้า โดยทา หนา้ ทีใ่ นการปกป้องและคมุ้ ครองสินค้าให้ปลอดภัยจนถึงมอื ผบู้ รโิ ภค บรรจุภณั ฑ์เปน็ ปจั จัยหน่ึงทจี่ ะช่วยเพ่ิมมลู คา่ ใหก้ บั ผลติ ภณั ฑแ์ ละการตลาดได้ การตดั สนิ ใจ ซื้อสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มิได้ข้ึนอยู่กับชนิดและคุณภาพของสินค้าเพียงอย่างเดียว หากแต่ยัง ขึ้นอยู่กับรูปแบบและภาพลักษณ์ของบรรจภุ ัณฑ์จงู ใจภายนอกของสินค้าน้ันด้วย ทาให้บรรจภุ ณั ฑม์ ี บทบาทสาคัญยงิ่ ตอ่ การจาหน่ายสนิ ค้าและผลิตภณั ฑต์ า่ ง ๆ ปัจจุบันสภาพการแข่งขันและพฤติกรรมผู้บริโภคท่ีเปลี่ยนไป ประกอบกับเทคโนโลยีการ บรรจภุ ัณฑ์ได้เจริญรุดหน้าเปน็ อย่าง มาก ทาให้มีการพฒั นาบรรจภุ ัณฑ์ ทั้งในด้านการออกแบบและ วัสดุบรรจุภณั ฑ์ อปุ กรณเ์ ครอ่ื งจกั ร และเทคโนโลยกี ารผลติ ดังนั้นในการจัดการบรรจุภัณฑ์โลจิสติกส์ให้มีประสิทธิภาพน้ัน จะต้องพิจารณาถึงแนว ทางการจัดการต่าง ๆ ได้แก่ การพัฒนาออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ การเพิ่มการจา้ งงานในการบรรจภุ ัณฑ์ การเลือกวัสดุบรรจุภัณฑ์ การป้องกันสูญหายในระหว่างการขนส่ง การจัดการบรรจุภัณฑ์เพื่อ ส่ิงแวดล้อม ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีในการบรรจุภัณฑ์ ท้ังนี้ การจัดการบรรจุภัณฑ์ ท่ีดีและมี ประสิทธิภาพ ช่วยลดต้นทุนของธุรกิจ และเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการกระจายสนิ ค้าใหล้ ูกค้าไดอ้ ย่างมี คุณภาพและ ทันเวลา ซึ่งเป็นปัจจยั สาคัญท่ีช่วยให้ธุรกิจประสบความสาเรจ็ สามารถแข่งขันและอยู่ รอดไดใ้ นยุคโลกาภิวัตน์ การจัดการการจดั สง่ ทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 121
แบบฝึ กหดั ทา้ ยบท 4.1 บรรจุภัณฑ์ในกจิ กรรมโลจสิ ตกิ ส์มกี ป่ี ระเภท จงอธบิ าย 4.2 ชนดิ ของวัสดทุ ใ่ี ช้ทาบรรจุภณั ฑม์ ีกป่ี ระเภท จงอธบิ ายและยกตัวอยา่ งผลิตภัณฑ์ทีใ่ ช้บรรจุภณั ฑ์ 4.3 จงอธบิ ายลกั ษณะการออกแบบบรรจุภัณฑ์โลจิสตกิ ส์ (Packaging Logistics Design) 4.4 จงยกตัวอยา่ งการใช้เทคโนโลยีในการบรรจภุ ณั ฑ์ เอกสารอา้ งองิ กมลชนก สทุ ธวิ าทนฤพฒุ ,ิ ศลิษา ภมรสถิตย์ และจกั รกฤษณ์ ดวงพัสตรา. (2547). การจดั การโซ่ อุปทานและโลจสิ ติกส.์ กรงุ เทพฯ: สานักพมิ พท์ อ้ ป, 121-122. คานาย อภปิ รชั ญาสกุล. (2546). โลจสิ ตกิ ส์และการจัดการซพั พลายเชน. กรุงเทพฯ: นัฏพร, 96. วิทยา สุหฤทดารง. (2551). คมู่ อื การจดั การลอจสิ ตกิ ส์และการกระจายสินคา้ . กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พ์ อ.ี ไอ. สแควร.์ 148. สมพงษ์ เฟ่ืองอารมย์. (2550). บรรจภุ ณั ฑ์กับการส่งออก. กรงุ เทพฯ: จามจรุ โี ปรดักท,์ 5. Bowersox, D.J., Closs, D.J. and Cooper, M.B. (2009). Supply chain Logistics management. New York: McGraw- Hill Irwin, 411. My Thai Design. Eco & Sustainable Premium Thai Pomelo Packaging Design, (2012) [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก : http://www.mythaidesign.com/pressarticle/ items/packaging-design-pomelo-thailand-yodcorp.html. [30 ตลุ าคม 2556]. 122 บทที่ 5 | บรรจภุ ณั ฑใ์ นระบบโลจสิ ติกส์
แผนบรหิ ารการสอนประจาวชิ าบทที่ 6 การจดั การคลงั สินคา้ หวั ขอ้ เน้อื หาประจาบท 1. ความหมายคลังสนิ ค้า 2. วตั ถุประสงค์ของการจดั การคลังสนิ คา้ 3. ประโยชนข์ องการจดั การคลังสินค้า 4. ความสัมพันธร์ ะหว่างคลังสนิ ค้ากับกจิ กรรมโลจสิ ติกส์ 5. องคป์ ระกอบท่ีสาคญั ของการจดั การคลังสินคา้ 6. กิจกรรมในคลังสินคา้ 7. ประเภทของคลงั สินค้า 8. การกาหนดขนาดคลังสนิ คา้ 9. อปุ กรณเ์ คลอื่ นยา้ ยในคลงั สนิ คา้ 10.บทสรปุ วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1. เพ่ือให้ผู้ศึกษาสามารถอธิบายความหมาย วัตถุประสงค์ และ ประโยชน์ของการจัดการ คลังสินคา้ 2. เพือ่ ให้ผศู้ กึ ษาสามารถอธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างคลงั สนิ ค้ากับกจิ กรรมโลจสิ ตกิ ส์ 3. เพื่อให้ผ้ศู ึกษาสามารถอธิบายกิจกรรมและองคป์ ระกอบทสี่ าคัญของการจดั การคลงั สินคา้ 4. เพอ่ื ใหผ้ ูศ้ กึ ษาสามารถอธิบายความแตกตา่ งคลังสินคา้ แต่ละประเภท 5. เพอ่ื ให้ผู้ศึกษาสามารถกาหนดขนาดคลังสินค้า และอธบิ ายการใช้งานอุปกรณเ์ คล่ือนย้าย ในคลงั สินคา้ วิธีการสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอนประจาบท 1. บรรยายเน้ือหาบทเรยี นที่เกี่ยวกับความหมายคลงั สินคา้ วตั ถปุ ระสงค์ ประโยชน์ของการ จัดการคลงั สนิ ค้า การจดั การการจดั ส่งทางธุรกจิ | Business Logistics Management 123
ความสัมพนั ธร์ ะหว่างคลงั สินค้ากบั กิจกรรมโลจสิ ติกส์ องค์ประกอบทส่ี าคญั ของการจดั การ คลังสินค้า กิจกรรมในคลงั สินค้า ประเภทของคลังสนิ ค้า การกาหนดขนาดคลังสินค้า และ อปุ กรณเ์ คลื่อนย้ายในคลังสินค้า 2. อธบิ ายความแตกต่างของคลงั สินค้าแต่ละประเภท และให้นักศึกษาชว่ ยกนั ยกตัวอย่างว่า สนิ ค้าชนดิ ใดเหมาะกับคลังสนิ คา้ ประเภทใด แล้วอธิบายเพม่ิ เติมถงึ ขอ้ ดีข้อเสยี คลงั สินค้า แต่ละประเภท 3. มอบหมายแบบฝึกหดั เป็นการบ้าน เพื่อเพมิ่ ทักษะในการหาคาตอบและทบทวนบทเรียน เพ่อื ทาความเข้าใจในเน้ือหามากยงิ่ ขึ้น สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ าการจัดการการจัดส่งทางธรุ กจิ 2. เอกสารต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งในเอกสารอ้างอิง 3. ส่ือทศั นะวสั ดปุ ระกอบการสอน การวัดและประเมินผล 1. การเข้าชนั้ เรยี นและการมสี ่วนร่วมในชน้ั เรยี น 2. การตอบคาถามและการซกั ถาม 3. แบบฝกึ หดั ทม่ี อบหมาย 124 บทท่ี 6 | การจดั การคลงั สินคา้
บทท่ี 6 การจดั การคลงั สนิ คา้ เม่ือกล่าวถึงคลังสินค้า Warehouse เป็นส่วนประกอบที่สาคัญยิ่งในระบบโลจิสติกส์ มี บทบาทสาคญั ในการให้บริการลูกค้าที่ดที ีส่ ุด มีค่าใช้จ่ายรวมท่ตี ่าทส่ี ุด กิจกรรมในคลังสนิ คา้ เป็นห่วง โซ่เชอ่ื มโยงระหว่างผู้ผลติ กับลกู คา้ ซง่ึ ผู้บริหารจะต้องวางแผนตดั สินใจในการลงทุนและบรหิ ารจัดการ คลงั สินค้าอยา่ งเหมาะสม เน้ือหาในบทนี้จะกล่าวถึงความหมายคลังสินค้า วัตถุประสงค์ของการจัดการคลังสินค้า ประโยชน์ของการจัดการคลังสินค้า ความสัมพันธ์ระหว่างคลังสินค้ากับกิจกรรมโลจิสติกส์ องค์ประกอบท่ีสาคัญของการจัดการคลังสินค้า กิจกรรมในคลังสินค้า ประเภทของคลังสินค้า การ กาหนดขนาดของคลังสินค้าและอปุ กรณ์เคล่ือนยา้ ยในคลงั สินค้า ความหมายคลงั สนิ คา้ คลังสินค้า หมายถึง พ้ืนที่ท่ีได้วางแผนแล้วเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้สอยและการ เคลื่อนย้ายสินค้าและวัตถดุ ิบ (คานาย อภปิ รัชญาสกุล, 2553: 21) คลังสนิ คา้ ทาหน้าทตี่ ่าง ๆ ดังนี้ 1.เป็นสถานทีใ่ ชเ้ กบ็ สารองสนิ ค้าที่ยังไมถ่ ึงเวลาทจ่ี ะนามาใช้ หรือพักสนิ ค้าระหว่างผ้ผู ลติ และ ผู้คา้ สง่ 2.เป็นส่วนงานที่ทาหน้าที่เก็บรักษาผลิตภัณฑ์ท่ีอยู่ระหว่างจุดเริ่มต้นของการผลิตและจุด สดุ ทา้ ยของการบรโิ ภค 3.ศูนย์กระจายสนิ ค้า เป็นคลังสินค้าของผลติ ภณั ฑ์สาเรจ็ รูปซ่ึงรวมไปถึงสถานท่ีทรี่ วมสนิ ค้า ของการคา้ ส่งและคา้ ปลีก การจัดการการจดั สง่ ทางธุรกจิ | Business Logistics Management 125
การจัดการคลงั สินค้า (Warehouse Management) เป็นการจดั การในการรบั การจัดเกบ็ หมายถึง การจัดส่งสนิ ค้าให้ผรู้ ับเพื่อกิจกรรมการขาย เป้าหมายหลักในการบริหาร ดาเนนิ ธุรกจิ ใน ส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับคลังสินค้าก็เพื่อให้เกิดการดาเนินการเป็นระบบให้คุ้มกับการลงทุน การควบคุม คุณภาพของการเกบ็ การหยิบสินคา้ การปอ้ งกัน ลดการสญู เสยี จากการดาเนินงานเพอ่ื ให้ต้นทนุ การ ดาเนินงานต่าทส่ี ดุ และการใชป้ ระโยชน์เต็มท่ีจากพื้นที่ ภาพท่ี 6.1 แสดงคลังสินคา้ สาธารณะ (ที่มา: https://www.flickr.com/photos/59696907@N03/5457844465/, สืบค้น 1 พ.ย. 2556) วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั การคลงั สนิ คา้ คลังสนิ คา้ มวี ัตถปุ ระสงค์ หลาย ๆ ดา้ น คอื เพอื่ รกั ษาระดับสนิ คา้ คงคลงั เพ่ือสนบั สนุนระบบ การผลิตหรือการขาย เป็นจุดรวมผลิตภัณฑ์ เพ่ือดาเนินการจัดส่งสินค้า เพ่ือใช้ประโยชน์ในการ รวบรวมสนิ ค้าก่อนจดั สง่ หรอื ทาหน้าท่ีเปน็ ศนู ย์กระจายสินคา้ ได้ ประโยชนข์ องคลงั สนิ ค้ามมี ากมาย ซง่ึ สามารถสรปุ ได้ ดงั ตอ่ ไปนี้ - ลดระยะทางในการปฏบิ ตั ิการในการเคลอื่ นยา้ ยให้มากท่สี ดุ - การใชพ้ นื้ ทแ่ี ละปริมาตรในการจดั เกบ็ ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุด - สร้างความมั่นใจว่าแรงงาน เคร่ืองมือ อุปกรณ์ สาธารณูปโภคต่างๆ มีเพียงพอและ สอดคล้อง กบั ระดบั ของธุรกจิ ทไี่ ด้วางแผนไว้ 126 บทที่ 6 | การจดั การคลังสินคา้
- สร้างความพึงพอใจในการทางานในแตล่ ะวันแก่ผู้เก่ยี วขอ้ งในการเคลือ่ นย้ายสนิ ค้า ทงั้ การ รับเข้าและการจ่ายออก โดยใช้ปริมาณจากการจัดซ้ือ และความต้องการในการจัดส่ง ใหแ้ ก่ลกู คา้ เปน็ เกณฑ์ - สามารถวางแผนได้อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ควบคมุ และรักษาระดับการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ เพ่อื ให้ เกิดการบริการภายใต้ต้นทุนท่ีเกิดประสิทธิภาพคุ้มค่าในการลงทุนตามขนาดธุรกิจท่ี กาหนด ประโยชน์ของการจดั การคลงั สนิ คา้ ประโยชน์ของการจัดการคลงั สินคา้ ในระบบธรุ กิจมดี งั ต่อไปนี้ - ช่วยสนับสนนุ การผลิต (Manufacturing support) โดยคลงั สินคา้ จะทาหน้าทใี่ นการ รวบรวมวตั ถุดบิ ในการผลิตช้ินส่วนและส่วนประกอบตา่ ง ๆ จากผขู้ ายปจั จยั การผลิต เพอ่ื ส่งป้อนให้กับโรงงานเพ่ือผลิตเป็นสินค้าสาเร็จรูปต่อไปเป็นการช่วยลดต้นทุนในการ จดั เก็บสินค้า - เป็นท่ีผสมผลิตภัณฑ์ (Mix Warehouse) ในกรณีที่มีการผลิตสินค้าจากโรงงานหลาย แห่ง โดยอยู่ในรูปของคลังสนิ คา้ กลาง จะทาหน้าท่ีเก็บรวบรวมสินคา้ สาเรจ็ รปู จากโรงงาน ตา่ ง ๆ ไว้ในที่เดยี วกัน เพื่อสง่ มอบใหล้ ูกคา้ ตามตอ้ งการ ขึน้ อยกู่ บั ลูกค้าแต่รายว่าต้องการ สนิ คา้ จากโรงงานใดบ้าง - เป็นท่รี วบรวมสนิ ค้า (Consolidation Warehouse) ในกรณีทล่ี กู คา้ ตอ้ งการซ้ือสินค้า จานวนมากจากโรงงานหลานแห่ง คลังสินค้าจะช่วยรวบรวมสินค้าจากหลายแหล่งเพอ่ื จดั เป็นขนสง่ ขนาดใหญ่หรือทาใหเ้ ต็มเท่ียว ซ่งึ ชว่ ยประหยดั ค่าขนสง่ - ใช้ในการแบ่งแยกสินค้าให้มีขนาดเล็กลง (Break Bulk warehouse) ในกรณีท่ีการ ขนส่งจากผู้ผลิตมีหีบห่อหรือพาเลตขนาดใหญ่ คลังสินค้าจะเป็นแหล่งที่ช่วยในการ แบง่ แยกสนิ ค้าให้มีขนาดเลก็ ลง เพอ่ื ส่งมอบให้กบั ลกู ค้ารายยอ่ ยต่อไป การจดั การการจดั สง่ ทางธุรกิจ | Business Logistics Management 127
ความสมั พนั ธ์ระหว่างคลงั สนิ คา้ กบั กิจกรรมโลจิสติกส์ การจัดการคลังสินค้ามีความสัมพันธ์กับกิจกรรมโลจิสติกส์ทั้งในการผลิต การจัดซ้ือ การ ขนส่ง รวมท้ังการใหบ้ รกิ ารลกู ค้าดงั นี้ 1.คลังสินค้ากบั การผลติ การผลติ สินคา้ จานวนนอ้ ยส่งผลใหส้ นิ คา้ คงคลงั น้อยลงตามสดั สว่ น และทาให้ตอ้ งการพื้นทจ่ี ดั เกบ็ สนิ คา้ น้อย แตจ่ ะทาใหต้ ้นทุนการปรบั ต้ังเครอื่ งจกั ร (Setup Cost) และ ต้นทนุ การเปลย่ี นสายการผลิต (Line Change Cost) มีตน้ ทนุ สูงข้นึ หากการผลิตเปน็ การผลติ จานวน มาก (Mass Product) จะทาให้ต้นทุนการผลิตลดลง (Economies of Scale) แต่จะมีสินค้าคงคลัง จานวนมาก ท้ังวัตถุดิบท่ีจัดซ้ือ สินค้าคงคลังระหว่างผลิต รวมไปถึงสินค้าสาเร็จรูป จึงเกิดความ ตอ้ งการคลังสนิ ค้าเพ่ือการจัดเก็บขนาดใหญด่ ว้ ยเช่นกัน 2.คลังสินคา้ และการขนส่ง ต้นทนุ ภายในคลงั สินค้ามีต้นทุนทีส่ าคญั คือตน้ ทุนการเก็บรักษา ในการขนส่งจานวนมากจะมีต้นทุนขนส่งลดลงแต่จะมีต้นทุนเก็บรักษาเพ่ิมมากขึ้น ในการขนส่งที่ ต้องการรวบรวมสนิ คา้ กอ่ นการขนสง่ (Consolidate) เพ่อื ประโยชน์ของการขนส่งท่เี ป็นปริมาณมาก นน้ั จาเป็นตอ้ งใช้คลังสินคา้ เป็นจดุ รวบรวมและกระจายสนิ คา้ (Consolidate Point) ทัง้ น้ีเพ่อื เป็นการ ประหยัดคา่ ขนส่ง (Transportation Cost) ถงึ แมว้ ่าการขนสง่ บางประเภทจะชว่ ยลดต้นทนุ การขนส่ง ลงได้ โดยไม่ต้องใช้คลังสินค้าช่วย เช่น ระบบการขนสง่ แบบ Milk run แต่ก็ต้องใช้ระบบการจัดการ ผลิตท่ีมีประสิทธิภาพและต้องอาศัยการแบ่งปันข้อมูลท่ีมาก และยังต้องการระบบการจัดการที่มี ประสิทธิภาพสูงดว้ ย 3.คลังสนิ ค้ากับการบริการ การคลงั สนิ คา้ กบั การบริการมีความสมั พนั ธ์กนั มาก กลา่ วคอื ใน กจิ การบางประเภทตอ้ งการระดบั การตอบสนองต่อความต้องการของลกู คา้ ที่รวดเร็วและแมน่ ยา เช่น ระบบ Quick Response ในธุรกิจสินค้าอุปโภคบริโภค (Consumable Product) น้ันจาเปน็ ต้องใช้ คลังสินค้าและระบบการจัดการคลังสินคา้ ทม่ี ีประสิทธิภาพเพอื่ ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ซึง่ เป็นการเพม่ิ ความสามารถในการแขง่ ขันของธุรกจิ เป็นตน้ 4.คลังสนิ คา้ กบั การกระจายสนิ คา้ คลังสินคา้ เปน็ ส่วนหนึ่งของการกระจายสนิ ค้า ทท่ี าหนา้ ท่ี จดั เกบ็ สนิ คา้ และก่อใหเ้ กดิ การเชอ่ื มโยงระหวา่ งผผู้ ลติ ผ้คู า้ สง่ ผู้ค้าปลกี และผูบ้ ริโภค ปัจจบุ นั สนิ คา้ ใน กิจกรรมโลจสิ ติกส์มีการเคลื่อนไหวเรว็ ขึ้นกวา่ เดิมมาก จากคลังสินค้าท่ีมีหน้าที่จดั เก็บสนิ คา้ หรือจุด 128 บทท่ี 6 | การจดั การคลังสนิ ค้า
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272