3. ลดต้นทุนการเก็บสินค้าคงคลัง (Lower Inventory Costs) โดยการเพ่ิมการใช้ ประโยชนของพื้นท่ี โดยการให้เช่าพื้นที่ทีม่ ีอยหู่ รอื ลดการการขยายพ้นื ที่คลงั สินคา้ โดยใช้ เครอ่ื งมอื ที่ สามารถขนถา่ ยสนิ ค้าในช่องแคบ การใชช้ ้นั ลอย หรือวิธกี ารเก็บสนิ คา้ ทีเ่ หมาะสมมากข้ึน 4. การต้ังระดับปริมาณสินค้าเผื่อขาดบนพ้ืนฐานของความพึงพอใจของลูกค้า (Base Safety Stock on Customer Service) การตง้ั ระดบั ปรมิ าณสนิ คา้ คงคลงั เผอ่ื ขาด (Safety stock) โดยแบ่งกลุ่มของสินค้า (Class) ให้มีความเหมาะสมและชัดเจน ตรวจสอบข้อมูลของระดับปริมาณ สินค้าเผ่ือขาดอย่างต่อเน่ืองและตั้งระดับความสาคัญของสินค้าคงคลังเพือ่ ตอบสนองความพึงพอใจ ของลูกค้าในรูปแบบของเป้าหมายทางการเงนิ เพ่ือเป็นตัววัดในการลดปรมิ าณสินค้าคงคลงั เผอ่ื ขาด หรือลดเหตกุ ารณท่ีสินค้าคงคลังขาดแคลนและเปน็ การเพมิ่ ผลกาไร 5. พยากรณ์ความต้องการของลูกค้าอย่างสม่าเสมอ (Use Routine Demand Forecasting) การใช้ประสบการณแกไขสมการพยากรณ์ในการคานวณความต้องการของสินค้า เพื่อท่ี ลดความผิดพลาดจากการใช้สูตรพยากรณ์เพียงอย่างเดียวจะสามารถลดการเก็บสินค้าเกิน ความจาเปน็ แก้ปญั หาสนิ ค้าขาดแคลนทาให้มสี นิ ค้าเพยี งพอต่อความต้องการของลูกคา้ 6. คานึงถึงผลกระทบของเหตุการณ์ (Forecast Events) เหตุการณ์บางเหตุการณ์ทาให้ เกิดความต้องการของสินค้าเพิ่มข้ึนในเวลาอันรวดเร็ว ทาให้ต้องคานงึ ถึงเหตุการณ์น้ันในการจัดการ สินค้าคงคลัง อาทิ เทศกาลสงกรานต์ที่ทาให้ความต้องการต๋ัวรถยนต์โดยสารประจาทางหรือต๋ัว เครือ่ งบนิ เพ่มิ สูงข้นึ ทาให้ต้องมกี ารวางแผนสนิ ค้าคงคลงั รองรับเหตกุ ารณดังกลา่ ว 7. วางแผนการประกอบไว้ส่วนท้าย (Think Postponement) สาหรับสินค้าที่เป็น ชิ้นส่วนท่ี สามารถนาไปผลิตสินค้าต่อเน่ืองได้อีกหลายชนิด (Parent Products) ควรจะทาการเก็บ สินค้าคงคลงั ไวในรูปแบบของสนิ ค้าก่ึงสาเรจ็ รูป (Semi-finished Product) เพื่อลดปริมาณสินคา้ คง คลงั ทงั้ หมด เนือ่ งจากสามารถลดปริมาณสนิ ค้าคงคลังของทุกรายการแตล่ ะแบบได้ 8. จัดรายการของสินค้าให้เหมาะสม (Rationalize SKUs) ทาการกาจัดผลิตภัณฑ์ที่ไม่ สร้างกาไรเพม่ิ ออกจากรายการสนิ ค้าทั้งหมด โดยอาจทาการแบง่ ประเภทสนิ ค้า เปน็ สินค้าที่สามารถ สร้างผลกาไร สินค้าที่เท่าทุนและสนิ ค้าที่ขาดทุน แล้วจัดรายการสินค้าให้มีแต่เฉพาะสนิ ค้าที่มีกาไร หรือสินคา้ ที่เท่าทุนเพื่อลดภาระจากตน้ ทนุ การเก็บสนิ คา้ คงคลงั การจดั การการจดั สง่ ทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 229
9. ลดระยะเวลาในการสง่ั ซือ้ (Reduce Lead Times for Product Acquisition) การ ลดระยะเวลาในการส่งั ซ้ือวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนไม่ว่าจะเป็นระยะเวลาในการส่ังซื้อจากซัพพลายเออร์ ระยะเวลาในการขนส่งสินคา้ หรือระยะเวลาในการรับสินค้าจะสง่ ผลให้ปริมาณความต้องการในการ เก็บสินค้าคงคลังลดลง นอกจากน้กี ารลดความไม่แน่นอนของระยะเวลาในการส่งั ซ้ือ จะสามารถลด ความตอ้ งการของการเก็บสนิ ค้าได้ 10. สร้างความร่วมมือระหว่างซัพพลายเออร์ในการสั่งซื้อสินค้า (Implement Common Supplier Joint Procurement for Purchased Parts) สร้างความร่วมมือของซัพ พลายเออร์หลักในการจัดซือ้ สินค้าหลายรายการ (Multiple SKUs) เพื่อลดตน้ ทนุ การจัดซื้อต่อหน่วย ของสินคา้ ดงั น้ันผู้ประกอบการสามารถการจัดซอื้ สนิ ค้าได้ถ่ีขึ้น และลดความจาเป็นในการเก็บสินค้า คงคลัง นอกจากนีก้ ารสร้างความร่วมมอื ของซัพพลายเออร์หลกั ทีต่ ั้งอยู่ในพื้นท่ีใกล้เคียงกนั สามารถ เพิ่มการใชป้ ระโยชน์ของรถบรรทุกขนส่งสนิ คา้ ให้สามารถขนสินค้าไดเ้ ต็มน้าหนักบรรทุกมากขึ้น 11. จัดส่งสินค้าต่อไปให้ลูกค้าเมื่อสินค้ามาถึง (Cross-dock Customer Shipments) การจัดการจัดส่งสนิ ค้าต่อไปให้ลูกค้าเมื่อสินค้ามาถึง (Cross-dock) จะสามารถลดความต้องการใน การเก็บสินค้าคงคลัง เนื่องจากสินค้าสามารถนาสง่ ต่อไปยังลูกค้าได้ทันที โดยไม่ต้องทาการจัดเก็บ สินค้า นอกจากน้ีการรวมความต้องการของสนิ ค้าจากแหลง่ วัตถุดิบหรอื สินค้ามารวบรวมไวในคาส่งั ซ้อื เดยี วแล้วจดั สง่ สินค้าตอ่ ไปให้ลูกค้าปลายทางหลายแหง่ เม่อื สินค้ามาถึง จะสามารถลดต้นทนุ การ จดั ซ้ือและลดปริมาณสนิ คา้ คงคลงั ลง 12. การให้ซัพพลายเออร์เป็นผู้บริหารสินค้าคงคลัง (Use Vendor-managed Inventory: VMI) สร้างแรงจงู ใจที่เหมาะสมให้ซพั พลายเออร์เข้ามารับผิดชอบการบรหิ ารสินคา้ คง คลัง เนื่องจากซัพพลายเออร์สามารถทราบปริมาณสินค้าคงคลังและแผนการผลิตสินค้าของฝ่าย ตนเอง และสามารถทราบความตอ้ งการท่ีแท้จรงิ ของสินค้าพรอมกับปรมิ าณสินค้าคงคลงั ของลูกค้า ส่งผลใหต้ น้ ทุนสนิ ค้าคงคลังทงั้ ฝา่ ยซัพพลายเออร์และลูกคา้ ลดลง 230 บทที่ 10 | การลดตน้ ทนุ ในระบบโลจิสติกสแ์ ละโซอ่ ปุ ทาน
13. รวมรายการสินค้าระหว่างการขนส่ง (Try Merge-in-Transit) กรณีท่ีลูกค้ามีความ ต้องการรับสินค้าหลายรายการในเวลาเดียวกัน ในระหว่างการขนส่งอาจจะมีการรวมบางรายการที่ มาจากสถานท่ีตา่ งกันมาขนรวมกันเพ่ือความสะดวกในการรับสินค้าของลกู คา้ ภายในครง้ั เดยี ว ทาให้ การขนส่งมีประสิทธิภาพมากขึ้นและสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารสินค้าคงคลังได้ ดีขึ้น เนื่องจากสามารถขนสง่ สนิ ค้าไดถ้ ีม่ ากข้ึน ตน้ ทุนสนิ คา้ คงคลังจะลดลง 14. เก็บสินค้าคงคลงั เฉพาะเท่าที่จาเป็น (Keep in Stock, but not Everywhere) ใน สถานการณที่มีศูนย์กระจายสินค้าหลายแห่ง ในแต่ละแห่งจะทาการเก็บสินค้าบางรายการที่ไม่ เหมือนกนั ในปรมิ าณน้อยเทา่ นั้น ไม่จาเป็นทที่ กุ แห่งจะต้องมกี ารเกบ็ สนิ ค้าคงคลังทเ่ี หมือนกนั ดงั นั้น ปรมิ าณสินคา้ คงคลังโดยรวมจะนอ้ ยลง 15. เคลื่อนย้ายสินค้าคงคลัง (Transfer Instead of Purchase) เม่ือสินค้าคงคลังของ สินค้าบางรายการ ณ คลังสินค้าแหง่ หนงึ่ มมี ากเกินไป อย่างไรก็ตามได้มีความต้องการสินค้าประเภท เดียวกนั ณ คลังสินค้าอกี ทห่ี น่งึ ดงั นั้นระบบในการเกล่ียปรมิ าณสินคา้ คงคลังจากทห่ี นง่ึ มาทีห่ นง่ึ ท่มี ี ประสิทธภิ าพ จะสง่ ผลดตี อ่ การบรหิ ารสนิ คา้ คงคลังไดด้ ี อย่างไรก็ตามต้นทุนในการเคลอื่ นย้ายสนิ คา้ น้ี ต้องอยใู่ นระดับที่จูงใจดว้ ย แนวทางการลดตน้ ทุนคลงั สนิ คา้ คลงั สินค้าเป็นต้นทนุ ทีส่ าคัญของระบบโลจสิ ติกสน์ อกจากการจัดการสินคา้ คงคลงั ทเ่ี หมาะสม การดาเนนิ การภายในคลงั สินค้าท่มี ีประสิทธิภาพสามารถลดตน้ ทุนลงได้ โดยมีวิธกี ารดังต่อไปน้ี 1.ลดการสูญเสียโดยใช้ระบบผลิตแบบลีน (Lean Production System, LPS) แนวคิด การผลิตแบบลนี (Lean Production System, LPS) จะให้ความสาคัญในการลดทรัพยากร รวมทง้ั เวลาในกจิ กรรมการผลิตในขั้นตอนต่าง ๆ การผลติ แบบลนี น้ีจะชี้ให้เหน็ และทาการลดพฤตกิ รรมใด ใดท่ีไม่ได้ก่อให้เกิดคุณค่าในการผลิตหรอื ความสูญเสีย (waste) กิจกรรมท่ีไม่ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ใน การผลติ ในแนวคิดของการผลิตแบบลีนดงั กลา่ วได้แก่ (ธนิต โสรัตน์, 2552: 53) การจัดการการจดั ส่งทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 231
1. การผลิตสินค้ามากเกินไป (Overproduction) การผลิตสินค้ามากเกินความต้องการจะ กอ่ ใหเ้ กดิ ความสูญเสียในทกุ กิจกรรมของการผลติ รวมถึงเวลาท่ีตอ้ งจดั เกบ็ สนิ ค้าเหลา่ นน้ั 2. การหยุดรอ (Waiting) การท่ีจะต้องหยดุ รอชิ้นส่วนหรอื งานต่าง ๆ จากการกระบวนการ ผลิตในขัน้ ก่อนหนา้ จะทาให้เกดิ ความสญู เสียในดา้ นเวลาทเี่ สียไป 3. การขนส่งหรือการเคล่ือนย้ายสินค้า (Transport) การที่ต้องเคลื่อนย้ายสินค้าโดยไม่ จาเป็น ทาให้เกิดความสูญเสยี ในกจิ กรรมดงั กล่าว 4. กระบวนการทางานท่ีไม่เหมาะสม (Inappropriate Processing) กระบวนการทางานใน ลกั ษณะนีจ้ ะเกิดจากขั้นตอนการทางานทม่ี ีความซบั ซ้อนเกนิ ความจาเป็น ซึง่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความสูญเสีย ทัง้ ในดา้ นการขนส่ง และแรงงานท่ตี อ้ งทางานในกระบวนการดังกลา่ ว 5. สินค้าคงเหลือท่ีไม่จาเป็น (Unnecessary Inventory) ประกอบด้วยองค์ประกอบการ ผลิตท่ีไม่ได้ใช้งาน ซึ่งจะก่อให้เกิดความสูญเสียในหลายด้าน ได้แก่ ต้นทุนในการจัดเก็บ คณุ ภาพของสนิ คา้ ท่ีเสียไปตามระยะเวลาในการจดั เกบ็ 6. กิจกรรมการเคล่อื นไหวท่ีไม่จาเป็น (Unnecessary Motion) การทคี่ นทางานจาเปน็ ต้อง เคลอ่ื นไหวรา่ งกายเพ่ือทากจิ กรรมท่ไี ม่จาเปน็ 7. สินค้ามีตาหนิ (Defect) การผลิตสินค้าที่มีตาหนิมีผลโดยตรงต่อความสูญเสีย ในด้าน ต้นทุนการผลิต และตอ่ เนื่องไปถึงรายได้ทจ่ี ะได้รับ ปัจจุบนั การลดความสูญเสียได้มีการนาระบบสารสนเทศมาใช้และกาลงั ได้รับความนิยม คือ เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (RFID - Radio Frequency Identification) เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่ใช้ในการ ระบุสง่ิ ตา่ ง ๆ โดยอาศยั คลืน่ วิทยุ ซึ่งตา่ งจากเทคโนโลยอี ่ืน ๆ เช่น บารโ์ ค้ดทอ่ี าศัยคลื่นแสง หรอื การ สแกนลายนว้ิ มอื เปน็ ตน้ 232 บทท่ี 10 | การลดตน้ ทนุ ในระบบโลจสิ ตกิ สแ์ ละโซอ่ ปุ ทาน
ภาพที่ 10.8 การนาระบบ RFID มาใชใ้ นการบรหิ ารคลงั สินคา้ (ที่มา: http://www.tractechsystems.com/, สืบค้น 27 พ.ย. 2556) 2. การออกแบบพื้นท่ีจัดเก็บที่เหมาะสม การกาหนดตาแหน่งที่ต้ังของหน่วยงานต่าง ๆ ภายในคลังสินค้า การกาหนดที่ตั้งของช้ันวางสินค้าและการกาหนดทางเดินหรือทางรถว่ิงหรือ การจราจรภายในคลังสินคา้ ท้งั นเ้ี พ่อื ให้เกิดประสิทธภิ าพการทางานท่ีดที ่สี ดุ เช่น มกี ารใช้พ้ืนที่ท่ีมาก ท่ีสุด สินค้าหมุนเวียนเรว็ ควรอยใู่ กลท้ างออก มีการเคลือ่ นย้ายสินค้าทีม่ ีประสทิ ธิภาพสงู สดุ เป็นต้น นอกจากน้ีการนาเอาระบบประหยัดพลังงานมาใช้ เช่น ระบบไฟส่องสว่างอัตโนมัติ สามารถช่วยลด ต้นทุนคลงั สินคา้ ลงได้ 3.การจัดการแรงงานที่มีประสิทธิภาพ การลดการเคลื่อนไหวโดยเปล่าประโยชน์ของ แรงงาน ทาให้พนักงานทางานเต็มประสิทธิภาพ นอกจากนี้การนาเทคโนโลยีและเครื่องจักรมาใช้ สามารถลดต้นทนุ คลังสนิ ค้าได้ แต่การใช้เทคโนโลยีดังกล่าว พนักงานจะต้องมคี วามรู้ ความสามารถ ในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศต่าง ๆ รวมทงั้ การควบคุมเคร่ืองจกั ร รวมไปถงึ การแกป้ ัญหา การซอ่ ม บารุง ดังน้ันการฝึกอบรมพนักงาน รวมท้ังการจัดตารางงานอย่างเหมาะสมจะช่วยลดต้นทุนการ ดาเนนิ งานภายในคลงั สนิ คา้ ลงไดม้ าก การจดั การการจดั ส่งทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 233
4.การเพ่มิ ประสิทธภิ าพและลดต้นทนุ การขนถ่ายวัสดุ สามารถดาเนินการดังตอ่ ไปน้ี 4.1 การลดตน้ ทนุ ได้แก่ - ลดการขนถา่ ยวสั ดุทใ่ี ชแ้ รงงาน แล้วใชอ้ ปุ กรณ์ทางานแทน - ลดแรงงานทีท่ าการขนถา่ ยโดยตรงแตจ่ ะใชค้ นมาควบคุมการใชอ้ ุปกรณแ์ ทน - ลดแรงงานรองที่ใช้ในการขนถ่ายออกบ้าง เช่น พนักงานตรวจรับ-ส่งของ พนักงานควบคุมการผลิต พนักงานตรวจสอบด้านคุณภาพ พนักงานซ่อมบารงุ คอื พวกทไี่ ม่ไดท้ าการขนถา่ ยโดยตรง - ลดปริมาณความสูญเสียหรือความเสียหายของวัสดุ โดยการขนถ่ายอย่าง ระมัดระวัง - ลดพนักงานบัญชี เสมียน ที่เกี่ยวข้องและช่วยในระบบงานขนถ่ายวัสดุ ให้เหลือ น้อยที่สดุ - ลดจานวนวัสดุท่ีค้างอยูใ่ นระบบการผลติ ให้เหลอื น้อยทส่ี ดุ โดยพยายามใหว้ สั ดุ ไหลผ่านไปเรว็ ท่ีสดุ - ลดอุปกรณ์ช่วยบางอย่างออกบ้าง เช่น ภาชนะบรรจุ อุปกรณ์ป้องกัน ถาด ช้ัน น่นั คือการทีใ่ ส่ของ ในภาชนะ บรรจุหลายๆ ท่ี ต้องเสยี เวลาการตรวจสอบหลาย ครัง้ 4.2 การเพิม่ ขีดความสามารถในการทางาน - สามารถใช้เนื้อที่ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ เช่น พนื้ ท่ี 1 ตารางเมตร สามารถวางของ ซ้อนกนั ไดห้ ลายๆ ชั้น เปน็ การใช้เนอื้ ท่ีในแนวสงู ด้วย - ปรับปรุงผังโรงงานเพื่อลดระยะทางการขนถ่ายวัสดุและลดความสูญเสียเนื้อที่ ด้วย - สามารถ ใช้ประโยชน์ของอุปกรณ์ให้สูงท่ีสุด เช่น รถบรรทุก ควรมีวัสดุ-สินค้า บรรทุกท้ังขาไปและขากลับ และไม่ควรเสียเวลาในการจอดรอคอยเพ่ือการเอา ของขนึ้ -ลง นานเกินไป - การเอาของขึ้นและลงจากเครื่องกลขนถ่ายเร็วที่สุด 234 บทที่ 10 | การลดตน้ ทุนในระบบโลจิสติกสแ์ ละโซอ่ ปุ ทาน
แนวทางการลดตน้ ทุนโดยการใชร้ ะบบสารสนเทศ การบริหารข้อมูลทีม่ ีประสิทธิภาพ จะสามารถลดปญั หาจากปรากฏการณแ์ ส้ม้า (Bullwhip Effect) ที่ผู้ประกอบการมีการเผื่อสินค้าคงคลังเป็นทอด ๆ ทาให้เกิดสินค้าคงคลังส่วนเกินโดยไม่ จาเปน็ การบูรณาการเอาระบบสารสนเทศมาใชส้ ามารถช่วยลดต้นทนุ ไดด้ ังน้ี 1.ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange System: EDI) เป็นระบบเทคโนโลยี ทม่ี ี การแลกเปล่ยี นเอกสารทางธรุ กจิ ระหวา่ งบรษิ ัทคู่ค้า 2 ฝ่าย ในรปู แบบมาตรฐานสากลจากคอมพวิ เตอร์เครอ่ื งหนง่ึ ไปยงั คอมพวิ เตอร์อกี เคร่อื งหนึง่ โดยจะมกี ารใช้ เอกสารที่เป็นอเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ าแทนเอกสารทเ่ี ปน็ กระดาษ เช่น ใบสงั่ ซอื้ สนิ ค้า บัญชรี าคาสินค้า ใบส่ง ของ รายงาน เปน็ ตน้ ภายใต้มาตรฐานทก่ี าหนดไว้ ซงึ่ จะทาให้เอกสารมีการแลกเปล่ียนกนั ได้ ปจั จบุ นั องคก์ ารหลายแหง่ ไดใ้ ช้บริการของผู้ทใี่ หบ้ ริการ EDI (EDI Service Provider) มาก กว่าท่ีจะสร้างเครอื ข่ายข้ึนมาเอง เน่ืองจากต้องใช้เงินลงทุนสงู ซ่ึงผทู้ ่ใี ห้บริการ EDI จะเป็นตัวกลาง บริการเชื่อมโยงข้อมูล เรียกว่าเครือข่ายเพิ่มมูลค่า VAN (Value Added Network: VAN) โดยจะมี การเก็บคา่ บรกิ ารเป็นการเชา่ โครงสรา้ งพื้นฐาน ซึ่งสามารถแสดงการสง่ ผา่ นขอ้ มลู ของผใู้ หบ้ ริการ EDI รหัสสินคา้ ตรวจสอบ ตรวจสอบ ฐานข้อมลู ส่งออก ขนส่ง จัดวาง ตรวจรับ ระบบแลกเปล่ยี นขอ้ มลู ข่าวสารอิเลก็ ทรอนิกส์ (EDI) โรงงานผลิต โรงงานประกอบ ศนู ยก์ ระจายสินคา้ รา้ นคา้ ปลีก ภาพท่ี 10.9 การนาระบบ EDI เช่อื มโยงขอ้ มลู ระหว่างองคก์ ร การจดั การการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 235
2.ระบบบาร์โคด้ (Barcode System) บารโ์ คด้ หรอื รหัสแทง่ เป็นระบบบ่งชี้ ที่มีการนามาใช้ งานมากท่ีสุดเม่ือเทียบกับระบบอนื่ ๆ เน่ืองจากเปน็ ที่นิยมในการติดบนตัวสินค้า เพื่อต้องการทราบ รหัสหมายเลขประจาตัว อันจะส่งผลให้กิจการทราบข้อมลู อ่ืน ๆ ของสินค้าได้รวดเร็ว เช่น ยอดขาย จานวนสินคา้ ที่ขาย จานวนสนิ ค้าทอ่ี ยู่ในคลังสินค้า เป็นต้น ประโยชน์ของบาร์โค้ดมดี งั น้ี - ทาให้กระบวนการทางานท่ีจาเป็นต้องใช้ข้อมลู สนิ ค้าสามารถทาได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง มากขนึ้ ไม่ว่าจะเป็นผผู้ ลติ ผจู้ ัดจาหน่าย ผ้ซู อ้ื และผ้ใู ห้บริการโลจสิ ตกิ ส์ สามารถใชร้ หัส บาร์โค้ดทาธรุ กรรมร่วมกันได้ - คู่คา้ ทุกระดบั ตง้ั แต่ต้นนา้ จนถึงปลายนา้ สามารถประหยัดค่าใช้จ่าย ลดระยะเวลาและ ปัญหาทอี่ าจเกิดจากขอ้ ผิดพลาดในบนั ทึกขอ้ มลู ตวั สินค้าได้ - สามารถต่อยอดขีดความสามารถทางด้านโลจิสติกส์ด้านอ่ืน ๆ เช่น ระบบบริหาร คลังสนิ ค้าระบบการจัดซอ้ื ระบบขนสง่ สินค้า เปน็ ต้น - สามารถใช้โปรแกรมระบบการจัดการโลจิสติกส์สมัยใหม่ได้ เช่น Cross-Docking, Vendor Managed Inventory (VMI) เป็นต้น - สามารถตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับของสินค้า (Traceability) ทาให้ทราบว่าสินค้าทราบ น้นั มแี หลง่ วัตถุดบิ หรอื แหลง่ ผลติ จากที่ใดตลอดท้งั ระบบหว่ งโซอ่ ปุ ทาน 3.ระบบรหัสบ่งชี้โดยใช้ความถี่ของคลื่นวิทยุ (Radio Frequency Identification: RFID) เปน็ เทคโนโลยี ทรี่ ะบตุ าแหน่งของวตั ถุ เชน่ คน สตั ว์ สิ่งของ เปน็ ตน้ ด้วยคลื่นความถี่วทิ ยุโดย มีการตดิ ปา้ ย (RFID Tag) ท่วี ัตถเุ หล่าน้นั นอกจากน้ี RFID จะเปน็ เทคโนโลยที เี่ ข้ามาแทนทบี่ ารโ์ คด้ ใน อนาคต เนื่องจากมคี วามสะดวกและประสทิ ธิภาพการใช้งานดีกว่า แตเ่ นอ่ื งจาก RFID ยังมรี าคาสูงจงึ ทาใหบ้ ารโ์ ค้ดยงั ไดร้ ับความนยิ มอยู่ 236 บทท่ี 10 | การลดตน้ ทุนในระบบโลจสิ ตกิ สแ์ ละโซอ่ ุปทาน
4.ระบบ GPS Tracking เปน็ ระบบตดิ ตามผ่านดาวเทียมทีอ่ อกแบบมาในการบรหิ ารการใช้ รถ โดยมีประโยชนด์ ังต่อไปนี้ - ตดิ ตามการจอดรถตดิ เครอื่ งยนตท์ ิ้งไว้เป็นระยะเวลานาน การจอด/หยุดพกั รถที่นานเกิน ควร สามารถวัดปริมาณการใชน้ ้ามัน - คานวณคา่ ใช้จ่ายนา้ มนั / ระยะทาง ป้องกันการลักลอบทจุ ริตนา้ มนั - ตรวจสอบการใช้อตั ราความเรว็ ท่ีกอ่ ให้เกิดการส้นิ เปลอื งน้ามัน - สามารถแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที กรณีเกิดความผิดปกติ/อุบัติเหตุ คุณสมบัติพ้ืนฐาน สามารถเรยี กดรู ถได้หลายคนั พรอ้ มๆ กัน แบบ Real Time ตดิ ตามและคน้ หาตาแหนง่ รถ โดยระบุทะเบียนรถ เพื่อทราบถงึ พฤติกรรมการขับรถของพนักงานเป็นรายบคุ คล แสดง อัตราความเรว็ ในการใช้รถว่าเกินกาหนดหรอื ไม่ เพ่ือป้องกันการเกิดอุบตั ิเหตุ การขบั รถ ออกนอกเส้นทางทกี่ าหนด - เพอ่ื ลดการสึกหรอของเคร่อื งยนต์ จากการใช้งานที่ไมเ่ หมาะสม 5. ระบบการวางแผนจัดการทรัพยากรในองค์กร (Enterprise Resource Planning: ERP) ระบบ ERP เป็นระบบสารสนเทศขององค์กรที่นาแนวคิดและวิธีการบริหารของ ERP มาทาให้ เกิดเป็นระบบเชิงปฏิบัติในองค์กร ระบบ ERP สามารถบูรณาการ (integrate) รวมงานหลัก (core business process) ตา่ ง ๆ ในบริษทั ทง้ั หมด ไดแ้ ก่ การจดั จา้ ง การผลิต การขาย การบัญชี และการ บริหารบุคคล เข้าด้วยกันเป็นระบบที่สัมพันธ์กันและสามารถเชื่อมโยงกันทันที (real time) ทาให้ การจัดการสารสนเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ การจดั การการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 237
บทสรปุ ต้นทุนโลจิสติกส์ประกอบไปด้วยต้นทุนกิจกรรมหลัก 9 กิจกรรมได้แก่ 1) การจัดการการ ขนส่ง (Transport Management) 2) การจัดการสินค้าคงคลงั (Inventory Management) 3) การ จัดการคลังสินค้า (Warehouse Management) 4) การจัดการวัสดุ (Materials Management) 5) การจัดซื้อและเจรจาต่อรอง (Purchasing and Negotiation) 6) การเคลื่อนย้ายสินค้า (Materials Handling) 7) การให้บรกิ ารลกู ค้า (Customer Services) 8) บรรจภุ ัณฑ์ (Packaging) และ 9) ระบบ สารสนเทศ (Information Technology) แนวทางการลดต้นทนุ ขนส่ง ได้แก่ กลยุทธ์การใช้พลงั งานทางเลอื ก กลยุทธ์การปรับเปลี่ยน รูปแบบการขนส่งแบบใหม่ กลยุทธ์ศูนย์กระจายสินค้า กลยุทธ์การขนส่งสินค้า ท้ังเท่ียวไปและกลับ และกลยุทธก์ ารใชร้ ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวทางการลดต้นทุนสินค้าคงคลัง ได้แก่ สร้างวัฏจักรของสินค้าคงคลังบนฐานด้าน เศรษฐศาสตร์ควบคมุ ต้นทนุ การส่งั ซื้อ ลดตน้ ทุนการเกบ็ สนิ คา้ คงคลัง การต้ังระดบั ปริมาณสินคา้ เผ่ือ ขาดบนพ้นื ฐานของความพงึ พอใจของลกู ค้า พยากรณ์ความตอ้ งการของลกู คา้ อยา่ งสมา่ เสมอ คานึงถึง ผลกระทบของเหตุการณ วางแผนการประกอบไว้ส่วนท้ายจัดรายการของสินค้าให้เหมาะสม ลด ระยะเวลาในการส่งั ซ้ือสรา้ งความร่วมมือระหว่างซัพพลายเออรในการสง่ั ซอ้ื สินค้า จัดส่งสนิ คา้ ตอ่ ไป ให้ลูกค้าเมื่อสินค้ามาถึง การให้ซัพพลายเออรเ์ ป็นผู้บริหารสินค้าคงคลงั รวมรายการสินค้าระหวา่ ง การขนส่ง เกบ็ สินคา้ คงคลงั เฉพาะเท่าท่จี าเป็น และเคลื่อนยา้ ยสินค้าคงคลัง แนวทางการลดต้นทุนคลงั สนิ คา้ ได้แก่ ลดการสูญเสียโดยใช้ระบบผลติ แบบลีน การออกแบบ พื้นทจ่ี ดั เก็บท่ีเหมาะสม การจดั การแรงงานท่มี ีประสทิ ธภิ าพ และการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและลดต้นทนุ การขนถา่ ยวัสดุ แนวทางการลดต้นโดยการใช้ระบบสารสนเทศ ได้แก่ ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลทาง อิเลก็ ทรอนิกส์ ระบบบาร์โค้ด (Barcode System) ระบบรหัสบง่ ชีโ้ ดยใชค้ วามถ่ขี องคล่นื วิทยุ (Radio Frequency Identification: RFID) ระบบ GPS Tracking และระบบการวางแผนจัดการทรพั ยากรใน องคก์ ร (Enterprise Resource Planning: ERP) 238 บทที่ 10 | การลดตน้ ทุนในระบบโลจิสติกสแ์ ละโซอ่ ุปทาน
กรณศี ึกษาการจดั การโลจสิ ตกิ สแ์ ละโซอ่ ปุ ทาน “ธรุ กจิ นาเทย่ี ว และของฝาก ในเขตภาคอสี านตอนบน” ภาคอีสานตอนบนประกอบไปด้วยจังหวัดอุดรธานี เลย หนองคาย บึงกาฬ หนองบัวลาภู และสกลนคร ซึ่งมีสถานที่ทอ่ งเทีย่ วที่นา่ สนใจมากมาย ท้ังการท่องเท่ยี วเชงิ นิเวศน์ การท่องเที่ยวเชิง วฒั นธรรม การท่องเท่ยี วเพื่อสขุ ภาพ หรือการท่องเทย่ี วทางศาสนา แตป่ ญั หาจากธุรกิจนาเทีย่ วพบวา่ ธรุ กิจนาเที่ยวแต่ละบริษทั มยี อดนักทอ่ งเทย่ี วไม่แน่นอน บางบรษิ ัทมียอดจองนาเทย่ี วเยอะ บางบริษทั มียอดจองนาเทยี่ วนอ้ ย และนักทอ่ งเท่ยี วในแตล่ ะฤดูกาลแตกตา่ งกนั ตารางท่แี สดงยอดจองนาเทย่ี ว (คน) ของบรษิ ัทตา่ ง ๆ ระหวา่ งเดือน ม.ค. ถงึ พ.ค. บรษิ ัท ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. A 12 24 17 21 25 B 26 34 24 19 18 C 17 36 21 11 22 D9 21 12 15 18 E 34 39 41 21 25 F 11 17 19 14 17 เม่ือยอดจองนาเท่ียวน้อยทาให้มัคคเุ ทศก์ ไม่อยากจะรบั งานเท่าใดนกั หรือบ่อยครัง้ ทม่ี ียอด จองนาเที่ยวนอ้ ยมาก จนไมค่ ุม้ ตน้ ทนุ บริษัทจงึ ตอ้ งยกเลิกทัวรไ์ ป ในสว่ นของโปรแกรมนาเทย่ี วแต่ละ บริษัท มักจัดตารางนาเที่ยวไว้คล้าย ๆ กัน เส้นทางนาเท่ียวแต่ละบรษิ ัทจึงทบั ซ้อนกัน บ่อยครั้งทมี่ ี ปญั หาเรอ่ื งการจองรถ รา้ นอาหาร หรอื แม้แตท่ ่พี ัก ในส่วนของเส้นทาง สถานที่ท่องเท่ียวที่เป็นท่ีนยิ ม มักไม่มีปัญหาในการเดินทาง แต่สถานที่ ทอ่ งเทีย่ วใหม่ มกั มเี ส้นทางทีไ่ ม่สะดวก โดยเฉพาะจุดที่อย่สู ูงหลายสถานท่ี รถขนาดใหญ่ ไมส่ ามารถ เข้าถึงได้ จะต้องใช้รถนาเท่ียวขนาดเล็กแทน การจัดการการจดั ส่งทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 239
ในส่วนของธุรกิจของฝาก แต่ละสถานท่ีจะผลิตและจัดจาหน่ายของฝากกันเอง สินค้าไม่มี ความหลากหลาย เนื่องจากแต่ละจงั หวัดไม่มีศูนย์จาหน่ายของฝาก ทาใหน้ ักท่องเท่ียวเลือกซ้อื ของ ฝากลาบาก ซ่ึงของฝากที่ขึน้ ชื่อมีทัง้ ท่เี ปน็ อาหาร งานฝีมอื พื้นบ้าน รวมไปทัง้ สินค้าที่บ่งบอกถึงความ เป็นเอกลักษณ์ของสถานที่นน้ั ๆ จากปัญหาข้างตน้ ให้นักศึกษานาความรู้การจัดการโลจิสติกส์และโซอ่ ุปทานตอบคาถาม ดังตอ่ ไปนี้ 1.จงเขียนแผนภาพโซ่อปุ ทานแสดงถึงธุรกิจการนาเท่ียว และธุรกิจของฝากในเขตภาคอีสาน ตอนบน 2.จะมีวิธีการบริหารยอดจองนาเที่ยวอย่างไร เพ่ือให้สามารถวางแผนนาเที่ยวได้อย่าง เหมาะสม จงอธิบายพร้อมยกตวั อย่าง 3.จะมีวิธีการจัดสรร สถานท่ีท่องเท่ียว เส้นทาง ยานพาหนะและท่ีพัก อย่างไร จงอธิบาย พร้อมยกตวั อยา่ ง 4.จงยกตัวอยา่ งโปรแกรมนาเทยี่ ว ทเี่ ช่อื มโยงเส้นทาง สถานทีท่ ่องเท่ยี ว และที่ 5.จะมวี ธิ กี ารลดต้นทนุ ยานพาหนะ อยา่ งไรบา้ ง ดว้ ยวิธกี ารใด 6.จะเชื่อมโยงธุรกิจนาเที่ยวกับธุรกิจของฝากอย่างไร เพื่อให้สถานท่ีท่องเที่ยวแต่ละจุด มี สินคา้ ของฝากทหี่ ลากหลาย ดว้ ยต้นทุนทเี่ หมาะสม 7.จะมีวิธีการลดต้นทุนโลจิสติกส์ในห่วงโซ่อุปทานธุรกิจของฝากอย่างไร ด้วยวิธีการใด จง อธบิ ายพร้อมยกตัวอย่าง 8.จะนาระบบสารสนเทศมาใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูล ในธุรกิจท่องเท่ียวและธุรกิจของฝาก อยา่ งไร 240 บทที่ 10 | การลดตน้ ทุนในระบบโลจิสติกสแ์ ละโซอ่ ปุ ทาน
เอกสารอา้ งองิ คานาย อภปิ รัชญาสกุล. (2550). คู่มอื ลดต้นทุนน้ามนั เช้ือเพลงิ ขนสง่ และโลจสิ ตกิ ส์. กรงุ เทพฯ: โฟกัสมเี ดีย แอนด์ พบั ลชิ ชิ่ง, 134. ชาญวทิ ย์ อมตะมาทชุ าติ. (2555). ตน้ ทุนโลจสิ ตกิ ส์ของประเทศไทยปี 2553. ณ ห้องประชมุ ราช ดาเนิน โรงแรมรอยลั ปร๊นิ เซส หลานหลวง, 30 มี.ค. 2555. ธนิต โสรัตน์. (2552). ค่มู ือการจัดการคลงั สนิ คา้ และการกระจายสินคา้ , ประชมุ ทอง พร้นิ ติง้ , 53. วิศษิ ฎ์ วฒั นานกุ ลู . (2552). การจดั การไอทลี อจสิ ตกิ ส,์ กรุงเทพฯ: ซเี อด็ ยูเคชน่ั , 54. อาคม เติมพิทยาไพสิฐ. (2555). การปรับปรุงตน้ ทุนโลจสิ ตกิ ส์ ต่อ GDP ของประเทศไทย แถลง ต้นทุนโลจสิ ติกส์ ต่อ GDP ปี 2553 และทิศทางปี 2554, ณ หอ้ งประชุมราชดาเนนิ โรงแรมรอยลั ปร๊นิ เซส หลานหลวง, 30 ม.ี ค. 2555. สานักงานพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ. (2555). การปรับปรงุ ต้นทนุ โลจสิ ติกสต์ อ่ GDP ของ ประเทศไทย. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://www.nesdb.go.th/Portals/0/tasks/ dev_logis/seminar/logis54/data01.pdf, [24 พ.ย. 2556] Sbihi, A., and Eglese, R.W. (2007). The Relationship between Vehicle Routing & Scheduling and Green Logistics – A Literature Survey, Department of Management Science, Lancaster University, UK. Tompkins, J.A. and Harmelink, D. (2004). The Supply Chain Handbook. Tompkins Press, 95-98. การจัดการการจดั สง่ ทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 241
242 บทที่ 10 | การลดตน้ ทนุ ในระบบโลจิสตกิ สแ์ ละโซอ่ ปุ ทาน
บรรณานุกรม กมลชนก สทุ ธวิ าทนฤพุฒ,ิ ศลษิ า ภมรสถติ ย์ และจกั รกฤษณ์ ดวงพสั ตรา. (2547). การจัดการโซ่ อปุ ทานและโลจสิ ติกส.์ กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พท์ ้อป. คานาย อภิปรชั ญาสกุล (2546). โลจสิ ติกสแ์ ละการจดั การซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ: นัฏพร. คานาย อภิปรัชญาสกุล. (2550). การจัดการการขนส่ง (Transport Management). กรงุ เทพฯ: โฟกสั มีเดีย แอนด์ พับลชิ ชง่ิ . คานาย อภปิ รชั ญาสกุล. (2550). คมู่ อื ลดต้นทุนนา้ มันเชื้อเพลิงขนสง่ และโลจิสติกส.์ กรงุ เทพฯ: โฟกัสมเี ดีย แอนด์ พบั ลชิ ชง่ิ . คานาย อภิปรัชญาสกลุ . (2553). การจดั การคลังสินคา้ (Warehouse Management). กรงุ เทพฯ: โฟกสั มีเดยี แอนด์ พับลิชชง่ิ . ชุมพล มณฑาทิพยส์ กุล. (2550). เอกสารประกอบการสอนการจัดการซัพพลายเชน. บัณฑิต วทิ ยาลัยการจดั การนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ .ี ฐาปนา บุญหล้า และ นงลกั ษณ์ นมิ ิตภูวดล (2555). การจดั การโลจสิ ตกิ สม์ ิตซิ พั พลายเชน. กรุงเทพฯ: ซเี อ็ดยูเคชนั่ . ธนิต โสรตั น์. (2552). ค่มู ือการจัดการคลงั สนิ ค้าและการกระจายสินคา้ , ประชมุ ทอง พริ้นต้ิง. นนั ทิ สทุ ธกิ ารนฤทัย. (2551). การออกแบบเครอื ขา่ ยโลจสิ ติกส์ สา้ หรบั การบริหารงานระดบั โลก, กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร่, กระทวงอตุ สาหกรรม. ประชด ไกรเนตร. (2541). หนว่ ยที่ 1. ชุดวชิ าการจดั การงานขนสง่ สนิ คา้ . พิมพค์ รัง้ ที่ 5. สาขา วทิ ยาการจดั การ, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช. วทิ ยา สุหฤทดารง. (2551). คู่มือการจดั การลอจิสตกิ ส์และการกระจายสินคา้ . กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์ อ.ี ไอ. สแควร์. บรรณานกุ รม | Bibliography 243
วิศษิ ฎ์ วฒั นานกุ ลู . (2552). การจัดการไอทีลอจิสติกส,์ กรุงเทพฯ: ซเี อด็ ยเู คช่นั . สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. (2553). “ถนนสู่ AEC เพ่อื SMEs ไทย”. สานักงานส่งเสริม วสิ าหกจิ แหง่ ประเทศไทย. สมพงษ์ เฟ่ืองอารมย.์ (2550). บรรจุภณั ฑก์ ับการสง่ ออก. กรงุ เทพฯ: จามจรุ โี ปรดกั ท์. สาธติ พะเนยี งทอง. (2548). การจัดการโซ่อุปทานเชงิ กลยุทธ์. กรงุ เทพฯ: ซเี อด็ ยูเคชัน่ . สานักงานประสานความร่วมมือระหวา่ งประเทศ. สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ. (2554). การพัฒนาแนวพ้นื ที่พฒั นาเศรษฐกจิ (Economic Corridors Development). สานักงานพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต.ิ (2556). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสตกิ ส์ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2556-2560).การอานวยความสะดวกทางการค้าและการจัดการโซ่ อปุ ทานเพื่อความสามารถในการแขง่ ขนั . สุดาทพิ ย์ ตนั ตินิกลุ ชยั และศักดา หงสท์ อง. (2547). ธุรกิจทว่ั ไป. กรุงเทพฯ: สานักพมิ พ์เอมพนั ธ์. สทุ ธมิ า ชานาญเวช. (2555). การวเิ คราะหเ์ ชิงปรมิ าณ. พมิ พค์ รัง้ ที่ 6, กรงุ เทพฯ: วิทยพฒั น.์ Ayer, B.J. and Odegaard, A.M. (2008). Retail Supply Chain Management. Taylor & Francis Group, LLC. Ballou, R.H. (2003). Business Logistics: Supply Chain Management. 5th Global Edition, Pearson Prentice Hall. Bowersox, D.J., Closs, D.J. and Cooper, M.B. (2009). Supply chain Logistics management. New York: McGraw- Hill Irwin. Cavusgil, S.T. Knight, G. and Riesenberger, J.R. (2008). International Business: Strategy, Management, and the New Realities, Pearson Prentice Hall. 244 บรรณานกุ รม | Bibliography
Chopra, S. and Meindl, P. (2012). Supply Chain Management. 5th Edition. Pearson Prentice Hall. Coughlan, A. Anderson, E. Stern, L.W. and Ansary, A.E. (2006). Marketing Channels. 7th Edition. Pearson Prentice Hall. Frazelle, E. (2002). Supply Chain Strategy: The Logistics of Supply Chain Management. McGraw-Hill Professional. Harrison, A. and Hoek, R.V. (2002). Logistics Management and Strategy. London: Pearson Education Limited. Jacobs, F.R., Chase, R.B. & Acquilano, N.J. (2009). Operations and supply management. New York: McGraw-Hill. Lun, Y.H.V., Lai, K.H. and Cheng T.C.E. (2010). Shipping and Logistics Management. London: Springer, 158. Nagurney, A. (2006). Supply Chain Network Economics: Dynamics of Prices, Flows, and Profits, Edward Elgar Publishing. Render, B., Stair, R.M. and Hanna, M.E. (2011). Quantitative Analysis for Management. 11th Edition, Pearson Prentice Hall. Russell, R.S. and Taylor III, B.W. (2011). Operations Management. 7th Edition, John Wiley & Sons (Asia), 304. Saxena, R.S. (2009). Inventory Management: Controlling in a Fluctuating Demand Environment, Global India Publications, 24. Tompkins, J.A. and Harmelink, D. (2004). The Supply Chain Handbook. Tompkins Press, 95-98. บรรณานกุ รม | Bibliography 245
246 บรรณานกุ รม | Bibliography
ประวตั ผิ ูเ้ ขยี น ชอ่ื -นามสกลุ นายมานน เซียวประจวบ สถานทท่ี างาน สาขาวชิ าการจัดการทว่ั ไป คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี ประวตั กิ ารศึกษา - ปรญิ ญาโทบรหิ ารธรุ กจิ มหาบณั ฑติ (บธ.ม.) สาขาวิชาการจดั การทว่ั ไป จากมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น: 2547 - ปรญิ ญาตรีวิศวกรรมศาสตร์บณั ฑติ (วศ.บ.) สาขาวศิ วกรรมโยธา จากมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น: 2544 ประวัติการฝกึ อบรม 1. อบรมเชิงปฏิบตั ิการ “การจัดการคณุ ภาพตามมาตรฐาน ISO 9001: 2000”: 2548 2. อบรมเชิงปฏิบัติการ “การแปลงวสิ ยั ทศั นส์ ู่ภาคปฏบิ ตั ดิ ้วยเครอื่ งมอื Balanced Scorecard”: 2549 3. อบรมเชิงปฏิบตั กิ าร “พฒั นาศักยภาพการจดั ทากจิ กรรม 5 ส.”: 2549 4. บริกรธรุ กจิ อุตสาหกรรม (Service Provider) ประเภทข้อมลู เบื้องตน้ สาหรบั วิสาหกจิ ชุมชน : 2550 ประวตั ิผลงานการวิจยั 1. สื่อพื้นบ้านในฐานะทุนวัฒนธรรม เพ่ือสง่ เสริมการท่องเท่ยี ว กรณีศึกษา: บ้านเชียง จังหวัด อดุ รธานี: 2549 2. การศึกษาศกั ยภาพและการดูแลรักษาแหล่งท่องเที่ยวเชงิ อนุรกั ษ์ เพ่ือพฒั นาการท่องเที่ยว อย่างย่ังยนื กรณศี กึ ษาอุทยานประวัตศิ าสตร์ “ภูพระบาท”: 2550 3. การพัฒนาระบบสารสนเทศการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนเพื่อประกันคุณภาพ การศึกษาของคณาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี: 2551 ประวตั ผิ ู้เขยี น | Curriculum Vitae 247
4. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้การใช้ส่อื การสอนเกมธรุ กจิ จาลอง: กรณศี ึกษาคณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี: 2551 5. การประเมินความต้องการจาเป็นในการพัฒนาตนเองของนักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี: 2555 ประสบการณด์ า้ นการสอน 1. การบริหารการผลิตและการดาเนนิ งาน 2. การจัดการการจัดส่งทางธรุ กจิ 3. นวตั กรรมทางการจดั การ 4. การวเิ คราะห์เชิงปรมิ าณทางธุรกจิ 5. การจดั การเชงิ กลยทุ ธ์ 6. การจดั การธรุ กจิ ด้วยคอมพวิ เตอร์ ประสบการณด์ า้ นงานบรหิ าร พ.ศ. 2556 - 2557 รองคณบดฝี า่ ยบริหาร คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุดรธานี พ.ศ. 2552 - 2556 ผชู้ ว่ ยคณบดี คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี ประสบการณ์ดา้ นงานธุรกิจ พ.ศ. 2547 - 2548 บริษัทโชคชยั วัฒนก์ ่อสร้าง จากดั ตาแหน่งวิศวกรโครงการ พ.ศ. 2546 - 2547 บรษิ ทั กฤษณาดีวลี อปท์เมนต์ จากัด ตาแหน่งวิศวกรโครงการ พ.ศ. 2544 - 2545 บริษัทอุดรพัชรกี ารโยธา จากดั ตาแหนง่ วิศวกรประจาสานักงาน 248 ประวตั ิผู้เขยี น | Curriculum Vitae
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272