2. วิธีการให้คะแนนถว่ งน้าหนกั (Factor Rating System) เปน็ วิธีการทีใ่ หค้ วามสาคัญกบั ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกยี่ วขอ้ ง โดยพจิ ารณาจากนา้ หนกั ในแต่ละปัจจยั ซึง่ ไดจ้ ากการศึกษาหรือทาวิจยั แล้ว ตัดสินใจให้คะแนนในแต่ละพ้ืนท่ี จากน้ันจึงนามาคิดคะแนนเฉล่ียถ่วงน้าหนัก พ้ืนที่ใดมีคะแนนมาก ทส่ี ุดจงึ ตดั สนิ ใจเลอื กทาเลท่ีตั้งไปยังพนื้ ที่น้นั ตารางที่ 8.3 แสดงวิธีการเลือกทาเลท่ีตง้ั โดยวธิ ีการใหค้ ะแนนถ่วงน้าหนัก ปัจจัย น้าหนกั คะแนน คะแนนถว่ งน้าหนกั อดุ รธานี ขอนแก่น แหล่งวัตถดุ บิ 0.20 อุดรธานี ขอนแก่น ฝมี อื แรงงาน 0.30 90 80 การคมนาคม 0.10 80 90 =(90x0.2) =18.00 =(80x0.2) =16.00 ตลาด 0.15 70 85 สาธารณปู โภค 0.25 85 80 =(80x0.3) =24.00 =(90x0.3) =27.00 รวม 1.00 80 70 -- =(70x0.1) = 7.00 =(85x0.1) = 8.50 =(85x0.15) = 12.75 =(80x0.15) =12.00 =(80x0.25) = 20.00 =(70x0.25) =17.50 81.75 81.00 จากตาราง เลือกขยายโรงงานที่ อุดรธานีเพราะมีคะแนนเฉล่ียถ่วงน้าหนักเท่ากับ 81.75 คะแนนมากกว่าคะแนนเฉลีย่ ถว่ งน้าหนกั ที่ขอนแก่น การตดั สนิ ใจเลอื กทาเลที่ตงั้ ดว้ ยวิธีการเชงิ ปรมิ าณ เป็นเทคนิคการตัดสินใจโดยใช้ตัวเลขต้นทุนการผลิตต่อหน่วยของแต่ละทาเลและ เปรียบเทยี บค่าใช้จา่ ยรวมของแตล่ ะทาเล โดยเลือกทาเลท่เี สียค่าใช้จา่ ยรวมทต่ี า่ สุด มาพิจารณาเลือก เสน้ ทางและพื้นทท่ี ม่ี ีต้นทุนตา่ ที่สดุ วิธกี ารเลอื กทาเลที่ตั้งด้วยวิธีการเชิงปริมาณไดแ้ ก่ 1. การเปรียบเทียบตน้ ทุน (Cost Comparison) เป็นการนาเอาต้นทุนและคา่ ใชจ้ ่ายต่าง ๆ ของแตล่ ะทาเลนามาเปรียบเทียบระหว่างกนั โดยทวั่ ไปในข้นั ตอนของการตดั สนิ ใจเลอื กทาเลท่ีตั้งน้ัน จะมีการกาหนดแหล่งทาเลที่ตง้ั ท่จี ะพิจารณาเลือกประมาณ 3- 5 แหลง่ เพ่ือให้มแี หล่งเปรียบเทียบที่ จะทาให้เกดิ ความเหมาะสมและเป็นประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ธุรกิจ ตวั อยา่ งดงั แสดงในตารางท่ี 8.4 การจดั การการจดั สง่ ทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 179
ตารางที่ 8.4 แสดงวิธีการเลือกทาเลที่ต้ังด้วยวิธเี ปรียบเทยี บตน้ ทนุ คา่ ใช้จา่ ย ( พนั บาท ) ทาเล ก. ทาเล ข. ทาเล ค. 1. ค่าใช้จ่ายในการจัดต้งั คลังสนิ คา้ 1,000 5,000 - ค่าท่ดี นิ 2,000 1,200 1,000 100 - คา่ อาคารและก่อสร้าง 6,000 5,800 7,100 - คา่ ตดิ ต้ังระบบสาธารณปู โภค 800 1,000 700 800 - ค่าใชจ้ ่ายกอ่ นการดาเนนิ การ 100 100 700 750 รวมค่าใชจ้ า่ ยในการจัดตัง้ คลังสนิ คา้ 8,900 8,100 450 60 2. คา่ ใช้จ่ายรายปี 3,460 8,514 - คา่ แรงงาน 500 600 29,458 7,100 - ค่าขนส่งเข้า 400 600 36,558 - ค่าขนส่งออก 300 500 - ค่าพลังงาน 600 650 - คา่ โสหุ้ย 300 400 - คา่ ใช้จ่ายอืน่ ๆ 40 50 รวมคา่ ใชจ้ า่ ยรายปี 2,140 2,800 คา่ แฟคเตอร์ 8,514 8,514 มลู ค่าปจั จบุ นั 18,220 23,839 บวก ค่าใชจ้ า่ ยการจดั ตั้งคลงั สินค้า 8,900 8,100 มูลค่ารวม 27,120 31,939 จากการเปรียบเทยี บตน้ ทนุ ของแต่ละทาเลที่ตั้งทั้ง 3 แห่งจะเห็นได้ว่าค่าใช้จา่ ยในการจดั ต้งั คลังสินค้านนั้ ทาเล ค. มีค่าใช้จ่ายท่ตี ่าทส่ี ุด แต่เมื่อพิจารณาค่าใช้จา่ ยในการดาเนนิ งานรายปี พบว่า ทาเล ค. มคี ่าใชจ้ า่ ยทส่ี ูงทสี่ ดุ และเมอื่ พิจารณามูลคา่ รวมทัง้ หมดของทั้ง 3 ทาเลพบวา่ ควรเลือกทาเล ก. ในการจัดต้ังคลงั สนิ ค้า 180 บทที่ 8 | โครงสรา้ งระบบเครอื ขา่ ยและการเลือกทาเลท่ตี ง้ั
2. การวิเคราะห์ระยะทางการขนส่งด้วยวิธีจุดศูนย์ดุล (Center of Gravity Method) วิธีน้ีเป็นการพิจารณาปจั จัยในการขนสง่ เป็นหลัก เน่ืองจากแนวโน้มการขึ้นราคานา้ มนั ที่สูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง โดยนาหลักการที่ว่า ค่าใช้จ่ายในการขนส่งจะต่าที่สุด เม่ือระยะทางขนส่งสั้นท่ีสุด โดยจะ พจิ ารณาจากคา่ เฉลยี่ ถว่ งน้าหนกั ระยะทางทข่ี นสง่ ดังภาพ (Russell & Taylor, 2011: 304) Y Q2 B (X2, Y2) Q1 Q3 A (X1, Y1) C (X3, Y3) X ภาพท่ี 8.2 แสดงลักษณะทาเลที่ตง้ั ทง้ั 3 แหง่ คา่ เฉลี่ยถ่วงน้าหนกั พกิ ัด X = X1Q1 + X2Q2 + X3Q3 +...+ XnQn คา่ เฉล่ยี ถว่ งน้าหนัก พกิ ัด X = พกิ ัด Y = Q1 + Q2 + Q3 +...+ Qn พกิ ดั Y = n XiQi i1 n (8.1) Qi i1 Y1Q1 + Y2Q2 + Y3Q3 +...+ YnQn Q1 + Q2 + Q3 +...+ Qn n YiQi i1 n (8.2) Qi i1 การจดั การการจดั ส่งทางธุรกจิ | Business Logistics Management 181
ตัวอย่างท่ี 8.1 โรงงานรีไซเคิลพลาสติกกาลังพิจารณาขยายสาขา โดยคาดว่าจะรับซื้อพลาสติกเกา่ จากบรษิ ัทตา่ ง ๆ ดงั ตารางท่ี 8.5 ตารางท่ี 8.5 แสดงปรมิ าณยอดรับซอื้ จากสถานทต่ี า่ ง ๆ บริษัท ปรมิ าณทรี่ ับซ้ือทง้ั ปี (ตนั ) A 10,000 B 8,000 C 11,000 D 5,000 โดยเริม่ ตน้ จะตอ้ งดาเนินการสรา้ งกราฟเพื่อกาหนดพกิ ัดของสถานทต่ี ้ังบริษัทต่าง ๆ แสดงดัง ภาพที่ 8.2 Y 11 10 C (9,7) 9 B (3,8) 8 7 6 5 คาตอบ (6.26,5.62) 4 3 D (10,4) 2 A (4,3) 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 X 182 บทที่ 8 | โครงสร้างระบบเครอื ข่ายและการเลือกทาเลที่ตง้ั
จากภาพ สามารถคานวณหาพกิ ัดทาเลทต่ี ้งั ไดด้ ังนี้ n XiQi X= i1 จากสมการท่ี 8.3 พิกัด n Qi i1 พกิ ดั X= (4x10,000)+(3x8,000)+(9x11,000)+(10x5,000) (10,000 8,000 11,000 5,000) พกิ ัด X = 6.26 จากสมการที่ 8.4 พิกดั Y = n พิกดั Y = YiQi i1 n Qi i1 (3x10,000)+(8x8,000)+(7x11,000)+(4x5,000) (10,000 8,000 11,000 5,000) พิกัด Y = 5.62 ตอบ เลือกทาเลท่ตี ง้ั ทีพ่ ิกดั (6.26,5.62) การจัดการการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 183
การหาระยะทางขนสง่ สามารถใช้ทฤษฎีบทพที าโกรสั เพ่ือคานวณหาระยะทาง กาหนดให้ ระยะหา่ งระหวา่ งจดุ 2 จุดเป็นเสน้ ตรง ดังภาพท่ี 8.3 Y A (X1,Y1) Y1-Y2 dAB X2-X1 B (X2,Y2) X ภาพท่ี 8.3 แสดงระยะทางระหวา่ งจดุ A และ จดุ B จากภาพที่ 8.3 สามารถหาระยะทาง (dAB) จากทฤษฎีบทพีทาโกรัสได้ดังน้ี d2AB = (Y1 -Y2 )2 + (X2 -X1)2 (8.4) เน่ืองจากเปน็ การยกกาลงั สอง การหาระยะทางไม่ไดค้ านึงถงึ ทิศทาง จงึ ไม่พิจารณาคา่ ทเี่ ป็น ลบและสามารถสลับท่ีระหวา่ ง Y1 , Y2 และ X1 , X2 ได้ ดังน้ัน dAB = (X2 -X1 )2 + (Y2 -Y1 )2 (8.5) ตัวอยา่ งท่ี 8.2 จากตัวอยา่ งท่ี 8.1 หากต้นทุนการขนสง่ 0.5 บาทต่อตันต่อกิโลเมตร บริษทั จะมีตน้ ทนุ ขนสง่ ทั้งหมดเท่าใด กาหนดใหม้ าตราส่วนของแผนท่ี 1 หน่วย: 50 กโิ ลเมตร ในการคานวณกาหนดให้แหลง่ ท่ตี ั้ง S มีคา่ พิกัดเปน็ (X2,Y2) สามารถคานวณระยะทางไดด้ ังนี้ 1. ระยะทางจาก A มาท่ตี ั้งใหม่ = (6.26-4)2 + (5.62-3)2 = 3.46 หน่วย = 3.46 x 50 = 172.92 ก.ม. 184 บทที่ 8 | โครงสรา้ งระบบเครอื ข่ายและการเลอื กทาเลทต่ี ง้ั
ต้นทนุ ขนสง่ จาก A = 172.92 x 10,000 x 0.5 = 864,600 บาท 2. ระยะทางจาก B มาท่ตี งั้ ใหม่ = (6.26-3)2 + (5.62-8)2 = 4.04 หนว่ ย = 4.04 x 50 = 201.80 ก.ม. ต้นทุนขนสง่ จาก B = 201.80 x 8,000 x 0.5 = 807,200 บาท 3. ระยะทางจาก C มาท่ีตง้ั ใหม่ = (6.26-9)2 + (5.62-7)2 = 3.07 หนว่ ย = 3.07 x 50 = 153.30 ก.ม. ต้นทุนขนส่งจาก C = 153.30 x 11,000 x 0.5 = 843,150 บาท 4. ระยะทางจาก D มาที่ตัง้ ใหม่ = (6.26-10)2 + (5.62-4)2 = 4.08 หนว่ ย = 4.08 x 50 = 203.78 ก.ม. ต้นทุนขนส่งจาก D = 203.78 x 5,000 x 0.5 = 509,450 บาท ดงั น้นั ต้นทุนขนส่งรวม = 864,600+807,200+843,150+509,450 = 3,024,400 บาท ตอบ ตน้ ทนุ ขนส่งรวมเทา่ กบั 3,024,400 บาท การจัดการการจดั สง่ ทางธุรกจิ | Business Logistics Management 185
3. การวเิ คราะหจ์ ดุ คมุ้ ทนุ ของทาเลทีต่ ้ัง (Location Break – even Analysis) เป็นการ วเิ คราะห์เพ่อื หาความสมดุลระหวา่ งปรมิ าณการผลติ รายไดจ้ ากการขายและตน้ ทุนคงท่กี ับต้นทุนผัน แปรทที่ าใหผ้ ลกาไรมคี ่าเทา่ กบั ศนู ย์ซึ่งสามารถเขยี นในรปู สมการไดด้ ังน้ี TC = FC + VC หรอื TC = FC + (QxV) (8.6) และ R = QxP (8.7) จะได้ Z = R - TC (8.8) โดยที่ TC = ตน้ ทนุ รวม FC = ต้นทนุ คงทรี่ วม VC = ต้นทนุ ผันแปรรวม Q = จานวนท่ผี ลติ R = รายได้จากการขาย V = ตน้ ทุนผันแปรตอ่ หนว่ ย P = ราคาขายต่อหน่วย Z = กาไร ดังน้ันถ้ากาไรเปน็ ศนู ย์หรอื Z = 0 จากสมการท่ี 8.8 จะได้ 0 = R - TC R = TC QxP = FC + (QxV) (QxP)-(QxV) = FC Q(P-V) = FC จะได้จุดคุ้มทนุ หรอื Q = FC (8.9) PV 186 บทที่ 8 | โครงสร้างระบบเครอื ขา่ ยและการเลอื กทาเลท่ตี ง้ั
ตวั อยา่ งท่ี 8.3 บรษิ ัท สมไทย จากดั ตอ้ งการขยายโรงงาน โดยได้พจิ ารณาทาเลท่ีต้งั ทงั้ หมด 3 ทาเล คือ ทาเล ก. ทาเล ข. และทาเล ค. แต่ละทาเลจะขายสินค้าราคาเท่ากันท้ังหมด คือ 300 บาทต่อ หน่วย สาหรับต้นทุนคงท่แี ละต้นทนุ ผันแปรของแต่ละทาเลเปน็ ดังน้ี ทาเลทต่ี ้ัง ต้นทุนคงที่ต่อปี ตน้ ทนุ ผันแปรตอ่ หน่วย 2,000,000 200 ก ข 1,800,000 150 ค 1,600,000 180 จากสมการท่ี 8.9 จดุ คุ้มทุน Q = FC 20,000 หน่วย PV จะได้ จดุ คมุ้ ทนุ ทาเล ก = 2,000,000 = 300-200 จุดค้มุ ทนุ ทาเล ข = 1,800,000 = 12,000 หน่วย 300-150 จุดคมุ้ ทุนทาเล ค 1,600,000 = 300-180 = 13,000 หน่วย จากการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของทาเลทีต่ ั้งทั้ง 3 แห่งพบว่าทาเล ข มีจุดคุ้มทุนท่ีต่าท่ีสุด แต่ อย่างไรก็ตามในการเลือกทาเลที่ต้ังน้ันจะต้องพจิ ารณาโอกาสในการขายสินค้าของแต่ละทาเลที่ตง้ั ประกอบด้วย ดังนั้นตามตัวอย่างข้างต้นจึงมีสมมติฐานว่าทาเลท่ีตั้งแต่ละแห่งไม่มีผลกระทบต่อ ความสามารถในการขาย ตัวอย่างท่ี 8.4 โรงงานรีไซเคลิ พลาสตกิ กาลังพจิ ารณาเลือกทาเลที่ต้งั เพื่อขยายสาขาใน 3 จังหวัดโดย มขี อ้ มูลดงั นี้ การจดั การการจดั ส่งทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 187
ทีต่ ้ัง ต้นทนุ คงท่ี (บาท) ตน้ ทนุ ผนั แปร (บาท/ชนิ้ ) พิษณุโลก 30,000 75 นครราชสมี า ปราจนี บุรี 60,000 45 110,000 25 จาก TC = FC + VC TC พษิ ณโุ ลก = 30,000 + 75Q TC นครราชสีมา = 60,000 + 45Q TC ปราจนี บรุ ี = 110,000 + 25Q สามารถนามาสร้างกราฟความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตน้ ทนุ และปริมาณ ไดด้ ังน้ี ต้นทนุ / ปี ( TC) TC พษิ ณโุ ลก TC นครราชสมี า 110,000 TC ปราจีนบรุ ี 60,000 30,000 นครราชสมี า ปราจนี บุรี พิษณุโลก 0 Q1 Q2 50 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000 จากกราฟ ที่ Q1 TC พษิ ณุโลก = TC นครราชสมี า นน่ั คือ 30,000 + 75Q = 60,000 + 45Q = 75Q - 45Q = 60,000 - 30,000 = 30Q 30,000 1,000 ชิ้น Q 188 บทที่ 8 | โครงสร้างระบบเครอื ขา่ ยและการเลือกทาเลท่ีตง้ั
จากกราฟ ท่ี Q2 TC นครราชสมี า = TC ปราจีนบรุ ี นั่นคือ 60,000 + 45Q = 110,000 + 25Q 45Q - 25Q = 110,000 - 60,000 20Q = 50,000 Q = 2,500 ชิน้ พจิ ารณาจากกราฟ -ปริมาณ 0 – 1,000 ชนิ้ เสน้ กราฟพษิ ณุโลกตา่ ทส่ี ดุ นั่นคอื จะมตี ้นทนุ ตา่ ทสี่ ุด -ปริมาณ 1,000 – 2,500 ชิ้น เส้นกราฟ นครราชสมี า ต่าทสี่ ดุ นนั่ คือจะมตี ้นทนุ ต่าทีส่ ดุ -ปริมาณ 2,500 ชิ้นขน้ึ ไป เส้นกราฟ ปราจีนบรุ ี ตา่ ที่สดุ นั่นคอื จะมีต้นทนุ ตา่ ที่สดุ น่ันคือ การพจิ ารณาเลอื กทาเลทีต่ งั้ ข้ึนกับ ปริมาณความตอ้ งการของลกู ค้าน่นั เอง ตอบ หากปริมาณความต้องการของลูกคา้ 0 – 1,000 ชิน้ เลือกทาเลท่ีตง้ั ที่ พิษณโุ ลก ปริมาณความตอ้ งการของลกู ค้า1,000 – 2,500 ชนิ้ เลือกทาเลที่ตง้ั ที่ นครราชสมี า ปริมาณความต้องการของลูกค้า 2,500 ช้นิ ขึ้นไป เลือกทาเลทต่ี งั้ ท่ี ปราจนี บรุ ี บทสรปุ ระบบเครอื ข่ายโลจิสติกส์ แบ่งได้ 4 แบบ คือ เครือข่ายแบบเข้มงวด (Rigid) เครือข่ายแบบ ส่วนประกอบย่อย (Modularized) เครือขา่ ยแบบชะลอเวลา (Postponed) และ และเครือข่ายแบบ ผ่อนปรน (Flexible) ซึ่งลักษณะเครือข่ายแบบต่าง ๆ ไม่สามารถบอกได้ว่าแบบใดดีท่ีสุด ข้ึนอยู่กับ การบริหารและกลยุทธ์ รวมทั้งสภาวะแวดล้อมทั้งปัจจัยภายในและภายนอกขององค์กรที่จะเลือก สร้างเครอื ข่ายโลจสิ ตกิ สร์ ปู แบบใด การเลือกทาเลที่ตั้งมีรูปแบบการตัดสินใจ 2 รูปแบบคือ 1) การตัดสินใจเชิงคุณภาพ ซึ่งมี วิธีการตัดสินใจด้วยวิธีการให้คะแนนถ่วงน้าหนัก (Factor Rating System) และการจัดลาดับ ความสาคัญของปัจจัย (Ranking Technique) และ 2) การตัดสินใจเชิงปริมาณ ได้แก่วิธีการ เปรียบเทยี บต้นทนุ (Cost Comparison) การวเิ คราะหร์ ะยะทางการขนสง่ ด้วยวิธจี ดุ ศนู ยด์ ลุ (Center of Gravity Method)และ การวิเคราะหจ์ ุดค้มุ ทุนของทาเลที่ตั้ง (Location Break – even Analysis) การจัดการการจดั ส่งทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 189
แบบฝึ กหดั ทา้ ยบท 8.1 จงอธบิ ายเครือข่ายแต่ละประเภท พรอ้ มทั้งวาดภาพประกอบ 8.2 บริษัทแห่งหน่ึงกาลังพจิ ารณาจดั ต้ังคลังสินค้า โดยคาดว่าจะรับวัตถุดิบจากบริษัทต่าง ๆ โดยมี ต้นทุนขนส่ง 0.5 บาท /ตัน/กม. บริษัทควรเลือกต้ังคลงั สินค้าที่ใด และมีต้นทุนขนส่งทั้งหมดเทา่ ใด กาหนดให้มาตราส่วนแผนที่ 1 หน่วย : 10 กม. บริษัท ปริมาณทร่ี บั ซอื้ ทัง้ ปี (ตนั ) พกิ ัด A 6,000 (2,4) B 8,000 (4,9) (7,5) C 11,000 (5,2) D 7,500 8.3 บริษัทแห่งหน่ึงกาลังพิจารณาจดั ตั้งคลังสินค้าเพ่ือรบั ซื้อวัตถุดิบ (หน่วย:ตัน) โดยมีต้นทุนขนส่ง 0.5 บาท /ตัน/กม. บริษัทควรเลือกต้ังคลังสินค้าท่ีอาเภอใด และมีต้นทุนขนส่งทั้งหมดเท่าใด กาหนดให้มาตราสว่ นแผนท่ี 1 หน่วย : 10 กม. A 3,000 ตนั B 2,000 ตัน D 3,000 ตัน C 4,000 ตนั 190 บทท่ี 8 | โครงสร้างระบบเครอื ข่ายและการเลือกทาเลท่ีตงั้
8.4 บรษิ ัทแห่งหน่ึงวางแผนโลจิสติกส์ จงเลอื กทาเลทต่ี ้ังในการจดั ตงั้ คลงั สนิ ค้าเพ่ือเช่ือมโยงเครอื ขา่ ย ผผู้ ลติ และ ทาเลท่ีต้งั ศนู ยก์ ระจายสินค้าเพอ่ื เชอื่ มโยงลกู ค้าเข้าดว้ ยกัน กาหนดให้ -เครือข่ายผผู้ ลิตและเครอื ข่ายลกู คา้ ใชร้ ถเลก็ ในการขนสง่ มีต้นทนุ ค่าขนสง่ 0.7 บาท/ตนั /กม. -เส้นทางเช่อื มโยงระหวา่ งคลงั สนิ คา้ และศูนย์กระจายสนิ คา้ ขนส่งด้วยรถพว่ ง มีตน้ ทุนคา่ ขนสง่ 0.5 บาท/ตนั /กม. ขอ้ มลู ปรมิ าณซื้อและส่งดงั ตารางข้างล่าง เครือขา่ ยผู้ขายวตั ถดุ บิ ปริมาณท่ซี ือ้ (ตัน) เครอื ข่ายลกู คา้ ปรมิ าณทีส่ ง่ (ตัน) S1 200 C1 170 S2 150 C2 240 S3 250 C3 220 S4 200 C4 170 รวม 800 รวม 800 มาตราสว่ น 1 : 10 กม. จุดท่ตี งั้ คลงั สนิ คา้ และศูนยก์ ระจายสินค้าคือพกิ ัดใดและมีระยะทางขนสง่ แต่ละจดุ เท่าใด พรอ้ มทง้ั คานวณคา่ ใชจ้ า่ ยทั้งหมด การจดั การการจดั ส่งทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 191
เอกสารอา้ งองิ นนั ทิ สุทธกิ ารนฤทยั . (2551). การออกแบบเครือข่ายโลจสิ ตกิ ส์ สาหรบั การบริหารงานระดบั โลก, กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมืองแร่, กระทวงอุตสาหกรรม, 2. สดุ าทิพย์ ตันตนิ กิ ลุ ชัย และศักดา หงสท์ อง. (2547). ธุรกจิ ทั่วไป. กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์. คานาย อภปิ รชั ญาสกุล. (2550). การจดั การการขนส่ง (Transport Management). กรุงเทพฯ: โฟกัสมีเดีย แอนด์ พบั ลชิ ชิง่ , 159. Russell, R.S. and Taylor III, B.W. (2011). Operations Management. 7th Edition, John Wiley & Sons (Asia), 304. 192 บทที่ 8 | โครงสร้างระบบเครอื ข่ายและการเลอื กทาเลท่ตี ง้ั
แผนบรหิ ารการสอนประจาวิชาบทที่ 9 การจดั การสินคา้ คงคลงั ในโซ่อุปทาน หวั ข้อเนือ้ หาประจาบท 1. บทบาทของสนิ คา้ คงคลงั ในโซอ่ ุปทาน 2. ความสาคัญของสนิ คา้ คงคลัง 3. ต้นทนุ สนิ คา้ คงคลงั 4. ระบบการควบคมุ สินค้าคงคลงั 5. ตัวแบบพนื้ ฐานสนิ ค้าคงคลงั 6. ระบบการจดั ซอื้ จดั หา 7. บทสรปุ วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. เพือ่ ให้ผศู้ กึ ษาสามารถอธิบายบทบาทและความสาคัญของสินค้าคงคลงั ในโซ่อุปทาน 2. เพ่ือให้ผู้ศกึ ษาสามารถจาแนกประเภทและตน้ ทุนของสินค้าคงคลัง 3. เพอื่ ใหผ้ ้ศู กึ ษาสามารถสรา้ งตวั แบบพนื้ ฐานสินค้าคงคลงั และหาจดุ ส่ังซอื้ ท่ีประหยดั ที่สดุ 4. เพอ่ื ใหผ้ ศู้ กึ ษาสามารถอธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างระบบการจัดซือ้ จัดหาและการจดั การ สินค้าคงคลังในโซอ่ ปุ ทาน วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาบท 1. บรรยายเนื้อหาบทเรยี นทเี่ กย่ี วกบั บทบาทของสนิ คา้ คงคลงั ในโซอ่ ุปทาน ความสาคัญของ สินค้าคงคลงั ต้นทุนสินค้าคงคลงั ระบบการควบคุมสนิ ค้าคงคลัง ตัวแบบพ้ืนฐานสนิ คา้ คงคลงั และระบบการจัดซื้อจดั หา 2. แสดงวิธีการหาคาตอบและวิธีการสร้างตัวแบบพ้ืนฐานสินค้าคงคลังบนกระดานอย่าง ละเอียด และเปดิ โอกาสให้ซักถามในประเดน็ ทไ่ี ม่เขา้ ใจหรอื สงสัย 3. มอบหมายแบบฝึกหัดเพื่อให้นักศึกษาทบทวนความเข้าใจจากที่ได้ศึกษาในบทเรียน ดงั กล่าวภายในชั่วโมงเรียน หลงั จากนน้ั จะทาการเฉลยวิธกี ารหาคาตอบ การจัดการการจดั สง่ ทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 193
4. มอบหมายแบบฝกึ หดั เป็นการบา้ น เพื่อเพ่มิ ทักษะในการหาคาตอบและทบทวนบทเรยี น เพอื่ ทาความเขา้ ใจในเนอื้ หามากยิง่ ขนึ้ สือ่ การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการจดั การการจัดสง่ ทางธุรกจิ 2. เอกสารต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งในเอกสารอ้างอิง 3. ส่ือทัศนะวัสดปุ ระกอบการสอน การวัดและประเมนิ ผล 1. การเข้าชัน้ เรียนและการมสี ว่ นรว่ มในชั้นเรยี น 2. แบบฝกึ หดั ทม่ี อบหมาย 194 บทที่ 9 | การจดั การสนิ ค้าคงคลังในโซอ่ ปุ ทาน
บทท่ี 9 การจดั การสนิ คา้ คงคลงั ในโซ่อปุ ทาน การจัดการสินค้าคงคลังเป็นกิจกรรมหนึ่งที่มีความสาคัญอย่างมากในการดาเนินธุรกิจ ซ่ึงโดยธรรมชาติของการดาเนินธุรกิจนั้น จาเป็นท่ีจะต้องมีสินค้าคงคลัง เช่น สินค้าคงคลัง ประเภทวัตถุดบิ มไี ว้เพ่ือใหม้ เี พยี งพอและทันเวลาตอ่ การปอ้ นเข้าสูร่ ะบบผลติ เพือ่ ส่งมอบใหก้ บั ลกู คา้ ได้ทันเวลา หากมีไม่เพียงพอจะทาให้ระบบการผลิตหยุดชะงัก สาหรับสินค้าคงคลังประเภทสินค้า สาเร็จรูปมไี ว้เพือ่ รอการจาหนา่ ย หากมไี ม่เพยี งพอกจ็ ะทาใหเ้ สยี โอกาสในการขาย เป็นตน้ แต่อย่างไรก็ตาม แมว้ ่าการมสี ินคา้ คงคลงั เป็นสง่ิ ทจ่ี าเป็น แต่การมสี ินคา้ คงคลังมากเกินไปก็ ส่งผลเสีย ในด้านของต้นทนุ ที่เกิดขึ้นจากการเก็บรกั ษา และตน้ ทนุ สนิ ค้าคงคลงั เกิดการเผอื่ สนิ ค้าคง คลังสารองต่อเน่ืองจากธรุ กิจต้นน้าหรือเครอื ขายลูกค้า ย้อนกลบั มาท่ธี ุรกจิ ต้นน้าหรอื เครือขา่ ยผ้ผู ลิต ทาใหเ้ กิดสนิ ค้าคงคลงั ในภาพรวมท้ังโซอ่ ปุ ทานมากเกนิ ความจาเป็น เนื้อหาในบทน้ีจะกล่าวถึงบทบาทของสินค้าคงคลังในโซ่อุปทาน ความสาคัญของสินค้าคง คลัง ต้นทนุ สินคา้ คงคลัง ระบบการควบคุมสินค้าคงคลงั ตวั แบบพนื้ ฐานสนิ คา้ คงคลงั และระบบการ จัดซื้อจัดหา เพ่ือให้สามารถวางแผนการตัดสินใจใหม้ ีสินค้าคงคลังในระดับท่ีเหมาะสม เพียงพอต่อ การผลิตหรือจาหนา่ ยตลอดทง้ั โซ่อปุ ทาน และมตี น้ ทนุ รวมของสนิ ค้าคงคลงั ท่ีตา่ ทีส่ ุด บทบาทของสนิ คา้ คงคลงั ในโซ่อุปทาน สินค้าคงคลังมีวัตถุประสงค์ในการสร้างความสมดุลในโซ่อุปทาน เพ่ือให้ระดับสินค้าคงคลงั ต่าสุด โดยไม่กระทบต่อระดับการให้บริการ โดยปัจจัยนาเข้าของกระบวนการผลิตที่มีความสาคัญ อย่างยิ่งคือ วัตถุดบิ ชนิ้ ส่วนและวสั ดตุ า่ ง ๆ ที่เรยี กรวมกันว่าสนิ ค้าคงคลงั ซึ่งเป็นองคป์ ระกอบทใ่ี หญ่ ท่ีสุดของต้นทุนการผลิตผลิตภัณฑ์หลายชนิด นอกจากน้ีการมีสินค้าคงคลังที่เพียงพอยังเป็นการ การจดั การการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 195
ตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้าจากการส่งมอบสินค้าได้ทันเวลา จึงเห็นได้ว่าสินค้าคงคลังมี ความสาคญั ต่อกจิ กรรมหลกั ของธุรกิจเป็นอย่างมาก การจดั การสินค้าคงคลงั ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพจงึ สง่ ผล กระทบต่อผลกาไรจากการประกอบการโดยตรงและในปัจจบุ ันน้ีมีการนาเอาระบบคอมพิวเตอรม์ า ชว่ ยจัดการขอ้ มลู ของสินค้าคงคลัง เพือ่ ให้เกดิ ความถกู ตอ้ ง แมน่ ยา และทนั เวลามากยง่ิ ขน้ึ การจัดซอ้ื สินค้าคงคลังมาในคุณสมบัติที่ตรงตามความต้องการ ปริมาณเพียงพอ ราคาเหมาะสม ทันเวลาที่ ต้องการโดยซื้อจากผู้ขายท่ไี ว้วางใจได้ และนาส่งยังสถานทีท่ ่ีถูกต้องตามหลกั การจดั ซอ้ื ท่ีดที ่ีสดุ เปน็ จุดเรมิ่ ตน้ ของการจดั การสนิ ค้าคงคลัง ซึ่งมีวตั ถุประสงค์หลักอยู่ 2 ประการใหญ่ คือ 1.สามารถมสี ินคา้ คงคลังบริการลกู คา้ ในปรมิ าณทเ่ี พียงพอ และทันต่อการความต้องการของ ลกู คา้ เสมอ เพือ่ สร้างยอดขายและรกั ษาระดับของสว่ นแบ่งตลาดไว้ 2.สามารถลดระดบั การลงทนุ ในสนิ ค้าคงคลงั ตา่ ทสี่ ุดเทา่ ทจ่ี ะทาได้ เพือ่ ทาใหต้ น้ ทุนการผลิต ต่าลงดว้ ย แต่วตั ถุประสงคส์ องข้อนจี้ ะขดั แยง้ กันเอง เพราะการลงทนุ ในสินคา้ คงคลังต่าทีส่ ุดมกั จะต้อง ใช้วิธีลดระดับสินค้าคงคลังให้เหลอื แค่เพียงพอใช้ป้อนกระบวนการผลติ เพ่ือให้สามารถดาเนินการ ผลติ ไดโ้ ดยไมห่ ยุดชะงัก แตร่ ะดบั สินค้าคงคลงั ท่ตี ่าเกินไปกท็ าให้บริการลูกคา้ ไม่เพยี งพอหรือไมท่ ันใจ ลูกค้า ในทางตรงกันข้ามการถือสินค้าคงคลงั ไว้มากเพื่อผลติ หรือส่งให้ลูกค้าได้เพียงพอและทนั เวลา เสมอทาใหต้ ้นทนุ สินค้าคงคลังสูงข้นึ ดังน้ันการบรหิ ารสนิ ค้าคงคลงั โดยรักษาความสมดลุ ของวัตถปุ ระสงคท์ ้งั สองขอ้ นี้จงึ ไม่ใช่เรือ่ ง ง่าย และเน่ืองจากการจดั การธุรกิจในปัจจุบันจะต้องคานึงถึงคุณภาพเป็นหลักสาคัญ ซ่ึงการบรกิ าร ลกู ค้าท่ดี ีกเ็ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการสรา้ งคณุ ภาพที่ดี ทาให้ลูกค้ามีความพึงพอใจสงู สดุ จงึ ดูเหมือนวา่ การ มีสินค้าคงคลงั ในระดับสูงจะเปน็ ประโยชน์กับกจิ การในระยะยาวมากกว่า เพราะจะรักษาลูกคา้ และ ส่วนแบ่งตลาดไดด้ ี แต่อนั ทจ่ี ริงแลว้ ต้นทุนสนิ ค้าคงคลังท่สี งู ซึงทาให้ต้นทุนการผลติ สงู ด้วยมผี ลด้วยมี ผลให้ไมส่ ามารถตอ่ สู้กับคแู่ ขง่ ในดา้ นราคาได้ จึงต้องทาให้ตน้ ทนุ ต่า คุณภาพดี และบรกิ ารทด่ี ีด้วยใน ขณะเดยี วกนั 196 บทท่ี 9 | การจดั การสนิ ค้าคงคลังในโซ่อปุ ทาน
ความสาคญั ของสนิ คา้ คงคลงั สินค้าคงคลัง (Inventory) จัดเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนชนิดหนึ่ง ซ่ึงองค์กรต้องมีไว้เพื่อ จาหน่ายหรือผลติ สนิ ค้าคงคลังสามารถจาแนกได้ 4 ประเภท ดงั น้ี คือ (Saxena, 2009: 24) 1) วัตถุดิบและชิ้นส่วนประกอบ (Raw Materials and Components) คือสิ่งของหรอื ชนิ้ ส่วนทจี่ ัดซ้อื มาเพ่ือใช้ในการผลติ 2) เครื่องมือและชิ้นส่วนเพ่ือการบารุงรักษา (Maintenance Repair and Tooling Inventories) คือ ช้ินส่วนหรืออะไหล่เครอ่ื งจักรทีส่ ารองไว้เผ่ือเปล่ียนเมื่อช้ินส่วนเดิมเสียหายหรือ หมดอายกุ ารใชง้ าน 3) งานระหว่างกระบวนการผลิต (Work in Process) เป็นชนิ้ งานท่อี ยใู่ นขั้นตอนการผลิต หรือรอคอยทจ่ี ะผลิตในข้ันตอนตอ่ ไปโดยทีย่ งั ผา่ นกระบวนการผลิตไมค่ รบทกุ ข้นั ตอน 4) ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป (Finished Product) คือ ปัจจัยการผลิตท่ีผ่านทุกกระบวนการ ผลติ ครบถ้วน พร้อมทจ่ี ะนาไปจาหนา่ ยหรือส่งมอบใหก้ บั ลกู คา้ บทบาทท่ีสาคัญของสินค้าคงคลังในมิติการดาเนินงานภายในองค์กร มีไว้เพื่อให้เกิดความ สมดุลและความต่อเน่ืองในการผลติ และการส่งมอบสนิ ค้าใหก้ ับลกู ค้า เมื่อพิจารณาในมิติท่กี วา้ งมาก ขึ้น เม่อื สินคา้ คงคลงั ไมส่ มดุลกับการส่งมอบ การพจิ ารณาเผอ่ื หรอื สารองสนิ ค้าคงคลงั มากเกนิ ไป จะ ทาให้เกดิ ปรากฏการณ์แส้มา้ (Bullwhip Effect) ซ่ึงสนิ คา้ คงคลังจะเพิ่มสูงขึน้ ตลอดโซอ่ ุปทาน แตถ่ ้า หากสินค้าคงคลังไม่เพียงพอต่อการสง่ มอบใหก้ ับลูกค้า จะเกิดผลกระทบต่อความพึงพอใจและเสีย โอกาสในการทากาไรและการแข่งขัน ผลกระทบดังกล่าวจะส่งผลต่อทั้งโซ่อุปทานเช่นเดียวกัน ความสาคัญของสินคา้ คงคลังสามารถสรุปไดด้ งั น้ี (Bowersox, Closs and Cooper, 2009: 286) 1) ตอบสนองความตอ้ งการของลกู ค้าท่ีองค์กรพยากรณ์ไว้ในแต่ละช่วงเวลาทง้ั ในและนอก ฤดูกาลไดอ้ ยา่ งเพียงพอ โดยองค์กรตอ้ งเก็บสนิ ค้าคงคลังไว้ในคลังสินคา้ 2) รักษาระดับการผลิตให้มีอัตราคงที่สม่าเสมอ เพื่อรักษาระดับการว่าจ้างแรงงาน การ ทางานของเคร่ืองจักรให้สมา่ เสมอ ในช่วงที่สินค้าจาหน่ายไมห่ มดจะเก็บไว้เปน็ สนิ ค้าคงคลัง และนา ออกจาหน่ายในช่วงทีป่ รมิ าณความตอ้ งการสูง การจัดการการจดั ส่งทางธุรกจิ | Business Logistics Management 197
3) ทาให้องคก์ รมอี านาจตอ่ รองหรือได้ส่วนลดในการจดั ซอ้ื จานวนมาก 4) ปอ้ งกันการเปล่ยี นแปลงราคาและผลกระทบจากเงนิ เฟ้อหรอื อตั ราแลกเปลย่ี น เมือ่ สินค้า ในทอ้ งตลาดมรี าคาสูงขึ้น หรอื เพือ่ การเก็งกาไรในอนาคต 5) ทาใหก้ ระบวนการผลติ สามารถดาเนินการต่อเนอ่ื งอยา่ งราบรน่ื ไม่มกี ารหยดุ ชะงักจนเกดิ ความเสียหายแก่กระบวนการผลติ ตน้ ทุนสนิ คา้ คงคลงั สินค้าคงคลังมีความจาเป็นต่อการดาเนินธุรกิจ ดังท่ีได้กล่าวไปแล้วน้ัน แต่การมี สินค้าคงคลังก็จะทาให้เกิดต้นทนุ ขึ้น ซ่ึงเป็นส่ิงที่ผู้บริหารจาเปน็ จะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสม ของระดบั ของปริมาณสินคา้ คงคลัง เราสามารถจาแนกตน้ ทุนของสนิ คา้ คงคลัง ได้ดังน้ี 1. ต้นทุนผลิตภัณฑ์ (Product Cost) เป็นต้นทุนหรือราคาของสินค้าคงคลังนั้น ๆ เช่น ผลติ ภัณฑ์สาเรจ็ รูปจะคดิ เปน็ ตน้ ทนุ ของการผลติ หรอื วตั ถดุ บิ ที่ซ้อื มาจะคิดจากราคาทีจ่ ัดซ้ือ เป็นต้น 2. ตน้ ทนุ การสง่ั ซ้อื หรือสั่งผลิต (Service Costs หรือ Ordering Costs) เป็นค่าใช้จา่ ยที่ เกิดข้ึนจากการสง่ั ซื้อหรอื ส่งั ผลิตสินคา้ ซ่ึงจะแปรผันตามจานวนครั้งของการสงั่ ซื้อ แต่ไม่แปรผนั ตาม ปริมาณสินคา้ คงคลงั เพราะสั่งซ้ือของมากเทา่ ใดกต็ ามในแต่ละครั้ง ค่าใช้จา่ ยในการสง่ั ซือ้ กย็ ังคงท่ี แต่ ถ้าย่ิงส่ังซ้ือบ่อยครั้งค่าใช้จ่ายในการสงั่ ซ้อื จะยิ่งสูงขึ้น ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการจัดเตรียมการและการ ออกคาส่ังซื้อหรือผลิต ค่าใช้จ่ายในการบันทึกข้อมูลหรือเก็บหลักฐาน ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้า ค่าใช้จ่ายในการตรวจรบั สินค้า คา่ ใช้จา่ ยในการตรวจสอบเอกสาร ค่าใชจ้ ่ายในการปรับต้งั เครอ่ื งจักร และคา่ ใช้จ่ายในการทดลองผลติ เปน็ ตน้ 3. ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง (Holding Costs หรือ Carrying Costs) เป็น ค่าใชจ้ ่ายจากการมสี นิ ค้าคงคลังและการรกั ษาสภาพให้สินคา้ คงคลงั น้นั อยู่ในรูปท่ใี ช้งานได้ ซงึ่ จะแปร ตามปรมิ าณสินค้าคงคลงั ทีถ่ อื ไว้และระยะเวลาทีเ่ กบ็ สินคา้ คงคลงั น้ันไว้ ค่าใชจ้ า่ ยประเภทน้ี ไดแ้ ก่ ค่า สถานที่เก็บสนิ ค้าคงคลงั ค่าดูแลรักษาสินค้าคงคลงั ค่าใช้จ่ายในการเคลอ่ื นย้าย ค่าดอกเบ้ยี หรอื คา่ เสียโอกาสจากเงินลงทุนในการเกบ็ รักษาสนิ ค้าคงคลัง ค่าเสื่อมสภาพ สูญหาย หรือล้าสมัย และค่า ประกันภยั เป็นตน้ 198 บทที่ 9 | การจดั การสินคา้ คงคลงั ในโซ่อปุ ทาน
คา่ ใช้จ่ายในการเกบ็ รกั ษานิยมแสดงเป็นเปอร์เซ็นต์ของมูลคา่ สนิ คา้ เฉล่ีย เช่น กิจการแหง่ หน่ึงมี พสั ดคุ งคลงั เฉล่ียเป็นมลู ค่า 1,000,000 บาท และมคี า่ ใช้จา่ ยต่าง ๆ ดงั ตารางที่ 9.1 ตารางท่ี 9.1 คา่ ใชจ้ ่ายในการเกบ็ รกั ษาสนิ ค้า รายการคา่ ใช้จ่าย จานวนเงนิ (บาท) % ของมูลค่าสินคา้ เฉลย่ี 7.8 ดอกเบยี้ เงนิ ลงทุน 78,000 3.5 3.6 คา่ เชา่ โกดงั 35,000 1.5 1.2 เงนิ เดอื นพนกั งาน 36,000 2.0 1.8 ค่านา้ ประปา คา่ ไฟฟ้า 15,000 21.4 ค่าใชจ้ ่ายในการขนยา้ ยสนิ ค้า 12,000 ค่าประกันสนิ ค้า 20,000 ค่าสนิ ค้าเสอื่ มสภาพ ลา้ สมัย สญู หาย 18,000 รวม 214,000 4. ต้นทุนเนื่องจากสินค้าขาดแคลน (Shortage Costs หรือ Stock out Costs) เป็น ค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนจากการมีสินค้าคงคลังไม่เพียงพอต่อการผลิตหรอื การขาย ทาให้ลูกค้ายกเลิกคา ส่ังซ้ือ ขาดรายได้ที่ควรได้ กิจการเสียชื่อเสียง กระบวนการผลิตหยุดชะงักเกิดการว่างงานของ เคร่ืองจกั รและคนงาน ค่าใช้จ่ายนี้จะแปรผกผนั กบั ปรมิ าณสินค้าคงคลังทีถ่ ือไว้ นั่นคือถ้าถือสินคา้ ไว้ มากจะไม่เกิดการขาดแคลน แต่ถ้าถือสินค้าคงคลังไว้น้อยก็อาจเกิดโอกาสท่ีจะเกิดการขาดแคลนได้ มากกว่า และมีค่าใช้จ่ายเน่ืองจากสนิ ค้าขาดแคลนน้ขี ึน้ อยกู่ บั ปริมาณการขาดแคลนรวมทงั้ ระยะเวลา ทเ่ี กิดการขาดแคลนข้นึ ดว้ ย คา่ ใชจ้ า่ ยเนื่องจากสนิ คา้ ขาดแคลนไดแ้ ก่ ค่าสงั่ ซื้อแบบพเิ ศษเพ่อื นามาใช้ แบบฉกุ เฉนิ ค่าปรับเน่อื งจากสินค้าให้ลูกคา้ ล่าช้า ค่าเสยี โอกาสในการขาย ค่าใชจ้ ่ายทเ่ี กดิ ขึน้ จากการ เสยี คา่ ความนิยม เปน็ ตน้ การจัดการการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 199
ระบบการควบคุมสนิ คา้ คงคลงั ภาระงานอันหนักประการหน่ึงของการจัดการสินค้าคงคลัง คือ การลงบัญชีและตรวจนับ สินค้าคงคลัง เพราะแต่ละธุรกิจจะมีสินค้าคงคลังหลายชนิด แต่ละชนิดอาจมคี วามหลากหลาย เช่น ขนาดรูปถ่าย สีผ้า ซ่ึงทาให้การตรวจนับสินค้าคงคลงั ต้องใช้พนักงานจานวนมาก เพื่อให้ได้จานวนท่ี ถูกต้องภายใตร้ ะยะเวลาท่กี าหนด เพ่ือท่ีจะได้ทราบว่าชนดิ สินค้าคงคลงั ท่ีเรม่ิ ขาดมือ ต้องซื้อมาเพิม่ และปริมาณการซอื้ ทีเ่ หมาะสม ระบบการควบคมุ สนิ ค้าคงคลังทมี่ ีอยู่ 3 วิธี คือ 1 ระบบสินค้าคงคลังอย่างต่อเนื่อง (Continuous Inventory System Perpetual System) เป็นระบบสินค้าคงคลังท่ีมีวิธีการลงบัญชีทุกครัง้ ท่ีมีการรับและจ่ายสนิ ค้า ทาให้บัญชีคุม ยอดแสดงยอดคงเหลือที่แท้จริงของสินค้าคงคลังอยู่เสมอ ซ่ึงจาเป็นอย่างยงิ่ ในการควบคุมสินค้าคง คลงั รายการทส่ี าคญั ท่ปี ล่อยให้ขาดมือไม่ได้ แต่ระบบนเี้ ปน็ วิธีท่ีมีคา่ ใช้จา่ ยด้านงานเอกสารค่อนขา้ งสงู และต้องใช้พนักงานจานวนมากจงึ ดูแลการรบั จ่ายได้ทั่วถึง ในปัจจุบันการนาเอาคอมพวิ เตอรเ์ ข้ามา ประยุกต์ใช้กับงานสานักงานและบัญชีสามารถช่วยแก้ไขปัญหาในข้อนี้ โดยการใช้รหัสแท่ง (Bar Code) หรือรหัสสากลสาหรับผลิตภัณฑ์ (EAN13) ติดบนสินค้าแล้วใช้เคร่ืองอ่านรหัสแท่ง (Laser Scan) ซึ่งวิธีนี้นอกจากจะมีความถูกต้อง แม่นยา เที่ยงตรงแลว้ ยังสามารถใช้เป็นฐานข้อมูลของการ บริหารสินค้าคงคลงั ในโซ่อปุ ทานของสินค้าไดอ้ ีกด้วย ข้อดีของระบบสินค้าคงคลงั แบบต่อเนือ่ งได้แก่ - มีสินค้าคงคลังเผื่อขาดมือน้อย โดยจะเผื่อสนิ ค้าคงคลังไว้เฉพาะช่วงเวลารอคอยเทา่ นัน้ แต่ละระบบเมอื่ ส้นิ งวดตอ้ งเผอื่ สนิ ค้าไว้ทั้งชว่ งเวลารอคอย และเวลาระหว่างการสัง่ ซ้ือแต่ ละครง้ั - ใชจ้ านวนการสงั่ ซ้อื คงทีซ่ ่ึงจะทาใหไ้ ด้ส่วนลดปริมาณได้งา่ ย - สามารถตรวจสินค้าคงคลังแต่ละตัวอย่างอิสระ และเจาะจงเข้มงวดเฉพาะรายการท่ีมี ราคาแพงได้ 2. ระบบสินค้าคงคลังเม่ือส้ินงวด (Periodic Inventory System) เป็นระบบสินค้าคง คลังทม่ี ีวธิ ีการลงบญั ชเี ฉพาะในชว่ งเวลาทกี่ าหนดไวเ้ ทา่ นนั้ เช่นตรวจนบั และลงบญั ชีทุกปลายสัปดาห์ หรอื ปลายเดือน เมือ่ ของถูกเบกิ ไปก็จะมกี ารส่ังซ้อื เขา้ มาเติมให้เตม็ ระดบั ทตี่ ัง้ ไว้ ระบบน้จี ะเหมาะกับ สินค้าที่มีการสัง่ ซ้ือและเบกิ ใช้เป็นช่วงเวลาที่แน่นอน เช่น ร้านขายหนังสือของซีเอด็ จะมีการสารวจ 200 บทที่ 9 | การจดั การสนิ ค้าคงคลังในโซ่อปุ ทาน
ยอดหนังสือในแต่ละวนั และสรปุ ยอดตอนส้นิ เดือน เพอ่ื ดูปริมาณหนังสือคงค้างในรา้ นและคลงั สินค้า ยอดหนังสอื ท่ีต้องเตรยี มจดั สง่ ให้แก่รา้ นตามทีต่ ้องการสง่ั ซอ้ื ข้อดีของระบบสินค้าคงคลงั เมื่อสิน้ งวด ไดแ้ ก่ - ใช้เวลานอ้ ยและเสียค่าใช้จ่ายในการควบคุมน้อยกวา่ ระบบตอ่ เนอ่ื ง - เหมาะกับการส่ังซื้อของจากผู้ขายรายเดียวกันหลาย ๆ ชนิด เพราะจะได้ลดค่าใช้จ่าย เก่ียวกับเอกสาร ลดค่าใช้จา่ ยในการส่งั ซอื้ และสะดวกตอ่ การตรวจนบั ยงิ่ ข้นึ - คา่ ใชจ้ า่ ยในการเกบ็ ข้อมลู สนิ คา้ คงคลงั ต่ากว่า 3. ระบบการจาแนกสินค้าคงคลังเป็นหมวดเอบีซี (ABC) ระบบน้ีเปน็ วธิ ีการจาแนกสนิ ค้า คงคลังออกเป็นแต่ละประเภทโดยพิจารณาปริมาณและมูลค่าของสินค้าคงคลังแต่ละรายการเป็น เกณฑ์ เพื่อลดภาระในการดูแล ตรวจนับ และควบคุมสินค้าคงคลังทมี่ ีอยู่มากมาย ซึ่งถ้าควบคุมทุก รายการอย่างเข้มงวดเท่าเทียมกัน จะเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมากเกินความจาเป็น เพราะในบรรดา สนิ คา้ คงคลงั ท้ังหลายของแต่ละธรุ กิจจะมักเปน็ ไปตามเกณฑ์ดงั ตอ่ ไปน้ี A เป็นสินค้าคงคลังที่มีปริมาณน้อย (5-15% ของสินค้าคงคลังทั้งหมด) แต่มีมูลค่ารวม คอ่ นข้างสงู (70-80% ของมลู คา่ ทงั้ หมด) B เปน็ สนิ คา้ คงคลังท่มี ีปรมิ าณปานกลาง (30% ของสนิ ค้าคงคลงั ทัง้ หมด) และมมี ลู ค่ารวม ปานกลาง (15% ของมลู คา่ ทัง้ หมด) C เป็นสินค้าคงคลังที่มีปริมาณมาก (50-60% ของสินค้าคงคลังทั้งหมด) แต่มีมูลค่ารวม คอ่ นข้างตา่ (5-10% ของมูลค่าทั้งหมด) (Lun, Lai and Cheng, 2010: 158) ในการดาเนนิ การควบคมุ สินคา้ คงคลังแตล่ ะประเภทมีวิธีการดังต่อไปนี้ A ควบคุมอย่างเข้มงวดมาก ด้วยการลงบัญชีทุกครั้งที่มีการรับจ่าย และมีการตรวจนับ จานวนจรงิ เพือ่ เปรยี บเทียบกับจานวนในบัญชอี ยู่บ่อยๆ (เชน่ ทุกสปั ดาห์) การควบคมุ จงึ ควรใช้ระบบ สินค้าคงคลงั อยา่ งต่อเน่ืองและต้องเก็บของไว้ในท่ีปลอดภัย ในด้านการจัดซ้อื ก็ควรหาผขู้ ายไว้หลาย รายเพ่อื ลดความเสีย่ งจากการขาดแคลนสินค้าและสามารถเจรจาต่อรองราคาได้ การจดั การการจดั สง่ ทางธุรกิจ | Business Logistics Management 201
B ควบคมุ อยา่ งเข้มงวดปานกลาง ด้วยการลงบญั ชีคมุ ยอดบันทึกเสมอเชน่ เดียวกบั A ควรมี การเบิกจา่ ยอย่างเปน็ ระบบเพอ่ื ป้องกันการสญู หาย การตรวจนบั จานวนจริงก็ทาเช่นเดียวกบั A แต่ ความถ่ีน้อยกว่า (เช่น ทุกสิ้นเดือน) และการควบคุม B จึงควรใช้ระบบสินค้าคงคลังอย่างต่อเนื่อง เช่นเดียวกับ A C ไม่มีการจดบันทึกหรือมีก็เพียงเล็กน้อย สินค้าคงคลังประเภทนจ้ี ะวางให้หยิบใช้ได้ตาม สะดวกเนอื่ งจากเป็นของราคาถูกและปริมาณมาก ถา้ ทาการควบคุมอย่างเข้มงวด จะทาให้มคี า่ ใชจ้ าย มากซึ่งไม่คุ้มค่ากับประโยชน์ทไ่ี ด้ป้องกันไม่ใหส้ ูญหาย การตรวจนับ C จะใช้ระบบสินค้าคงคลงั แบบ สิ้นงวดคือเว้นสักระยะจะมาตรวจนับดูว่าพร่องไปเท่าใดแล้วก็ซื้อมาเตมิ หรืออาจใช้ระบบสองกลอ่ ง ซง่ึ มีกล่องวัสดอุ ยู่ 2 กลอ่ งเป็นการเผื่อไว้ พอใช้ของในกล่องแรกหมดก็นาเอากลอ่ งสารองมาใชแ้ ล้วรบี ซอ้ื ของเตมิ ใส่กลอ่ งสารองแทน ซงึ่ จะทาให้ไม่มีการขาดมือเกดิ ขึ้น ตัวอย่างที่ 9.1 จงจาแนกประเภทสินคา้ คงคลงั เปน็ หมวดเอบซี ี (ABC) โดยมรี าคาตอ่ หนว่ ยและปรมิ าณ ทีใ่ ช้ดงั ตาราง รายการ ราคา/หนว่ ย ปรมิ าณท่ีใช้ 1 25 150 2 15 200 3 1.5 300 4 150 150 5 2 350 วิธที า ข้นั ที่ 1 คานวณ %ปรมิ าณ มูลค่า และ % มลู ค่าในแต่ละรายการดังตาราง 202 บทที่ 9 | การจดั การสินค้าคงคลังในโซอ่ ปุ ทาน
โจทย์ ปริมาณทใ่ี ช้ % ปรมิ าณ วธิ ีทา % มลู คา่ รายการ ราคา/หนว่ ย 150 13.04 มลู ค่า(บาท) 12.34 200 17.39 9.87 1 25 300 26.09 3,749 1.48 2 15 150 13.04 3,000 74.01 3 1.5 350 30.43 450 2.3 4 150 1,150 100 22,500 100 52 700 30,400 รวม ข้ันที่ 2 พิจารณารายการท่ีมรี าคาต่อหน่วยมากทสี่ ุดในการจดั ก่อน จะเหน็ ว่ารายการที่ 4 มี ราคาตอ่ หน่วย 150 บาท ซ่งึ แพงทส่ี ุด เมอ่ื พิจารณา % ปริมาณ และ % มลู คา่ ยังอยู่ในเงือ่ นไข ระดบั ความสาคัญ A จึงจดั รายการที่ 3 อยใู่ นระดบั A ขนั้ ท่ี 3 พจิ ารณารายการที่มีราคาต่อหนว่ ยรองลงมา น่ันคอื รายการที่ 1 มรี าคาตอ่ หนว่ ย 25 บาท พจิ ารณาวา่ จะอยู่ในระดับ A หรอื ไม่ % มลู คา่ รวม รายการที่ 1 และ 4 = 74.01+12.34 = 86.35 % % ปริมาณรวม รายการที่ 1 และ 4 = 13.04+13.04 = 26.08 % จะเห็นว่าเกินเง่ือนไขในระดับ A จึงจัดรายการท่ี 1 อยู่ในระดับ B แล้วทาการพิจารณา เชน่ เดิมจนจัดสนิ คา้ คงคลงั ใหค้ รบทุกรายการจะไดค้ าตอบดงั ตาราง การจดั การการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 203
รายการ % ปริมาณ มูลคา่ (บาท) % มลู คา่ ระดบั 1 13.04 3,749 12.34 B 2 17.39 3,000 9.87 B 3 26.09 450 1.48 C 4 13.04 22,500 74.01 A 5 30.43 700 2.3 C รวม 100 30,400 100 ตอบ สนิ ค้าระดบั A ได้แก่ รายการท่ี 4, ระดับ B ได้แก่ รายการที่ 1 และ 2, ระดับ C ได้แก่รายการท่ี 3 และ 5 ตวั แบบพ้นื ฐานสนิ คา้ คงคลงั จากต้นทุนสินค้าคงคลังประกอบไปด้วย ซึ่งประกอบไปด้วย ต้นทุนสินค้า ต้นทุนเก็บรักษา ต้นทนุ สั่งซอื้ และต้นทุนเมือ่ สินค้าขาดมอื นั่นคือหากสัง่ ซื้อสินคา้ ปริมาณมาก ๆ จะมตี น้ ทนุ สง่ั ซอื้ นอ้ ย แต่ต้นทุนเก็บรักษามาก หากส่ังซือ้ ปริมาณน้อย ๆ จะต้องทาการสง่ั ซ้ือบ่อยครง้ั ทาให้ต้นทุนสง่ั ซื้อสูง แต่ต้นทุนการเก็บรักษาต่า และอาจจะเกิดโอกาสสินค้าขาดมือ ดังนั้นจึงจะต้องทาการคานวณหา ปริมาณสั่งซื้อท่ีทาให้ต้นทุนรวมต่าท่ีสุด ซึ่งเรียกว่าจุดส่ังซื้อท่ีประหยัดท่ีสุด (Economic Order Quantity: EOQ) ตวั แบบพนื้ ฐานสนิ คา้ คงคลังในการกาหนดปริมาณสง่ั ซ้อื ท่ปี ระหยัดท่ีสุด (EOQ) มีข้อกาหนด ต่าง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี 1) ปรมิ าณท่ีส่ังซ้อื ในแต่ละครง้ั ต้องเท่ากนั 2) ระยะเวลาทาการสัง่ ซอื้ ในแตล่ ะคร้งั ต้องเท่ากนั 3) ยอดขายสินค้าในแตล่ ะวนั ตอ้ งเทา่ กัน 4) จะตอ้ งสัง่ ซื้อให้เพยี งพอต่อความต้องการลกู คา้ นั่นคือไม่เกดิ ตน้ ทุนเมือ่ สนิ คา้ ขาดมือ 204 บทที่ 9 | การจดั การสนิ คา้ คงคลังในโซอ่ ปุ ทาน
นามาพิจารณาเพ่ือหาต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง และต้นทุนการสั่งซ้ือเพ่ือหาจุด สั่งซอื้ ทป่ี ระหยดั ทส่ี ุดได้ดงั น้ี 1. ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง (Carrying Costs หรือ Holding Costs: TCH) สามารถคานวณไดจ้ ากผลคูณของปริมาณท่เี ก็บรกั ษาสนิ ค้าคงคลัง (Q) กบั ตน้ ทุนในการเกบ็ รักษาต่อ หนว่ ย (H) โดยท่ี ปริมาณทเี่ กบ็ รกั ษาสินค้าคงคลังโดยเฉลย่ี = สนิ คา้ คงคลังต้นงวด + สินคา้ คงคลงั ปลายงวด 2 = Q0 2 ดังน้นั TCH = Q xH (9.1) 2 ต้นทุนการจดั เก็บสนิ ค้าคงคลังทาการประมาณค่าได้ยาก มักหาจากร้อยละค่าใช้จา่ ยในการ จดั เก็บของตน้ ทนุ สนิ ค้าโดยที่ H = CxI (9.2) ดงั น้ันแทนคา่ H จะได้ TCH = Q xCXI (9.3) 2 นามาแสดงด้วยกราฟความสมั พันธ์ระหวา่ งตน้ ทุน (TC) และปริมาณ (Q) ดังภาพที่ 9.1 ตน้ ทนุ (TC) TCH = Q xCXI 2 ปรมิ าณ (Q) ภาพท่ี 9.1 แสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตน้ ทุนการเกบ็ รักษาและปรมิ าณสนิ ค้าคงคลงั การจัดการการจดั สง่ ทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 205
2. ต้นทุนการส่ังซื้อหรือสั่งผลิต (Service Costs หรือ Ordering Costs: TCS) สามารถ คานวณไดจ้ าก ผลคณู ของจานวนคร้งั ท่ีสง่ั ซอื้ (n) กับ ต้นทุนการส่งั ซือ้ ต่อครั้ง (S) TCS = n x S (9.4) จานวนครั้งทีส่ ัง่ ซื้อ (n) สามารถคานวณได้จากอัตราส่วนระหว่างยอดท่ีสัง่ ซ้ือรวมทงั้ หมดซึ่ง มาจากค่าพยากรณ์ยอดขายในรอบปี (D) กบั ปรมิ าณทีส่ ง่ั ซ้ือในแต่ละคร้ัง (Q) จะได้ n= D (9.5) Q แทนคา่ n ลงในสมการ 11.4 จะได้ TCS = D xS (9.6) Q นามาแสดงดว้ ยกราฟความสัมพันธร์ ะหวา่ งต้นทุน (TC) และปรมิ าณ (Q) ดงั ภาพที่ 9.2 ตน้ ทุน (TC) TCS = D xS Q ปรมิ าณ (Q) ภาพที่ 9.2 แสดงความสมั พันธ์ระหวา่ งตน้ ทุนการส่งั ซอ้ื และปรมิ าณสินค้าคงคลัง 206 บทท่ี 9 | การจดั การสนิ ค้าคงคลงั ในโซ่อปุ ทาน
เมื่อพิจารณานาต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลังและต้นทุนการสั่งซื้อมารวมกัน เพื่อหา ผลรวมต้นทนุ ทงั้ สองท่ตี ่าทส่ี ุด ได้ดงั ภาพท่ี 9.3 ตน้ ทุน (TC) TC = TCH + TCS TCH ปริมาณสง่ั ซื้อทป่ี ระหยัดทสี่ ุด (EOQ) TCS ปริมาณ (Q) ภาพที่ 9.3 แสดงต้นทุนรวมระหว่างตน้ ทนุ เกบ็ รกั ษาสนิ ค้าคงคลังและตน้ ทนุ การสง่ั ซอื้ จดุ ท่ีผลรวมของต้นทนุ ท้งั สองทีต่ า่ ที่สดุ คือจุดทค่ี วามลาดเอียง (Slope) เปน็ 0 ไดจ้ ากการหา อนุพันธเ์ ทียบกับปรมิ าณ (Q) นาไปเท่ากับ 0 จะได้ d (TC) = - DxO + Cx I =0 d (Q) Q2 2 Q2 = 2 x D x S CxI Q = 2xDxS CxI ซึ่งปริมาณ Q ที่จดุ น้เี ป็นจดุ สง่ั ซ้ือทท่ี าให้ตน้ ทนุ รวมระหว่างตน้ ทุนเก็บรักษาสนิ ค้าคงคลงั และ ต้นทุนการสั่งซ้ือต่าท่ีสุด (Economic Order Quantity: EOQ) ซึ่งเป็นจุดตัดระหว่าง TCH และ TCS จัดรปู สมการใหม่ได้ EOQ = 2DS CI (9.7) การจดั การการจดั ส่งทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 207
รอบในการส่ังซ้ือ (Order Cycle time: t) คือระยะเวลาท่ีดาเนินการสั่งซ้ือในแต่ละครั้ง สามารถคานวณไดจ้ ากอัตราสว่ นของระยะเวลารวมหรือระยะเวลาทางานทง้ั หมด (T) กบั จานวนครัง้ ในการสัง่ ซ้อื (n) ได้ดงั น้ี t= T n (9.8) จุดส่ังซื้อใหม่ (Re-Order Point: ROP) ในทางปฏิบัติกระบวนการสั่งซื้อ ไปจนถึงสง่ มอบ ไม่สามารถทาได้ทันที จะเกิดการรอคอยสินค้าหรือระยะเวลาส่งมอบ (Lead Time: L) ซึ่งจะต้อง ดาเนินการส่ังซื้อล่วงหนา้ เพ่ือให้สนิ ค้ามาสง่ ได้ทันพอดี จุดสง่ั ซอ้ื ใหมจ่ งึ เป็นจดุ ที่สนิ คา้ คงคลงั เหลืออยู่ ดังภาพที่ 9.4 ปรมิ าณ (Q) ปริมาณสงั่ ซ้ือทปี่ ระหยัดทีส่ ดุ (EOQ) 1 2 3 จุดส่ังซื้อใหม่ (ROP) n L LL t L เวลารวม (T) ttt ภาพที่ 9.4 แสดงจดุ สงั่ ซ้อื ใหมท่ เี่ กดิ จากระยะเวลาในการส่งมอบ (Lead Time) จากภาพท่ี 9.4 เม่ือพิจารณาอัตราส่วนระหว่างจุดสั่งซ้ือใหม่ (ROP) กับ ระยะเวลารอคอย หรอื ส่งมอบ (L) จะมคี า่ เท่ากบั อตั ราส่วนปริมาณสง่ั ซอื้ ทป่ี ระหยัดท่ีสุด (EOQ) กบั รอบในการส่งั ซือ้ (t) เนื่องจากพิจารณาตามหลักพีชคณิต (Algebraic Approach) เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่คล้ายกัน ดงั นน้ั ROP = EOQ Lt ROP = EOQ x L (9.9) t 208 บทท่ี 9 | การจดั การสินค้าคงคลังในโซอ่ ปุ ทาน
ตวั อยา่ งท่ี 9.2 บรษิ ัทแหง่ หนึง่ วางแผนจดั จาหนา่ ยสนิ คา้ โดยพยากรณ์ความต้องการทัง้ ปี จานวน 960 หน่วย โดยมตี น้ ทนุ ส่ังซื้อ 160 บาทตอ่ ครั้ง และต้นทุนการเกบ็ รักษา 75 บาทต่อหน่วย บรษิ ทั ดาเนิน กจิ การ 300 วันตอ่ ปี และมีระยะเวลาส่งมอบ 5 วนั จงหาปรมิ าณสง่ั ซอ้ื ที่ทาให้เกิดต้นทุนรวมต่าที่สุด (EOQ) พร้อมท้งั สรา้ งตวั แบบพนื้ ฐานสินคา้ คงคลัง วิธที า จาก EOQ = 2DS EOQ = H 2x960x160 75 EOQ = 64 หนว่ ย/ครง้ั หาจานวนครง้ั ในการส่ังซือ้ (n) จาก n= D Q n = 960 64 n = 15 คร้ัง หารอบในการสง่ั ซื้อ (t) จาก t= T n t = 300 วนั 15 t = 20 การจดั การการจดั ส่งทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 209
หาจุดสั่งซ้ือใหม่ (ROP) จาก ROP = EOQ x L t ROP = 64 x 5 20 ROP = 16 หน่วย ตอบ บรษิ ทั ควรส่ังซอ้ื คร้งั ละ 64 หน่วย จะมตี ้นทนุ เกบ็ รกั ษาและต้นทุนการส่งั ซอ้ื รวมตา่ ทส่ี ุด จะตอ้ ง ทาการสง่ั ซอ้ื 15 ครั้ง รอบการสง่ั ซือ้ เท่ากบั 20 วัน โดยเหลอื สนิ ค้า 16 หน่วยจึงจะทาการสง่ั ซื้อใหม่ สามารถแสดงด้วยกราฟดังภาพที่ 9.5 ปรมิ าณ (Q) EOQ=64 หน่วย ROP=16 หนว่ ย 1 2 3 15 5 5 5 5 เวลารวม (T) 20 20 20 20 ภาพท่ี 9.5 แสดงรายละเอียดตัวแบบพน้ื ฐานสนิ คา้ คงคลัง 210 บทที่ 9 | การจดั การสนิ ค้าคงคลงั ในโซอ่ ปุ ทาน
ระบบการจดั ซ้อื จดั หา การจัดซื้อจัดหา หรือที่เป็นท่ีรู้จักในชื่อของการจัดหา (Procurement) เป็นจุดเช่ือมโยงท่ี สาคัญในโซ่อุปทาน สามารถมีอิทธิพลต่อความสาเร็จโดยรวมขององค์กรได้มาก สิ่งสาคัญของงาน จดั ซ้อื จัดหาก็คือ จะตอ้ งมีอปุ ทานของวัตถุดบิ ทพ่ี อเพยี ง ในราคาที่เหมาะสม มีคณุ ภาพตามที่ต้องการ ในสถานที่ที่ถูกต้อง และในเวลาที่ถูกต้องมีความสาคัญต่อโรงงานผลติ ใด ๆ ก็ตาม กระบวนการน้มี ี ความสาคัญมากที่ในช่วงเวลาหลายปีที่ผ่านมา หลายๆ องค์กรได้สร้างหน่วยงานและฝ่ายที่มีขนาด ใหญ่ เพื่อจัดการกับธุรกรรมกับซัพพลายเออร์หรือผู้ส่งมอบเพ่ือให้การจัดการสินค้าคงคลังมี ประสทิ ธภิ าพ นอกเหนือจากการบริหารจานวนซัพพลายเออรแ์ ลว้ ยังมีบรษิ ัทอีกจานวนมากท่ีพยายามจะ เปลยี่ นจากความสัมพนั ธ์ในอดตี แบบแขง่ ขันกบั ซพั พลายเออร์ มาสูค่ วามสมั พันธท์ ่ีเหมือนเปน็ หุ้นสว่ น หรือเป็นพันธมิตรกันมากขน้ึ ความสมั พันธร์ ูปแบบนมี้ ุง่ เน้นผลประโยชน์รว่ มกนั แม้วา่ ท้ังสองฝ่ายตอ้ ง สร้างผลกาไรเพ่ือจะอยรู่ อดแตก่ อ็ าจมีสว่ นตา่ งๆ ทีก่ ารรว่ มมอื กนั จะทาใหล้ ดตน้ ทุนออกจากโซอ่ ุปทาน ได้ วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ซ้ือจดั หาได้แก่ (กมลชนก สุทธวิ าทนฤพฒุ ิ, 2547) - การจัดซื้อที่ดนี นั้ สามารถเพม่ิ ผลกาไรให้แก่กิจการได้ - กจิ กรรมท่ตี ้องดาเนินการในหนา้ ทีก่ ารจัดซือ้ - ผลกระทบของการผลติ ทม่ี ีต่อการจัดซื้อ - บทบาทของผูท้ ีเ่ กี่ยวขอ้ งในการจดั การความสมั พันธก์ ับซัพพลายเออร์ พันธกจิ ของการจดั ซื้อจัดหา คอื การให้ไดม้ าซ่ึงผลิตภณั ฑ์ วตั ถดุ ิบ และการบรกิ าร ทต่ี อ้ งการโดย ฝ่ายผลิต ฝ่ายกระจายสินค้า และองค์กรบริการ ณ เวลาที่ถูกต้อง ราคาท่ีถูกต้อง สถานที่ที่ถูกต้อง ปริมาณ และคุณภาพที่ถูกต้อง ในปัจจุบนั ระบบการจัดซอ้ื จัดหา ได้มีการนาเอาระบบสารสนเทศมา ช่วยในการดาเนินงาน ได้แก่ ระบบแลกเปล่ยี นข้อมลู ข่าวสาร (EDI) ระหว่างคู่ค้าและซพั พลายเออร์ ระบบการจัดซอื้ จัดจา้ ง (E-Tendering) ระบบการประมูลอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Auction) และระบบการ จดั ซอ้ื (E-Purchasing) ซึง่ ผนวกเอาระบบเอกสารอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-Document) ระบบการชาระเงิน อิเล็กทรอนิกส์ (E-Payment) ช่วยให้การวางแผนจดั หา จัดซื้อ รวมทั้งสินค้าคงคลัง ถูกต้อง แม่นยา มากขน้ึ (วิศษิ ฎ์ วฒั นานกุ ลู , 2552) การจัดการการจดั ส่งทางธุรกจิ | Business Logistics Management 211
บทสรปุ การจดั การสนิ ค้าคงคลงั เปน็ กิจกรรมที่สง่ ผลต่อเปา้ หมายในโซอ่ ุปทานทงั้ ในด้านปริมาณ ดา้ น คณุ ภาพ ดา้ นต้นทนุ และดา้ นการส่งมอบ ซึง่ สนิ คา้ คงคลงั มีความสาคญั อยูห่ ลายประการ คอื 1) ช่วย ให้ระบบการผลิตในโซ่อุปทานเป็นไปอย่างสม่าเสมอไม่หยุดชะงักจากการต้องรอวัตถุดิบหรือรอ ช้ินส่วนอะไหล่ของเครอื่ งจักรทีใ่ ช้ในการซอ่ มแซม 2) ทาให้มีสนิ ค้าสาเรจ็ รูปเพียงพอต่อการจาหน่าย 3) ชว่ ยลดตน้ ทุนในการผลติ ที่เกิดจากการผลิตจานวนมากหรือส่งั ซอ้ื จานวนมาก 4) ชว่ ยลดต้นทนุ การ ขนสง่ สินค้าคงคลงั สามารถจาแนกได้ 4 ประเภทคอื 1) วตั ถุดบิ และช้ินสว่ นประกอบ (Raw Materials and Components) 2) เคร่ืองมือและชิ้นส่วนเพ่ือการซ่อมแซม (Maintenance Repair and Tooling Inventories) 3) งานระหว่างทา (Work in Process) 4) ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป (Finished Product) สาหรับต้นทุนของสินค้าคงคลัง (Inventory Cost) แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทดังนี้ 1) ต้นทุนผลิตภัณฑ์ (Product Cost) 2) ต้นทุนการส่ังซ้ือหรือส่ังผลิต (Procurement or Ordering Costs) 3) ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง (Carrying Costs) และ4) ต้นทุนสินค้าขาดแคลน (Shortage Costs) การจัดการสินค้าคงคลังเป็นการพิจารณาต้นทุนต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องเพื่อให้มีต้นทุนรวมของ สินค้าคงคลังตา่ ที่สุด ซ่ึงต้นทุนจะผกผนั กันระหว่างต้นทนุ การสั่งซื้อกับต้นทนุ การเก็บรกั ษาสินค้าคง คลัง ดังนั้นจึงต้องหาปริมาณการส่ังซ้ือหรือส่ังผลิตที่ทาให้ต้นทุนรวมต่าที่สุดโดยมีตัวแบบทาง คณิตศาสตร์ทใี่ ชห้ าปริมาณการสง่ั ซอ้ื ทีป่ ระหยดั ทีส่ ุด (Economic Order Quantity : EOQ ) 212 บทที่ 9 | การจดั การสนิ คา้ คงคลงั ในโซ่อปุ ทาน
แบบฝึ กหดั ทา้ ยบท 1. จงอธิบายความแตกตา่ งสินคา้ คงคลังแต่ละประเภท 2. จงอธบิ ายตน้ ทุนสนิ ค้าคงคลงั 3. .ร้านขายของชาแหง่ หนึ่งสัง่ ซอ้ื สินค้าทกุ ๆ 1 เดือน โดยมีสินคา้ ตา่ ง ๆ ดังน้ี ท่ี รายการ ราคา/ช้นิ จานวน 1 เหลา้ 300 120 2 เบียร์ 45 200 3 บหุ ร่ี 50 200 4 นา้ อัดลม 10 600 5 ขนมขบเคยี้ ว 5 600 6 สบู่ 5 300 7 ยาสระผม 25 200 8 ยาสฟี นั 10 200 9 ปลากระปอ๋ ง 6 200 10 บะหมก่ี ึ่งสาเร็จรูป 4 600 จงจาแนกประเภทสินค้าคงคลังเปน็ หมวดเอบซี ี (ABC) 4.บริษทั ผลิตกลอ้ งถา่ ยรูป พยากรณ์ความตอ้ งการเลนสท์ ี่ใช้ผลติ จานวน 500 ชนิ้ ตอ่ ปี ค่าส่ังซื้อต่อคร้ัง เท่ากบั 720 บาท ต้นทุนการเกบ็ รักษาเลนส์ประมาณ 800 บาทต่อช้ิน/ปี จงหา 4.1 ปรมิ าณในการส่ังต่อครงั้ ท่ที าใหต้ น้ ทุนต่าทสี่ ุด (EOQ) 4.2 จานวนครัง้ ทีจ่ ะตอ้ งสั่ง และระยะเวลาของการสัง่ ซ้อื 4.3 หากท้งั ปีทางาน 300 วนั มีระยะเวลาส่งมอบ 6 วัน จงหาจุดสัง่ ซื้อใหม่ 4.4 จงสร้างตัวแบบพ้นื ฐานสนิ คา้ คงคลงั การจัดการการจดั สง่ ทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 213
5. จงคานวณหาต้นทนุ เก็บรักษาสินค้าคงคลังตอ่ ชิ้น ของบรษิ ทั แหง่ หนึ่ง หากมอี ัตราหมนุ เวยี นมูลค่า สนิ ค้าคงคลงั ปีละ 2,000,000 บาท ต้นทุนสนิ คา้ ช้นิ ละ 1,000 บาท โดยมคี ่าใช้จ่ายดงั ตาราง รายการค่าใช้จา่ ย จานวนเงิน ดอกเบ้ยี เงนิ ลงทนุ 2(0บ0า,0ท0)0 คา่ เชา่ โกดงั 50,000 เงนิ เดือนพนกั งาน 40,000 ค่านา้ ประปา ค่าไฟฟา้ 20,000 ค่าใช้จ่ายในการขนยา้ ยสินค้า 20,000 คา่ ประกนั สินค้า 50,000 คา่ สนิ ค้าเส่อื มสภาพ ล้าสมยั สญู หาย 20,000 รวม 400,000 เอกสารอา้ งองิ กมลชนก สทุ ธิวาทนฤพุฒิ. (2547). การจดั การโลจสิ ติกส์และโซอ่ ุปทาน. กรุงเทพฯ: สานักพมิ พท์ ้อป วิศิษฎ์ วฒั นานกุ ลู . (2552). การจัดการไอทีลอจิสติกส,์ กรงุ เทพฯ: ซีเอด็ ยูเคชั่น. Bowersox, D.J., Closs, D.J. and Cooper, M.B. (2009). Supply chain Logistics management, New York: McGraw- Hill Irwin, 286. Lun, Y.H.V., Lai, K.H. and Cheng T.C.E. (2010). Shipping and Logistics Management. London: Springer, 158. Saxena, R.S. (2009). Inventory Management: Controlling in a Fluctuating Demand Environment, Global India Publications, 24. 214 บทท่ี 9 | การจดั การสินคา้ คงคลงั ในโซอ่ ปุ ทาน
แผนบรหิ ารการสอนประจาวิชาบทที่ 10 การลดตน้ ทุนในระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน หวั ขอ้ เน้อื หาประจาบท 1. ตน้ ทนุ โลจิสตกิ ส์ 2. แนวทางการลดต้นทนุ ขนสง่ 3. แนวทางการลดต้นทุนสินค้าคงคลัง 4. แนวทางการลดตน้ ทุนคลงั สนิ ค้า 5. แนวทางการลดตน้ ทุนโดยการใชร้ ะบบสารสนเทศ 6. บทสรปุ วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม 1. เพื่อให้ผศู้ กึ ษาสามารถอธบิ ายโครงสร้างตน้ ทุนโลจสิ ตกิ ส์ 2. เพอื่ ใหผ้ ศู้ ึกษาสามารถอธบิ ายถงึ แนวทางในการลดตน้ ทุนการขนสง่ 3. เพอ่ื ให้ผูศ้ กึ ษาสามารถอธบิ ายถงึ แนวทางในการลดตน้ ทุนสินคา้ คงคลงั 4. เพ่ือให้ผศู้ ึกษาสามารถอธิบายถงึ แนวทางการลดต้นทนุ คลงั สนิ คา้ 5. เพอื่ ให้ผศู้ ึกษาสามารถอธบิ ายถึงแนวทางการลดต้นทุนโดยใช้ระบบสารสนเทศ วธิ ีการสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอนประจาบท 1. บรรยายเน้ือหาบทเรียนที่เกี่ยวกับต้นทุนโลจิสติกส์ แนวทางการลดต้นทุนขนส่ง แนว ทางการลดต้นทุนสินค้าคงคลัง แนวทางการลดต้นทุนคลังสินค้า และแนวทางการลด ตน้ ทนุ โดยการใชร้ ะบบสารสนเทศ 2. ให้นักศึกษาร่วมแสดงความคิดเห็นและเปิดโอกาสให้ซักถามในประเด็นท่ีไม่เข้าใจหรือ สงสยั 3. แบ่งนักศึกษาออกเปน็ กล่มุ กลุ่มละ 4-5 คน มอบหมายกรณีศึกษาการจัดการโลจิสตกิ ส์ และห่วงโซ่อุปทาน โดยให้นักศึกษาสารวจเส้นทางการท่องเที่ยวภายในจังหวังอดุ รธานี และใช้ความรู้ทเี่ รยี นมาทั้งหมดแสดงแผนภาพโซ่อปุ ทานธรุ กจิ การนาเท่ียวและธุรกิจของ การจัดการการจดั ส่งทางธุรกจิ | Business Logistics Management 215
ฝาก วธิ กี ารบรหิ ารยอดจองนาเทย่ี ว วิธกี ารจดั สรรสถานทท่ี ่องเท่ยี ว เส้นทาง ยานพาหนะ และท่ีพัก การเชื่อมโยงธุรกจิ ต่าง ๆ ภายในเครือข่ายโซ่อุปทาน การลดต้นทุนโลจสิ ติกส์ รวมถงึ การนาเอาระบบสารสนเทศมาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการโลจิสตกิ ส์ 4. ให้นักศึกษานาเสนอรายงานในชั้นเรียนในคาบสุดท้าย เปิดโอกาสให้นักศึกษาห้องอ่ืน สามารถเข้ามารับฟังการนาเสนอและแสดงความคิดเหน็ รว่ มกัน สอ่ื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการการจัดสง่ ทางธรุ กจิ 2. เอกสารต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ งในเอกสารอ้างอิง 3. สื่อทัศนะวสั ดปุ ระกอบการสอน การวัดและประเมนิ ผล 1. การเข้าชั้นเรยี นและการมสี ่วนร่วมในช้นั เรียน 2. การซกั ถามและแสดงความคดิ เหน็ 3. การนาเสนอรายงานหนา้ ชั้นเรยี น 216 บทท่ี 10 | การลดตน้ ทนุ ในระบบโลจสิ ติกสแ์ ละโซอ่ ปุ ทาน
บทท่ี 10 การลดตน้ ทุนในระบบโลจสิ ติกส์ ต้นทุนโลจิสติกส์เป็นปจั จยั หลกั สาคญั ที่แฝงอยู่ในทุกกิจกรรมทางธรุ กจิ และอตุ สาหกรรม เช่น การจัดซ้อื การจัดการคลงั สนิ ค้า การจดั เกบ็ การขนยา้ ย การขนสง่ และการกระจายสินค้า ดงั น้นั การ เพ่ิมประสิทธิภาพและลดต้นทนุ การผลติ โดยเฉพาะการลดต้นทนุ ทางดา้ นโลจสิ ติกส์ จงึ ต้องอาศัยการ กาหนดกลยุทธ์และเทคนคิ ในการจดั การกระบวนการจดั การโลจสิ ตกิ ส์ ซงึ่ ตอ้ งอาศัยความร่วมมอื ของ ทุกฝ่ายภายในองค์กรเพ่ือใหก้ ารดาเนินการเปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั ทัง้ น้อี งค์กรจาเปน็ ต้องมีบคุ ลากร ที่มีความรู้ความเขา้ ใจ สามารถนาความรูส้ ู่การปฏบิ ตั ิเพอื่ ลดต้นทุนท่ีไม่ก่อให้เกดิ มูลคา่ เพิ่ม โดยไม่ลด คุณภาพของสินคา้ และบริการลง เพอ่ื เปน็ การสรา้ งความไดเ้ ปรียบในการแข่งขันและเพมิ่ ผลกาไรใหก้ บั องค์กรอยา่ งชดั เจน เนื้อหาในบทนี้จะกล่าวถึงต้นทุนโลจิสติกส์ แนวทางการลดต้นทุนขนส่ง แนวทางการลด ต้นทุนสินค้าคงคลัง แนวทางการลดต้นทุนคลังสินค้า และแนวทางการลดต้นทุนโดยการใช้ระบบ สารสนเทศ ตน้ ทุนโลจสิ ตกิ ส์ การกาหนดต้นทุนโลจิสติกส์มีจุดเริ่มต้นจากการนาแนวคิดด้านการตลาดท่ีกล่าว ว่า “ความสาเร็จขององค์กรขึ้นอยู่กับการประเมินความจาเป็น และความต้องการของตลาด เป้าหมาย รวมท้งั ส่งมอบความพึงพอใจเหล่าน้ันอยา่ งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลท่ีเหนือ คู่แข่ง” มาใช้กับหลายองค์กร จนทาให้องค์กรเหล่านั้น สามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างโดดเด่น ซ่ึงการ ตอบสนองที่เกดิ ข้ึนดังกลา่ วกอ่ ให้เกิดความหลากหลายโดยข้ึนอย่กู ับ ลักษณะของผลติ ภัณฑแ์ ละการ บรกิ าร ส่งผลใหต้ น้ ทนุ ในการตอบสนองลูกคา้ (Cost to Serve) แตกต่างกนั ไปด้วย การจดั การการจดั สง่ ทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 217
ในการวิเคราะห์ต้นทุนโลจิสติกส์จะพิจารณาจากกิจกรรมท่ีสาคัญของโลจิสติกส์ ซึ่ง กิจกรรมโลจิสติกส์ประกอบด้วยโลจิสติกส์ขาเข้า (Inbound Logistics) เก่ียวข้องกับกระบวนการ จัดหาวัสดหุ รือวัตถดุ บิ และ การผลติ สินค้าก่ึงสาเรจ็ รูป และโลจสิ ติกส์ขาออก (Outbound Logistics) จะเก่ียวข้องกับการดาเนินการด้านคลังสินค้าและการกระจายสินค้าไปยังลูกค้า ซ่ึงสามารถสรุป กิจกรรมโลจิสติกสท์ ่ีสาคัญไดด้ งั ต่อไปนี้ 1. การจัดการการขนสง่ (Transport Management) 2. การจดั การสนิ ค้าคงคลงั (Inventory Management) 3. การจดั การคลังสินค้า (Warehouse Management) 4. การจดั การวัสดุ (Materials Management) 5. การจัดซือ้ และเจรจาตอ่ รอง (Purchasing and Negotiation) 6. การเคล่ือนย้ายสินคา้ (Materials Handling) 7. การให้บริการลกู ค้า (Customer Services) 8. บรรจุภัณฑ์ (Packaging) 9. สารสนเทศ (Information Technology) จากขอ้ มลู ต้นโลจสิ ตกิ ส์ในประเทศไทยปี 2553 (อาคม เติมพทิ ยาไพสิฐ, 2555) ประกอบไป ดว้ ยตน้ ทนุ สาคญั ดังตารางท่ี 10.1 ตารางท่ี 10.1 แสดงตน้ ทุนโลจิสติกส์ในประเทศไทย ปี 2552 และ 2553 ตน้ ทนุ โลจิสตกิ ส์ 2552 2553 % การเติบโต (พันล้านบาท) 15.0 คา่ ขนส่ง 675.2 776.4 13.5 10.6 คา่ สนิ คา้ คงคลงั 636.5 722.5 13.9 ค่าบริหารจดั การ 131.2 145.1 รวม 1,442.9 1,644.0 218 บทที่ 10 | การลดตน้ ทนุ ในระบบโลจิสติกสแ์ ละโซอ่ ปุ ทาน
9% 47% 44% คา่ ขนสง่ คา่ สินคา้ คงคลัง ค่าบริหารจดั การ ภาพที่ 10.1 แสดงสัดสว่ นต้นทนุ โลจสิ ตกิ ส์ปี 2553 เม่ือพิจารณาต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ในปี 2553 ระหว่างประเทศไทย จีน และ สหรัฐอเมริกา ดังภาพท่ี 10.3 (สศช., 2555) 20 15 0.4 1.3 2.3 6 10 3.9 6.7 5 4.1 7.2 9.5 0 ไทย จนี อเมรกิ า ค่าขนสง่ ค่าสินค้าคงคลัง คา่ บริหารจดั การ ภาพที่ 10.2 แสดงสดั สว่ นต้นทุนโลจสิ ตกิ ส์ ประเทศ อเมรกิ า ไทย และจนี ปี 2553 จากภาพท่ี 10.2 เม่ือพิจารณาต้นทุนโลจิสติกส์ จะเห็นว่าอเมริกามีต้นทุนโลจิสตกิ ส์ตา่ ท่ีสุด ส่วนจีนเป็นประเทศที่มมี ูลค่าเศรษฐกิจอันดบั หนึ่งของโลก แต่มีต้นทุนโลจสิ ติกสส์ งู กว่าประเทศไทย เม่ือพจิ ารณาโครงสรา้ งตน้ ทนุ ต่าง ๆ จงึ นามาหาแนวทางพิจารณาในการลดต้นทุนรวมของโลจสิ ติกส์ ลง ซ่ึงจะส่งผลต่อต้นทนุ รวมของธรุ กิจ การจัดการการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 219
แนวทางการลดตน้ ทุนขนส่ง ปัจจุบันการขนสง่ มีความสาคัญต่อธุรกจิ เกอื บทุกประเภททัง้ ในส่วนการจัดหา วัตถุดิบ การ ผลิตการขาย และการจัดจาหน่าย ในหลายๆ ธุรกิจ ต้นทุนการขนส่งนับเป็นต้นทุนท่ีสาคัญ และ กระทบต่อต้นทุนรวมของผลิตภัณฑ์และบริการ ซ่ึงโครงสร้างต้นทุนของผู้ประกอบการขนส่ง ประกอบด้วยตน้ ทนุ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) ต้นทุนคงท่ี (Fixed cost) เป็นต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายทไ่ี ม่มีการเปล่ยี นแปลงตามปรมิ าณ การขนสง่ เชน่ ค่าเช่าสถานที่จอดรถ เงินเดือนพนกั งานขับรถ เป็นตน้ 2) ต้นทุนผันแปร (Variable cost) เป็นต้นทุนหรือ ค่าใช้จ่ายท่ีมีการเปล่ียนแปลง ตาม ปริมาณการให้บริการการขนส่ง เช่น ค่าน้ามันเชื้อเพลิง ค่าซ่อมแซม ค่าน้ามันหล่อลื่น เป็นต้น 3) ต้นทุนรวม (Total cost) เป็นต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่รวมเอาต้นทุนคงท่ีและต้นทุนผัน แปรเขา้ ไวด้ ้วยกัน ถอื เป็นตน้ ทุนการบรกิ ารขนสง่ ทงั้ หมด ทง้ั นี้รวมถงึ ต้นทุนเทยี่ วกลบั ต้นทุนของผู้ประกอบการขนส่งจะมากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการ กาหนดราคาคา่ ขนสง่ ได้แก่ - คา่ ใช้จา่ ยท่เี ก่ยี วกับการขนส่งเทย่ี วเปล่า - ปริมาณหรอื น้าหนกั ของสนิ คา้ ท่ีบรรทกุ - ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการขนถา่ ยข้นึ และลงรวมถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยในส่วนที่เกี่ยวกบั ระยะเวลาในการ รอคอย - ค่าใช้จ่ายทเี่ กีย่ วข้องกบั ระยะทางในการขนสง่ - ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วกบั ความรับผิดชอบตอ่ ความเสียหาย แนวทางในการลดต้นทนุ ขนส่งจากตน้ ทุนต่าง ๆ ท่เี กิดขึ้นมดี ังนี้ 1.กลยุทธ์การใชพ้ ลังงานทางเลือก เม่ือแนวโน้มราคาน้ามันเพมิ่ สูงข้ึนทาให้ผูป้ ระกอบการ ด้านโลจิสติกส์ต้องแบกรับภาระด้านต้นทุน ในด้านการขนส่งสินค้าท่ีสูงข้ึน ดังนั้นผู้ประกอบการ ด้านโลจิสติกสจ์ ะต้องมีการวางแผนกาหนดกลยุทธ์ตา่ ง ๆ เพื่อเพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการขนส่ง และลด ต้นทุนในการขนส่ง เมื่อพิจารณาต้นทุนพลังงานต่าง ๆ ดังตารางท่ี 10.2 (คานาย อภิปรัชญาสกลุ , 2553: 39) 220 บทท่ี 10 | การลดตน้ ทนุ ในระบบโลจสิ ตกิ สแ์ ละโซอ่ ุปทาน
ตารางที่ 10.2 แสดงตน้ ทนุ เชอื้ เพลิงประเภทตา่ ง ๆ เชอ้ื เพลงิ ราคาเชอื้ เพลิง อตั ราสิน้ เปลือง ตน้ ทุน น้ามันเบนซิน 91 43.55 บ./ลิตร 15.00 กม./ลิตร 2.90 บ./กม. นา้ มนั ดเี ซล 29.79 บ./ลติ ร 15.00 กม./ลิตร 1.99 บ./กม. LPG 12.90 บ./ลติ ร 12.50 กม./ลติ ร 1.03 บ./กม. CNG 10.50 บ./กก. 16.70 กม./กก. 0.63 บ./กม. * ประมาณการจากรถ 4 ล้อ ราคาเช้ือเพลิงวนั ที่ 27 ต.ค. 2555 โดยปรับเปลี่ยนพลงั งานทใ่ี ช้ในการขนส่งจากนา้ มันดีเซลหรอื เบนซนิ เป็นไบโอดีเซลหรอื กา๊ ซ CNG ซึ่งการใช้ก๊าซ CNG จะประหยัดกว่าการใช้น้ามันประมาณ 60-70% แต่ในการตัดสินใจติดต้ัง ระบบ NGV/CNG ผู้ประกอบการควรมีการตัดสินใจที่ละเอียดถ่ีถ้วน เน่ืองจากการติดต้ังระบบ NGV/CNG ใช้งบประมาณที่ค่อนข้างสูง ในการติดตั้งผู้ประกอบการควรพิจารณาตามหลักเกณฑ์ ดังตอ่ ไปนี้ คือ พจิ ารณาประเภทของเครอ่ื งยนต์ พจิ ารณาสถานบี ริการ NGV/CNG และเสน้ ทางในการ ขนส่ง สุดท้ายคือ การพิจารณาผลตอบแทนการลงทุน ซ่ึงการพิจารณาถึงองค์ประกอบเหล่านี้ จะทา ให้ผู้ประกอบการเห็นถึงความเปน็ ไปได้ของการติดตั้งในด้านผลตอบแทนการลงทุน รวมถึงการเพมิ่ ความสามารถในการแข่งขนั นอกจากน้ียังจะต้องพิจารณาถึงนโยบายของภาครฐั ทีม่ ีแนวโน้มจะลอยตัวราคา LPG/CNG ถงึ แม้จะลอยตวั แนวโน้มราคาก็ยงั ถกู กวา่ นา้ มนั ดเี ซล CNG จงึ เป็นทางเลอื กแกผ่ ู้ประกอบการทีห่ นั มา ใชม้ ากขนึ้ 2. กลยุทธ์การปรบั เปลี่ยนรปู แบบการขนสง่ แบบใหม่ หรือการใช้วธิ ีการขนสง่ ต่อเนือ่ งหลาย รูปแบบ (Multimodal transportation) ซึ่งเป็นวิธีการขนสง่ ท่ีผสมผสานระหว่างการขนส่งต้ังแต่ 2 รูปแบบข้ึนไป ภายใต้สัญญาหรือผู้รับผิดชอบการขนส่งรายเดียว ซึ่งโครงสร้างของระบบขนส่ง สามารถแบง่ ตามลักษณะทางกายภาพได้ 5 แบบ คือ 2.1 การขนส่งทางถนน เป็นรูปแบบการขนส่งท่ีนยิ มใช้มากทสี่ ุด สาหรับการขนสง่ ภายในประเทศ การจดั การการจดั ส่งทางธุรกจิ | Business Logistics Management 221
2.2 การขนส่งทางราง มีข้อจากัดในด้านสถานที่ตั้ง และสถานีบริการ ต้นทุนการ ขนสง่ ต่า และสามารถบรรทุกสนิ คา้ ได้ครง้ั ละมากๆ 2.3 การขนส่งทางน้า สามารถขนส่งได้คร้ังละมากๆ มีต้นทุนในการขนส่งต่าท่ีสุด และเปน็ การขนสง่ หลักของการขนสง่ ระหว่างประเทศ 2.4 การขนส่งทางอากาศ ใชส้ าหรับการขนสง่ ระยะทางไกลๆ และตอ้ งการความเร็ว สูง มตี ้นทุนการขนส่งสูงที่สุด และใช้กับสนิ ค้าทม่ี ีราคาแพง มนี ้าหนักและปรมิ าตรน้อย 2.5 การขนส่งทางท่อ ต้องมีการกาหนดตาแหน่งท่ีต้ังสถานท่ีรับและส่งสินค้าที่ แน่นอน ประเภทการขนส่ง ต้นทนุ (เทา่ ) ทางน้า 1.00 ทางราง 1.52 ทางถนน 5.00 ทางอากาศ 83.33 100 83.33 80 60 40 20 1.52 5 ทางอากาศ ทางราง ทางถนน 1 0 ทางนา้ ภาพที่ 10.3 สัดส่วนต้นทุนการขนสง่ สินค้าในประเทศ (ทม่ี า : ชาญวิทย์ อมตะมาทุชาต,ิ 2553) 222 บทที่ 10 | การลดตน้ ทุนในระบบโลจสิ ตกิ สแ์ ละโซอ่ ปุ ทาน
ปจั จุบันประเทศไทยใชว้ ธิ กี ารขนสง่ ทางถนนมากกว่ารอ้ ยละ 80 ของปริมาณการขนสง่ สนิ ค้า โดยรวมของประเทศ เนอื่ งจากโครงสรา้ งพน้ื ฐานระบบการขนสง่ ในประเทศ ได้เอื้ออานวยให้สามารถ ขนส่งถึงท่ีหมายปลายทางได้ (Door-to-door) ในขณะท่ีการขนสง่ ทางรางยังคงมีข้อจากัดอยู่ ดงั นัน้ จึงต้องมีการผสมผสานรูปแบบการขนส่ง เพ่ือให้สามารถทันกับการตอบสนองความตอ้ งการของลูกคา้ โดยคานึงถึงตน้ ทุนการขนส่งให้ประหยัดที่สุด นอกจากน้ีการขนส่งทางรางยังสามารถใช้ขนส่งตู้คอน เทนเนอรไ์ ด้จงึ เหมาะกับการขนส่งต่อเนื่องหลายรปู แบบ ซึง่ การขนสง่ สินคา้ ระยะไกลจะใช้การขนส่ง โดยรถไฟ และใช้การขนส่งโดยรถยนต์เพ่ือส่งสินค้าระหว่างจุดต้นทางสินค้า กับสถานีต้นทางและ ระหว่างสถานปี ลายทางกบั จดุ ปลายทางสนิ คา้ สว่ นระยะใกลจ้ ะใชก้ ารขนสง่ ทางถนน นอกจากการปรับมาใช้การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ (multimodal transport) เพ่ือ ประหยัดต้นทุนการขนส่ง เช่น ทางน้าซ่ึงประหยัดกว่าการขนส่งทางถนน 5 เท่า หรือทางรางซ่ึง ประหยัดกว่าการขนส่งทางถนนโดยประมาณ 3 เท่า การขนส่งต่อเน่ืองหลายรูปแบบยังช่วยในการ แก้ปัญหาเรื่องการจราจรติดขดั ไดอ้ ีกดว้ ย 3. กลยุทธ์ศูนย์กระจายสินค้า การหาท่ีตั้งศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้า (Cross Dock) ตามจุดยทุ ธศาสตรต์ า่ งๆ ทส่ี ามารถกระจายและส่งตอ่ ไปยงั จังหวัดใกล้เคียงหรอื ประเทศเพ่อื นบ้าน มี การจัดระบบการขนถ่ายสนิ คาการจดั พ้ืนที่การเก็บสนิ ค้า ระบบการจัดส่งสนิ คา้ (บาร์โค้ด /สายพาน ลาเลียง) ระบบบริหารคลังสินค้า มีการจัดประเภทสินค้าท่ีจัดเก็บการบรรจุด้วยหน่วยมาตรฐาน (Stock Keeping Units: SKU) มอี ุปกรณ์จัดวางสินค้า การมีศูนย์รวบรวมและกระจายสนิ ค้า จะช่วยทาให้สามารถลดต้นทนุ การขนส่งได้เน่อื งจาก การขนส่งตรงถึงลูกค้า ในต่างจังหวัดโดยไม่มีศูนย์รวบรวมพกั สินค้าตามต่างจงั หวัด ท่ีเป็นศูนย์กลาง การขนส่ง ทาให้ส่วนใหญ่ต้องขนส่งรถเที่ยวเปล่ากลับหรือส่งสินค้าไม่เต็มคันรถ ซึ่งการแก้ปัญหา ดังกล่าว ทาได้โดยการมีศูนย์กระจายสินค้าทีม่ ีประสิทธิภาพ ซึ่งมีโครงข่ายกระจายสินค้า ทาหน้าที่ รวบรวมสินค้าใหเ้ ต็มคันรถหรือจัดพาหนะใหเ้ หมาะสมกับจานวน และสอดคล้องกับสถานทสี่ ง่ มอบ สินค้า อีกท้ังยังมเี ครือขา่ ยในการรวบรวมสินค้า หรือเปลยี่ นรปู แบบการขนสง่ ไปสรู่ ูปแบบที่ประหยดั พลังงานอีกด้วย การจดั การการจดั สง่ ทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 223
ภาพท่ี 10.4 แนวคิดลดเที่ยวขนสง่ ศูนยร์ วบรวมและกระจายสนิ ค้า (Cross Dock) นอกจากน้ีการเชื่อมโยงเครือขา่ ยต่าง ๆ เข้าด้วยกันสามารถลดเท่ียวขนส่ง และต้นทุนขนสง่ ลงได้ (Sbihi and Eglese, 2007). ภาพท่ี 10.5 แนวคิด Hub and Spoke Model ในการเชอื่ มโยงเครอื ขา่ ยเพอื่ ลดตน้ ทุนขนสง่ 224 บทท่ี 10 | การลดตน้ ทุนในระบบโลจิสติกสแ์ ละโซอ่ ุปทาน
4. กลยุทธก์ ารขนส่งสินคา้ ทั้งเที่ยวไปและกลบั การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการขนสง่ ด้วยการลด การวงิ่ เทย่ี วเปล่าหรอื Backhauling management เปน็ การจดั การการขนสง่ ท่ีมเี ปา้ หมายให้เกิดการ ใชป้ ระโยชนจ์ ากยวดยาน (Load utilization) เพราะการขนสง่ โดยท่ัวไปเมอ่ื ส่งสนิ ค้าเสรจ็ จะตรี ถว่งิ เท่ียวเปลา่ กลับมา ซ่ึงทาให้เกดิ ต้นทนุ ของการประกอบการเพิ่มสงู ขนึ้ โดยเปล่าประโยชน์ ซึ่งต้นทนุ ที่ เกิดข้ึนมาน้ีนับเป็นต้นทุนที่ไม่ก่อให้เกิดมูลค่า (Non-value added cost) และผู้ประกอบการต้อง แบกรับภาระต้นทุนเหล่าน้ี ซ่ึงเป็นส่วนสาคัญในการทาให้ตน้ ทนุ การประกอบการสูงขึ้น แต่อย่างไรก็ ตาม การบริหารการขนสง่ เทย่ี วกลับในปัจจบุ นั ยงั ไม่สามารถดาเนินการได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพมากนกั เนื่องจากไม่ทราบปริมาณความต้องการในการขนส่งสินค้า รวมถึงจุดหมายปลายทางของสินค้า ที่ สาคญั ปริมาณความตอ้ งการการขนส่งสนิ ค้าระหว่างต้นทางและปลายทางมักจะมีปริมาณไม่เทา่ กนั ภาพท่ี 10.6 แนวคิดการลดเที่ยวเปล่าเพอ่ื ลดต้นทุนขนสง่ (ทมี่ า: http://www.ourfutureontrack.com, สืบค้น 26 พ.ย. 2556) 5. กลยุทธ์การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มาช่วยในการลดต้นทุนโลจิสติกส์ และการ เพ่ิมประสิทธิภาพในการขนส่ง คือ ระบบบริหารจัดการการขนส่งสิน ค้า (Transportation Management System: TMS) ซ่งึ เปน็ เครอ่ื งมอื ในการวางแผนการขนสง่ เพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมายของ ธุรกิจการขนส่ง ซึ่งก็คือความรวดเร็วและต้นทนุ ทีป่ ระหยดั ทีส่ ดุ องคป์ ระกอบของระบบ TMS คือ การ การจดั การการจดั ส่งทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 225
บริหารการจดั การด้านขนส่ง (Transportation Manager) ซึ่งมีหนา้ ท่ีในการวางแผนการดาเนินงาน ขนสง่ และอกี องค์ประกอบหนง่ึ คือ การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการขนสง่ (Transportation Optimizer) มีหน้าที่ช่วยการตัดสินใจในเรื่องการบรรทุกสินค้า และการจัดวางเส้นทางให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ภายใต้ข้อจากดั ตา่ ง ๆ (วิศษิ ฎ์ วฒั นานุกลู , 2552: 54) การทางานของระบบ TMS จะครอบคลุมตั้งแต่การจัดการใบส่งสินค้า การเลือกเส้นทางท่ี ประหยัดท่ีสุด (Routing) การใช้รถอย่างมีประสิทธิภาพ (Utilization) การจัดตารางเดินรถ (Scheduling) การจัดสินค้าขึ้นรถแต่ละคัน (Loading) ล้วนแล้วแต่เป็นงานที่ต้องใช้เวลาในการ วางแผนคอ่ นข้างมากหากต้องการใหต้ ้นทนุ คา่ ขนสง่ ตา่ สุด ดังนั้นระบบวางแผนการจดั ส่งสินค้า จงึ เขา้ มาช่วยทาให้ผู้วางแผนสามารถวางแผนการจัดส่งสิน ค้าได้อย่างรวดเร็วโดยอาศัยข้อมูลจากระบบ ติดตามยานพาหนะอัตโนมัติด้วยระบบดาวเทียมบอกตาแหน่ง (Automatic Vehicle Location System: AVLS) และขอ้ มลู อน่ื ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง TMS จะประกอบด้วยฐานขอ้ มูลทีส่ าคญั เช่น 1) เสน้ ทางการว่งิ รถบรรทกุ เชน่ แผนท่ี GPS จุดจอดพกั รถ ทางอันตราย การจราจร เป็นต้น 2) กองรถบรรทุก เช่น ขนาด ประเภท อัตราการใช้ เชื้อเพลิง ระยะทางว่ิงที่เหมาะสม สาหรับรถแตล่ ะคัน แต่ละประเภท เป็นต้น 3) พนักงานขับรถ เช่น ประเภทใบขับข่ีเส้นทางทช่ี านาญ ช่วงเวลาทท่ี างานได้ อัตราค่าจ้าง เปน็ ตน้ 4) ข้อจากัดด้านกฎหมาย เช่น ระเบียบราชการสาหรับสนิ ค้า/รถบางประเภท เส้นทางบาง เสน้ ทางการขบั รถใหต้ รงประเภทใบขับขี่ เปน็ ตน้ 5) จดุ หลักและสถานทแ่ี วะรับและสง่ สินคา้ เช่น โรงงานลกู คา้ ศนู ยก์ ระจายสนิ คา้ ของลูกคา้ ทา่ เรอื ท่าอากาศยาน ด่านศลุ กากรตามชายแดน เปน็ ต้น 6) ระบบการรบั คาสง่ั จากลกู คา้ เชน่ ประเภทสนิ ค้า จานวนต้นทาง-ปลายทาง เวลานดั หมาย เป็นตน้ 226 บทท่ี 10 | การลดตน้ ทนุ ในระบบโลจิสติกสแ์ ละโซอ่ ุปทาน
การเลือกใช้ระบบ TMS ต้องคานึงถึงความสามารถในการลดค่าใช้จา่ ย เวลาในการเดินทาง และความปลอดภัยเป็นหลัก ท้ังน้ีต้องพิจารณารวมถึงการเชื่อมโยงข้อมูลไปยังระบบงานอ่ืน ๆ ท่ี เก่ียวข้องด้วยเพื่อความถูกต้องของผลลัพธ์ท่ีได้และความสามารถในการใช้งานได้จริง ดังน้ันการ เลือกใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับงานโลจิสตกิ ส์ (E-logistics) ปัจจัยที่บริษัทควรใช้ในการ พจิ ารณาในการตัดสินใจลงทนุ ซอฟแวรน์ ้ันควรพิจารณาตามหวั ข้อต่อไปนี้ 1) สามารถป้องกนั หรือลดขอ้ ผิดพลาดที่เกดิ จากมนุษย์ (Human error) 2) ทาในสง่ิ ท่มี นุษย์ทาไมไ่ ดห้ รอื ทาได้แตใ่ ชเ้ วลานานมาก เช่น การประมวลผลข้อมลู ตา่ งๆ 3) ทาใหง้ านเร็วข้นึ สะดวกขึ้น และงา่ ยขึน้ 4) การเพ่ิมมลู ค่าและความได้เปรียบทางธุรกิจจากการใช้ระบบ เพราะจะเพิ่มความถูกตอ้ ง ของข้อมูลและเพ่ิมความรวดเรว็ ในการติดตามงาน 5) ความสามารถการแก้ไขซอฟแวร์ดว้ ยตนเอง 6) ความสามารถในการบารุงรกั ษาซอฟต์แวร์ 7) ตน้ ทุนในการเปน็ เจา้ ของระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 8) ความเขา้ กันได้ของซอฟแวร์กับระบบการทางานขององคก์ ร ภาพท่ี 10.7 การนาระบบสารสนเทศมาใชใ้ นการขนสง่ (ทีม่ า: http:// http://www.td.gov.hk, สืบคน้ 26 พ.ย. 2556) การจัดการการจดั สง่ ทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 227
แนวทางการลดตน้ ทุนสนิ คา้ คงคลงั ปัจจัยที่สาคัญในการลดต้นทุนด้านสินค้าคงคลังคือ การวัดประสิทธิภาพด้านการบริหาร สินค้าคงคลงั อยา่ งต่อเนอ่ื งและค้นหาวิธกี ารในการปรับปรงุ อยเู่ สมอ นายราลฟ คอกซ (Ralph Cox) ซึ่งดารงตาแหน่งผู้อานวยการบริษทั Tompkins Associates ซงึ่ ไดอ้ ธิบายเทคนิคในการลดต้นทนุ และ ปริมาณสินค้าคงคลังไวในหนังสือ The Supply Chain Handbook (Tompkins and Harmelink, 2004: 95-98 ) ซง่ึ สามารถสรุปไดด้ ังน้ี 1. สร้างวัฏจักรของสินค้าคงคลังบนฐานด้านเศรษฐศาสตร์ (Base Cycle Stock on Economics) สาหรับสินค้าที่ทาการจัดซื้อ ให้ทาการบริหารต้นทุนการจัดซ้ือให้ต่าลง โดยการวาง แผนการจดั ซื้อด้วยปริมาณที่เหมาะสม ซ่ึงจะสามารถลดต้นทุนด้านการจัดซือ้ และการรบั สินค้า หรือ สามารถลดปริมาณสินค้าคงคลงั โดยเฉลีย่ ได้ สาหรับสินค้าที่ทาการผลิตนั้นหากต้นทุนการตดิ ตั้งหรอื การเปลี่ยนเครอ่ื งมือมีมลู ค่าสูง การ แกไขให้กิจกรรมนี้ให้มีเวลาการเปล่ียนเครื่องมือท่ีสั้นลงจะสามารถลดปรมิ าณสินค้าคงคลงั ได้ และ เพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลติ ได้ 2. ควบคุมต้นทุนการสง่ั ซอื้ (Control Order Transaction Costs) ในการสั่งซ้ือนัน้ ควร ใช้คอมพิวเตอร์หรือระบบสารสนเทศในการสร้างคาสั่งซื้อ (Purchase Orders: PO) การใช้ระบบ แลกเปลยี่ นขอ้ มูลขา่ วสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange: EDI) ในการส่งผ่านขอ้ มูล คาส่ังซื้อ (PO) การใช้ระบบแจ้งการขนส่งล่วงหน้า (Advance Shipping Notices: ASNs) การใช้ ระบบการประเมินซัพพลายเออร์ในการจัดลาดับความสาคัญเพ่ือทาให้การลดต้นทุนการจัดซื้อใน โรงงานอุตสาหกรรม การวางแผนความต้องการใช้วัตถุดิบหรือชิ้นส่วนล่วงหน้า การใช้เครื่องมือชนิด พเิ ศษ การปรับเปลีย่ นเครือ่ งมือหรอื แม่พิมพ์ลว่ งหนา้ ก่อนทีก่ ารผลติ ล็อตเดิมจะสน้ิ สดุ การทางานเป็น ทีม การบารงุ รกั ษาเครอ่ื งมือจะสามารถลดปริมาณสินคา้ คงคลังได้ 228 บทที่ 10 | การลดตน้ ทุนในระบบโลจิสตกิ สแ์ ละโซอ่ ปุ ทาน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272