พักสินค้า ปัจจุบันมีการปรับเปล่ียนรูปแบบเป็นศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Center) ซึ่งต่าง จากคลงั สินค้าแบบเดมิ ทส่ี นบั สนนุ งานด้านการผลิต แต่ศูนย์กระจายสินค้าเน้นการจดั ส่งเพือ่ สนบั สนนุ กจิ กรรมทางการตลาด 5.คลังสินค้ากับโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ ในการส่งออกสินค้าท่ีส่งออกจะถูกส่งไปพกั ท่ี คลังสินค้าต่างประเทศ ในขณะท่ีสินค้าท่ีนาเข้าจะมีการนาสินค้ามาพักท่ีคลังสินค้าภายในประเทศ เพื่อกระจายสนิ ค้าต่อไป นอกจากน้ียังสามารถใช้บริการคนกลางหรอื ตัวแทนจาหน่ายเพ่อื เช่ือมโยง การค้าระหวา่ งประเทศกับคลงั สนิ คา้ กไ็ ด้ องคป์ ระกอบที่สาคญั ของการจดั การคลงั สนิ คา้ ในการจดั การคลังสินค้ามีองค์ประกอบทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 3 องคป์ ระกอบคอื 1.องคป์ ระกอบทม่ี อี ทิ ธิพลตอ่ ระบบคลังสนิ ค้า ได้แก่ - เวลา คอื ส่วนประกอบทสี่ าคญั มีผลตอ่ ระบบการจัดการคลงั สนิ ค้าเพราะคลงั สนิ ค้าทดี่ ที สี่ ดุ การผลติ จะต้องออกแบบใหล้ ดเวลามากทสี่ ดุ - คุณภาพ คือความสาคญั จาเป็นท่สี ดุ ในด้านการตรงตอ่ เวลาและสินค้าตอ้ งได้คุณภาพตาม ตอ้ งการ - ประโยชน์ของผลติ ภัณฑ์ คือการลดต้นทุนทั้งหมด นากลับมาใช้ใหมไ่ ด้และใชไ้ ด้หลายคร้งั - ใช้กาลงั คนที่มีใหเ้ ปน็ ประโยชน์มากทส่ี ดุ คือใช้แรงงานท่มี ีอยใู่ หเ้ กดิ ประโยชนม์ ากท่ีสดุ 2. องคป์ ระกอบที่เกยี่ วข้องกบั การดาเนนิ ธุรกิจคลงั สินค้า มดี งั น้ี - โครงสร้างทางวิศวกรรมของอาคารสถานที่ เช่น ระบบแสงสว่าง ระบบระบายอากาศ ความแขง็ แรงของพน้ื ที่ และชนั้ วางสินคา้ - อปุ กรณ์ท่ีจาเปน็ เช่น อปุ กรณจ์ ดั วางสนิ คา้ ซ่งึ เรียกว่า พาเลท ชัน้ วางของ ถงั บรรจสุ นิ ค้า และอุปกรณ์ในการขนลากสินค้า - บุคลากร เช่น หัวหน้างาน พนักงานในสานักงานและคนงาน - การขนส่งสนิ ค้า เช่น พาหนะทใ่ี ชใ้ นการขนสง่ เส้นทางการส่ง - ระบบการสง่ ต่อเอกสารและการบนั ทกึ บัญชีประจาวนั การจัดการการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 129
3. องค์ประกอบของงานคลงั สินค้า - โครงสร้างของคลังสินค้า(Warehouse) เช่น คลังสินค้า ท่ีเก็บสินค้า ประเภทของที่เกบ็ สินค้า - เจ้าของสินค้า (Owner) และผรู้ บั สนิ ค้า (Customer) เช่นพื้นที่จองทีใ่ ช้เก็บสนิ ค้าของแต่ ละเจา้ ของ เสน้ ทางส่งสินคา้ - สนิ คา้ (Product) เชน่ กลุ่ม กลุม่ ย่อยของสินค้าหนว่ ยนับ กิจกรรมในคลงั สนิ คา้ กจิ กรรมในคลังสนิ ค้าจาแนกได้ 5 กิจกรรม ดังนี้ (ชุมพล มณฑาทิพยส์ กุล, 2550: 75) 1.การรับของ (Receiving) เรม่ิ ต้ังแตก่ ารรับของเข้าคลงั จากรถขนสง่ จากนน้ั ตอ้ งพกั สนิ ค้า เพ่ือคัดแยก ตรวจนับ พร้อมกาหนดพื้นทใ่ี นการจดั เก็บ 2.การเคลื่อนย้ายภายในคลังสินค้า (Moving) เปน็ การเคลอื่ นย้ายสนิ ค้าจากจดุ รบั สนิ คา้ ไป ยงั จดุ จัดเก็บ ในการเคล่ือนย้ายสามารถใชแ้ รงงานคน และเคร่อื งจักรเพ่ืออานวยความสะดวก 3.การจดั เก็บ (Storing) ใชอ้ ุปกรณร์ ถยกประเภทตา่ งๆ ในการขนย้าย นาเขา้ ไปจดั เกบ็ ตาม ช้ันวางต่างๆ ให้ถูกต้องตามพื้นที่จัดเก็บ โดยต้องคานึงถึงเวลาที่จะทาการเบิกจ่ายในภายหลังว่า จะต้องหาไดร้ วดเร็ว แมน่ ยา 4. การเบกิ จา่ ยหรือการเลือกหยิบ (Picking) ขนั้ ตอนนีเ้ ป็นช่วงทกี่ นิ เวลาสว่ นใหญ่ทสี่ ดุ ของ การทางานในคลังสินค้า ซ่ึงขึ้นอยู่กับระบบจัดเก็บในขั้นที่สองว่าจัดไว้ได้ดีเพียงใด ต้องควบคุมด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ 5. การจัดส่ง (Shipping) เป็นข้ันตอนท่ีจะต้องนาสินค้าที่เบิกจ่ายแล้วมากองรวมเพ่ือ เตรียมการจดั สง่ มีการตรวจนบั เช็คยอดกับเอกสารส่งของ จุดพักเรียงหรือกองสนิ ค้าสาหรับแต่และ เทย่ี วรถ 130 บทที่ 6 | การจดั การคลงั สินคา้
ภาพที่ 6.2 แสดงระบบการดาเนนิ งานภายในคลงั สนิ คา้ (ท่มี า: TNT Express, 2551) จากภาพที่ 6.2 จะเหน็ ไดว้ ่าข้ันตอนการทางานในคลังสนิ ค้า จะตอ้ งมกี ารไหลเวียนของระบบ ข้อมูลข่าวสาร ควบคู่ไปกับการเคลื่อนย้ายสินค้าตลอดเวลา ท้ังน้ีเพ่ือทาให้สามารถจัดการบริหาร วางแผนและควบคุมได้ นอกจากน้ยี งั มกี ิจกรรมสนบั สนนุ การดาเนินงานภายในคลังสินคา้ ได้แก่ 1.การช่ัง ตวง วัด และ การตรวจนับ การชั่ง ตวง วัด และการตรวจนับ ซ่ึงอาจจะทาเป็น การตรวจนับประจาปี หรือการตรวจนับทกุ 6 เดือน หรือการตรวจนับอย่างต่อเน่ืองตลอดเวลา ทั้งนี้ เพ่อื เป็นการทวนสอบว่า ปรมิ าณสนิ ค้าในบญั ชี ตรงกบั ปริมาณทมี่ ีอยู่จริงมากนอ้ ยเพยี งใด 2.การจัดเก็บและส่งถ่ายข้อมูล งานเอกสารและการเก็บบันทึกของกิจกรรมทั้งหมดของ คลังสินค้า ซ่ึงอาจเก็บในรูปของเอกสารหรือเป็นข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งน้ีต้องสามารถนา ข้อมูลออกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เพ่ือการประสิทธิภาพในการทางานของคลังสินค้า ประจาปหี รอื การสอบกลับของลูกคา้ เมอื่ สินคา้ มปี ัญหา เป็นต้น การจดั การการจดั สง่ ทางธุรกจิ | Business Logistics Management 131
ประเภทของคลงั สนิ คา้ ในการจาแนกประเภทของคลังสินคา้ สามารถจาแนกไดห้ ลายลกั ษณะดงั ต่อไปนี้ 1.การจาแนกคลังสินคา้ ตามลักษณะกายภาพ จะพิจารณาจากลักษณะตัวคลังสินค้า และ วตั ถุประสงคใ์ นการออกแบบเพอื่ จดั เกบ็ สนิ ค้าคงคลงั แตล่ ะชนิด สามารถแบ่งออกเป็น 1.1 คลังสินค้าท่ีมิดชิด คลังสินค้าประเภทนี้จะออกแบบมามิดชิด มีประตู กาแพง หลงั คา บางแหง่ จะมกี ารออกแบบเพอ่ื ควบคมุ อณุ หภมู ิเฉพาะ ดงั ภาพท่ี 6.3 ภาพที่ 6.3 แสดงห้องเย็นเพอ่ื ใชใ้ นการจัดเกบ็ สนิ ค้าเฉพาะ (ท่มี า: http://www.plazathai.com/show-340480.html, สบื ค้น 1 พ.ย. 2556) 1.2 คลังสินคา้ ที่มแี ต่หลังคา คลงั สินคา้ แบบน้อี อกแบบใหม้ แี ต่เสาและหลังคา ไม่มี ประตู ผนงั ก้นั สินคา้ ทจ่ี ดั เก็บจะไม่เสียหายจากสภาวะอากาศท่เี ปลีย่ นแปลง มกั มีขนาดใหญ่ และน้าหนกั มาก โอกาสทจี่ ะสญู หายหรอื ถกู โจรกกรมไดย้ ากดังภาพที่ 6.4 132 บทที่ 6 | การจดั การคลงั สนิ คา้
ภาพท่ี 6.4 แสดงคลงั สินคา้ ท่ีมเี ฉพาะหลงั คา (ทีม่ า: http://www. thai.alibaba.com, สบื ค้น 1 พ.ย. 2556) 1.3 คลังสินค้ากลางแจ้ง เป็นคลังสนิ ค้าทีม่ กี ารยกพื้น มีระบบป้องกนั น้าทว่ ม ไมม่ ี หลังคาและส่ิงก่อสร้าง หากเป็นเพียงท่ีโล่งแจ้งเพ่ือวางสินค้าจะไม่นับเป็นคลังสินค้า เช่น คลังสินคา้ กลางแจ้งที่ใชว้ างเรยี งต้คู อนเทนเนอร์ ดังภาพที่ 6.5 ภาพท่ี 6.5 แสดงคลงั สนิ คา้ กลางแจ้ง (ท่มี า: http://www.marinerthai.net/forum/index.php?topic=3707.0, สบื คน้ 1 พ.ย. 2556) 1.4 คลงั สินค้าทเี่ ป็นถงั หรอื ในลกั ษณะอ่ืน ใชเ้ ก็บสนิ ค้าเฉพาะ เช่นคลังนา้ มัน คลัง เกบ็ สารเคมี เกบ็ อาหารสตั ว์ เปน็ ต้น ดงั ภาพที่ 6.6 การจัดการการจดั สง่ ทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 133
ภาพที่ 6.6 แสดงคลงั เกบ็ น้ามัน (ทมี่ า: http://le-pc.org/introduction/10/why-silo-house-2, สืบค้น 1 พ.ย. 2556) 1.5 คลังสินค้าเคลื่อนที่ได้ ได้แก่ระวางของเรือสินค้า เคร่ืองบิน โบกี้รถไฟหรือตู้ คอนเทนเนอรบ์ นรถที่ใช้เปน็ ท่เี กบ็ สนิ ค้าหรอื พกั สินคา้ เพอ่ื รอการส่งมอบ ดงั ภาพท่ี 6.7 ภาพที่ 6.7 แสดงระวางสนิ คา้ บนเรอื ขนสง่ ทจ่ี อดพกั สินค้า (ที่มา: http://educa2014.com/?p=181, สบื คน้ 1 พ.ย. 2556) 134 บทที่ 6 | การจดั การคลงั สนิ คา้
1.6 คลังเก็บสินค้าท่ีเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ สินค้าที่เก็บจะอยู่ในรูปของข้อมลู อิเล็กทรอนิกส์เป็นการจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใช้กับลักษณะธุรกิจที่ ดาเนินการแบบ E-Business เช่น บริษัทจาหน่าย software ผ่านระบบ online บริษัท บารุงรักษาระบบฐานขอ้ มลู เปน็ ตน้ ดังแสดงภาพที่ 6.8 ภาพท่ี 6.8 คลงั ข้อมลู ท่ใี ช้ในการจดั เกบ็ และคน้ หาข้อมูล (ทมี่ า: http://network9.biz/2012/02/, สืบค้น 1 พ.ย. 2556) 2. การจาแนกประเภทของคลังสินค้าตามลักษณะธุรกิจ คลังสินค้ายังแบ่งออกได้ 2 ประเภทตามลักษณะธุรกิจ คือ คลังสาธารณะ (Public warehouse) และคลังส่วนตัว (Private warehouse) ซง่ึ แต่ละประเภทมขี ้อดี ขอ้ เสีย ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1 คลังสาธารณะ (Public warehouse) คลังสาธารณะคือ คลังที่เจ้าของธรุ กิจ เปิดข้ึนเพ่ือรับเก็บสินค้าเป็นหลัก เป็นโกดังสินค้าแล้วเก็บค่าเช่าในการจัดเก็บสินค้า เช่น พวกคลังห้องเย็นต่างๆ ท่ีรับจัดเก็บปลาแช่แข็งท่ีมาจากเมืองนอก โดยท่ีโรงงานแปรรูปไม่ ต้องการลงทนุ สร้างคลงั หอ้ งเย็นเป็นของตวั เอง กจ็ ะจัดจา้ งให้คลังหอ้ งเย็นช่วยจัดเกบ็ ให้ โดย คิดคา่ จดั เกบ็ เปน็ ต้น การจัดการการจดั สง่ ทางธุรกจิ | Business Logistics Management 135
ข้อดีของคลงั สาธารณะ - มีการใช้ประโยชนข์ องเงินทุนมากขึน้ เนอ่ื งจากคลงั ที่สร้างได้ใหบ้ ริการแก่ลกู ค้าหลายคน - มกี ารใช้ประโยชน์จากพืน้ ทไี่ ด้ดีกว่า เพราะมกี ารใหบ้ ริการแกล่ ูกค้าหลายคน - เปน็ การลดความเสี่ยงจากการว่างของคลงั สนิ คา้ - มีการใช้ประโยชนเ์ ชิงเศรษฐศาสตร์ (Economies of scale) มากกว่า - มีความยืดหยุน่ สงู - มคี วามรแู้ ละความเช่ยี วชาญในเร่ืองการจัดเก็บและเคลอื่ นยา้ ยมากกว่า ขอ้ เสียของคลงั สาธารณะ - อาจมีปัญหาเร่ืองการส่ือสารข้อมูล เพราะระบบการส่ือสารอาจมีความแตกต่างกันมาก ระหว่างบรษิ ัท - อาจไมม่ กี ารบริการพิเศษบางประเภท ซ่งึ เป็นความต้องการเฉพาะดา้ นของตัวสนิ คา้ - พน้ื ทอ่ี าจไม่เพียงพอในบางช่วงของความตอ้ งการ 2.2 คลังส่วนตัวหรือคลังเอกชน (Private warehouse) คลังส่วนตัวคือคลัง โดยทั่วไปของบริษัทซ่ึงบริษัทหลาย ๆ แห่ง ได้สร้างคลงั ในพื้นท่ีของตัวเอง เช่น คลังวัตถดุ บิ คลังสินค้าสาเร็จรูป เป็นต้น และใช้ในการจัดเก็บวัตถุดิบหรือสินค้าสาเร็จรูปของบริษัท เทา่ นั้น ข้อดีของคลังส่วนตวั - มกี ารควบคมุ ที่ทาไดง้ า่ ย - มีความยดื หย่นุ สูง - มตี น้ ทนุ ตา่ กว่าในระยะยาว - มกี ารใช้แรงงานท่มี ีประสทิ ธภิ าพสงู 136 บทที่ 6 | การจดั การคลังสนิ คา้
ข้อเสยี ของคลงั สว่ นตัว - ขาดความยืดหยุ่น - ขอ้ จากัดทางดา้ นการเงนิ - ผลตอบแทนต่อการลงทนุ ตา่ 3. การจาแนกประเภทของคลังสินค้าตามลักษณะงาน เป็นการจาแนกคลังสินค้าตาม ลกั ษณะงาน แบง่ ออกเป็น 3.1 คลังสินค้าสาหรับเก็บรักษาสินค้า คลังสินค้าชนิดนี้มีหน้าท่ีหลักในการเก็บ รักษาสินค้าซึ่งอาจจะอยู่ในรูป วัตถุดิบหรือสินค้าสาเร็จรูป เพื่อทาหน้าท่ีตอบสนองความ ต้องการของฝา่ ยผลิต หรือร้านค้าตามลาดับ ดังน้ันการจัดการสินค้าประเภทนี้จะเนน้ ทก่ี าร รักษาสภาพสนิ ค้า และการปอ้ งกันการสูญหายของสนิ คา้ เป็นสาคัญ ขนส่ง คลังสินคา้ โรงงาน ภาพท่ี 6.9 คลงั สินคา้ เพื่อการผลิต 3.2 ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution center : DC) ศูนย์กระจายสินค้า คือ คลังสินค้าที่ทาหน้าท่ีท้ังในฐานะเป็นคลังสินค้า (Warehouse) และเป็นหน่วยเช่ือมโยง ระหว่างผู้ผลิต (Manufacturer) กับผู้ขายปลีก (Retailers) และทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการ ทางด้านโลจสิ ติกส์ (Logistics Provider) ในดา้ นการจัดเกบ็ สนิ คา้ และการจดั การขนส่งสนิ คา้ สาเร็จรปู ให้กบั ลูกค้าได้ อย่างทนั เวลาและถกู ต้องตรงตามความตอ้ งการ DC ส่วนใหญ่จะเปน็ ผู้ให้บริการภายนอก (Outsource) หรือ Third Party Logistics Service Providers (3PL) จะทาหน้าทรี่ ับสินค้าจากผู้ผลติ แตล่ ะรายมาเก็บในคลงั สนิ ค้าของตน โดยดาเนินการบรหิ าร จัดการในการควบคุมปริมาณด้านเทคโนโลยีในการกระจายและจัด ส่งสินค้าแทนเจ้าของ การจัดการการจดั สง่ ทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 137
สินคา้ หรือผู้ผลติ สินคา้ โดรับผดิ ชอบงานขนส่งจนสนิ คา้ ไปสู่ผู้รับ ประโยชนท์ เี่ กดิ ขน้ึ น้ี คอื การ ลดค่าใช้จ่ายในการขนสง่ ของผผู้ ลิตไปสู่ผู้ขายปลกี หรือลูกค้าแตล่ ะราย ผู้ผลิตสามารถขนสง่ มาที่ DC เพียงแห่งเดียว โดย DC จะทาการกระจายสินค้าสู่ผู้ขายปลีกตามความถ่ีที่ผู้ขาย ป ลี ก ต้องการทาให้ไม่จาเป็นต้องมีท่ี เก็บสินค้ าคงคลังจานวนม าก ท่ีผู้ขาย ปลีกอีกต่อไป ค่าใช้จ่ายส่วนวสั ดุคงคลังของร้านขายปลีกกล็ ดลง ทาใหต้ น้ ทุนรวมส่งผลใหม้ คี วามไดเ้ ปรียบ ในดา้ นการแข่งขนั ท้ังดา้ นราคาและความ รวดเรว็ ในการบริการ ในปจั จบุ นั ร้านขายปลีกหลาย แหง่ จงึ สามารถรับประกันราคาต่าสุดแกผ่ ู้บริโภคได้ ดงั ภาพท่ี 6.10 รถขาเข้า รถขาออก จดั เกบ็ รบั เขา้ จดั เรยี ง เบกิ จา่ ย สง่ ออก ภาพที่ 6.10 แสดงการดาเนนิ การภายในของศูนย์กระจายสนิ คา้ 3.3 ศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้า (Cross Dock) ศูนย์รวบรวมและกระจาย สินค้าหมายถึงคลังสินค้าใช้สาหรับในการรับสินค้าและส่ง สินค้าในเวลาเดียวกัน หรือเปน็ คลังสินค้าซึ่งมกี ารออกแบบเปน็ พิเศษ เพื่อใช้ในการขนถ่ายจากพาหนะหนงึ่ ไปสอู่ ีกพาหนะ หน่ึง โดย Cross Dock ส่วนใหญ่แล้วเหมาะจะเป็นสถานที่ ซึ่งมีลักษณะเป็นศูนย์รวบรวม และกระจายสินค้า ซ่ึงจะทาหน้าที่ในการบรรจุและคัดแยกสินค้า โดย Cross Dock จะทา หน้าที่เป็นสถานีเปล่ียนถ่ายสินค้าระหว่างรูปแบบการขนส่ง ซ่ึงอาจเป็นจากซับพายเออร์ หลายราย แล้วนามาคัดแยกรวมรวม บรรทุก เพอื่ จัดส่งให้ลูกคา้ แต่ละราย ซ่งึ จะจดั สง่ ต่อให้ 138 บทท่ี 6 | การจดั การคลังสินคา้
ลูกคา้ ซงึ่ ส่วนใหญ่จะเป็นร้านผู้ขายปลีก หรอื ร้านสะดวกซ้ือ ซง่ึ จะมี ความต้องการสินคา้ ย่อย ที่หลากหลาย Cross Dock จะมีลกั ษณะคลา้ ยคลงั สินค้าทีม่ ี 2 ดา้ น โดยดา้ นหนง่ึ สาหรบั ใชใ้ นการ รับสินค้า และอีกด้านหน่ึงใช้ในการจัดส่งสนิ ค้า โดยสินค้าที่นาเข้ามาใน Cross Dock จะมี กระบวนการคัดแยก-บรรจุและรวบรวมสินค้า เพ่ือจัดส่งไปให้กับผู้รับ ซึ่งโดยปกติแล้วนา สินค้าเข้ามาเก็บและจดั ส่ง มักจะดาเนินการใหเ้ สรจ็ ส้นิ ภายใน 24 ชั่วโมง ภารกิจสาคัญของ Cross Dock จะเป็นตวั กลางในการรวบรวมสินค้าให้สามารถจัดสง่ ได้เต็มคันรถหรอื ใชพ้ ้นื ท่ี ในคอนเทนเนอร์ให้ได้เต็มพิกัด โดย Cross Dock ซึ่งอาจจะเรียกได้ว่า ศูนย์รวบรวมและ กระจายสินค้า ส่วนใหญ่แล้วศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าจะกระจายอยู่ตามภาค หรือ จังหวดั ซ่ึงเป็นศูนย์กลางของการขนสง่ จงึ มีส่วนชว่ ยแกป้ ัญหารถบรรทกุ ที่ไม่มสี นิ ค้าในเท่ียว กลับ ซึง่ เปน็ ปญั หาสาคัญของการขนส่งทางถนนในประเทศไทย ทั้งนี้ Cross Dock อาจจะทา หน้าทเี่ ป็น ICD (Inland Container Depot) สามารถเชอ่ื มโยงการขนสง่ ในรปู แบบต่าง ๆ ไม่ ว่าจะเปน็ การขนส่งทางรถไฟ ทางรถบรรทกุ หรือขนส่งทางน้า หรอื ท่าเรอื -สนามบนิ ซ่ึงแสดง ให้เห็นว่า Cross Dock จะมีบทบาทและเปน็ ปัจจยั สาคัญต่อการสนับสนนุ รปู แบบการขนส่ง ต่อเน่อื งหลายรปู แบบ ทเ่ี รียกวา่ Multimodal Transport ดังภาพท่ี 6.11 รับเข้า จัดเรียง สง่ ออก และสลบั รถขาเข้า รถขาออก ภาพท่ี 6.11 แสดงศนู ย์รวบรวมและกระจายสนิ คา้ (Cross Dock) การจดั การการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 139
จากภาพท่ี 6.11 รถบรรทุกขาเข้าจะนาสินค้าจากโรงงานหรือผู้ส่งมอบแต่ละโรงงาน ซ่ึงมี สินค้าที่แตกต่างกนั ในขณะท่ีลูกค้าต้องการสนิ ค้าหลากหลายประเภท ซ่ึงหากส่งมอบใหก้ ับลูกคา้ จะ ทาให้เกดิ การขนส่งหลายเท่ียว Cross Dock จงึ มีหน้าทีส่ ลบั และจดั เรียงสินค้าเพือ่ ส่งมอบให้กับลูกคา้ ตามทต่ี ้องการ ซงึ่ จะไมม่ กี ารเก็บสินค้าไว้ การกาหนดขนาดคลงั สนิ คา้ การกาหนดขนาดของคลังสินค้าเป็นเรอื่ งท่ีสาคัญ ท้ังน้ีขนาดของคลังสินคา้ จะแปรผกผนั กับ จานวนคลงั สินคา้ โดยทป่ี จั จัยต่าง ๆ ท่ีควรคานงึ ถึงในการกาหนดขนาดของคลงั สินคา้ มีดังตอ่ ไปนี้ 1. ขนาดของสินค้าหรือบรรจุภัณฑ์และปริมาณของสินค้าที่ต้องจัดเก็บ ทั้งนี้สามารถ คานวณหาได้ โดยพิจารณาถึงความสามารถในการจดั เก็บของคลงั สินค้า (Capacity) กล่าวได้ว่าตอ้ ง พจิ ารณาหาวา่ คลังสินค้าตอ้ งการเก็บสินคา้ เป็นปรมิ าณก่ชี น้ิ ก่กี ลอ่ ง กีต่ นั กลี่ ติ ร หรอื ก่ีพาเลท เป็นตน้ 2. ระดับการบริการของคลังสินค้า โดยที่คลังสินค้าที่มีระดับการบริการสูง จะต้องการใช้ พ้ืนท่มี าก สว่ นคลงั ท่ีมรี ะดับการบรกิ ารต่าจะต้องใช้ พืน้ ทีน่ อ้ ยลง ทง้ั นีส้ ถานทตี่ ้งั ของคลังสนิ ค้าก็ จะมี ผลเช่นเดียวกนั 3. รอบเวลาในการนาสินคา้ เข้าหรือออก ท้งั นี้สนิ คา้ ทีม่ ีรอบระยะเวลาในการนาเขา้ หรือออก ท่ีนาน จะต้องการพื้นที่ในการจดั เก็บทีม่ ากข้ึน ส่วนคลังสนิ ค้าท่ีมีรอบระยะเวลาในการนาสนิ ค้าเข้า และออกที่ส้นั จะสามารถลดพ้ืนท่ีของคลังสนิ ค้าลงได้ ตัวอย่างเช่น คลังสินค้าแบบ Cross docking อาจจะไม่ตอ้ งมีพ้ืนที่ในการจดั เก็บสนิ ค้าเลยหรอื มปี รมิ าณทน่ี ้อยก็ได้ เปน็ ตน้ 4. การกาหนดขนาดของคลังสินค้าต้องคานึงปริมาณของสินค้าที่ต้องการจัดเก็บมากท่ีสุด เท่าท่ีต้องการ และรวมกับพืน้ ทส่ี าหรับกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีจะเกิดขึน้ ภายในคลงั สนิ ค้าดัง เช่น รูปแบบ การวางผังคลงั สินค้า ประเภทของชั้นวาง การจัดเก็บ การเคลื่อนย้าย อุปกรณ์ขนถ่าย และทางเดนิ หรอื ทางถนนทต่ี อ้ งการ และการใช้ พ้ืนท่ใี นแนวสูง เปน็ ตน้ 140 บทท่ี 6 | การจดั การคลังสนิ ค้า
อุปกรณเ์ คลอื่ นยา้ ยในคลงั สนิ คา้ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเคล่ือนย้ายและจัดเก็บภายในคลังสินค้า ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ ดงั ต่อไปนี้ (Bowersox, Closs and Cooper, 2009: 420) 1.พาเลท (Pallet) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการรวบรวมสินค้าเพื่อให้สะดวกต่อการเคล่ือนยา้ ย และบรรทกุ ไดม้ ากข้นึ ออกแบบมาใหส้ ะดวกต่อการใช้อุปกรณอ์ ่นื เคลื่อนย้าย มีทั้งที่ทาจากไม้และจาก พลาสติก ภาพที่ 6.12 แสดงพาเลทแบบพลาสติก (ที่มา: http://ipacfoamindustry.co.th/?page_id=3587, สืบคน้ 2 พ.ย. 2556) 2. แฮนดล์ ิฟต์ (Handlift) เปน็ อุปกรณท์ ่ใี ช้ระบบไฮโดรลิคในการควบคุมการยก โดยใช้แรง คนโยก และปัจจบุ ันพัฒนามาใชร้ ะบบแบตเตอร่ีแทน ภาพที่ 6.13 แสดงแฮนดล์ ฟิ ตแ์ บบมือโยก (ที่มา: http://www.plazathai.com/show-254001.html, สบื คน้ 2 พ.ย. 2556) การจดั การการจดั ส่งทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 141
3. รถยก (Folklift) เป็นอปุ กรณ์ท่สี ามารถใช้ยกสิ่งของทีม่ นี า้ หนักมาก เหมาะสาหรบั งานยก สนิ ค้าทวี่ างบนพาเลท ลกั ษณะเปน็ รถท่ใี ชค้ นบงั คบั และขับเคลอื่ น ภาพท่ี 6.14 แสดงรถยกแบบไฟฟ้า (ทีม่ า: http://bristolforklifttraining.com/, สบื ค้น 2 พ.ย. 2556) 4. สายพานลาเลียง (Conveyor) ออกแบบในการเคล่ือนย้ายในแนวราบ ในลักษณะ สายพานลาเลียง ภาพที่ 6.15 แสดงลกั ษณะสายพานลาเลยี ง (ท่ีมา: http://www.emicorp.com/conveyor/index.php, สบื ค้น 2 พ.ย. 2556) 142 บทที่ 6 | การจดั การคลงั สินค้า
5. ลิฟต์ขนสินค้า เป็นอุปกรณ์เคล่ือนย้ายสินค้าในแนวด่ิง สามารถออกแบบให้รองรับ นา้ หนักตามน้าหนกั ของสินคา้ ภาพท่ี 6.16 แสดงลฟิ ตย์ กสนิ ค้าข้ึนทส่ี งู 6. เครน / ปั้นจั่น เป็นอุปกรณ์ที่สามารถยกสินค้าท่ีมีน้าหนักมาก สามารถออกแบบตาม กาลงั รบั น้าหนัก สามารถเคลอื่ นย้ายสินคา้ ไดท้ ั้งแนวด่ิงและแนวราบ ภาพที่ 6.17 แสดงเครนแบบมอื คีบเหนอื ศรี ษะ (ท่มี า: http:// www.formationsalsace.com, สืบคน้ 2 พ.ย. 2556) การจัดการการจดั ส่งทางธรุ กิจ | Business Logistics Management 143
7.ระบบอัตโนมัติ เป็นระบบเคล่ือนย้ายและจัดเรียงสินค้าในคลังสินค้าแบบอัตโนมัติ ใช้ เทคโนโลยชี ้นั สงู ควบคมุ ด้วยระบบคอมพวิ เตอร์ และสามารถเช่ือมโยงขอ้ มูลกบั ระบบอื่น ๆ ได้ ภาพท่ี 6.18 แสดงระบบคลงั สนิ ค้าอัตโนมตั ิ (Automated Warehouse) (ที่มา: http://www.cssyes.com/Automated-Warehousing-Boxes/, สืบค้น 2 พ.ย. 2556) บทสรปุ การจดั การคลังสินค้า (Warehouse Management) เปน็ การจัดการในการรบั การจัดเกบ็ หมายถึง การจัดส่งสินค้าให้ผ้รู ับเพ่ือกิจกรรมการขาย เป้าหมายหลักในการบรหิ าร ดาเนนิ ธุรกจิ ใน ส่วนที่เกยี่ วขอ้ งกบั คลงั สนิ คา้ ก็เพื่อให้เกดิ การดาเนนิ การเป็นระบบใหค้ ้มุ กับการ ลงทนุ การควบคุม คณุ ภาพของการเก็บ การหยบิ สนิ คา้ การปอ้ งกัน ลดการสูญเสียจากการดาเนินงานเพ่อื ให้ต้นทุนการ ดาเนนิ งานตา่ ทสี่ ุด และการใช้ประโยชน์เตม็ ที่จากพ้นื ท่ี ประโยชน์ของคลังสินค้า ช่วยสนับสนุนการผลิต เป็นท่ีผสมผลิตภัณฑ์ เป็นท่ีรวบรวมสนิ ค้า และใช้ในการแบ่งแยกสนิ ค้าใหม้ ขี นาดเลก็ ลง กิจกรรมในคลงั สนิ ค้าแบ่งออกได้ 5 กิจกรรมท่สี าคญั ได้แก่ การรับของ (Receiving) การเคล่ือนย้ายภายในคลังสินค้า (Moving) การจัดเก็บ (Storing) การเบกิ จ่ายหรอื การเลอื กหยบิ (Picking) และการจัดสง่ (Shipping) 144 บทท่ี 6 | การจดั การคลงั สนิ ค้า
ประเภทของคลงั สนิ ค้าจาแนกคลงั สนิ ค้าตามลกั ษณะกายภาพประกอบดว้ ยคลงั สนิ คา้ ท่มี ดิ ชดิ คลังสนิ คา้ ทีม่ แี ตห่ ลังคา คลังสนิ ค้ากลางแจง้ คลงั สนิ คา้ ท่ีเปน็ ถงั หรือในลกั ษณะอนื่ คลังสนิ ค้าเคลือ่ นท่ี ได้ และคลังเก็บสนิ ค้าท่ีเป็นข้อมลู อิเลก็ ทรอนิกส์ จาแนกประเภทของคลังสินค้าตามลักษณะธุรกิจ แบ่งได้ 2 ประเภทคือ คลังสาธารณะและคลังส่วนตัวหรือคลังเอกชน หากจาแนกคลังสินค้าตาม ลักษณะงาน แบ่งได้ 3 ประเภทคือ คลังสินค้าสาหรับเกบ็ รักษาสนิ ค้า ศูนย์กระจายสินค้า และศูนย์ รวบรวมและกระจายสินค้า ตัวอย่างอุปกรณ์เคลื่อนย้ายในคลังสินค้า เช่น พาเลท แฮนด์ลิฟต์ รถยก สายพานลาเลียง ลิฟต์ขนสนิ ค้า เครน / ป้นั จัน่ และระบบอัตโนมตั ิ เป็นต้น แบบฝึ กหดั ทา้ ยบท 1. จงอธิบายความสมั พันธร์ ะหว่างคลงั สนิ คา้ กบั กิจกรรมโลจสิ ติกส์ 2. จงอธบิ ายกจิ กรรมในคลังสินคา้ 3. จงอธิบายความแตกตา่ งระหว่างคลงั สินคา้ สาธารณะกบั คลงั เอกชน พร้อมท้งั ขอ้ ดี-ขอ้ เสีย 4. จงวาดแผนภาพการดาเนนิ การภายในของศูนย์กระจายสนิ คา้ : DC และอธบิ ายกระบวนการ 5. จงวาดแผนภาพการดาเนนิ การภายในของศนู ยร์ วบรวมและกระจายสินคา้ : Cross Dock และ อธบิ ายกระบวนการ 6. ศนู ยก์ ระจายสนิ คา้ DC และ Cross Dock ทาใหต้ น้ ทุนขนส่งลดลงไดอ้ ยา่ งไร วาดแผนภาพและ อธบิ าย 7. จงอธิบายการใชง้ านอปุ กรณ์เคลื่อนย้ายภายในคลังสนิ คา้ การจัดการการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 145
เอกสารอา้ งองิ คานาย อภปิ รชั ญาสกลุ . (2553). การจดั การคลังสินคา้ (Warehouse Management). กรงุ เทพฯ: โฟกสั มเี ดีย แอนด์ พับลชิ ช่ิง, 21. ชมุ พล มณฑาทิพยส์ กลุ . (2550). เอกสารประกอบการสอนการจัดการซพั พลายเชน. บณั ฑติ วิทยาลัยการจดั การนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร,ี 75. วทิ ยา สหุ ฤทดารง. (2551). คมู่ ือการจัดการลอจสิ ตกิ ส์และการกระจายสนิ ค้า. กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พ์ อี. ไอ. สแควร์. Bowersox, D.J., Closs, D.J. and Cooper, M.B. (2009). Supply chain Logistics management. New York: McGraw- Hill Irwin, 420. TNT Express. TNT เปดิ คลงั สินคา้ สเี ขียวทปี่ ระเทศเนเธอรแ์ ลนด์, (2551) [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก: www.tnt.com/express/th_th/data/news/, [1 พ.ย. 2556]. 146 บทท่ี 6 | การจดั การคลังสนิ ค้า
แผนบรหิ ารการสอนประจาวชิ าบทที่ 7 การวางแผนอุปสงค์และการจดั การคาสงั่ ซ้ือ หัวข้อเน้ือหาประจาบท 1. การวางแผนอุปสงค์ 2. อุปสงค์ของลกู ค้า 3. ปัจจยั ท่มี ีอทิ ธพิ ลต่ออปุ สงค์ 4. กรอบระยะเวลาในการพยากรณ์ 5. การพยากรณ์อุปสงค์ 6. การจัดการคาสง่ั ซ้อื และบรกิ าร 7. การจัดการซพั พลายเออร์ 8. บทสรุป วัตถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถอธิบายการวางแผนอุปสงค์ ตัวแบบอุปสงค์ของลูกค้าและกรอบ ระยะเวลาในการพยากรณ์ 2. เพื่อใหผ้ ู้ศกึ ษาสามารถแสดงวธิ ีการหาคาตอบจากตวั แบบการพยากรณว์ ธิ ตี ่าง ๆ 3. เพอื่ ให้ผศู้ ึกษาสามารถอธิบายการจดั การคาส่ังซอื้ และบริการ 4. เพ่อื ใหผ้ ู้ศกึ ษาสามารถอธบิ ายการจดั การซัพพลายเออร์ วธิ ีการสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอนประจาบท 1. บรรยายเน้ือหาบทเรียนที่เกี่ยวกับการวางแผนอุปสงค์ อุปสงค์ของลูกค้า ปัจจัยท่ีมี อิทธิพลต่ออุปสงค์ กรอบระยะเวลาในการพยากรณ์ การพยากรณ์อุปสงค์ การจัดการ คาสั่งซื้อและบริการและการจดั การซพั พลายเออร์ 2. แสดงลักษณะและรูปร่างของขอ้ มูลด้วยกราฟ และอธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่างลกั ษณะ ของขอ้ มูลและเทคนคิ การพยากรณ์วิธตี า่ ง ๆ และแสดงวิธกี ารหาคาตอบบนกระดานอยา่ ง ละเอียด และเปิดโอกาสใหซ้ กั ถามในประเด็นที่ไม่เข้าใจหรอื สงสัย การจดั การการจดั สง่ ทางธุรกิจ | Business Logistics Management 147
3. มอบหมายแบบฝึกหัดเพ่ือให้นักศึกษาทบทวนความเข้าใจจากท่ีได้ศึกษาในบทเรียน ดังกล่าวภายในช่ัวโมงเรียน ทาการสุ่มถามนักศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะ รูปร่างของข้อมูลและการเลือกตัวแบบท่ีใช้ในการพยากรณ์ หลังจากน้ันให้ตัวแทน นกั ศกึ ษาออกมาแสดงวธิ กี ารหาคาตอบ และเปดิ โอกาสให้เพื่อน ๆ ในชน้ั เรยี นสอบถามใน ประเด็นทส่ี งสัย อาจารยจ์ ะทาหนา้ ทเี่ สรมิ ในประเดน็ ตา่ ง ๆ เพม่ิ เตมิ 4. มอบหมายแบบฝึกหัดเป็นการบ้าน เพ่ือเพิ่มทักษะในการหาคาตอบและทบทวนบทเรียน เพ่อื ทาความเขา้ ใจในเนอ้ื หามากย่ิงข้ึน สื่อการเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการการจัดสง่ ทางธรุ กจิ 2. เอกสารตา่ ง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ งในเอกสารอ้างอิง 3. ส่ือทศั นะวสั ดปุ ระกอบการสอน การวดั และประเมนิ ผล 1. การเขา้ ช้นั เรียนและการมสี ว่ นร่วมในชน้ั เรียน 2. การตอบคาถามในชนั้ เรยี นและการแสดงความคดิ เห็น 3. แบบฝกึ หัดทีม่ อบหมาย 148 บทที่ 7 | การวางแผนอปุ สงค์และการจดั การคาสัง่ ซอ้ื
บทท่ี 7 การวางแผนอปุ สงคแ์ ละการจดั การคาสง่ั ซ้อื การจัดการอปุ สงค์นี้จะเปน็ กุญแจสาคญั ตอ่ บริษัทในการจัดการโซ่อุปทาน การพัฒนาสินคา้ การปรับปรุงเทคโนโลยี การสนับสนุนการให้บริการ และการออกแบบองค์กร การจัดการอุปสงค์ เก่ียวข้องกับการเลือกเครื่องมอื ทางการตลาดอย่างระมัดระวัง และการทางานอย่างใกลช้ ิดกับลกู ค้า ของตน เมื่อเปน็ เช่นน้นั ทาให้อุปสงค์ท่หี ลงั่ ไหลเขา้ มาทีบ่ รษิ ัท และโซ่อปุ ทานจะเปน็ ตัวยกระดบั คณุ คา่ แก่สมาชิกทุกคนในโซ่อุปทาน การจัดการโซ่อุปทานจะเปน็ ด้านซือ้ (Buy-Side) ของบริษัท ส่วนการ จดั การอปุ สงค์จะเป็นดา้ นขาย (Sell-Side) ของบริษัท การดาเนนิ การเพยี งดา้ นใดดา้ นหน่ึงยอ่ มไม่เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดและเหมาะสมทสี่ ดุ เนื้อหาในบทนจ้ี ะกลา่ วถึงการวางแผนอุปสงค์ อปุ สงค์ของลูกค้า ปจั จัยทมี่ ีอทิ ธพิ ลต่ออุปสงค์ กรอบระยะเวลาในการพยากรณ์ การพยากรณ์อปุ สงค์ การจดั การคาส่ังซอ้ื และบรกิ าร และการจดั การ ซัพพลายเออร์ การวางแผนอปุ สงค์ การวางแผนอุปสงค์ประกอบไปด้วยกระบวนการต่าง ๆ ที่บริษัทใช้คาดคะเนความต้องการ ของลูกคา้ และการสรา้ งความม่ันใจว่าสามารถส่งมอบสนิ คา้ ใหล้ ูกคา้ ไดเ้ พยี งพอ ในสถานทแ่ี ละเวลาที่ เหมาะสม โดยที่มีค่าใช้จ่ายของโซ่อุปทานท่ีต่าที่สุด ดังน้ันการวางแผนอุปสงค์จึงสัมพันธ์กันกับ กิจกรรมในโซอ่ ุปทาน ได้แก่ การพยากรณอ์ ปุ สงค์ การจัดการสนิ ค้าคงคลงั การวางแผนการผลติ การ จดั ตารางเวลา และการวางแผนความต้องการวตั ถุดิบ การจัดการการจดั ส่งทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 149
คลังสินคา้ คลงั สนิ ค้า คลังสนิ คา้ คลังสนิ ค้า ผู้ขายปจั จยั โรงงานผลิต ศูนยก์ ระจาย ช่องทาง ผู้บริโภค สนิ ค้า จดั จาหนา่ ย วางแผนการจดั หา จดั ตารางเวลา วางแผนการผลิต บริหารสนิ คา้ คงคลงั พยากรณอ์ ปุ สงค์ ภาพท่ี 7.1 แสดงกจิ กรรมทสี่ ัมพันธก์ ันกบั การวางแผนอปุ สงค์ อปุ สงคข์ องลกู คา้ ในการจาหน่ายสนิ ค้า สามารถพจิ ารณาลกั ษณะอปุ สงคข์ องลูกคา้ จากยอดขายสินค้าใน ชว่ งเวลาหน่ึง เพอ่ื นาข้อมลู มาตัดสินใจในการวางแผนอปุ สงค์ ลักษณะอุปสงคต์ ่าง ๆ มีดงั นี้ 1.อุปสงค์ค่อนขา้ งคงท่ี เมือ่ ระยะเวลาเปลย่ี นไปลกั ษณะอปุ สงคป์ ระเภทน้ีจะไมแ่ ตกตา่ งไป จากเดิมมากนกั เกดิ ขนึ้ ในกรณีทธ่ี ุรกิจอยูใ่ นช่วงอมิ่ ตัวท่ีมียอดขายไม่เปลีย่ นแปลงมาก อุปสงค์ 700 600 500 400 300 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เวลา ภาพที่ 7.2 แสดงอปุ สงคท์ คี่ ่อนข้างคงที่ 150 บทท่ี 7 | การวางแผนอปุ สงคแ์ ละการจดั การคาส่ังซอ้ื
2.อปุ สงคต์ ามฤดกู าล ลักษณะอปุ สงคจ์ ะมกี ารเปล่ียนแปลงขนึ้ ลงในช่วงเวลาหนึ่ง ซงึ่ จะเกดิ ซ้าในช่วงเวลาเดมิ ในลักษณะฤดูกาล อุปสงค์ 700 600 500 400 300 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เวลา ภาพที่ 7.3 แสดงอปุ สงคต์ ามฤดกู าล 3.อปุ สงคม์ ีแนวโนม้ เพ่มิ สูงข้ึน ลักษณะอุปสงคจ์ ะมกี ารเปลีย่ นแปลงเพิม่ ข้ึนตามระยะเวลาที่ เพ่ิมขึ้น อุปสงค์ประเภทนี้เกิดในช่วงท่ีผลิตภัณฑ์อยู่ในช่วงเติบโต หรือผลจากการกระตุ้นตลาดจาก ฝ่ายขาย อุปสงค์ 700 600 500 400 300 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เวลา ภาพที่ 7.4 แสดงอปุ สงค์ทม่ี ีแนวโน้มเพ่มิ สงู ขึน้ การจัดการการจดั ส่งทางธุรกจิ | Business Logistics Management 151
4.อุปสงคม์ แี นวโน้มลดลง ลักษณะอุปสงค์จะลดลงเร่อื ย ๆ ตามระยะเวลาที่เพม่ิ ขึ้น อุปสงค์ ประเภทนเี้ กดิ ขึ้นในช่วงผลิตภณั ฑ์ถดถอยหรอื เสอื่ มความนิยม อปุ สงค์ 700 600 500 400 300 เวลา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ภาพที่ 7.5 แสดงอปุ สงคท์ ม่ี ีแนวโนม้ เพ่มิ ลดลง ปัจจยั ท่ีมอี ทิ ธิพลต่ออปุ สงค์ ปัจจัยท่ีส่งผลต่ออุปสงค์ประกอบไปด้วยปัจจัยภายนอก และปัจจัยภายใน ซ่ึงทาให้อุปสงค์ เปลี่ยนไปประกอบไปดว้ ย 1.ปัจจัยภายนอก เป็นปัจจัยท่ีข้ึนกับสภาพแวดล้อมภายนอกทางธุรกิจ และสภาพการ แข่งขนั ซ่ึงองค์กรไม่สามารถเขา้ ไปจัดการมีดังน้ี - รายได้ของผู้บริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้และปริมาณการเสนอซ้ือสินค้า ขึ้นอยู่กับชนิดของ สินค้า ในกรณีสินค้าปกติ (Normal Goods) และสินค้าฟุ่มเฟือย (Superior Goods) รายได้และปริมาณการเสนอซ้อื สนิ ค้าของผู้บริโภคจะมีความสัมพันธใ์ น ทิศทาง เดียวกัน ส่วนในสินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) รายได้และปริมาณการเสนอ ซือ้ สินคา้ ของผบู้ รโิ ภคจะมีความสัมพันธ์ในทศิ ทางตรง กนั ข้าม - ระดับราคาสินคา้ ชนิดอ่ืน ปริมาณการเสนอซอ้ื สนิ ค้าถูกกาหนด โดยราคาสินค้า ชนิดอ่ืนด้วย เนื่องจากสินค้าท่ีซ้ือขายในตลาดมีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ สินค้าบางชนิด สามารถใช้แทน กันได้ ( Substitute goods) หรือสินค้าบางชนิดต้องใช้ร่ วม กั น 152 บทท่ี 7 | การวางแผนอปุ สงค์และการจดั การคาสง่ั ซือ้
(complementary goods) ดงั นัน้ การทผ่ี ู้บริโภคจะซอื้ สินค้าชนดิ ใดชนิดหนึง่ ปรมิ าณเท่าใด ตอ้ งพิจารณาถงึ ราคา ของสินค้าชนดิ อนื่ ทส่ี มั พันธก์ ันดว้ ย - รสนิยมของผู้บริโภค รสนิยมของบุคคลโดยท่ัวไปจะแตกต่างกันไปตาม อายุ อาชีพ ขนบธรรมเนียมประเพณี ระดับการศึกษา และบุคลิกส่วนตัว นอกจากน้ียัง เปลีย่ นแปลงตามกาลเวลา ยคุ สมยั นอกจากน้ีความนยิ มในแต่ละสนิ ค้ายงั เปล่ียนแปลงไดเ้ ร็ว ช้าแตกต่างกนั ขน้ึ อยู่ กบั สินคา้ ท่ีพิจารณา - การคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต การคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคตเปน็ ปัจจยั หนึ่งทที่ าใหอ้ ุปสงค์ของสนิ คา้ เปลย่ี นแปลงไป ขน้ึ อยกู่ บั การคาดคะเนของผู้บรโิ ภคแต่ละคน - ขนาดและโครงสร้างของประชากร โดยปกติถ้าจานวนประชากรเพ่ิมขึ้นอุปสงค์ ของสินค้าแทบทุกชนิดย่อมเพ่ิมขึ้น แต่ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับลักษณะโครงสร้างประชากรด้วย ลกั ษณะโครงสรา้ งประชากรมีผลให้อปุ สงคข์ องสินค้าบางชนิดเพิ่มขึ้นและบางชนิดลดลง -ปัจจัยอ่ืน ๆ การท่ีผู้บริโภคจะมีอุปสงค์ต่อสินค้ายังข้ึนอยู่กับอีกหลายปัจจัย เช่น อุปนิสยั ในการใชจ้ า่ ย ลกั ษณะการจดั เก็บภาษีของรฐั อัตราดอกเบีย้ เป็นตน้ 2.ปจั จัยภายใน เปน็ ปจั จยั ท่อี งคก์ รสามารถบริหารจัดการไดโ้ ดยตรง ซง่ึ ปจั จัยท่ีเกี่ยวข้องกบั อปุ สงคจ์ ะสมั พนั ธก์ นั กบั กิจกรรมทางการตลาดของบริษทั ดังตอ่ ไปนี้ - ผลิตภัณฑ์ (product) ผลิตภัณฑ์ที่มีอรรถประโยชน์ (utility) มีคุณค่า (value) จะส่งผลต่ออุปสงค์ท่ีเพิ่มขึ้น พิจารณาจากองค์ประกอบ (คุณสมบัติ) ของผลิตภัณฑ์ (product component) เช่น ประโยชน์พ้ืนฐาน รูปร่างลักษณะ คุณภาพ การบรรจุภัณฑ์ และตราสนิ ค้า เป็นตน้ - ราคา (price) ราคาเปน็ ตน้ ทุน (cost) ของลูกค้า ผู้บริโภคจะเปรยี บเทียบระหวา่ ง คุณค่า (value) ผลิตภัณฑ์กับราคาผลิตภัณฑ์นั้น ถ้าคุณค่าสูงกว่าราคาผู้บริโภคจะตัดสินใจ ซื้อ ซ่ึงราคาจะแปรผกผนั กับอปุ สงคเ์ สมอ การจดั การการจดั ส่งทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 153
- การจัดจาหนา่ ย (place or distribution) ชอ่ งทางการกระจายสินค้าสูผ่ ู้บรโิ ภค ทาใหผ้ ู้บรโิ ภคสามารถเข้าถงึ สนิ คา้ ไดง้ า่ ยข้ึน และส่งผลตอ่ การตัดสินใจซอ้ื ของผู้บริโภค ช่อง ทางการจัดจาหน่ายจะสมั พันธใ์ กล้ชดิ กบั กจิ กรรมโลจิสติกส์ - การส่งเสริมการตลาด (promotion) เป็นการติดต่อส่ือสารเกี่ยวกับข้อมูล ระหวา่ งผ้ขู ายกบั ผู้ซอื้ เพือ่ สรา้ ง ทศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมการซื้อ การเลือกใชก้ ลยทุ ธท์ ่ีเหมาะสม ในการสง่ เสรมิ การตลาดทาให้ผ้บู รโิ ภคตดั สนิ ใจซอ้ื สินคา้ เพ่มิ ข้ึน สง่ ผลต่ออุปสงค์ทเ่ี พม่ิ ข้ึน ดังน้ันบริษัทจะต้องรับมือกับอุปสงค์ที่เปลยี่ นแปลงไป ซ่ึงหากการคาดการณ์อุปสงค์ที่มาก เกินไปจะสง่ ผลต่อต้นทุนเกบ็ รักษา รวมทงั้ ตน้ ทมุ จมไปกบั สินค้า แต่หากคาดการณ์อุปสงค์นอ้ ยเกินไป จะสง่ ผลต่อต้นทนุ เสยี โอกาส เป้าหมายการจัดการอปุ สงค์แสดงดงั ภาพท่ี 7.6 700 700 600 600 500 500 400 400 300 300 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 การพยากรณอ์ ุปสงค์ การวางแผนอปุ สงค์ ภาพท่ี 7.6 แสดงเปา้ หมายการจดั การอปุ สงค์ กรอบระยะเวลาในการพยากรณ์ การพยากรณ์ขน้ึ กบั กรอบเวลา โดยมรี ายละเอยี ดต่อไปนี้ 1. การพยากรณร์ ะยะสั้น เป็นการพยากรณ์ในช่วงระยะเวลาทีต่ ่ากว่า 3 เดือน ใช้พยากรณ์ แตล่ ะสินค้าแยกเฉพาะ เพื่อใชใ้ นการบริหารสินค้าคงคลัง การจัดตารางการผลิตสายการประกอบหรอื การใช้แรงงานในช่วงเวลาแต่ละสัปดาห์ แต่ละเดือน หรือแต่ละไตรมาศ หรืออีกนัยหนึ่งคือการ พยากรณร์ ะยะสนั้ ใชใ้ นการวางแผนระยะสัน้ 154 บทท่ี 7 | การวางแผนอปุ สงค์และการจดั การคาสง่ั ซื้อ
2. การพยากรณ์ระยะปานกลาง เป็นการพยากรณ์ในช่วงระยะเวลาที่มากกว่า 3 เดือน จนถึง 2 ปี ใช้พยากรณ์ท้ังกลุ่มของสินค้าหรือยอดขายรวมขององค์การ เพ่ือใช้ในการวางแผนด้าน บุคลากร การวางแผนการผลติ การจัดตารางการผลติ รวม การจัดซ้อื และการกระจายสินคา้ ระยะเวลา ท่ีนิยมพยากรณ์คือ 1 ปี เพราะเป็นหนึ่งรอบระยะเวลาบญั ชีพอดี การพยากรณ์ระยะปานกลางใช้ใน การวางแผนระยะปานกลาง 3. การพยากรณ์ระยะยาว เป็นการพยากรณ์ในช่วงระยะเวลา 2 ปีขึ้นไป ใช้พยากรณ์ ยอดขายรวมขององค์การ เพื่อใช้ในการเลือกทาเลท่ีตั้งของโรงงานและส่งิ อานวยความสะดวก การ วางแผนกาลงั การผลิต และการจดั การกระบวนการผลติ ในระยะยาว การพยากรณร์ ะยะยาวใช้ในการ วางแผนระยะยาว การพยากรณอ์ ุปสงค์ ในการพยากรณ์อุปสงคม์ เี ทคนคิ การพยากรณ์ 2 ประเภทได้แก่ 1. การพยากรณ์เชิงคุณภาพ (Qualitative forecasting) เป็นการพยากรณ์โดยใช้ วิจารณญาณ (Judgment Method) และประสบการณ์ของผู้พยากรณ์ โดยแบ่งการพยากรณ์ออก เปน็ ได้ดงั นี้ 1.1 การพยากรณ์ โดยอาศัยความคิดเห็นของพนักงานขาย (Sale force Composite) วธิ ีการพยากรณโ์ ดยวิธีนเี้ ปน็ วิธกี ารพยากรณ์ท่อี าศัยความคดิ เห็นของพนักงาน ขาย ซึ่งข้อมูลที่ได้เปน็ ข้อมลู ที่เกิดจากความต้องการของตลาดโดยตรง โดยทาการรวบรวม ความคิดเห็นของพนักงานขายในแต่ละเขตพื้นท่ีทร่ี บั ผิดชอบและกลั่นกรองโดยวิจารณญาณ อกี ขั้นหนึง่ เพอื่ พยากรณค์ วามต้องการของตลาด 1.2 ความคิดเห็นของผู้บริหาร (Executive Opinion) วิธีการพยากรณ์โดยวิธนี ี้ จะอาศัยความคิดเห็นของกลมุ่ ผู้บริหารระดับสงู เปน็ เกณฑ์ ซ่ึงใช้ในการตดั สนิ ใจท่ไี ม่สามารถ ทราบถึงข้อมูลในอดตี เชน่ การตดั สินใจนาผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสูต่ ลาด (ซึ่งไม่เคยมผี ลิตภัณฑ์น้ี มากอ่ น) ซึ่งวธิ ีการพยากรณ์วธิ ีน้ีจะมีความเสีย่ งสงู หากผ้พู ยากรณ์ไม่มีประสบการณ์ การจดั การการจดั สง่ ทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 155
1.3 การสารวจตลาดผู้บริโภค (Consumer Market Survey) วิธีการพยากรณ์ โดยวิธีน้ีจะทาการสารวจความต้องการของลกู ค้าหรือผู้บริโภค ไม่ว่าจะใช้วิธีการสัมภาษณ์ หรือใช้แบบสอบถาม ซ่ึงวิธีการน้จี ะมคี วามน่าเช่ือถอื สูง แต่ก็ใชเ้ วลาและคา่ ใชจ้ า่ ยสูง 1.4 วิธีเดลฟาย (Delphi Method) วิธีการพยากรณ์โดยวิธีนี้จะอาศัยข้อมูลจาก ผู้เช่ียวชาญพิเศษ บริษัทท่ีปรึกษาหรือบุคคลที่มีประสบการณ์โดยตรง ซึ่งวิธีการน้ีสะดวก รวดเร็ว แตก่ ม็ คี า่ ใช้จ่ายทีส่ ูง 2. การพยากรณ์เชงิ ปริมาณ (Quantitative forecasting) เป็นการพยากรณโ์ ดยใช้ข้อมลู ในอดีตในช่วงระยะเวลาหน่ึง ในการวางแผนอปุ สงค์นิยมใช้รอบระยะเวลา 1 ปี ตามการรายงานทาง บัญชีมาใช้ในการพยากรณ์ โดยนามาวิเคราะห์โดยใช้หลักเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์และสถิติ โดยแบ่ง ออกเป็น 2 ตัวแบบใหญ่ ได้แก่ ตัวแบบอนุกรมเวลา และตัวแบบความสัมพันธ์ โดยเล่มนี้จะอธบิ าย เฉพาะตวั แบบอนุกรมเวลาซงึ่ ใชห้ ลกั การทว่ี า่ อดีตเป็นตวั ช้ีอนาคต การพยากรณ์ในอนาคตไม่วา่ จะเปน็ ยอดขาย จานวนลกู คา้ ต้นทุน ฯลฯ จะนาข้อมูลในอดตี มาพยากรณ์ โดยทใ่ี นการพยากรณ์ส่งิ ใด จะใช้ ข้อมูลในอดีตในส่งิ นน้ั มาทาการวิเคราะห์ ไม่เกีย่ วขอ้ งกบั ขอ้ มูลตัวอนื่ การพยากรณ์ตอ้ งพจิ ารณาจาก ลกั ษณะอปุ สงคด์ ังต่อไปนี้ 2.1 อุปสงคค์ อ่ นข้างคงที่ การพยากรณ์ใชว้ ธิ ีนาอฟี (naive Approach) เปน็ วธิ กี าร โดยใช้คา่ พยากรณท์ ี่ต้องการทราบ เทา่ กับข้อมูลสดุ ทา้ ยในอดีตที่ผา่ นมา ตวั อยา่ ง 7.1 จากการเก็บข้อมูลของบรษิ ัทแห่งหนึง่ ในรอบ 12 เดือนไดข้ อ้ มลู ดังต่อไปนี้ เดือนท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ยอดสง่ั ซ้อื 220 225 218 222 220 217 224 221 220 225 บริษัทควรวางแผนอุปสงคใ์ นเดอื นที่ 11 เทา่ กับเท่าใด 156 บทที่ 7 | การวางแผนอปุ สงคแ์ ละการจดั การคาสง่ั ซอ้ื
วธิ ที า พิจารณาลกั ษณะข้อมลู จากการสรา้ งกราฟ อุปสงค์ เวลา เมื่อพิจารณาจากลักษณะกราฟข้อมูลค่อนข้างคงที่ ใช้วิธีนาอีฟ นั่นคือเดือนท่ี 11 ใช้ค่า พยากรณ์ตามเดอื นท่ี 10 เทา่ กบั 225 หนว่ ย ตอบ ค่าพยากรณ์เดือนท่ี 11 เท่ากบั 225 หน่วย 2.2 อุปสงค์ที่มีแนวโน้มเพ่ิมสงู ขนึ้ หรือลดลง การพยากรณ์สามารถใช้วิธีแนวโนม้ สมการถดถอย (Linear Regression) และ วธิ ีกาลังสองนอ้ ยทสี่ ุด (Least Squares Method) ในเล่มน้ีจะกล่าวถงึ วธิ ีกาลังสอยน้อยทส่ี ดุ วิธีกาลังสองน้อยที่สุด (Least Squares Method) วิธีนี้เป็นวิธีที่ใช้เทคนิค แคลคูลัสเข้าช่วยเพ่ือหาค่าคงท่ีในสมการที่ทาให้ผลรวมของกาลังสองของความแตกต่าง ระหว่างค่าจริงกับค่าท่ีประมาณข้ึนมีค่าน้อยทีสุด ซึ่งคล้าย ๆ กับ Linear Regression มี สมการดงั น้ี (Heizer and Render, 2011: 151) สมการพยากรณ์ Y = bX+a 7.1) 7.2) b = XY X2 a = Y = Y 7.3) n การจดั การการจดั ส่งทางธุรกจิ | Business Logistics Management 157
โดยท่ี Y = อุปสงค์ที่พยากรณ์ X = เวลา a = จุดตัดแกน Y b = ความชันกราฟ สาหรับข้อมูลอนุกรมเวลา ข้อมลู ทไ่ี ด้จะมีความสัมพนั ธ์ กับเวลาเช่น เดือน ปี ซึ่งไม่สะดวก ในการนามาคานวณหาสมการแนวโนม้ ดังนนั้ จงึ ต้องกาหนดค่าบางคา่ ข้นึ มาเพื่อเป็นตัวแทนของเวลา น้นั ๆ โดยปกตจิ ะให้ X แทนเวลาโดยทวั่ ไปแลว้ จะให้ผลรวมของ X มคี า่ เท่ากับศูนย์ และชว่ งห่างของ แตล่ ะปจี ะมคี ่าเทา่ กนั ซ่ึงมีหลักการในการกาหนดค่า X ดงั นี้ 1.กรณีทจี่ านวนขอ้ มลู เป็นเลขคี่ จะกาหนดเวลาตรงกลางเท่ากับ ศนู ย์ เวลากอ่ นหน้าจะเป็น ลบ และเวลาหลังจุดตรงกลางจะเปน็ บวก เชน่ เดือนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 X -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 2.กรณขี อ้ มลู เป็นเลขคู่ จะกาหนดใหค้ ู่เวลาตรงกลาง เปน็ 1 และ –1 และเดอื นถดั ไปจะมชี ว่ ง ห่างเดอื นละ 2 เช่น เดือนท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 X -9 -7 -5 -3 -1 1 3 5 7 9 ตัวอย่าง 7.2 จากการเก็บข้อมลู ยอดขายของบริษทั แหง่ หนึง่ ในปี 2556 ได้ขอ้ มูลดงั ตอ่ ไปน้ี เดือนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ยอดสั่งซื้อ 110 135 142 154 169 174 189 199 220 232 บริษัทควรวางแผนอุปสงคใ์ นเดือนท่ี 11 เท่ากบั เทา่ ใด 158 บทท่ี 7 | การวางแผนอปุ สงค์และการจดั การคาสั่งซ้ือ
วธิ ที า พิจารณาลกั ษณะข้อมลู จากการสรา้ งกราฟ ยอดส่ังซื้อ (หน่วย) เดือน เมอ่ื พจิ ารณาลกั ษณะกราฟพบว่ามแี นวโน้มสูงข้ึน เลือกใช้วธิ ีวิธกี าลังสอยนอ้ ยทสี่ ดุ เดือนท่ี Y X X*Y X2 1 110 -9 -990 81 2 135 -7 -945 49 3 142 -5 -710 25 4 154 -3 -462 9 5 169 -1 -169 1 6 174 1 174 1 7 189 3 567 9 8 199 5 995 25 9 220 7 1,540 49 10 232 9 2,088 81 ผลรวม 1,724 0 2,088 330 การจดั การการจดั สง่ ทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 159
จาก a = Y = Y n a = 1,724 = 17.24 10 และ b = XY X2 สมการพยากรณ์ b = 2,038 = 6.327 330 Y = 6.327X+17.24 พยากรณเ์ ดือนที่ 11 แทน X = 11 จะได้ Y = 6.327(11)+17.24 = 242 หน่วย ตอบ ค่าพยากรณเ์ ดอื นที่ 11 เทา่ กบั 242 หนว่ ย 2.3 อปุ สงค์ตามฤดูกาล การพยากรณ์มีตวั แบบในการพยากรณ์หลายวิธีเช่น การใช้ ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average) วิธีค่าปรับเรียบ (Exponential Smoothing) และวิธี ดัชนฤี ดกู าล (Seasonal Index) ในเลม่ น้ีจะกลา่ วถึงเฉพาะวธิ ดี ัชนีฤดูกาล (Seasonal index) ดงั ต่อไปน้ี ขั้นที่ 1 หาสมการแนวโนม้ จาก YF = bX+a ขั้นท่ี 2 หาค่าอตั ราส่วนยอดขายจริงและจากสมการแนวโนม้ (Y / YF )x100 ขั้นที่ 3 สรา้ งตารางสัดสว่ นต่อคา่ แนวโนม้ หาผลรวมแยกตามฤดูกาล, หาคา่ เฉล่ยี แต่ ละฤดกู าล ซง่ึ สว่ นใหญ่จะแบ่งเป็นไตรมาส ข้นั ที่ 4 ปรบั แก้ค่าดัชนฤี ดูกาล (S) ให้ผลรวมของคา่ เฉล่ียมีคา่ เท่ากบั 400 ขั้นที่ 5 หาคา่ พยากรณจ์ าก (YFxS) / 100 160 บทท่ี 7 | การวางแผนอปุ สงคแ์ ละการจดั การคาสั่งซ้ือ
ตัวอยา่ ง 7.3 จากการเก็บข้อมูลยอดขายของบริษทั แห่งหนึง่ ในปี 2552-2554 ได้ข้อมลู ดงั น้ี ปี Q1 Q2 Q3 Q4 2552 (ตัน) 132 215 154 127 2553 (ตัน) 148 240 169 135 2554 (ตนั ) 160 255 175 143 วิธีทา พจิ ารณาลักษณะข้อมลู จากการสร้างกราฟ 300 250 200 150 100 50 0 Q1 Q2 Q3 Q4 2552 (ตนั ) 2553 (ตนั ) 2554 (ตนั ) จากกราฟจะเห็นวา่ ลกั ษณะยอดขายเปน็ แบบฤดูกาลและมีแนวโน้มเพิ่มขน้ึ ทุกปี สามารถใช้ ดัชนีฤดกู าล (Seasonal index) ในการพยากรณ์ดังนี้ 1. หาสมการแนวโน้มจาก YF = bX+a และ หาค่าอัตราส่วนยอดขายจริงและจาก สมการแนวโนม้ จาก (Y / YF )x100 การจัดการการจดั ส่งทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 161
ปี Q Y X X*Y X2 YF (Y / YF )x100 2552 1 132 -11 -1,452 121 161.07 81.95 2 215 -9 -1,935 81 162.89 131.99 3 154 -7 -1,078 49 164.71 93.50 4 127 -5 -635 25 166.53 76.26 2553 1 148 -3 -444 9 168.35 87.91 2 240 -1 -240 1 170.17 141.04 3 169 1 169 1 171.99 98.26 4 135 3 405 9 173.81 77.67 2554 1 160 5 800 25 175.63 91.10 2 255 7 1,785 49 177.45 143.70 3 175 9 1,575 81 179.27 97.62 4 143 11 1,573 121 181.09 78.97 รวม 2,053 0 523 572 - - จาก b = XY = 523 = 0.91 X2 572 และ a = Y = 2,053 = 171.08 n 12 จะได้ YF = 0.91X+171.08 ตวั อย่างนาไปแทนคา่ เชน่ Q3 ของ ปี 2553 จะได้ YF = 0.91(1)+171.08 = 171.99 หน่วย หา (Y / YF )x100 ตัวอยา่ งนาไปแทนคา่ เช่น Q3 ของ ปี 2553 จะได้ (169/171.99) x 100 = 98.26 162 บทท่ี 7 | การวางแผนอปุ สงคแ์ ละการจดั การคาสง่ั ซือ้
2. สร้างตารางสัดส่วนต่อค่าแนวโนม้ หาผลรวมแยกตามฤดูกาล, หาคา่ เฉลย่ี แต่ละฤดกู าล ปี สดั สว่ น (Y / YF )x100 Q1 Q2 Q3 Q4 2552 81.95 131.99 93.50 76.26 2553 87.91 141.04 98.26 77.67 2554 91.10 143.70 97.62 78.97 รวม 260.96 416.73 289.38 232.90 เฉล่ยี 86.99 138.91 96.46 77.63 ดัชนีฤดูกาล (S) 86.99 138.91 96.46 77.64 ค่าเฉล่ยี รวม = (86.99+138.91+96.46+77.63) / 4 = 399.99 หาคา่ ดชั นฤี ดูกาล (S) โดยการปรับแก้ค่าเฉลยี่ รวมให้เป็น 400 ดังน้ี ปรบั ค่า 399.99 เป็น 400 Q1 86.99 เปน็ (86.99*400)/399.99 = 86.99 Q2 138.91 เป็น (138.91*400)/399.99 = 138.91 Q3 96.46 เป็น (96.46*400)/399.99 = 96.46 Q4 77.63 เปน็ (77.63*400)/399.99 = 77.64 ทาการพยากรณป์ ี 2555 ไตรมาศท่ี 1-4 ไดโ้ ดย หาค่า (YFxS) / 100 ได้ดังน้ี ปี 2555 Q1 Q2 Q3 Q4 X 13 15 17 19 YF= 171.08 + 0.91X 182.91 184.73 186.55 188.37 S 86.99 138.91 96.46 77.64 (YFxS) / 100 159.11 256.61 179.95 146.24 ตอบ ค่าพยากรณป์ ี 2555 Q1 ถงึ Q4 เทา่ กบั 159.11, 256.61, 179.95 และ 146.24 ตันตามลาดับ การจัดการการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 163
การจดั การคาสง่ั ซ้อื และบรกิ าร การจัดการคาส่ังซื้อและบริการ เป็นการจัดการข้อมูลท่ีเกิดจากคาส่ังซื้อของลูกค้า โดยทา หน้าท่ีประสานข้อมูลกิจกรรมโลจิสติกส์ ข้อมูลจากลูกค้าจะถูกส่งมายังกิจกรรมกระจายสินค้า ส่ง ตอ่ มายังกิจกรรมการผลติ และ กิจกรรมจัดซ้อื จัดหา เพ่อื ประสานข้อมูลใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพภายในโซ่ อุปทาน เป้าหมายเพื่อลดระยะเวลาการดาเนนิ การคาสัง่ ซ้ือ (Inbound Order) สามารถตอบวันที่ส่ง สินคา้ ได้ทันที และสร้างความม่นั ใจให้แก่ผขู้ ายวา่ ไม่มกี ารตอบรบั คาส่งั ซือ้ เกินกาลงั ความ สามารถใน การผลติ และสามารถสง่ มอบสนิ ค้าได้ตามท่ีกาหนดโดยเม่อื มีการรับคาสงั่ ซ้ือจากลูกค้า และสร้างความ ม่นั ใจให้กับลูกค้าในการส่งมอบ ปัญหาที่เกิดข้ึนในห่วงโซ่อุปทานเนื่องจากการขาดการส่ือสารท่ีดีว่าอุปสงค์ของ ลูกค้าท่ี แท้จริงเป็นเท่าใด ทาให้เกิดความเข้าใจคาสั่งซ้ือของลูกค้าตนเองผิดไป ปัญหาท่ีเกิดขึ้นน้ีเรียกว่า ปรากฏการณแ์ ส้มา้ (Bullwhip Effect) (Jacobs, et. al., 2009: 361) โดยท่ัวไปแล้ว ธุรกิจจะมีการเก็บสินค้าอยู่จานวนหนึ่งนอกเหนือจากปริมาณสินค้าคงคลัง ตามปกติ เรยี กว่า safety stock เป็น ความพยายามลดความเส่ียงไม่ใหเ้ กดิ ภาวะสนิ คา้ ขาดมือหากอปุ สงค์ของลูกค้าตา่ ง ไปจากปกติ เมอื่ ผู้เกย่ี วข้องทอ่ี ย่ปู ลายน้ามีการจาหนา่ ยบางส่วนของ safety stock ไป ก็จะทาการเตมิ สนิ ค้าตรงสว่ นนีท้ ี่อยู่นอกเหนอื ไปจากอปุ สงคป์ กติ ซงึ่ นาไปสู่การตคี วามอุปสงคข์ อง ลูกค้าอย่างผิด ๆ สาหรับพลายเออร์ และตามมาด้วยการเก็บสินค้าคงคลังมากขึ้น และส่งคาสั่งซ้อื จานวนย่ิงมากขึ้นไปสู่ผู้เก่ียวข้องต้นน้า เมื่อมองทั้งห่วงโซ่อุปทาน การตีความอุปสงค์ท่ีแท้จริงของ ลกู คา้ บดิ เบอื นไปจะยง่ิ ทวคี วามรนุ แรงเพิม่ มาก ขึ้นเรื่อยๆ จากปลายน้าถงึ ผผู้ ลติ ณ ต้นน้า นาไปส่กู าร เกดิ ภาวะสนิ คา้ ขาดมือ ตามมาดว้ ยการผลิตจานวนมาก และสดุ ทา้ ยคอื การมจี านวนสนิ ค้าคงคลงั มาก เกนิ ความจาเปน็ 164 บทที่ 7 | การวางแผนอปุ สงคแ์ ละการจดั การคาสง่ั ซื้อ
สาเหตุของปรากฏการณแ์ ส้มา้ (Bullwhip Effect) คือการไม่ร้ขู ้อมูลอปุ สงค์ทีแ่ ท้จริงของ ลกู คา้ ณ ปลายน้า อาจเกิดจากสาเหตุประกอบดงั นี้ - การพยากรณ์ผิดพลาดหรอื ขาดการอพั เดทข้อมูล ทาให้ซัพพลายเออร์เข้าใจอุปสงคข์ อง ลูกคา้ ผิดตามไปดว้ ย - ระยะเวลานาไม่แนน่ อน (Lead time variability) ทาใหล้ ูกคา้ กลวั วา่ จะไม่ไดร้ บั สินค้าใน เวลาทีต่ ้องการ จึงมกี ารสง่ั สนิ คา้ เผอ่ื ไวแ้ ล้วเกบ็ เป็นสินค้าคงคลงั - Order Batching อุปสงค์ของลูกค้าอาจะไม่ได้มีมากครบตามจานวน batch ที่ตกลงไว้ กบั ซัพพลายเออร์ แตเ่ น่อื งจากเป็นข้อกาหนดว่าต้องสัง่ สินคา้ ทีละ batch จงึ ทาให้อุปสงค์ ของลกู ค้าทีแ่ ท้จรงิ ดูมากข้ึน - ความแปรปรวนของราคาทาให้เกิดการซ้ือเพือ่ กกั ตุนสนิ คา้ - การจัดส่วนส่งเสริมการขาย ทาให้เกิดการซื้อเพ่ือกักตุนสินค้าหรือซ้ือมากกว่าความ ต้องการท่ีแท้จริง หากผู้เก่ียวข้องไม่มีการแลกเปล่ียนข้อมูลต่อกันว่ามีการทาโปรโมช่ัน ลกั ษณะ น้ี จะนาไปสู่ความเข้าใจอุปสงค์ลกู ค้าผิดพลาดอยา่ งมากตอ่ ๆ ไปในทางตน้ น้า การลดความรุนแรงของปรากฏการณ์แส้ม้า (Bullwhip Effect) เน่ืองจาก Bullwhip Effect เกดิ จากการขาดการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้เกีย่ วข้องในห่วงโซ่อปุ ทาน ดังนัน้ การร่วมมือ กนั ส่อื สารกนั มากขนึ้ มีความเขา้ ใจอุปสงคข์ องลูกคา้ ณ ปลายน้าตรงกนั จะช่วยบรรเทาความรุนแรง ของ Bullwhip Effect ได้ เช่น การเป็น สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า การใช้ระบบผลติ แบบทันเวลา (Just in time) การท่ีซัพพลายเออร์เข้าไปบริหารระบบจัดการสินค้าคงคลังให้ลูกค้าของตน (VMI) เพ่ือตนเองจะได้ทราบจานวนสินค้าทีแ่ ทจ้ รงิ และลกู คา้ ของตนก็ยินดีกบั ระบบการบริหารท่เี ปน็ ระบบ ระเบยี บ ลักษณะคาสั่งซ้ือก็มีส่วนทาให้เกิด Bullwhip Effect ดังน้ัน การลดขนาดคาสั่งซื้อ ลง การ สรา้ งข้อตกลงเรือ่ งกฎระเบยี บการยกเลกิ คาสง่ั ซอ้ื หรือนโยบายคืนของระหว่างผ้ซู ือ้ กบั ผขู้ ายใหเ้ ข้มงวด มากข้ึน และการเติมสินค้าบอ่ ยคร้งั ข้ึนจะช่วยทาให้การเก็บสนิ ค้าคงคลงั ลดลง นอกจากน้ี ควรมกี าร ขจดั แรงจูงใจทจี่ ะบิดเบอื นอปุ สงคข์ องลูกค้าไปด้วยการใชน้ โยบายราคาเดยี ว เป็นตน้ การจดั การการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 165
การจดั การซพั พลายเออร์ เป็นอีกมุมหน่ึงท่ีมีความสาคัญมากในการจัดหา องค์กรควรจะมีซัพพลายเออร์ก่ีราย จะ ประเมนิ สมรรถนะของพวกเขาอย่างไร และควรจะผลติ หรอื ควรจะซื้อสว่ นประกอบช้นิ นห้ี รอื ไมค่ าถาม ทุกขอ้ ลว้ นเป็นคาถามสาคญั ที่ต้องหาคาตอบถ้าจะใหย้ ทุ ธศาสตร์ของการจัดหามีประโยชน์ตอ่ ธุรกจิ ขัน้ ตอนในการบรหิ ารความสัมพันธก์ ับซพั พลายเออร์ ระยะที่ 1 ระยะเร่ิมต้น กาหนดความต้องการในการจัดซ้ือ กาหนดคณะทางานในการ ประสานงานกบั ซพั พลายเออร์ ระยะท่ี 2 กาหนดซัพพลายเออร์ พิจารณาแนวทาง/ปจั จัยในการคัดเลือก คุณสมบตั ิ กาหนด ซพั พลายเออรท์ ่ีเปน็ ไปได้ ระยะท่ี 3 กลัน่ กรองและคัดเลือก ติดต่อซัพพลายเออรท์ ีค่ าดไว้ ประเมนิ ซพั พลายเออรแ์ ตล่ ะ รายและคัดเลอื ก ระยะที่ 4 กาหนดความสมั พนั ธ์ กาหนดเอกสาร กาหนดระดับความสนใจ และขอ้ มูลทสี่ นใจ ระยะที่ 5 ประเมินความสมั พนั ธ์ท่เี กดิ ขึน้ ระหว่างองค์กรกบั ซัพพลายเออร์ ความตอ่ เนือ่ งของ ความสมั พันธใ์ นปจั จบุ นั เพอื่ วางแผน ขยาย/เสริมสร้าง/ลด/เลิก ความสัมพันธ์ การบรหิ ารสญั ญา (Contract management) - พิจารณาข้อตกลงระหวา่ งบรษิ ัทและคคู่ ้า (ซพั พลายเออร์) - พิจารณาองค์ประกอบของการจดั ซ้ือ เช่น ชนิด ปริมาณ บรรจุภัณฑ์ ความถ่ีของการสง่ มอบ ความถขี่ องการ ชาระเงิน เง่ือนไขคณุ ภาพสนิ คา้ ระยะเวลาของสัญญา การปรับเงิน หรอื มลู ค่าสินคา้ - การประเมนิ ผลการดาเนนิ งานตามสญั ญา - การเปลีย่ นแปลงเงอื่ นไขในสญั ญา - เอกสารท่ีจาเป็นตอ่ การดาเนนิ การ อานาจในการตอ่ รอง - ผลประโยชน์ท่ีท้ังสองฝ่ายไดร้ ับ (mutual benefits) 166 บทท่ี 7 | การวางแผนอปุ สงคแ์ ละการจดั การคาสงั่ ซื้อ
การสร้างพันธมิตร คือ ความสัมพนั ธ์เชงิ ธุรกจิ ที่ปรับแตง่ เฉพาะ ทเ่ี กิดขน้ึ จากความไว้วางใจ ความเปิดเผย รับรูค้ วามเสย่ี งและผลตอบแทนรว่ มกัน ที่จะนามาซ่งึ ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ สง่ ผล ให้เกิดสมรรถนะธุรกิจที่ดีขึ้นกว่าเดิม ท่ีไม่สามารถได้มาด้วยองค์กรเดียว โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ (Harrison and Hoek, 2002) - เพื่อให้มีข้อได้เปรียบในการบูรณาการแนวดิ่ง (vertical integration) ในขณะท่ีรักษา ความเปน็ อสิ ระขององค์กร - เพื่อใชข้ ้อไดเ้ ปรียบของความเช่ยี วชาญเฉพาะดา้ นนัน้ ๆ - เพอ่ื ใหเ้ กดิ การปรับปรงุ ระดบั การให้บรกิ าร - เพ่อื ปรับปรุงประสทิ ธภิ าพของการดาเนนิ งาน - เพื่อตอบโตต้ ่อการแขง่ ขนั การเลือกซพั พลายเออร์ พจิ ารณาความสมั พันธ์ในอดตี หรอื ท่คี าดว่าจะเกิดขึ้น ความซอ่ื สัตย์ (Honesty) ความเป็นไปได้ทางการเงิน (Financial viability) การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ร่วมกัน (Reciprocity) สมรรถนะท่ีประเมินได้ ราคา ความตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงหรือการร้องขอ การส่งมอบตรงเวลา การสนับสนุนผลติ ภณั ฑห์ รอื บรกิ าร การเปน็ ไปตามเปา้ หมายด้านคุณภาพ ความ เหมาะสมในเร่ืองข้อมูลสารสนเทศ ความเหมาะสมในด้านกายภาพ (ลักษณะผลิตภัณฑ์ วัสดุ ทาเล ที่ตั้ง ฯลฯ) เร่ืองจริยธรรมและคุณธรรม ประมูลแบบเปดิ แต่เป็นซัพพลายเออรท์ ีเ่ ลือกไว้ (selective tendering) ซัพพลายเออรร์ ายย่อย การใชป้ ระมลู ราคาต่าสดุ และการจัดซอื้ ภายในประเทศ การจดั การสินค้าคงคลังผ่านซพั พลายเออร์ (Vendor-Managed Inventory: VMI) เม่ือ มีการใช้ VMI ซัพพลายเออร์จะเป็นผู้รับผิดชอบสินค้าคงคลังท่ีเก็บไว้ในสถานที่ของลูกค้าซัพพลาย เออร์จะคอยติดตามระดับสินค้าคงคลังและจัดการเติมเต็มสินค้าคงคลังเอง ความเป็นเจ้าของของ สนิ คา้ คงคลงั นน้ั จะถกู ถา่ ยโอนให้กับลูกคา้ เม่อื สินค้าคงคลังน้ันถูกใช้ เพอ่ื ทจ่ี ะให้ VMI มีประสทิ ธภิ าพ การจัดการข้อมูลสารสนเทศเป็นเร่ืองสาคัญมาก ซัพพลายเออร์และลกู ค้าจะมีระบบคอมพิวเตอร์ที่ เช่ือมโยงกัน โดยมากจะใช้ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI) ระบบนี้จะช่วยให้ซัพ พลายเออร์สามารถติดตามระดับสินค้าคงคลงั ได้และสามารถส่งใบสง่ั ซอื้ และใบแจ้งหนี้และรายการ สนิ คา้ ระหว่างคู่ค้าไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ (Ayer and Odegaard, 2008: 338) การจดั การการจดั ส่งทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 167
ข้อดีของ VMI คือมันสามารถช่วยลดระดับสินค้าคงคลังรวมในคลังสินค้าของลูกค้าได้ ซัพ พลายเออร์สามารถทีจ่ ะวางแผนการจัดสง่ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพเพราะว่าสามารถเห็นความตอ้ งการ ของลูกค้าไดด้ ีขึ้น และสามารถนาความต้องการนี้มาใช้สรา้ งแผนการผลิตของตัวเองได้ต้ังแต่ชว่ งแรก ดว้ ย เพอ่ื ทจี่ ะให้กระบวนการนป้ี ระสบความสาเรจ็ บริษทั คูค่ ้าทง้ั สองฝา่ ยจะตอ้ งมรี ะดบั ความเชื่อมั่น ตอ่ กนั และกันสงู มาก ระดบั ความเช่ือมน่ั น้มี ักจะเกิดมาจากความเขา้ กันได้ทางวฒั นธรรมของทั้งสองบ ริษัทระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของคู่ค้าท้ังสองก็ต้องเข้ากันได้ด้วยเช่นกันในกรณีที่ลูกค้ายังมสี ว่ น ร่วมในการจัดการสินค้าคงคลงั ของซัพพลายเออร์ ระบบแบบน้ีจะมีชอ่ื ว่า การร่วมกันจดั การสนิ ค้าคง คลัง (co-managed inventory, CMI) บทสรปุ การวางแผนอุปสงค์ประกอบไปด้วยกระบวนการต่าง ๆ ท่ีบริษัทใช้คาดคะเนความต้องการ ของลูกคา้ และการสร้างความมัน่ ใจวา่ สามารถสง่ มอบสินค้าใหล้ ูกค้าได้เพียงพอ ในสถานทีแ่ ละเวลาท่ี เหมาะสม โดยทีม่ ีคา่ ใช้จ่ายของโซ่อุปทานท่ีตา่ ทส่ี ดุ การพิจารณาลักษณะอุปสงค์ของลกู ค้าแบ่งออกเปน็ 4 ลักษณะได้แก่ อุปสงค์ค่อนข้างคงท่ี อุปสงคล์ ักษณะฤดกู าล อปุ สงค์แนวโน้มเพ่มิ ขึ้นและอุปสงคแ์ นวโน้มลดลง ในการคาดคะเนอปุ สงค์จะ ใช้วิธกี ารพยากรณซ์ ึ่งแบ่งออกเปน็ การพยากรณเ์ ชงิ ปรมิ าณและการพยากรณ์เชิงคุณภาพ การพยากรณเ์ ชิงปรมิ าณพิจารณาลักษณะอปุ สงค์ลกู ค้ามเี ทคนคิ ในการพยากรณด์ ังนี้ อุปสงค์ ค่อนขา้ งคงท่ี ใชเ้ ทคนคิ นาอีฟ (naive Approach) อปุ สงค์ทม่ี แี นวโน้มเพม่ิ สงู ข้นึ หรอื ลดลง การใช้วิธี แนวโน้ม สมการถดถอย (Linear Regression) และ วิธีกาลังสองน้อยท่ีสุด (Least Squares Method) อุปสงคต์ ามฤดูกาลใช้คา่ เฉล่ยี เคลอื่ นท่ี (Moving Average) วธิ ีคา่ ปรบั เรียบ (Exponential Smoothing) และวธิ ีดชั นฤี ดกู าล (Seasonal Index) การจัดการคาส่ังซื้อและบริการ เป็นการจัดการข้อมูลที่เกิดจากคาส่ังซ้ือของลูกค้า โดยทา หน้าที่ประสานข้อมูลกิจกรรมโลจสิ ติกส์ การจัดการขอ้ มลู ทไ่ี มม่ ีประสทิ ธิภาพทาใหเ้ กิดปรากฏการณ์ แส้ม้า (Bullwhip Effect) ในการแก้ปัญหาดังกล่าวสามารถใช้วิธีการจัดการซัพพลายเออร์ และการ จดั การข้อมูลด้วยระบบสารสนเทศเพ่อื ใหก้ จิ กรรมโลจิสติกส์ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ 168 บทท่ี 7 | การวางแผนอปุ สงค์และการจดั การคาส่ังซอ้ื
แบบฝึ กหดั ทา้ ยบท 1.จงวาดแผนภาพลกั ษณะอุปสงค์ของลกู คา้ พรอ้ มอธิบาย 2.จงอธิบายปจั จัยทม่ี ผี ลต่ออปุ สงค์ 3.จากขอ้ มลู ต่อไปนี้ จงพยากรณ์ยอดขายเดอื นท่ี 9 ใชว้ ิธีการใดคานวณ เหตใุ ดจึงใช้วธิ กี ารนน้ั เดือนที่ Y 1 98 2 118 3 136 4 142 5 169 4 จากขอ้ มลู ตอ่ ไปนี้ จงพยากรณย์ อดจาหน่ายในปี 2557 ปี Q1 Q2 Q3 Q4 2553 (ตัน) 123 248 166 277 2554 (ตัน) 196 267 175 288 2555 (ตัน) 179 255 184 276 5.จากข้อมลู ตอ่ ไปนี้ จงพยากรณย์ อดขายปี 2556 ปี Q1 Q2 Q3 Q4 2552 (ตัน) 92 48 66 29 2553 (ตัน) 114 55 75 43 2554 (ตัน) 104 66 87 55 2555 (ตัน) 84 42 96 64 การจดั การการจดั ส่งทางธุรกจิ | Business Logistics Management 169
เอกสารอา้ งองิ คานาย อภิปรชั ญาสกลุ . (2550). การจัดการการขนส่ง (Transport Management). กรุงเทพฯ: โฟกัสมีเดีย แอนด์ พบั ลิชชิง่ , 134. Ayer, B.J. and Odegaard, A.M. (2008). Retail Supply Chain Management. Taylor & Francis Group, LLC, 338. Harrison, A. and Hoek, R.V. (2002). Logistics Management and Strategy. London: Pearson Education Limited. Heizer, J. and Render, B. (2011). Operations Management. 10th Global Edition, Pearson Prentice Hall, 151. Jacobs, F.R., Chase, R.B. & Acquilano, N.J. (2009). Operations and supply management. New York: McGraw-Hill, 361. 170 บทท่ี 7 | การวางแผนอปุ สงคแ์ ละการจดั การคาสัง่ ซอื้
แผนบรหิ ารการสอนประจาวิชาบทที่ 8 โครงสรา้ งระบบเครือข่ายและการเลือกทาเลท่ีตง้ั หวั ขอ้ เน้ือหาประจาบท 1. โครงสร้างและคุณลักษณะของระบบเครอื ขา่ ยโลจิสติกส์ 2. การเลือกทาเลที่ตั้ง 3. รปู แบบการตดั สินใจเลอื กทาเลท่ีตั้ง 4. การตดั สนิ ใจเลอื กทาเลที่ตง้ั ดว้ ยวิธีเชิงคุณภาพ 5. การตัดสนิ ใจเลอื กทาเลท่ีตัง้ ดว้ ยวธิ กี ารเชงิ ปริมาณ 6. บทสรปุ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพือ่ ให้ผศู้ กึ ษาสามารถอธิบายโครงสรา้ งและคณุ ลักษณะของระบบเครือขา่ ยโลจิสตกิ ส์ 2. เพอื่ ใหผ้ ู้ศกึ ษาสามารถอธิบายการเลอื กทาเลทต่ี ัง้ และรปู แบบการตดั สนิ ใจเลอื กทาเลท่ตี ั้ง 3. เพ่ือใหผ้ ูศ้ กึ ษาสามารถแสดงวิธกี ารตัดสนิ ใจเลือกทาเลท่ีตัง้ ดว้ ยวิธเี ชิงคุณภาพ 4. เพื่อใหผ้ ู้ศึกษาสามารถแสดงวิธกี ารตดั สินใจเลอื กทาเลทต่ี ัง้ ดว้ ยวิธีเชงิ ปรมิ าณ วิธกี ารสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอนประจาบท 1. บรรยายเน้ือหาบทเรียนท่ีเก่ียวกับโครงสร้างและคุณลักษณะของระบบเครือข่าย โลจิสติกส์ การเลือกทาเลท่ีตั้ง รูปแบบการตัดสินใจเลือกทาเลท่ีตั้ง การตัดสินใจเลือก ทาเลที่ต้งั ด้วยวิธีเชิงคุณภาพ และการตัดสนิ ใจเลอื กทาเลท่ตี ัง้ ดว้ ยวิธีการเชิงปรมิ าณ 2. แสดงวิธีการหาผลลัพธ์ในการตัดสินใจเลือกทาเลท่ีตั้งด้วยวิธีเชิงคุณภาพ และการ ตดั สนิ ใจเลอื กทาเลทีต่ ้ังด้วยวิธีการเชิงปริมาณบนกระดานอยา่ งละเอยี ด และเปดิ โอกาส ให้ซกั ถามในประเด็นท่ไี ม่เขา้ ใจหรือสงสัย 3. ยกตัวอย่างแผนภาพทาเลท่ีตั้งของบริษัทชั้นนาในประเทศไทย ทาเลที่ต้ังของคลังสนิ ค้า ประเภทต่าง ๆ และทาเลท่ีต้ังของศูนย์กระจายสินค้า พร้อมท้ังอธิบายการเชื่อมโยง ระหว่างเส้นทางและการขนสง่ การจดั การการจดั ส่งทางธุรกิจ | Business Logistics Management 171
4. มอบหมายแบบฝึกหัดเพ่ือให้นักศึกษาทบทวนความเข้าใจจากที่ได้ศึกษาในบทเรียน ดังกล่าวภายในช่ัวโมงเรียน หลังจากน้ันให้ตัวแทนนักศึกษาออกมาแสดงวิธีการหา คาตอบ และเปิดโอกาสใหเ้ พือ่ น ๆ ในชน้ั เรียนสอบถามในประเด็นท่สี งสยั อาจารยจ์ ะทา หน้าทเ่ี สริมในประเดน็ ต่าง ๆ เพิม่ เตมิ 5. มอบหมายแบบฝึกหัดเป็นการบา้ น เพ่ือเพมิ่ ทักษะในการหาคาตอบและทบทวนบทเรยี น เพ่ือทาความเข้าใจในเนอื้ หามากยงิ่ ขึ้น สอื่ การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการการจัดสง่ ทางธุรกจิ 2. เอกสารต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ งในเอกสารอา้ งองิ 3. สื่อทศั นะวสั ดปุ ระกอบการสอน การวดั และประเมินผล 1. การเข้าช้นั เรยี นและการมสี ่วนร่วมในชนั้ เรยี น 2. การตอบคาถามในชน้ั เรยี นและการแสดงความคดิ เหน็ 3. แบบฝกึ หดั ที่มอบหมาย 172 บทท่ี 8 | โครงสร้างระบบเครอื ข่ายและการเลือกทาเลทตี่ ง้ั
บทท่ี 8 โครงสรา้ งระบบเครอื ข่ายและการเลอื กทาเลที่ตง้ั ประสิทธิภาพของระบบโลจิสติกส์เป็นส่วนสาคัญของการวางแผนกลยุทธ์ในการเพ่ิมขีด ความสามารถในกระบวนการผลิตและการตลาด สาหรับองคก์ รต่าง ๆ ที่ขยายการดาเนินงานขึ้นเป็น องค์กรระดับโลก จะพบว่าการวางแผนการระบบโลจสิ ติกส์และปจั จยั ตา่ ง ๆ ทช่ี ่วยในการตัดสินใจจะ ซับซอ้ นมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม มคี าถาม 3 คาถาม ท่ีทกุ หนว่ ยงานทต่ี อ้ งการขยายการปฏิบตั กิ ารขนึ้ ส่รู ะดบั โลกตอ้ งสามารถตอบคาถามให้ได้ คอื 1. ควรจะออกแบบหรือสร้างลกั ษณะเครอื ขา่ ยระบบโลจิสตกิ สอ์ ยา่ งไรสาหรับการปฏิบตั ิงาน 2. ควรจะเลอื กและจัดวางสงิ่ อานวยความสะดวกในการดาเนินงานอย่างไร ตามกลไกตลาด ตามประเภทของสินค้า หรอื ตามประเภทของกระบวนการ 3. ควรจะใช้สิ่งอานวยความสะดวกอะไรบ้างสาหรับการขยายขีดความสามารถในการ ดาเนนิ งานที่ขยายขนึ้ สู่ระดับโลก และสาหรบั รับมือการเกิดขึน้ ของผลิตภณั ฑใ์ หม่ ๆ เน้ือหาในบทน้ีจะกล่าวถงึ โครงสรา้ งและคณุ ลักษณะของระบบเครอื ขา่ ยโลจิสติกส์ การเลือก ทาเลที่ต้ัง รูปแบบการตัดสินใจเลือกทาเลท่ีต้ัง การตัดสนิ ใจเลือกทาเลที่ต้ังด้วยวิธีเชิงคุณภาพ และ การตัดสนิ ใจเลอื กทาเลทต่ี ง้ั ดว้ ยวธิ ีการเชิงปรมิ าณ เพอ่ื การวางแผนตัดสนิ ใจได้อยา่ งเหมาะสม การจัดการการจดั สง่ ทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 173
โครงสรา้ งและคุณลกั ษณะของระบบเครอื ข่ายโลจสิ ติกส์ สืบเน่ืองจากการขยายตัวของธุรกิจในปัจจุบัน ที่มุ่งเน้นความสามารถในการแข่งขันได้ใน ระดับสากลหรือระดับโลก ซ่ึงการขยายกระบวนการดาเนินธุรกิจไปสู่ระดับโลกนั้น บริษัทต่างต้อง เผชิญกบั สิ่งท้าทายต่าง ๆ มากมาย จึงจาเป็นตอ้ งปรบั ตัวและพยายามเสาะหาเทคนคิ ต่าง ๆ ทส่ี ามารถ จัดการกับโซ่อุปทานและเครือข่ายโลจิสติกส์ของตนเองให้ดีที่สุด ซ่ึงในเบื้องต้น บริษัทหรือองค์กร เหล่านน้ั จาเป็นต้องเรม่ิ จากการปรับปรุงหรอื พัฒนาเครอื ขา่ ยโลจสิ ติกส์ของตนให้เสียก่อน เมือ่ ศกึ ษาลึกลงไปถึงรายละเอียดของการจดั โครงสรา้ งของเครือขา่ ยโลจสิ ตกิ สจ์ ะพบว่ากรอบ แนวคดิ เร่อื งโครงสร้างของโซอ่ ปุ ทานและเครือข่ายของโลจิสติกส์ จะสามารถแบง่ ได้อยา่ งละเอยี ดเปน็ 4 แบบ คอื เครือข่ายแบบเข้มงวด (rigid) เครือข่ายแบบสว่ นประกอบย่อย (modularized) เครอื ข่าย แบบชะลอเวลา (postponed) และ และเครือขา่ ยแบบผ่อนปรน flexible ดงั ภาพท่ี 8.1 P MP MA P MA P MP P ชะลอเวลา ยืดหยนุ่ M MA P MA P M เขม้ งวด ส่วนประกอบยอ่ ย M ผลิต A ประกอบ P บรรจุ ภาพท่ี 8.1 แสดงลักษณะเครอื ขา่ ยโลจสิ ติกส์ (ท่ีมา: นนั ทิ สทุ ธิการนฤนยั , 2551: 2) 174 บทท่ี 8 | โครงสรา้ งระบบเครอื ขา่ ยและการเลอื กทาเลทตี่ ง้ั
ลักษณะของโครงสร้างแตล่ ะแบบน้ัน แสดงรายละเอยี ดไว้ในตารางท่ี 8.1 ดงั น้ี ตารางท่ี 8.1 แสดงคุณสมบตั เิ ครอื ข่ายแต่ละประเภท ประเภทของเครือข่าย คณุ สมบตั ิ • เป็นโครงสร้างแบบแนวด่ิงโดยสมบูรณ์ แบบเขม้ งวด • ไมท่ ราบปรมิ าณและความตอ้ งการทีแ่ ท้จริงของลกู คา้ (Rigid) • เน้นการผลิตในปรมิ าณการผลิตทป่ี ระหยดั (Economies of Scale) • มปี ริมาณสินคา้ คงคลงั สงู • มกี าร outsource subcontractor เพื่อผลิตวัตถุดิบหรอื สว่ นประกอบ ป้อนสกู่ ระบวนการผลติ เป็นจานวนมาก แบบผอ่ นปรน • คานึงถงึ ความต้องการท่ีแทจ้ รงิ ของลกู คา้ (Flexible) • จะทาการผลิตเม่อื ไดร้ บั คาสงั่ ผลติ เทา่ น้ัน • ไมม่ ีการเกบ็ สนิ ค้าคงคลังโดยเฉพาะสนิ คา้ สาเร็จรปู จะเน้นการเกบ็ วัตถุดิบคงคลังในขนาดการเก็บท่ปี ระหยัดท่สี ดุ • มกี าร outsource subcontractor เพอื่ ผลิตวัตถุดบิ หรอื สว่ นประกอบ แบบสว่ นประกอบย่อย ป้อนเขา้ สกู่ ระบวนการผลิตเปน็ จานวนมาก (Modularized) • ทาการผลิตสินค้า โดยไม่ทราบปริมาณและความตอ้ งการทแ่ี ท้จรงิ ของ ลกู ค้า • มกี ารเกบ็ สินคา้ สาเรจ็ รปู ไว้ในคลงั สินค้า เพือ่ รอการขายใหแ้ ก่ลูกค้า แบบชะลอเวลา • มชี ้ินสว่ นเพ่ือการผลิตเป็นจานวนมาก แต่ไม่เนน้ การoutsource (Postponed) subcontractor เพือ่ ชว่ ยผลิตชิน้ ส่วนประกอบต่าง ๆ • เนน้ การผลติ ตามคาสงั่ ผลิตของลกู คา้ เท่าน้นั จากลักษณะเครือข่ายแบบต่าง ๆ ไม่สามารถบอกได้ว่าแบบใดดีที่สุด ขึ้นอยู่กับการบริหาร และกลยุทธ์ รวมท้ังสภาวะแวดล้อมท้ังปัจจัยภายในและภายนอกขององค์กรที่จะเลือกสร้าง เครือข่ายโลจิสตกิ สร์ ูปแบบใด การจัดการการจดั สง่ ทางธุรกิจ | Business Logistics Management 175
การเลอื กทาเลท่ีตง้ั สดุ าทพิ ย์ ตันตินกิ ลุ ชัย และศักดา หงสท์ อง (2547) ไดใ้ ห้ความหมายของทาเลและทีต่ ง้ั ดงั น้ี ทาเล (Location) หมายถึง พื้นที่กว้าง ๆ ณ ย่านใดย่านหน่ึง ซ่ึงมีสภาพแวดล้อมและ ลักษณะความเป็นไปคล้ายคลึงกันท้ังทางภูมิศาสตร์ เช่น อยู่ทางทิศใต้ของเมือง อยู่ในย่าน อุตสาหกรรมเดียวกัน อาศัยเส้นทางเดียวกัน ความสะดวกสบาย และคล่องตัวในการเดินทางขนส่ง ใกล้เคียงกัน และดา้ นอ่ืนๆ ที่ตั้ง (Site) หมายถึง สถานท่ีที่เป็นกิจการนัน้ ๆ โดยเฉพาะมีเครื่องกาหนดท่ีหมายชดั เจน เช่น บ้านเลขที่ ฝ่ังถนน สภาพท่ีข้างเคียง หรือสามารถบอกอย่างคร่าว ๆ ได้ว่าเป็นจุดใด ตรงข้าม สานักงานใหญ่ ธนาคารกสิกรไทย ปากซอยลอื ชา เปน็ ตน้ ปจั จยั ทสี่ าคญั ในการพจิ ารณาเลือกทาเลทตี่ ้งั มีดังนี้ 1. ปัจจัยด้านตลาด เป็นปัจจยั ท่ีคานึงถึงโอกาสการใช้บริการของลูกค้า บางคร้ังจะเรียกว่า ยา่ นธุรกิจ ซึง่ ทาใหล้ กู ค้ามีโอกาสมาใช้บริการมาก 2. ปัจจัยด้านธุรกิจ เป็นปัจจัยท่ีคานึงถึงวัตถุดิบเป็นหลัก เช่น โรงงานขุดแร่ โรงงานผลิต ปูนซีเมนต์แถวจังหวัดสระบุรี โรงโม่หิน อ.หน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี เป็นต้น เพ่ือ อานวยความ สะดวกในการผลิตสินคา้ 3. ปจั จยั ด้านค่าขนส่ง เป็นปัจจัยทคี่ านึงถึงค่าขนสง่ ไม่วา่ จะเป็น คา่ ขนส่งจากผูข้ ายวตั ถุดิบ มายังโรงงาน หรอื การกระจายสินค้าสาเรจ็ รปู ไปยงั ลกู คา้ 4. ปัจจัยด้านแรงงาน เป็นปัจจัยที่พิจารณาท่ีเก่ียวข้องกับแรงงาน ไม่ว่าจะเป็นปริมาณ แรงงาน ฝมี อื แรงงาน รวมถงึ ทศั นคติ ลกั ษณะนิสัยของแรงงาน 5. สิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ เป็นปัจจัยท่ีพิจารณาถึงสิ่งอานวยความสะดวกในการ ดาเนินงานของธรุ กิจ ไมว่ า่ จะเป็น ไฟฟา้ ประปา การจราจร เป็นตน้ 6. ภาษี ถ้าตั้งโรงงานในเขตทไี่ ด้รบั การส่งเสริม จะทาให้ได้ประโยชน์ในด้านภาษี จะช่วย ประหยัดคา่ ภาษไี ด้ สง่ ผลให้ต้นทุนตา่ กาไรสูง 176 บทท่ี 8 | โครงสร้างระบบเครอื ข่ายและการเลอื กทาเลทีต่ งั้
7. สภาพดินฟ้าอากาศ เป็นการพิจารณาถึงสภาพดินฟ้า อากาศที่ส่งผลต่อธุรกิจ เช่น อุณหภมู ิ ความชืน้ รวมไปถงึ อุทกภัย อคั คีภยั และวาตภัย เป็นต้น รปู แบบการตดั สนิ ใจเลอื กทาเลท่ีตงั้ ในการตัดสนิ ใจเลอื กทาเลทต่ี ง้ั จะมรี ูปแบบการตดั สินใจอยู่ 2 ประเภทได้แก่ 1. การตัดสินใจเชิงคุณภาพ (qualitative factors) เป็นการตัดสินใจท่ีไม่สามารถจะ ประเมนิ ค่าในรูปของตัวเลขได้อย่างชัดเจน สาหรบั ปจั จยั เชงิ คุณภาพท่ีควรพจิ ารณาอาทิ เชน่ - ส่ิงแวดล้อม พิจารณาในแง่ของสภาพอากาศที่ดี การระบายน้า อุณหภูมิ แสง เสียงท่ี พอเหมาะ อันจะส่งผลต่อประสิทธิภาพการทางานของพนักงาน - ทศั นคตขิ องชมุ ชนที่มีต่อธุรกจิ ซึง่ จะสง่ ผลตอ่ การตอ่ ตา้ นหรือยอมรับของชุมชน - สถานบรกิ ารดา้ นสังคม เชน่ โรงพยาบาล สถานตี ารวจ สถาบนั การศกึ ษา สถานท่พี กั ผ่อน หย่อนใจ เป็นต้น สถานบริการสังคมต่าง ๆ เหล่านี้จะส่งผลในด้านต่าง ๆ เช่น ความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน แหล่งค้นคว้าหาความรู้ หรือเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ เป็นต้น 2. การตัดสินใจเชงิ ปริมาณ (quantitative factors) เป็นการตดั สินใจทส่ี ามารถประเมนิ ค่าเปน็ ตวั เลขได้ ตวั อยา่ งของปัจจยั เชิงปริมาณ เช่น - การขนส่ง จะพิจารณาเก่ียวกับค่าใช้จ่ายในการขนสง่ โดยพิจารณาท้ังการขนส่งวัตถุดิบ และเชอ้ื เพลิง ไปยงั โรงงาน และการขนสง่ สนิ คา้ ไปยังตลาด - ท่ีดินและอาคารโรงงาน จะพิจารณาในแง่ของการได้มาซ่ึงที่ดินและอาคารโรงงานซึ่ง อาจจะเป็นการเช่าหรือการซ้ือ โดยท่ีแต่ละวิธีนั้นจะต้องทาการเปรียบเทียบถึง ผลประโยชน์ที่จะได้รับ เพราะการซอ้ื จะดีในแง่ของกรรมสิทธิ์ แต่จะใช้เงินลงทุนสงู กวา่ การเช่า - แรงงาน เป็นปัจจัยท่ีพิจารณาในด้านของอัตราค่าจ้างซึ่งในแต่ละพ้ืนท่ีอาจจะมีค่าจ้าง แรงงานทต่ี ่างกันไป ซึง่ ขนึ้ อยู่กับอัตราคา่ ครองชพี ในแต่ละพื้นที่ - พลงั งานและสาธารณปู โภคต่าง ๆ ในระบบการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม จาเปน็ ตอ้ ง ใช้พลังงานและสาธารณูปโภค เพื่อใช้ในการผลิตและช่วยในการอานวยความสะดวกใน การผลติ ต่าง ๆ เช่น ไฟฟา้ นา้ ประปา โทรศัพท์ นา้ มนั เชื้อเพลงิ เปน็ ต้น การจดั การการจดั ส่งทางธรุ กจิ | Business Logistics Management 177
การตดั สนิ ใจเลอื กทาเลท่ีตงั้ ดว้ ยวิธีเชงิ คุณภาพ เป็นเทคนิคการตัดสินใจ จากปัจจัยในการเลือกทาเลท่ีตั้งต่าง ๆ ท่ีไม่สามารถนามา เปรียบเทียบดว้ ยวธิ ีการเชงิ ปริมาณได้อยา่ งชดั เจน โดยมีเทคนคิ ในการเลอื กทาเลท่ตี ง้ั ดังตอ่ ไปน้ี 1. การจัดลาดับความสาคัญของปัจจัย (ranking technique) โดยการใช้วิจารณญาณ ของประเมินในการจัดลาดับความสาคัญของปัจจัยในการเลือกทาเลที่ต้ังของกิจการ เปรียบเทียบ คุณสมบัติของแต่ละปัจจัยกับในแต่ละพื้นที่ โดยมีเป้าหมายเพ่ือเลอื กทาเลท่ีเหมาะสมท่ีสดุ (คานาย อภิปรัชญาสกุล, 2550: 159) ผู้บริหารจะใช้ดุลยพินิจของเขาในการประเมินปจั จยั เชิงคุณภาพท่ีเก่ียวข้องในแต่ทาเลเรียง ตามความสาคัญ ปัจจัยใดสาคัญมากกว่าก็เขียนไว้ในลาดับต้น แล้วนามาเปรียบเทียบกัน ทาเลใด ได้เปรยี บทาเลอื่น ๆ ก็จะได้รับการคัดเลอื ก ดงั ตัวอยา่ งต่อไปนี้ ตารางที่ 8.2 แสดงการเรยี งลาลบั ความสาคญั ของปจั จยั ปจั จยั ทาเล ก. ทาเล ข. ทาเล ค. 1.การใกล้แหลง่ ชุมชน ใกล้ ปานกลาง ไกล ปานกลาง ใกล้ 2.การใกล้แหล่งวตั ถุดบิ ไกล ยาก งา่ ย ดมี าก 3.การหาแรงงานได้ง่าย ยาก ดี ดี ปานกลาง ไม่ดี 4.การขนสง่ สะดวก ดมี าก ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ไมด่ ี 5.การมีนา้ ประปาสะดวก ไม่ดี พอใช้ 6.การมไี ฟฟา้ สะดวก ปานกลาง 7.การระบายสิง่ โสโครก ไม่ดี 8.ส่งิ แวดล้อม ไมด่ ี จากการพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ข้างต้นแล้ว ปรากฏว่าทาเล ข. มีความสม่าเสมอที่สุดคือ ไม่ โน้มเอียงไปทางใดทางหน่งึ มากนกั สว่ นทาท่ี ก. กับทาเล ค. แมจ้ ะมีปัจจัยทีด่ หี ลายอยา่ งแตก่ ็มีปจั จยั บกพร่องหลายอย่างเชน่ กนั จึงไมค่ วรเลอื ก 178 บทที่ 8 | โครงสรา้ งระบบเครอื ขา่ ยและการเลือกทาเลทีต่ ง้ั
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272