Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือวิชาการ | โรงเรียนนารีนุกูล

คู่มือวิชาการ | โรงเรียนนารีนุกูล

Published by ภัทรดนัย พลสูงเนิน, 2021-02-16 07:11:50

Description: คู่มือวิชาการ | โรงเรียนนารีนุกูล

Search

Read the Text Version

คำนำ คมู่ อื ครูประกอบการปฏิบตั ิงานวชิ าการโรงเรียนนารีนุกลู จัดทำข้ึนโดยกลุ่มบริหารวชิ าการโรงเรียน นารีนุกูล โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อใช้ประกอบการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา 2) เพื่อประกันคุณภาพการจัดการเรยี นการสอนของครูผู้สอน และ 3) เพื่อให้สอดคล้องกับการ จดั ระบบ การประกันคณุ ภาพสถานศึกษา ตามความในพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา 9 (3) ได้กำหนดการจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัด การศึกษาโดยยึดหลักสำคัญข้อหนึ่ง คือ มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพ การศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษาการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 หมวด 2 ข้อ 14 (1) ให้กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษา ลงวันท่ี 11 ตลุ าคม 2559 เพื่อใชเ้ ปน็ หลักในการสง่ เสริม สนับสนุน กำกบั ดแู ล และติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา โรงเรียนนารีนุกูล จึงปรับมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทั้งบุคลากรทุกคน ในโรงเรียน ผู้ปกครอง และประชาชน ในชุมชน ให้เหมาะสมและสอดคล้องกันเพ่ือนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษา การประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาและเพือ่ รองรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก คมู่ ือครูประกอบการปฏิบัติงานวิชาการโรงเรยี นนารนี ุกูลฉบับน้ี ประกอบดว้ ย ส่วนท่ี 1 ความสำคัญ และความเปน็ มา สว่ นที่ 2 แนวทางการดำเนนิ งานและขอบขา่ ยภาระงาน ส่วนที่ 3 แนวทางการจัดกระบวน การเรียนการสอนและการจัดทำเอกสารประกอบการเรียนการสอนของครูผู้สอน ส่วนที่ 4 ตัวอย่าง แบบฟอร์มเอกสารที่เกี่ยวข้อง และภาคผนวก ซึ่งเอกสารฉบับนี้เริ่มใช้ในปีการศึกษา 2561 และได้มีการ ปรบั ปรงุ และพัฒนาอยา่ งต่อเน่อื งเปน็ ปีที่ 3 ขอขอบคุณคณะผู้บรหิ าร คณะกรรมการบริหารโรงเรียนนารีนุกูล คณะกรรมการบริหารวิชาการ ครูผู้สอน ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียนทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการ ดำเนนิ งานวชิ าการเพ่ือยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนนารีนกุ ูล หวังเปน็ อย่างย่ิงว่าเอกสารฉบับน้ี จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาตอ่ ไป (นายดรุ ิยะ จนั ทรป์ ระจำ) ผู้อำนวยการโรงเรยี นนารีนกุ ลู 1 กรกฎาคม 2563

สารบัญ สว่ นที่ เรอ่ื ง หนา้ คำนำ สารบัญ 1 ความสำคญั และความเปน็ มา....................................................................................... 1 หลกั การและเหตผุ ล......................................................................................................... 1 วตั ถปุ ระสงค์..................................................................................................................... 6 กลมุ่ เป้าหมาย................................................................................................................... 7 ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รับ............................................................................................... 7 2 แนวทางการดำเนินงานและขอบขา่ ยภาระงาน ........................................................... 8 หลัก 23 หลกั การทรงงาน.............................................................................................. 8 ขอบข่ายภารกิจด้านการบริหารวชิ าการ........................................................................... 11 1. งานพฒั นาหลักสูตร................................................................................................. 11 2. งานจดั การเรยี นการสอน......................................................................................... 12 3. งานนเิ ทศการศึกษา................................................................................................. 12 4. งานวัดผลและประเมินผล........................................................................................ 12 5. งานทะเบียนนักเรยี นและเทียบโอนผลการเรยี น...................................................... 13 6. งานกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน....................................................................................... 13 7. งานวจิ ยั และพฒั นา.................................................................................................. 14 8. งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ ........................................................................................ 14 9. งานแนะแนวการศึกษา............................................................................................ 14 10. งานโปรแกรมนานาชาติ............………………………………………………………………… 15 11. งานห้องเรยี นพเิ ศษ............................................................................................... 15 12. งานรบั นักเรยี น..................................................................................................... 15 13. งานประกันคุณภาพการศึกษา.............................................................................. 16 14. งาน IS…………………………………………………………………………………………………… 17 15. งานนิเทศการศึกษา.............................................................................................. 17 16. งานการสรา้ งชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ...................................................... 17 17. งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น............................................................................. 17 18. มาตรฐานการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา 18 พ.ศ. 2562

สารบัญ(ตอ่ ) ส่วนที่ เรอื่ ง หน้า 3 แนวทางการจดั กระบวนการเรยี นการสอนและการจัดทำเอกสารประกอบ การเรียนการสอนของครผู ้สู อน ............................................................................. 22 บทบาทครูผู้สอน............................................................................................................ 22 ๑. ศึกษาวิเคราะหผ์ ู้เรยี นเป็นรายบคุ คลแล้วนำข้อมลู มาใชใ้ นการวางแผนการจดั การเรียนรู้ ทที่ ้าทายความสามารถของผ้เู รียน................................................. 22 2. กำหนดเป้าหมายท่ตี ้องการใหเ้ กดิ ขึ้นกับผเู้ รียน ด้านความรู้ และทักษะ กระบวนการ ทีเ่ ป็นความคดิ รวบยอด หลักการ และความสัมพนั ธ์ รวมทงั้ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์......................................................................... 23 3. ออกแบบการเรยี นรูแ้ ละจดั การเรียนร้ทู ี่ตอบสนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล และพัฒนาการทางสมอง เพอื่ นำผูเ้ รียนไปส่เู ปา้ หมาย.......................................... 25 4. จดั บรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรูแ้ ละดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรียนใหเ้ กดิ การเรียนรู้....... 27 5. การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น....................................... 28 6. จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยี ที่เหมาะสมมาประยุกต์ใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน..................................... 29 7. ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับ ธรรมชาติของวชิ าและระดบั พฒั นาการของผู้เรียน............................................................ 30 8. วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมท้ัง ปรับปรงุ การจดั การเรยี นการสอนของตนเอง.................................................................... 38 บทบาทของผู้สอนเพ่อื สง่ เสรมิ การเรยี นการสอน.......................................................... 39 1. การสร้างชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC)........................................................................................... 39 2. การยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน.................................................................... 41 3. การประกันคุณภาพการศึกษาของครูผู้สอนรายบุคคล และการรายงาน ผลการดำเนินงานรายบคุ คล (Individual Development Report : IDR)........ 43 4 ตัวอยา่ งแบบฟอร์มเอกสารที่เกี่ยวข้อง........................................................................ 47 แบบฟอร์มแผนการจดั การเรียนรู้................................................................................... 47 แบบฟอรม์ การวเิ คราะห์ผเู้ รียนรายบคุ คล...................................................................... 60 แบบฟอรม์ การวิเคราะหแ์ บบทดสอบ............................................................................. 66 แบบฟอรม์ เคา้ โครงวิจัยในชน้ั เรยี น................................................................................. 73 แบบฟอร์มการเขียนรายงานวจิ ยั ในชั้นเรียน................................................................... 78 แบบฟอร์มการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนครูรายบุคคล............................. 82 แบบฟอร์มการวางแผนกำหนดทำ Lesson STUDY……………………………………………… ๘๕ แบบฟอรม์ การกำหนดปฏทิ นิ การสรา้ งชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ........................ 8๖ การจดั ทำแผนพฒั นาตนเอง (Individual Development Plan : ID-Plan)................. ๘๗ การจัดทำแผนพฒั นาตนเอง (Individual Development Report : ID-Report)........ ๑๐๔ ภาคผนวก ๑๑๗ คำส่ังคณะกรรมการจดั ทำคมู่ ือประกอบการปฏบิ ัตงิ านวชิ าการโรงเรยี นนารนี กุ ลู .............. ๑๑๘



คู่มอื ครูประกอบการปฏิบตั ิงานวิชาการโรงเรยี นนารีนุกูล 1 สว่ นท่ี 1 ความสำคัญและความเป็นมา หลกั การและเหตผุ ล 23 หลักการทรงงาน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ในหลวง รชั กาลที่ 9 กลา่ วว่า ขอ้ 2 ระเบิด จากภายใน หมายถึง การจะทำการใดๆ ต้องเริ่มจากคนที่เกี่ยวข้องเสียก่อน ต้องสร้างความเข้มแข็ง จากภายในให้เกิดความเข้าใจและอยากทำ ข้อ 10 การมีส่วนร่วม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวใน หลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าท่ี ทุกระดับได้มาร่วมแสดงความคิดเห็น “สำคัญที่สุดจะต้องหัดทำใจให้กว้างขวางหนักแน่น รู้จักรับฟัง ความคิดเห็น แม้กระทั่งความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาดนั้น แท้จริง คือ การระดมสติปัญญา ละประสบการณ์อันหลากหลายมาอำนวยการปฏิบัติบริหารงานให้ประสบผลสำเร็จ ที่สมบูรณ์นั่นเอง” ข้อ 11 ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม พระองค์ท่านทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ ดัง พระราชดำรัสตอนหนึ่งว่า “…ใครต่อใครบอกว่า ขอให้เสียสละส่วนตัวเพื่อส่วนรวม อันนี้ฟังจนเบื่อ อาจรำคาญด้วยซ้ำว่า ใครต่อใครมาก็บอกว่าขอให้คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม อาจมานึกในใจว่า ให้ๆ อยู่ เรื่อยแล้วส่วนตัวจะได้อะไร ขอให้คิดว่าคนที่ให้เป็นเพื่อส่วนรวมนั้น มิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็น การให้เพื่อตัวเองสามารถที่จะมีส่วนรวมที่จะอาศัยได้…”ดังนั้นการทำงานต้องมี ข้อ 22 ความเพียร คือ การเริ่มต้นทำงานหรือทำส่ิงใดนั้นอาจจะไม่ได้มีความพร้อมต้องอาศัยความอดทนและความมุ่งมั่น ดังเช่นพระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” กษัตริย์ผู้เพียรพยายามแม้จะไม่เห็นฝั่งก็จะว่ายน้ำต่อไป เพราะ ถ้าไม่เพียรว่ายก็จะตกเป็นอาหารปู ปลา และไม่ได้พบกบั เทวดาทชี่ ่วยเหลือมิให้จมนำ้ และคนไทยทุก คนต้อง ข้อ 23 รู้ รัก สามัคคี ดังนี้ รู้ คือ รู้ปัญหาและรู้วิธีแก้ปัญหานั้น รัก คือ เมื่อเรารู้ถึง ปญั หาและวิธีแกแ้ ลว้ เราตอ้ งมีความรัก ท่จี ะลงมือทำ ลงมอื แก้ไขปัญหานั้น และสามัคคี คือ การแก้ไข ปัญหาต่างๆ ไม่สามารถลงมือทำคนเดียวได้ ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจกัน(ที่มา https://th.jobsdb.com, http://www.crma.ac.th, http://umongcity.go.th ในหลวง รัชกาลที่ 9 ทรงงานหนกั สืบค้นเมือ่ วันท่ี 22 เมษายน 2561) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ กล่าวว่า มาตรา ๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบรูณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข กล่าวใน หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) จัดเน้อื หาสาระและกจิ กรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนดั ของผู้เรียน โดยคำนึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการ ประยกุ ต์ความรู้มาใช้เพ่ือป้องกนั และแก้ไขปัญหา (๓) จัดกิจกรรมใหผ้ ู้เรยี นได้เรยี นรู้ จากประสบการณ์ จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น และทำเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้ อย่างต่อเน่ือง (๔) จัดการ เรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกันรวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม

คู่มือครูประกอบการปฏบิ ตั งิ านวิชาการโรงเรยี นนารีนกุ ลู 2 ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา (๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัด บรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมี ความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรยี น อาจเรยี นร้ไู ปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหลง่ วิทยาการประเภทต่าง ๆ (๖) จัดการเรียนรู้ให้ เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชน ทกุ ฝ่ายเพอื่ ร่วมกันพฒั นาผ้เู รียนตามศักยภาพ การวดั และประเมินกล่าวใน มาตรา ๒๖ ให้สถานศึกษา จดั การประเมนิ ผู้เรียนโดยพิจารณาจากพฒั นาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสงั เกตพฤติกรรมการ เรียน การรว่ มกจิ กรรมและการทดสอบควบคไู่ ปในกระบวนการเรยี นการสอนตามความเหมาะสมของแต่ ละระดับและรูปแบบการศึกษา และที่สำคัญ เพื่อเป็นการประกันคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา กล่าวใน หมวด ๖ มาตรฐานและ การประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา ๔๘ ให้ หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่า การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้การบริหารจัดการสถานศึกษาประสบผลสำเร็จสถานศึกษาจำเป็นต้องวางแผน เตรียมการในการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี นใหเ้ ปน็ พลเมือง ทีด่ ขี องประเทศและเป็นพลโลกท่ีสมบรู ณ์ หลักสูตรการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และท่แี กไ้ ขเพิ่มเตมิ พทุ ธศักราช 2560 ได้กล่าว ไว้ว่า การจัดการเรียนรู้ เป็นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของผู้เรยี น เปน็ เปา้ หมายสำหรบั พัฒนาเด็กและเยาวชน ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติ ตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียน เรียนรู้ผ่านสาระที่กำหนดไว้ในหลกั สูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝังเสริมสรา้ งคุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์ พฒั นาทักษะตา่ งๆ อันเป็นสมรรถนะสำคัญให้ผู้เรยี นบรรลุตามเปา้ หมาย ซึ่งสถานศึกษา และครูผสู้ อนต้องดำเนินการดังน้ี ๑. หลักการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด เช่ือว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ ยดึ ประโยชนท์ ่ีเกิดกับผู้เรยี น กระบวนการจดั การเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผเู้ รียน สามารถพัฒนา ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เนน้ ให้ความสำคญั ทั้งความรู้ และคุณธรรม ๒. กระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัย กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เป็นเครื่องมือที่จะนำพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้าง ความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา

ค่มู ือครูประกอบการปฏบิ ัตงิ านวชิ าการโรงเรียนนารีนุกลู 3 กระบวนการเรียนรู้ จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทำจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรยี นรู้การเรียนรขู้ องตนเอง กระบวนการพฒั นาลกั ษณะนิสัย 3. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐาน การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ท่ี เหมาะสมกบั ผู้เรียน แลว้ จงึ พจิ ารณาออกแบบการจัดการเรยี นร้โู ดยเลือกใช้วธิ สี อนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตาม เปา้ หมายทกี่ ำหนด ๔. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของ หลักสตู ร ทั้งผูส้ อนและผเู้ รยี นควรมบี ทบาท ดังน้ี ๔.๑ บทบาทของผสู้ อน ๑) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัด การ เรยี นรู้ท่ที ้าทายความสามารถของผู้เรยี น 2 ) กำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึน้ กับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ที่ เป็นความคดิ รวบยอด หลักการ และความสัมพันธ์ รวมทัง้ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๓) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ พฒั นาการทางสมอง เพือ่ นำผู้เรียนไปสเู่ ปา้ หมาย ๔) จัดบรรยากาศทเี่ อ้ือตอ่ การเรยี นรู้ และดแู ลชว่ ยเหลือผ้เู รียนใหเ้ กิดการเรยี นรู้ ๕) จัดเตรียมและเลือกใชส้ ่ือใหเ้ หมาะสมกับกจิ กรรม นำภมู ิปัญญาท้องถ่นิ เทคโนโลยี ทีเ่ หมาะสมมาประยกุ ต์ใช้ในการจัดการเรยี นการสอน ๖) ประเมินความกา้ วหน้าของผู้เรยี นด้วยวธิ ีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติ ของวิชาและระดับพัฒนาการของผเู้ รียน ๗) วิเคราะหผ์ ลการประเมินมาใชใ้ นการซ่อมเสริมและพฒั นาผเู้ รียน รวมทัง้ ปรับปรุง การจัดการเรยี นการสอนของตนเอง ๔.๒ บทบาทของผูเ้ รยี น ๑) กำหนดเป้าหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรูข้ องตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถงึ แหลง่ การเรยี นรู้ วเิ คราะห์ สงั เคราะหข์ ้อความรู้ ต้ังคำถามคดิ หาคำตอบหรอื หาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการตา่ ง ๆ 3) ลงมือปฏิบัติจริงสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ใน สถานการณ์ตา่ ง ๆ 4) มีปฏสิ มั พันธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมร่วมกับกลมุ่ และครู 5) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนร้ขู องตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื ง

ค่มู ือครูประกอบการปฏบิ ตั งิ านวชิ าการโรงเรยี นนารีนกุ ลู 4 สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 การบรหิ ารจัดการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ภายใต้องค์ประกอบทั้ง 4 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านโอกาสทางการศึกษา 2) ด้านคุณภาพทาง การศึกษา 3) ด้านประสิทธิภาพทางการศึกษา 4) ด้านนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ มีรายละเอีย ดังนี้ 1. ด้านโอกาสทางการศึกษา องค์ประกอบที่ 1 โอกาสในการได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงและ เสมอภาค ตัวชี้วัดที่ 1.2 ร้อยละของผู้เรียนต่อจำนวนประชากรวัยเรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพิ่มขึ้น 1.2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 1.2.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัวชี้วัดที่ 1.3 ร้อยละผู้เรียนที่เรียนภายใต้การจัดการศึกษาทางเลือกได้รับการพัฒนาอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ 1.4 ร้อยละ 100 ของเด็กพิการได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็นรายบุคคลด้วยรูปแบบที่หลากหลาย องค์ประกอบที่ 2 โอกาสในการได้รับการส่งเสริมสนับสนุนช่วยเหลือ ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละของ นกั เรยี นยังคงอยู่ในระบบโรงเรียนจนจบการศกึ ษาภาคบังคับในเวลาท่ีกำหนด 2.1.2 ระดบั มธั ยมศึกษา ตอนต้น ตวั ชว้ี ดั ท่ี 2.2 อัตราการออกกลางคนั ลดลง 2.2.2 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศึกษา ตอนปลาย ตัวชี้วัดที่ 2.3 ร้อยละ 90 ของเด็กพิการผ่านเกณฑ์การพัฒนาสมรรถภาพตามแผนการ ศึกษาเฉพาะ (Individual Education Program : IEP) 2. ด้านคุณภาพการศึกษา องค์ประกอบที่ 1 การพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดับตามหลักสูตร (ปญั ญาดี มีทักษะ) ตัวช้วี ดั ท่ี 2.1.1 ร้อยละ 100 ของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน(ชั้น ม.1,ม.4) มีผลการประเมินระดับสถานศึกษา เมื่อสิ้นปีการศึกษา (ใช้ผลการสอบภาคเรียนที่ 2) ผ่านเกณฑ์ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม) ตัวชี้วัดที่ 2.1.2 ผู้เรียน ชั้น ม.2 และ ม.5 มีผลการสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษาทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัดย่อย 2 ตัวชี้วัด ดังน้ี ตัวชี้วัดย่อยที่ 2.1.2.1 ผู้เรยี นรอ้ ยละ 50 ของช้ัน ม.2 และ ม.5 มีผลการสอบระดับเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา (LAS) ตัวชี้วัดที่ 2.1.3 ผู้เรียน ม.3 และ ม.6 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ทุกกลุ่มสาระ เพิ่มขึ้นเฉลี่ยไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5 ขึ้นไป ตวั ชว้ี ัดท่ี 2.1.6 รอ้ ยละ 75 ของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน สามารถแสวงหา ความร้ดู ว้ ยตนเอง ตวั ช้วี ดั ที่ 2.1.7 รอ้ ยละ 80 ของผ้เู รียนระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน มที กั ษะการคิด วิเคราะหค์ ิดสรา้ งสรรค์ ตวั ชวี้ ัดท่ี 2.1.8 รอ้ ยละ 100 ผเู้ รียนมที กั ษะการสอื่ สารอยา่ งสร้างสรรค์อย่าง น้อย 2 ภาษา (ภาษาอังกฤษ และภาษาอาเซียน) ตัวชี้วัดที่ 2.1.9 ร้อยละ100 ของผู้เรียนมีทักษะ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ เหมาะสมตามช่วงวัย องค์ประกอบที่ 2 การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นไทย วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (มี คุณธรรม จรยิ ธรรม) ตวั ชว้ี ดั ท่ี 2.2.2 ร้อยละ 80 ของผู้เรยี น ม.ต้น มที กั ษะการแก้ปญั หาและอยู่อย่าง พอเพียง ตัวชี้วัดที่ 2.2.3 ร้อยละ 100 ของผู้เรียนประกอบกิจกรรมทางศาสนาและกิจกรรมที่เป็น ประโยชน์ ตอ่ ผอู้ ่ืนและสังคมอย่างสมำ่ เสมอ จากการกำหนดนโยบายดังกล่าว โรงเรียนนารีนุกูลเล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา จึงได้นำน้อมหลักการทรงงาน 23 ขอ้ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ในหลวงรชั กาลท่ี 9

คู่มอื ครูประกอบการปฏิบตั ิงานวชิ าการโรงเรียนนารนี ุกลู 5 มาหลักยึดในการปฏิบัติงานร่วมกันอย่างมีความสุข โรงเรียนนารีนุกูล กำหนดแนวทางการพัฒนา สถานศึกษา ดงั น้ี วสิ ัยทศั น์ (Vision) โรงเรยี นนารีนุกลู ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานสากล ดว้ ยระบบการบริหารจัดการ ทม่ี ีคณุ ภาพ โดยใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัล บนพ้นื ฐานความเปน็ ไทย พนั ธกจิ (Mission) 1. พฒั นาคุณภาพผเู้ รียนให้มีศักยภาพตามมาตรฐานสากล 2. พัฒนาระบบการบริหารจดั การทีม่ ีคุณภาพ ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 3. พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความร้คู ู่คุณธรรมบนพน้ื ฐานความเปน็ ไทย ก้าวไกลสูส่ ากล 4. พัฒนาสภาพแวดล้อมและแหลง่ เรียนรู้ท่เี อ้ือต่อการจดั การเรยี นการสอน เปา้ ประสงค์ (Goals) 1. ผูเ้ รยี นมคี วามเป็นเลศิ ทางวิชาการ สือ่ สารได้อย่างนอ้ ยสองภาษา ลำหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบต่อสงั คมโลก 2. โรงเรียนมรี ะบบการบรหิ ารจดั การท่มี ีคณุ ภาพ มีเทคโนโลยที ่ที นั สมัย 3. ครแู ละบคุ ลากรได้รบั การส่งเสรมิ และพฒั นาใหม้ ีความรูค้ ู่คุณธรรมบนพืน้ ฐานความเปน็ ไทย กา้ วไกลสู่สากล 4. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมและแหลง่ เรยี นร้ทู เ่ี อื้อต่อการจดั การเรียนการสอนอยา่ งมี ประสิทธิภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนให้มีศักยภาพตามมาตรฐานสากล 2. สง่ เสริมการนำเทคโนโลยดี ิจิทลั มาใช้ในการบริหารจดั การอย่างมีประสทิ ธิภาพ 3. พฒั นาครูและบุคลากรให้มีความรู้คูค่ ุณธรรมบนพ้ืนฐานความเป็นไทย ก้าวไกลสสู่ ากล 4. พฒั นาสภาพแวดล้อมและแหลง่ เรยี นรู้ท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน กลยทุ ธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พฒั นาคุณภาพผู้เรียนใหม้ ศี ักยภาพตามมาตรฐานสากล กลยทุ ธท์ ่ี 1.1 ผลิตผู้เรียนใหม้ คี ณุ ภาพตรงตามมาตรฐานการศกึ ษา กลยทุ ธ์ที่ 1.2 ผลติ ผู้เรียนใหม้ ีศักยภาพตามมาตรฐานสากล ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสรมิ การนำเทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้ในการบริหารจัดการอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ กลยุทธ์ท่ี 2.1 พฒั นาระบบ N3S Model กลยทุ ธ์ท่ี 2.2 พฒั นาระบบการบริหารจัดการอย่างมคี ุณภาพ กลยุทธท์ ี่ 2.3 ส่งเสริมและสรา้ งความร่วมมือกับชุมชน ภาคีเครอื ข่ายอยา่ งหลากหลาย

คมู่ ือครูประกอบการปฏิบตั ิงานวชิ าการโรงเรียนนารนี กุ ูล 6 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้คู่คุณธรรมบนพน้ื ฐานความ เปน็ ไทย ก้าวไกลสสู่ ากล กลยทุ ธ์ท่ี 3.1 ส่งเสริม สนบั สนนุ การพฒั นาศกั ยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาใหเ้ ป็น มืออาชีพ กลยทุ ธท์ ่ี 3.2 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาให้มคี วามสมั พันธ์ ผูกพันและมี วฒั นธรรมองคก์ รร่วมกนั กลยทุ ธท์ ่ี 3.3 ส่งเสริมครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใหม้ สี ว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์ ศลิ ปวฒั นธรรมไทย และภูมิปัญญาท้องถน่ิ บนพนื้ ฐานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กลยุทธ์ท่ี 3.4 ส่งเสรมิ สนับสนุนครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้มีความกา้ วหนา้ ทาง วิชาชพี ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 พฒั นาสภาพแวดลอ้ มและแหล่งเรียนร้ทู ี่เอ้ือต่อการจัดการเรยี นการสอน กลยทุ ธ์ที่ 4.1 พฒั นาอาคารสถานที่ ภูมิทศั น์ และสภาพแวดล้อมของโรงเรยี นใหร้ ม่ ร่นื สวยงาม และปลอดภัย กลยุทธท์ ่ี 4.2 พัฒนาแหล่งเรียนรูท้ ่เี อ้ือต่อการจัดการเรียนการสอน จากการกำหนดแนวทางการพัฒนาดังกล่าว โรงเรียนนารนี กุ ูลแบง่ โครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 กลุ่มงาน คอื กล่มุ งานบริหารบคุ คลและงบประมาณ กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ กลมุ่ งานบรหิ ารกจิ การ นักเรียน และกลมุ่ งานบรหิ ารทว่ั ไป ซงึ่ กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการถือเป็นหวั ใจสำคัญในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ซึ่งโรงเรียนได้พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2560 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้คุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ดงั นน้ั โรงเรยี นนารนี กุ ูลจึงจดั ทำคู่มือครูประกอบการปฏิบัติงานวิชาการ กลุ่มบริหารวิชาการขึ้นโดยเริ่มใช้ปีการศึกษา 2561 และแก้ไขเพิ่มเติมปีที่ 2 โดยผ่านการประเมินผล การใช้คู่มือครูประกอบการปฏิบัติงานวิชาการ ฉบับปีที่ 1 และนำผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติมให้เกิดความสมบูรณ์ เพื่อให้ครูได้ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติที่ชัดเจน และเพื่อเป็นการวางเป้าหมาย เพื่อประกันคุณภาพการสอนของครูผู้สอน และประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีการ รายงานผลเมื่อสิ้นปีการศึกษา และกำหนดกระบวนการและขั้นตอนในการบริหารงานวิชาการดังน้ี ๑) การวางแผน (Planning) ๒) การจัดองค์กร (Organizing) ๓) การจัดวางตัวบุคลากร (Staffing) ๔) การบังคับบัญชา (Directing) ๕) การประสานงาน (Co - ordinating) ๖) การรายงาน (Reporting) ๗) การงบประมาณ (Budgeting) และวางแผนงานในแผนปฏิบัติการประจำปี / โครงการ/งาน/ กิจกรรม ประจำปีแล้วยังกำหนดบทบาทหน้าที่ในคำสั่งพรรณนางาน เพื่อสนองเจตนารมณ์ พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช 2542 และทแ่ี กเ้ พม่ิ เติม

คมู่ อื ครูประกอบการปฏิบัติงานวชิ าการโรงเรียนนารีนุกูล 7 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ให้ครใู ช้เป็นแนวทางการดำเนินงานวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนร่วมกนั ท้งั โรงเรียน 2. เพ่ือใหก้ ารบรหิ ารงานวชิ าการมีความเป็นรปู ธรรม และชดั เจน 3. เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการกลุ่มบริหารวิชาการให้ได้มาตรฐาน ตามรูปแบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา 4. เพื่อใช้เป็นแนวทางเตรียมการประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (ว.21) และการประเมินการคงสภาพ วทิ ยฐานะตามรูปแบบการประเมนิ ของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (กคศ.) กลมุ่ เป้าหมาย ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาโรงเรยี นนารนี กุ ลู ปกี ารศกึ ษา 2563 เป็นตน้ ไป ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั 1. ครูได้ศกึ ษาแนวทางการดำเนินงานวิชาการเพ่อื พฒั นาคุณภาพผู้เรยี นร่วมกันท้งั โรงเรียน 2. การบริหารงานวชิ าการมีความคลอ่ งตัว สอดคล้องกบั ความต้องการของผู้เรยี น และชุมชน 3. ได้รูปแบบการบริหารตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกับระบบประกันคุณภาพ การศกึ ษา 4. ได้แนวทางการประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (ว.21) และการประเมินการคงสภาพวิทยฐานะตาม รปู แบบของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (กคศ.)

คมู่ ือครปู ระกอบการปฏบิ ตั งิ านวิชาการโรงเรียนนารีนุกลู 8 สว่ นท่ี 2 แนวทางการดำเนนิ งานและขอบข่ายภาระงาน แนวทางการดำเนินงาน แนวทางการดำเนินงานวิชาการโรงเรียนนารีนุกูล ได้นำแนวทางและยึด 23 หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ในหลวง รชั กาลที่ 9 มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ ดงั นี้ 23 หลกั การทรงงาน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว ในหลวง รัชกาลที่ 9 1. จะทำอะไรต้องศึกษาขอ้ มูลให้เปน็ ระบบ 2. ระเบิดจากภายใน เริ่มจากคนที่เกี่ยวข้องเสียก่อน ต้องสร้างความเข้มแข็งจากภายในให้เกิด ความเข้าใจและอยากทำ 3. แกป้ ัญหาจากจุดเล็กมองปัญหาภาพรวมก่อนเสมอ แตเ่ มือ่ จะลงมอื แก้ปัญหาน้นั ควรมองในสิ่ง ที่คนมักจะมองข้าม แลว้ เรมิ่ แกป้ ัญหาจากจดุ เล็กๆ เมอ่ื สำเร็จจึงค่อยๆ ขยับขยายแก้ไปเรื่อยๆ ทีละจดุ 4. ทำตามลำดับขั้น เริ่มต้นจากการลงมือทำในสิ่งที่จำเป็นก่อน เม่ือสำเร็จแล้วก็เริ่มลงมือสิ่งท่ี จำเปน็ ลำดบั ต่อไป ดว้ ยความรอบคอบและระมดั ระวัง 5. ภูมิสังคม ภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์ การพัฒนาใดๆ ต้องคำนึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณ นั้นว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละ ท้องถิน่ ทม่ี ีความแตกตา่ งกัน 6. ทำงานแบบองค์รวม ใช้วิธีคิดเพื่อการทำงาน โดยวิธีคิดอย่างองค์รวม คือการมองสิ่งต่างๆ ที่เกิดอย่างเป็นระบบครบวงจร ทุกสิ่งทุกอย่างมีมิติเชื่อมต่อกัน มองสิ่งที่เกิดขึ้นและแนวทางแก้ไข อยา่ งเชือ่ มโยง 7. ไม่ติดตำรา เมื่อเราจะทำการใดนั้น ควรทำงานอย่างยืดหยุ่นกับสภาพและสถานการณ์นั้นๆ ไมใ่ ชก่ ารยึดติดอยกู่ ับแค่ในตำราวชิ าการ เพราะบางที่ความรู้ทว่ มหัว เอาตัวไมร่ อด 8. รจู้ กั ประหยดั เรียบง่าย ได้ประโยชน์สงู สดุ 9. ทำให้ง่าย ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงาน การพัฒนาประเทศตามแนว พระราชดำรไิ ปได้โดยงา่ ย ไมย่ งุ่ ยากซับซอ้ นและทีส่ ำคญั อย่างยิ่งคือ สอดคลอ้ งกบั สภาพความเปน็ อยู่ของ ประชาชนและระบบนเิ วศโดยรวม “ทำใหง้ ่าย”

คู่มอื ครูประกอบการปฏิบัติงานวิชาการโรงเรียนนารีนุกลู 9 10. การมีส่วนร่วม ทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือ เจ้าหนา้ ที่ทกุ ระดบั ไดม้ าร่วมแสดงความคิดเหน็ “สำคญั ทสี่ ดุ จะต้องหัดทำใจใหก้ วา้ งขวาง หนักแน่น รจู้ ัก รับฟังความคิดเห็น แม้กระทั่งความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาดนั้น แท้จริงคือ การระดม สติปัญญาละประสบการณ์อันหลากหลายมาอำนวยการปฏิบัติบริหารงานให้ประสบผลสำเร็จที่สมบูรณ์ นนั่ เอง” 11. ตอ้ งยึดประโยชนส์ ว่ นรวม 12. บริการที่จุดเดียว “การบริการรวมที่จุดเดียว : One Stop Service” โดยเน้นเรื่องรู้รัก สามคั คีและการร่วมมือรว่ มแรงรว่ มใจกนั ด้วยการปรับลดชอ่ งว่างระหว่างหน่วยงานท่ีเกีย่ วข้อง 13. ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ มองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด โดยหากเราต้องการแก้ไข ธรรมชาตจิ ะตอ้ งใชธ้ รรมชาตเิ ขา้ ช่วยเหลอื เรา 14. ใช้อธรรมปราบอธรรม ทรงนำความจริงในเรื่องธรรมชาติและกฎเกณฑข์ องธรรมชาติมาเป็น หลกั การแนวทางปฏิบัตใิ นการแกไ้ ขปัญหาและปรับปรงุ สภาวะท่ีไม่ปกติเข้าสู่ระบบท่ปี กติ 15. ปลกู ปา่ ในใจคน การจะทำการใดสำเร็จต้องปลูกจิตสำนึกของคนเสยี ก่อน ต้องให้เห็นคณุ คา่ เหน็ ประโยชน์กับสิง่ ทจี่ ะทำ 16. ขาดทนุ คอื กำไร หลกั การในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทมี่ ตี อ่ พสกนกิ รไทย “การให”้ และ “การเสียสละ” เป็นการกระทำอันมีผลเปน็ กำไร คือความอยูด่ ีมสี ุขของราษฎร 17. การพึ่งพาตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ เพื่อการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นด้วย การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้มีความแข็งแรงพอที่จะดำรงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือ การพฒั นาให้ประชาชนสามารถอยใู่ นสังคมได้ตามสภาพแวดล้อมและสามารถ พงึ่ ตนเองไดใ้ นทสี่ ดุ 18. พออยู่พอกิน ใหป้ ระชาชนสามารถอยู่อยา่ ง “พออยู่พอกิน” ให้ได้เสยี ก่อน แลว้ จึงค่อยขยบั ขยายใหม้ ีขีดสมรรถนะทก่ี ้าวหน้าตอ่ ไป 19. เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชดำรัสชี้แนะแนว ทางการดำเนินชีวติ ให้ดำเนินไปบน “ทางสายกลาง” เพื่อให้รอดพ้นและสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมัน่ คง และยั่งยืนภายใตก้ ระแสโลกาภิวตั น์และการเปลีย่ นแปลงต่างๆ ซึ่งปรัชญานีส้ ามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ ทัง้ ระดับบุคคล องค์กร และชมุ ชน 20. ความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน ผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อย ก็ย่อม ทำประโยชน์ใหแ้ กส่ ว่ นรวมไดม้ ากกวา่ ผู้ท่ีมีความรูม้ าก แต่ไม่มคี วามสุจรติ ไม่มคี วามบรสิ ทุ ธิใ์ จ 21. ทำงานอย่างมีความสุข ทำงานต้องมีความสุขด้วย ถ้าเราทำอย่างไม่มีความสุขเราจะแพ้ แต่ถ้าเรามีความสุขเราจะชนะ สนุกกับการทำงานเพียงเท่านั้น ถือว่าเราชนะแล้ว หรือจะทำงาน โดยคำนึงถงึ ความสุขทเ่ี กิดจากการได้ทำประโยชน์ให้กับผู้อ่นื กส็ ามารถทำได้ 22. ความเพียร การเริ่มต้นทำงานหรือทำสิ่งใดนั้นอาจจะไม่ได้มีความพร้อม ต้องอาศัยความ อดทนและความมุ่งม่ัน 23. รู้ รัก สามัคคี รู้ คือ รู้ปัญหาและรู้วิธีแก้ปัญหานั้น รัก คือ เมื่อเรารู้ถึงปัญหาและวิธีแก้แล้ว เราต้องมีความรัก ที่จะลงมือทำ ลงมือแก้ไขปัญหานั้น สามัคคี คือ การแก้ไขปัญหาต่างๆ ไม่สามารถ ลงมอื ทำคนเดียวได้ ตอ้ งอาศยั ความรว่ มมอื ร่วมใจกัน (สืบคน้ จาก : https://th.jobsdb.com, http://www.crma.ac.th, http://umongcity.go.th สบื คน้ เม่ือวันที่ 22 เมษายน 2561)

คู่มอื ครปู ระกอบการปฏบิ ัตงิ านวชิ าการโรงเรยี นนารีนกุ ูล 10 พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 10 เมื่อวนั ศุกร์ท่ี 18 สงิ หาคม พ.ศ. 2560 บริษัท ซพี ี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จดั งานแจกรางวัล “เซเวน่ บุ๊คอวอร์ด” มศี าสตราจารย์นายแพทย์เกษม วฒั นชัย เปน็ ประธาน ก่อนแจกรางวลั คณุ หมอ เกษม ไดอ้ ญั เชิญพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั วชริ าลงกรณ์บดนิ ทรเทพ ยวรางกูร ซง่ึ คณุ หมอไดบ้ นั ทึกไว้มาเสนอในทปี่ ระชมุ เปน็ พระบรมราโชบายท่ีครทู ุกคนควรทราบและ นอ้ มมาปฏิบัติ ดังน้ี การศกึ ษามุ่งสร้างพืน้ ฐานให้แก่ผเู้ รียน 4 ด้าน 1. มที ัศนคตทิ ี่ถกู ต้องต่อบ้านเมือง ข้อนีม้ ีคำขยายว่า ต้องมีความรู้ความเข้าใจท่ีมตี ่อชาติ บา้ นเมืองยึดม่นั ในศาสนา มั่นคงในสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ และมีความเอื้ออาทรต่อครอบครวั และ ชุมชนของตน 2. มพี ้ืนฐานชีวติ ที่มนั่ คง มีคุณธรรม ขอ้ นมี้ ีคำขยายวา่ ให้รจู้ ักแยกแยะส่ิงที่ผดิ ท่ีถูก สิ่งท่ี ชวั่ สิง่ ท่ีดี เพ่ือปฏบิ ัติแตส่ งิ่ ที่ดีงาม ปฏิเสธส่ิงที่ผิดทช่ี วั่ เพอื่ สร้างคนดใี หแ้ กบ่ า้ นเมือง 3. มงี านทำ มีอาชีพ ขอ้ นี้มคี ำขยายวา่ ตอ้ งให้เดก็ รักงาน สงู้ าน ทำงานจนสำเร็จ อบรมให้ เรยี นรู้ การทำงาน ใหส้ ามารถเลี้ยงตัวและเล้ยี งครอบครวั ได้ 4. เปน็ พลเมืองดี ข้อนมี้ ีคำขยายว่า การเป็นพลเมืองดเี ปน็ หนา้ ทข่ี องทกุ คน สถานศึกษา และสถานประกอบการต้องส่งเสริมใหท้ กุ คนมีโอกาสทำหน้าทพ่ี ลเมืองดี การเป็นพลเมืองดีหมายถึง การมนี ้ำใจ มีความเอื้ออาทร ตอ้ งทำงานอาสาสมคั ร งานบำเพ็ญประโยชน์ “เหน็ อะไรท่ีจะทำเพื่อ บา้ นเมืองได้กต็ ้องทำ” พระบรมราโชบายทั้งหมดนี้ไม่ใช่สิ่งที่ยากเกินกว่าครูจะทำและสั่งสอนศิษย์ให้ทำได้ หากครู ตั้งใจสร้างศิษย์ให้ได้ตามพระบรมราโชบายทั้ง 4 ด้าน ข้อนี้จะทำให้ชาติบ้านเมืองเจริญ ไม่มีคนที่นิ่งดู ดายปล่อยให้เกิดความชั่ว ความไม่ดีในบ้านเมือง ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การรู้จักแยกแยะสิ่งทีถ่ ูกทีผ่ ิด สิ่งทีด่ ีสง่ิ ที่ชั่ว และเลือกรับเลอื กทำแตท่ างที่ถูกท่ีดี เด็กไทยควรใชว้ จิ ารณญาณของตน ไม่ตามแฟช่ันตาม สังคมโดยไรส้ ติ อกี ประการหนึ่งท่คี วรน้อมนำมาใสเ่ กลา้ ฯ คอื พระบรมราโชบายที่ว่า เหน็ อะไรท่ีควรทำ เพื่อบ้านเมืองก็ต้องทำ คนไทยเห็นอะไรที่ควรทำเพื่อบ้านเมืองก็ต้องลงมือทำไม่ปล่อยให้ผ่านไปด้วย ความคิดวา่ “ธุระไม่ใช”่ (ศาสตราจารย์กิตติคณุ ดร.กาญจนา นาคสกลุ นายกสมาคมครภู าษาไทยแห่ง ประเทศไทย. 2562)

คูม่ ือครูประกอบการปฏบิ ัติงานวชิ าการโรงเรยี นนารีนกุ ลู 11 ขอบข่ายภารกจิ ด้านการบรหิ ารวิชาการ ขอบข่ายภารกิจด้านการบริหารวิชาการ โรงเรียนนารีนุกูลได้นำเอาวิธีการการแบ่งภารกิจงานตาม เอกสาร 1) แนวทางการคู่มือการบริหารโรงเรียนในโครงการพัฒนาการบริหารรูปแบบนิติบุคคล (2556 : 41) และ 2) มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2552 (ปรับปรุง พ.ศ. 2560) โดยแบ่งภาระงานตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานกล่มุ บริหารวชิ าการ ดังนี้ โครงสรา้ งการบริหารงานกลุ่มบริหารวิชาการ คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ หวั หนา้ สำนกั งานกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ คณะกรรมการบริหารวิชาการ 1. งานพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา 2. งานจัดการเรยี นการสอน 3. งานนิเทศการศึกษา 4. งานวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา 5. งานทะเบียนนกั เรียน 6. งานกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน 7. งานวิจัยและพฒั นา 8. งานกล่มุ สาระการเรียนรู้ 9. งานประกันคุณภาพการศึกษา 10. งานรับนักเรียน 11. งานการเรยี นการสอน IS 12. งานสร้างชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี 13. งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น 14. งาน DLIT และเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา ขอบข่าย/ภารกิจการดำเนนิ งานดา้ นการบริหารวชิ าการของโรงเรียนนารีนกุ ูล มีรายละเอียดดงั น้ี 1. งานพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา 1.1 ศึกษาวิเคราะห์เอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานและตัวชี้วัดในหลักสูตรข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสภาพปัญหาและความต้องการของสังคม ชมุ ชนและทอ้ งถ่ิน

ค่มู อื ครูประกอบการปฏิบตั ิงานวิชาการโรงเรียนนารนี กุ ลู 12 1.2 วิเคราะห์สภาพแวดล้อม และประเมินสถานภาพสถานศึกษาเพื่อกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมาย คุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายรวมท้ังคณะกรรมการบริหาร วชิ าการ 1.3 จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรท้องถิ่นและสาระที่รับผิดชอบให้สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ เป้าหมายและคุณลักษณะที่พึงประสงค์โดยพยายามบูรณาการเนื้อหาสาระทั้งในกลุ่มสาระ การเรียนร้เู ดียวกนั และระหว่างกล่มุ สาระการเรียนรตู้ ามความเหมาะสม 1.4 นำหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของ พรบ. การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทีป่ รบั ปรุงแก้ไข พ.ศ. 2545 1.5 นิเทศการใช้หลักสูตรของครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบประเมินผลหลักสูตร อยา่ งต่อเนื่องและนำผลการประเมินไปใช้ในการพฒั นาหลักสูตร 1.6 ติดตามและประเมินผลการใชห้ ลกั สตู รของครูในกลุ่มสาระการเรียนรูท้ ่รี ับผดิ ชอบ 1.7 ปรบั ปรุง และพฒั นาหลักสตู รในกลุม่ สาระการเรียนรู้ท่ีผิดชอบตามความเหมาะสม 2. งานจดั การเรยี นการสอน 2.1 จัดกลุ่มการเรียนตามโครงสร้างหลักสูตรโรงเรียน โดยคำนึงถึงความพร้อมของ บุคลากร อาคารสถานที่ และวัสดุครุภัณฑ์ ความต้องการ ความถนัด ความสนใจ เพื่อการศึกษาต่อ หรือประกอบอาชพี ของผเู้ รยี น 2.2 ประเมนิ ผลและปรบั ปรุงการจดั กลมุ่ การเรยี นของครผู ู้สอน 2.3 จัดทำแนวปฏิบัติและเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสอนแทนและจัดครูเข้า สอนแทนตามความเหมาะสมและแจง้ กลุ่มสาระได้รวบรวมและประเมนิ ผลการจดั ครูเข้าสอนแทน 2.4 สรปุ และรายงานผลการดำเนินการจัดครเู ข้าสอนแทนใหผ้ ูบ้ รหิ ารรับทราบสปั ดาหล์ ะ 1 คร้ัง 3. งานนิเทศการศึกษา 3.1 บทบาทหน้าท่ี 1) เป็นหัวหน้านเิ ทศการศึกษา 2) เป็นคณะกรรมการฝา่ ยบริหารวิชาการ 3) จัดระบบนิเทศงานวิชาการและการเรยี นการสอนภายในโรงเรียน 4) จัดทำคำสั่งแต่งต้งั คณะกรรมการนิเทศการสอนระดับโรงเรียนและระดบั กลมุ่ สาระการ เรยี นรู้ 5) ดำเนนิ การนิเทศงานวิชาการและการเรียนการสอนในรูปแบบหลากหลาย และ เหมาะสมกับโรงเรียน 6) แลกเปลีย่ นเรียนรปู้ ระสบการณ์การจัดระบบนเิ ทศการศึกษาภายในโรงเรยี นกบั สถานศึกษาอ่นื หรือเครือขา่ ย การนเิ ทศการศึกษาภายในเขตพื้นที่การศกึ ษา 7) ตดิ ตามประสานงานกบั เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาระบบและกระบวนการนเิ ทศงาน วิชาการและการเรยี นการสอนของโรงเรยี น 8) สรุปรายงานผลการนเิ ทศการศกึ ษาตอ่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ความรับผดิ ชอบ 1) จดั ระบบนิเทศงานวิชาการและการเรยี นการสอนภายในโรงเรียนใหค้ รอบคลุมทกุ กลุ่ม สาระการเรียนรูแ้ ละกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น

ค่มู อื ครปู ระกอบการปฏบิ ตั ิงานวชิ าการโรงเรียนนารนี ุกลู 13 2) จัดทำคำส่ังแต่งต้งั คณะกรรมการนเิ ทศการสอนระดับโรงเรียนและระดบั กล่มุ สาระการ เรียนรู้ ภาคเรียนละ 1 คร้ัง 3) ดำเนินงานนิเทศการสอนของครใู นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครงั้ 4) จดั ทำสรุปรปู เลม่ รายงานนเิ ทศการสอนระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ และรายงานต่อรอง ผ้อู ำนวยการกล่มุ บริหารวิชาการ และ ผู้บริหารสถานศกึ ษา ซึ่งมหี วั ข้อรปู เล่มรายงานดงั น้ี 4.1 ปก 4.2 รองปก 4.3 คำนำ 4.4 สารบัญ 4.5 ความสำคัญ 4.6 การวางแผนการนิเทศ/ปฏทิ ินการนเิ ทศ 4.7 สถติ ิท่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู 4.8 การดำเนินการนเิ ทศตามปฏทิ นิ /สรุปผลการนเิ ทศการสอนรายบคุ คล 4.9 สรปุ ผลการดำเนนิ การนเิ ทศในภาพรวม ปัญหา/อปุ สรรค/ข้อเสนอแนะ 4.10 ภาคผนวก คำสงั่ /รูปภาพ/แบบฟอร์มการนเิ ทศ 5) แนะนำให้ความรเู้ ชงิ วิชาการแก่ครผู สู้ อน และแลกเปลยี่ นเรยี นร้ปู ระสบการณ์ 6) การจดั ระบบนิเทศ การนิเทศการศึกษาภายในโรงเรยี นและภายนอกสถานศึกษา 7) ติดตามประสานงานกับเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาเพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการนิเทศงาน วชิ าการและการเรียนตารางเรียนตารางสอนของโรงเรียนอยา่ งตอ่ เน่ือง 8) ประเมินผลและสรปุ ผลการปฏิบัติงาน เพื่อปรับปรุง พัฒนางานให้ดขี ้ึน 4. งานวัดและประเมนิ ผลการศึกษา 4.1 จดั ทำแผน โครงการ ปฏิทนิ ปฏบิ ัตงิ านวัดผลและประเมินผลการเรียน 4.2 จดั ทำและตรวจสอบเอกสาร ปพ.1, ปพ.7 และเอกสารรบั รองอนื่ ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องใน ระดับชน้ั ท่ีรบั ผดิ ชอบ 4.3 รวบรวมผลสอบปลายภาค แบบประเมินผลการเรียนในระดับชั้นที่รับผิดชอบ นำเสนอผอู้ ำนวยการเพอื่ ขออนุมัติ ประกาศผลสอบและแยกชั้นเรียนให้ครทู ีป่ รกึ ษา นำไปจัดทำ ปพ.6 4.4 ดำเนินการเกยี่ วกับการแก้ ๐ ร และ มส. 4.5 รวบรวมผลการสอบแก้ตัวนำเสนอผู้อำนวยการเพื่อขออนุมัติ และประกาศผล ใน ระดบั ช้นั ทรี่ บั ผดิ ชอบ ใหเ้ ป็นปัจจบุ นั 4.6 สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของครูผู้สอนแต่ละคนต่อรองผู้อำนวยการ กลุ่ม บริหารงานวิชาการเพ่อื หาจดุ พฒั นา 4.7 รวบรวมสถิติเกี่ยวกับการวัดผล ประเมินผล เช่น สถิตินักเรียนที่สอบไม่ผ่าน สถิติ การสอบแก้ตัว 4.8 จัดระบบการเก็บเอกสาร การทำลายเอกสาร ระเบียบคำสั่งงานวัดผล ให้สะดวกใน การคน้ หาและปลอดภัย 4.9 ร่วมมือกบั กลุ่มสาระการเรียนรู้เพอื่ วเิ คราะหข์ ้อสอบปลายภาค 4.10 ตรวจสอบ ปพ. 5 ของกลุ่มสาระวิชาต่างๆตามที่ได้รับมอบหมาย และสรุปผลการ ตรวจสอบตอ่ รองผู้อำนวยการกลุม่ บริหารงานวชิ าการ เพอ่ื พฒั นา

คู่มือครูประกอบการปฏบิ ตั งิ านวิชาการโรงเรียนนารนี กุ ูล 14 4.11 เป็นเลขานุการร่วมกับหัวหน้าระดับชั้นและครูผู้สอนตรวจสอบคะแนนและผลการ เรยี นใน ปพ. 5 ในระดับช้ันท่รี ับผิดชอบ 4.12 ดแู ลกำกับการตรวจข้อสอบโดยใชเ้ ครอื่ งตรวจคำตอบ 5. งานทะเบยี นนกั เรยี น 5.1 จัดทำแผน โครงการและปฏทิ นิ การดำเนินงานทะเบียนนักเรียน 5.2 จดั ทำทะเบยี นและเลขประจำตวั นกั เรียน (ม.1 ม.4 และนักเรยี นยา้ ยเขา้ -ย้ายออก) 5.3 จัดทำแบบฟอร์ม แบบคำรอ้ งทใี่ ช้ในงานทะเบยี น 5.4 จัดทำสถิติในการรับ - จำหนา่ ยนกั เรยี น 5.5 จัดทำสถติ จิ ำนวนนักเรยี นให้เปน็ ปัจจุบนั 5.6 จดั ทำใบลงทะเบียนเรยี นแตล่ ะภาคเรียน 5.7 ตดิ ต่อประสานงานกบั ผู้ปกครอง 5.8 จัดระบบการเก็บ รักษาเอกสาร การทำลายเอกสาร ระเบียบคำสั่งงานทะเบียน นักเรยี นให้สะดวกในการค้นหาและปลอดภยั 5.9 ให้บริการในการจดั ทำเอกสาร ปพ. 1, ปพ.2, ปพ.3 และใบประกาศนียบัตรสำหรับ นักเรยี นทีจ่ บหลกั สตู รแล้ว 5.10 จัดทำบัตรประจำตัวนักเรียนใหค้ รบทุกคน 5.11 จัดทำเอกสารแจง้ ครูท่ีปรึกษา, ครผู ้สู อน ในกรณที ่ีมีนกั เรยี นย้ายออกและเข้าใหม่ 5.12 ตรวจสอบวุฒกิ ารศกึ ษาของนักเรยี นทจ่ี บการศึกษา 5.13 เทยี บโอนผลการเรียนของนักเรยี น 6. งานกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น 6.1 กำหนดนโยบายว่าด้วยการจัดกิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญ ประโยชน์ และกิจกรรมชุมนมุ 6.2 กำกับ ติดตาม ดูแล การปฏิบัติงานกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญ ประโยชน์และกจิ กรรมชมุ นุมให้เป็นไปตามนโยบายและเกิดประโยชนต์ อ่ ผู้เรียน 6.3 สนับสนุน ส่งเสริมการบริหารจัดการชั้นเรียนกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพญ็ ประโยชน์ และกจิ กรรมชุมนมุ ใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย 6.4 ให้คำแนะนำในการแก้ไขปัญหาติดตาม ประเมินผลและรายงานการปฏิบัติงานของ บุคลากรท่สี งั กดั กจิ กรรมลูกเสอื - เนตรนารี ยวุ กาชาด ผ้บู ำเพ็ญประโยชน์ และกิจกรรมชมุ นมุ 7. งานวจิ ัยและพัฒนา 7.1 สง่ เสริมใหค้ รู ศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ัย เพ่อื พัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น 7.2 จดั ทำวิจยั เพ่ือพัฒนาโรงเรยี นปลี ะ 1 เร่อื งเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา 7.3 จดั ใหม้ กี ารนิเทศเก่ยี วกับการจัดทำวิจยั และรายงานการวิจยั 7.4 วางแผน และร่วมมือในการดำเนินการประเมินคุณภาพงานวิจัยในชั้นเรียนและ งานวจิ ัยทางการศึกษา 7.5 บรกิ ารชมุ ชนในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล หรอื แบบสอบถามเพ่อื การวจิ ยั และพัฒนา

คู่มือครูประกอบการปฏบิ ตั ิงานวิชาการโรงเรยี นนารีนกุ ูล 15 8. งานกล่มุ สาระการเรียนรู้ 8.1 หลักสูตรห้องเรียนปกติ 8.1.1 ส่งเสริมและพัฒนาครูในการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาท่ี สอดคลอ้ งกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 และทแี่ ก้ไขเพม่ิ เตมิ พ.ศ.2560 8.1.2 ส่งเสริมและใหค้ วามรูค้ รใู นการจดั ทำหน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และให้ครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้แบบย้อยกลับ และแผนการเรยี นรู้บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง 8.1.3 ส่งเสริมให้ครูจดั เน้ือหา สาระ กิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของ ผ้เู รยี นทั้งดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 8.1.4 ส่งเสริมการนำการจัดบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อการจัด กระบวนการเรยี นรู้ 8.1.5 ส่งเสริมการนำภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินหรอื เครอื ข่ายผปู้ กครอง ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ มามีสว่ น ร่วม ในการจัดการเรยี นรูต้ ามความเหมาะสม 8.1.6 กำกบั ตดิ ตาม การจดั กระบวนการเรียนร้ขู องครู ส่งเสรมิ ใหค้ รูจดั เน้อื หาสาระและ กิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชญิ สถานการณ์ การประยุกต์ใช้ความรู้เพ่ือป้องกนั และแก้ไขปัญหา การเรยี นรู้จากประสบการณ์ จริงและการปฏิบัติจริง การส่งเสริมให้รักการอ่าน และใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง การผสมผสานความรู้ต่าง ๆ ใหส้ มดลุ กัน ปลูกฝงั คณุ ธรรม ค่านิยมทด่ี ีงาม และคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ทส่ี อดคล้องกับเนื้อหาสาระ กิจกรรม ทั้งนี้โดยจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ และการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือเครือข่าย ผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่นมามีส่วนร่วมในการจัดการเรียน การสอนตามความเหมาะสม 8.1.7 นิเทศการเรียนการสอนแก่ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ โดยเน้นการ นิเทศแบบกัลยาณมิตร เช่น นิเทศแบบเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนร่วมกันหรือแบบ อื่นๆ ตามความเหมาะสม 8.1.8 ประเมนิ กระบวนการจัดการเรยี นรขู้ องครูอยา่ งต่อเน่ือง 8.2 หลักสตู รห้องเรยี นพเิ ศษโปรแกรมนานาชาติ 8.2.1 วางแผน กำหนดการดำเนินงานห้องเรียนพิเศษโปรแกรมนานาชาติ ตามโครงการ พัฒนาการศึกษาให้เป็นศูนย์กลางภูมิภาคประเทศไทย (Education Hub โดยจัดการเรียนการสอนโดย ใช้หลักสูตรนานาชาติ ของมหาวิทยาลัยเคมบริดส์ (Cambridge University) โดยให้มีการพัฒนา หลักสูตรอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และหลักสูตรของ เคมบริดส์สคลู 8.2.2 ให้คำปรึกษา ควบคุม กำกับ ดูแลการดำเนินงานและอำนวยความสะดวกให้แก่ คณะกรรมการฝา่ ยต่างๆ ให้ดำเนนิ ไปด้วยความเรียบรอ้ ย 8.2.3 จัดหาครูผู้สอนชาวต่างประเทศในการจัดการเรียนการเสนอ สนับสนุนจัดการเรียน การสอนตามโครงสรา้ งหลกั สูตรของโรงเรียนให้ได้คุณภาพมาตรฐาน 8.2.4 กำกับติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนของครูและประเมิน ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลของครูผ้สู อน

คู่มือครปู ระกอบการปฏบิ ตั งิ านวิชาการโรงเรยี นนารีนกุ ลู 16 8.2.5 สรุปรายงานผลการดำเนินงานส้ินปกี ารศึกษา 8.3 หลกั สตู รห้องเรยี นพิเศษ 8.3.1 วางแผน กำหนดการดำเนินงานห้องเรียนพิเศษโดยจัดการเรียนการสอนโดยใช้ หลักสูตรห้องเรียนพิเศษ 4 โครงการ และให้มีการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สอดคล้องกับ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และหลกั สูตรของเคมบรดิ ส์สคลู 8.3.2 ให้คำปรึกษา ควบคุม กำกับ ดูแลการดำเนินงานและอำนวยความสะดวกให้แก่ คณะกรรมการฝา่ ยต่างๆ ให้ดำเนนิ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย 8.3.3 จัดหาครูผู้สอนเพื่อการจัดการเรียนการเสนอ สนับสนุนจัดการเรียนการสอนตาม โครงสร้างหลกั สตู รของโรงเรยี นใหไ้ ด้คุณภาพมาตรฐาน 8.3.4 กำกับติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนของครูและประเมิน ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลของครผู ้สู อน 8.3.5 สรุปรายงานผลการดำเนินงานสิน้ ปกี ารศกึ ษา 8.4 กิจกรรมแนะแนว 8.4.1 จัดทำผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้กจิ กรรมแนะแนว แผนการจัดการเรียนรู้ การ วดั ผลประเมนิ ผล และการเข้าสอนของครูทกุ คน 8.4.2 จัดครเู ขา้ สอนแนะแนวของแต่ละระดบั ชนั้ 8.4.3 จัดทำแบบบันทกึ เวลาเรียนกจิ กรรมแนะแนวทุกระดับช้นั 8.4.4 ติดตามการส่งผลการประเมนิ กิจกรรมแนะแนวจากครูทีป่ รึกษาให้ทนั ตามกำหนด และรวบรวมผลการประเมินส่งวชิ าการ 8.4.5 จัดทำ ปพ.8 (ระเบยี นสะสม)นักเรยี นระดับชั้น ม.1 –ม.4 8.4.6 ติดตามการกรอกข้อมูลในเอกสาร ปพ.8 ของครูท่ีปรึกษาทุกคน 8.4.7 ให้บริการเกี่ยวกับทุนการศึกษาและกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาแก่นักเรียน ท่ีขาดแคลน 8.4.8 ใหบ้ ริการรบั ปรึกษา ใหค้ ำแนะนำเกี่ยวกับการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และ อนื่ ๆ 8.4.9 ตดิ ต่อประสานงานกับสถาบันระดับอดุ มศกึ ษาเก่ียวกับการศึกษาต่อของนักเรียน 8.4.10 จดั ทำข้อมลู เก่ยี วกับการศึกษาต่อและการประกอบอาชพี ของนักเรียน 9. งานประกนั คุณภาพการศึกษา 9.1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาที่สอดคล้องตามมาตรฐานการศึกษาชาติ เอกลักษณ์ของ สถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กระทรวงศึกษาประกาศใช้ พร้อมทั้งกำหนดค่า เปา้ หมายความสำเรจ็ ของแตล่ ะมาตรฐานและตวั บ่งช้ี และประกาศให้ผูเ้ กย่ี วข้องไดร้ ับทราบ 9.2 ร่วมจดั ทำแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา (แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษา) ที่มุ่งเน้นคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่ผ่านการวิเคราะหส์ ภาพปญั หา ความต้องการจำเป็นของสถานศึกษา และระบุวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ความสำเร็จของการ พัฒนา วิธีดำเนินงานที่มีหลักวิชาและผลการวิจัยรองรับ งบประมาณ และทรัพยากร รวมทั้งแหล่ง วิทยาการจากภายนอกที่ให้การสนับสนุนอย่างชัดเจน โดยมีบุคลากรของสถานศึกษาและผู้เรียนเป็น

คมู่ อื ครปู ระกอบการปฏบิ ตั ิงานวชิ าการโรงเรยี นนารนี ุกลู 17 ผู้รับผิดชอบและจัดแผนปฏิบัติการประจำปีเพื่อรองรับและดำเนินการ ทั้งนี้โดยการมีส่วนร่วมของ ผปู้ กครองและชมุ ชนโดยผา่ นความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 9.3 จัดระบบบริหารงานที่มีโครงสร้างที่ชัดเจนและเอื้อต่อการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายใน และจัดทำระบบสารสนเทศที่มีฐานข้อมูลสารสนเทศที่เป็นปัจจุบันอย่างครบถ้วน ถกู ตอ้ ง และเพยี งพอ และสามารถเขา้ ถึงไดอ้ ย่างสะดวก รวดเรว็ และปลอดภัย 9.4 รับผิดชอบและเกี่ยวข้องทุกฝ่ายดำเนินการตามแผนปฏิบัติการสู่การปฏิบัติอย่างมี ประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด 9.5 จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา เพื่อทราบความก้าวหน้าของการปฏิบัติ ตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และรายงานพร้อมข้อเสนอแนะการเร่วรัดการพัฒนา คุณภาพการศึกษาให้ผู้ที่รับผิดชอบและผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปประกอบการปรับปรุงพัฒนา และพร้อมรับ การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาจากหนว่ ยงานตน้ สงั กัด 9.6 จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยมี คณะกรรมการที่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากหน่วยงานต้นสังกัดอย่างน้อย 1 คน โดยใช้วิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย และพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายในจากหน่วยงาน ต้นสังกดั 9.7 จัดทำรายงานประจำปี (SAR) เพื่อสะท้อนคุณภาพผู้เรียนและการบริการจัดการศึกษา ของผู้รับผิดชอบและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่นำไปสู่เป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไว้ในรอบปีเสนอต่อ หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเผยแพร่ต่อสาธารณชน โดยผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 9.8 ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรของสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และนำไปปฏิบัติในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องจนเป็นวัฒนธรรมองค์กร และนำผลการประเมินคุณภาพท้ัง ภายในและภายนอกไปใชใ้ นการวางแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา 9.8.1 มาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน เพ่ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕62 มจี ำนวน 3 มาตรฐาน คอื มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รียน ๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู้ รยี น ๑.๒ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรยี น มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ น้นผ้เู รียนเป็นสำคญั 9.8.2 บทบาทของครูผูส้ อนในการประกนั คณุ ภาพภายใน บทบาทของครูผู้สอนในการประกนั คุณภาพภายใน เพื่อให้สอดคล้องกบั แนวปฏิบตั ิของ หน่วยงาน ต้นสังกดั โรงเรยี นนารนี ุกลู จงึ กำหนดระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ดงั นี้

คมู่ ือครปู ระกอบการปฏบิ ัตงิ านวชิ าการโรงเรยี นนารนี ุกูล 18 ระบบงาน ขน้ั ตอนการทำงาน Plan (P) 1. จดั ทำ ID-Plan 2. ศึกษามาตรฐานและตัวชี้วดั ตามหลักสูตร Do (D) 3. จดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้ Check (C) 4. จัดทำสารสนเทศเพ่อื การเรยี นรู้ Act (A) 5. บริหารจดั การช้ันเรยี น 6. จัดการเรยี นรู้ 7. ตดิ ตามตรวจสอบการจัดการเรยี นรู้ 8. ประเมินผลการเรียนรู้ 9. รายงานผลการจัดการเรยี นรู้ 10. รายงานการพัฒนาตนเอง ID-REPORT 11. พฒั นาการจดั การเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง การประกันคุณภาพภายใน การวางแผน การปฏบิ ตั งิ าน การประเมนิ รายงานการ การทำงาน ของครู ตนเองของครู ประเมินตนเอง (ID - Plan) (IDR) ขอ้ มูล ป้อนกลับ 9.8.3 บทบาทของครูในการรบั การตรวจสอบและประเมนิ จากภายนอก การประกันคุณภาพภายนอกเป็นงานท่ีตอ่ เนื่องจากการประกันคุณภาพภายในซ่ึงสถานศึกษา จะต้องจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ทุกปี การศึกษา เพื่อเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด ซึ่งบทบาทของครูผู้สอนในการรับการตรวจสอบและการ ประเมนิ คุณภาพจากภาย 4 ขอ้ ดงั นี้ 1) จดั กระบวนการเรียนการสอนตามแผนการจดั การเรยี นรูเ้ พ่ือพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษาตามศักยภาพผ้เู รียนรายบุคคล และเพือ่ เปน็ การประกนั คณุ ภาพการเรียนการสอนของครู รายบุคคล ประกอบดว้ ยเอกสารดงั นี้ 1.1) วิเคราะหผ์ เู้ รยี นรายบุคคล ภาคเรยี นละ 1 คร้งั โดยดำเนนิ การก่อนการสอน 1.2) วิเคราะห์แบบทดสอบปลายภาคเรียน เพื่อวิเคราะห์ความสอดคล้องของ เนื้อหา และเพ่ือวิเคราะหค์ วามยากงา่ ยของแบบทดสอบทจ่ี ะใชใ้ นภาคเรยี นปจั จบุ ัน ดงั น้ี 1.2.1) ขอรบั ผลการวเิ คราะห์แบบทดสอบจากงานวัดและประเมนิ ผล 1.3) ครูผู้สอนร่วมกันวิเคราะห์แบบทดสอบด้วยการหาค่า p และ ค่า r แล้วเลือก ขอ้ ทใ่ี ช้ไดไ้ ปใช้ในการทดสอบในภาคเรยี นถัดไป

คูม่ ือครูประกอบการปฏบิ ัตงิ านวชิ าการโรงเรียนนารนี กุ ูล 19 1.3.1) กำหนดรูปแบบการวเิ คราะห์แบบทดสอบ (ตัวอย่างในส่วนท่ี 4) ดงั นี้ 1.3.2) แบบทดสอบขอ้ ท่ี 1 และตัวเลือกทั้ง 4 ตัวเลอื ก 1.3.3) แบบทดสอบข้อที่ 1 ให้สรุปผลการวิเคราะห์ท้ายแบบทดสอบ และ ตวั เลอื กทงั้ 4 ตวั เลอื ก ให้สรปุ ผลการวิเคราะหท์ ้ายตัวเลอื กทกุ ตวั เลือก 1.3.4) ปฏิบตั ิเหมือนกันทุกขอ้ 1.3.5) ครูผู้สอนจัดทำรายงานผลการวิเคราะห์แบบทดสอบและนำส่งตาม กำหนด 1.3.6) กรณแี บบทดสอบอัตนัย หรือแบบทดสอบปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ัติดงั น้ี 1) ครูผ้สู อนจัดทำแบบทดสอบ 2) ครูผูส้ อนนำแบบทดสอบ คำอธิบายรายวิชา และโครงสรา้ งรายวชิ าไปให้ ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ( Index of item Objective Congruence : IOC) จำนวน 3 คน ขนึ้ ไปในการตรวจสอบโดยให้เกณฑใ์ นการพจิ ารณาข้อคำถาม ดงั นี้ ให้คะแนน +1 ถา้ แนใ่ จวา่ ข้อคำถามวัดไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ ให้คะแนน 0 ถา้ ไมแ่ น่ใจว่าข้อคำถามวดั ไดต้ รงตามวัตถุประสงค์ ให้คะแนน - 1 ถ้าแนใ่ จวา่ ขอ้ คำถามวัดได้ไม่ตรงตามวตั ถุประสงค์ แลว้ นำผลคะแนนทไี่ ดจ้ ากผูเ้ ชีย่ วชาญมาคำนวณหาคา่ IOC ตามเกณฑ์ดังนี้ 3) ข้อคำถามท่ีมีค่า IOC ตั้งแต่ 0.51 – 1.00 มีค่าความเที่ยงตรงหรือ ใช้ได้วตั ถปุ ระสงค์ 4) ข้อคำถามทม่ี ีค่า IOC ต่ำกวา่ 0.50 ตอ้ งปรับปรุง หรือยังใชไ้ มไ่ ด้ 5) ครูผู้สอนจัดทำรายงานผลการวิเคราะห์แบบทดสอบและนำส่งตาม กำหนด 1.4) แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาที่สอนโดยมีการตรวจสอบความสมบูรณ์โดย หวั หน้ากลมุ่ สาระ และผูบ้ ริหารโรงเรียน 1.5) การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) รายบุคคลร่วมกับครูเพื่อนคู่คิด (Buddy) ครูผู้ให้คำชี้แนะ(Mentor) หัวหน้ากลุ่ม สาระการเรียนรู้ (Mentor) และผบู้ ริหารท่ีรับผดิ ชอบเพื่อเป็นการดแู ลผู้เรียนทุกคนอย่างเท่าเทียมกันใน ทกุ ช่วั โมงเรียน 1.6) วัดและประเมินการจัดการเรียนรู้ตามศักยภาพผู้เรียนรายบุคคล โดยการวัด และประเมนิ อยา่ งหลากหลายตามสภาพจริง 1.7) จดั ทำสมดุ บนั ทึกผลการเรียนรายบุคคล (ปพ.5) ทเ่ี ป็นปจั จุบนั และสอดคล้อง กับระเบียบการวดั และประเมนิ ผลโรงเรียนนารนี กุ ูล 1.8) การบริหารจัดการชั้นเรียนให้มีคุณภาพโดยนำระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน 5 ขั้นตอนมาใช้ เพอ่ื ประโยชนผ์ เู้ รียน 1.9) รายงานผลการเรียนตามกำหนดเวลา 1.10) รายงานการประเมินตนเองรายบคุ คล (Individual Development Report : ID - Report)

ค่มู ือครูประกอบการปฏบิ ตั ิงานวชิ าการโรงเรียนนารนี ุกลู 20 9.9 จัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือและแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID - Plan) เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาทกุ ปกี ารศึกษา ให้สอดคล้อง ดังนี้ 1) แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาระดบั ชาติ 2) แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษากระทรวงศึกษาธิการ 3) แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 4) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาสำนักงานคณะกรเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 5) ค่มู อื ครู นักเรยี น และผปู้ กครองโรงเรยี นนารีนกุ ลู 6) คู่มือการปฏบิ ตั ิงานตามโครงสร้างการบรหิ ารโรงเรยี นนารนี ุกลู ปกี ารศกึ ษานนั้ ๆ 7) คูม่ ือครูประกอบการปฏิบัตงิ านวิชาการ กลมุ่ บริหารวชิ าการโรงเรยี นนารนี กุ ลู 8) คู่มอื ครกู ารสรา้ งชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community : PLC) รว่ มจดั ทำรายงานการศกึ ษาตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ของสถานศึกษา รว่ มรับการตรวจเย่ยี มของผู้ประเมนิ จากภายนอก 1) จัดเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้องด้านครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกลุ่มงานท่ี เกย่ี วข้อง 2) จัดเตรยี มการเรียนการสอนใหส้ อดคล้องกับแผนการจดั การเรยี นรู้ท่รี ับผดิ ชอบ 3) ร่วมระดมความคิดเหน็ เพอื่ พัฒนากระบวนการปฏบิ ัติงานในสถานศึกษา 4) ให้การตอ้ นรับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวขอ้ งด้วยกลั ยาณมิตรท่ดี ี รับข้อเสนอแนะจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) องคก์ ารมหาชน มาดำเนินการใหม้ ีการปรับปรงุ แกไ้ ข 1) บทบาทของครูในการประกันคุณภาพภายนอกจึงมีความสัมพันธ์กับบทบาทของครู ในการประกันคุณภาพภายใน ดงั แผนภูมิต่อไปน้ี การประกันคุณภาพภายใน รายงานการ การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ประเมินตนเอง การ การ การประเมนิ และรว่ มทำ รบั การ รบั ข้อเสนอแนะ รายงานผล วางแผน ปฏิบตั งิ าน ตนเองของครู รายงานพัฒนา ตรวจเยย่ี ม จากรายงาน การปรับปรุง การทำงาน ของครู ผลการประเมิน (ID-Plan) คณุ ภาพ แกไ้ ข สถานศึกษา ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั ขอ้ มลู ย้อนกลับ 2) บทบาทของครูในการประกนั คุณภาพภายใน คือ การประกันคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ประกอบด้วย บทบาทหน้าท่ี 4 ประการ คือ 2.1) การวางแผนการปฏบิ ตั ิงาน (ID - Plan)

คูม่ ือครปู ระกอบการปฏิบตั งิ านวิชาการโรงเรียนนารนี ุกลู 21 2.2) การปฏิบัติงานตามภาระงานที่ได้รับมอบหมายตามคำสั่งแม่บทของโรงเรียน ในปีการศึกษานั้น ๆ อย่างเป็นระบบ ตรวจสอบ และมีคุณภาพตามที่กำหนดโดยส่งเสริมการมีส่วนร่วม และผู้ทเ่ี กยี่ วข้องทกุ ภาคส่วน 2.3) การประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านรายบุคคลทกุ ภาคเรยี น 2.4) การรายงานผลการประเมนิ ตนเองรายบุคคล (ID-Report) 3) บทบาทของครูในการประกันคุณภาพภายนอก เป็นบทบาทที่ต่อเนื่องจากการประกัน คณุ ภาพภายใน อีก 3 ประการ คือ 3.1) รว่ มจดั ทำรายงานพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 3.2) รับการตรวจเย่ยี มของผ้ปู ระเมินภายนอก 3.3) รบั ข้อเสนอแนะจากผู้ประเมินภายนอกมาดำเนนิ การใหม้ ีการปรบั ปรุงแก้ไข ในชนั้ เรยี น 10. งานรบั นักเรียน 10.1 วางแผนและกำหนดแผนการรับนักเรียนรายปีโดยวิเคราะห์ข้อมูลจากบริบทและ นโยบายต้นสงั กดั และวางแผนกำหนดแผนการรับนักเรยี นล่วงหนา้ 3 ปีการศกึ ษา 10.2 ประชาสัมพนั ธ์ และสร้างความเข้าใจใหค้ รู นกั เรียน ผู้ปกครอง ชมุ ชน และผ้ทู ่ีเก่ยี วข้อง ทราบอยา่ งชดั เจนในการรบั นักเรียนของทกุ ปีการศึกษา 10.3 จัดทำเอกสารการรบั สมัครประกอบใบสมคั ร และคู่มอื การสมคั รนักเรยี น 10.4 รับสมัครนักเรียน โดยทส่ี นใจมาสมัครเรยี นอย่างท่ัวถึงและเปน็ ธรรม 10.5 วางแผนดำเนินการคดั เลอื กนักเรียน และจัดทำขอ้ สอบเพ่ือคดั เลอื กนักเรยี น 10.6 ประกาศผลสอบ รับรายงานตวั และรับมอบตวั นักเรียน 10.7 วางแผนเตรยี มการและรับมอบตวั นกั เรยี นให้เสร็จสิ้น 10.8 เกบ็ เอกสารรบั มอบตัวนกั เรยี นให้เปน็ ระบบและปลอดภัย 10.9 จดั นักเรียนเขา้ ชนั้ เรียนตามความเหมาะสมและถูกต้องตามแผนการรับนักเรียน 10.10 สรุปผลการดำเนนิ งานเพ่อื นำข้อมูลมาปรบั ปรงุ พฒั นา 11. งาน IS 11.1 ศึกษาหลักสตู รสาระเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล รายวชิ าการศกึ ษาค้นควา้ และสร้างองค์ ความรู้ (IS1) และรายวชิ าการสื่อสารและการนำเสนอ (IS2) 11.2 กำหนดสาระสำคัญและผลการเรียนรู้ ตารางวเิ คราะหผ์ ลการเรียนรู้ คำอธิบายรายวิชา โครงสรา้ งหนว่ ยการเรยี นรู้ การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ และแผนการจดั การเรียนรู้ 11.3 จัดดำเนินกิจกรรมตามโครงการพฒั นาการเรียนการสอนรายวชิ า IS 11.4 จดั การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล ในระดับชน้ั ท่ไี ด้รบั มอบหมาย 12. งานการสรา้ งชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี 12.1 ศกึ ษาแนวทางการดำเนนิ งานการสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC) 12.2 กำหนดแนวทางการดำเนินงานโดยใช้รปู แบบการศึกษาผา่ นบทเรยี น (Lesson Study) 12.3 พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความรูค้ วามเข้าใจในการดำเนินงาน 12.4 รว่ มกนั วางแผนการดำเนินงาน กำกับ ตดิ ตาม และประเมนิ การดำเนินงาน

คมู่ อื ครปู ระกอบการปฏิบตั ิงานวชิ าการโรงเรยี นนารนี กุ ลู 22 12.5 จัดแสดงผลงานและเวทีแลกเปลย่ี นเรียนร้กู ารสร้างชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC Symposium) ภาคเรียนละ 1 คร้งั 13. งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ๑3.๑ จดั ทำแผนงานกจิ กรรมงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ตามแผนปฏิบัตริ าชการประจำปี ๑3.๒ จดั ทำปฏิทนิ การดำเนินงาน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ๑3.๓ วางแผน กำกบั ติดตาม การดำเนนิ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ๑3.๔ ดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นตามองคป์ ระกอบทง้ั 5 องคป์ ระกอบดงั นี้ 13.๔.๑ องค์ประกอบที่ ๑ การจดั ทำป้ายช่ือพรรณไม้ 13.๔.๒ องคป์ ระกอบท่ี ๒ การรวบรวมพรรณไม้เขา้ มาปลกู ในโรงเรียน 13.๔.๓ องค์ประกอบที่ ๓ การศกึ ษาดา้ นข้อมลู ตา่ งๆ 13.๔.๔ องค์ประกอบที่ ๔ การรายงานผลการเรียนรู้ 13.๔.๕ องคป์ ระกอบท่ี ๕ การนำไปใช้เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา 13.5 ดำเนินการจดั ทำแหลง่ เรียนรู้ จัดนิทรรศการแสดงผลงาน งานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรยี น 13.6 รายงานผลการดำเนนิ งานใหฝ้ า่ ยบริหารทราบ 13.๗ รายงานผลการดำเนนิ งานให้ อพ.สธ. ทราบ ปีการศึกษาละ 1 ครง้ั 14. งาน DLIT และเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา 14.1 สนบั สนนุ สอ่ื วัสดุ อปุ กรณ์ เพ่ือใหม้ คี วามพร้อมในการดำเนนิ งานตามความเหมาะสม 14.2 ประชุม วางแผนดำเนินงาน ส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูทุกคนได้นำเอาแนวทางการจัด การศึกษาทางไกล ผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพ้นื ท่ี การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 29 ไปใช้ในการจดั การเรยี นรู้ใหก้ บั นักเรียน 14.3 ปรบั ปรงุ หน้าเว็บไซต์ของโรงเรียนโดยให้เชอื่ มโยงกับระดับต่างๆ และมีช่องสื่อของ โรงเรียนเอง 14.4 สนับสนุน สรา้ งเครอื ข่ายให้กับครแู ละนกั เรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ อยา่ งหลากหลาย และเหมาะสม 14.5 กำกับ ติดตามและรายงานผลความก้าวหนา้ ของการดำเนินงานใหส้ ำนักงานเขตพ้ืนที่ การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 29 ทราบทกุ วันที่ 30 ของทกุ เดือน 14.6 สง่ เสรมิ การนำนวตั กรรมและเทคโนโลยมี าใชใ้ นการดำเนนิ งานทางวิชาการ 14.7 จัดทำระเบยี บ แนวปฏบิ ัติในการนวตั กรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนนิ งานทาง วชิ าการ 14.8 พฒั นาระบบการใชเ้ ครือขา่ ยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใชใ้ นการดำเนินงาน ทางวชิ าการ 14.9 ประเมินผลและนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินงานทางวิชาการและนำผล การประเมินไปใช้ปรบั ปรุงพฒั นาการจัดครเู ขา้ สอน

คูม่ ือครูประกอบการปฏบิ ัติงานวชิ าการโรงเรียนนารนี ุกูล 23 ประกาศมาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน เพือ่ การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ประกาศโรงเรยี นนารีนกุ ลู เร่ือง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน เพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา .......................................... โดยที่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ที่ปรับปรุงใหม่ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การให้ใช้มาตรฐาน การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ประกาศคณะกรรมการการประกัน คุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกัน คุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง ที่กำหนด เป้าหมายและยุทธศาสตร์อย่างชัดเจนในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต รวมทั้งอัตลักษณ์และจุดเน้นของสถานศึกษา โรงเรียนนารีนุกูลจึงปรับมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครองและประชาชนในชุมชน ให้ เหมาะสมและสอดคล้องกัน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาการประเมินคุณภาพ ภายใน และเพอื่ รองรบั การประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานภายนอก โรงเรยี นนารีนกุ ลู จึงประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ปีการศึกษา 2563 ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศนี้ เพอ่ื เปน็ เป้าหมายในการพฒั นาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน และการประเมนิ คุณภาพภายใน ประกาศ ณ วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (นายดรุ ยิ ะ จันทรป์ ระจำ) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นนารีนุกูล

คู่มอื ครปู ระกอบการปฏบิ ัติงานวิชาการโรงเรียนนารนี ุกูล 24 3.4 มาตรฐานการศกึ ษาโรงเรียนนารนี ุกูล มีจำนวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ้ รยี น 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รยี น 1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสาร และการคิดคำนวณ 2) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน ความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา 3) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม 4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 5) มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 6) มคี วามรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคติทีด่ ตี ่องานอาชพี 1.2 คุณลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผเู้ รยี น 1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมทดี่ ีตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด 2) ความภมู ิใจในท้องถนิ่ และความเป็นไทย 3) การยอมรบั ท่จี ะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 2.1 มีเปา้ หมายวสิ ัยทัศน์และพนั ธกจิ ที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการที่เนน้ คุณภาพผู้เรยี นรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา และทุกกลมุ่ เป้าหมาย 2.4 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ คี วามเชีย่ วชาญทางวิชาชพี 2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่เี อ้ือต่อการจดั การเรยี นรอู้ ย่างมีคุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั 3.1 จดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ใน ชีวติ ได้ 3.2 ใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ท่ีเออ้ื ต่อการเรียนรู้ 3.3 มกี ารบรหิ ารจดั การช้ันเรยี นเชงิ บวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผ้เู รียน 3.5 มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการจดั การ เรียนรู้

คู่มือครูประกอบการปฏบิ ัตงิ านวชิ าการโรงเรียนนารีนุกลู 25 ประกาศการกำหนดค่าเป้าหมายเพือ่ ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ประกาศโรงเรียนนารีนกุ ลู เรอื่ ง การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2563 ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานเพ่ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา โดยที่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. 2553 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่อื ง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานเพ่ือการ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่กำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์อย่าง ชัดเจนในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต รวมทั้งอัตลักษณ์และจุดเน้นของสาน ศึกษา โรงเรียนนารีนกุ ูล จึงปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและได้ กำหนดค่าเป้าหมายของการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษา ปีการศึกษา 2563 โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครอง และประชาขนในชุมชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา การประเมนิ คณุ ภาพภายในและเพ่ือรองรบั การประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนนารีนุกูล มีคุณภาพและได้ มาตรฐาน โรงเรียนจึงได้กำหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ เพื่อเป็นเป้าหมายใน การพฒั นา คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานและการประเมนิ คุณภาพภายใน ประกาศ ณ วนั ท่ี 26 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2563 (นายดุริยะ จันทร์ประจำ) ผู้อำนวยการโรงเรียนนารนี กุ ูล

คมู่ ือครปู ระกอบการปฏิบตั ิงานวิชาการโรงเรยี นนารีนกุ ูล 26 ประกาศค่าเปา้ หมาย แนบท้ายประกาศโรงเรียนนารีนุกลู 2563 เรอ่ื ง การกำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐาน ประเด็นพิจารณาคุณภาพการศกึ ษา สถานศึกษา ระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเพื่อประกันคณุ ภาพการศึกษา 3 มาตรฐาน 21 ตวั ชี้วัด ปกี ารศกึ ษา 2563 มาตรฐาน ค่าเป้าหมาย (ระดบั คุณภาพ) มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รียน ยอดเยยี่ ม (ระดับ5) 1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผูเ้ รียน (6 ตวั ชว้ี ดั ) ยอดเย่ียม (ระดบั 5) 1.2 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรยี น (4 ตวั ชีว้ ดั ) มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ (6 ตัวชี้วัด) มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั (5 ตัวช้วี ัด) ยอดเยยี่ ม (ระดบั 5) รายละเอยี ดคา่ เปา้ หมาย ตามมาตรฐานการศึกษา 3 มาตรฐาน และ 21 ตัวชี้วดั ปีการศึกษา 2563 มาตรฐาน คา่ เปา้ หมาย ปรมิ าณ(%) คณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รียน ((93.5)) ((ยอดเย่ียม)) 1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รียน (89) (ยอดเยี่ยม) 1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสือ่ สาร และการคดิ คำนวณ 85 ยอดเยย่ี ม 2) มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภปิ ราย 93 ยอดเยี่ยม แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และแก้ปญั หา 3) มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม 93 ยอดเยีย่ ม 4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 97 ยอดเยย่ี ม 5) มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา 70 ยอดเยี่ยม 6) มีความรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ี่ดีตอ่ งานอาชีพ 96 ยอดเยยี่ ม 1.2 คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ของผูเ้ รยี น (98) (ยอดเยย่ี ม) 1) การมคี ณุ ลักษณะและคา่ นิยมทีด่ ีตามทสี่ ถานศึกษากำหนด 98 ยอดเยี่ยม 2) ความภูมใิ จในทอ้ งถนิ่ และความเป็นไทย 98 ยอดเยี่ยม 3) การยอมรับทจ่ี ะอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 98 ยอดเยี่ยม 4) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม 98 ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ (94) (ยอดเยยี่ ม) 2.1 มีเป้าหมายวสิ ัยทศั น์และพนั ธกจิ ทสี่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน 100 ยอดเยย่ี ม 2.2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา 100 ยอดเยยี่ ม 2.3 ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเี่ นน้ คณุ ภาพผ้เู รียนรอบด้านตามหลักสตู ร 95 ยอดเยี่ยม สถานศกึ ษาและทกุ กล่มุ เปา้ หมาย 2.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความเชีย่ วชาญทางวิชาชพี 90 ยอดเยย่ี ม

คูม่ อื ครูประกอบการปฏิบตั งิ านวิชาการโรงเรียนนารนี ุกลู 27 ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน ปรมิ าณ(%) คณุ ภาพ 2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่เี อื้อต่อการจดั การเรยี นรู้ อย่างมีคุณภาพ 90 ยอดเย่ียม 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการ 90 ยอดเยย่ี ม จัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั (96) (ยอดเย่ียม) 3.1 จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนำไป 93 ยอดเยย่ี ม ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตได้ 3.2 ใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรียนร้ทู เ่ี อื้อต่อการเรยี นรู้ 98 ยอดเยย่ี ม 3.3 มีการบริหารจัดการชนั้ เรยี นเชงิ บวก 100 ยอดเยย่ี ม 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบและนำผลมาพฒั นา 90 ยอดเยี่ยม ผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรแู้ ละให้ข้อมลู สะทอ้ นกลับเพ่ือพฒั นาและ 100 ยอดเยย่ี ม ปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ 15. งานกลุ่มสาระ 15.1 กำหนดแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับครูภายในกลุ่มสาระโดยจัดทำเป็นปฏิทิน ปฏิบัติงานเป็นรายสัปดาห์ รายเดือน รายภาค หรือรายปีการศึกษา ให้สอดคล้องกับหลักสูตร สถานศกึ ษา 15.2 สำรวจหนังสือแบบเรียน หนังสืออ่านประกอบ ปรับปรุงอุปกรณ์การเรียนการ สอน วธิ กี ารสอน และการจัดกจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตรทส่ี ำคญั สำหรับกลมุ่ สาระการเรยี นรนู้ น้ั ๆ 15.3 ดแู ลและควบคุมการเรียนการสอนในกลมุ่ สาระทีต่ นรับผดิ ชอบใหเ้ ป็นไปตามแผนจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้และหลักสูตรสถานศกึ ษา 15.4 จัดครูภายในกลุ่มสาระเขา้ สอนแทนในกรณีครูประจำสาระภายในกล่มุ ไม่สามารถ ดำเนินการเรียนการสอนได้ 15.5 จดั ประชุมครูภายในกลมุ่ สาระอย่างน้อยเดอื นละ ๑ คร้งั เพื่อรับฟงั ให้คำเสนอแนะ ใน การปรึกษาหรอื ชว่ ยแก้ไขปญั หาทางวชิ าการ 15.6 จัดทำข้อสอบวัดผลระหวา่ งภาคเรียนหรอื ปลายภาคเรยี นให้เป็นไปตามระเบียบการ วัดผลและประเมนิ ผลของสถานศึกษา 15.7 ประเมินผลการเรยี นการสอนภายในกลมุ่ สาระ สรุปรายงานการปฏบิ ตั ิงานและนำเสนอ ข้อคิดเห็นของครภู ายในกลุม่ สาระต่อผู้อำนวยการ หรอื ผู้ที่ผู้อำนวยการมอบหมาย 15.8 จดั นทิ รรศการ กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร โครงการประจำกลมุ่ สาระ เพอ่ื ชว่ ยให้นกั เรียน เกิดทกั ษะประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถในเนอื้ หากลมุ่ สาระเพิ่มขึน้ 15.9 ส่งเสริมครภู ายในกลุ่มสาระใหม้ ีโอกาสพฒั นาตนเองให้มีความรู้ความสามารถเพ่มิ ข้นึ

คู่มอื ครปู ระกอบการปฏิบตั งิ านวชิ าการโรงเรยี นนารนี กุ ลู 28 15.10 ควบคุมดูแลการวัดและประเมินผลให้เป็นไปตามระเบียบการวัดและ ประเมินผล จุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนรายสาระน้ันๆ และรวบรวมสถิติผลการสอบของนักเรียน ไวเ้ ปน็ หลักฐาน 15.11 ประเมินผลงานของรายสาระการเรียนรูใ้ นกล่มุ สาระ สรปุ รายงานการปฏบิ ัติงาน นำเสนอข้อคิดเหน็ ของครใู นกลุ่มสาระการเรยี นรู้ใหผ้ ู้อำนวยการทราบ 15.12 ตรวจ วิเคราะห์ เสนอแนะ ขอ้ สอบ ของครูในกล่มุ สาระการเรียนรู้ให้ตรงกับตัวชว้ี ัด หรือผลการเรยี นรู้ 15.13 รกั ษาคุณภาพและมาตรฐานทางวชิ าการของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 15.14 เรียกตรวจ ปพ.๕ และรวบรวมส่งรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ภาคเรียน ละ 2 คร้งั ตามปฏทิ ินปฏิบัติงาน 15.15 รับผิดชอบในการจัดทำข้อสอบ การวัดและประเมินผล และแบบรายงาน ตา่ งๆ เกี่ยวกับการวัดและประเมนิ ผล 15.16 รวบรวมและจัดทำแผนประเมินผลรายสาระส่งหัวหน้างานวัดและประเมินผล การศกึ ษาหลงั สนิ้ สุดภาคเรยี น 15.17 พจิ ารณาความดีความชอบและเกบ็ ขอ้ มลู ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 15.18 พัฒนางานวิชาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้มีความก้าวหน้า เหมาะสม และ สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ 15.19 สง่ เสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวชิ าการ (การประกวด แข่งขนั ต่างๆ) 15.20 รว่ มวางแผน จัดทำแผน และดำเนินงานตามแผนใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย 15.21 นเิ ทศครูผ้สู อนในกล่มุ สาระการเรยี นรู้ 15.22 เสนอผลการปฏิบัตงิ านของครใู นกลมุ่ สาระการเรียนรตู้ อ่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน 15.23 จัดทำ SAR กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 15.24 ปฏิบัตงิ านอน่ื ๆ ตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย

คูม่ ือครปู ระกอบการปฏบิ ตั ิงานวิชาการโรงเรียนนารนี ุกลู 29 สว่ นท่ี 3 แนวทางการจดั กระบวนการเรียนการสอนและการจดั ทำเอกสารประกอบการเรยี นการสอนของครผู ู้สอน บทบาทและภาระงานของครผู ้สู อนโรงเรียนนารีนกุ ลู บทบาทของผู้สอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน : 2551) โรงเรียนนารนี กุ ูลกำหนดบทบาท หนา้ ท่ีและความรบั ผิดชอบของ ครผู ู้สอน ดังนี้ ๑. ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลแล้วนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ท่ที า้ ทายความสามารถของผู้เรยี น 1.1 วัตถปุ ระสงคก์ ารวิเคราะหผ์ เู้ รยี น 1.1.1 เพ่อื ศกึ ษาวเิ คราะห์และแยกแยะความพร้อมของผเู้ รียนในแต่ละด้านเปน็ รายบุคคล 1.1.2 เพื่อให้ครูผู้สอนรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลและหาวิธีการทางช่วยเหลือผู้เรียนที่มีข้อ บกพร่องให้มคี วามพร้อมในการเรียนทุกรายวชิ า 1.1.3 เพ่ือให้ผู้สอนได้จัดเตรียมการสอน สื่อ หรือนวัตกรรม สำหรับดำเนินการจัดการเรียนรู้ แก่ผเู้ รยี นไดส้ อดคลอ้ งเหมาะสมตรงตามความต้องการและศกั ยภาพรายบุคคลของผเู้ รยี น 1.2 แนวทางการสร้างเคร่อื งมอื เพือ่ วิเคราะห์ผ้เู รยี น การสรา้ งเครื่องมือสำหรับนำมาทดสอบหรือตรวจสอบผู้เรียนเพ่ือใช้เป็นข้อมลู สำหรับวิเคราะห์ ผู้เรียนถือเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นและมีความสำคัญ ซึ่งสามารถทำได้หลายแนวทางแต่ในที่นี้ สามารถเลือก ปฏบิ ตั ิได้ 3 วิธี ดงั นี้ 1.2.1 ใช้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาของนักเรียนรายบุคคลที่นักเรียนเรยี นมาภาคเรียน ทีผ่ า่ นมาวเิ คราะหร์ ายบคุ คลตามกลมุ่ สาระที่รับผิดชอบ โดยใชเ้ กณฑ์ดังน้ี ผลการเรยี นรายวชิ า 3.0 - 4.0 กลมุ่ เก่ง ผลการเรียนรายวชิ า 1.5 - 2.5 กล่มุ ปานกลาง ผลการเรียนรายวชิ า 0 - 1 กล่มุ อ่อน 1.2.2 ประเมนิ จากการทำแบบทดสอบปรนยั โดยใช้เกณฑ์ ดงั น้ี ทำข้อสอบไดร้ ้อยละ 70 ขึ้นไป ได้ระดับดี กลุ่มเกง่ ทำข้อสอบได้ร้อยละ 55 - 69 ขึน้ ไป ได้ระดบั ปานกลาง กลมุ่ ปานกลาง ทำข้อสอบไดต้ ่ำกว่ารอ้ ยละ 0 – 54 ตอ้ งปรบั ปรุงแก้ไข กลุ่มออ่ น 1.2.3 ประเมินก่อนเรียนโดยสอบปฏิบัติในรายวิชาปฏิบัติ โดยมีการกำหนดเกณฑ์ที่ชัดเจน ตามแนวทางการวดั และประเมนิ ผลผ้เู รยี น การดำเนินการแยกข้อมูลนกั เรยี นเป็นรายบุคคลในแต่ละด้าน แล้วนำมากรอกข้อมูลลงในแบบ วิเคราะหผ์ ู้เรียนรายบคุ คล จากน้ันไดป้ ระมวลผลขอ้ มูลสรปุ กรอกลงในแบบสรุปผลการวิเคราะหผ์ เู้ รียน เม่ือไดข้ ้อสรปุ แลว้ นำไปกำหนดแนวทางในการแก้ไขนักเรยี นทคี่ วรปรับปรุงเรือ่ งตา่ ง ๆ ในแตล่ ะด้านตามแบบท่ี กำหนดให้ ใน ส่วนที่ 4

คมู่ อื ครปู ระกอบการปฏบิ ัตงิ านวชิ าการโรงเรียนนารีนกุ ลู 30 2. กำหนดเปา้ หมายทต่ี อ้ งการให้เกิดขน้ึ กับผเู้ รยี น ด้านความรู้ และทักษะกระบวนการ ทเี่ ป็น ความคดิ รวบยอด หลักการ และความสัมพันธ์ รวมท้งั คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ การกำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้ และทักษะกระบวนการ ที่เป็น ความคิดรวบยอด หลักการ และความสัมพันธ์ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ กำหนดให้ครูผู้สอนได้ วางเป้าหมายการจัดการเรียนการสอนในทุกชั่วโมงโดยการปลูกฝังให้ผู้เรียนทุกคนได้มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ มีคุณลักษณะตามคา่ นยิ มคนไทย 12 ประการ และส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมีสมรรถนะสำคัญ เพื่อนำใช้ ในการชีวิตประจำวัน โดยกำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ทุกแผนการจัดการเรียนรู้โดยกำหนดให้ครูได้มีการ พัฒนาผ้เู รยี นอย่างต่อเนื่อง เพ่อื ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ กำหนดจุดหมายของหลักสูตรคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนสำคัญของผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และเอกสารหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และท่ีแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ พทุ ธศักราช 2560 ไว้ดังน้ี 2.1 จุดหมายหลักสูตร 2.1.๑ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มวี นิ ัยและ ปฏบิ ัตติ นตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถอื ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2.1.๒ มคี วามรอู้ นั เป็นสากลและมคี วามสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใช้ เทคโนโลยีและมีทักษะชวี ติ 2.1.๓ มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทดี่ ี มีสุขนิสยั และรักการออกกำลงั กาย 2.1.๔ มีความรกั ชาติ มีจติ สำนึกในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มัน่ ในวถิ ชี วี ติ และการ ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ 2.1.๕ มจี ิตสำนึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรกั ษแ์ ละพัฒนา ส่งิ แวดลอ้ มมจี ติ สาธารณะที่มุ่งทำประโยชนแ์ ละสรา้ งสิง่ ทีด่ ีงามในสงั คม และอยรู่ ่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข 2.2 การกำหนดเปา้ หมายให้ครอบคลุม ดังนี้ 2.2.1 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ (กลุ่มสาระการเรียนรู้ทางสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม) 2) ซื่อสัตย์สุจริต (งานห้องเรียนพิเศษ) 3) มวี นิ ยั (กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา) 4) ใฝเ่ รียนรู้ (กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศและงาน IS) 5) อยู่อยา่ งพอเพยี ง (กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย) 6) มุง่ ม่นั ในการทำงาน (กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตรแ์ ละการงานอาชีพ) 7) รักความเปน็ ไทย (กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ) 8) มจี ติ สาธารณะ (กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และงานแนะแนว)

ค่มู อื ครูประกอบการปฏิบตั ิงานวชิ าการโรงเรยี นนารนี กุ ลู 31 อนึ่งเพื่อใหส้ อดคล้องกบั การประกนั คุณภาพศกึ ษาโรงเรยี นมอบหมายใหก้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้ และโปรแกรมนานาชาติท่ีรับผดิ ชอบแตล่ ะข้อได้ออกแบบและจัดทำเคร่ืองมือในการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึง ประสงค์ เกบ็ รวบรวมข้อมูลและสารสนเทศอยา่ งเป็นระบบตรวจสอบได้ และรายงานผลเมอ่ื สิน้ ปีการศกึ ษา 2.2.2 สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย 2) ความสามารถในการคดิ กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์และห้องเรียนพิเศษ 3) ความสามารถในการแก้ปญั หา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและ หอ้ งเรยี นพิเศษ 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ กล่มุ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม การงานอาชีพ, สุขศึกษาและพลศกึ ษาและศลิ ปะ 5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และหอ้ งเรยี นพเิ ศษ อนึ่งเพื่อให้สอดคล้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนให้กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ รับผิดชอบแต่ละข้อได้ออกแบบและจัดทำเครื่องมือในการประเมิน เก็บรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศอย่างเป็น ระบบตรวจสอบได้ และรายงานผลเมื่อสิ้นปกี ารศึกษา 2.2.3 ค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการ นโยบายของคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) นโยบายนี้ มีขึ้นเพื่อสร้างสรรค์ประเทศไทยและสร้างคนในชาติให้เข้มแข็ง ดังน้ีค่านิยมคนไทย 12 ประการน้ี ผู้บริหารต้องสร้างความตระหนักและให้ความสำคัญในการสร้างให้เกิดกับครูและบุคลากรทางการศึกษา และ นักเรียน ทุกคน โรงเรียนมอบหมายกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ, สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และการ งานอาชีพ ออกแบบจัดทำเครื่องในการประเมินผู้เรียน เก็บรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ตรวจสอบได้ และรายงานผลเมือ่ สน้ิ ปกี ารศกึ ษา ซง่ึ มรี ายละเอยี ดดงั นี้ 1) ความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ 2) ซือ่ สัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งทีด่ ีงามเพื่อส่วนรวม 3) กตญั ญตู ่อพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครบู าอาจารย์ 4) ใฝห่ าความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม 5) รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม 6) มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีตอ่ ผูอ้ ื่น เผือ่ แผ่และแบ่งปัน 7) เขา้ ใจเรยี นรู้การเปน็ ประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ ท่ีถูกต้อง 8) มีระเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรจู้ กั การเคารพผใู้ หญ่ 9) มสี ตริ ู้ตัว รูค้ ิด ร้ทู ำ ร้ปู ฏิบัตติ ามพระราชดำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว 10) รู้จักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั รจู้ กั อดออมไว้ใช้เมื่อยามจำเป็น มไี วพ้ อกินพอใช้ ถ้าเหลือกแ็ จกจา่ ยจำหน่าย และ พร้อมท่จี ะขยายกิจการเมอื่ มีความพร้อม เมอื่ มีภมู คิ ้มุ กนั ทดี่ ี

คมู่ ือครปู ระกอบการปฏิบัตงิ านวิชาการโรงเรยี นนารนี กุ ลู 32 11) มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ หรือกิเลส มีความ ละอายเกรงกลัวต่อบาปตามหลกั ของศาสนา 12) คำนึงถึงผลประโยชนข์ องสว่ นรวม และของชาติมากกวา่ ผลประโยชนข์ องตนเอง 2.2.4 การประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกับการประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นมอบหมายให้กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย, ภาษาตา่ งประเทศ และคณิตศาสตร์ รบั ผดิ ชอบการออกแบบ จัดทำเครื่องในการประเมนิ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และสารสนเทศอยา่ งเปน็ ระบบตรวจสอบ ได้ และรายงานผลเมื่อส้ินปกี ารศึกษา 3. ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ พฒั นาการทางสมอง เพอ่ื นำผู้เรียนไปส่เู ป้าหมาย การออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรูท้ ี่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการ ทางสมอง เพื่อนำผู้เรียนไปสู่เป้าหมาย โดยโรงเรียนกำหนดให้ครูผู้สอนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ กำหนด 3 วงรอบ หรือมากกว่า และหรือการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน รายบุคคล (ตามแบบฟอร์มท่ีกำหนดในส่วนท่ี 4 หน้า 47-59) ตามหลกั ฐานการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบคุ คล โดย กำหนดแนวทางการจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้โดยมอี งค์ประกอบทีส่ ำคญั ดังนี้ สว่ นที่ 1 การวิเคราะหห์ ลักสตู ร ประกอบด้วย 1.1 บันทกึ ข้อความ การจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้ 1.2 แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้ตามโครงการนิเทศการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาครู ส่มู าตรฐานสากล 1.3 หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 1.4 หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ 1.5 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 1.6 คำอธบิ ายรายวชิ า 1.7 โครงสร้างรายวิชา 1.8 ตารางการออกแบบการเรยี นร/ู้ ตารางวิเคราะหผ์ ลการเรยี นรู้ 1.9 ตารางกำหนดอัตราส่วนคะแนน ส่วนท่ี 2 องคป์ ระกอบแผนการจดั การเรียนรู้ ประกอบด้วย 2.1 แผนการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ 2.2 กำหนดการสอนรายภาค 2.3 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี - ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ - เรอ่ื ง 2.4 ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ - จำนวนชวั่ โมง – ช่อื -สกลุ ครูผสู้ อน – กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 2.5 สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด 2.6 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด (รายวชิ าพ้ืนฐาน) หรอื ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าเพ่มิ เติม) 2.7 จุดประสงค์การเรยี นรู้ 2.7.1 ดา้ นความรู้ (K) 2.7.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)

ค่มู ือครปู ระกอบการปฏิบัตงิ านวิชาการโรงเรยี นนารนี กุ ลู 33 2.7.3 สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (วิเคราะห์ KPAC ทีส่ อนในแผนนนั้ ) 2.8 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) (ให้ระบุข้อ) 2.9 คา่ นิยม 12 ประการ (ตาม KPAC ท่สี อนในแผนนั้น) 2.10 กิจกรรมการเรยี นรู้ (แผนการจดั การเรยี นรไู้ มเ่ กิน 3 ชัว่ โมงตอ่ 1 แผนฯ หรือแผนการ จัดการเรียนรู้รายช่วั โมง) และกำหนดให้ครูทุกท่านมีการบูรณาการสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ในการจดั กจิ กรรม การเรียนการสอน ตามเนอื้ หาสาระทเ่ี กยี่ วขอ้ งและสอดคล้อง จำนวน 1 แผนการจดั การเรียนรู้ 2.10.1 ช่ัวโมงที่ 1 2.10.2 ชว่ั โมงท่ี 2 2.10.3 ชว่ั โมงท่ี 3 2.11 สอื่ การเรยี นรู้ 2.11.1 ช่วั โมงท่ี 1 2.11.2 ชวั่ โมงท่ี 2 2.11.3 ชว่ั โมงที่ 3 2.12 การวัดและประเมินผล 2.13 ส่ิงที่ต้องการวดั และประเมนิ ผล 2.13.1 ความรู้ (K : Knowledge) 2.13.2 ทกั ษะกระบวนการ (P : Process) 2.13.3 คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A : Attitude) 2.13.4 สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น (C : Competency) 2.13.5 ค่านยิ มคนไทย 12 ประการ (ถา้ มี) 2.14 วิธีการวดั และประเมนิ ผล (สอดคลอ้ งกับ 2.15) 2.14.1 ความรู้ (K : Knowledge) 2.14.2 ทกั ษะกระบวนการ (P : Process) 2.14.3 คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A : Attitude) 2.14.4 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน (C : Competency) 2.14.5 คา่ นยิ มคนไทย 12 ประการ (ถา้ มี) 2.15 เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการวดั และประเมนิ ผล (สอดคลอ้ งกับ 2.15) 2.15.1 ความรู้ (K : Knowledge) 2.15.2 ทกั ษะกระบวนการ (P : Process) 2.15.3 คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A : Attitude) 2.15.4 สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (C : Competency) 2.15.5 คา่ นิยมคนไทย 12 ประการ (ถา้ มี) 2.16 เกณฑ์การวัดและประเมินผล 2.16.1 เกณฑ์การวัด 2.16.2 เกณฑก์ ารประเมิน (สอดคลอ้ งกบั 2.18.1) 2.17 กจิ กรรมเสนอแนะ/ภาระงาน 2.18 ความสัมพนั ธ์กับกลุ่มสาระการเรยี นรู้อนื่ 2.19 แหลง่ เรยี นรู้

คู่มือครปู ระกอบการปฏบิ ัติงานวชิ าการโรงเรยี นนารีนกุ ลู 34 2.20 บนั ทึกผลหลงั การสอน 4. จดั บรรยากาศที่เออ้ื ตอ่ การเรยี นรแู้ ละดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศท่ีเออ้ื ต่อการเรยี นรู้ และดแู ลชว่ ยเหลอื ผเู้ รียนใหเ้ กิดการเรียนรู้ โดยครผู ู้สอน ควรการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนให้เอื้ออำนวยต่อการเรียนการสอน เพื่อช่วยส่งเสริมให้กระบวนการเรียนการ สอนดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยสร้างความสนใจใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษา ตลอดจนช่วยสร้างเสริมความมี ระเบียบวินัยให้แก่ผู้เรียน ซึ่งมีความสำคัญ ดังนี้ 1) ช่วยส่งเสริมให้การเรียนการสอนดำเนินไปอย่างราบร่ืน 2) ชว่ ยสรา้ งเสรมิ ลักษณะนิสยั ที่ดงี ามและความมีระเบยี บวนิ ยั ให้แก่ผเู้ รยี น 3) ช่วยส่งเสริมสุขภาพที่ดีให้แก่ ผ้เู รียน 4) ชว่ ยส่งเสรมิ การเรียนรู้ และสรา้ งความสนใจในบทเรียนมากยิ่งข้ึน 5) ช่วยสง่ เสรมิ การเป็นสมาชิกท่ีดี ของสงั คม 6) ช่วยสรา้ งเจตคติที่ดตี ่อการเรยี นและการมาโรงเรียน และครคู วรจดั บรรยากาศดังนี้ 4.1 การจดั บรรยากาศทางด้านกายภาพ 4.1.1 การจัดโต๊ะเรียนและเก้าอี้ของนักเรียน ให้มีขนาดเหมาะสมกับรูปร่างและวัยของ นกั เรยี น ใหม้ ีช่องวา่ งระหวา่ งแถวทนี่ ักเรยี นจะลุกน่ังไดส้ ะดวก และทำกจิ กรรมได้คล่องตัว มีความสะดวกต่อการ ทำความสะอาดและเคลือ่ นย้ายเปล่ยี นรูปแบบท่ีนงั่ เรียน มรี ูปแบบที่ไม่จำเจ เชน่ อาจเปล่ียนเป็นรูป ตวั ที ตวั ยู รปู ครงึ่ วงกลม หรือ เขา้ กลุ่มเป็นวงกลม ได้อย่างเหมาะสมกบั กิจกรรมการเรยี นการสอนให้นักเรียนที่นั่งทุกจุด อา่ นกระดานดำได้ชัดเจน แถวหนา้ ของโต๊ะเรียนควรอยหู่ า่ งจากกระดานดำพอสมควร 4.1.2 การจัดโต๊ะครู ให้อยู่ในจุดที่เหมาะสม อาจจัดไว้หน้าห้อง ข้างห้อง หรือหลังห้อง ก็ได้ งานวิจัยบางเรื่องเสนอแนะให้จัดโต๊ะครูไว้ด้านหลังห้องเพื่อให้มองเห็นนักเรียนได้อย่างทั่วถึง อย่างไรก็ ตาม การจัดโต๊ะครูนั้นขึ้นอยู่กบั รูปแบบการจัดที่นั่งของนกั เรียนด้วย และให้มีความเป็นระเบียบเรยี บร้อยทัง้ บน โต๊ะและในลิ้นชักโต๊ะ เพ่ือสะดวกต่อการทำงานของครู และการวางสมุดงานของนักเรียน ตลอดจนเพื่อปลูกฝัง ลกั ษณะนิสัยความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ยแก่นกั เรียน 4.1.3. การจัดปา้ ยนิเทศ ควรใชป้ า้ ยนเิ ทศทเ่ี ป็นประโยชนต์ ่อการเรียนการสอน โดยจดั ตกแต่ง ออกแบบให้สวยงาม สร้างความสนใจให้แก่นักเรียน จัดเนื้อหาสาระให้สอดคล้องกับบทเรียน ทบทวนบทเรียน หรือเสริมความรู้ให้แก่นักเรียน จัดให้ใหม่อยู่เสมอ สอดคล้องกับเหตุการณ์สำคัญหรือวันสำคัญต่างๆ ที่นักเรียน เรียนและควรรู้ และจัดติดผลงานของนักเรียนและแผนภูมิแสดงความก้าวหน้าในการเรียนของนักเรียนจะเป็น การใหแ้ รงจงู ใจท่ีน่าสนใจวิธหี นึง่ 4.1.4. การจัดสภาพห้องเรียน ต้องให้ถูกสุขลักษณะ คือ มีอากาศถ่ายเทได้ดี มีหน้าต่าง พอเพียง และมีประตูเข้าออกได้สะดวก มีแสงสว่างพอเหมาะ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนอ่านหนังสือได้ชัดเจน เพื่อเป็น การถนอมสายตา ควรใช้ไฟฟ้าช่วย ถ้ามีแสงสว่างน้อยเกินไป ปราศจากสิ่งรบกวน มีความสะอาด โดยฝึกให้ นกั เรียนรบั ผิดชอบชว่ ยกันเก็บกวาด เช็ดถู เปน็ การปลูกฝงั นิสัยรกั ความสะอาด และฝึกการทำงานรว่ มกัน 4.1.5. การจัดบรรยากาศทางด้านจิตวิทยา หรือทางด้านจิตใจ ช่วยสร้างความรู้สึกให้ นักเรียนเกิดความสบายใจในการเรียน ปราศจากความวิตกกังวล มีบรรยากาศของการสร้างสรรค์เร้าความสนใจ ให้ผู้เรยี นรว่ มกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยความสุข ผู้เรียนจะไดร้ ับความรแู้ ละเกิดองค์ความรู้ในตวั ได้ขึ้นอยู่กับ

คมู่ ือครปู ระกอบการปฏิบตั งิ านวชิ าการโรงเรยี นนารีนกุ ลู 35 “ครู” เป็นสำคัญ คือ บุคลิกภาพ พฤติกรรมการสอน เทคนิคการปกครองชั้นเรียน และปฏิสัมพันธ์ ใน หอ้ งเรียน เป็นต้น 5. การจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ม่งุ ให้ผเู้ รียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พฒั นาอยา่ งรอบด้าน เพื่อ ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มี ระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคมสามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับ ผอู้ ่ืนอย่างมคี วามสขุ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน แบง่ เป็น 3 ลักษณะดงั นี้ 1. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์ สิ่งแวดล้อม สามารถตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียนและอาชีพ สามารถ ปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียนทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้ คำปรึกษาแกผ่ ู้ปกครองในการมสี ่วนรว่ มพัฒนาผูเ้ รยี น 2. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัยความเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทำงานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือ แบ่งปนั กนั เออ้ื อาทรและสมานฉนั ท์ โดยจัดใหส้ อดคล้องกบั ความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกข้ันตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและ ปรับปรุงการทำงาน เน้นการทำงานรร่วมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บรบิ ทของสถานศึกษาและท้องถน่ิ กจิ กรรมนักเรียนประกอบด้วย 2.1 กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ และนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร 2.2 กิจกรรมชมุ นุม ชมรม 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้ เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณ์อาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดงี าม ความเสียสละตอ่ สังคม มีจติ สาธารณะ เช่น กจิ กรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กจิ กรรมสร้างสรรคส์ ังคม 5.1 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น ประกอบดว้ ย 5.1.1 กจิ กรรมชุมนุม กำหนดจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในวันพฤหสั บดี คาบท่ี 9 5.1.2 กิจกรรมแนะแนว จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยครแู นะแนว 5.1.3 กจิ กรรมลกู เสอื -เนตรนารี ยวุ กาชาด และผู้บำเพญ็ ประโยชน์ กำหนดดังนี้ กำหนดจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในวนั พธุ คาบท่ี 8 หมายเหตุ การแต่งกาย ครูผู้สอนแต่งกายในเครื่องแบบถูกต้องตามระเบียบและกฎกระทรวง กำหนด ของ 1) ขอ้ บังคบั ของสำนักงานคณะกรรมการลูกเสอื แหง่ ชาติ 2) สำนกั งานยวุ กาชาด สภากาชาด ไทย และ 3) สมาคมผู้บำเพ็ญประโยชน์ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ตามกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายทุกวันที่มี การเรียนการสอน โดยการตรวจสอบของงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจัดทำแบบติดตามการเรียนการสอน มอบหมายใหห้ วั หน้ากจิ กรรมแต่ละระดับชั้นได้ถอื ปฏิบัตเิ ปน็ แนวเดียวกนั

คู่มอื ครูประกอบการปฏิบัติงานวชิ าการโรงเรียนนารีนกุ ลู 36 5.2 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ประกอบดว้ ย 5.2.1 กจิ กรรมชุมนมุ กำหนดจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในวนั พฤหสั บดี คาบท่ี 9 5.2.2 กจิ กรรมแนะแนว จดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยครแู นะแนว 5.2.3 กิจกรรมรักษาดินแดน (รด.) และอาสายุวกาชาด จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยครูทป่ี รกึ ษาหรอื ครูท่ผี สู้ อนทรี่ ับผดิ ชอบ กำหนดจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในวันพธุ คาบที่ 8 หมายเหตุ การแต่งกายครูผู้สอนแต่งเครื่องแบบให้ถูกต้องตามระเบียบกำหนดตามกิจกรรมท่ี ได้รับมอบหมายทุกวันที่มีการเรียนการสอน โดยการตรวจสอบของงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจัดทำแบบติดตาม การเรียนการสอนมอบหมายให้หวั หนา้ กจิ กรรมแต่ละระดับชั้นไดถ้ ือปฏบิ ตั เิ ป็นแนวเดยี วกนั 6. จัดเตรยี มและเลือกใชส้ ื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ เทคโนโลยี ท่ีเหมาะสมมาประยกุ ต์ใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน การจัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีท่ี เหมาะสมมาประยกุ ตใ์ ช้ในการจัดการเรยี นการสอน ครผู ้สู อนสามารถเลือกใชส้ ื่อได้ตามความเหมาะสมกบั เนื้อหา ทสี่ อน และปรากฏในแผนการจดั การเรยี นรู้และนำไปใชจ้ ัดการเรียนการสอนใหก้ บั ผเู้ รยี นจรงิ ดงั นี้ 6.1 สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือเรียน คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนังสืออ้างอิง หนังสือ อ่านเพิ่มเติม แบบฝึกกิจกรรม ใบงาน ใบความรู้ ฯลฯ และสิ่งพิมพ์ทั่วไปที่สามารถนำมาใช้ในกระบวนการ เรียนรู้ เชน่ วารสาร นติ ยสาร จุลสาร หนังสือพิมพ์ จดหมายขา่ ว โปสเตอร์ แผ่นพบั แผน่ ภาพ เปน็ ตน้ 6.2 สื่อบุคคล หมายถึง ตัวบุคคล/ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ทำหน้าที่ถ่ายทอดสาระความรู้ แนวคิด และวิธีปฏิบัติตนไปสู่บุคคลอื่น นับเป็นสื่อการเรียนรู้ที่มีบทบาทสำคัญ โดยเฉพาะในด้านการโน้มน้าว จิตใจของนักเรียน สื่อบุคคลอาจเป็นบุคลากรที่อยู่ในสถานศึกษา เช่น ผู้บริหารครู บุคลากรทางการศึกษาคน ทำอาหาร หรือตัวนักเรียนเอง หรืออาจเป็นบุคลากรภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ โดยมอบหมาย กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ประสานผ้เู กี่ยวข้องจดั ทำประวัติและทะเบียนรายช่ือภูมิ ปัญญาท้องถิ่น 6.3 ส่อื วสั ดุ เป็นสอ่ื ท่เี ก็บสาระความรู้อยใู่ นตวั เอง จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 6.3.1 วัสดุประเภทที่สามารถถ่ายทอดความรู้อยู่ได้ด้วยตัวเอง โดยไม่จำเป็นต้องอาศัย อุปกรณ์ช่วย เช่น รูปภาพ หุน่ จำลอง เปน็ ต้น 6.3.2 วัสดุประเภทที่ไมส่ ามารถถ่ายทอดความรู้ได้โดยตนเองจำเป็นตอ้ งอาศัยอปุ กรณ์ อ่ืน ช่วย เชน่ ฟลิ ์มภาพยนตร์ เทปบันทกึ เสียง ซดี ีรอม แผน่ ดสิ ก์ เป็นตน้ 6.4 สื่ออุปกรณ์ หมายถึง สิ่งที่เป็นตัวกลางหรือตัวผ่าน ทำให้ข้อมูลหรือความรู้ที่บันทึกใน วัสดุสามารถถ่ายทอดอกมาให้เห็นหรือได้ยิน เช่น เครื่องฉายแผ่นทึบแสง เครื่องฉายภาพยนตร์ เครื่อง คอมพิวเตอร์ เครื่องบันทึกเสียง เป็นต้น โดยโรงเรียนจัดเตรียมเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ (Projector) ซึ่งมี วิธีการใช้งานดงั นี้ 6.4.1 สำรวจวัสดุอุปกรณ์ว่ามีความพร้อมในการใช้งาน ประกอบด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องฉายภาพขา้ มศีรษะ (Projector) และรโี มทคอนโทรล สายไฟฟ้าตวั นำ HDMI

คมู่ อื ครูประกอบการปฏิบัติงานวชิ าการโรงเรยี นนารนี ุกูล 37 6.4.2 นำสายนำ HDMI มาเสียบเขา้ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ด้วยความบรรจงและกำหนดมือให้ เบาท่สี ุด เพื่อเป็นการทะนุถนอมเครื่องให้ใชง้ านในระยะยาว 6.4.3 ยกเบรกเกอร์ขนึ้ เพอ่ื ปลอ่ ยกระแสไฟฟา้ 6.4.4 กดรโี มทคอนโทรลไปทปี่ ุ่ม ON โดยชี้ไปทีเ่ ครอ่ื งฉายภาพขา้ มศรี ษะ (Projector) 6.4.4 กรณุ ารอประมาณ 1 นาทเี พ่ือให้เคร่ืองเซ็ตตัว 6.4.5 การปดิ เครอื่ งโปรเจคเตอร์ อยา่ ดึงปล๊กั ขณะเคร่ืองกำลังทำงาน 6.4.6 กดรโี มทคอนโทรลทีป่ ุ่มพาวเวอร์ (สแี ดง) 2 ครง้ั เครื่องจะดับ 6.4.7 อยา่ ดึงปลัก๊ หรือสับคัทเอาท์ทันที เพราะต้องรอใหเ้ คร่อื งหยุดทำงานก่อน 6.4.8 ปดิ สวติ ซโ์ ปรเจคเตอร์ และถอดสายไฟออก 6.5 สื่อบริบท เป็นสื่อที่ส่งเสริมหรือสนับสนุนการเรียนการสอน ได้แก่ สภาพแวดล้อม และ สถานการณ์ต่าง ๆ เช่น ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งวิทยาการหรือแหล่งเรยี นรูอ้ ื่นๆ เช่น ห้องสมุด หรือเป็น สิง่ ท่ีเกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติในรปู ของสง่ิ มีชีวิต เชน่ พืชผกั ผลไม้ สัตว์ชนิดตา่ งๆ หรืออยู่ในรูปของปรากฏการณ์ หรอื เหตกุ ารณ์ท่มี ีอยหู่ รอื เกดิ ขนึ้ รอบตวั ตลอดจนขา่ วสารดา้ นต่างๆ เปน็ ต้น 6.6 สื่อกิจกรรม เป็นกิจกรรมหรือกระบวนการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ การ เรียนร้ใู หก้ บั นักเรียน ได้แก่ การแสดงละคร บทบาทสมมติ การสาธติ สถานการณ์จำลอง การจัดนิทรรศการ การ ไปทศั นศึกษานอกสถานท่ี การทำโครงงาน ในการจัดทำ เลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนควรคำนงึ ถึงหลักการสำคัญของส่ือการเรยี นรู้ เช่น ความสอดคล้องกบั หลักสูตร วตั ถปุ ระสงค์ การ เรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันส มัย ไม่ กระทบความมั่นคงของชาติ ไม่ขัดต่อศีลธรรม มีการใช้ภาษาที่ถูกต้อง รูปแบบการนำเสนอที่เข้าใจง่าย และ น่าสนใจ โดยครดู ำเนินการ ดงั น้ี 1. จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรู้สำหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมท้งั จัดหาส่งิ ทมี่ ีอยูใ่ นทอ้ งถน่ิ มาประยุกต์ใช้เป็นส่ือการเรยี นรู้ 2. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กบั วิธีการเรยี นรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผ้เู รยี น 3. ประเมินคุณภาพของส่ือการเรียนรทู้ ี่เลอื กใช้อยา่ งเปน็ ระบบ 4. ศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ัย เพื่อพัฒนาสอ่ื การเรยี นรูใ้ ห้สอดคล้องกับกระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน 5. จัดทำทะเบียนสื่อรายลบุคคลและทะเบียนสื่อกลุ่มสาระการเรยี นรู้ และจัดให้มีการประเมิน คุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใช้สื่อการเรียนรู้เป็นระยะๆ และสม่ำเสมอและรายงานผลการ ดำเนนิ งานเมื่อส้นิ ภาคเรียน 7. ประเมนิ ความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาติ ของวิชาและระดับพัฒนาการของผูเ้ รยี น การประเมินความกา้ วหนา้ ของผ้เู รยี นด้วยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติ

คมู่ อื ครูประกอบการปฏบิ ัติงานวิชาการโรงเรียนนารีนกุ ูล 38 ของวิชาและระดับพัฒนาการของผูเ้ รยี น หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551 กำหนด ดงั นี้ การ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนา ผู้เรียน และเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผูเ้ รียนให้ประสบผลสำเรจ็ นั้น ผู้เรยี น จะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ในทุก ระดบั ไมว่ า่ จะเป็นระดบั ช้นั เรียนและระดับสถานศึกษา โดยครูผูส้ อนต้อง ดำเนนิ การดังน้ี 7.๑ การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอในการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เทคนิคการประเมินอย่าง หลากหลาย ดังน้ี 7.1.1 การซักถาม 7.1.2 การสงั เกต 7.1.3 การตรวจการบา้ น 7.1.4 การประเมินโครงงาน 7.1.5 การประเมินชน้ิ งาน/ ภาระงาน 7.1.6 แฟม้ สะสมงาน 7.1.7 การใช้แบบทดสอบ โดยเป็นแบบทดสอบทมี่ ีคณุ ภาพและสอดคล้องกบั จุดประสงค์และเนื้อหาท่ี สอนทง้ั แบบทดสอบรายตวั ชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้ แบบทดสอบกลางภาคเรยี น และแบบทดสอบปลายภาค เรยี น โดยผ้สู อนเป็นผปู้ ระเมินเองหรอื เปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นประเมนิ ตนเอง เพื่อนประเมนิ เพื่อน ผู้ปกครอง ร่วมประเมิน ในกรณที ี่ไมผ่ ่านตวั ชี้วดั หรือผลการเรียนรูใ้ ด ๆ ใหค้ รผู ู้สอนมกี ารสอนซ่อมเสริม การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าใน การเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรอื ไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องไดร้ บั การพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมในดา้ นใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตน ดว้ ย ท้ังน้ีโดยสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชีว้ ดั 7.๒ การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนินการ เพื่อตัดสินผล การเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ว่า สง่ ผลตอ่ การเรยี นร้ขู องผู้เรยี นตามเป้าหมายหรือไม่ ผ้เู รียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทง้ั สามารถนำผล การเรียน ของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและ สารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการ จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงาน

ค่มู ือครูประกอบการปฏิบตั งิ านวิชาการโรงเรยี นนารีนุกลู 39 ผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองและชุมชน 7.3 เกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียน 7.3.1 การตดั สินให้ระดบั และการรายงานผลการเรยี น ๑) การตัดสินผลการเรียน ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องคำนึงถึงการพัฒนา ผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมท้งั สอนซอ่ มเสริมผ้เู รียนให้พฒั นาจนเต็มตามศักยภาพ ซึ่งมเี กณฑ์ดงั นี้ ๑.1) ตัดสนิ ผลการเรียนเป็นรายวิชา ผเู้ รียนตอ้ งมเี วลาเรยี นตลอดภาคเรยี นไม่น้อย กวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทง้ั หมดในรายวชิ านนั้ ๆ 1.๒) ผเู้ รยี นต้องไดร้ ับการประเมินทุกตวั ชี้วดั และผา่ นตามเกณฑท์ ่สี ถานศึกษากำหนด 1.3) ผูเ้ รยี นตอ้ งได้รับการตดั สินผลการเรยี นทุกรายวชิ า 1.4) ผ้เู รยี นต้องไดร้ ับการประเมิน และมผี ลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษา กำหนด ในการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 1.5) กรณที ่นี กั เรียนที่ไม่มสี ิทธ์สอบ (มส.) ในการทดสอบปลายภาคเรียน คอื เวลาเรยี นไม่ ถงึ ร้อยละ 80 แตเ่ กนิ ร้อยละ 60 ใหม้ สี ิทธ์ยิ ่ืนคำรอ้ งขอมีสิทธส์ิ อบได้ และสามารถศกึ ษารายละเอียดเพ่มิ เตมิ ได้ (คู่มือนักเรียน ผูป้ กครอง และครู ปีการศึกษา 2563 : 78) 7.3.2 การใหร้ ะดบั ผลการเรียน การตัดสินเพ่อื ให้ระดับผลการเรยี นรายวิชาใช้ตัวเลขแสดง ระดบั ผลการเรียนเป็น ๘ ระดับ คอื 0 หมายถึง ผลการเรยี นต่ำกวา่ เกณฑข์ ัน้ ต่ำ คะแนนต่ำกวา่ 50 คะแนน 1 หมายถึง ผลการเรยี นผา่ นเกณฑ์ขั้นต่ำท่ีกำหนด คะแนน 50-54 คะแนน 1.5 หมายถึง ผลการเรียนพอใช้ คะแนน 55-59 คะแนน 2 หมายถึง ผลการเรยี นนา่ พอใจ คะแนน 60-64 คะแนน 2.5 หมายถงึ ผลการเรียนค่อนข้างดี คะแนน 65-69 คะแนน 3 หมายถงึ ผลการเรยี นดี คะแนน 70-74 คะแนน 3.5 หมายถงึ ผลการเรยี นดมี าก คะแนน 75-79 คะแนน 4 หมายถงึ ผลการเรียนดีเยย่ี ม คะแนนต้ังแต่ 80 คะแนน ข้นึ ไป 7.3.3 ผลการเรียน มส หมายถงึ ยงั ไม่ได้รับการประเมินผลเน่อื งจากมเี วลาไม่ถึง 80% ของเวลาเรียนทงั้ หมด ร หมายถึง ยังไมไ่ ดร้ ับการประเมินผลเนอ่ื งจากไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมายหรือไม่ได้เขา้ สอบ ผ หมายถงึ เขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนมเี วลาครบ 80 % ผ่านการประเมนิ ตาม จดุ ประสงค์ทส่ี ำคญั ของกจิ กรรม

คู่มือครูประกอบการปฏบิ ตั ิงานวชิ าการโรงเรยี นนารีนุกูล 40 มผ หมายถงึ นักเรยี นไม่ไดร้ ับการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน มเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรมไม่ ครบ 80 % ไม่ผ่านจุดประสงค์ทสี่ ำคญั ของกจิ กรรม 7.3.4 การประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ให้ระดับผล การประเมินเปน็ ดีเยีย่ ม ดี และผา่ น โดยมเี กณฑจ์ ากคะแนนเตม็ 100 คะแนน ดงั นี้ คะแนน 80 คะแนน ขน้ึ ไป ระดบั ผลการประเมนิ เป็นดเี ยย่ี ม ระดับ 3 คะแนน 70-79 คะแนน ระดบั ผลการประเมนิ เป็นดี ระดบั 2 คะแนน 50-69 คะแนน ระดับผลการประเมินเป็นผา่ น ระดับ 1 7.3.5 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การ ปฏบิ ัติกจิ กรรมและผลงานของผูเ้ รียน ตามเกณฑ์การเขา้ เรียนต้องร้อยละ 80 ข้ึนไป และมีภาระงานที่ครูกำหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรม โดยตัดสิน ผ คือ ผ่าน และ มผ. คือ ไม่ผ่าน รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถ ศึกษาจาก (คมู่ ือนักเรียน ผู้ปกครอง และครู ปีการศึกษา 2563 : 76-80) 7.3.6 แนวปฏบิ ัตใิ นการแก้ “0” มีแนวปฏบิ ัติดงั นี้ 1) ให้นกั เรียนสอบแก้ตัวได้ไม่เกิน 2 คร้ัง และก่อนสอบแก้ตัวทุกคร้ังนักเรยี นต้องยื่นคำร้องขอ สอบ แกต้ ัวท่ีกลุ่มบริหารวชิ าการ 2) การดำเนินการสอบแก้ตวั เปน็ หน้าท่ีโดยตรงของครผู ้สู อน เมือ่ มนี กั เรียนติด “0” ในรายวิชา ที่รับผิดชอบต้องดำเนินการแก้ “0” ให้เสร็จสิน้ ภายในภาคเรียนถัดไป ถ้าไม่สามารถดำเนนิ การใหแ้ ล้วเสร็จตาม กำหนด ให้รายงานกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ รับทราบ ถ้าไมด่ ำเนนิ การใดๆ ถือว่าบกพร่องตอ่ หนา้ ท่รี าชการ 3) ครูผสู้ อนตอ้ งจัดสอนซ่อมเสริมใหน้ กั เรยี นก่อนสอบแก้ตัวทุกครง้ั 4) ชว่ งเวลาของการสอบแก้ตัวใหเ้ ป็นไปตามกำหนดปฏทิ ินปฏบิ ัติงานวชิ าการ 5) ถ้านักเรียนไม่มาสอบแก้ตัวตามระยะเวลาที่กำหนดถือว่าได้ผลการเรยี น “0” ตามเดิม และ มีสิทธิสอบแก้ตัวได้อีก 1 ครั้ง ถ้านักเรียนสอบแก้ตัวครั้งที่ 2 แล้วยังไม่ผ่านให้ปฏิบัติตามแนวปฏบิ ัติ การเรียน ซำ้ 6) ครูที่ปรึกษาเป็นผู้มีหน้าที่ติดตามผลการเรียนของนักเรียนที่อยู่ในความรับผิดชอบทุก รายวิชา พร้อมทัง้ กวดขนั ให้นักเรียนมาดำเนินการแก้ “0” ตามกำหนดเวลา 7) การใหน้ ักเรียนสอบแก้ตัว ครผู สู้ อนควรดำเนนิ การดงั นี้ 7.1) ตรวจสอบนักเรยี นทตี่ ดิ “0” เนอื่ งจากไม่ผา่ นจุดประสงค์ใดหรอื ตัวช้วี ัดใด 7.2) ดำเนนิ การสอนซ่อมเสริมในจดุ ประสงค/์ ตวั ชวี้ ดั ทน่ี ักเรียนสอบไม่ผ่าน 7.3) การดำเนินการสอบแก้ตัว คำว่า“สอบแก้ตัว”ไม่ได้หมายความว่าจะต้องทดสอบด้วย ข้อสอบทเี่ ปน็ ข้อเขียนเท่านัน้ นกั เรยี นจะสอบแก้ตัวอย่างไรน้นั ตอ้ งดูว่าในจุดประสงค์นนั้ นักเรยี นไมผ่ า่ น ตรงส่วน ใด เชน่ ในส่วน K, P, A ครตู อ้ งดำเนนิ การสอยซ่อมเสรมิ ตรงคะแนนในส่วนน้ัน 8) ข้นั ตอนและแนวปฏบิ ัติในการแก้ “0” ของนกั เรียน 8.1) กลมุ่ บริหารวิชาการ โดยงานวดั และประเมินผลสำรวจนกั เรยี นทม่ี ผี ลการเรียน “0” และกำหนดวนั เวลา สอบแก้ตัวตามปฏทิ ินการปฏิบตั ิงานของฝ่ายวิชาการ

คมู่ ือครปู ระกอบการปฏบิ ัติงานวิชาการโรงเรียนนารนี กุ ลู 41 8.2) แจ้งให้นักเรยี นท่ีมผี ลการเรยี น “0” ไดร้ บั ทราบ 8.3) กลุม่ บริหารวิชาการ แจง้ ครทู ป่ี รึกษารบั ทราบเพื่อชว่ ยดแู ลและติดตามนักเรยี นมา ดำเนนิ การแก้ “0” 8.4) นักเรยี นท่ีติด “0” มายื่นคำรอ้ งขอแก้ “0” กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ และแจง้ ให้ครปู ระจำ วชิ ารับทราบ พร้อมกับใบคำร้องขอสอบแก้ตัวของนักเรียน 8.5) ครูประจำวิชาดำเนินการสอนซอ่ มเสริมและใหน้ ักเรยี นสอบแก้ตัว 8.6) ครปู ระจำวชิ านำผลการสอบแกต้ วั ของนักเรียนมารายงานให้กลมุ่ บริหารวชิ าการ รบั ทราบ 8.7) กลุม่ บรหิ ารวชิ าการ แจ้งผลการสอบแกต้ วั ใหน้ ักเรยี นและครูท่ีปรึกษารับทราบ 4.9 ระดับผลการเรียนหลังจากนักเรียนทำการสอบแก้ตัวแล้วอยู่ท่ี “ 0 ” หรือ “ 1 ” เท่านั้น ระดับผล การเรียนหลังสอบแกต้ ัวถา้ นักเรียนยงั ได้ “ 0 ” อยู่ ให้นกั เรยี นผูน้ ้นั เรยี นซำ้ ใหมห่ มดทงั้ รายวิชา 7.3.7 แนวปฏบิ ตั ใิ นการแก้ “ร” มีแนวปฏิบัติดงั นี้ 1) การดำเนนิ การแก้ “ร” เปน็ หนา้ ทีโ่ ดยตรงของครูผู้สอน เมือ่ มีนกั เรียนตดิ “ร” ในรายวิชาที่ รับผิดชอบต้องดำเนินการแก้ “ร” ให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนถัดไป ถ้าไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จตาม กำหนด ให้รายงานกลุ่มบริหารวชิ าการรับทราบ ถ้าไม่ดำเนินการใดๆ ถือวา่ บกพรอ่ งตอ่ หนา้ ท่ีราชการ 2) การแก้ไขผลการเรียน “ร” แยกออกเป็น 2 กรณคี ือ 2.1) ไดร้ ะดบั ผลการเรียน “0 – 4” ในกรณที ่ีเนื่องมาจากเหตุสดุ วิสยั เช่น เจบ็ ปว่ ย หรอื เกิดอุบตั ิเหตุ ไม่สามารถมาเข้าสอบได้ 2.2) ได้ระดับผลการเรียน “0 – 1” ในกรณีที่สถานศึกษาได้พิจารณาแล้วเห็นว่าไม่ใช่เหตุ สดุ วสิ ัย เชน่ มีเจตนาหนีการสอบเพอ่ื หวังผลบางอยา่ ง หรอื ไมส่ นใจทำงานทไ่ี ด้รับมอบหมายใหท้ ำเป็นต้น 3) การแก้ “ ร ” ตอ้ งดำเนินการใหแ้ ล้วเสร็จภายในภาคเรียนถัดไป ถา้ นกั เรยี นท่ีมีผลการเรียน “ ร ” ไม่มาดำเนินการแก้ “ร” ให้เสร็จสิ้นตามกำหนดเวลา นักเรียนผู้นั้นต้องเรียนซ้ำทั้งรายวิชาหรือเปลี่ยน รายวิชาใหม่ ในกรณที ่ีเป็นรายวิชาเพม่ิ เตมิ 4) หากนักเรยี นทมี่ ีผลการเรียน “ ร ” ผู้น้ันไมส่ ามารถมาทำการแก้ “ ร ” ตามกำหนดเวลาได้ เนือ่ งจากเหตสุ ุดวิสยั ให้อยใู่ นดุลพนิ ิจของหัวหนา้ สถานศกึ ษาจะขยายเวลาการแก้ “ ร ” ออกไปอีก 1 ภาคเรียน แตถ่ ้าพน้ กำหนดแล้ว นักเรียนยงั ไมม่ าดำเนนิ การแก้ “ ร ” ให้นักเรยี นผู้น้ันเรยี นซำ้ ใหม่หมดทงั้ รายวชิ า 5) ขน้ั ตอนและแนวปฏบิ ัติในการแก้ “ ร ” ของนักเรียน 5.1) งานวัดและประเมินผลสำรวจนักเรียนที่มีผลการเรียน “ ร ” และแจ้งให้นักเรียน รับทราบ 5.2) กลุ่มบริหารวิชาการแจ้งครูที่ปรึกษารับทราบเพื่อช่วยดูแลและติดตามนักเรียนมา ดำเนนิ การแก้ “ ร ” 5.3) นักเรียนที่ติด “ ร ” มายื่นคำร้องขอแก้ “ ร ” ที่กลุ่มบริหารวิชาการ และแจ้งให้ครู ประจำวิชารบั ทราบ

คมู่ ือครูประกอบการปฏบิ ตั ิงานวิชาการโรงเรยี นนารีนกุ ลู 42 5.4) ครูประจำวชิ าดำเนนิ การ แก้ “ ร ” ให้กับนักเรียน 5.5) ครูประจำวิชานำผลการแก้ “ ร ” ของนักเรียนมารายงานให้กลุ่มบริหารวิชาการ รับทราบ 5.6) กลุ่มบรหิ ารวชิ าการแจ้งผลการแก้ “ ร ” ใหน้ ักเรยี นและครูท่ปี รึกษารบั ทราบ 7.3.8 แนวปฏบิ ตั ิในการแก้ “ มส ” มแี นวปฏบิ ัติดังต่อไปนี้ 1) ครูผู้สอนพิจารณาสาเหตทุ ่ีนักเรยี นไดผ้ ลการเรยี น “มส” ซึ่งมอี ยู่ 2 กรณีคือ 1.1) นักเรียนมีเวลาเรียนไม่ถึง 60 % ไม่มีสิทธิยื่นคำร้องขอมีสิทธิ์สอบแต่ต้องลงทะเบียน เรียนซำ้ รายวชิ านนั้ ๆ 1.2) นักเรียนมีเวลาเรียนไม่ถึง 80 % แต่ไม่น้อยกว่า 60 % สามารถยื่นคำร้องขอแก้ผล การเรียน “มส” จากครผู ูส้ อนได้ 1.3) ครูผู้สอนตอ้ งจดั ใหน้ กั เรยี นเรยี นเพิม่ เติมเพ่อื ให้เวลาครบตามรายวิชาน้ัน ๆ โดยอาจใช้ ช่วั โมงวา่ ง / วนั หยดุ 1.4) เมอ่ื นักเรียนมาดำเนินการแก้ “มส” ตามขอ้ 2 แล้วจะได้ระดบั ผลการเรียน 0 – 1 1.5) ถ้านักเรียนไม่มาแก้ “มส” ให้เสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดให้นักเรียนผู้นั้นเรียนซ้ำ ใหมใ่ นรอบต่อไป 1.6) ถ้ามีเหตุสุดวิสัยไม่สามารถมาแก้ “มส” ได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของหวั หน้าสถานศึกษาที่ จะขยายเวลามาแก้ “มส” ออกไปอีก 1 ภาคเรียน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้วให้นักเรียนผู้นั้นเรียนซ้ำหรือให้เปลี่ยน รายวชิ าใหมไ่ ดใ้ นกรณที ีเ่ ป็นรายวชิ าเพ่ิมเตมิ 2) ข้ันตอนและแนวปฏบิ ตั ใิ นการแก้ “มส” ของนักเรยี น 2.1) ครูประจำวิชาแจง้ ผล “มส” ของนักเรียนท่ีกลุ่มบริหารวิชาการ 2.2) กลุ่มบริหารวิชาการโดยงานวดั ผล ฯ แจ้งนกั เรยี นท่มี ีผลการเรียน “มส” รบั ทราบ 2.3) กลมุ่ บริหารวชิ าการแจง้ ครูทปี่ รกึ ษารับทราบเพอ่ื ช่วยดูแลและตดิ ตามนกั เรียนมา ดำเนินการแก้ “มส” 2.4) นักเรียนที่ติด“มส” มายื่นคำร้องขอแก้ “มส” ท่ีกลุ่มบริหารวิชาการ และแจ้งให้ครู ประจำวิชารับทราบ เพื่อดำเนินการแก้ “มส”ของนักเรียนตามแนวปฏบิ ัติการแก้ “มส” ของนักเรียน ครูประจำ วิชานำผลการแก้ “มส” ของนักเรียนมารายงานให้กลุ่มบริหารวิชาการรับทราบ กลุ่มบรหิ ารวชิ าการแจ้งผลการ แก้ “มส” ให้นักเรยี นและครทู ป่ี รึกษารับทราบ 7.3.9 แนวปฏิบตั ใิ นการเรยี นซำ้ มีแนวปฏบิ ัติดงั นี้ 1) ใหค้ รูผสู้ อนเดมิ ในรายวิชาน้นั เป็นผรู้ บั ผิดชอบสอนซ้ำในรายวชิ านัน้ ๆ 2) การดำเนินการ “เรียนซ้ำ” เป็นหน้าที่โดยตรงของครูผู้สอน เมื่อมีนักเรียน“เรียนซ้ำ” ใน รายวิชาที่รับผิดชอบต้องดำเนินการ “เรียนซ้ำ” ให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนถัดไป ถ้าไม่สามารถดำเนินการให้ แล้วเสร็จตามกำหนด ให้รายงานกลุ่มบริหารวิชาการรับทราบ ถ้าไม่ดำเนินการใด ๆ ถือว่าบกพร่องต่อหน้าที่ ราชการ

คู่มือครูประกอบการปฏิบตั งิ านวิชาการโรงเรียนนารีนกุ ลู 43 3) ครูผู้สอนและนักเรียนกำหนดจัดตารางเรียนร่วมกันให้จำนวนชั่วโมงครบตามระดับชัน้ และ ครบตามหน่วยการเรียนของรายวิชานั้น ๆ ครูผู้สอนอาจมอบหมายงานให้ในชั่วโมงที่กำหนด จะสอนหรือ มอบหมายงานใหท้ ำ จะมากหรอื น้อยต้องพิจารณาตามความสามารถของนกั เรยี นเป็นรายบุคคล 4) สำหรับชว่ งเวลาทีจ่ ดั ให้เรียนซ้ำอาจทำได้ ดงั นี้ 4.1) ช่ัวโมงว่าง 4.2) ใชเ้ วลาหลังเลกิ เรียน 4.3) วนั หยดุ ราชการ 4.4) สอนเป็นครั้งคราวแล้วมอบหมายงานใหท้ ำ 5) การประเมินผลการเรยี นใหด้ ำเนินการตามระเบียบการประเมินผลทกุ ประการ 6) ครูผู้สอนส่งผลการเรียนซ้ำให้กลุ่มบริหารวิชาการ ตามปฏิทินปฏิบัติงานวิชาการ ภาคเรียน นัน้ ๆ 7) ข้นั ตอนและแนวปฏบิ ัติในการ “เรียนซ้ำ” ของนักเรยี น 7.1) กลุ่มบริหารวิชาการโดยงานวัดและประเมินผลสำรวจและแจ้งนักเรียนที่ต้อง “เรียน ซำ้ ” รับทราบ 7.2) กลุ่มบริหารวิชาการแจ้งครูที่ปรึกษารับทราบเพื่อช่วยดูแลและติดตามนักเรียน มา ดำเนินการ “เรียนซำ้ ” 7.3) นักเรียน “เรียนซ้ำ” มายนื่ คำร้องขอ “เรียนซ้ำ” ที่กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ 7.4) กลุ่มบริหารวิชาการแจ้งให้ครูประจำวิชารับทราบ เพื่อดำเนินการ “เรียนซ้ำ” ของ นักเรยี น ตามแนวปฏิบัติ 7.5) ครูประจำวิชานำผลการประเมินการ “เรียนซ้ำ”ของนักเรียนรายงานให้กลุ่มบริหาร วชิ าการรับทราบ 7.6) กลมุ่ บรหิ ารวิชาการแจง้ ผลการ“เรยี นซำ้ ”ให้นกั เรยี นและครูที่ปรึกษารับทราบ 7.4 การรายงานผลการเรยี น การรายงานผลการเรยี นเป็นการสือ่ สารใหผ้ ู้ปกครองและผเู้ รยี นทราบ ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนดำเนินการสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ ผปู้ กครองทราบ ดงั นี้ 7.4.1 ครูจัดทำแบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน : ปพ.5 ตามแบบที่กำหนด และ ลงทะเบียนรายวชิ าในโปรแกรม SGS ซง่ึ เปน็ เอกสารสำหรบั บันทึกเวลาเรียน ขอ้ มูลการวัดและประเมินผลการ เรียน ข้อมูลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน ปรบั ปรงุ แก้ไข ส่งเสริม และตัดสินผลการเรียนของผู้เรยี น รวมทั้งใช้เปน็ หลักฐานสำหรับตรวจสอบ ยืนยัน สภาพการเรียน การมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมตา่ ง ๆ และผลสัมฤทธิข์ องผเู้ รียนแตล่ ะคน 7.4.2 กำหนดให้ครูดำเนินการจัดทำข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นใน ปพ.5 (ปก/รายชื่อผู้เรียน/กำหนด อัตราส่วนคะแนน) ให้สมบูรณ์ กำหนดการตรวจนิเทศจากผู้บริหาร โดยส่งหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรูแ้ ละรอง ผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ ตามปฏทิ นิ ปฏบิ ัตงิ านวชิ าการ ดงั นี้

คูม่ อื ครปู ระกอบการปฏิบตั งิ านวชิ าการโรงเรียนนารีนกุ ูล 44 1) ครั้งที่ 1 เปดิ ทำการเรียนการสอนครบ 1 เดือน (16 มิถุนายน) ตรวจนเิ ทศโดยหวั หน้า กลุ่มสาระการเรียนรู้ตรวจประเมิน ดงั น้ี 1.1) ความสมบูรณ์ของปกทุกเลม่ ตามคำส่งั ท่ไี ด้รบั มอบหมายใหส้ อนในภาคเรียนนัน้ ๆ 1.2) รายช่ือนกั เรียน 1.3) การกำหนดอตั ราสดั สว่ นคะแนน 1.4) การเช็คเวลาเรียนเปน็ ปจั จบุ ัน 1) ครั้งที่ 2 หลังสอบกลางภาค กำหนดดงั น้ี 1) ตรวจนิเทศและประเมินความสมบูรณ์โดยหัวหน้ากลุ่มสาระ เมื่อพบข้อบกพร่องหรือ ความไมถ่ ูกต้องให้ส่งคนื ครผู สู้ อนเพ่อื นำไปปรับปรงุ แก้ไขใหส้ มบรู ณ์ และลงลายมอื ชอื่ วันเดอื นปี กำกับ ทุกครั้ง ดังนี้ 1.1) คะแนนก่อนทดสอบกลางภาค 1.2) คะแนนทดสอบกลางภาค 1.3) กรกคะแนนในระบบ SGS ทกุ รายวิชา 1.4) หากพบปัญหา กรณีคะแนนของนักเรียนเท่ากันทุกคนทั้งคะแนนก่อนทดสอบ กลางภาคและคะแนนทดสอบกลางใหส้ อบถามการดำเนินงานของครูผสู้ อน หากเกิดปญั หาไมว่ ่ากรณีใดก็ตามให้ ครผู สู้ อนรับผิดชอบ โดยบนั ทึกชแ้ี จงเหตปุ ระกอบการนำส่งเอกสารมาพรอ้ ม 2) งานวัดและประเมินผล ตรวจสอบความถูกต้องการนำขึ้นระบบออนไลน์ให้รักเรียน และผปู้ปกครองตรวจสอบ และรายงานผลผ่านระบบอินเทอร์เน็ต www.narinukun.ac.th โดยผู้ปกครอง สามารถดูผลการเรยี นไดโ้ ดยใช้เลขประจำตวั นักเรียนและวันเดือนปีเกิดของนกั เรียน 3) รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ ตรวจสอบความสมบูรณ์ 2) ครั้งที่ 3 หลังสอบปลายภาค ตรวจสอบความสมบูรณ์ครั้งสดุ ท้ายทุกรายการ ตรวจนิเทศ โดยหวั หนา้ กลุ่มสาระ และลงลายมือชื่อ วนั เดือนปี กำกบั ทกุ ครง้ั งานวัดและประเมินผล และรองผู้อำนวยการ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ และผ้อู ำนวยการโรงเรยี น ดังน้ี 2.1) คะแนนก่อนสอบกลางภาค 2.2) คะแนนสอบกลางภาค 2.3) คะแนนหลังสอบกลางภาค 2.4) คะแนนสอบปลายภาคเรียน 2.5 คะแนนประเมนิ การอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขียนสอ่ื ความหมาย 2.6) คะแนนประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ขอ้ 2.7) กรอกคะแนนในระบบ SGS ทุกรายวิชา ประกอบด้วย 2.7.1) รายวชิ าทไ่ี ด้รับมอบหมายภาระงานสอนในกลมุ่ สาระการเรียนรทู้ สี่ งั กัด 2.7.2) รายวชิ าหน้าท่ีพลเมอื ง สำหรับครูท่ปี รกึ ษาทุกทา่ น 2.7.3) กจิ กรรมชุมนุม ส่งผลการเรียนกอ่ นทดสอบปลายภาค 1 สัปดาห์

คู่มอื ครปู ระกอบการปฏบิ ตั งิ านวิชาการโรงเรยี นนารนี ุกลู 45 2.7.4) กจิ กรรมลูกเสอื -เนตรนารี ยวุ กาชาด ผู้บำเพญ็ ประโยชน์ สำหรบั นกั เรียน ระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ สง่ ผลการเรยี นก่อนทดสอบปลายภาค 1 สัปดาห์ 2.7.5) กิจกรรมบำเพญ็ ประโยชนแ์ ละกจิ กรรมรักษาดินแดน (รด.) สำหรับนักเรยี น ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย สง่ ผลการเรียนก่อนทดสอบปลายภาค 1 สปั ดาห์ 2.7.6) กจิ กรรมแนะแนวและกจิ กรรมรักษาดนิ แดน (รด.) สง่ ผลการเรยี นกอ่ นทดสอบ ปลายภาค 1 สัปดาห์ 2 . 8 ) ง า น ว ั ด แ ล ะ ปร ะ เ มิ นผ ลก า รเ รี ยน ร า ย ง า น ผ ลผ ่า นร ะ บ บอ ิ นเ ท อ ร์เน็ต www.narinukun.ac.th โดยผู้ปกครองสามารถดูผลได้โดยใช้เลขประจำตัวนักเรียน และวัน/เดือน/ปีเกิด ของ นกั เรียน 1.5) หากมีกรณีที่คะแนน เท่ากันทุกคนให้สอบถามการดำเนินงานของครูผู้สอนหากเกิด ปญั หาไมว่ ่ากรณีใดกต็ ามให้ครูผู้สอนรับผิดชอบ โดยบนั ทึกชแี้ จงเหตุผลประกอบการนำส่งท่ีเหมาะสม และเป็น จรงิ กำหนดให้ครูผู้สอนกรอกคะแนนในระบบ SGS โดยกำหนดเปดิ ระบบตามปฏิทินของงานวดั ผล และปฏิทินปฏิบัติงานวิชาการภาคเรียนนั้น ๆ และรายงานผลผ่านระบบอินเทอร์เน็ต www.narinukun.ac.th โดยผปู้ กครองสามารถดผู ลการเรียนรู้ได้โดยใช้เลขประจำตวั นกั เรียนและวันเดือนปเี กิดของนกั เรียน 7.5 การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐาน การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยจัดใหผ้ ู้เรียนทุกคนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เข้ารับการประเมินตามกำหนดของ สำนักงานทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (สทศ.) ผลจากการประเมนิ ใช้เป็นข้อมูลในการเทยี บเคียงคุณภาพการศกึ ษาในระดบั ต่าง ๆ เพอ่ื นำไปใชใ้ น การวางแผน ยกระดับคุณภาพการจดั การศกึ ษาตลอดจนเป็นข้อมลู สนบั สนนุ การตดั สินใจในระดับนโยบายของประเทศ 8. วิเคราะหผ์ ลการประเมินมาใชใ้ นการซอ่ มเสริมและพฒั นาผเู้ รยี น รวมท้ังปรบั ปรงุ การจัดการเรียนการสอนของตนเอง การวิเคราะหผ์ ลการประเมินมาใชใ้ นการซ่อมเสริมและพัฒนาผ้เู รียนรวมทง้ั ปรับปรงุ การจดั การเรยี นการสอนของตนเอง กำหนดดังนี้ 8.1 ครูจัดทำด้วยตนเองหรือร่วมกันวางแผนในการจัดทำหรือพัฒนาแบบทดสอบ แบบประเมิน หรืออื่น ๆ ตามที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้วัดและประเมินผลในรายวิชาที่รับผิดชอบทุก รายวิชา 8.2 รายวิชาพื้นฐาน ให้ครูผู้สอนตรวจสอบความสมบูรณ์ให้ตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตาม เอกสารสาระหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ที่กำหนดในคำอธิบาย รายวชิ าและโครงสร้างรายวชิ า ใหค้ รบทกุ มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั 8.3 รายวิชาเพิ่มเติม ให้ครูผู้สอนตรวจสอบความสมบูรณ์ให้ตรงตามผลการเรียนรู้ที่กำหนดใน คำอธบิ ายรายวิชาและโครงสร้างรายวชิ าใหค้ รบทุกผลการเรียนรู้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook