134 บทท่ี 3 วิธีดาเนินการวจิ ยั การศึกษา เรื่อง “ธรรมาภิบาล วัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การ ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย” เปน็ การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดย ใช้วิธกี ารวิจัยเชงิ สารวจ (Survey Research) ผ้วู ิจัยได้ดาเนนิ การตามลาดับขนั้ ตอน ดังนี้ 1. รปู แบบการวิจยั 2. พน้ื ที่ที่ใช้ในการวจิ ยั 3. ประชากร และกลุม่ ตัวอยา่ ง 4. เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย และการตรวจสอบคณุ ภาพของเครอ่ื งมอื 5. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 6. การวเิ คราะห์ข้อมูลและสถติ ิท่ีใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล รปู แบบการวจิ ัย ผู้วจิ ัยได้กาหนดขน้ั ตอนการดาเนนิ การศกึ ษาตามลาดบั ดงั นี้ 1. ศึกษาหลกั การ แนวคิดทฤษฎี ระเบยี บ และผลงานวิจยั ทีเ่ ก่ียวข้อง 2. กาหนดกรอบแนวคิด หัวขอ้ ปัญหา และวัตถปุ ระสงคใ์ นการวิจัย 3. กาหนดกลุ่มประชากร และกลุ่มตัวอย่างที่ใชใ้ นการวิจัย 4. สรา้ งเคร่ืองมอื สาหรบั เกบ็ ขอ้ มูลการวจิ ยั 5. นาเคร่อื งมือเสนอผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเพ่ือปรบั ปรุงแกไ้ ขใหส้ มบรู ณ์ 6. ทดสอบเครือ่ งมือกบั กล่มุ ตัวอย่างที่ไมใ่ ช่กลุ่มตัวอยา่ งทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั (Try Out) 7. ดาเนินการสง่ เครอื่ งมือใหก้ ลมุ่ ตวั อย่าง และเก็บรวบรวมข้อมูล 8. วิเคราะหข์ อ้ มลู และแปลผลข้อมูล 9. สรปุ และรายงานผลการศึกษาวิจยั พื้นทท่ี ใี่ ช้ในการวิจยั พื้นที่ท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ มุ่งศึกษาเฉพาะเทศบาลในเขตภาคใต้ 14 จังหวัด คือ จังหวัดกระบ่ี จังหวัดชุมพร จังหวัดตรัง จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวดั พงั งา จังหวดั พัทลุง จงั หวัดภูเกต็ จังหวัดยะลา จังหวัดระนอง จังหวัดสงขลา จังหวัดสตูล และ จังหวัดสุรษฎร์ธานี จานวน 347 แห่ง โดยจาแนกเป็นเทศบาลนคร 8 แห่ง เทศบาลเมือง 36 แห่ง และเทศบาลตาบล 303 แห่ง 134
135 ประชากร และกลุ่มตัวอยา่ ง ในการวจิ ัยคร้ังน้ี ผวู้ ิจยั ได้แบ่งประชากรออกเป็นระดบั ดงั นี้ 1. ระดับจังหวัด ได้แก่ เทศบาลในจังหวัดภาคใต้ 14 จังหวัด คือ จังหวัดกระบ่ี ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต ยะลา ระนอง สงขลา สตูล และ สรุ าษฎร์ธานี 2. ระดับเทศบาล แบ่งเป็นระดับเทศบาลนคร 8 แห่ง เทศบาลเมือง 36 แห่ง และ เทศบาลตาบล 303 แหง่ รวม 347 แหง่ (กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ , 2560) 3. ระดับบุคคล ได้แก่ ผู้บริหารท้องถ่ิน คือ นายกเทศมนตรี จานวน 347 คน พนกั งานเทศบาล ได้แก่ ปลดั เทศบาล จานวน 347 คน รวม 694 คน ในการกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยเม่อื ทราบจานวนประชากรที่แน่นอน จึงนามาคานวณหากลุ่มตัวอย่างจากเกณฑ์ โดยกาหนดขนาด กลุ่มตัวอยา่ งในระดับองค์การเทา่ กบั รอ้ ยละ 25 (ตารางท่ี 14) จานวน 87 เทศบาล ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 174 คน (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2535, น. 38) ส่วนการสุ่มตัวอย่าง ผู้ศึกษาได้ใช้การสุ่มแบบหลายข้ันตอน (Multistage random sampling) ทั้งในระดับองค์การและระดบั บุคคล ดังน้ี ข้ันท่ี 1 การสุ่มตัวอย่าง 14 จังหวัดภาคใต้ โดยแบ่งออกเป็นเทศบาลนคร เทศบาลเมือง และเทศบาลตาบล ได้ใช้การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple random sampling) โดยวิธีจับฉลาก และผศู้ ึกษาได้กาหนดกลมุ่ ตวั อย่างตามสัดส่วนของจานวนเทศบาล คอื มีเทศบาลนคร 8 แห่ง กาหนด สดั ส่วนเทศบาลนคร 2 แห่ง เทศบาลเมือง จานวน 36 แห่ง กาหนดสัดส่วนเทศบาลเมือง จานวน 9 แห่ง และเทศบาลตาบล จานวน 303 แห่ง กาหนดสดั สว่ นเทศบาลตาบล 76 แห่ง รายละเอยี ดดังตารางที่ 15 ขั้นที่ 2 ระดับบคุ คล ไดแ้ ก่ ผ้บู ริหารท้องถนิ่ คอื นายกเทศมนตรี แห่งละ 1 คน และ พนักงานเทศบาล ได้แก่ ปลดั เทศบาล แห่งละ 1 คน ทีก่ ระจายไปตามส่วนราชการดังกล่าวจานวน 87 เทศบาล รวมทั้งหมด 174 คน การคานวณหาขนาดตวั อยา่ ง; n = N x 25/100 เม่อื n แทน ขนาดของกลุม่ ตัวอย่าง, N แทน จานวนประชากรทง้ั หมด แทนคา่ n = 347 x 25/100 = 86.75 ดงั นนั้ ผู้วิจัยจงึ กาหนดกลุ่มตัวอย่างทใี่ ช้ในการศึกษาครงั้ นี้ เทา่ กับ 87 แห่ง ตารางท่ี 14 เกณฑ์ในการประมาณขนาดกลมุ่ ตวั อย่างจากจานวนประชากร จานวนประชากร ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ ง จานวนประชากรทงั้ หมดเปน็ หลักรอ้ ย 15-30% จานวนประชากรท้งั หมดเป็นหลกั พัน 10-15% จานวนประชากรทั้งหมดเปน็ หลักหมน่ื 5-10%
136 ตารางท่ี 15 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่พิจารณาจากประเภทของเทศบาล และจานวนประชากร ท้ัง 14 จังหวดั ภาคใต้ ลาดับ จงั หวัด เทศบาลนคร เทศบาลเมอื ง เทศบาลตาบล รวม (แห่ง) (แหง่ ) (แหง่ ) (แหง่ ) 1. กระบ่ี - 1 12 13 2. ชุมพร - 2 25 27 3. ตรัง 1 1 20 22 4. นครศรธี รรมราช 1 3 50 54 5. นราธวิ าส - 3 13 16 6. ปตั ตานี - 2 15 17 7. พังงา - 2 13 15 8. พทั ลงุ - 1 47 48 9. ภูเกต็ 1 2 9 12 10. ยะลา 1 2 13 16 11. ระนอง - 2 10 12 12. สงขลา 2 11 35 48 13. สตูล - 1 67 14. สรุ าษฎรธ์ านี 2 3 35 40 ประชากร (N) 8 36 303 347 กลุ่มตัวอย่าง (n) 2 9 76 87 ทม่ี า: กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ สว่ นวิจยั และพฒั นาระบบรูปแบบและโครงสร้าง, 2560
137 ประชากร ประชากร กลุ่มตวั อย่าง n = 87 จาแนกตามประเภทของเทศบาล N = 347 เทศบาลนคร การส่มุ 2 แห่ง เทศบาลนคร 8 แห่ง ตามสดั สว่ น ร้อยละ 25 เทศบาลเมอื ง 36 แห่ง เทศบาลเมือง 9 แห่ง เทศบาลตาบล 303 แห่ง เทศบาลตาบล 76 แห่ง Treatment Random นายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล 87 คน 87 คน ภาพท่ี 12 แสดงวธิ กี ารสุม่ กลมุ่ ตวั อยา่ งแบบหลายขนั้ ตอน (Multistage random sampling) เมอ่ื พิจารณาจากจานวนประชากรคือจานวนเทศบาลในเขตภาคใต้ จานวน 347 แห่ง จะไดจ้ านวนกลุ่มตัวอยา่ งระดับอง์การท่เี หมาะสมเท่ากับ 87 แหง่ ประกอบดว้ ย ผู้บรหิ ารเทศบาล คือ นายกเทศมนตรี แห่งละ 1 คน และปลัดเทศบาล แห่งละ 1 คน รวมจานวนแบบสอบถามในระดบั บุคคลเท่ากบั 174 คน ดงั แผนภาพที่ 12 เคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการวิจัย และการตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมอื เครื่องมอื ในการวิจัย เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการวิจัยครง้ั นี้ คอื แบบสอบถาม (Questionnaire) แบบปลายปิดที่ สร้างข้ึนมาจากการศึกษาประมวลแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง มาเป็นแนวทาง ในการสร้างแบบสอบถาม ให้ครอบคลุมหัวข้อท่ีต้องการศึกษา เพ่ือนาไปใช้ในการสอบถามความคิดเห็น ของกลุ่มตวั อย่าง วดั ระดบั ความคิดเห็นโดยใช้แนวของ Likert รวมตลอดท้ังการเสนอแนะแนวทางใน การนาหลกั ธรรมาภบิ าลมาใช้ในการบริหารจัดการ และการปรับเปลย่ี นวัฒนธรรมองค์การท่ีเหมาะสม ในการที่จะนาหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารจัดการของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์มีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลย่งิ ขึ้น ซ่ึงแบบสอบถามประกอบดว้ ย 5 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 เป็นแบบสอบถามท่ีสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย ขอ้ คาถามเกี่ยวกับเพศ อายุ วุฒิการศึกษา ตาแหน่งงานในปัจจุบัน ระยะเวลาในการปฏิบัติ
138 รายได้ และระยะเวลาในการทางานในตาแหน่งปัจจุบัน ซ่ึงเป็นคาถามแบบเลือกตอบ (Check list) มี ข้อคาถามทั้งสน้ิ จานวน 7 ขอ้ ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเก่ียวกับปัจจัยด้านธรรมาภิบาลท่ีส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การ ของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย โดยนาหลักธรรมาภิบาล 10 ด้านของสถาบันพระปกเกล้า โดยถวิลวดี บุรีกุล และคณะ มาใช้เป็นกรอบสาหรับศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ (1) หลักนิติธรรม (2) หลัก คุณธรรม (3) หลักความโปรง่ ใส (4) หลกั การมสี ว่ นร่วม (5) หลกั ความรับผิดชอบ (6) หลักความคุ้มค่า (7) ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (8) ด้านองค์การแห่งการเรียนรู้ (9) ด้านการบริหารจัดการ และ (10) ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในส่วนน้ีแบบสอบถามมีลักษณะเป็นคาถามปลายปิด ซ่ึงกาหนดให้ผู้ตอบเลือกตอบ (Check List) ตามรายการที่กาหนดมาให้ ลักษณะแบบสอบถามเป็น แบบมาตรวัดประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) สร้างตามมาตรวัดของลิเคิร์ท (Likert Scale) ได้แก่ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ซ่ึงเป็นข้อความเชิงบวก มีข้อคาถามทั้งส้ิน จานวน 50 ขอ้ ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกยี่ วกบั ปัจจยั ด้านวฒั นธรรมองค์การท่สี ่งผลต่อ ประสิทธิผล องค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย โดยนาตัวแบบของ Denison มาใช้เป็นกรอบสาหรับ การศึกษา ประกอบด้วย 4 ด้าน อันได้แก่ (1) วัฒนธรรมส่วนร่วม (2) วัฒนธรรมเอกภาพ (3) วัฒนธรรม การปรับตัว และ (4) วัฒนธรรมพันธกิจ ในส่วนนี้แบบสอบถามมีลักษณะเป็นคาถามปลายปิด ซึ่ง กาหนดให้ผ้ตู อบเลือกตอบ (Check List) ตามรายการที่กาหนดมาให้ ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบ มาตรวัดประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) สร้างตามมาตรวัดของลิเคิร์ท (Likert Scale) ได้แก่ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สดุ ซึ่งเป็นข้อความเชิงบวก มีข้อคาถามทง้ั สิ้น จานวน 58 ข้อ ตอนท่ี 4 แบบสอบถามเก่ียวกับประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการสานักงาน ก.พ.ร. ซ่ึงประกอบด้วย (1) มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ (2) มิติด้านคุณภาพการให้ บริการ (3) มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และ (4) มิติด้านการพัฒนาองค์การ ในส่วนน้ี แบบสอบถามมีลักษณะเป็นคาถามปลายปิด ซ่ึงกาหนดให้ผู้ตอบเลือกตอบ (Check List) ตามรายการที่ กาหนดมาให้ ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตรวัดประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) สร้างตาม มาตรวดั ของลิเคริ ท์ (Likert Scale) ได้แก่ มากท่สี ุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ซ่ึงเป็นข้อความ เชิงบวก มีขอ้ คาถามทั้งส้นิ จานวน 19 ข้อ ตอนท่ี 5 แบบสอบถามเกย่ี วกบั ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะแนวทางในการนา หลักธรรมาภบิ าลมาใช้ในการบรหิ ารจัดการโดยผา่ นการปรบั วฒั นธรรมองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทยเพ่ือให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ย่ิงข้ึน ในส่วนน้ี แบบสอบถามมีลักษณะเป็นคาถามแบบปลายเปิด (Open-ended question) ซึ่งกาหนดให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็นได้อย่างเป็นอิสระภายใต้รายการท่ี กาหนดมาใหใ้ นแต่ละขอ้ มขี อ้ คาถามท้ังสน้ิ 3 ขอ้ การตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมอื ผู้วิจัยได้หาคุณภาพของเครื่องมือโดยการหาความค่าเท่ียงตรง (Validity) และค่า ความเชอ่ื ม่นั (Reliability) ผู้วจิ ยั ไดด้ าเนนิ การตามขน้ั ตอน ดังนี้
139 1. ศึกษารวบรวมข้อมลู ตา่ ง ๆ จากเอกสาร ตารา ทฤษฎีและงานวิจัยต่าง ๆ รวมทั้ง ศกึ ษาวิธีการสร้างแบบสอบถามการวจิ ยั 2. ผู้วิจัยได้นาแบบสอบถามท่ีได้ยกร่างไว้มาขอคาแนะนาจากอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ เพื่อตรวจสอบปรับปรุงความสมบูรณ์ และความถูกต้องให้ครอบคลุมทั้งด้านโครงสร้าง เน้ือหาและภาษาท่ีใช้เพื่อให้เกิดความเข้าใจแก่ผู้ตอบแบบสอบถามและสามารถครอบคลุมเรื่องท่ี ต้องการศึกษา แล้วนามาปรบั ปรงุ แก้ไข 3. หาความเท่ียงตรง (Validity) โดยการนาแบบสอบถามที่สร้างและปรับปรุงแก้ไข เรยี บรอ้ ยแล้วไปใหผ้ ูท้ รงคุณวุฒิ 3 ท่าน ไดแ้ ก่ 3.1 รองศาสตราจารย์ ดร.ประมาณ เทพสงเคราะห์ ตาแหน่ง อาจารย์ประจา สาขาวชิ าอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว (ธรุ กิจการบนิ ) วทิ ยาลัยนานาชาตดิ ิษยะศรนิ มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่ 3.2 ดร.ยรรยง คชรัตน์ ตาแหน่ง ผู้ช่วยอธิการบดีฝายบริหาร และรักษาการ ตาแหน่งผู้อานวยการทรพั ยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ 3.3 ดร.ณรงค์ฤทธิ์ ปริสุทธิกุล ตาแหน่ง อาจารย์ประจาสาขาวิชาสังคมศาสตร์ และวทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตตรัง เพ่ือพิจารณาความสอดคล้องของข้อคาถามกับเน้ือหาตามกรอบแนวคิดท่ีใช้ใน การวิจัย นิยามคาศัพท์ ตลอดจนการใช้ภาษา (Index of Item Objective Congruence: IOC) ซึ่ง ข้อคาถามที่ยอมรับไดจ้ ะตอ้ งมคี ่าตั้งแต่ .66 ข้ึนไป (Rovinelli & Hambleton, 1977 อ้างถึงใน เจตน์ สฤษฎิ์ สงั ขพนั ธ์, ชุตมิ า หวังเบญ็ หมดั , รชั ตา ธรรมเจรญิ , สริ ลิ กั ษณ์ ทองพูน, ปกรณ์ ลิ้มโยธิน, นิวัตน์ สวสั ด์ิแกว้ และคณะ, 2559) และผลจากทดสอบพบว่า ข้อคาถามมีค่าระหว่าง .66-1.00 ซึ่งอธิบายได้ วา่ เครือ่ งมอื มีความสอดคล้องกับกรอบแนวคดิ ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั นิยามคาศัพท์ 4. หลังจากน้ันนาแบบสอบถามท่ีแก้ไขปรับปรุง และผ่านค่า IOC จากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน เมอื่ เหน็ วา่ ไม่มีขอ้ แกไ้ ขใด ๆ แล้ว ก็ได้นาแบบสอบถามไปทดลองใช้ (Try Out) กับกลุ่มตัวอย่าง ท่ีมีความคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่างจริง จานวน 30 ชุด ในท่ีนี้ ได้แก่ นายกเทศมนตรี และปลัดเทศบาล ในเขตเทศบาลภาคกลาง เพื่อนามาวิเคราะห์หาค่าความเชื่อม่ันด้วยวิธีการวัดความสอดคล้องภายใน ของครอนบาค (Cronbach’s Alpha) โดยพิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรวม กับคาถามเป็นรายข้อ (Corrected Item-Total Correlation) ในการแปลผลค่าสัมประสิทธิค์ วามสมั พนั ธ์ระหว่างคะแนนรวมกับคาถามเป็นรายข้อ (Corrected Item-Total Correlation) ซึ่งจะต้องมีค่าต้ังแต่ 0.30 ขึ้นไป (Nunnally & Bernstein, 1994 อ้างถงึ ใน เจตน์สฤษฎ์ิ สงั ขพนั ธ์ และคณะ, 2559) และผลจากการทดสอบพบว่า แบบสอบถาม มีค่าสัมประสทิ ธค์ิ วามสัมพนั ธ์ระหว่างคะแนนรวมกบั ขอ้ คาถามเป็นรายข้อผ่านเกณฑ์ทุกด้าน ดังแสดง ในตารางที่ 16
140 ตารางที่ 16 ค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรวมของทุกข้อคาถามเป็นรายข้อ (Corrected Item-Total Correlation) ของปัจจัยด้านธรรมาภิบาล ปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การ และประสทิ ธิผลองคก์ าร ตัวแปร Corrected Item-Total ผลการทดสอบ Correlation ปจั จยั ดา้ นธรรมาภบิ าล 1. หลักนติ ิธรรม .466-.883 ผ่านเกณฑ์ 2. หลักคณุ ธรรม .594-.944 ผา่ นเกณฑ์ 3. หลักความโปร่งใส .771-924 ผ่านเกณฑ์ 4. หลักการมีส่วนรว่ ม .709-.921 ผา่ นเกณฑ์ 5. หลกั ความรบั ผดิ ชอบ .689-.895 ผา่ นเกณฑ์ 6. หลกั ความคุ้มค่า .706-.915 ผ่านเกณฑ์ 7. หลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ .769-.926 ผ่านเกณฑ์ 8. หลักองค์กรแหง่ การเรียนรู้ .840-.944 ผ่านเกณฑ์ 9. หลกั การบริหารจดั การ .768-.904 ผ่านเกณฑ์ .827-.951 ผ่านเกณฑ์ 10. หลักเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ปจั จยั ดา้ นวัฒนธรรมองคก์ าร 513-.932 ผ่านเกณฑ์ 1. วฒั นธรรมส่วนรว่ ม 357-.904 ผ่านเกณฑ์ 2. วฒั นธรรมเอกภาพ .753-.947 ผ่านเกณฑ์ 3. วฒั นธรรมการปรับตวั .467-.964 ผา่ นเกณฑ์ 4. วฒั นธรรมพันธกิจ .708-.925 ผ่านเกณฑ์ ประสิทธผิ ลองคก์ าร ต่อจากนั้นนาคาถามที่ผ่านเกณฑ์ไปวิเคราะห์หาค่าความเชื่อม่ัน (Reliability) ของ แบบสอบถาม เพื่อตรวจสอบว่าข้อคาถามสามารถส่ือความหมายตรงตามความต้องการ ตลอดจนมี ความเหมาะสม หรอื มีความยากง่ายเพยี งใด โดยใชว้ ิธีสมั ประสทิ ธิแ์ อลฟา่ ของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient; α ) ในที่นี้ใชโ้ ปรแกรมสถิติสาเร็จรูป ในการวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น ในการแปลผลคา่ ความเชอ่ื มน่ั โดยใช้วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค โดยหลักการ จะต้องมีค่าตั้งแต่ 0.70 ขึ้นไป (Burns & Grove, 1997 อ้างถึงใน เจตน์สฤษฎ์ิ สังขพันธ์ และคณะ, 2559) และผลจากการหาความเช่ือมั่นของแบบสอบถาม พบว่า ปัจจัยด้านธรรมาภิบาล ซ่ึงมี 10 ด้าน ค่าความเชื่อม่ันอยู่ระหว่าง .870-.967 ปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การซึ่งมี 4 ด้าน ค่าความเชื่อม่ันอยู่ ระหว่าง .961-.976 และประสิทธิผลองค์การ ในภาพรวมค่าความเชื่อม่ันอยู่ระหว่าง เท่ากับ 0.978 ผา่ นเกณฑ์ทุกดา้ น ดังแสดงในตารางท่ี 17
141 ตารางที่ 17 คา่ ความเชื่อมนั่ ของแบบสอบถาม (Reliability) โดยใช้สูตรการหาค่าสัมประสิทธิแ์ อลฟา ของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ปัจจยั ด้านธรรมาภิบาล ปจั จยั ด้าน วัฒนธรรมองคก์ าร และประสิทธิผลองคก์ าร ตัวแปร Cronbach’s N of ผลการ Alpha Items ทดสอบ ปจั จัยด้านธรรมาภิบาล .990 50 ผ่านเกณฑ์ 1. หลักนติ ิธรรม .870 5 ผ่านเกณฑ์ 2. หลกั คุณธรรม .891 5 ผ่านเกณฑ์ 3. หลกั ความโปรง่ ใส .931 5 ผ่านเกณฑ์ 4. หลักการมสี ว่ นร่วม .929 5 ผ่านเกณฑ์ 5. หลักความรบั ผดิ ชอบ .933 5 ผ่านเกณฑ์ 6. หลกั ความคมุ้ คา่ .941 5 ผา่ นเกณฑ์ 7. หลักการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ .926 3 ผ่านเกณฑ์ 8. หลกั องค์กรแห่งการเรยี นรู้ .967 6 ผ่านเกณฑ์ 9. หลกั การบรหิ ารจดั การ .949 6 ผ่านเกณฑ์ 10. หลกั เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร .963 5 ผ่านเกณฑ์ ปัจจยั ดา้ นวฒั นธรรมองค์การ .990 58 ผา่ นเกณฑ์ 1. วัฒนธรรมสว่ นรว่ ม .961 14 ผา่ นเกณฑ์ 2. วฒั นธรรมเอกภาพ .962 15 ผ่านเกณฑ์ 3. วฒั นธรรมการปรบั ตวั .976 15 ผ่านเกณฑ์ 4. วฒั นธรรมพนั ธกิจ .973 14 ผ่านเกณฑ์ ประสิทธิผลองคก์ าร .978 19 ผา่ นเกณฑ์ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล หลังจากท่ีผู้วิจัยได้รวบรวมแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือนามาเป็น แนวทางในการสร้างเคร่อื งมอื ใชใ้ นการศึกษาตามกรอบแนวคดิ ในการวิจัย โดยผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บ รวบรวมขอ้ มูลการศกึ ษาวจิ ัยครงั้ นอ้ี ยา่ งเปน็ ขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. ขอหนังสือจากมหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่ ถงึ นายกเทศมนตรแี ละปลดั เทศบาล ที่เป็น ตัวแทนของเทศบาลในเขตภาคใต้ 14 จังหวัด เพ่ือขอความอนุเคราะห์เก็บข้อมูล พร้อมแนบแบบสอบถาม และซองจดหมายติดแสตมป์เพอื่ สง่ กลบั ยังผศู้ กึ ษา โดยการสง่ -รบั เอกสารทางไปรษณีย์ 2. นาแบบสอบถามที่สร้างข้ึนไปเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างทางไปรษณีย์ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ตามสัดส่วนของประชากรในแต่จังหวัด แยกกลุ่มตัวอย่างจากผู้ตอบ แบบสอบถามเป็นนายกเทศมนตรี จานวน 87 ชุด ปลัดเทศบาล จานวน 87 ชุด และนัดวันที่ท่ีจะส่ง
142 ข้อมูลกลับมา หากผู้ศึกษายังไม่ได้รับคืนจากเทศบาลใด ผู้ศึกษาก็จะใช้วิธีการโทรศัพท์ติดตาม และ แจ้งเตอื น 3. นาแบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนมา ตรวจหาความสมบูรณ์ของแบบสอบถามแต่ ละฉบบั แล้วดาเนินการจัดทาตามขั้นตอน ทาการบันทึกรหัสคาตอบในแบบสอบถามเพื่อประมวลผล ทางสถิติ ดว้ ยโปรแกรมสาเร็จรูป การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และสถติ ิท่ีใช้ ก่อนการดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ทาการตรวจสอบความถูกต้อง และ ความสมบรู ณ์ของแบบสอบถามทุกชุดในเบื้องต้น และเมื่อเห็นว่าข้อมูลมีความถูกต้องและสมบูรณ์แล้ว ผู้วิจัยจึงนาข้อมูลดังกล่าวมาทาการวิเคราะห์เป็นลาดับต่อไป โดยแบ่งการวิเคราะห์ข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) และ 2. การวิเคราะห์ ขอ้ มูลเชิงคณุ ภาพ (Qualitative Analysis) มรี ายละเอียด ดงั น้ี 1. การวิเคราะหข์ ้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ผู้วิจัยได้นาเอาโปรแกรมสถิติสาเร็จรูปมาใช้ เป็นเคร่ืองมอื สาหรับการวิเคราะห์ข้อมลู โดยดาเนนิ การวเิ คราะห์ข้อมูลท่ีเป็นข้อมูลเชิงปริมาณใน 2 รูปแบบ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) และการวิเคราะห์ข้อมูล เชิงปรมิ าณด้วยสถิติเชิงอนมุ าน (Inferential Statistics) 2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) สาหรบั การนาขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณมาทาการวเิ คราะหด์ ้วยสถิติเชงิ พรรณนามีอยู่ 2 ส่วนดังน้ี 2.1 การวิเคราะห์ข้อมูลท่ีเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม (แบบสอบถามตอนทื่ 1) จะดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) คา่ เฉล่ีย ( X ) และคา่ ความเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยนาเสนอในรูปของตารางและ การบรรยาย 2.2 ในขณะท่ีการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิผลองค์การของเทศบาลใน เขตภาคใต้ของประเทศไทย (ตัวแปรตาม) และปัจจัยด้านหลักธรรมาภิบาล และปัจจัยด้านวัฒนธรรม องค์การของเทศบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย (ตัว แปรอิสระ) ในแบบสอบถามตอนท่ี 2 ตอนที่ 3 และตอนที่ 4 จะดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา ค่าเฉลย่ี (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยนาเสนอผลในรูปของตารางและ การบรรยาย ทั้งน้ี ได้กาหนดค่าน้าหนักของการให้คะแนนสาหรับคาตอบจากแบบสอบถามไว้ 5 ระดบั ดังน้ี คอื ระดับ 5 หมายถงึ มากทส่ี ุด ระดบั 4 หมายถงึ มาก ระดบั 3 หมายถงึ ปานกลาง
143 ระดับ 2 หมายถึง นอ้ ย ระดบั 1 หมายถงึ น้อยท่สี ุด และได้กาหนดการแปรผลระดับประสิทธิผลองค์การและปัจจัยด้านหลัก ธรรมาภิบาล วฒั นธรรมองคก์ ารทีส่ ่งผลตอ่ ประสทิ ธผิ ลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศ ไทย ซึ่งมีสูตรในการคานวณ เพ่ือหาช่วงห่างของข้อมูลในแต่ละชั้น (อันตรภาคช้ัน) ดังนี้ (ธานินทร์ ศลิ ปจ์ ารุ, 2553, น. 142) อตั รภาคชัน้ = คา่ พสิ ัย/จานวนชั้น แทนค่า (5-1)/5 = 0.8 จากการแทนคา่ ตามสูตรดังกล่าวข้างต้น เห็นได้ว่า ช่วงห่างของข้อมูลในแต่ ละอันตรภาคชั้นมีค่าเท่ากับ 0.8 ดังน้ัน ระดับคะแนนเฉล่ียความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างท่ีมีต่อประสิทธิผล องคก์ ารของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย (ตวั แปรตาม) จึงแสดงผลได้ 5 ระดบั ดงั น้ี คะแนนเฉลี่ย 4.20-5.00 หมายถึง ระดับประสทิ ธิผลองคก์ ารมากท่สี ุด คะแนนเฉลี่ย 3.40-4.19 หมายถึง ระดับประสทิ ธผิ ลองค์การมาก คะแนนเฉลย่ี 2.60-3.39 หมายถงึ ระดับประสิทธผิ ลองคก์ ารปานกลาง คะแนนเฉล่ยี 1.80-2.59 หมายถึง ระดับประสิทธผิ ลองคก์ ารน้อย คะแนนเฉล่ีย 1.00-1.79 หมายถงึ ระดับประสทิ ธผิ ลองคก์ ารนอ้ ยที่สดุ และระดับคะแน นเฉลี่ย ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างท่ีมีต่อปัจจัย ด้าน การบรหิ ารจัดการด้านหลักธรรมาภิบาล ปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การท่ีส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การ ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย (ตัวแปรอิสระ) สามารถแสดงผลได้ใน 5 ระดับ เช่นเดียว กนั ดงั นี้ คะแนนเฉลีย่ 4.20-5.00 หมายถึง ระดบั ประสิทธผิ ลองคก์ ารมากท่สี ุด คะแนนเฉล่ีย 3.40-4.19 หมายถึง ระดับประสทิ ธผิ ลองคก์ ารมาก คะแนนเฉลย่ี 2.60-3.39 หมายถงึ ระดับประสทิ ธผิ ลองค์การปานกลาง คะแนนเฉล่ีย 1.80-2.59 หมายถึง ระดบั ประสิทธิผลองคก์ ารนอ้ ย คะแนนเฉลย่ี 1.00-1.79 หมายถงึ ระดับประสิทธิผลองคก์ ารนอ้ ยท่ีสุด 3. การวเิ คราะห์ข้อมูลเชิงปรมิ าณด้วยสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เป็นการวิเคราะห์เพ่ือทดสอบสมมติฐานการวิจัย ซ่ึงผู้วิจัยได้กาหนดไว้ ท่ีว่า “ปัจจัยด้านธรรมาภิบาล และวัฒนธรรมองคก์ าร มีอทิ ธิพลตอ่ ประสิทธิผลการบริหารงานของเทศบาลอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ เมื่อศึกษาภายใต้บริบทของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย” โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอย เชิงพหุแบบข้ันตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) เพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ ว่าในปัจจัยด้านธรรมาภิบาล 10 หลัก และวัฒนธรรมองค์การท้ัง 4 ด้าน รวม 14 ตัวแปร มปี จั จัยใดบ้างท่สี ง่ ผลต่อประสทิ ธิผลองค์การเมือ่ ศกึ ษาในบริบทของเทศบาลในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย โดยสรุป การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) หน่วยท่ีใช้ในการศึกษาคือ เทศบาลนคร เทศบาลเมือง และเทศบาลตาบลในเขตภาคใต้ 14 จังหวัด
144 ของประเทศไทย 347 แห่ง โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นนายกเทศมนตรี จานวน 87 คน และปลัดเทศบาล จานวน 87 คน ซ่ึงได้มาจากการกาหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้เกณฑ์เป็นร้อยละของประชากรท่ี 25% สาหรับเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ซ่ึงเป็นแบบสอบถามมาตราส่วน 5 ระดับ โดยดาเนินการ เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งจากข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ ในการวิเคราะห์ข้อมูลจะมีอยู่ 2 ส่วน คือ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ทาการวิเคราะห์โดยการหาค่าทางสถิติ ซ่ึงประกอบด้วย การแจงแจก คา่ ความถี่ คา่ รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน และการวเิ คราะห์การถดถอยพหุแบบข้ันตอน โดย นาโปรแกรมสถิติสาเร็จรูปมาใช้ในการวิเคราะห์หาค่าทางสถิติดังกล่าว และจะนาเสนอการแปลผลข้อมูล ในรูปของตารางและคาบรรยายใต้ตาราง ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ซึ่งเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับการแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะใช้การวิเคราะห์เนื้อหา โดยจะนาเสนอการแปลผลข้อมูล ในรปู แบบการพรรณนาบรรยาย ในบทต่อไปซ่ึงเป็นบทที่ว่าด้วยเรื่องผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยจะได้นาเสนอผล การวิเคราะห์ขอ้ มูลอันเกดิ จากการดาเนนิ การตามระเบยี บวธิ วี ิจัยดังกลา่ วตอ่ ไป
145 บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิจัย โดยใช้วิธีการเชิงปริมาณ เพื่อวิเคราะห์ธรรมาภิบาล และ วัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของเทศบาล ในเขตภาคใต้ของประเทศไทย เก็บ รวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามจากผู้บริหารเทศบาลในเขตภาคใต้ 14 จังหวัด จานวน 87 แห่ง รวม จานวน 174 คน ประกอบด้วย นายกเทศมนตรี จานวน 87 คน และปลัดเทศบาล จานวน 87 คน การวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งน้ี ผู้วิจัยนาแบบสอบถามท่ีเก็บได้ท้ังหมดมาตรวจสอบข้อมูลเพื่อค้นหา ขอ้ บกพร่องและความสมบูรณ์ของการตอบแบบสอบถาม ผลปรากฏว่า การตอบแบบสอบถามมีความ สมบรู ณท์ ั้งหมด และนาไปวเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี ตอนที่ 1 วเิ คราะหข์ ้อมลู เก่ยี วกบั ข้อมูลทัว่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม เทศบาลในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย โดยใช้ค่าความถ่ี (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( X ) และคา่ ความเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ดังแสดงตารางท่ี 18 ตารางที่ 18 จานวน และร้อยละของข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย ข้อมลู สว่ นบุคคล จานวน รอ้ ยละ 1. เพศ 144 82.76 ชาย 30 17.24 หญิง 15 8.62 2. อายุ 73 41.95 31-40 ปี 86 49.43 41-50 ปี 51-60 ปี 5 2.87 71 40.80 3. วฒุ ิการศึกษา 93 53.45 ต่ากวา่ ปริญญาตรี 5 2.87 ปริญญาตรี/เทียบเท่า ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก 145
146 ตารางที่ 18 (ต่อ) ขอ้ มูลสว่ นบุคคล จานวน ร้อยละ 4. ตาแหน่ง 87 50.00 นายกเทศมนตรี 87 50.00 ปลัดเทศบาล 4 2.30 5. เทศบาล 18 10.34 เทศบาลนคร 152 87.36 เทศบาลเมอื ง เทศบาลตาบล 20 11.49 29 16.67 6. ระยะเวลาในการปฏบิ ตั ิงาน 40 22.99 0-5 ปี 30 17.24 6-10 ปี 55 31.61 11-15 ปี 16-20 ปี 10 5.75 มากกวา่ 20 ปี 6 3.45 17 9.77 7. รายได้ 29 16.67 15,001-20,000 บาท 27 15.52 20,001-25,000 บาท 26 14.94 25,001-30,000 บาท 59 33.91 30,001-35,000 บาท 35,001-40,000 บาท 50 28.74 40,001-45,000 บาท 36 20.69 45,000 บาทขึน้ ไป 27 15.52 29 16.67 8. ระยะเวลาในการทางานในตาแหน่งปจั จบุ ัน 32 18.39 (ต่าสุด 1 ป,ี สงู สดุ 33 ป,ี คา่ เฉลย่ี 12 ปี ค่าเบยี่ งเบน 7.88 ปี) 5 ปีลงมา 6-10 ปี 11-15 ปี 16-20 ปี มากกว่า 20 ปี จากตารางที่ 18 พบว่า สถานภาพทั่วไปของประชาชนผู้ตอบแบบสอบถาม เทศบาล ในเขตภาคใต้ของประเทศไทย สว่ นใหญเ่ ปน็ เพศชาย จานวน 144 คน คิดเป็นร้อยละ 82.76 เป็นเพศ หญิง จานวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 17.24 มีอายุ 51-60 ปี จานวน 86 คน คิดเป็นร้อยละ 49.43
147 รองลงมามีอายุ 41-50 ปี จานวน 73 คน คิดเป็นร้อยละ 41.95 สาเร็จการศึกษาปริญญาโท จานวน 93 คน คิดเปน็ ร้อยละ 53.45 รองลงมาสาเร็จการศกึ ษาปรญิ ญาหรอื เทยี บเท่า จานวน 71 คน คิดเป็น ร้อยละ 40.80 ดารงตาแหนง่ เป็นนายกเทศมนตรี จานวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 50.0 ดารงตาแหน่ง เป็นปลัดเทศเทศบาล จานวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 50.0 โดยเท่ากัน สังกัดอยู่ในเทศบาลตาบล จานวน 152 คน คิดเป็นร้อยละ 87.36 รองลงมาสังกัดอยู่ในเทศบาลเมือง จานวน 18 คน คิดเป็น ร้อยละ 10.34 ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน มากกว่า 20 ปี จานวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 31.61 รองลงมาระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 11-15 ปี จานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 22.99 มีรายได้ต่อ เดือน 45,000 บาทข้ึนไป จานวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 33.91 รองลงมามีรายได้ต่อเดือน 30,001- 35,000 บาท จานวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 และระยะเวลาในการทางานในตาแหน่งปัจจุบัน 5 ปลี งมา จานวน 50 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 28.74 รองลงมาระยะเวลาในการทางานในตาแหน่งปัจจุบัน 6-10 ปี จานวน 36 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 20.69 ตามลาดบั ตอนท่ี 2 วเิ คราะห์ข้อมูลปัจจัยด้านธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย โดย ภาพรวม รายด้าน และเป็นรายข้อ โดยใช้ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ดังแสดงตารางท่ี 19 – ตารางท่ี 29 ตารางท่ี 19 คา่ เฉลยี่ ( X ) และคา่ ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับธรรมาภิบาลของเทศบาล ในเขตภาคใต้ของประเทศไทย โดยภาพรวม รายดา้ น ธรรมาภิบาล (X ) S.D. ระดับ 1. ดา้ นหลักนติ ิธรรม 4.23 0.56 มากทส่ี ุด 2. ด้านหลักคุณธรรม 4.23 0.58 มากทส่ี ุด 3. ด้านหลักความโปร่งใส 4.27 0.57 มากท่สี ุด 4. ด้านหลักการมสี ่วนรว่ ม 4.21 0.65 มาก 5. ดา้ นหลักความรบั ผดิ ชอบ 4.25 0.58 มากทส่ี ุด 6. ด้านหลักความคุ้มค่า 3.97 0.67 มาก 7. ด้านหลักการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ 4.03 0.71 มาก 8. ดา้ นหลักองคก์ รแห่งการเรียนรู้ 3.78 0.65 มาก 9. ดา้ นหลักการบรหิ ารจัดการ 4.06 0.62 มาก 10. ด้านหลักเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 3.89 0.62 มาก รวม 4.09 0.52 มาก จากตารางที่ 19 พบว่า โดยภาพรวมระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 4.09, S.D.= 0.52) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับ ธรรมาภบิ าลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักนิติธรรม และด้านหลักคุณธรรม อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.27, 4.25, 4.23 และ 4.23
148 ส่วนด้านหลักการมีสว่ นร่วม ด้านหลกั การบรหิ ารจัดการ ดา้ นหลกั การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ ด้านหลัก ความคมุ้ คา่ ดา้ นหลักเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร และด้านหลักองค์กรแห่งการเรียนรู้ อยู่ใน ระดบั มาก มคี ่าเฉลย่ี 4.21, 4.06, 4.03, 3.97, 3.89 และ 3.78 ตามลาดับ ตารางที่ 20 คา่ เฉล่ีย (X ) และค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับธรรมาภิบาลด้านหลักนิติธรรม ของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย ธรรมาภิบาล (X ) S.D. ระดับ ดา้ นหลกั นติ ิธรรม 4.30 0.71 มากทส่ี ุด 4.22 0.75 มากท่สี ุด 1. บุคลากรของเทศบาลปฏิบัติต่อประชาชนโดยยึดหลัก 4.32 0.65 มากท่ีสุด ความถูกต้องตามกฎระเบยี บข้อบังคับ 4.02 0.73 มาก 4.26 0.75 มากที่สุด 2. เทศบาลเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนไดม้ สี ว่ นรับทราบเกย่ี วกบั 4.23 0.56 มากทีส่ ุด ระเบยี บ ข้อบังคบั ต่างๆ ท่ีจะมีผลบังคับใช้กับชุมชน 3. การบรหิ ารงานของเทศบาล มีความชัดเจนในการปฏิบตั ิ ตามกฎระเบียบและขอ้ บงั คับของทางราชการ 4. มีการปรับปรุงกฎระเบียบให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เปลย่ี นแปลงอยูเ่ สมอ 5. การปฏบิ ตั ิหนา้ ทขี่ องผบู้ รหิ ารเทศบาล เปน็ ไปอยา่ ง ถกู ต้องตามกฎหมาย รวม จากตารางท่ี 20 พบว่า โดยภาพรวมระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย ด้านหลักนิติธรรม อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.23, S.D.= 0.56) เม่ือพิจารณาเป็น รายข้อ พบวา่ ระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย การบริหารงานของเทศบาล มีความชดั เจนในการปฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บและข้อบังคับของทางราชการ บุคคลากรของเทศบาลปฏิบัติ ตอ่ ประชาชนโดยยดึ หลักความถูกต้องตามกฎระเบยี บข้อบังคบั การปฏิบัติหน้าท่ีของผู้บริหารเทศบาล เป็นไปอย่างถกู ตอ้ งตามกฎหมาย และเทศบาลเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนรับทราบเกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ท่ีจะมีผลบังคับใช้กับชุมชน อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.32, 4.30, 4.26, 4.22 ส่วนเทศบาลมกี ารปรับปรงุ กฎระเบียบให้เหมาะสมกับสถานการณ์เปล่ียนแปลงอยู่เสมอ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ยี 4.02 ตามลาดบั
149 ตารางที่ 21 คา่ เฉลย่ี (X ) และคา่ ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับธรรมาภิบาลด้านหลักคุณธรรม ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ธรรมาภิบาล (X ) S.D. ระดับ ดา้ นหลักคุณธรรม 4.24 0.74 มากทีส่ ุด 4.25 0.66 มากทส่ี ุด 1. บคุ ลากรของเทศบาล ปฏบิ ัตหิ นา้ ทีด่ ว้ ยความเทย่ี ง 4.27 0.66 มากทีส่ ุด ธรรมบนพ้นื ฐานของคุณธรรมและจรยิ ธรรม 4.25 0.64 มากทส่ี ุด 4.16 0.69 มาก 2. บุคลากรในหนว่ ยงานยึดมั่นในมาตรฐานวชิ าชีพนยิ ม 4.23 0.58 มากท่สี ุด และจรรยาบรรณวิชาชีพสม่าเสมอโดยเคร่งครัด 3. บคุ คลกรของเทศบาล บริหารงานโดยยึดหลัก ความถูกต้อง เป็นธรรมและเสมอภาค 4. บคุ ลากรของเทศบาล มีความซ่ือสัตยส์ จุ ริต ยดึ มัน่ ใน ศลี ธรรม และจรยิ ธรรม 5. บุคลากรของเทศบาล มีมนุษยสัมพนั ธท์ ี่ดี และมีไมตรี จิตพร้อมให้บริการ รวม จากตารางท่ี 21 พบว่า โดยภาพรวมระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย ดา้ นหลกั คุณธรรม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.23, S.D.= 0.58) เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อ พบว่า ระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย บุคคลกรของเทศบาล บรหิ ารงานโดยยดึ หลกั ความถูกต้อง เป็นธรรมและเสมอภาค บุคคลากรในหน่วยงานยึดม่ันในมาตรฐาน วิชาชีพนิยมและจรรยาบรรณวิชาชีพสม่าเสมอโดยเคร่งครัด บุคลากรของเทศบาล มีความซ่ือสัตย์สุจริต ยดึ ม่ันในศลี ธรรม และจริยธรรม และบุคลากรของเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเที่ยงธรรมบนพ้ืนฐาน ของคุณธรรมและจริยธรรม อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.27, 4.25, 4.25, 4.24 ส่วนบุคลากร ของเทศบาล มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และมีไมตรีจิตพร้อมให้บริการ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.16 ตามลาดับ
150 ตารางที่ 22 ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับธรรมาภิบาลด้านหลัก ความโปร่งใสของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ธรรมาภบิ าลด้านหลกั ความโปรง่ ใส (X ) S.D. ระดับ 4.37 0.66 มากทสี่ ุด 1. เทศบาล มีการสรปุ /เปิดเผยการบรหิ ารงานของเทศบาล ต่อสาธารณะ เช่น ประชาสมั พันธ/์ ปดิ ประกาศให้ 4.25 0.67 มากท่ีสุด ประชาชนรับทราบ 4.09 0.83 มาก 2. เทศบาลเปิดโอกาสให้ประชาชนติดตามตรวจสอบการ 4.24 0.70 มากทสี่ ุด ทางานของเทศบาล ตลอดถงึ แผนงานและโครงการต่างๆ 4.39 0.58 มากท่ีสุด 3. ผบู้ ริหารเทศบาล มีความโปรง่ ใสในการพจิ ารณาความดี 4.27 0.57 มากทส่ี ดุ ความชอบ ค่าตอบแทนพิเศษ ให้แกบ่ คุ ลากรท่ีปฏบิ ตั งิ าน อยา่ งสมเหตสุ มผล 4. เทศบาลมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆ หรือสิทธิ ประโยชน์ในการรับสวัสดิการใหป้ ระชาชนรับทราบ อย่างทว่ั ถงึ 5. ขอ้ มลู ข่าวสารทเ่ี ผยแพรต่ ่อสาธารณะชนมีความถูกต้อง ตรงกับความเป็นจริง รวม จากตารางท่ี 22 พบว่า โดยภาพรวมระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย ดา้ นหลกั ความโปร่งใส อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.27, S.D.= 0.57) เมื่อพิจารณา เป็นรายข้อ พบว่า ระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ข้อมูลข่าวสารท่ี เผยแพร่ต่อสาธารณะชนมีความถูกต้องตรงกับความเป็นจริง เทศบาลมีการสรุป/เปิดเผยการบริหารงาน ของเทศบาลต่อสาธารณะ เช่น ประชาสัมพันธ์/ปิดประกาศให้ประชาชนรับทราบ เทศบาลเปิดโอกาส ให้ประชาชนติดตามตรวจสอบการทางานของเทศบาล ตลอดถึงแผนงานและโครงการต่าง ๆ และเทศบาล มีการเผยแพรข่ อ้ มูลข่าวสารต่างๆ หรือสิทธิประโยชน์ในการรับสวัสดิการให้ประชาชนรับทราบอย่างทั่วถึง อย่ใู นระดบั มากท่สี ุด มคี า่ เฉลี่ย 4.39, 4.37, 4.25, 4.24 ส่วนผบู้ ริหารเทศบาล มีความโปร่งใสในการพิจารณา ความดีความชอบ คา่ ตอบแทนพิเศษ ให้แกบ่ ุคลากรทปี่ ฏบิ ัติงานอยา่ งสมเหตุสมผล อยู่ในระดับมาก มี คา่ เฉลย่ี 4.09 ตามลาดบั
151 ตารางที่ 23 ค่าเฉล่ีย ( X ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดบั ธรรมาภิบาลดา้ นหลัก การมีสว่ นรว่ มของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ธรรมาภบิ าล (X ) S.D. ระดับ ดา้ นหลักการมีส่วนร่วม 1. เทศบาลเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนเข้าไปมสี ว่ นรว่ มใน 4.28 0.71 มากท่ีสุด การตดั สินเรื่องสาคัญที่มผี ลกระทบต่อประชาชน 2. เทศบาลเปิดโอกาสให้ประชาชนมอี ิสระที่จะเสนอ 4.27 0.74 มากท่สี ุด ความคิดและสามารถแสดงความคิดเห็นในการแก้ ปญั หาร่วมกัน 3. เทศบาล เปิดโอกาสใหป้ ระชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมใน 3.94 0.79 มาก การประเมินผลงาน 4. เทศบาล มีการจดั เวทีประชาคมในการรับฟังปญั หา 4.32 0.76 มากที่สุด และความต้องการของประชาชน 5. เปดิ โอกาสให้ประชาชนเขา้ รับฟังการประชุมสภา เพ่ือ 4.24 0.82 มากท่สี ุด กาหนดนโยบาย, การออกระเบยี บ, ขอ้ บังคับของ เทศบาล รวม 4.21 0.65 มาก จากตารางท่ี 23 พบว่า โดยภาพรวมระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย ดา้ นหลกั การมสี ว่ นรว่ ม อยใู่ นระดับมาก ( X = 4.21, S.D.= 0.65) เม่ือพิจารณาเป็น รายข้อ พบว่า ระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย เทศบาลมีการจัดเวที ประชาคมในการรบั ฟงั ปัญหา และความตอ้ งการของประชาชน เทศบาลเปดิ โอกาสให้ประชาชนเข้าไป มีส่วนร่วมในการตดั สนิ เร่ืองสาคัญที่มีผลกระทบต่อประชาชน เทศบาลเปิดโอกาสให้ประชาชนมีอิสระ ที่จะเสนอความคิดและสามารถแสดงความคิดเห็นในการแก้ปัญหาร่วมกัน และเปิดโอกาสให้ประชาชน เข้ารับฟังการประชุมสภา เพ่ือกาหนดนโยบาย, การออกระเบียบ,ข้อบังคับของเทศบาล อยู่ในระดับ มากทส่ี ดุ มีคา่ เฉลยี่ 4.32, 4.28, 4.27, 4.24 ส่วนเทศบาลเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม ในการประเมินผลงาน อยู่ในระดบั มาก มคี า่ เฉลยี่ 3.94 ตามลาดบั
152 ตารางที่ 24 ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับธรรมาภิบาลด้านหลัก ความรับผดิ ชอบ ของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย ธรรมาภิบาล (X ) S.D. ระดับ ด้านหลักความรบั ผิดชอบ 4.19 0.72 มาก 4.26 0.76 มากท่ีสุด 1. ผ้บู รหิ ารเทศบาลนาโครงการ กจิ กรรม หรือแผนงาน 4.32 0.70 มากที่สุด ทแ่ี ถลงไว้ไปดาเนินการใหเ้ หน็ เป็นรปู ธรรม 4.30 0.71 มากท่ีสุด 4.20 0.63 มาก 2. เทศบาล มีความเอาใจใสต่ ่อปัญหาของประชาชน 4.25 0.58 มากทส่ี ุด และเร่งแก้ไขเพ่ือบรรเทาความเดอื ดร้อน 3. มกี ารกาหนดวสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจและเปูาหมายใน การปฏิบัติงานของเทศบาลอย่างชัดเจน 4. การใหบ้ ริการต่างๆ ของเทศบาล ให้ดว้ ย ความรบั ผิดชอบตอบสนองความต้องการของชมุ ชน 5. บุคลากรของเทศบาล มีความรับผดิ ชอบใน การปฏิบัตงิ านทไี่ ด้รับมอบหมาย รวม จากตารางท่ี 24 พบวา่ โดยภาพรวมระดบั ธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย ด้านหลักความรับผิดชอบ อยใู่ นระดับมากท่สี ดุ ( X = 4.25, S.D.= 0.58) เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อ พบว่า ระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย มีการกาหนดวิสัยทศั น์ พันธ กจิ และเปาู หมายในการปฏบิ ตั ิงานของเทศบาลอย่างชัดเจน การให้บริการต่างๆของเทศบาล ใหด้ ้วย ความรับผิดชอบตอบสนองความต้องการของชมุ ชน และเทศบาลมีความเอาใจใส่ต่อปัญหาของประชาชน และเร่งแกไ้ ขเพื่อบรรเทาความเดอื ดร้อน อยู่ในระดบั มากที่สุด มีค่าเฉลย่ี 4.32, 4.30, 4.26 ส่วนบคุ ลากร ของเทศบาล มีความรบั ผิดชอบในการปฏิบัติงานที่ได้รบั มอบหมาย และผู้บรหิ ารเทศบาลนาโครงการ กจิ กรรม หรือแผนงานที่แถลงไวไ้ ปดาเนินการให้เห็นเป็นรปู ธรรม อยูใ่ นระดบั มาก มีค่าเฉลีย่ 4.20 และ 4.19 ตามลาดับ
153 ตารางท่ี 25 ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับธรรมาภิบาลด้านหลัก ความคุม้ คา่ ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ธรรมาภบิ าล ( X ) S.D. ระดับ ด้านหลักความคมุ้ คา่ 1. ผบู้ รหิ ารของเทศบาลมีนโยบายการประหยดั รายจ่าย 4.01 0.83 มาก ในด้านต่าง ๆ และมีการจัดสรรการใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่าให้เกิดประโยชน์สงู สดุ 2. เทศบาลมีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานด้านการใช้ 3.86 0.92 มาก ทรัพยากรเพื่อใหเ้ กดิ ความคุมคา่ สงู สุด 3. บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ ความชานาญ 4.01 0.79 มาก เหมาะสมกับงานทรี่ ับผิดชอบ และมีอตั รากาลังที่มี จานวนเหมาะสมกับปริมาณงาน 4. เทศบาลมีการใช้เทคโนโลยีเคร่ืองมือต่าง ๆ ที่ 4.03 0.73 มาก ทนั สมัยเพื่อลดต้นทุนและลดข้ันตอนการทางาน เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน 5. มีการรณรงค์ใหป้ ระชาชนใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ 3.95 0.78 มาก อย่างประหยดั และยดึ แนวพระราชดารเิ ศรษฐกิจ พอพียง รวม 3.97 0.67 มาก จากตารางที่ 25 พบว่า โดยภาพรวมระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย ด้านหลักความคุ้มค่า อยู่ในระดับมาก ( X = 3.97, S.D.= 0.67) เม่ือพิจารณาเป็น รายข้อ พบว่า ระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย เทศบาลมีการใช้เทคโนโลยี เครื่องมือต่าง ๆ ท่ีทันสมัยเพื่อลดต้นทุนและลดข้ันตอนการทางาน เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน ผบู้ รหิ ารของเทศบาลมีนโยบายการประหยัดรายจ่ายในด้านต่าง ๆ และมีการจัดสรรการใช้ทรัพยากรอย่าง คุ้มค่าให้เกิดประโยชน์สงู สดุ บคุ ลากรมีความรู้ ความสามารถ ความชานาญเหมาะสมกับงานที่รับผิดชอบ และมีอตั รากาลงั ทม่ี จี านวนเหมาะสมกบั ปริมาณงาน มีการรณรงค์ให้ประชาชนใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อยา่ งประหยดั และยดึ แนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอพยี ง และเทศบาลมีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ดา้ นการใช้ทรพั ยากรเพอ่ื ใหเ้ กิดความคมุ ค่าสูงสดุ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.03, 4.01, 4.01, 3.95 และ 3.86 ตามลาดับ
154 ตารางที่ 26 ค่าเฉลีย่ (X ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับธรรมาภิบาลด้านหลักการ พฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ธรรมาภิบาล ( X ) S.D. ระดับ ดา้ นหลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1. เทศบาลมีการฝกึ อบรมและจัดสัมมนาเพื่อพัฒนาความรู้ 4.06 0.75 มาก ความสามารถของบุคลากรให้ทนั สมัยอยู่เสมอ 2. เทศบาลมีการจดั สรรงบประมาณในดา้ นการพฒั นา 4.02 0.79 มาก บุคลากรอย่างเพียงพอและเหมาะสม 3. เทศบาลมีการนาความรู้ใหม่ ๆ มาปรับปรุงการทางาน 4.02 0.80 มาก เพ่ือพัฒนาทักษะวชิ าชีพอย่างต่อเน่ือง รวม 4.03 0.71 มาก จากตารางที่ 26 พบว่า โดยภาพรวมระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย ดา้ นหลกั การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ อยู่ในระดับมาก ( X = 4.03, S.D.= 0.71) เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย เทศบาลมี การฝกึ อบรมและจัดสัมมนา เพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรให้ทันสมัยอยู่เสมอ เทศบาล มกี ารจดั สรรงบประมาณในดา้ นการพัฒนาบุคลากรอยา่ งเพียงพอและเหมาะสม และเทศบาลมีการนา ความรู้ใหม่ ๆ มาปรับปรุงการทางานเพ่ือพัฒนาทักษะวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.06, 4.02 และ 4.02 ตามลาดบั
155 ตารางท่ี 27 ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับธรรมาภิบาลด้านหลัก องค์กรแหง่ การเรียนรขู้ องเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย ธรรมาภิบาล ( X ) S.D. ระดับ ด้านหลักองค์กรแห่งการเรียนรู้ 1. เทศบาลมีการจัดกิจกรรมและโครงการต่างๆ ร่วมกับ 3.84 0.70 มาก หน่วยงานภายนอก เพ่ือใหบ้ ุคลากรได้เรยี นร้สู ิง่ ใหม่ๆ 2. เทศบาลมีการสร้างนวตั กรรมใหม่ๆ เพื่อนามาใช้ปรับปรุง 3.54 0.80 มาก การปฏบิ ตั ิงานเพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่ 3. มกี ระบวนการผลกั ดันให้เกิดทัศนคตทิ ี่ดี ต่อการเรียนรู้ 3.74 0.80 มาก จากผูอ้ ่ืน ยอมรับและใหเ้ กยี รติ ในการรบั ฟังความคิดเห็น ทีแ่ ตกต่าง 4. บคุ ลากรของเทศบาลมีการนาองค์ความรู้ท่ีไดร้ ับจากแหล่ง 3.87 0.74 มาก ต่าง ๆ มาใช้ในการปฏิบัติงาน 5. บุคลากรของเทศบาลมีการใชเ้ ครื่องมือและเทคโนโลยีเพื่อ 3.87 0.72 มาก เพ่ิมประสิทธิภาพในกระบวนการจัดการความรู้ 6. ผ้บู รหิ ารเทศบาลมีการสง่ เสรมิ การสร้างวฒั นธรรมองค์กร 3.83 0.85 มาก แหง่ การเรยี นรู้ รวม 3.78 0.65 มาก จากตารางท่ี 27 พบว่า โดยภาพรวมระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย ด้านหลักองค์กรแห่งการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก ( X = 3.78, S.D.= 0.65) เมื่อพิจารณา เปน็ รายข้อ พบว่า ระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย บุคลากรของเทศบาล มกี ารนาองค์ความรทู้ ไ่ี ด้รับจากแหลง่ ตา่ ง ๆ มาใช้ในการปฏิบัติงาน บุคลากรของเทศบาลมีการใช้เครื่องมือ และเทคโนโลยีเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในกระบวนการจัดการความรู้ เทศบาลมีการจัดกิจกรรมและโครงการ ตา่ งๆ ร่วมกบั หน่วยงานภายนอก เพอื่ ใหบ้ คุ ลากรได้เรยี นรสู้ ิ่งใหมๆ่ ผู้บริหารเทศบาลมกี ารส่งเสริมการสร้าง วัฒนธรรมองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีกระบวนการผลกั ดนั ให้เกดิ ทัศนคติท่ีดี ต่อการเรียนรู้จากผู้อื่น ยอมรับ และใหเ้ กยี รติ ในการรบั ฟังความคดิ เห็นท่ีแตกต่าง และเทศบาลมีการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อนามา ใช้ปรบั ปรุงการปฏิบัติงานเพ่ือสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 3.87, 3.87, 3.84, 3.83, 3.74 และ 3.54 ตามลาดับ
156 ตารางท่ี 28 ค่าเฉลีย่ (X ) และค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับธรรมาภิบาลด้านหลักการ บรหิ ารจดั การของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย ธรรมาภบิ าล ( X ) S.D. ระดับ ด้านหลักการบรหิ ารจัดการ 1. หน่วยงานของเทศบาลมีการจัดทาแผนภมู ิข้ันตอนและ 4.10 0.77 มาก ระยะเวลาการทางานอย่างเปิดเผยไว้ในทที่ างาน 2. เทศบาลมีการทบทวนยทุ ธศาสตร์การดาเนินการ 4.06 0.74 มาก เพอ่ื ปรบั ปรุงอยเู่ สมอ 3. มกี ารกระจายความรบั ผดิ ชอบของภาระงานอยา่ ง 4.11 0.70 มาก เหมาะสมตามความสามารถและอยใู่ นกรอบอานาจ หน้าท่ีของบุคลากร 4. เทศบาลมีหลักปฏบิ ัติในการบริหารงานแบบมสี ่วนร่วม 4.10 0.77 มาก 5. มีการเปดิ รบั ฟังความคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุง 4.04 0.79 มาก การทางาน โดยมชี ่องทางในการปรบั ข้อมลู ท่ีง่ายและ สะดวกรวดเร็ว 6. เทศบาลมรี ะบบติดตามประเมนิ ผลตามแผนงานท่ี 3.97 0.72 มาก กาหนด รวม 4.06 0.62 มาก จากตารางท่ี 28 พบว่า โดยภาพรวมระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย ดา้ นหลกั การบรหิ ารจดั การอยู่ในระดับมาก (X = 4.06, S.D.= 0.62) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย มีการกระจายความรับผิดชอบ ของภาระงานอย่างเหมาะสมตามความสามารถและอยู่ในกรอบอานาจหน้าที่ของบุคลากร หน่วยงาน ของเทศบาลมกี ารจัดทาแผนภูมิขน้ั ตอนและระยะเวลาการทางานอย่างเปิดเผยไว้ในท่ีทางาน เทศบาล มีหลักปฏิบัติในการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม เทศบาลมีการทบทวนยุทธศาสตร์การดาเนินการ เพื่อ ปรบั ปรงุ อยูเ่ สมอ มีการเปิดรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะ เพ่ือปรับปรุงการทางาน โดยมีช่องทางใน การปรบั ข้อมูลทง่ี ่ายและสะดวกรวดเร็ว และเทศบาลมรี ะบบติดตามประเมนิ ผลตามแผนงานที่กาหนด อยู่ในระดบั มาก มคี ่าเฉลี่ย 4.11, 4.10, 4.10, 4.06, 4.04 และ 3.97 ตามลาดับ
157 ตารางที่ 29 ค่าเฉล่ีย ( X ) และค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับธรรมาภิบาลด้านหลัก เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ธรรมาภบิ าล (X ) S.D. ระดับ ด้านหลักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร 1. เทศบาลมีการจัดทาฐานข้อมูลกลางของหนว่ ยงาน 3.83 0.68 มาก อย่างเป็นระบบ งา่ ยต่อการศึกษาทาความเข้าใจ 2. เทศบาลมรี ะบบเครือข่ายสารสนเทศท่มี ปี ระสิทธภิ าพ 3.90 0.74 มาก เหมาะสมกบั ยุคปัจจุบัน 3. เทศบาลมีอุปกรณ์เทคโนโลยที ่ีมีประสทิ ธิภาพและ 3.91 0.71 มาก เพยี งพอ รวมทงั้ มีการพฒั นาทกั ษะของผใู้ ชง้ าน เครือข่ายสารสนเทศ 4. เทศบาลมีการนาเทคโนโยลีสารสนสนเทศไปใช้ 3.89 0.67 มาก ปฏบิ ตั ิงานอย่างจริงจงั ภายในเทศบาล 5. เทศบาลมีระบบเครือขา่ ยสารสนเทศซ่ึงสามารถ 3.90 0.71 มาก เช่อื มโยงระหว่างหน่วยงานภายในของเทศบาลและ ภายนอกได้ รวม 3.89 0.62 มาก จากตารางที่ 29 พบว่า โดยภาพรวมระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย ดา้ นหลกั เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารอยู่ในระดับมาก ( X = 3.89, S.D.= 0.62) เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับธรรมาภิบาลของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย เทศบาล มอี ปุ กรณเ์ ทคโนโลยที ่ีมปี ระสิทธิภาพและเพียงพอ รวมทง้ั มีการพฒั นาทักษะของผใู้ ชง้ านเครอื ข่ายสารสนเทศ เทศบาลมีระบบเครือข่ายสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับยุคปัจจุบัน เทศบาลมีระบบเครือข่าย สารสนเทศซึง่ สามารถเชอื่ มโยงระหว่างหน่วยงานภายในของเทศบาลและภายนอกได้ เทศบาลมีการนา เทคโนโยลีสารสนสนเทศไปใช้ปฏิบัติงานอย่างจริงจังภายในเทศบาล และเทศบาลมีการจัดทาฐานข้อมูล กลางของหน่วยงานอย่างเปน็ ระบบ งา่ ยตอ่ การศึกษาทาความเข้าใจ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 3.91, 3.90, 3.90, 3.89 และ 3.83 ตามลาดบั
158 ตอนท่ี 3 วิเคราะห์ขอ้ มลู ปจั จยั ด้านวัฒนธรรมองค์การของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย โดยภาพรวม รายด้าน และเป็นรายข้อ โดยใช้ค่าเฉล่ีย ( X ) และค่าความเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) ดงั แสดงตารางท่ี 30 – ตารางที่ 46 ตารางท่ี 30 ค่าเฉล่ีย ( X ) และค่าความเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การของ เทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย โดยภาพรวม รายดา้ น วัฒนธรรมองคก์ าร ( X ) S.D. ระดับ 3.90 0.60 มาก 1. ดา้ นวัฒนธรรมสว่ นรว่ ม 3.81 0.61 มาก 2. ดา้ นวัฒนธรรมเอกภาพ 3.89 0.60 มาก 3. ดา้ นวฒั นธรรมการปรบั ตัว 3.89 0.62 มาก 4. ดา้ นวัฒนธรรมพันธกิจ 3.87 0.57 มาก รวม จากตารางที่ 30 พบวา่ โดยภาพรวมระดับวฒั นธรรมองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.87, S.D.= 0.57) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับ วฒั นธรรมองค์การของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย ด้านวัฒนธรรมส่วนร่วม ด้านวัฒนธรรม การปรับตัว ด้านวัฒนธรรมพันธกิจ และด้านวัฒนธรรมเอกภาพ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 3.90, 3.89, 3.89 และ 3.81 ตามลาดับ ตารางที่ 31 ค่าเฉล่ีย ( X ) และค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วัฒนธรรมส่วนรว่ มของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย โดยภาพรวม และรายด้าน วฒั นธรรมองค์การ (X) S.D. ระดับ ด้านวัฒนธรรมส่วนรว่ ม 3.85 0.62 มาก 1. มิตวิ ัฒนธรรมเสรมิ สรา้ งอานาจ 3.93 0.64 มาก 2. มติ วิ ัฒนธรรมการทางานเป็นทมี 3.95 0.70 มาก 3. มิตวิ ัฒนธรรมการพฒั นาสมรรถภาพบคุ ลากรในทุกระดบั 3.90 0.60 มาก รวม จากตารางท่ี 31 พบว่า โดยภาพรวมระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมส่วนร่วม ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.90, S.D.= 0.60) เม่ือพิจารณาเป็น รายมิติ พบว่า ระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมส่วนร่วมของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย มติ วิ ฒั นธรรมการพฒั นาสมรรถภาพบคุ ลากรในทกุ ระดับ มติ ิวฒั นธรรมการทางานเป็นทีม และมิติวัฒนธรรม เสริมสรา้ งอานาจ อยใู่ นระดับมาก มีคา่ เฉลี่ย 3.95, 3.93 และ 3.85 ตามลาดับ
159 ตารางที่ 32 คา่ เฉลยี่ ( X ) และค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วัฒนธรรมส่วนร่วม มิติวัฒนธรรมเสริมสร้างอานาจของเทศบาลในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย วัฒนธรรมองค์การดา้ นวัฒนธรรมส่วนรว่ ม ( X ) S.D. ระดับ มติ ิวัฒนธรรมเสรมิ สรา้ งอานาจ 1. ภายในเทศบาลมีค่านิยมในการกระจายอานาจ 3.86 0.77 มาก การตัดสินใจในการทางานให้แก่บคุ ลากร 2. ภายในเทศบาลสนบั สนุนให้มีการบริหารจัดการดว้ ย 3.81 0.75 มาก บุคลากรของเทศบาลกนั เอง 3. ภายในเทศบาลมีการแบ่งปนั ข้อมลู ข่าวสารใน 3.86 0.82 มาก การทางานอยา่ งทว่ั ถึงทง้ั องค์กร 4. บุคลากรของเทศบาลส่วนใหญ่ร้สู กึ ว่าเทศบาลก็คือ 3.95 0.70 มาก ครอบครัวใหญ่ 5. บคุ ลากรของเทศบาลสว่ นใหญ่มีความเชื่อวา่ ตนเองมี 3.79 0.72 มาก ส่วนร่วมตอ่ การตัดสินใจในเร่ืองทีม่ ผี ลต่องานของ ตนเอง 6. การวางแผนของเทศบาลเนน้ ค่านิยมการมีสว่ นรว่ ม 3.84 0.79 มาก ของบุคลากรของเทศบาล รวม 3.85 0.62 มาก จากตารางที่ 32 พบว่า โดยภาพรวมระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมส่วนร่วม มติ วิ ฒั นธรรมเสรมิ สรา้ งอานาจของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.85, S.D.= 0.62) เมือ่ พิจารณาเปน็ รายข้อ พบว่า ระดับวฒั นธรรมองคก์ ารด้านวัฒนธรรมส่วนร่วมมิติวัฒนธรรม เสริมสร้างอานาจของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย บุคลากรของเทศบาลส่วนใหญ่รู้สึกว่าเทศบาล ก็คือครอบครวั ใหญ่ ภายในเทศบาลมีค่านยิ มในการกระจายอานาจการตัดสินใจในการทางานให้แก่บุคลากร ภายในเทศบาลมีการแบง่ ปันข้อมลู ข่าวสารในการทางานอย่างท่ัวถึงท้ังองค์กร การวางแผนของเทศบาล เนน้ คา่ นิยมการมสี ่วนร่วมของบุคลากรของเทศบาล ภายในเทศบาลสนับสนุนให้มีการบริหารจัดการด้วย บคุ ลากรของเทศบาลกันเอง และบคุ ลากรของเทศบาลส่วนใหญ่มีความเชื่อว่า ตนเองมีส่วนร่วมต่อการตัดสินใจ ในเรื่องท่มี ผี ลต่องานของตนเอง อยู่ในระดบั มาก มคี ่าเฉลีย่ 3.95, 3.86, 3.86, 3.84, 3.81 และ 3.79 ตามลาดับ
160 ตารางท่ี 33 คา่ เฉลี่ย ( X ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วฒั นธรรมสว่ นรว่ ม มติ วิ ัฒนธรรมการทางานเปน็ ทมี ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย วัฒนธรรมองคก์ ารดา้ นวัฒนธรรมส่วนร่วม ( X ) S.D. ระดับ มติ ิวัฒนธรรมการทางานเปน็ ทีม 1. ภายในเทศบาลมีการสนับสนุนให้มีการรว่ มมือกัน 4.01 0.66 มาก ทางานระหว่างฝาุ ย/สายงานทต่ี า่ งกัน 2. บุคลากรของเทศบาลส่วนใหญท่ างานเสมือนเป็น 3.94 0.79 มาก สว่ นหนึง่ ของทีม 3. ภายในเทศบาลมีการใช้ทีมงานเปน็ กลไกในการปฏบิ ัติ 3.87 0.73 มาก งานมากกวา่ การสง่ั การตามสายบังคับบัญชา 4. บุคลากรของเทศบาลสว่ นใหญ่ใหค้ วามสาคัญอยา่ งสูง 3.94 0.70 มาก ตอ่ การทางานเปน็ ทมี 5. ภายในเทศบาลมีการจัดระบบงานเพ่ือให้บคุ ลากรมอง 3.86 0.72 มาก เห็นความเชื่อมโยงระหวา่ งงานทที่ ากบั เปูาประสงค์ ของเทศบาล รวม 3.93 0.64 มาก จากตารางท่ี 33 พบว่า โดยภาพรวมระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมส่วนร่วม มิติวัฒนธรรมการทางานเป็นทีมของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.93, S.D.= 0.64) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมส่วนร่วมมิติ วัฒนธรรมการทางานเป็นทีมของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ภายในเทศบาลมีการสนับสนุนให้มี การร่วมมือกันทางานระหว่างฝุาย/สายงานที่ต่างกัน บุคลากรของเทศบาลส่วนใหญ่ทางานเสมือนเป็นส่วน หนึ่งของทีม บุคลากรของเทศบาลส่วนใหญ่ให้ความสาคัญอย่างสูงต่อการทางานเป็นทีม ภายในเทศบาลมี การใช้ทีมงานเป็นกลไกในการปฏิบัติงานมากกว่าการส่ังการตามสายบังคับบัญชา และภายในเทศบาลมี การจัดระบบงานเพ่ือให้บุคลากรมองเห็นความเช่ือมโยงระหว่างงานท่ีทากับเปูาประสงค์ของเทศบาล อยู่ในระดับมาก มคี ่าเฉลีย่ 4.01, 3.94, 3.94, 3.87 และ 3.86 ตามลาดบั
161 ตารางที่ 34 คา่ เฉลี่ย ( X ) และค่าความเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วฒั นธรรมส่วนรว่ มมิตวิ ฒั นธรรมการพัฒนาสมรรถภาพบุลากรในทุกระดับของเทศบาล ในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย วฒั นธรรมองคก์ ารดา้ นวัฒนธรรมส่วนรว่ มมติ ิวัฒนธรรม (X) S.D. ระดับ การพฒั นาสมรรถภาพบลุ ากรในทุกระดบั 1. ภายในเทศบาลมีการมอบหมายอานาจหน้าทเ่ี พ่ือให้ 4.04 0.76 มาก บคุ ลากรสามารถทางานไดด้ ้วยตวั เอง 2. ภายในเทศบาลมีคา่ นิยมในการปรับปรุงสมรรถภาพของ 3.92 0.76 มาก บุคลากรอย่างต่อเน่ือง 3. เทศบาลของทา่ นมคี ่านยิ มในการใชจ้ ่ายเพ่ือเสรมิ สร้าง 3.90 0.77 มาก ทกั ษะในการปฏบิ ตั งิ านแก่บคุ ลากร รวม 3.95 0.70 มาก จากตารางที่ 34 พบว่า โดยภาพรวมระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมส่วนร่วม มิติวฒั นธรรมการพัฒนาสมรรถภาพบุลากรในทุกระดบั ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ ในระดับมาก ( X = 3.95, S.D.= 0.70) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วฒั นธรรมสว่ นร่วมมติ ิวัฒนธรรมการพฒั นาสมรรถภาพบุลากรในทุกระดับ ของเทศบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย ภายในเทศบาลมีการมอบหมายอานาจหน้าท่ีเพื่อให้บุคลากรสามารถทางานได้ด้วย ตัวเอง ภายในเทศบาลมีคา่ นยิ มในการปรับปรุงสมรรถภาพของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง และเทศบาลของ ทา่ นมคี ่านิยมในการใช้จ่ายเพื่อเสริมสร้างทักษะในการปฏิบัติงานแก่บุคลากร อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.04, 3.92 และ 3.90 ตามลาดบั ตารางท่ี 35 ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วัฒนธรรมเอกภาพของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย โดยภาพรวม และรายด้าน วฒั นธรรมองคก์ าร ( X ) S.D. ระดบั ด้านวฒั นธรรมเอกภาพ 3.71 0.67 มาก 1. มิตวิ ฒั นธรรมค่านยิ มแกนกลาง 3.82 0.71 มาก 2. มติ วิ ฒั นธรรมการตกลงร่วมกัน 3.92 0.62 มาก 3. มิตวิ ัฒนธรรมความรว่ มมือและประสานบรูราการ 3.81 0.61 มาก รวม จากตารางที่ 35 พบว่า โดยภาพรวมระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมเอกภาพ ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.81, S.D.= 0.61) เมื่อพิจารณา
162 เป็นรายมิติ พบว่า ระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมเอกภาพของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศ ไทย มิติวัฒนธรรมความร่วมมือและประสานบรูราการ มิติวัฒนธรรมการตกลงร่วมกัน และมิติวัฒนธรรม ค่านิยมแกนกลาง อยใู่ นระดับมาก มคึ า่ เฉล่ีย 3.92, 3.82 และ 3.71 ตามลาดบั ตารางที่ 36 ค่าเฉลยี่ ( X ) และคา่ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การดา้ น วัฒนธรรมเอกภาพมิติวฒั นธรรมคา่ นยิ มแกนกลางของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย ระดับวัฒนธรรมองค์การ ด้านวฒั นธรรมเอกภาพ ( X ) S.D. ระดับ มติ วิ ัฒนธรรมค่านยิ มแกนกลาง 1. ผบู้ ริหารของเทศบาลของท่านได้ปฏิบตั ใิ นสิง่ ท่ีตนเองสอน 3.90 0.83 มาก หรือบอกกล่าวแก่บุคลากร 2. ภายในเทศบาลมคี ่านยิ มบางอย่างทยี่ ึดถือร่วมกันอย่างชดั เจน 3.71 0.81 มาก 3. ภายในเทศบาลมีคา่ นยิ มบางอยา่ งทยี่ ึดถือร่วมกันอยา่ ง 3.69 0.77 มาก คงเส้นคงวา 4. ภายในเทศบาลมีค่านิยมบางอยา่ งท่ีใช้ยึดถือเป็นแนวทาง 3.77 0.69 มาก ปฏบิ ัติ 5. ภายในเทศบาลมีคา่ นิยมบางอย่างทใี่ ครกต็ ามทาการละเมิด 3.39 0.90 ปาน จะไดร้ ับการพจิ ารณาว่าเปน็ บุคคลที่สรา้ งปญั หาใหก้ บั กลาง หนว่ ยงาน 6. ภายในเทศบาลมีการกาหนดจรรยาบรรณท่ีเปน็ แนวทางใน 3.83 0.81 มาก การปฏิบัตอิ ย่างชัดเจนว่าสงิ่ ใดผดิ หรือสง่ิ ใดถูก รวม 3.71 0.67 มาก จากตารางท่ี 36 พบว่า โดยภาพรวมระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมเอกภาพ มิติวัฒนธรรมค่านิยมแกนกลางของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.71, S.D.= 0.67) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมเอกภาพมิติ วัฒนธรรมค่านิยมแกนกลางของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย ผู้บริหารของเทศบาลของท่าน ไดป้ ฏิบตั ใิ นสิง่ ทต่ี นเองสอนหรือบอกกล่าวแก่บุคลากร ภายในเทศบาลมีการกาหนดจรรยาบรรณที่เป็น แนวทางในการปฏิบัติอย่างชัดเจนว่าส่ิงใดผิดหรือสิ่งใดถูก ภายในเทศบาลมีค่านิยมบางอย่างท่ีใช้ยึดถือ เปน็ แนวทางปฏิบัติ ภายในเทศบาลมีค่านิยมบางอย่างท่ียึดถือร่วมกันอย่างชัดเจน และภายในเทศบาล มีค่านิยมบางอย่างที่ยึดถือร่วมกันอย่างคงเส้นคงวา อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 3.90, 3.83, 3.77, 3.71 และ 3.69 ส่วนภายในเทศบาลมีค่านิยมบางอย่างที่ใครก็ตามทาการละเมิดจะได้รับการพิจารณาว่า เป็นบคุ คลทส่ี ร้างปญั หาให้กับหนว่ ยงาน อย่ใู นระดับปานกลาง มคึ ่าเฉลยี่ 3.39 ตามลาดับ
163 ตารางที่ 37 ค่าเฉลีย่ ( X ) และคา่ ความเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วฒั นธรรมเอกภาพมิติวฒั นธรรมการตกลงรว่ มของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ระดบั วัฒนธรรมองคก์ ารด้านวฒั นธรรมเอกภาพ (X) S.D. ระดบั มติ วิ ัฒนธรรมการตกลงรว่ ม 1. ภายในเทศบาลมีการใชแ้ นวทางการจดั การแบบ 3.79 0.81 มาก กาหนดข้อตกลงรว่ มกัน 2. ภายในเทศบาลเมื่อมีความเห็นท่แี ตกตา่ งกัน บุคลากร 3.87 0.80 มาก เทศบาลสว่ นใหญ่จะพยายามหาขอ้ ตกลงร่วมกันจน เปน็ ทีพ่ อใจกับทกุ ฝาุ ย 3. ภายในเทศบาลเม่ือมีความเห็นที่แตกต่างกัน บุคลากร 3.88 0.78 มาก เทศบาลส่วนใหญ่ก็สามารถบรรลุขอ้ ตกลงร่วมกนั ตกลงร่วมกันไดง้ า่ ย 4. ภายในเทศบาลเมื่อมปี ระเดน็ สาคญั ๆ มักจะเกิด 3.66 0.99 มาก ปญั หาในการหาขอ้ ตกลงรว่ มกนั 5. ภายในเทศบาลได้กาหนดขอ้ ตกลงรว่ มกนั ในแนวทาง 3.91 0.83 มาก ปฏิบตั อิ ย่างชดั เจนวา่ สิ่งใดควรพึงกระทา สิ่งใดไม่ ควรพึงกระทา รวม 3.82 0.71 มาก จากตารางที่ 37 พบว่า โดยภาพรวมระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมเอกภาพ มิติวัฒนธรรมการตกลงร่วมของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.82, S.D.= 0.71) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมเอกภาพมิติ วัฒนธรรมการตกลงร่วมของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ภายในเทศบาลได้กาหนดข้อตกลง ร่วมกันในแนวทางปฏิบัติอย่างชัดเจนว่า สิ่งใดควรพึงกระทา สิ่งใดไม่ควรพึงกระทา ภายในเทศบาล เมอ่ื มคี วามเห็นท่ีแตกต่างกนั บุคลากรเทศบาลส่วนใหญ่ก็สามารถบรรลุข้อตกลงร่วมกัน ตกลงร่วมกัน ไดง้ ่าย ภายในเทศบาลเมื่อมีความเห็นทีแ่ ตกต่างกนั บคุ ลากรเทศบาลส่วนใหญ่จะพยายามหาข้อตกลง ร่วมกันจนเป็นท่ีพอใจกับทุกฝุาย ภายในเทศบาลมีการใช้แนวทางการจัดการแบบกาหนดข้อตกลงร่วมกัน และภายในเทศบาลเม่อื มีประเดน็ สาคญั ๆ มักจะเกิดปัญหาในการหาข้อตกลงรว่ มกัน อยู่ในระดับมาก มึค่าเฉล่ยี 3.91, 3.88, 3.87, 3.79 และ 3.66 ตามลาดบั
164 ตารางที่ 38 คา่ เฉลย่ี ( X ) และคา่ ความเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วัฒนธรรมเอกภาพมิติวัฒนธรรมความร่วมมือและประสานบรูณาการของเทศบาลใน เขต ภาคใต้ของประเทศไทย ระดบั วัฒนธรรมองค์การด้านวฒั นธรรมเอกภาพ ( X ) S.D. ระดับ มิตวิ ัฒนธรรมความร่วมมอื และประสานบรณู าการ 1. ภายในเทศบาลมีแนวทางการปฏบิ ตั ิงานท่เี ป็นแบบแผน 3.79 0.79 มาก ข้ันตอน ชัดเจน มคี วามคงเส้นคงวาไม่ต่อยมี การเปลี่ยนแปลง 2. ภายในเทศบาล เม่ือมีการพจิ ารณาไปท่รี ปู แบบแนวทาง 3.82 0.69 มาก การปฏบิ ตั งิ าน จะทาให้สามารถคาดการณไ์ ดว้ า่ ผลจะ ออกมาเปน็ อยา่ งไร 3. ภายในเทศบาลเม่ือมีการประสานงานระหวา่ งฝุาย/ 4.05 0.63 มาก สายงานต่าง ๆ จะมีความง่ายในการประสานงาน 4. ภายในเทศบาลมีการเชือ่ มโยงเปูาหมายของฝุาย/ 4.02 0.74 มาก สายงานต่าง ๆ เพ่ือให้บรรลุเปูาหมายใหญข่ ององค์กร รวม 3.92 0.62 มาก จากตารางที่ 38 พบว่า โดยภาพรวมระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมเอกภาพ มติ วิ ฒั นธรรมความรว่ มมือและประสานบรูณาการของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับ มาก ( X = 3.92, S.D.= 0.62) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรม เอกภาพมิตวิ ฒั นธรรมความร่วมมอื และประสานบรูณาการของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ภายในเทศบาลเมือ่ มีการประสานงานระหวา่ งฝาุ ย/สายงานตา่ ง ๆ จะมีความง่ายในการประสานงาน ภายใน เทศบาลมีการเชื่อมโยงเปูาหมายของฝุาย/สายงานต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุเปูาหมายใหญ่ขององค์กร ภายใน เทศบาล เม่ือมีการพิจารณาไปที่รูปแบบแนวทางการปฏิบัติงาน จะทาให้สามารถคาดการณ์ได้ว่าผล จะออกมาเปน็ อยา่ งไร และภายในเทศบาลมแี นวทางการปฏิบัติงานท่ีเป็นแบบแผน ขั้นตอน ชัดเจน มี ความคงเส้นคงวาไม่ต่อยมีการเปล่ียนแปลง อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.05, 4.02, 3.82 และ 3.79 ตามลาดบั
165 ตารางท่ี 39 ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วัฒนธรรมการปรับตัวของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย โดยภาพรวม และรายด้าน วัฒนธรรมองค์การ ( X ) S.D. ระดับ ด้านวฒั นธรรมการปรับตวั 3.82 0.66 มาก 1. มิตวิ ัฒนธรรมการสรา้ งการเปล่ียนแปลง 4.03 0.62 มาก 2. มิตวิ ฒั นธรรมการเนน้ ผรู้ ับบรกิ าร 3.80 0.70 มาก 3. มิตวิ ัฒนธรรมการเรียนร้ขู ององคก์ าร 3.89 0.60 มาก รวม จากตารางที่ 39 พบว่า โดยภาพรวมระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมการปรับตัว ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.89, S.D.= 0.60) เม่ือพิจารณา เป็นรายมิติ พบว่า ระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมการปรับตัวของเทศบาลในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย มิติวฒั นธรรมการเน้นผู้รับบริการ มิติวัฒนธรรมการสร้างการเปล่ียนแปลง และมิติวัฒนธรรม การเรยี นรู้ขององคก์ าร อยู่ในระดบั มาก มคี า่ เฉล่ยี 4.03, 3.82 และ 3.80 ตามลาดับ ตารางท่ี 40 ค่าเฉลยี่ ( X ) และคา่ ความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วัฒนธรรมการปรับตัวมิติวัฒนธรรมการสร้างการเปล่ียนแปลงของเทศบาลในเขต ภาคใตข้ องประเทศไทย ระดับวัฒนธรรมองคก์ าร ด้านวฒั นธรรมการปรับตัว ( X ) S.D. ระดับ มติ วิ ัฒนธรรมการสรา้ งการเปลี่ยนแปลง 1. ภายในเทศบาลมีแนวทางการปฏบิ ัติงานท่ยี ดื หยุ่น 3.93 0.79 มาก ทาใหง้ า่ ยต่อการปรบั ปรุงเปลี่ยนแปลง 2. ภายในเทศบาลมีแนวทางการทางานที่ตอบสนองต่อ 3.92 0.78 มาก การเปล่ยี นแปลงของสภาพแวดลอ้ มภายนอกองค์การ 3. ภายในเทศบาลมีการนาวิธกี ารทางานใหม่ ๆ มาใช้ 3.76 0.79 มาก 4. ภายในเทศบาลมีการปรบั ปรงุ วธิ กี ารทางานอย่าง 3.78 0.80 มาก ตอ่ เนื่อง 5. ภายในเทศบาล ฝาุ ย/กองตา่ ง ๆ ใหค้ วามรว่ มมอื ใน 3.72 0.76 มาก การเปลยี่ นแปลงเปน็ อย่างดี รวม 3.82 0.66 มาก
166 จากตารางท่ี 40 พบวา่ โดยภาพรวมระดับวฒั นธรรมองค์การดา้ นวัฒนธรรมการปรับตัว มติ กิ ารสรา้ งการเปลีย่ นแปลงของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยใู่ นระดับมาก ( X = 3.82, S.D.= 0.66) เมือ่ พิจารณาเป็นรายขอ้ พบว่า ระดับวฒั นธรรมองค์การดา้ นวัฒนธรรมการปรบั ตวั มิติ การสร้างการเปลี่ยนแปลงของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย ภายในเทศบาลมแี นวทางการปฏิบัติงาน ทย่ี ดื หยนุ่ ทาใหง้ ่ายตอ่ การปรับปรงุ เปล่ียนแปลง ภายในเทศบาลมแี นวทางการทางานทต่ี อบสนองต่อ การเปลย่ี นแปลงของสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ ภายในเทศบาลมีการปรบั ปรงุ วิธกี ารทางานอย่าง ตอ่ เน่อื ง ภายในเทศบาลมีการนาวธิ ีการทางานใหม่ ๆ มาใช้ และภายในเทศบาล ฝาุ ย/กองตา่ ง ๆ ให้ ความรว่ มมือในการเปล่ยี นแปลงเปน็ อยา่ งดี อยู่ในระดับมาก มคี า่ เฉล่ยี 3.93, 3.92, 3.78, 3.76 และ 3.72 ตามลาดับ ตารางท่ี 41 คา่ เฉลยี่ ( X ) และคา่ ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วัฒนธรรมการปรับตัวมิติวัฒนธรรมการเน้นผู้รับบริการของเทศบาลในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย ระดับวัฒนธรรมองคก์ าร ด้านวัฒนธรรมการปรบั ตัว ( X ) S.D. ระดบั มติ วิ ัฒนธรรมการเนน้ ผรู้ บั บรกิ าร 1. ภายในเทศบาลมีช่องทางรบั ฟังความคิดเห็นจากผูร้ ับ 4.02 0.82 มาก บริการ/ประชาชน/ผูส้ ่ือข่าว 2. ภายในเทศบาลมีการนาข้อมลู ขา่ วสารจากผู้รบั บรกิ าร 3.95 0.80 มาก มาใช้ในการตดั สนิ ใจในการปรับปรุงการทางาน 3. บุคลากรเทศบาลสว่ นใหญ่มีความเข้าใจอย่างลกึ ซึ้งใน 3.97 0.73 มาก ความต้องการของผรู้ ับบริการ 4. ความต้องการและผลประโยชนข์ องผ้รู บั บริการถกู นามา 4.03 0.66 มาก พิจารณาในการประชมุ ของหัวหน้าส่วนของเทศบาล อย่างสมา่ เสมอ 5. ภายในเทศบาลมีการสนับสนนุ ให้บคุ ลากรเทศบาลแก้ 4.18 0.63 มาก ปญั หาให้แกผ่ รู้ บั บริการ รวม 4.03 0.62 มาก จากตารางท่ี 41 พบว่า โดยภาพรวมระดบั วัฒนธรรมองคก์ ารดา้ นวัฒนธรรมการ ปรับตวั มติ กิ ารเน้นผรู้ บั บรกิ ารของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อย่ใู นระดับมาก ( X = 4.03, S.D.= 0.62) เมือ่ พิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ ระดบั วัฒนธรรมองค์การดา้ นวฒั นธรรมการปรับตัวมติ ิ การเนน้ ผูร้ ับบริการของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย ภายในเทศบาลมีการสนับสนุนให้บุคลากร เทศบาลแกป้ ัญหาใหแ้ กผ่ รู้ บั บริการ ความตอ้ งการและผลประโยชนข์ องผรู้ บั บริการถูกนามาพจิ ารณา ในการประชุมของหวั หน้าสว่ นของเทศบาลอย่างสม่าเสมอ ภายในเทศบาลมชี ่องทางรับฟังความคดิ เหน็
167 จากผู้รับบริการ/ประชาชน/ผู้ส่ือข่าว บุคลากรเทศบาลสว่ นใหญม่ ีความเข้าใจอยา่ งลกึ ซง้ึ ในความต้องการ ของผู้รับบริการ และภายในเทศบาล มกี ารนาขอ้ มูลข่าวสารจากผู้รับบริการมาใชใ้ นการตัดสินใจใน การปรบั ปรุงการทางาน อยใู่ นระดับมาก มคี ่าเฉล่ีย 4.18, 4.03, 4.02, 3.97 และ 3.95 ตามลาดับ ตารางที่ 42 คา่ เฉล่ีย ( X ) และคา่ ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วัฒนธรรมการปรับตัวมิติวัฒนธรรมการเรียนรู้ขององค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย ระดับวัฒนธรรมองคก์ ารดา้ นวฒั นธรรมการปรบั ตัว (X) S.D. ระดบั มติ ิวัฒนธรรมการเรียนรู้ขององคก์ าร 1. ภายในเทศบาลมีความเชือ่ ว่า ความผดิ พลาด คือ โอกาส 3.90 0.78 มาก ในการเรียนรแู้ ละการปรบั ปรุง 2. ภายในเทศบาลมีความเชือ่ ว่า การทางานประจาวนั 3.86 0.77 มาก คอื การเรยี นรู้ 3. ผบู้ ริหารของเทศบาลมีการสนับสนนุ และสง่ เสริมให้ 3.91 0.72 มาก นาวิธกี ารใหม่ ๆ มาใช้ 4. ผู้บรหิ ารของเทศบาลมีการให้รางวลั แกผ่ ้สู ร้างสรรค์ 3.60 0.98 มาก สิ่งใหม่ ๆ ที่มปี ระโยชนใ์ นการทางาน 5. บคุ ลากรของเทศบาลมีการนาบทเรียนในการทางาน 3.75 0.85 มาก ของฝาุ ย/สายงานหน่ึงมาให้อีกฝุาย/สายงานหน่ึงได้ เรียนรู้ รวม 3.80 0.70 มาก จากตารางที่ 42 พบว่า โดยภาพรวมระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมการปรับตัว มิติการเรียนรู้ขององค์การของเทศบาล ในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.80, S.D.= 0.70) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมการปรับตัวมิติ การเรยี นรขู้ ององคก์ ารของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ผู้บริหารของเทศบาลมีการสนับสนุน และส่งเสรมิ ใหน้ าวิธกี ารใหม่ ๆ มาใช้ ภายในเทศบาลมคี วามเช่ือวา่ ความผิดพลาด คือ โอกาสในการเรียนรู้ และการปรับปรุง ภายในเทศบาลมีความเชื่อว่า การทางานประจาวัน คือ การเรียนรู้ บุคลากรของ เทศบาลมีการนาบทเรียนในการทางานของฝาุ ย/สายงานหนึง่ มาให้อกี ฝาุ ย/สายงานหนง่ึ ได้เรียนรู้ และ ผบู้ ริหารของเทศบาลมีการให้รางวัลแก่ผู้สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ท่ีมีประโยชน์ในการทางาน อยู่ในระดับ มาก มีคา่ เฉลี่ย 3.91, 3.90, 3.86, 3.75 และ 3.60 ตามลาดับ
168 ตารางที่ 43 ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วฒั นธรรมพนั ธกิจของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย โดยภาพรวม และรายด้าน วัฒนธรรมองค์การ ( X ) S.D. ระดบั ด้านวัฒนธรรมพนั ธกจิ 1. มิตวิ ฒั นธรรมทิศทางยุทธศาสตรแ์ ละความมงุ่ ม่นั 3.95 0.64 มาก 2. มิตวิ ัฒนธรรมเปาู หมายและวัตถุประสงค์ 3.83 0.64 มาก 3. มติ วิ ัฒนธรรมวสิ ัยทศั น์ 3.86 0.72 มาก รวม 3.89 0.62 มาก จากตารางท่ี 43 พบว่า โดยภาพรวมระดับวฒั นธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมพันธกิจ ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.89, S.D.= 0.62) เม่ือพิจารณา เป็นรายมิติ พบว่า ระดับวัฒนธรรมองค์การด้านวัฒนธรรมพันธกิจของเทศบาลในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย มติ วิ ัฒนธรรมทศิ ทางยุทธศาสตรแ์ ละความมุ่งมั่น มิติวัฒนธรรมวิสัยทัศน์ และมิติวัฒนธรรม เปูาหมายและวัตถุประสงค์ อยใู่ นระดับมาก มคี า่ เฉลยี่ 3.95, 3.86 และ 3.83 ตามลาดบั ตารางที่ 44 คา่ เฉลีย่ ( X ) และค่าความเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วัฒนธรรมพันธกิจมิติวัฒนธรรมทิศทางยุทธศาสตร์และความมุ่งม่ันของเทศบาลในเขต ภาคใต้ของประเทศไทย ระดบั วัฒนธรรมองคก์ าร ดา้ นวัฒนธรรมพนั ธกจิ ( X ) S.D. ระดับ มิติวัฒนธรรมทศิ ทางยทุ ธศาสตรแ์ ละความมงุ่ มน่ั 1. เทศบาลมีการกาหนดวัตถุประสงคแ์ ละเปาู หมายใน 3.89 0.77 มาก ระยะยาว 2. พนั ธกจิ ขององค์กรมคี วามชดั เจน และบคุ ลากรเข้าใจ 3.93 0.74 มาก ความหมายตรงกนั 3. แนวทางในการปฏิบัติงานของบคุ ลากรเทศบาลความ 3.98 0.70 มาก สอดคลอ้ งกบั พันธกิจขององค์กร 4. เทศบาลมีการกาหนดยุทธศาสตรท์ ช่ี ัดเจน แต่ 3.94 0.70 มาก เหมาะสมกบั การเปลี่ยนแปลง 5. ยทุ ธศาสตรข์ องเทศบาลมคี วามสอดคล้องกับ 4.03 0.64 มาก วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปาู หมาย รวม 3.95 0.64 มาก
169 จากตารางที่ 44 พบวา่ โดยภาพรวมระดับวัฒนธรรมองค์การดา้ นวฒั นธรรมพนั ธกิจ มติ วิ ัฒนธรรมทิศทางยุทธศาสตร์และความมุ่งมัน่ ของเทศบาล ในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย อยูใ่ นระดับมาก ( X = 3.95, S.D.= 0.64) เม่ือพจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับวฒั นธรรมองค์การด้านวฒั นธรรมพนั ธกิจ มิตวิ ฒั นธรรมทิศทางยุทธศาสตร์และความมุ่งมั่นของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย ยุทธศาสตร์ ของเทศบาลมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเปูาหมาย แนวทางในการปฏบิ ตั ิงานของบุคลากร เทศบาลความสอดคล้องกบั พนั ธกจิ ขององค์กร เทศบาลมีการกาหนดยุทธศาสตร์ทช่ี ดั เจน แต่เหมาะสม กับการเปลี่ยนแปลง พันธกิจขององค์กรมีความชัดเจน และบุคลากรเข้าใจความหมายตรงกัน และเทศบาล มกี ารกาหนดวัตถุประสงคแ์ ละเปูาหมายในระยะยาว อยู่ในระดบั มาก มคี ่าเฉลย่ี 4.03, 3.98, 3.94, 3.93 และ 3.89 ตามลาดับ ตารางที่ 45 คา่ เฉล่ยี ( X ) และค่าความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วัฒนธรรมพันธกิจมิติวัฒนธรรมเปูาหมายและวัตถุประสงค์ของเทศบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย ระดับวัฒนธรรมองค์การดา้ นวัฒนธรรมพนั ธกิจ ( X ) S.D. ระดบั มติ ิวัฒนธรรมเปา้ หมายและวตั ถุประสงค์ 1. วัตถุประสงคแ์ ละเปาู หมายเกิดจากการตกลงร่วมกันภายใน 3.87 0.71 มาก องค์กร 2. เทศบาลมีการกาหนดเปาู หมายทที่ า้ ทาย แต่ก็ไม่สงู มากจน 3.78 0.80 มาก ทาไม่ได้ 3. เทศบาลมีการกาหนดเปาู หมายทีส่ ามารถบรรลุได้ แต่ก็ไม่ 3.87 0.74 มาก ง่ายจนเกินไป 4. เทศบาลมีการกาหนดตวั ชวี้ ัดท่ีชดั เจนและสอดคล้องกบั 3.87 0.73 มาก วตั ถุประสงค์และเปูาหมาย 5. บคุ ลากรสว่ นใหญ่มคี วามเขา้ ใจและทราบวา่ ต้องกระทาส่ิงใด 3.78 0.71 มาก เพ่ือความสาเร็จขององค์กรในระยะยาว รวม 3.83 0.64 มาก จากตารางท่ี 45 พบวา่ โดยภาพรวมระดับวัฒนธรรมองค์การดา้ นวัฒนธรรมพันธกจิ มติ วิ ัฒนธรรมเปาู หมายและวัตถุประสงคข์ องเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.83, S.D.= 0.64) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดบั วฒั นธรรมองค์การด้านวฒั นธรรมพนั ธกิจ มติ วิ ฒั นธรรมเปาู หมายและวัตถุประสงค์ของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย วัตถุประสงค์และ เปูาหมายเกิดจากการตกลงรว่ มกันภายในองค์กร เทศบาลมกี ารกาหนดเปูาหมายที่สามารถบรรลุได้ แต่ก็ไม่ง่ายจนเกินไป เทศบาลมีการกาหนดตัวช้วี ดั ท่ชี ัดเจนและสอดคล้องกับวัตถุประสงคแ์ ละเปูาหมาย เทศบาลมีการกาหนดเปาู หมายท่ที ้าทาย แตก่ ็ไมส่ ูงมากจนทาไม่ได้ และบคุ ลากรสว่ นใหญม่ คี วามเข้าใจ
170 และทราบว่าต้องกระทาส่ิงใดเพ่ือความสาเร็จขององค์กรในระยะยาว อย่ใู นระดบั มาก มีค่าเฉลี่ย 3.87, 3.87, 3.87, 3.78 และ 3.78 ตามลาดับ ตารางที่ 46 ค่าเฉล่ีย ( X ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับวัฒนธรรมองค์การด้าน วฒั นธรรมพันธกิจมติ วิ ฒั นธรรมวิสัยทัศน์ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ระดบั วัฒนธรรมองค์การ ดา้ นวฒั นธรรมพันธกจิ ( X ) S.D. ระดบั มติ ิวัฒนธรรมวสิ ัยทศั น์ 1. บคุ ลากรเทศบาลมวี ิสยั ทศั นร์ ่วมกันว่าต้องการให้ 3.83 0.71 มาก องค์กรเปน็ อยา่ งไรในอนาคต 2. ผบู้ รหิ ารของท่านเป็นคนมองการณ์ไกล 3.94 0.86 มาก 3. วสิ ยั ทศั น์ของเทศบาลสามารถสรา้ งความกระตือ 3.84 0.83 มาก รอื รน้ ในการทางานใหเ้ กิดขน้ึ แก่บุคลากรเทศบาล ส่วนใหญ่ 4. เทศบาลของท่าน มีความสามารถในการบรรลุ 3.84 0.84 มาก เปาู หมายระยะสน้ั โดยไม่ทาลายเปูาหมายระยะยาว รวม 3.86 0.72 มาก จากตารางท่ี 46 พบว่า โดยภาพรวมระดับวัฒนธรรมองค์การดา้ นวฒั นธรรมพันธกจิ มิตวิ ฒั นธรรมวิสยั ทศั น์ของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย อยู่ในระดบั มาก ( X = 3.86, S.D.= 0.72) เม่ือพิจารณาเปน็ รายข้อ พบว่า ระดับวฒั นธรรมองคก์ ารดา้ นวฒั นธรรมพันธกจิ มิตวิ ัฒนธรรม วิสยั ทัศนข์ องเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย ผ้บู ริหารของท่านเป็นคนมองการณ์ไกล วิสัยทศั น์ ของเทศบาลสามารถสร้างความกระตือรือรน้ ในการทางานให้เกิดขึ้นแกบ่ ุคลากรเทศบาลส่วนใหญ่ เทศบาล ของท่าน มีความสามารถในการบรรลุเปูาหมายระยะสนั้ โดยไม่ทาลายเปูาหมายระยะยาว และบุคลากร เทศบาลมวี ิสยั ทัศนร์ ่วมกนั ว่าต้องการใหอ้ งค์กรเปน็ อย่างไรในอนาคต อยู่ในระดับมาก มคี ่าเฉลี่ย 3.94, 3.84, 3.84 และ 3.83 ตามลาดบั
171 ตอนที่ 4 วิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยด้านประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย โดยภาพรวม รายด้าน และเป็นรายข้อ โดยใช้ค่าเฉล่ีย ( X ) และค่าความเบ่ียงเบน มาตรฐาน (S.D.) ดังแสดงตารางท่ี 47 – ตารางที่ 51 ตารางที่ 47 ค่าเฉล่ีย ( X ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับประสิทธิผลองค์การ ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย โดยภาพรวม รายด้าน ประสิทธิผลองค์การ ( X ) S.D. ระดับ 3.96 0.72 มาก 1. ด้านประสทิ ธผิ ลตามแผนปฏิบัตริ าชการ 4.05 0.67 มาก 2. ดา้ นคณุ ภาพการใหบ้ ริการ 3.68 0.91 มาก 3. ดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิงานราชการ 3.82 0.99 มาก 4. ดา้ นการพัฒนาองคก์ ร 3.87 0.68 มาก รวม จากตารางที่ 47 พบว่า โดยภาพรวมระดับประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในเขต ภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.87, S.D.= 0.68) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดบั ประสทิ ธิผลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ด้านคุณภาพการให้บริการ ด้าน ประสิทธผิ ลตามแผนปฏิบัติราชการ ด้านการพัฒนาองค์กร และด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน ราชการ อยใู่ นระดับมาก มคี า่ เฉลี่ย 4.05, 3.96, 3.82 และ 3.68 ตามลาดับ ตารางท่ี 48 ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับประสิทธิผลองค์การ ดา้ นประสิทธผิ ลตามแผนปฏิบตั ริ าชการของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ระดับประสิทธผิ ลองคก์ าร ( X ) S.D. ระดับ ด้านประสทิ ธผิ ลตามแผนปฏิบตั ริ าชการ 1. การใช้จ่ายเงนิ งบประมาณของเทศบาลเพ่อื การ 3.99 0.80 มาก ลงทุนสามารถดาเนินการไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2. เทศบาลสามารถดาเนินการทางด้านหารายรบั 3.74 1.02 มาก พอเพียงกับรายจา่ ย 3. เทศบาลมีการจัดสรรงบประมาณอยา่ งเปน็ ธรรม 3.87 0.87 มาก และเพยี งพอ 4. สถานะทางการเงนิ ของเทศบาล ในการวางแผน 3.83 0.90 มาก พัฒนามีความเหมาะสม 5. เทศบาลมรี ะบบการเบกิ จา่ ยเงินเดอื นให้แก่ 4.35 0.71 มากทสี่ ุด ขา้ ราชการและพนักงานอย่างเปน็ ระบบ รวม 3.96 0.72 มาก
172 จากตารางท่ี 48 พบว่า โดยภาพรวมระดับประสิทธิผลองค์การด้านประสิทธิผลตาม แผนปฏิบัติราชการของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.96, S.D.= 0.72) เม่ือพิจารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ ระดับประสทิ ธิผลองค์การดา้ นประสทิ ธิผลตามแผนปฏิบัติราชการของ เทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย เทศบาลมีระบบการเบิกจ่ายเงินเดือนให้แก่ข้าราชการและพนักงาน อยา่ งเป็นระบบ อยใู่ นระดับมากที่สุด มคี ่าเฉลยี่ 4.35 สว่ นการใช้จ่ายเงินงบประมาณของเทศบาลเพ่ือ การลงทนุ สามารถดาเนนิ การได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เทศบาลมีการจัดสรรงบประมาณอย่างเป็นธรรม และเพียงพอ สถานะทางการเงินของเทศบาล ในการวางแผนพัฒนามีความเหมาะสม และเทศบาลสามารถ ดาเนินการทางด้านหารายรับพอเพียงกับรายจ่าย อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.99, 3.87, 3.83 และ 3.74 ตามลาดบั ตารางที่ 49 ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับประสิทธิผลองค์การ ดา้ นคุณภาพการใหบ้ ริการของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ระดับประสิทธิผลองค์การ ( X ) S.D. ระดับ ด้านคุณภาพการใหบ้ ริการ 1. เทศบาลมีกระบวนการในการวิเคราะห์และประเมิน 3.98 0.76 มาก ผลการดาเนินงานโครงการอย่างชดั เจน 2. มกี ารจัดลาดับความสาคญั ของโครงการตามความ 4.03 0.77 มาก จาเปน็ เร่งดว่ น หรือความเดือดรอ้ นของประชาชน 3. มกี ารจดั ทาและปรับปรุงแผนพัฒนาใหเ้ หมาะสมกับ 4.08 0.74 มาก ความต้องการของประชาชน 4. มกี ารกาหนดหน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบและมอบหมาย 4.12 0.75 มาก อานาจหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน รวม 4.05 0.67 มาก จากตารางที่ 49 พบว่า โดยภาพรวมระดับประสิทธิผลองค์การด้านคุณภาพการให้ บริการของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 4.05, S.D.= 0.67) เมื่อพิจารณา เปน็ รายขอ้ พบวา่ ระดบั ประสิทธิผลองค์การดา้ นคุณภาพการให้บริการของเทศบาลในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย มีการกาหนดหน้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบและมอบหมายอานาจหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน มีการจัด ทาและปรบั ปรุงแผนพฒั นาให้เหมาะสมกับความต้องการของประชาชน มีการจัดลาดับความสาคัญของ โครงการตามความจาเป็นเร่งด่วน หรือความเดือดร้อนของประชาชน และเทศบาลมีกระบวนการใน การวิเคราะหแ์ ละประเมินผลการดาเนนิ งานโครงการอย่างชัดเจน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.12, 4.08, 4.03 และ 3.98 ตามลาดับ
173 ตารางท่ี 50 ค่าเฉล่ีย ( X ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับประสิทธิผลองค์การ ดา้ นประสิทธภิ าพของการปฏิบัติงานราชการของเทศบาลในเขตภาคใตข้ องประเทศไทย ระดับประสิทธผิ ลองคก์ าร ( X ) S.D. ระดบั ด้านประสิทธภิ าพของการปฏบิ ัตงิ านราชการ 1. นาปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการบรหิ ารงาน 3.62 0.97 มาก 2. ขา้ ราชการและพนักงานได้รับการสนับสนนุ และ 3.73 0.99 มาก ส่งเสรมิ ในด้านความรู้ ความสามารถหรอื ทกั ษะใน การทางานให้เกดิ ประสิทธภิ าพ 3. การนาเทคโนโลยีท่ีทนั สมัยมาปรับใช้ใน 3.73 0.96 มาก การบรหิ ารงานอยา่ งเหมาะสม 4. เทศบาลมีการปรบั ปรุงเปล่ียนแปลงแนวทาง 3.63 0.91 มาก การทางานอย่ตู ลอดเวลา 5. นาความคดิ เหน็ ของประชาชนมาปรับปรงุ ใน 3.71 1.06 มาก การบริหารงาน รวม 3.68 0.91 มาก จากตารางที่ 50 พบว่า โดยภาพรวมระดับประสิทธิผลองค์การด้านประสิทธิภาพของ การปฏิบัติงานราชการของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก (X = 3.68, S.D.= 0.91) เม่อื พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า ระดับประสิทธิผลองค์การด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานราชการ ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ขา้ ราชการและพนักงานได้รับการสนับสนุนและส่งเสริมใน ดา้ นความรู้ ความสามารถหรือทักษะในการทางานให้เกิดประสิทธิภาพ การนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมา ปรับใช้ในการบริหารงานอย่างเหมาะสม นาความคิดเห็นของประชาชนมาปรับปรุงในการบริหารงาน เทศบาลมกี ารปรับปรงุ เปลย่ี นแปลงแนวทางการทางานอยู่ตลอดเวลา และนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใชใ้ นการบรหิ ารงาน อยู่ในระดับมาก มีคา่ เฉลย่ี 3.73, 3.73, 3.71, 3.63 และ 3.62 ตามลาดับ
174 ตารางที่ 51 ค่าเฉล่ีย ( X ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับประสิทธิผลองค์การ ดา้ นการพัฒนาองคก์ รของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ระดับประสิทธิผลองคก์ าร ( X ) S.D. ระดับ ดา้ นการพัฒนาองค์กร 1. คณุ ภาพในการใหบ้ ริการสาธารณะเป็นทย่ี อมรบั ของ 3.72 0.99 มาก ประชาชนและสามารถใช้งานอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 2. สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดรอ้ นเรง่ ดว่ น เชน่ 3.80 1.07 มาก การเกดิ ภยั พิบตั ิต่างๆให้กบั ประชาชนได้ทันที 3. ประชาชนได้รบั ความสะดวกและรวดเรว็ ให้บริการใน 3.87 1.01 มาก ดา้ นตา่ ง ๆ 4. เทศบาลเอาใจใสแ่ ละใหค้ วามสาคญั ในการแก้ไข 3.88 1.13 มาก ปญั หาความเดือดร้อนของประชาชน 5. การจดั การบริการสาธารณะให้กับประชาชนสามารถ 3.80 1.07 มาก ส่งมอบงานโครงการตา่ ง ๆ ภายในระยะเวลาท่กี าหนด รวม 3.82 0.99 มาก จากตารางที่ 51 พบว่า โดยภาพรวมระดับประสิทธิผลองค์การด้านการพัฒนาองค์กร ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.82, S.D.= 0.99) เม่ือพิจารณา เป็นรายข้อ พบว่า ระดับประสิทธิผลองค์การด้านการพัฒนาองค์กรของเทศบาล ในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย เทศบาลเอาใจใส่ และให้ความสาคัญในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ประชาชนได้รับความสะดวกและรวดเร็วให้บริการในด้านต่าง ๆ สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน เรง่ ด่วน เช่น การเกิดภัยพิบัติต่างๆให้กับประชาชนได้ทันที การจัดการบริการสาธารณะให้กับประชาชน สามารถส่งมอบงานโครงการต่าง ๆ ภายในระยะเวลาท่ีกาหนด และคุณภาพในการให้บริการสาธารณะ เป็นท่ยี อมรบั ของประชาชนและสามารถใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.88, 3.87, 3.80, 3.80 และ 3.72 ตามลาดับ
175 ตอนท่ี 5 วิเคราะห์ข้อมูลธรรมาภิบาล วัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของ เทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย โดยใช้สถิติการถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression) ดังแสดงตารางท่ี 52 – ตารางท่ี 53 1 การตรวจสอบขอ้ มลู เบอ้ื งต้นทางสถิตขิ องข้อมูล ตารางท่ี 52 แสดงคา่ การวเิ คราะห์การแจกแจงแบบปกติหลายตัวแปรด้วย Mahalanobis Distances Predicted Value กอ่ นตดั ขอ้ มลู (n=174 คน) หลังตดั ข้อมูล (n=169 คน) Std. Predicted Value Min Max Mean S.D. Min Max Mean S.D. Standard Error of 2.25 4.87 3.87 0.52 2.28 4.86 3.88 0.52 Predicted Value -3.12 1.92 0.00 1.00 -3.06 1.88 0.00 1.00 Adjusted Predicted 0.06 0.27 0.13 0.04 0.06 0.21 0.13 0.03 Value Residual 2.27 4.87 3.87 0.53 2.31 4.86 3.88 0.53 Std. Residual Stud. Residual -1.54 0.94 0.00 0.44 -1.50 0.80 0.00 0.44 Deleted Residual -3.33 2.03 0.00 0.96 -3.28 1.76 0.00 0.96 Stud. Deleted -3.60 2.41 0.00 1.01 -3.55 1.94 0.00 1.01 Residual -1.80 1.33 0.00 0.50 -1.76 0.98 0.00 0.49 Mahal. Distance -3.74 2.45 0.00 1.03 -3.69 1.96 -0.01 1.03 Cook's Distance Centered Leverage 1.85 56.22 13.92 8.72 2.00 35.09 13.92 7.14 Value 0.00 0.16 0.01 0.02 0.00 0.15 0.01 0.02 0.01 0.32 0.08 0.05 0.01 0.21 0.08 0.04 จากตารางท่ี 52 ผลการแจกแจงแบบปกติหลายตัวแปรด้วยข้อมูลสุดโต่งแบบหลาย ตัวแปร (Multivariate Outliers) โดยค่าสูงสุดของ Mahalanobis Distances เมื่อนามาเทียบกับค่า ไควส์ แควร์ (Chi-square) ที่องศาความเป็นอิสระเท่ากับจานวนตัวแปรอิสระต้องมีค่าน้อยกว่าค่าวิกฤติ และผลจากการศึกษา พบว่า ค่าสูงสุดของ Mahalanobis Distances เท่ากับ 56.224 เมื่อนามา เทียบกบั คา่ ไคว์สแควร์ (Chi-square) เท่ากับ 36.123, df =14, p = .001 ปรากฏว่า มีค่ามากกว่าค่า วิกฤติ แสดงวา่ ในภาพรวมแล้วมีขอ้ มลู สดุ โดง่ แบบหลายตัวแปร จงึ สรปุ ไดว้ า่ ตวั แปรอิสระน่าจะมีการ แจกแจงแบบไม่ปกติหลายตัวแปร (ไม่เปน็ ไปตามข้อตกลงเบอ้ื งต้น) ดงั นน้ั ผู้วิจัยจึงได้ตัดข้อมูลจานวน 5 ชุดออก และหลังจากที่ได้ตัดข้อมูลแบบสอบถามจานวน 5 ชุดออก พบว่า ค่าสูงสุดของ Mahalanobis Distances เท่ากับ 35.088 เม่ือนามาเทียบกับค่าไคว์สแควร์ (Chi-square) เท่ากับ 36.123, df =14,
176 p = .001 ปรากฏว่า มีค่าน้อยกว่าค่าวิกฤติ แสดงว่า ในภาพรวมแล้วไม่มีข้อมูลสุดโด่งแบบหลายตัวแปร จึงสรุปได้ว่า ตัวแปรอิสระน่าจะมีการแจกแจงแบบปกติหลายตัวแปร จึงเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้น ดังนั้นจากแบบสอบถามที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติสาหรับงานวิจัยนี้มีจานวนท้ังส้ิน 174 ชุด เหลือเพียง 169 ชุด และสามารถนามาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ เพื่อพยากรณ์ธรรมาภิบาล และ วัฒนธรรมองคก์ ารทส่ี ง่ ผลต่อประสทิ ธิผลองคก์ ารของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทยได้ ตารางท่ี 53 แสดงค่าการวิเคราะห์ตัวแปรอิสระแต่ละคู่ไม่มีความสัมพันธ์ร่วมเชิงพหุเชิงเส้น (Multicollinearity) ตัวแปร Collinearity Statistics ปจั จยั ด้านหลกั ธรรมาภบิ าล Tolerance VIF 1. ดา้ นหลกั นิติธรรม 2. ดา้ นหลกั คณุ ธรรม .284 3.516 3. ดา้ นหลักความโปรง่ ใส .343 2.916 4. ดา้ นหลกั การมสี ว่ นรว่ ม .271 3.686 5. ดา้ นหลกั ความรบั ผดิ ชอบ .395 2.529 6. ดา้ นหลักความคุ้มค่า .260 3.841 7. ดา้ นหลกั การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ .251 3.982 8. ดา้ นองค์กรแห่งการเรียนรู้ .260 3.846 9. ดา้ นหลกั การบริหารจัดการ .203 4.938 10.ดา้ นหลักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร .170 5.898 ปจั จัยวฒั นธรรมองค์การ .330 3.032 1. ดา้ นวัฒนธรรมสว่ นร่วม 2. ดา้ นวัฒนธรรมเอกภาพ .178 5.631 3. ดา้ นวฒั นธรรมการปรับตัว .196 5.095 4. ดา้ นวัฒนธรรมพันธกิจ .132 7.567 .166 6.039 จากตารางท่ี 53 ตัวแปรอิสระแต่ละคู่ไม่มีความสัมพันธ์ร่วมเชิงพหุเชิงเส้น (Multi- collinearity) ซงึ่ ตรวจสอบโดยใชส้ ถิติ Collinearity โดยการวิเคราะห์ Tolerance ไม่เข้าใกล้ 0 ควร มีค่ามากกว่า 0.10 และค่า VIF ของตัวแปรอิสระทุกตัวควรมีค่าน้อยกว่า 10 (Hair et al., 2006 อ้างถึงใน เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์, 2554) และผลจากการศึกษา พบว่า ค่า Tolerance มีค่ามากกว่า .10 อยู่ระหวา่ ง .132 - .395 และค่า VIF ของตัวแปรอิสระทุกตัวมีค่าน้อยกว่า 10 อยู่ระหว่าง 2.529 – 7.567 แสดงว่า ตัวแปรอิสระทุกตัวเป็นอิสระจากกัน และไม่มีความสัมพันธ์ร่วมเชิงพหุเชิงเส้น (Multicollinearity) จึงเป็นไปตามข้อตกลงเบ้ืองต้น สามารถนามาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เพ่ือพยากรณ์
177 ธรรมาภิบาล และวัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศ ไทยได้ 2. การวเิ คราะห์ข้อมูลธรรมาภบิ าล และวัฒนธรรมองค์การท่ีส่งผลต่อประสิทธผิ ล องคก์ ารของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย ตารางท่ี 54 แสดงธรรมาภบิ าล และวฒั นธรรมองค์การท่สี ่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของเทศบาลใน เขตภาคใต้ของประเทศไทย คะแนนดบิ คะแนนมาตรฐาน ตวั แปร Unstandardized Standardized t Sig. Coefficients Coefficients .207 .000 B Std. Error Beta .003 ค่าคงท่ี .315 .249 1.267 วฒั นธรรมพันธกิจ .624 .090 .552 6.928 หลักการบรหิ ารจัดการ .274 .090 .241 3.027 F=109.182 Sig=.000 R=.754 R2 =.568 RAdj= .563 Std. Error= .45034 จากตารางท่ี 54 ธรรมาภบิ าล และวฒั นธรรมองค์การทส่ี ง่ ผลตอ่ ประสิทธิผลองค์การ ของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย โดยการนาปัจจัยด้านธรรมาภิบาล มีท้ังหมด 10 ด้าน ประกอบด้วย ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลกั ความรับผดิ ชอบ ดา้ นหลักความคุ้มคา่ ดา้ นการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ ด้านองค์การแห่งการเรียนรู้ ด้านการบริหารจัดการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การ ประกอบด้วย 4 ด้าน คอื ดา้ นวัฒนธรรมส่วนร่วม ด้านวัฒนธรรมเอกภาพ ด้านวัฒนธรรมการปรับตัว และด้านวัฒนธรรมพนั ธกิจ นาเขา้ ในสมการถดถอยพหคุ ณู พบว่า ตัวแปรที่เข้าในสมการถดถอยพหุคูณ มีความสัมพันธ์กบั ประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .001 โดยพบว่า วัฒนธรรมพันธกิจส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .001 ส่วนธรรมาภิบาลด้านหลักการบริหารจัดการ ส่งผลต่อประสทิ ธิผลองคก์ ารของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยปัจจัยดังกล่าวสามารถร่วมกันอธิบายประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทยไดร้ อ้ ยละ 56.80
178 ตอนท่ี 6 ขอ้ มูลปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะในการบรหิ ารงานของเทศบาล ผลการวิเคราะห์ปญั หา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการบริหารงานของเทศบาลใน เขตภาคใตข้ องประเทศไทย ผู้วจิ ัยสามารถสรปุ ในแตล่ ะประเดน็ ตา่ งๆ ได้ดังนี้ 1. ปัจจยั ดา้ นธรรมาภิบาล 1.1 ปญั หา อปุ สรรค 1. การเขา้ สูต่ าแหนง่ ของผู้บริหารทีม่ าจากการเลือกตง้ั มกี ารกาหนดคุณสมบัติ และถ้าชนะต้องห้าม ไม่รดั กมุ และหยอ่ นยาน 2. การไมร่ บั ผิดชอบในงานทีได้รบั มอบหมาย 3. ขาดความโปร่งใสในการบริหาร ขาดการมีส่วนร่วม ตรวจสอบ ควบคุม ตดิ ตามผล ขาดการใชง้ บประมาณอยา่ งคมุ้ คา่ 4. ขา้ ราชการเงินเดือนน้อย ต้องทางานต่าง ๆ เพื่อเพ่ิมรายได้ให้กับตนเอง และครอบครัว 5. ควรยึดระเบียบกฎหมายเป็นหลักในการบริหารและปฏิบัติงานยังไม่ได้ รับการถอื ปฏิบัตอิ ย่างจรงิ จัง 6. ดา้ นบคุ ลากรทีเ่ ปน็ พนกั งานจา้ ง ส่วนใหญ่มาจากสายการเมืองทั้งน้ัน พูด ง่าย ๆ ก็คือบตุ รหลาน เครอื ญาติของหัวคะแนนนายกฯ ซ่ึงรับฝากมาตอนไปหาเสียง ทาให้คนล้นงาน ควบคมุ ไม่ได้ เสียคา่ ใช้จ่ายเยอะ 7. นโยบายผู้บรหิ าร ไม่มีการตดิ ตาม ตรวจสอบอย่างตอ่ เน่ือง 8. เนือ่ งจากความโปรง่ ใสในการปฏิบัตงิ านแต่ละคนไมย่ ดึ หลักธรรมาภบิ าล 9. แนวทางดา้ นความคดิ ในการปฏบิ ัติงาน เพราะไม่ทันกันเทคโนโลยีในปัจจุบัน แนวคดิ ใหม่ ๆ เพ่อื นาพาใหอ้ งคก์ รกา้ วหน้า 10. ในปัจจุบันกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ มีการแก้ไขปรับปรุง หลายฉบบั ทาให้ในบางครัง้ เจา้ หนา้ ท่ีผูป้ ฏบิ ตั งิ านยังไมร่ ู้โดยละเอียด ทาใหม้ ีปัญหา 11. ในหน่วยงาน อปท. มปี ัจจัยภายนอกมากระทบหรือมีผลในการบริหาร การจัดการ มรี ะบบอุปถัมภ์ มีฐานเสยี ง ทาใหก้ ารใช้หลกั ธรรมาภิบาลไมเ่ ป็นไปตามหลักสากล 12. บางคร้งั ระเบยี บกฎหมายก็ไม่เอ้ือต่อการตอบสนองความต้องการของ ผู้บริหารทจ่ี ะแกป้ ญั าของประชาชน 13. ประชาชนในเขตเทศบาลขาดความรู้ในการนาเสนอในสิ่งที่เกิดประโยชน์ มักตามกระแสโซลเชยี ล 14. ปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงทางนโยบายของรฐั บาล เพ่อื เข้าสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 แต่ข้าราชการและพนักงานของรัฐส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องเทคโนโลยี ทาให้บางคร้ัง ทางานได้ไมเ่ ตม็ ที
179 15. ผู้บริหาร สมาชิกสภา พนักงาน มีสานึกด้านคุณธรรม จริยธรรมและ อุดมการณ์ท้งั ทางดา้ นศาสนา ด้านสงั คม ไมส่ ูงพอที่จะผลักดันให้แต่ละบุคคล สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพสงู สุด ขาดความรับผดิ ชอบ ขาดความเสียสละ ทุ่มเท ความรักในองค์กร 16. เรื่องการปฏิบัติตามระเบียบกฎหมาย และการตรวจสอบจากหน่วย ตรวจสอบ เช่น สตง. ซึ่งจะกาหนดกรอบการใช้จ่ายเงินต้องเป็นอานาจหน้าที่ตามกฎหมายกาหนดเท่าน้ัน การเบิกจา่ ยตอ้ งมรี ะเบยี บรองรับเท่าน้นั 1.2 แนวทางการแก้ไข 1. ปลกู ฝงั จติ สานึก อุดมการณ์ ค่านยิ มทางศีลธรรมจรยิ ธรรม 2. อบรมให้ความรใู้ นทุกดา้ นแกบ่ คุ ลากรทุกระดบั 3. มกี ารตรวจสอบทุกข้นั ตอนเพ่ือปูองกันการทุจริต ต้ังแต่ต้นน้าถึงปลายน้า อยา่ งจรงิ จงั 4. การให้รางวัลและลงโทษ ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย ตรวจสอบได้ 5. ใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วมทกุ ข้ันตอนอยา่ งจรงิ จัง มีหลกั ฐานตรวจสอบได้ 6. บงั คับใชก้ ฎหมายอยา่ งจริงจัง อยา่ งเครง่ ครัด มีความเสมอภาค ไม่เลือก ปฏบิ ัติ 7. กาชบั ใหเ้ จ้าหนา้ ทศี่ กึ ษากฎหมาย กฎระเบียบขอ้ บงั คบั ใหล้ ะเอยี ด 8. แก้ไขกฎหมายการเลือกต้ังให้สามารถคุดกรองบุคคลผู้อาสามาบริหาร งานทอ้ งถิ่นไดใ้ นระดบั หน่งึ 9. คณะผ้บู รหิ ารต้องศึกษาหาความรู้อยู่ตลอดเวลา อย่ายึดติดกับการบริหาร แบบเดมิ ๆ 10. ควรยดึ ระเบียบ กฎหมาย เปน็ หลกั ในการทางาน 11. จัดใหม้ กี ารประชมุ สมั มนาภายในองคก์ ร 12. ตอ้ งมกี ารพดู คุยกนั ตลอดเวลาเพือ่ สรา้ งความเขา้ ใจ 13. ตดิ ตาม ตรวจสอบอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 14. นายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล หัวหน้ากอง/ฝุาย ต้องทาหน้าที่พัฒนา สร้างจิตสานกึ ความรบั ผิดชอบ มคี วามรักต่อองค์กรใหแ้ ก่ตวั เองและผู้ใต้บังคบั 15. เน้นการพฒั นาคณุ ภาพ คุณธรรม จริยธรรม ของผูท้ จ่ี ะเขา้ มาบรกิ าร 16. ปญั หาและความเดือดร้อนของประชาชน จะมีปัญหาใหม่ ๆ ซ่ึงในระเบียบ กฎหมายไม่ได้กาหนดไว้ จึงทาให้ไม่สามารถสนองตอบต่อการแก้ไขปัญหาได้ ดังนั้นควรกาหนดแนวทาง ปฏิบัติให้สามารถดาเนนิ การได้ 17. ผู้บริหารและข้าราชการตอ้ งปรกึ ษาหารอื ใหช้ ัดเจนถึงแนวทางท่เี หมาะสม 18. เพม่ิ เงินเดือนและค่าตอบแทนตา่ ง ๆ 19. ลดอานาจนายกฯ ลงมาในเร่ืองการบริหารงานบคุ คล 20. ส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ให้สนใจในการเปลี่ยนแปลงให้ทันยุคและสนับสนุน ใหเ้ จ้าหน้าทไี่ ดร้ บั รแู้ ละเรยี นรู้การใชเ้ คร่ืองมอื ใหม่ ๆ
180 21. สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้ประชาชนมีส่วนรวม สร้างความเข้าใจกับ ประชาชนในพืน้ ทใ่ี ห้รถู้ ึงปญั หาและแนวทางการดาเนินการตา่ ง ๆ 22. สร้างตัวชี้วัดและดาเนินการตามตัวช้ีวัด การบริหารงาน การสร้างกลไก การตรวจสอบภาคประชาชนใหม้ ากขน้ึ การนาระบบงบประมาณแบบมุ่งผลงานตามยทุ ธศาสตรม์ าใช้ 1.3 ขอ้ เสนอแนะ 1. เอาระบบคุณภาพมาใชอ้ ยา่ งจรงิ จัง 2. ผู้บรหิ ารมคี วามจริงใจ ซอ่ื สตั ย์สุจริต ไมแ่ สวงหาผลประโยชน์ 3. การเลือกตั้งต้องกาหนดคุณสมบัติ วุฒิการศึกษาในระดับสูง เพราะขณะน้ี ข้าราชการผู้ปฏิบัติการศึกษาจบปริญญาโท ปริญญาเอก แต่ผู้บริหารจบ ป.4 ม.3 ซ่ึงความคิดไปด้วย กนั ไม่ได้ 4 แก้ไขกฎหมายระเบียบให้อานาจทีกว้างขวางข้ึน เช่น มีอานาจจัดบริการ สาธารณะ และแก้ไขปัญหาความเดอื ดร้อนของประชาชนในเขตทรี่ ับผดิ ชอบ 5. ควรดาเนินการฝึกอบรมและพฒั นาบุคลากร อปท. ควรนาตวั แบบธรรมาภิบาล ของ อปท. ไปใช้ของเทศบาล ผู้บริหารและพนักงานเทศบาลควรปฏิบัติงานด้วยความซ่ือสัตย์ สุจริต จริงใจ ขยนั อดทน มีระเบยี บวนิ ยั 6. ควรพัฒนาการศึกษาของผู้บริการให้สงู ขึ้น 7. ควรให้ภาครัฐมองการกระจายอานาจเป็นเรื่องสาคัญกว่าทุก ๆ เร่ืองใน ท้องถน่ิ 8. ปรบั โครงสรา้ งองคก์ ร 9. มกี ารปฏบิ ตั งิ านท่ีเหมาะสม สามารถสนองความต้องการของประชาชน ได้พอสมควร และสามารถตอบสนองกบั ประชาชนได้ดที ง้ั ทีม ทุกคนให้ความรว่ มมอื และมีสว่ นร่วม 10. ยดึ ระเบยี บท่ีเกี่ยวข้องใหม้ ากข้นึ และปฏบิ ตั ติ ามระเบียบหรอื หนงั สอื สง่ั การ 11. ส่งเจา้ หนา้ ท่ที ร่ี บั ผดิ ชอบเข้ารบั การอบรมตามหลักสูตรที่ตรงกับการปฏบิ ัติงาน 12. สนับสนุนให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง และอย่าให้คนไม่ดีมีอานาจก่อ ความเดอื ดร้อนวุ่นวายได้ 13. หนว่ ยตรวจสอบควรเนน้ ไปที่ผลสัมฤทธ์ขิ องงานเปน็ หลกั 14. ให้ปรบั ปรงุ เงินเดอื นใหอ้ ยูในเกณฑม์ าตรฐานสากลทว่ั ไป 2. ปัจจัยด้านวฒั นธรรมองคก์ ารของเทศบาล 2.1 ปญั หา อุปสรรค 1. ขาดการมสี ว่ นรวมในการปฏบิ ตั ิงานของทุกฝุายในทกุ ขั้นตอนของการทางาน 2. ความขัดแย้งภายในกองและระหว่างกอง มีการแบ่งพรรค แบ่งพวก ทาให้ องคก์ รไม่มปี ระสิทธภิ าพเท่าทคี่ วร 3. เจ้าหนา้ ที่ขาดมนษุ ยสมั พนั ธท์ ่ดี ี มีความรกั ในงานใหบ้ รกิ ารนอ้ ย เอกสาร อธิบายขั้นตอนการใหบ้ ริการในด้านตา่ ง ๆ ยงั ไมเ่ พยี งพอ ไม่สนใจพัฒนางานทีร่ บั ผิดชอบ 4. ชอบยดึ ตดิ กบั หลกั ศาสนามากเกินไป เอาหลกั ศาสนามาอา้ ง
181 5. บางครั้งวัฒนธรรมในองค์กรมีระบบอุปถัมภ์ที่ไม่พึงประสงค์ยังฝังแน่น ในคนบางกลุ่มขององค์กร 6. ผบู้ ริหารฝาุ ยการเมอื งทเ่ี ข้ามาจะพยายามสร้างวัฒนธรรมของความเป็น เจ้าขององคก์ ร 7. พนกั งานขาดความเข้าใจในหน้าที่ และองคก์ รไมใ่ ส่ใจในการพฒั นาตนเอง 8. พฤติกรรมการทางาน การเข้ามาทางานของบคุ ลากร เปน็ นโยบายผูบ้ ริหาร 9. ภาครัฐไม่ให้ความสาคัญกับท้องถิ่น แต่เทศบาลยังอยู่กับประชาชนมา โดยตลอด 10. เม่ือมีการเปลียนแปลงทางนโยบายของรัฐ แต่เจ้าหน้าที่ยังยึดติดกับ การทางานแบบเดิม ไมค่ อ่ ยปรบั ตัวเพื่อรบั สงิ่ ใหม่ ๆ 11. ไม่เข้าใจวัฒนธรรม เขา้ ใจแบบผวิ เผนิ ไม่ทาความเขา้ ใจใหล้ กึ ซงึ้ 12. วฒั นธรรมองค์กรระดบั ประเทศกาลังน่าเป็นหว่ งว่าผู้เข้ามาบริหารประเทศ เขา้ มาเพือ่ ผลประโยชน์ตนเองและพวกพอ้ งมากกวา่ ผลประโยชนข์ องประเทศชาติและประชาชน 13. บุคคลหลายช่วงอายทุ างานอยรู่ ่วมกัน 2.2 แนวทางการแกไ้ ข 1. กฎหมายระเบียบต้องมีการแบ่งแยกชัดเจนของอานาจหน้าที่ระหว่าง ฝุายการเมอื งและฝาุ ยขา้ ราชการประจา 2. กระตุน้ ให้เจ้าหนา้ ที่ยอมรับและเปดิ ใจทจี ะเรียนรู้สงิ่ ใหม่ ๆ 3. การทาความเข้าใจวฒั นธรรมองคก์ รของ อปท. 4. แก้ไขการควบคมุ การได้มาของบุคลากร แกไ้ ขระเบยี บกฏหมาย 5. ควรเพ่มิ ประสิทธภิ าพผู้สงู อายุใหส้ ามารถรบั คนรุ่นใหม่ใหไ้ ด้ 6. ดาเนินการจัดประชุมประจาเดือน เพ่ือสร้างความสามัคคี หรือจัดให้มี การพดู คุย แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ 7. ต้องเปิดใจใหก้ วา้ ง ต้องคานึงอยู้เสมอวา่ ในปนี ี้ ไมใช่ปีของเรา ไม่ใช่มีคน นับถอื ศาสนาเดียวกับเราท้งั หมด 8. ต้องเรียนรู้และพัฒนาตนเอง โดยมองภาพรวมของการให้บริการขององค์กร 9. ผู้บงั คับบญั ชาชน้ั บน ต้องมีความสามารถในการไกล่เกลี่ย และการสร้าง ความสามัคคีใหเ้ กิดขึ้นในองคก์ ร 10. ภาครัฐควรมีวิสัยทัศน์กับท้องถิ่น มีเจตคติเอื้อประโยชน์ให้กับชาวบ้าน โดยตรง 11. สร้างค่านิยม เน้นการทางาน มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตาม ความเป็นจริง 12. สร้างจิตสานึกแกผ่ บู้ ริหารระดับประเทศ เดก็ เยาวชนและประชาชนทัว่ ไป 13. สร้างเอกภาพในการทางาน ทางานเป็นทีม กาหนดเปูาหมายที่ชัดเจน กาหนดตวั ชี้วัด มกี ารประเมินผล แนวทางแก้ไขปัญหา
182 14. ใหม้ ีการจดั อบรม ใหค้ วามรดู้ า้ นวัฒนธรรมของเทศบาล เน้นย้าการทางาน เป็นทีม 15. ออกคาส่ังใหป้ ฏบิ ัติงานให้ครอบคลุมทกุ งาน ทกุ ตาแหน่ง 2.3 ขอ้ เสนอแนะ 1. กระบวนการศึกษาในระดับอุดมศึกษาต้องเตรียมความพร้อมของนักศึกษา ให้ดกี ว่านี้ 2. การใหบ้ ริการของเทศบาล ด้านเจ้าหน้าท่ีผู้ให้บริการ ควรมีมนุษยสัมพันธ์ ท่ีดี และสร้างความรักในงานให้บริการ 3. จัดให้มีการอบรมผู้บริหาร บุคลากร ในด้านต่างๆ เช่น การใช้เครื่องมือ ใหท้ นั สมยั เขา้ กับปจั จบุ นั 4. ชมเชยใหร้ างวัลแก่ผทู้ ่มี ีส่วนรว่ มในการปฏบิ ัติงาน 5. ปรับโครงสร้างองคก์ รใหม่ 6. เทศบาลขนาดเล็กสามารถเข้าถึงประชาชนได้ท่ัวถึง ทาให้มีการติดต่อสื่อสาร ไดท้ ั่วถึงไมม่ ีปญั หาด้านวัฒนธรรม 7. ผู้บริหารต้องเป็นมืออาชีพ จัดระเบียบกฎหมาย ซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส ยุตธิ รรม ทันสมัย 8. ฝาุ ยการเมือง คือ ผกู้ าหนดยุทธศาสตร์ กาหนดนโยบายการทางาน และ ควบคุมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบาย ฝุายประจา คือ ผู้บริหารงานประจาตามนโยบาย และ ระเบยี บแบบแผน 9. รัฐบาลกระจายอานาจสทู่ ้องถ่ินอยา่ งจริงจงั เพอ่ื ประโยชน์ประชาชนเปน็ หลกั 10. สง่ เสรมิ คนดีให้ปกครอง ไมย่ กย่องคนชัว่ ทจุ รติ 3. ปจั จยั ด้านประสิทธิผลของเทศบาล 3.1 ปญั หา อุปสรรค 1. การจัดการองคก์ รอย่างมปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล 2. การใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณของเทศบาลใชจ้ ่ายได้เฉพาะที่มีระเบียบกฎหมาย รองรบั ทาให้ไมเ่ กดิ นวัตกรรมใหม่ ๆ ในการปฏิบตั ิงาน 3. การดาเนนิ โครงการควรเน้นการประเมินวัตถุประสงค์ ควบคู่กบั การประเมิน เปูาหมาย 4. การตรวจสอบของหน่วยตรวจลงลึกในรายละเอียด ทาให้ยากต่อการปฏิบัติงาน ซึง่ บางเรอื่ งกฎหมายกาหนดใหผ้ บู้ ริหารใช้ดุลยพินิจ แต่หากดุลยพินิจไม่เป็นไปตามหน่วยตรวจ ก็จะมี ปัญหาต่อการถกู ตรวจสอบ 5. ขาดวิสัยทัศน์ ผลประโยชน์ ขาดความซื่อสัตย์สุจริต ไม่มีแผนระยะสั้น- ระยะยาว ขาดการประเมนิ ผล ฟมุ เฟือย
183 6. บุคลากรขาดความรู้ความสามารถ ทักษะ ทัศนคติ ขาดความรับผิดชอบ งานต่าง ๆ กันมาก ทาให้การปฏบิ ตั งิ านไมบ่ รรลุวัตถปุ ระสงค์ 7. คุณภาพในการบริการสาธารณะที่เป็นท่ียอมรับของประชาชนและมี ประสทิ ธภิ าพ 8. มีงบประมาณจากัด โดยเฉพาะเทศบาลขนาดเล็ก มีงบประมาณไม่ เพียงพอ ทาใหไ้ ม่สามารถจัดสรรไดล้ งตวั 9. ยงั มคี วามลา่ ชา้ ในบางเร่ือง เน่ืองจากขาดบุคลากรในการทางาน 3.2 แนวทางการแก้ไข 1. บคุ ลากรต้องเรียนรู้ ต้องได้รับการฝึกอบรมในการทางาน เพ่ือให้เกิดทักษะ และมที ัศนคตทิ ด่ี ีในการบรกิ าร 2. กาชับให้เจ้าหน้าท่ีศึกษากฎหมายท่เี ก่ียวข้องอย่างละเอียด หากกฎหมาย ใดท่ีไม่เออื้ อานวยควรทจี่ ะปรบั ปรุงแก้ไขระเบยี บกฎหมาย 3. ควรมกี ารวเิ คราะห์ปญั หา ความต้องการของประชาชน และเกิดประโยชน์ ตอ่ ส่วนรวมจรงิ ๆ มิใชเ่ ป็นปญั หาหรือเป็นความต้องการของผบู้ รหิ าร 4. ควรให้รบั ผิดชอบงานร่วมกันทั้งกองทุกงาน 5. จดั หาบุคลากรทม่ี คี ณุ ภาพ ตงั้ ใจทางาน แตง่ ตั้งตามโครงสรา้ งการปฏิบตั ิงาน ใหช้ ัดเจน 6. เจา้ หนา้ ท่ีพัสดุควรมีการศกึ ษาระเบยี บและปฏิบัติอย่างสม่าเสมอ สามารถ ปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ถูกต้อง ตรวจสอบได้ 7. ต้องจดั หางบประมาณจากแหลง่ อ่นื ๆ แทน แตง่ บประมาณรายจ่ายจาก แหลง่ อน่ื ทาให้ต้องใชง้ บประมาณไดอ้ ยา่ งมากข้นึ 8. เทศบาลต้องได้งบประมาณมาพฒั นาเทศบาลอย่างเป็นระบบ และแก้ไข ปัญหาประชาชนอย่างทัว่ ถงึ 9. มกี ารกระจายงานตามความรู้ความสามารถ และต้องมีความรู้เรื่องการบริหาร การจดั การ 10. ลดบทบาทหนา้ ท่ีของหน่วยตรวจสอบและหน่วยงานผู้กากับดูแลท้องถิ่น ต้องมมี าตรการและช้แี จงใหห้ นว่ ยตรวจสอบเข้าใจ 11. สร้างจติ สานึก ให้ความรู้ ลงโทษตามกฎหมายอย่างจริงจัง มีการประเมิน ผลและตรวจสอบเป็นระยะ ๆ 3.3 ข้อเสนอแนะ 1. จดั อบรม แลกเปลีย่ นเรียนรู้ 2. ควรกาชบั เจา้ หน้าทีป่ ฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏบิ ัติการจดั ซ้ือจัดจ้างท่ที าไว้ 3. ควรมีหนว่ ยงานเข้ามาตรวจสอบการทางานอยา่ งสมา่ เสมอ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282