ตอนที่ II ระบบงานส�ำคญั ของโรงพยาบาล (4) ห้องปฏิบัติการมีเครื่องมือและอุปกรณ์พร้อมส�ำหรับท�ำการตรวจทดสอบที่ต้องการ ในสภาพการท�ำงานท่ี ปลอดภัย122 โดยมีระบบบำ� รงุ รกั ษาเชิงปอ้ งกนั . มีการพิจารณาผลการสอบเทยี บ และการใช้ผลการสอบ เทียบอย่างเหมาะสม. เคร่ืองมือผ่านการตรวจสอบและรับรองจากหน่วยงานท่ีรับผิดชอบตามที่กฎหมาย กำ� หนด (ถา้ มี). (5) องค์กรคัดเลือกและตรวจสอบมาตรฐานของงานบรกิ ารจากภายนอก เครื่องมือวิทยาศาสตร์ วัสดุ น้�ำยา ซ่ึงมผี ลต่อคุณภาพของบรกิ ารหอ้ งปฏิบัตกิ ารอย่างระมดั ระวงั . มกี ารประเมนิ ผจู้ ัดจ�ำหนา่ ยนำ้� ยา วัสดุ และ บรกิ ารท่ีมคี วามสำ� คญั สงู . มรี ะบบควบคุมคลังพสั ดพุ ร้อมด้วยบันทกึ ทเ่ี หมาะสม. (6) องคก์ รประเมนิ คัดเลอื ก และติดตามความสามารถของห้องปฏบิ ัติการท่ีรบั ตรวจตอ่ รวมท้ังมีการประเมนิ ผู้ใหค้ ำ� ปรึกษาหรอื ใหข้ ้อคดิ เหน็ ส�ำหรับการทดสอบบางอย่าง. (7) องค์กรส่ือสารที่ดีกับผู้ใช้ห้องปฏิบัติการ มีการแลกเปลี่ยนความเห็นหรือข้อมูลอย่างสม่�ำเสมอด้วยวิธีการ ต่างๆ ไดแ้ ก่ การให้คำ� แนะนำ� การแปลผลการตรวจ การปรกึ ษาทางวชิ าการ การประชุม การตรวจเยีย่ ม ทางคลินิก การแจง้ การเปลี่ยนแปลงวธิ กี ารตรวจ. 122 สภาพการท�ำงานท่ีปลอดภัย ครอบคลุมถึง มาตรการการป้องกนั อนั ตรายจากไฟฟา้ รังสี สารเคมี จุลชพี อุปกรณป์ อ้ งกันที่จ�ำเปน็ รวมท้งั การก�ำจดั ของเสียอนั ตรายต่างๆ มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสุขภาพ ฉบับท่ี 5 141
ตอนที่ II ระบบงานสำ� คญั ของโรงพยาบาล ข. การให้บริการ (Service Provision) (1) ห้องปฏิบตั ิการมกี ารจัดการกบั สิง่ ส่งตรวจทด่ี ี ไดแ้ ก่ การจัดเกบ็ การสมั ผัส ภาชนะบรรจุ การเขียนฉลาก การชบี้ ่ง การรักษาสภาพ (preservation) การนำ� สง่ พร้อมใบส่งตรวจ. มีการประเมินคณุ สมบตั ขิ องสง่ิ สง่ ตรวจตามเกณฑ.์ สามารถทวนสอบสง่ิ ส่งตรวจและตวั อยา่ งท่แี บ่งมาตรวจได.้ (2) องค์กรมีกระบวนการตรวจวเิ คราะหท์ ีม่ ัน่ ใจวา่ ผลการตรวจมคี วามถูกต้อง เชอื่ ถือได้ โดยการใช้วิธวี เิ คราะห์ มาตรฐานทเ่ี หมาะสมซงึ่ ไดร้ บั การสอบทวน (validate) วา่ ใหผ้ ลลพั ธต์ ามทต่ี อ้ งการ. มกี ารตรวจสอบ (verify) วา่ น�้ำยา วธิ ีวิเคราะห์ เคร่ืองมอื เคร่ืองวเิ คราะหเ์ ปน็ ไปตามขอ้ ก�ำหนดและเหมาะกบั การใชง้ าน. (3) ผใู้ หบ้ รกิ ารสง่ มอบรายงานผลการตรวจวเิ คราะหท์ ถี่ กู ตอ้ งแกผ่ ใู้ ชบ้ รกิ ารในเวลาทเี่ หมาะสม โดยคำ� นงึ ถงึ การ รกั ษาความลบั คา่ วกิ ฤตทิ อ่ี าจเปน็ อนั ตรายตอ่ ผปู้ ว่ ย และการจดั เกบ็ สำ� เนาขอ้ มลู การตรวจวเิ คราะหใ์ นระบบ ที่สามารถสืบค้นได้. (4) องค์กรจัดการกับส่ิงสง่ ตรวจหลังการตรวจวิเคราะหไ์ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม เพือ่ ให้สามารถทำ� การตรวจวเิ คราะห์ เพมิ่ เติมได้เมอ่ื จำ� เป็น และมีการก�ำจดั สงิ่ สง่ ตรวจท่เี หลือจากการวเิ คราะหอ์ ย่างปลอดภัย. 142 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับท่ี 5
ตอนที่ II ระบบงานสำ� คัญของโรงพยาบาล ค. การบรหิ ารคุณภาพและความปลอดภยั (Quality and Safety Management) (1) หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารมโี ปรแกรม/ระบบบรหิ ารคณุ ภาพซง่ึ ครอบคลมุ บรกิ ารหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทกุ ดา้ น และประสานกบั สว่ นอ่นื ๆ ในองค์กร โดยโปรแกรม/ระบบบริหารคณุ ภาพครอบคลมุ : (i) การชี้บ่งปญั หา/โอกาสพฒั นา; (ii) บันทึกความผดิ พลาดและการรายงานอุบตั ิการณ์; (iii) การตดิ ตามตวั ชวี้ ัดส�ำคัญ; (iv) การแกไ้ ข/ปอ้ งกันปัญหา; (v) การตดิ ตามปจั จยั ทม่ี ผี ลกระทบตอ่ ระบบคณุ ภาพตลอดกระบวนการตรวจวเิ คราะห์ (pre-analytical and post-analytical); (vi) การควบคุมเอกสาร; (vii) เป้าหมายความปลอดภัยของผ้ปู ่วยและบุคลากร; (viii) การประเมินประสทิ ธิผลของโปรแกรม/ระบบบริหารคุณภาพ. (2) ห้องปฏิบัติการเข้าร่วมโปรแกรมทดสอบความช�ำนาญระหว่างห้องปฏิบัติการ (proficiency testing-PT) ตามขอบเขตและความซับซอ้ นของการตรวจวเิ คราะห์ทใ่ี ห้บรกิ าร หรือจดั ใหม้ รี ะบบประเมนิ ความน่าเช่อื ถอื ของการตรวจวิเคราะห์ด้วยวิธีอ่ืน. มีหลักฐานว่ามีการน�ำปัญหาท้ังหมดท่ีพบจากการทดสอบความช�ำนาญ หรอื ระบบประเมนิ อ่ืนมาแกไ้ ขโดยเรว็ . มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสุขภาพ ฉบบั ท่ี 5 143
ตอนที่ II ระบบงานสำ� คญั ของโรงพยาบาล (3) หอ้ งปฏิบตั กิ ารวางระบบควบคุมคุณภาพเพอ่ื ติดตาม performance ของการวิเคราะห์โดยมีการก�ำหนดชว่ ง คา่ ความคลาดเคลอื่ นทย่ี อมรบั ได้ นำ� ผลการควบคมุ คณุ ภาพและปจั จยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งมาประกอบการแกไ้ ขปญั หา รวมทงั้ มวี ธิ กี ารยนื ยนั ความนา่ เชอ่ื ถอื ของผลการตรวจวเิ คราะห์ กรณที ไ่ี มม่ กี ารสอบเทยี บหรอื ไมม่ สี ารควบคมุ . (4) ห้องปฏิบัติการท่ีมีความพร้อมในการวางระบบคุณภาพและเข้าสู่กระบวนการรับรองตามมาตรฐานท่ีเป็นท่ี ยอมรับ มีการน�ำมาตรฐานห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ซ่ึงเป็นที่ยอมรับมาใช้ประโยชน์ และขอรับการ ประเมินจากหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง เชน่ กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ (ISO 15189) สภาเทคนิคการแพทย์ หรือราชวิทยาลัยพยาธแิ พทยแ์ หง่ ประเทศไทย123. 123 ราชวทิ ยาลยั พยาธแิ พทยแ์ หง่ ประเทศไทยมกี ารประเมนิ และรบั รองมาตรฐานหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร พยาธวิ ทิ ยาคลนิ กิ พยาธวิ ทิ ยากายวภิ าค เซลลว์ ทิ ยา นติ ิเวชศาสตร์ นติ ิเวชคลนิ กิ และธนาคารเลือด/บรกิ ารโลหติ 144 มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสุขภาพ ฉบบั ท่ี 5
ตอนที่ II ระบบงานส�ำคัญของโรงพยาบาล II-7.3 พยาธิวิทยากายวภิ าค, เซลลว์ ิทยา, นิติเวชศาสตรแ์ ละนิติเวชคลินกิ (Anatomical Pathology, Cell Cytology and Forensic Clinic Service) (1) องคก์ รนำ� มาตรฐานพยาธวิ ทิ ยากายวภิ าค, เซลลว์ ทิ ยา, นติ เิ วชศาสตรแ์ ละนติ เิ วชคลนิ กิ ทจ่ี ดั ทำ� โดยองคก์ รวชิ าชพี เชน่ ราชวทิ ยาลยั พยาธแิ พทยแ์ หง่ ประเทศไทย มาเปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน และมกี ารบรหิ ารคณุ ภาพและ ความปลอดภยั ในระบบบรกิ าร. II-7.4 ธนาคารเลือดและงานบรกิ ารโลหติ (Blood Bank and Transfusion Service) (1) องคก์ รนำ� มาตรฐานธนาคารเลอื ดและงานบรกิ ารโลหติ ทจ่ี ดั ทำ� โดยศนู ยบ์ รกิ ารโลหติ แหง่ ชาติ สภากาชาดไทย หรือราชวทิ ยาลยั พยาธแิ พทย์แห่งประเทศไทย มาเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และมีการบรหิ ารคณุ ภาพ และความปลอดภยั ในระบบบรกิ าร. II-7.5 บริการตรวจวินิจฉัยอื่นๆ (Other Diagnostic Investigation) (1) ในการตรวจทดสอบที่กระท�ำกับผู้ป่วยโดยตรง มีการประเมินผู้ป่วยก่อนส่งตรวจและก่อนเข้ารับการตรวจ มกี ารเตรียมผูป้ ว่ ยอย่างเหมาะสม เพอ่ื ป้องกนั ผลที่ไม่พึงประสงค์ ลดอนั ตรายตอ่ ผูป้ ่วย และมน่ั ใจว่าผลการ ตรวจมคี ณุ ภาพตามทต่ี อ้ งการ. มกี ารใหข้ อ้ มลู ผปู้ ว่ ยอยา่ งเพยี งพอและลงนามยนิ ยอมในกรณที เี่ ปน็ การตรวจ ที่มคี วามเสย่ี งสูง. มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบบั ท่ี 5 145
ตอนท่ี II ระบบงานสำ� คัญของโรงพยาบาล (2) มีการแปลผลการตรวจโดยผู้มีคุณวุฒิและประสบการณ์ บันทึกสรุปสิ่งท่ีพบ124 หรือการวินิจฉัยท่ีชัดเจน. มีการสือ่ สารผลการตรวจใหแ้ ก่แพทยเ์ จา้ ของไข้เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรในเวลาทีเ่ หมาะสม. 124 สรปุ ส่ิงทพี่ บ ควรครอบคลุม ค�ำอธิบายต่อประเด็นทางคลนิ กิ ที่ระบุไว้โดยผูส้ ่งตรวจ การเปรยี บเทียบกบั ผลการตรวจทผี่ ่านมา รวมท้งั การ วนิ ิจฉัยแยกโรคหรือขอ้ เสนอแนะส�ำหรับการตรวจเพิม่ เติมเมอื่ จำ� เป็น 146 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบบั ท่ี 5
ตอนที่ II ระบบงานสำ� คญั ของโรงพยาบาล II-8 การเฝ้าระวังโรคและภยั สุขภาพ (Disease and Health Hazard Surveillance) II-8 การเฝ้าระวังโรคและภยั สุขภาพ (Disease and Health Hazard Surveillance) องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีระบบเฝ้าระวังเพื่อติดตาม ค้นหา การเกิดโรคและภัยสุขภาพท่ีผิดปกติอย่างมีประสิทธิภาพ และ ดำ� เนินการสอบสวนควบคุมโรคไม่ใหเ้ กดิ การแพร่ระบาดได.้ ระบบเฝา้ ระวงั คน้ หาการเพม่ิ ผดิ ปกติ ข. การเกบ็ และวเิ คราะหข์ ้อมูลเฝ้าระวัง จากการเฝา้ ระวงั จากบคุ ลากร 1 โรคตดิ ตอ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ภยั สขุ ภาพ 4 วนิ จิ ฉยั การระบาด จากหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร โรคทก่ี ฎหมายกำ� หนด วเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ 2 บนั ทกึ และจดั เกบ็ ขอ้ มลู 3 แปลผลขอ้ มลู ตดิ ตามสถานการณต์ อ่ เนอ่ื ง 5 เปน็ ปจั จบุ นั ครบถว้ น ถกู ตอ้ ง ทนั เวลา เปรยี บเทยี บได้ คาดการณแ์ นวโนม้ วางแผนปอ้ งกนั และควบคมุ 6 ก. การบริหารจดั การและทรพั ยากร 1 ทำ� แผน เตรยี มพรอ้ ม 4 ชอ่ งทางรบั รายงาน ค. การตอบสนองต่อการระบาด 2 ตงั้ SRRT 5 สอบสวนเฉพาะราย ของโรคและภยั สขุ ภาพ 1 นโยบาย 3 มาตรการปอ้ งกนั และควบคมุ 6 สอบสวนและควบคมุ โรค 2 แผน ประสานงาน ง. การเผยแพรข่ ้อมูลขา่ วสารและเตอื นภัย ตดิ ตามประเมนิ ผล ปรบั ปรงุ โรคและ 3 บคุ ลากรทมี่ คี วามรแู้ ละทกั ษะ 1 รายงาน สรา้ งความตระหนกั 2 รายงาน เผยแพรส่ ถานการณ์ 3 ภยั สขุ ภาพ 4 งบประมาณและทรพั ยากร ไดร้ บั การควบคมุ 5 สรา้ งความรู้ เขา้ ใจ รว่ มมอื กบั ผปู้ ว่ ย/ผรู้ บั ผลงาน ใหห้ นว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง รายงานโรค ชมุ ชน สาธารณะ และสอ่ื สาธารณะ ตามกฎหมาย มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับที่ 5 147
ตอนท่ี II ระบบงานสำ� คญั ของโรงพยาบาล II-8 การเฝ้าระวงั โรคและภัยสขุ ภาพ (Disease and Health Hazard Surveillance) องค์กรสรา้ งความมน่ั ใจวา่ มรี ะบบเฝา้ ระวงั เพอื่ ติดตาม คน้ หา การเกดิ โรคและภัยสขุ ภาพทผี่ ิดปกติอย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ และด�ำเนนิ การสอบสวนควบคุมโรคไม่ให้เกดิ การแพรร่ ะบาดได.้ ก. การบรหิ ารจัดการและทรัพยากร (Management and Resources) (1) องคก์ รมนี โยบายเฝา้ ระวงั โรคและภยั สขุ ภาพครอบคลมุ พนื้ ทภ่ี ายในองคก์ ร125 และพนื้ ทชี่ มุ ชนทอี่ งคก์ รรบั ผดิ ชอบ. (2) องค์กรมีแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการท่ีชัดเจน สอดคล้องกับปัญหาโรคและภัยสุขภาพในพ้ืนท่ี. มีการ ประสานงาน ติดตามประเมินผล และปรบั ปรงุ กระบวนการเฝ้าระวังโรค. (3) องคก์ รมีบุคลากรท่มี ีความรู้และทักษะ ทำ� หนา้ ทเ่ี ฝ้าระวงั สอบสวน และควบคุมโรค ในจ�ำนวนท่เี หมาะสม. (4) องค์กรมงี บประมาณและทรพั ยากรอนื่ ๆ ที่เพียงพอ มีการใชเ้ ทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สำ� หรับการเฝ้าระวังโรค สอบสวนโรค และควบคมุ โรคอย่างมีประสทิ ธภิ าพ. (5) องค์กรสรา้ งความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนกั ในดา้ นแนวคดิ นโยบาย แผน และแนวทางปฏบิ ัติเกย่ี วกบั การเฝา้ ระวงั โรคและภยั สุขภาพส�ำหรับบคุ ลากรในโรงพยาบาลทุกระดับ. 125 ดูรายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ในเกณฑข์ ้อ I-5.1 ค. สขุ ภาพและความปลอดภัยของบุคลากร และ II-4.1 ข. การเฝา้ ระวังและควบคมุ การติดเชอ้ื 148 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบบั ท่ี 5
ตอนที่ II ระบบงานสำ� คัญของโรงพยาบาล ข. การเกบ็ และวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอื่ การเฝา้ ระวงั (Data Collection and Analysis for Surveillance) (1) องคก์ รมรี ะบบการเฝา้ ระวงั โรคติดต่อ โรคไมต่ ิดตอ่ และภยั สขุ ภาพอน่ื ๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เหมาะสมกับสภาพ ปญั หาของพน้ื ที่ องคก์ ร และเป็นไปตามกฎระเบียบท่ีกระทรวงสาธารณสุขก�ำหนด. (2) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารบนั ทกึ และจดั เกบ็ ขอ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื ง. ขอ้ มลู มคี วามเปน็ ปจั จบุ นั ครบถว้ น ถกู ตอ้ ง ทันเวลา และเปรยี บเทยี บกับข้อมลู ทีม่ อี ยู่เดมิ ได.้ (3) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารวเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ แปลความหมายขอ้ มลู การเฝา้ ระวงั อยา่ งตอ่ เนอื่ งและสมำ�่ เสมอ โดยใช้ วธิ ีการทางระบาดวทิ ยา. (4) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารคน้ หาและตรวจจบั การเพมิ่ ทผี่ ดิ ปกตหิ รอื การระบาดของโรค126 ทงั้ จากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู จาก การเฝ้าระวัง รับทราบข้อมูลจากบุคลากรทางการแพทย์ และทบทวนรายงานผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิ การอยา่ งสม�่ำเสมอ. (5) องคก์ รตดิ ตามเฝา้ ดูสถานการณแ์ ละแนวโน้มของโรคท่ีตอ้ งเฝา้ ระวังอย่างต่อเนอ่ื งและเปน็ ปัจจุบัน. (6) องค์กรคาดการณ์แนวโน้มการเกดิ โรคท่ีสำ� คญั เพื่อประโยชน์ในการวางแผนป้องกนั ควบคมุ โรค. 126 การระบาด แบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ลกั ษณะ (1) Epidemic หมายถงึ การเกดิ โรคมากผดิ ปกตเิ กนิ กวา่ จำ� นวนทเ่ี คยมใี นชว่ งระยะเวลาเดยี วกนั ของปกี อ่ นๆ (mean +/- 2 S.D.) มักเกิดกับโรคทีพ่ บบ่อยๆ เป็นโรคประจ�ำถิ่น เชน่ การระบาดของโรคหดั (2) Outbreak หมายถงึ โรคท่ีมีผู้ปว่ ยต้ังแต่ 2 รายขนึ้ ไปในระยะเวลาอนั สนั้ หลงั จากรว่ มกจิ กรรมดว้ ยกนั มา (common activity) มกั เกดิ กบั โรคทพ่ี บประปราย แตจ่ ำ� นวนไมม่ าก (sporadic disease) เช่น การระบาดของอาหารเป็นพิษ ในกรณีที่เป็นโรคติดตอ่ อันตรายซง่ึ ไม่เคยเกดิ ข้ึนในชมุ ชนน้ันมาก่อน หรอื เคยเกดิ มานานแล้ว และกลบั มาเป็นอกี ถงึ แมม้ ผี ้ปู ว่ ยเพยี ง 1 รายก็ถือว่าเป็นการระบาด มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบบั ท่ี 5 149
ตอนที่ II ระบบงานส�ำคัญของโรงพยาบาล ค. การตอบสนองต่อการระบาดของโรคและภัยสุขภาพ127 (Response to an Epidemic of Diseases and Health Hazards) (1) องค์กรมีแผนการตอบสนองต่อเหตุฉุกเฉินด้านสาธารณสุข และมีการเตรียมความพร้อมในการรองรับ ตลอดเวลา. (2) องคก์ รมที ีมเฝา้ ระวังสอบสวนเคลอื่ นทเ่ี ร็ว (Surveillance and Rapid Response Team-SRRT) จาก สหสาขาวิชาชพี ท�ำหนา้ ทตี่ อบสนองต่อการระบาดของโรคและภยั สขุ ภาพ. (3) องคก์ รก�ำหนดมาตรการปอ้ งกันควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพที่จำ� เป็น เพอ่ื ปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรค. (4) องคก์ รมชี อ่ งทางและบคุ ลากรทส่ี ามารถรบั รายงานผปู้ ว่ ยหรอื ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ ไดต้ ลอด 24 ชวั่ โมง. (5) องคก์ รด�ำเนินการสอบสวนผปู้ ่วยเฉพาะราย เพอ่ื ปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคอย่างทันท่วงที. (6) ทีมผู้รับผิดชอบในการสอบสวนควบคุมโรคมีทรัพยากรและอ�ำนาจตามกฎหมายในการตรวจสอบและใช้ มาตรการควบคุมโรคทเ่ี หมาะสมและทันเหตุการณเ์ มอื่ มกี ารระบาดเกิดขึ้น. 127 ภยั สขุ ภาพ หมายถงึ สภาวะ ส่ิงแวดล้อม พชื สตั ว์ สารเคมี/สารอนื่ ๆทง้ั สถานะของเหลว ของแขง็ ก๊าซ หรือเปน็ องคป์ ระกอบร่วมกัน ทมี่ โี อกาสสง่ ผลกระทบตอ่ สุขภาพ สขุ ภาวะ หรือกอ่ ใหเ้ กิดการบาดเจ็บ สูญเสยี ทง้ั ระยะส้ันและระยะยาว ต่อบุคคลใดๆ เช่น การบรโิ ภค ยาสบู การบริโภคเคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์ การบาดเจบ็ จากอุบัติเหตทุ างถนน การจมนำ�้ และภัยสขุ ภาพจากการประกอบอาชพี และสงิ่ แวดลอ้ ม เชน่ ภัยจากภาคอุตสาหกรรม/เกษตรกรรม ภัยจากมลพิษส่งิ แวดลอ้ ม เป็นตน้ 150 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสขุ ภาพ ฉบบั ท่ี 5
ตอนท่ี II ระบบงานสำ� คญั ของโรงพยาบาล ง. การเผยแพร่ขอ้ มลู ขา่ วสารและเตือนภัย (Information Dissemination and Alert) (1) องคก์ รจดั ใหม้ ที มี ทรี่ บั ผดิ ชอบเรอื่ งการสอ่ื สารความเสย่ี งตอ่ โรคและภยั สขุ ภาพเพอ่ื สอื่ สารขอ้ มลู สรา้ งความ ตระหนกั ความเขา้ ใจ และสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มในการปอ้ งกนั โรคและภยั สขุ ภาพ กบั ผปู้ ว่ ย/ผรู้ บั ผลงานชมุ ชน และสงั คม. (2) องคก์ รจัดทำ� รายงานและเผยแพร่สถานการณโ์ รคและภยั สขุ ภาพท้งั ในดา้ นการเฝา้ ระวงั การระบาดท่ี เกดิ ขน้ึ และการดำ� เนนิ การสอบสวนควบคมุ โรค ไปยงั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งและสอื่ สาธารณะ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และสมำ�่ เสมอ. (3) องคก์ รรายงานโรคไปยงั สำ� นกั งานสาธารณสขุ ในพนื้ ทแ่ี ละหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งตามพระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. 2558 กฎอนามยั ระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 และกฎข้อบงั คับอน่ื ๆ. มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบบั ท่ี 5 151
ตอนที่ II ระบบงานสำ� คญั ของโรงพยาบาล II-9 การทำ� งานกบั ชมุ ชน (Working with Communities) II-9.1 การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพส�ำหรบั ชมุ ชน (Health Promotion for the Communities) องค์กรรว่ มกับชมุ ชน จัดให้มบี รกิ ารสรา้ งเสริมสขุ ภาพท่ีตอบสนองตอ่ ความต้องการของชุมชน. 1 2 กำ� หนดชมุ ชนทร่ี บั ผดิ ชอบ วางแผนและออกแบบ บรกิ ารสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ เกบ็ ขอ้ มลู สขุ ภาพ ประเมนิ ความตอ้ งการ ของชมุ ชน และศกั ยภาพ รว่ มกบั ชมุ ชน การดแู ล การชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ การพฒั นาทกั ษะสขุ ภาพ ระบกุ ลมุ่ เปา้ หมายและบรกิ ารสขุ ภาพทจ่ี ำ� เปน็ 3 รว่ มมอื กบั องคก์ ร จดั บรกิ ารสรา้ งเสรมิ และผใู้ หบ้ รกิ ารอนื่ ๆ สขุ ภาพสำ� หรบั ชมุ ชน 4 ประเมนิ และปรบั ปรงุ บรกิ ารสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ ทตี่ อบสนองความตอ้ งการของชมุ ชน 152 มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบบั ที่ 5
ตอนท่ี II ระบบงานสำ� คญั ของโรงพยาบาล II-9.2 การเสรมิ พลงั ชมุ ชน (Community Empowerment) องค์กรท�ำงานร่วมกับชุมชนเพื่อสนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถของชุมชนในการปรับปรุงสุขภาพและความเป็นอยู่ท่ีดี ของชุมชน. สง่ เสรมิ ชมุ ชน สง่ เสรมิ สง่ิ แวดลอ้ มและนโยบาย 1 การมสี ว่ นรว่ ม การสรา้ งศกั ยภาพ สาธารณะทเี่ ออ้ื ตอ่ การมสี ขุ ภาพดี การสรา้ งเครอื ขา่ ย การเปน็ คพู่ นั ธมติ ร สงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพ 2 สง่ เสรมิ ใหช้ มุ ชนสามารถแกป้ ญั หาของตน ลดการปนเปอ้ื นทางกายภาพและเคมี ใชต้ น้ ทนุ ทางสงั คม วฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาของชมุ ชน อนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ มเพอ่ื สนั ทนาการ สง่ เสรมิ การพฒั นาพฤตกิ รรมและ 4 การพกั ผอ่ น สมดลุ ของชวี ติ กจิ กรรมทเี่ ออื้ ตอ่ สขุ ภาพ ทกั ษะสขุ ภาพของครอบครวั และชมุ ชน สงิ่ แวดลอ้ มทางสงั คม 3 พฤตกิ รรมสขุ ภาพทด่ี ี ลดพฤตกิ รรมเสยี่ ง การชว่ ยเหลอื ทางสงั คม การสรา้ งเครอื ขา่ ยทางสงั คม ปกปอ้ งบคุ คลจากความเสยี่ ง การจดั การความเครยี ด ปฏสิ มั พนั ธท์ ด่ี ใี นทท่ี ำ� งานและชมุ ชน สนบั สนนุ นโยบายสาธารณะเพอ่ื สขุ ภาพ สรา้ งความสมั พนั ธ์ รว่ มมอื แลกเปลย่ี นขอ้ มลู สขุ ภาพและความเปน็ อยทู่ ดี่ ขี องชมุ ชน 153 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสขุ ภาพ ฉบบั ท่ี 5
ตอนท่ี II ระบบงานสำ� คญั ของโรงพยาบาล II-9.1 การจัดบริการสร้างเสรมิ สขุ ภาพส�ำหรับชุมชน (Health Promotion for the Communities) องค์กรร่วมกบั ชุมชน128 จดั ให้มบี รกิ ารสร้างเสริมสขุ ภาพทต่ี อบสนองต่อความต้องการของชมุ ชน. (1) องคก์ รกำ� หนดชมุ ชนทร่ี บั ผดิ ชอบและทำ� ความเขา้ ใจบรบิ ทของชมุ ชน มกี ารประเมนิ ความตอ้ งการดา้ นสขุ ภาพ และศกั ยภาพของชมุ ชน129 และระบกุ ลมุ่ เปา้ หมายและบริการสร้างเสรมิ สุขภาพทจี่ �ำเปน็ สำ� หรบั ชุมชน. (2) องคก์ รรว่ มกบั ชมุ ชนวางแผนและออกแบบบรกิ ารสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ130 ทตี่ อบสนองความตอ้ งการและปญั หา ของชุมชน. (3) องคก์ รรว่ มมือกับภาคที ่ีเกย่ี วข้อง จัดบรกิ ารสรา้ งเสริมสุขภาพส�ำหรับชมุ ชน. (4) องคก์ รตดิ ตามประเมนิ ผล ตลอดจนแลกเปลยี่ นขอ้ มลู และรว่ มกบั ชมุ ชนในการปรบั ปรงุ บรกิ ารสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพในชุมชน. 128 ชุมชน อาจจะเปน็ ชุมชนทางภูมิศาสตร์ หรอื ชมุ ชนท่ีเกดิ จากความสัมพนั ธข์ องกลุม่ คนทีม่ เี ปา้ หมายเดียวกนั 129 การประเมนิ ความตอ้ งการของชุมชน ครอบคลมุ ถงึ การเก็บรวบรวมสารสนเทศเกี่ยวกับสขุ ภาพของชมุ ชน เชน่ ปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ สขุ ภาพ สถานะสุขภาพ ศกั ยภาพ และความเส่ยี งดา้ นสุขภาพในชมุ ชน 130 บริการสรา้ งเสริมสขุ ภาพส�ำหรับชมุ ชน อาจครอบคลุมการดูแล การชว่ ยเหลอื สนับสนนุ การส่งเสริมการเรยี นรู้ การพัฒนาทกั ษะสขุ ภาพ 154 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสขุ ภาพ ฉบบั ที่ 5
ตอนที่ II ระบบงานสำ� คญั ของโรงพยาบาล II-9.2 การเสริมพลังชุมชน (Community Empowerment) องคก์ รทำ� งานรว่ มกบั ชมุ ชนเพอ่ื สนบั สนนุ การพฒั นาขดี ความสามารถของชมุ ชนในการปรบั ปรงุ สขุ ภาพและ ความเป็นอยทู่ ีด่ ีของชุมชน. (1) องค์กรส่งเสริมการมีส่วนร่วม การสร้างศักยภาพ และการสร้างเครือข่ายของชุมชน รวมทั้งการเป็น คู่พนั ธมิตร131 ที่เขม้ แข็งกับชมุ ชน. (2) องค์กรรว่ มมือกบั ชมุ ชน สง่ เสริมความสามารถของกลมุ่ ต่างๆ ในชมุ ชน เพอื่ ด�ำเนนิ การแก้ปัญหาทีช่ มุ ชนให้ ความส�ำคัญโดยใช้ต้นทุนทางสงั คม วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาของชมุ ชน. (3) องค์กรร่วมมอื กบั ชมุ ชน สง่ เสริมการพฒั นาพฤติกรรมและทักษะสขุ ภาพของบุคคล132 และครอบครวั . (4) องคก์ รสง่ เสรมิ การสรา้ งส่งิ แวดล้อมทางกายภาพ133 และทางสังคม134 ที่เออ้ื ต่อการมสี ขุ ภาพดี รวมทง้ั การ ช้ีแนะและสนับสนุนนโยบายสาธารณะเพ่ือสุขภาพด้วยการสร้างความสัมพันธ์ ร่วมมือ และแลกเปล่ียน สารสนเทศกบั ผเู้ ก่ียวข้อง. 131 องคก์ รท�ำงานเป็นคู่พันธมิตรกบั ชมุ ชนด้วยการแลกเปลยี่ นสารสนเทศ ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร 132 พฤตกิ รรมและทกั ษะสว่ นบคุ คลทสี่ ำ� คญั ไดแ้ ก่ พฤตกิ รรมสขุ ภาพทด่ี ี (การออกกำ� ลงั การผอ่ นคลาย อาหาร) การลดพฤตกิ รรมทม่ี คี วามเสยี่ ง ตอ่ สขุ ภาพ การปกปอ้ งส่วนบุคคลให้พ้นจากความเสย่ี ง การจดั การกับความเครียดในชีวติ ประจำ� วัน 133 สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพในชมุ ชนทเ่ี ออื้ ตอ่ การมสี ขุ ภาพดี ไดแ้ ก่ การลดสง่ิ ปนเปอ้ื นทางกายภาพและสารเคมี เชน่ ฝนุ่ , ละอองในอากาศ, สารพษิ หรอื สารตกคา้ งในอาหาร, เสยี ง, การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาต,ิ สงิ่ แวดลอ้ มเพอื่ สนั ทนาการ การพกั ผอ่ น สมดลุ ของชวี ติ และกจิ กรรมทเี่ ออ้ื ตอ่ สขุ ภาพ 134 สิง่ แวดล้อมทางสังคมทเ่ี ออ้ื ตอ่ การมสี ุขภาพดี ได้แก่ การชว่ ยเหลือทางสงั คมในกลุ่มเปา้ หมาย (เชน่ ผทู้ ี่ดอ้ ยโอกาสทางสังคม), การสร้าง เครอื ขา่ ยทางสงั คม, ปฏิสัมพนั ธท์ างสงั คมท่สี ง่ เสรมิ ความเป็นอย่ทู ีด่ ใี นท่ีทำ� งานและชุมชน มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับที่ 5 155
ตอนที่ III กระบวนการดูแลผูป้ ่วย ตอนท่ี I ภาพรวมของการบริหารองค์กร ตอนที่ IV ผลลัพธ์ บรบิ ทองคก์ ร IV-1 ผลด้านการดูแลสขุ ภาพ บุคIล-5ากร IV-2 ผลดา้ นการมุง่ เนน้ ผู้ปว่ ย กาI-ร1น�ำ กลI-ย2ุทธ์ การปฏI-บิ6ตั ิการ ผลIลVพั ธ์ และผ้รู ับผลงาน ผI-รู้ 3ับผผปู้ลว่งายน/ IV-3 ผลด้านบคุ ลากร IV-4 ผลด้านการน�ำและการกำ� กับดูแล I-4 การวดั วเิ คราะห์ และจัดการความรู้ IV-5 ผลดา้ นประสทิ ธผิ ลของ กระบวนการทำ� งานสำ� คัญ IV-6 ผลด้านการเงนิ ตอนที่ II ระบบงานสำ� คัญของโรงพยาบาล กระบวนตอกานรทด่ี แูIIลI ผปู้ ว่ ย II-1 การบรหิ ารงานคณุ ภาพ ความเสย่ี ง และความปลอดภยั III-1 การเข้าถงึ และเข้ารับบรกิ าร II-2 การกำ� กบั ดแู ลดา้ นวชิ าชพี III-2 การประเมินผู้ปว่ ย II-3 สิ่งแวดลอ้ มในการดแู ลผู้ป่วย/ผู้รบั ผลงาน III-3 การวางแผน II-4 การปอ้ งกันและควบคุมการตดิ เชือ้ III-4 การดแู ลผู้ป่วย II-5 ระบบเวชระเบยี น III-5 การให้ข้อมูลและการเสริม II-6 ระบบการจดั การด้านยา พลงั แกผ่ ปู้ ว่ ย/ครอบครวั II-7 การตรวจทดสอบเพ่อื การวินิจฉัยโรคและบริการท่ีเก่ยี วข้อง III-6 การดแู ลตอ่ เน่อื ง II-8 การเฝ้าระวังโรคและภัยสขุ ภาพ II-9 การท�ำงานกับชมุ ชน กระบวนการดแู ลผปู้ ่วย มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบับท่ี 5 157
ตอนที่ III กระบวนการดแู ลผู้ป่วย III-1 การเข้าถึงและเขา้ รับบรกิ าร (Access and Entry) III-1 การเขา้ ถงึ และเข้ารบั บรกิ าร (Access and Entry) องคก์ รสรา้ งความมนั่ ใจวา่ ผปู้ ว่ ย/ผรู้ บั ผลงานสามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารทจ่ี ำ� เปน็ ไดโ้ ดยสะดวก มกี ระบวนการรบั ผปู้ ว่ ยทเ่ี หมาะกบั ปญั หา สขุ ภาพ/ความตอ้ งการของผปู้ ว่ ยอยา่ งทนั เวลา มกี ารประสานงานทดี่ ี ภายใตร้ ะบบงานและสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี หมาะสม มปี ระสทิ ธผิ ล. ก. การจดั บริการ ค. การเข้ารบั บรกิ าร 1 กำ� หนดและจดั บรกิ ารทจี่ ำ� เปน็ 1 การรบั เขา้ หนว่ ยบรกิ ารวกิ ฤต/ิ บรกิ ารพเิ ศษ รวบรวม/วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการบรกิ ารในปจั จบุ นั และอนาคต ตามเกณฑท์ ก่ี ำ� หนด 2 จดั ชอ่ งทางการเขา้ ถงึ บรกิ าร 2 การใหข้ อ้ มลู แกผ่ ปู้ ว่ ย/ครอบครวั เหมาะสม ปลอดภยั ลดการแพรก่ ระจายเชอื้ สภาพการเจบ็ ปว่ ย การดแู ลทจ่ี ะไดร้ บั ผลลพั ธแ์ ละคา่ ใชจ้ า่ ย ผปู้ ว่ ยเขา้ ใจและมเี วลาพจิ ารณากอ่ นตดั สนิ ใจ ข. การเขา้ ถึง 3 เคารพการตดั สนิ ใจกรณปี ฏเิ สธการรกั ษา 1 อปุ สรรคตอ่ การเขา้ ถงึ นอ้ ยทส่ี ดุ ขอความยนิ ยอมหลงั ไดร้ บั ขอ้ มลู กายภาพ ภาษา วฒั นธรรม จติ วญิ ญาณ เทคโนโลยี 4 การผา่ ตดั และหตั ถการรกุ ลำ้� การระงบั ความรสู้ กึ ชว่ งเวลาใหบ้ รกิ าร ระยะเวลารอคอย การทำ� ใหส้ งบระดบั ปานกลาง/ลกึ บรกิ ารทม่ี คี วามเสยี่ งสงู การวจิ ยั การถา่ ยภาพหรอื กจิ กรรมประชาสมั พนั ธ์ 2 ประสานงานเพอื่ การสง่ ตอ่ 5 การบง่ ชผ้ี ปู้ ว่ ยอยา่ งถกู ตอ้ ง เวลาเหมาะสม ปลอดภยั 3 คดั กรองโดยการซกั ประวตั ิ ตรวจสญั ญาณชพี 4 คดั แยก (triage) ใหก้ ารดแู ลฉกุ เฉนิ หรอื เรง่ ดว่ น เขา้ ถงึ สะดวก รบั ไวด้ แู ลทนั เวลา 5 เกณฑก์ ารรบั ผปู้ ว่ ย การชว่ ยเหลอื กรณสี ง่ ตอ่ ระบบมปี ระสทิ ธผิ ล 158 มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสุขภาพ ฉบับที่ 5
ตอนที่ III กระบวนการดแู ลผปู้ ว่ ย III-1 การเข้าถงึ และเขา้ รับบริการ (Access and Entry) องคก์ รสร้างความมัน่ ใจวา่ ผู้ป่วย/ผ้รู ับผลงานสามารถเข้าถงึ บริการทจี่ �ำเป็น ได้โดยสะดวก มีกระบวนการ รบั ผูป้ ่วยทเี่ หมาะกบั ปญั หาสขุ ภาพ/ความตอ้ งการของผปู้ ว่ ย อย่างทนั เวลา มกี ารประสานงานทดี่ ี ภายใต้ ระบบงานและสงิ่ แวดล้อมท่เี หมาะสม มีประสิทธิผล. ก. การจดั บริการ (Service Arrangement) (1) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารรวบรวมขอ้ มลู และวเิ คราะหป์ ญั หารวมทงั้ เปน็ ความตอ้ งการบรกิ ารของผปู้ ว่ ย/ผรู้ บั ผลงาน และ ชุมชน ในปจั จุบนั และอนาคต เพ่ือกำ� หนดและจัดบริการที่จำ� เปน็ . (2) องค์กรจัดช่องทางการเข้าถึงบริการของผู้ป่วย135 โดยค�ำนึงถึงความเหมาะสม ความปลอดภัย และลด การแพรก่ ระจายเชอ้ื ในกรณีโรคติดตอ่ . ข. การเขา้ ถึง (Access) (1) ผู้ปว่ ย/ผ้รู ับผลงานสามารถเขา้ ถงึ และใช้บริการได้โดยมีอุปสรรคนอ้ ยทีส่ ุด. (i) โครงสร้าง อาคาร สถานท่เี กยี่ วกับบรกิ าร สามารถเข้าถึงได้ง่าย และมีสิง่ อ�ำนวยความสะดวกในการ ลดข้อจ�ำกดั ทางกายภาพสำ� หรบั การเขา้ ถงึ บรกิ าร136; 135 ชอ่ งทางการเขา้ ถงึ ของผปู้ ว่ ย เชน่ การมารบั บรกิ ารดว้ ยตนเอง การมาดว้ ยระบบ EMS การใช้ tele-health หรอื telemedicine การเยย่ี มบา้ น การจดั บรกิ ารทบ่ี ้าน เป็นต้น 136 เชน่ สงิ่ อำ� นวยความสะดวกสำ� หรบั ผสู้ งู อายุ ผพู้ กิ าร ทางลาดสำ� หรบั ผปู้ ว่ ยรถเขน็ ปา้ ยบอกทางทชี่ ดั เจน หรอื ระบบเทคโนโลยใี นการนดั หมาย เปน็ ตน้ มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบบั ท่ี 5 159
ตอนท่ี III กระบวนการดแู ลผู้ปว่ ย (ii) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารพยายามลดอปุ สรรคตอ่ การเขา้ ถงึ บรกิ าร ในดา้ นภาษา วฒั นธรรม จติ วญิ ญาณ เทคโนโลยี และอปุ สรรคอืน่ ๆ; (iii) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารจดั ช่วงเวลาทเี่ หมาะสมสำ� หรับผ้ปู ่วยแตล่ ะประเภท; (iv) ระยะเวลารอคอยเพอ่ื เขา้ ถึงบริการเปน็ ทยี่ อมรบั ของผูป้ ว่ ย/ผ้รู ับผลงาน และสอดคลอ้ งกบั ความจ�ำเปน็ ของโรคและสภาวะของผปู้ ่วย เช่น โรคมะเรง็ ระยะตา่ งๆ. (2) องคก์ รประสานงานทด่ี รี ะหวา่ งองคก์ รกบั หนว่ ยงานทสี่ ง่ ผปู้ ว่ ยมา137 เพอื่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยไดร้ บั การสง่ ตอ่ ในระยะเวลา ท่ีเหมาะสมและปลอดภัย. (3) ผปู้ ่วยไดร้ ับการคัดกรอง (screen) โดยการซักประวัติ ตรวจสญั ญาณชีพท่ีจำ� เป็นเบอ้ื งต้น เพอื่ จ�ำแนกกลมุ่ การให้บรกิ ารตรวจรักษาในช่องทางทเี่ หมาะสมและปลอดภัย. (4) ผู้ปว่ ยได้รบั การคัดแยก (triage) ภายในระยะเวลาอนั รวดเรว็ . ผปู้ ว่ ยทีจ่ ำ� เปน็ ต้องไดร้ บั การดูแลฉกุ เฉินหรอื เรง่ ดว่ นไดร้ บั การดูแลรกั ษาเป็นอนั ดับแรก โดยบุคลากรทม่ี ีศักยภาพและอุปกรณเ์ คร่อื งมือที่เหมาะสม. (5) ผใู้ ห้บริการมกี ารประเมนิ ความสามารถในการรับผูป้ ว่ ยไวด้ ูแลตามเกณฑท์ ่ีก�ำหนดไว้. ในกรณที ่ไี ม่สามารถให้ บรกิ ารแกผ่ ้ปู ่วยได้ ทีมผใู้ หบ้ รกิ ารจะใหค้ วามช่วยเหลอื เบอ้ื งตน้ อย่างเหมาะสม อธบิ ายเหตผุ ลท่ีไม่สามารถ รับผ้ปู ่วยไว้ และชว่ ยเหลอื ผ้ปู ว่ ยในการหาสถานบรกิ ารสขุ ภาพทเ่ี หมาะสมกวา่ . 137 เชน่ โรงพยาบาลอนื่ สถานีตำ� รวจ รพ.สต. หน่วยใหบ้ รกิ ารผ้ปู ่วยฉกุ เฉนิ เป็นตน้ 160 มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบบั ท่ี 5
ตอนท่ี III กระบวนการดูแลผู้ป่วย ค. การเข้ารบั บรกิ าร (Entry) (1) การรับเขา้ หรือยา้ ยเข้าหน่วยบรกิ ารวกิ ฤตหรอื หน่วยบรกิ ารพเิ ศษเป็นไปตามเกณฑท์ ่กี ำ� หนดไว้. (2) ในการรับผู้ปว่ ยไวด้ ูแล ผูใ้ หบ้ ริการมีการใหข้ อ้ มูลทเี่ หมาะสมและเข้าใจง่ายแกผ่ ู้ป่วย/ครอบครวั . (i) ข้อมลู ทใ่ี ห้อย่างนอ้ ยครอบคลมุ ประเด็นต่อไปน:ี้ l สภาพการเจบ็ ปว่ ย; l การดูแลท่จี ะไดร้ ับ; l ผลลัพธ์และค่าใชจ้ ่ายทีค่ าดวา่ จะเกิดขนึ้ . (ii) องค์กรท�ำให้ม่ันใจว่าผู้ป่วย/ครอบครัวได้รับข้อมูลท่ีจ�ำเป็นอย่างเพียงพอด้วยความเข้าใจ สามารถขอ ความเหน็ เพิ่มเตมิ จากผู้ประกอบวชิ าชพี ดา้ นสุขภาพอื่นโดยอิสระ และมีเวลาพจิ ารณาทเ่ี พียงพอกอ่ นจะ ตัดสินใจ. (3) องคก์ รเคารพการตัดสินใจของผู้ปว่ ย/ผ้รู บั ผลงาน หากมกี ารปฏเิ สธการดแู ลรกั ษา. (4) ผใู้ หบ้ รกิ ารมกี ารบนั ทกึ และจดั เกบ็ ขอ้ มลู ความยนิ ยอมจากผปู้ ว่ ย/ครอบครวั ไวใ้ นเวชระเบยี นกอ่ นทจี่ ะใหบ้ รกิ าร หรอื ใหเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมต่อไปน้:ี (i) การทำ� ผา่ ตดั และหตั ถการรกุ ลำ�้ (invasive procedure) การระงบั ความรสู้ กึ และการทำ� ใหส้ งบในระดบั ปานกลาง/ระดับลกึ ; (ii) บริการทีม่ คี วามเสย่ี งสงู ทจี่ ะเกดิ เหตกุ ารณ์ไม่พึงประสงค์; มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบบั ท่ี 5 161
ตอนท่ี III กระบวนการดแู ลผู้ป่วย (iii) การเข้าร่วมในการวจิ ยั หรอื การทดลอง; (iv) การถา่ ยภาพหรอื กจิ กรรมประชาสมั พนั ธ์ ซงึ่ ในกรณนี ี้ การยนิ ยอมควรมกี ารระบรุ ะยะเวลาหรอื ขอบเขต ทใี่ หค้ วามยนิ ยอมไว.้ (5) องคก์ รจดั ทำ� และน�ำแนวทางการบง่ ชีผ้ ู้ป่วยอย่างถูกตอ้ งไปปฏิบตั ิในทกุ ขั้นตอนของกระบวนการดแู ลรักษา. 162 มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบับท่ี 5
ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย III-2 การประเมินผู้ปว่ ย (Patient Assessment) III-2 การประเมินผูป้ ว่ ย (Patient Assessment) ผู้ป่วยทุกรายได้รับการประเมินความต้องการ ปัญหาสุขภาพและความเสี่ยงที่จะได้รับอันตรายจากกระบวนการดูแลรักษา อย่างถูกตอ้ ง ครบถ้วน และเหมาะสม. ก. การประเมินผปู้ ่วย 2 ประสานงาน ประเมนิ ซำ�้ ใหก้ ารดแู ล (III-4) และรว่ มมอื แผนการดแู ล (III-3) 3 การประเมนิ แรกรบั 15 วเิ คราะห์ การประเมนิ ผปู้ ว่ ย ประวตั สิ ขุ ภาพ ประวตั กิ ารสบู บหุ ร่ี เชอื่ มโยง ระบคุ วามตอ้ งการ ตรวจรา่ งกาย การรบั รู้ ความชอบ การดแู ลทเ่ี รง่ ดว่ น/สำ� คญั โดยผมู้ คี ณุ วฒุ ิ จติ ใจสงั คม วฒั นธรรม เศรษฐกจิ วธิ เี หมาะสมกบั ผปู้ ว่ ยแตล่ ะราย สมรรถนะ ความเสยี่ ง สง่ิ แวดลอ้ มทป่ี ลอดภยั ทรพั ยากรเพยี งพอ ข. การส่งตรวจเพือ่ การวนิ ิจฉัยโรค 1/2 การวนิ จิ ฉยั โรค บนั ทกึ ถกู ตอ้ ง ขอ้ มลู สนบั สนนุ เพยี งพอ ใชแ้ นวทางปฏบิ ตั ทิ างคลนิ กิ 4 ทบทวน 4 ในเวลาทเ่ี หมาะสม 1 การตรวจทจ่ี ำ� เปน็ ความถกู ตอ้ ง สอดคลอ้ ง 6 อธบิ ายผลแกผ่ ปู้ ว่ ย บนั ทกึ ขอ้ มลู โดยองคก์ รหรอื สง่ ตอ่ 5 PSG: ลดขอ้ ผดิ พลาด 3 วนิ จิ ฉยั ภาวะตดิ นโิ คตนิ 2 ทบทวนความสอดคลอ้ ง ในการวนิ จิ ฉยั โรค ระหวา่ งผลกบั ผปู้ ว่ ย 3 การสอื่ สารและบนั ทกึ ค. การวินจิ ฉยั โรค 4 การตรวจเพม่ิ เตมิ ความต้องการและปญั หาสขุ ภาพท่ถี กู ต้อง มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบบั ที่ 5 163
ตอนท่ี III กระบวนการดูแลผูป้ ว่ ย III-2 การประเมินผูป้ ว่ ย (Patient Assessment) ผู้ป่วยทุกรายได้รับการประเมินความต้องการ ปัญหาสุขภาพและความเสี่ยงที่จะได้รับอันตรายจาก กระบวนการดแู ลรกั ษา อยา่ งถูกตอ้ ง ครบถว้ น และเหมาะสม. ก. การประเมินผู้ป่วย (Patient Assessment) (1) การประเมนิ ผูป้ ว่ ยมีการประสานงานและร่วมมอื ระหว่างผปู้ ระกอบวิชาชีพทเ่ี กยี่ วข้องในการประเมินผู้ป่วย: (i) ประเมนิ ผู้ป่วยครอบคลุมรอบดา้ นรว่ มกนั และลดความซ�้ำซ้อน; (ii) วิเคราะหแ์ ละเชอ่ื มโยงผลการประเมนิ ; (iii) ระบุปัญหาและความต้องการทเี่ ร่งด่วน/ส�ำคญั . (2) การประเมนิ แรกรับของผปู้ ่วยแต่ละรายประกอบดว้ ย: l ประวตั สิ ขุ ภาพ; l ประวัตกิ ารสบู บุหรี;่ l การตรวจรา่ งกาย; l การรับร้คู วามต้องการของตนโดยตัวผูป้ ่วยเอง; l ความชอบสว่ นบคุ คลของผู้ป่วย138; 138 ความชอบสว่ นบคุ คลของผปู้ ่วย (preferences of patients) เชน่ จะเรยี กขานตัวบุคคลว่าอย่างไร, ผลกระทบจากการเรยี กขาน ตวั เลือก ในการดูแลและวิธรี ักษาผ้ปู ่วย (their care and treatment options), เส้อื ผา้ และการดูแลตนเองทผ่ี ูป้ ว่ ยใชเ้ ป็นประจำ� อาหาร/เครอื่ งดมื่ และมอื้ อาหาร กจิ กรรม/ความสนใจ/ความเป็นสว่ นตัว/ผมู้ าเยอื น 164 มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบับท่ี 5
ตอนท่ี III กระบวนการดแู ลผู้ปว่ ย l การประเมนิ ปัจจัยดา้ นจิตใจ สงั คม วฒั นธรรม จิตวญิ ญาณ และเศรษฐกิจ; l การประเมนิ ความสามารถหรอื สมรรถนะในการประกอบชวี ิตประจ�ำวนั (functional assessment). l การประเมนิ เพอ่ื ระบผุ มู้ คี วามเสยี่ งสงู ทจี่ ะไดร้ บั อนั ตรายระหวา่ งกระบวนการดแู ลรกั ษา139มากกวา่ ผปู้ ว่ ย ทั่วไป เพอื่ วางแผนการดูแลที่เหมาะสม. (3) การประเมนิ ผปู้ ว่ ยดำ� เนนิ การโดยบคุ ลากรทม่ี คี ณุ วฒุ .ิ มกี ารใชว้ ธิ กี ารประเมนิ ทเ่ี หมาะสมกบั ผปู้ ว่ ยแตล่ ะราย ภายใตส้ งิ่ แวดลอ้ มทีป่ ลอดภัยและทรัพยากรท่ีเพียงพอ140. มีการใชแ้ นวทางปฏิบตั ทิ างคลนิ ิกที่เหมาะสมกบั ผปู้ ว่ ยและทรัพยากรทีม่ ีอยู่ในการประเมนิ ผปู้ ว่ ย (ถา้ มแี นวทางดงั กล่าวอย)ู่ . (4) ผปู้ ว่ ยไดร้ บั การประเมนิ ภายในเวลาทเี่ หมาะสมตามทอ่ี งคก์ รกำ� หนด. มกี ารบนั ทกึ ขอ้ มลู ของผปู้ ว่ ยทค่ี รบถว้ น ตามขอ้ กำ� หนดขององคก์ รในเวชระเบยี นผปู้ ว่ ยและพรอ้ มทจี่ ะใหผ้ เู้ กยี่ วขอ้ งในการดแู ลไดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากการ ประเมินนั้น. (5) ผปู้ ่วยทุกรายไดร้ บั การประเมนิ ซ�้ำตามช่วงเวลาที่เหมาะสม เพ่ือประเมินการตอบสนองตอ่ การดแู ลรกั ษา. 139 ครอบคลมุ การประเมินความเสีย่ งท่เี ก่ียวกับ การจัดการด้านยา การพลัดตกหกล้ม โอกาสในการตดิ เชื้อ โภชนาการ ผลจากภาวะเจ็บปว่ ยใน ระยะยาว เช่น แผลกดทับ และการดแู ลผู้ป่วยกลุ่มเปราะบาง เป็นต้น 140 ทรพั ยากรในการประเมนิ ผู้ป่วย แพทยค์ วรพิจารณาถงึ เทคโนโลยี บุคลากร เครอ่ื งมอื และอุปกรณท์ ใ่ี ช้เก็บข้อมูล มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบบั ท่ี 5 165
ตอนที่ III กระบวนการดูแลผปู้ ่วย ข. การส่งตรวจเพอ่ื การวนิ จิ ฉยั โรค (Diagnostic Investigation) (1) ผู้ปว่ ยได้รับการตรวจเพอ่ื การวนิ จิ ฉัยโรคทจ่ี �ำเป็นตามศักยภาพขององค์กร และไดร้ บั การสง่ ต่อไปตรวจทอ่ี ่นื ตามความเหมาะสม. (2) มีการทบทวนความสอดคลอ้ งระหว่างผลการตรวจเพ่อื การวินิจฉัยโรคกบั สภาวะโรคของผ้ปู ่วย. (3) ระบบสอ่ื สารและบนั ทกึ ผลการตรวจเพอ่ื การวนิ จิ ฉยั โรค มปี ระสทิ ธผิ ล ทำ� ใหม้ นั่ ใจวา่ แพทยไ์ ดร้ บั ผลการตรวจ ในเวลาทเี่ หมาะสม. ผลการตรวจสามารถสบื คน้ ไดง้ า่ ย ไมส่ ูญหาย และมีการรักษาความลบั อย่างเหมาะสม. (4) ทีมผู้ให้บริการพิจารณาการส่งตรวจเพ่ือวินิจฉัยเพ่ิมเติมเม่ือพบว่ามีความจ�ำเป็นเพ่ือการวินิจฉัยที่ถูกต้อง ชดั เจน โดยอธิบายเหตผุ ลความจ�ำเป็นกับผปู้ ่วย/ญาต.ิ ค. การวนิ ิจฉยั โรค (Diagnosis) (1) ผ้ปู ว่ ยได้รบั การวินจิ ฉัยโรคท่ีถูกตอ้ ง โดยมีขอ้ มลู ที่บันทึกเพียงพอท่ีสนับสนุนการวินจิ ฉัย. (2) มีการบันทึกการวินิจฉัยโรคภายในเวลาท่ีก�ำหนดไว้ และบันทึกการเปลี่ยนแปลงการวินิจฉัยโรคเมื่อมีข้อมูล เพิม่ เตมิ . (3) ผู้ป่วยทส่ี ูบบหุ รไี่ ด้รับการบันทึกการวินจิ ฉัยโรคภาวะตดิ นโิ คติน (nicotine dependence). (4) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารทบทวนความถกู ตอ้ งและครบถว้ นของการวนิ จิ ฉยั โรค และความสอดคลอ้ งของการวนิ จิ ฉยั โรค ของแต่ละวชิ าชพี ในทมี ผ้ใู ห้บรกิ ารอย่างสม่�ำเสมอ. 166 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับที่ 5
ตอนท่ี III กระบวนการดแู ลผู้ป่วย (5) องคก์ รกำ� หนดเรอ่ื งการลดขอ้ ผดิ พลาดในการวนิ ิจฉัยโรคเปน็ เป้าหมายความปลอดภัยของผ้ปู ่วย โดยมกี าร วิเคราะห์ข้อมูลอยา่ งเขม้ ข้น มกี ารปรับปรุงและตดิ ตามผลอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง. (6) ทีมผู้ให้บริการอธิบายผลการประเมิน ผลการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค และผลการวินิจฉัยโรคให้แก่ผู้ป่วย และครอบครัวดว้ ยภาษาท่ชี ดั เจนและเข้าใจง่าย. มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสขุ ภาพ ฉบับที่ 5 167
ตอนท่ี III กระบวนการดแู ลผู้ปว่ ย III-3 การวางแผน (Planning) III-3.1 การวางแผนการดแู ลผูป้ ว่ ย (Planning of Care) ทมี ผูใ้ ห้บรกิ ารจดั ท�ำแผนการดแู ลผปู้ ว่ ยทมี่ ีการประสานกันอย่างดีและมีเป้าหมายท่ชี ดั เจน สอดคลอ้ งกบั ปญั หา/ความต้องการ ดา้ นสขุ ภาพของผู้ปว่ ย และป้องกันเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์. ประเมนิ ผปู้ ว่ ย [III-2] 1 เชอื่ มโยงและประสานกนั 2 6 ระหวา่ งวชิ าชพี แผนก หนว่ ยบรกิ าร แผนการดแู ลผปู้ ว่ ย เปา้ หมาย บรกิ ารทจี่ ะให้ 3 วางแผนปอ้ งกนั AE ตอบสนองปญั หาครบถว้ น ใหก้ ารดแู ล จากการดแู ล [III-4.1] 4 หลกั ฐานวชิ าการ สอื่ สาร/ประสานงาน เฝา้ ตดิ ตาม หรอื แนวปฏบิ ตั ิ [III-4.1(8)] ระหวา่ งสมาชกิ ของทมี และ 5 ผปู้ ว่ ยและครอบครวั รว่ มตดั สนิ ใจ 7 หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง 8 ทบทวน ปรบั แผน ใหข้ อ้ มลู แกผ่ ปู้ ว่ ยและครอบครวั ประเมนิ ซำ�้ [III-1ค(2), III-5] [III-2ก(5)] 168 มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสุขภาพ ฉบับท่ี 5
ตอนท่ี III กระบวนการดแู ลผู้ปว่ ย III-3.2 การวางแผนจ�ำหนา่ ย (Discharge Planning) ทีมผู้ให้บริการวางแผนจ�ำหน่ายผู้ป่วย เพ่ือให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเอง และได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมกับสภาพปัญหา ความตอ้ งการหลงั จำ� หน่ายออกจากองคก์ ร. 1 2 3 ผปู้ ว่ ยสามารถดแู ล กำ� หนดแนวทาง ขอ้ บง่ ชี้ ประเมนิ ความจำ� เปน็ ผมู้ สี ว่ นรว่ ม ตนเอง ความตอ้ งการ และกลมุ่ เปา้ หมายสำ� คญั ในการวางแผนจำ� หนา่ ย ของผปู้ ว่ ยไดร้ บั การ แพทย์ พยาบาล สำ� หรบั การวางแผน ตง้ั แตร่ ะยะแรก วชิ าชพี ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ตอบสนอง จำ� หนา่ ย ของการดแู ล ผปู้ ว่ ย ครอบครวั แผนการ ดแู ลผปู้ ว่ ย ประเมนิ ความตอ้ งการ แผนจำ� หนา่ ย [III-3.1] 4 ทจ่ี ะเกดิ หลงั จำ� หนา่ ย ปฏบิ ตั ติ ามแผนจำ� หนา่ ย ประเมนิ ซำ�้ เปน็ ระยะ เชอ่ื มโยงกบั แผนการดแู ลผปู้ ว่ ย 5 ใชห้ ลกั การเสรมิ พลงั ประเมนิ และปรบั ปรงุ เสรมิ พลงั [III-3.5] กระบวนการวางแผนจำ� หนา่ ย 6 มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบับท่ี 5 169
ตอนท่ี III กระบวนการดแู ลผู้ปว่ ย III-3.1 การวางแผนการดแู ลผ้ปู ว่ ย (Planning of Care) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารจดั ทำ� แผนการดแู ลผปู้ ว่ ยทม่ี กี ารประสานกนั อยา่ งดแี ละมเี ปา้ หมายทชี่ ดั เจน สอดคลอ้ งกบั ปญั หา/ ความตอ้ งการดา้ นสขุ ภาพของผู้ปว่ ย และปอ้ งกันเหตุการณไ์ ม่พึงประสงค1์ 41. (1) การวางแผนดแู ลผปู้ ว่ ยเปน็ ไปอยา่ งเชอ่ื มโยงและประสานกนั ระหวา่ งวชิ าชพี แผนก และหนว่ ยบรกิ ารตา่ งๆ. (2) แผนการดูแลผู้ป่วยตอบสนองอย่างครบถ้วนต่อปัญหา/ความต้องการของผู้ป่วยท่ีได้จากการประเมินและ การตรวจวินิจฉยั 142. (3) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารวางแผนเพอ่ื ปอ้ งกนั เหตกุ ารณไ์ มพ่ งึ ประสงคจ์ ากการดแู ลรกั ษาในกลมุ่ ผปู้ ว่ ยทไี่ ดร้ บั การประเมนิ วา่ มคี วามเสยี่ งสูงท่จี ะได้รบั อันตรายเมื่อเทียบกบั ผู้ปว่ ยทัว่ ไป. (4) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารนำ� หลกั ฐานวชิ าการหรอื แนวทางปฏบิ ตั ิ ทเ่ี หมาะสมมาใชเ้ ปน็ แนวทางในการวางแผนการดแู ลผปู้ ว่ ย. (5) ผปู้ ว่ ยและครอบครัวมีโอกาสร่วมตดั สินใจเลือกวิธีการรกั ษา143 และมสี ่วนร่วมในการวางแผนการดูแล: 141 เหตกุ ารณไ์ มพ่ งึ ประสงค์ หมายถงึ เหตกุ ารณท์ ก่ี อ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ ผปู้ ว่ ยทเี่ กดิ จากกระบวนการดแู ลรกั ษา ครอบคลมุ ถงึ การเกดิ โรค ภาวะแทรกซอ้ น การบาดเจบ็ ความทกุ ขท์ รมาน ความพกิ าร และการเสยี ชวี ติ และอาจจะเปน็ อนั ตรายทางดา้ นสงั คม หรอื จติ ใจ ซงึ่ มงุ่ เนน้ ในเหตกุ ารณท์ สี่ ามารถ ปอ้ งกนั ไดเ้ ชงิ ระบบ (preventable harms) 142 รวมถงึ วางแผนการเลกิ บหุ รี่ โดยวธิ กี ารตา่ งๆ เชน่ การใหค้ วามรู้ การเขา้ รว่ มโครงการเลกิ บหุ รี่ หรอื การพจิ ารณาการใชย้ าเลกิ บหุ รตี่ ามความเหมาะสม 143 รว่ มตดั สินใจเลอื กวธิ กี ารรักษา หมายถึง ผูป้ ่วยและญาตริ ว่ มแลกเปลย่ี นและรบั รู้ข้อมูลท้งั วิธีการ ประโยชนแ์ ละความเส่ียงที่จะเกิดขน้ึ จาก วธิ ีการรกั ษากับทมี ผู้ให้บริการ โดยข้อมูลต่างๆ ควรมคี วามพร้อมในหลายภาษาและรปู แบบเพือ่ ความเข้าใจและเกิดประโยชนใ์ นการรับรแู้ ละ รว่ มตดั สินใจเลือกวิธีการรกั ษา 170 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสขุ ภาพ ฉบับที่ 5
ตอนท่ี III กระบวนการดแู ลผูป้ ่วย (i) วธิ ีการ/ทางเลอื กในการดแู ลและรกั ษา144หลังจากไดร้ ับขอ้ มลู ที่เพยี งพอ (ii) การพจิ ารณาความเชือ่ และความชอบส่วนบุคคล (iii) การมสี ว่ นรว่ มในการเฝา้ ระวงั และป้องกนั เหตกุ ารณ์ไมพ่ งึ ประสงคท์ ี่มโี อกาสเกิดกบั ผู้ป่วย (6) แผนการดแู ลผปู้ ว่ ยมกี ารระบเุ ปา้ หมายทตี่ อ้ งการบรรลุ ซง่ึ ครอบคลมุ ทง้ั ในระยะสน้ั และระยะยาว และบรกิ าร ทีจ่ ะให.้ (7) ทีมผู้ให้บริการส่ือสาร/ประสานงานระหว่างสมาชิกของทีมและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องอย่างได้ผล เพ่ือให้มี การนำ� แผนการดแู ลผปู้ ว่ ยไปสกู่ ารปฏบิ ตั ไิ ดใ้ นเวลาทเ่ี หมาะสม. สมาชกิ ของทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารมคี วามเขา้ ใจบทบาท ของผูเ้ กี่ยวขอ้ งอ่นื ๆ. (8) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารทบทวนและปรบั แผนการดแู ลผปู้ ว่ ยเมอื่ มขี อ้ บง่ ชจ้ี ากสภาวะหรอื อาการของผปู้ ว่ ยทเ่ี ปลยี่ นไป. 144 ทางเลือกการรักษาครอบคลุมท้ังรูปแบบ/วิธีการรักษาเพ่ือการดูแลรักษาและการดูแลในระยะสุดท้ายของชีวิตตามความต้องการของผู้ป่วย และญาติ มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสขุ ภาพ ฉบบั ท่ี 5 171
ตอนที่ III กระบวนการดแู ลผู้ป่วย III-3.2 การวางแผนจำ� หนา่ ย (Discharge Planning) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ าร วางแผนจำ� หนา่ ยผปู้ ว่ ย เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ว่ ยสามารถดแู ลตนเอง และไดร้ บั การดแู ลอยา่ งเหมาะสม กบั สภาพปัญหา ความตอ้ งการ หลงั จ�ำหนา่ ยออกจากองค์กร. (1) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารกำ� หนดแนวทาง ขอ้ บ่งช้ี และโรคทเ่ี ปน็ กลมุ่ เป้าหมายสำ� คญั สำ� หรับการวางแผนจำ� หนา่ ย. (2) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารพจิ ารณาความจำ� เปน็ ในการวางแผนจำ� หนา่ ยสำ� หรบั ผปู้ ว่ ยแตล่ ะราย ตงั้ แตร่ ะยะแรกของการ ดแู ลรักษา. (3) แพทย์ พยาบาล และวชิ าชพี ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง รวมทงั้ ผูป้ ่วยและครอบครัว มสี ่วนรว่ มในการวางแผนจ�ำหน่าย145. (4) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารประเมนิ และระบปุ ญั หา/ความตอ้ งการของผปู้ ว่ ยทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ หลงั จำ� หนา่ ย และประเมนิ ซำ�้ เปน็ ระยะในช่วงทผี่ ปู้ ว่ ยไดร้ บั การดูแลอยใู่ นโรงพยาบาล. (5) ทีมผใู้ หบ้ รกิ ารปฏิบัตติ ามแผนจำ� หน่ายในลักษณะท่เี ช่อื มโยงกบั แผนการดูแลระหวา่ งอย่ใู นโรงพยาบาล ตาม หลกั การเสรมิ พลงั เพอื่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยและครอบครวั มศี กั ยภาพและความมนั่ ใจในการจดั การดแู ลสขุ ภาพของตนเอง. (6) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ กระบวนการวางแผนจำ� หนา่ ย โดยใชข้ อ้ มลู จากการตดิ ตามผปู้ ว่ ยและ ขอ้ มลู สะท้อนกลบั จากหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง. 145 รวมท้งั ส่งเสริมการมีส่วนร่วมวางแผนจ�ำหน่ายของทีมดแู ลต่อเน่ืองท่ีบา้ น. มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสขุ ภาพ ฉบับท่ี 5 172
ตอนท่ี III กระบวนการดูแลผ้ปู ว่ ย III-4 การดูแลผปู้ ว่ ย (Patient Care Delivery) III-4.1 การดูแลท่วั ไป (General Care Delivery) ทีมผ้ใู หบ้ รกิ ารสรา้ งความม่นั ใจวา่ จะใหก้ ารดูแลอยา่ งทันท่วงที ปลอดภยั เหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชพี . 3 ตระหนกั ถงึ โอกาสเกดิ 4 จดั การภาวะแทรกซอ้ น เหตกุ ารณไ์ มพ่ งึ ประสงค์ ภาวะวกิ ฤติ ภาวะฉกุ เฉนิ สงิ่ แวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื อยา่ งเหมาะสมและปลอดภยั 2 คำ� นงึ ถงึ ศกั ดศิ์ รแี ละความเปน็ สว่ นตวั 1 การดแู ลผปู้ ว่ ย 8 การดแู ล สะดวกสบาย สะอาด ปอ้ งกนั อนั ตราย/ ตดิ ตาม อยา่ งทนั ทว่ งที ความเครยี ด/เสยี ง/สงิ่ รบกวนตา่ งๆ เหมาะสม ปลอดภยั ทนั เวลา ความกา้ วหนา้ ปลอดภยั 6 การสอื่ สาร/ประสานงานในทมี มอบหมายความรบั ผดิ ชอบใหผ้ มู้ คี ณุ สมบตั ิ เหมาะสม เหมาะสม ใชห้ ลกั ปฏบิ ตั ซิ งึ่ เปน็ ทยี่ อมรบั เพอ่ื การดแู ลอยา่ งสอดคลอ้ งและตอ่ เนอ่ื ง ตอบสนองดา้ นจติ วญิ ญาณ 5 ครอบครวั มสี ว่ นรว่ ม การเขา้ ถงึ อำ� นวยความสะดวก 7 ตอบสนองความตอ้ งการ วฒั นธรรม ความคาดหวงั ของครอบครวั ครอบคลมุ รา่ งกาย จติ ใจ สงั คม จติ วญิ ญาณ ความเชอื่ จติ วญิ ญาณ มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบับที่ 5 ปรบั แผนการดแู ลผปู้ ว่ ยและเปา้ หมายการรกั ษา [III-3.1(2)(6)] 173
ตอนที่ III กระบวนการดแู ลผูป้ ่วย III-4.2 การดูแลผู้ปว่ ยและการใหบ้ รกิ ารท่ีมคี วามเส่ียงสูง (High-Risk Patients and High-Risk Services) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารสรา้ งความมน่ั ใจวา่ จะใหก้ ารดแู ลผปู้ ว่ ยทม่ี คี วามเสย่ี งสงู การใหบ้ รกิ ารและหตั ถการทมี่ คี วามเสยี่ งสงู ไดอ้ ยา่ งทนั ทว่ งที ปลอดภัย เหมาะสม ตามมาตรฐานวชิ าชพี . 1 กำ� หนดกลมุ่ ผปู้ ว่ ย บรกิ าร จดั ทำ� แนวทางเพอื่ 2 ฝกึ อบรม ใชด้ แู ลผปู้ ว่ ย หตั ถการ ทมี่ คี วามเสย่ี งสงู ลดความเสย่ี ง สงิ่ แวดลอ้ มในการใหบ้ รกิ าร 4 เฝา้ ระวงั แกไ้ ข ผปู้ ว่ ยทเ่ี สยี่ งสงู หรอื ทำ� หตั ถการ ปรบั แผนการรกั ษา ไดร้ บั การดแู ล 3 อยา่ งทนั ทว่ งที สถานทเี่ หมาะสม เครอื่ งมอื พรอ้ ม ปลอดภยั เหมาะสม มผี ชู้ ว่ ยทจ่ี ำ� เปน็ พรอ้ ม 5 RRT มาชว่ ยอยา่ งทนั ทว่ งที เมอื่ ผปู้ ว่ ยมอี าการทรดุ ลงหรอื เขา้ สภู่ าวะวกิ ฤติ ประเมนิ ดแู ลใหอ้ าการคงท่ี สอ่ื สาร ใหค้ วามรู้ ยา้ ยผปู้ ว่ ย 6 ปรบั ปรงุ ตดิ ตามและวเิ คราะห์ กระบวนการดแู ล แนวโนม้ ของ ภาวะแทรกซอ้ นหรอื AE 174 มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสุขภาพ ฉบบั ที่ 5
ตอนที่ III กระบวนการดแู ลผ้ปู ว่ ย III-4.3 การดแู ลเฉพาะ (Specific Care) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารสรา้ งความมนั่ ใจวา่ จะใหก้ ารดแู ลในบรกิ ารเฉพาะทสี่ ำ� คญั อยา่ งทนั ทว่ งที ปลอดภยั และเหมาะสม ตามมาตรฐานวชิ าชพี . 1 เตรยี มความพรอ้ มการระงบั ความรสู้ กึ ทปี่ ลอดภยั เหมาะสม ก. การระงบั ความรู้สึก 6 จำ� หนา่ ยจากบรเิ วณรอฟน้ื และพรอ้ มแกภ้ าวะฉกุ เฉนิ ตามเกณฑท์ กี่ ำ� หนด 2 ประเมนิ ผปู้ ว่ ยกอ่ นระงบั ความรสู้ กึ 4 กระบวนการระงบั ความรสู้ กึ สง่ ตอ่ ขอ้ มลู ใหท้ มี ผดู้ แู ลหลงั ผา่ ตดั คน้ หาความเสยี่ ง วางแผน ปรกึ ษาผเู้ ชย่ี วชาญ ราบรน่ื ปลอดภยั ตามมาตรฐานวชิ าชพี โดยผมู้ คี ณุ วฒุ ิ 3 เตรยี มผปู้ ว่ ย/ครอบครวั ไดร้ บั ขอ้ มลู รว่ มเลอื ก เตรยี มรา่ งกายและจติ ใจ ตดิ ตามและบนั ทกึ ขอ้ มลู 5 ระหวา่ งระงบั ความรสู้ กึ และรอฟน้ื 1 แผนการดแู ลผปู้ ว่ ยผา่ ตดั 4 ปอ้ งกนั การผา่ ตดั ผดิ ข. การผา่ ตัด บนั ทกึ การวนิ จิ ฉยั โรคกอ่ นผา่ ตดั และแผนการผา่ ตดั ผดิ คน ผดิ ขา้ ง ผดิ ตำ� แหนง่ ผดิ หตั ถการ ประเมนิ ความเสย่ี งและประสานผเู้ กย่ี วขอ้ ง 7 การดแู ลหลงั ผา่ ตดั 2 สอ่ื สารกบั ผปู้ ว่ ย/ครอบครวั 5 ผา่ ตดั ภายใตส้ ภาวะทพี่ รอ้ ม ตดิ ตาม ดแู ล เหมาะสมกบั ความจำ� เปน็ ของการผา่ ตดั ทางเลอื ก ประสทิ ธภิ าพ ปลอดภยั สภาวะของผปู้ ว่ ย/หตั ถการ โอกาสใชเ้ ลอื ด ภาวะแทรกซอ้ นทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ 6 บนั ทกึ การผา่ ตดั 3 การเตรยี มพรอ้ มกอ่ นผา่ ตดั ในเวลาทเ่ี หมาะสม รา่ งกาย จติ ใจ ลดความเสย่ี งจากการผา่ ตดั /ตดิ เชอ้ื เพอ่ื การสอ่ื สารและความตอ่ เนอ่ื ง มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบบั ท่ี 5 175
ตอนท่ี III กระบวนการดูแลผูป้ ว่ ย III-4.3 การดูแลเฉพาะ (Specific Care) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารสรา้ งความมน่ั ใจวา่ จะใหก้ ารดแู ลในบรกิ ารเฉพาะทสี่ ำ� คญั อยา่ งทนั ทว่ งที ปลอดภยั และเหมาะสม ตามมาตรฐานวชิ าชพี . ค. อาหารและโภชนบำ� บดั 1 อาหารทเี่ หมาะสม 3 ใหค้ วามรดู้ า้ นอาหาร โภชนาการ โภชนบำ� บดั คณุ คา่ ทางโภชนาการเพยี งพอ ระบบบรกิ ารอาหารทด่ี ี เพอ่ื การปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม การเตรยี มและบรโิ ภคอาหาร วเิ คราะหแ์ ละปอ้ งกนั ความเสย่ี ง การผลติ อาหาร จดั เกบ็ สง่ มอบ จดั การกบั ภาชนะ/ 2 ผปู้ ว่ ยทม่ี ปี ญั หาดา้ นโภชนาการ 4 อปุ กรณ/์ ของเสยี /เศษอาหาร ปลอดภยั หลกั ปฏบิ ตั ทิ ยี่ อมรบั ลดความเสย่ี ง ประเมนิ ภาวะโภชนาการ วางแผนโภชนบำ� บดั ดแู ลตามแผน 1 ตระหนกั ในความตอ้ งการทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะ ง. การดูแลผูป้ ว่ ยระยะประคบั ประคอง 2 ประเมนิ /ประเมนิ ซำ้� 4 ประสานเพอ่ื การดแู ลตอ่ เนอื่ ง อาการ การตอบสนองตอ่ การบำ� บดั ระหวา่ งสมาชกิ ทมี กบั การดแู ลทบี่ า้ น/ชมุ ชน ความตอ้ งการดา้ นจติ ใจ/สงั คม/จติ วญิ ญาณ 5 จดั ทำ� /สอ่ื สาร แผนดแู ลลว่ งหนา้ 3 แผนการดแู ล และหนงั สอื แสดงเจตนาเกยี่ วกบั 6 การดแู ลในชว่ งใกลเ้ สยี ชวี ติ 7 ระบบดแู ลผดู้ แู ลผปู้ ว่ ย การรกั ษาพยาบาล ในวาระสดุ ทา้ ยของชวี ติ บรรเทาอาการ ตอบสนองความตอ้ งการ ดา้ นจติ ใจ/สงั คม/จติ วญิ ญาณ ผปู้ ว่ ย/ครอบครวั มสี ว่ นรว่ มตดั สนิ ใจ 176 มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสุขภาพ ฉบับที่ 5
ตอนท่ี III กระบวนการดูแลผู้ป่วย III-4.3 การดแู ลเฉพาะ (Specific Care) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารสรา้ งความมนั่ ใจวา่ จะใหก้ ารดแู ลในบรกิ ารเฉพาะทส่ี ำ� คญั อยา่ งทนั ทว่ งที ปลอดภยั และเหมาะสม ตามมาตรฐานวชิ าชพี . จ. การจัดการความปวด ฉ. การฟ้นื ฟสู ภาพและสมรรถภาพ 1 การคดั กรองและประเมนิ ความปวด ประเมนิ วางแผนฟน้ื ฟทู ค่ี รบองคร์ วม ความรนุ แรงและลกั ษณะของความปวด 1 ประเมนิ ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม จติ วญิ ญาณ การจดั การความปวด องคร์ วม: รา่ งกาย กจิ กรรม สง่ิ แวดลอ้ ม ปจั จยั สว่ นบคุ คล 2 multi-modalities, เฝา้ ระวงั การตอบสนองและ AE, บรกิ ารฟน้ื ฟสู ภาพและสมรรถภาพ ประเมนิ ซำ้� และปรบั การรกั ษา 2 มคี ณุ ภาพ/ปลอดภยั ตามปญั หาของผปู้ ว่ ย/หลกั ฐานวชิ าการ ใหข้ อ้ มลู แกผ่ ปู้ ว่ ยและครอบครวั วดั ผลลพั ธด์ ว้ ยเครอ่ื งมอื มาตรฐาน โอกาสเกดิ ความปวด ทางเลอื ก ผลขา้ งเคยี งและขอ้ พงึ ระวงั ความรว่ มมอื ทคี่ าดหวงั 3 3 สอ่ื สารกบั ผปู้ ว่ ยและครอบครวั 4 ดแู ลโดยบคุ ลากรทม่ี คี วามรคู้ วามชำ� นาญ ใหข้ อ้ มลู เพยี งพอเพอ่ื การตดั สนิ ใจ ทกั ษะเพอื่ การดแู ลตนเอง 5 ใหค้ วามรแู้ ละสนบั สนนุ ผปู้ ว่ ยและผดู้ แู ล 4 ใหบ้ รกิ ารโดยบคุ ลากรทม่ี คี วามร/ู้ ทกั ษะ/ความเชย่ี วชาญ ตามมาตรฐาน/กฎระเบยี บ/ขอ้ บงั คบั ช. การดูแลผู้ปว่ ยโรคไตเรื้อรัง 1 เปน็ ไปตามแนวทางปฏบิ ตั ทิ ไี่ ดม้ าตรฐาน ในบรบิ ทและทรพั ยากรของโรงพยาบาล บรกิ ารฟอกเลอื ดดว้ ยเครอื่ งไตเทยี ม ไดร้ บั การรบั รองจากคณะอนกุ รรมการตรวจรบั รองมาตรฐานการรกั ษา 2 โดยการฟอกเลอื ดดว้ ยเครอ่ื งไตเทยี ม (ตรต.) กำ� กบั ดแู ลกรณดี ำ� เนนิ การโดยบรษิ ทั ภายนอก monitor & supervise if outsourced มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบับท่ี 5 177
ตอนท่ี III กระบวนการดแู ลผูป้ ว่ ย III-4.3 การดแู ลเฉพาะ (Specific Care) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารสรา้ งความมน่ั ใจวา่ จะใหก้ ารดแู ลในบรกิ ารเฉพาะทส่ี ำ� คญั อยา่ งทนั ทว่ งที ปลอดภยั และเหมาะสม ตามมาตรฐานวชิ าชพี . 2 กลไกกำ� กบั ดแู ลมาตรฐาน ความปลอดภยั ซ. การแพทย์แผนไทย องคค์ วามรดู้ า้ นแพทยแ์ ผนไทย ผใู้ หบ้ รกิ ารทเี่ หมาะสม 1 ประเมนิ และวางแผนดแู ล 3 การใหบ้ รกิ ารแพทยแ์ ผนไทย 6 สอื่ สารและสรา้ งสมั พนั ธภาพ เพอ่ื การดแู ลตอ่ เนอ่ื ง เปน็ องคร์ วม คน้ หาและเฝา้ ระวงั ความเสย่ี ง ซกั ประวตั ิ ตรวจรา่ งกาย วนิ จิ ฉยั โรค วางแผน ใหบ้ รกิ าร ใหค้ ำ� แนะนำ� ทอ่ี าจเกดิ สง่ ตอ่ เหมาะสม กบั ผปู้ ว่ ย/ผรู้ บั ผลงาน สหสาขาวชิ าชพี 4 ตดิ ตาม บนั ทกึ ขอ้ มลู เตรยี มพรอ้ มแกไ้ ข 5 กำ� กบั ดแู ลใหถ้ กู ตอ้ ง ปลอดภยั เหมาะสม ภาวะฉกุ เฉนิ จำ� หนา่ ยตามเกณฑ์ การทำ� หตั ถการ การใชเ้ ครอื่ งมอื ยาจากสมนุ ไพร วางระบบบรกิ าร 2 ประเมนิ คดั กรอง 7 กรณเี สย่ี งตอ่ การเกดิ เหตกุ ารณ์ ฌ. การแพทย์ทางไกล การแพทยท์ างไกล 6 สรา้ งความมน่ั ใจวา่ 1 ใหข้ อ้ มลู ไมพ่ งึ ประสงค์ แนวปฏบิ ตั ิ กลมุ่ ผปู้ ว่ ย/โรค ผปู้ ว่ ยไดร้ บั การดแู ลรกั ษา สนบั สนนุ ทรพั ยากร ประเมนิ ความเหมาะสม ใหข้ อ้ มลู ใหค้ ำ� แนะนำ� หรอื สง่ ตอ่ ตามแผน ใหข้ อ้ มลู วธิ กี าร/ขอ้ จำ� กดั 4 เขา้ ถงึ ขอ้ มลู ในเวชระเบยี น ใหบ้ รกิ ารการแพทยท์ างไกล สะดวก ทนั กาล ผปู้ ว่ ยยนิ ยอม ประเมนิ วนิ จิ ฉยั วางแผน ดแู ลรกั ษา 5 สอดคลอ้ งกบั คำ� แนะนำ� ขององคก์ รวชิ าชพี 3 บนั ทกึ ในเวชระเบยี น และขอ้ กำ� หนดของกฎหมาย เพอ่ื การสอ่ื สาร การดแู ลตอ่ เนอ่ื ง 178 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสขุ ภาพ ฉบบั ที่ 5
ตอนท่ี III กระบวนการดแู ลผู้ป่วย III-4.3 การดแู ลเฉพาะ (Specific Care) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารสรา้ งความมนั่ ใจวา่ จะใหก้ ารดแู ลในบรกิ ารเฉพาะทสี่ ำ� คญั อยา่ งทนั ทว่ งที ปลอดภยั และเหมาะสม ตามมาตรฐานวชิ าชพี . ญ. การดแู ลสุขภาพของผู้ป่วยที่บา้ น คดั กรองและประเมนิ 2 ประเมนิ ความพรอ้ ม 7 กรณเี สยี่ งตอ่ การเกดิ เหตกุ ารณ์ ความจำ� เปน็ และ สงิ่ แวดลอ้ ม ไมพ่ งึ ประสงค์ 1 ความเหมาะสม การดแู ลประจำ� วนั ทจี่ ำ� เปน็ ความพรอ้ มดา้ นอน่ื ๆ ใหข้ อ้ มลู ชอ่ งทางการตดิ ตอ่ ในการดแู ลทบี่ า้ น ตอบสนองอยา่ งเหมาะสม แนะนำ� หรอื สง่ ตอ่ 4 การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ในเวชระเบยี น 3 ไดร้ บั การดแู ลทบ่ี า้ น 6 ตดิ ตามใหม้ นั่ ใจวา่ อยา่ งครอบคลมุ ผปู้ ว่ ยไดร้ บั การดแู ล งา่ ย สะดวก ทนั เวลา รกั ษาตามแผน ตอบสนองความตอ้ งการ ทางสขุ ภาพ สอดคลอ้ งกบั คำ� แนะนำ� ขององคก์ รวชิ าชพี 8 องคป์ ระกอบของทมี 5 บนั ทกึ ขอ้ มลู สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและแผนการดแู ล เพอื่ การสอ่ื สาร การดแู ลตอ่ เนอ่ื ง มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบบั ท่ี 5 179
ตอนท่ี III กระบวนการดูแลผปู้ ว่ ย III-4.1 การดูแลทั่วไป (General Care Delivery) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารสรา้ งความมน่ั ใจวา่ จะใหก้ ารดแู ลอยา่ งทนั ทว่ งที ปลอดภยั เหมาะสม ตามมาตรฐานวชิ าชพี . (1) การดแู ลผู้ป่วยเปน็ ไปอยา่ งเหมาะสม ปลอดภยั ทันเวลา โดยมอบหมายความรับผิดชอบในการดูแลผู้ปว่ ย ให้แกผ่ ้ทู มี่ ีคุณสมบตั เิ หมาะสม. การดแู ลในทกุ จดุ บริการเป็นไปตามหลกั ปฏิบตั ซิ งึ่ เปน็ ทย่ี อมรับในปัจจบุ นั . (2) องคก์ รมสี ง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ตอ่ การดแู ลทมี่ คี ณุ ภาพ โดยคำ� นงึ ถงึ ศกั ดศิ์ รแี ละความเปน็ สว่ นตวั ของผปู้ ว่ ย ความ สะดวกสบายและความสะอาด การปอ้ งกันอันตราย/ความเครียด/เสียง/สง่ิ รบกวนตา่ งๆ. (3) ทีมผู้ให้บริการดูแลผู้ป่วยด้วยความตระหนักและค�ำนึงถึงโอกาสเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์กับผู้ป่วย/ ผ้รู ับผลงาน และผูใ้ หบ้ ริการ. (4) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารจดั การกบั ภาวะแทรกซอ้ น ภาวะวกิ ฤติ ภาวะฉกุ เฉนิ หรอื เหตกุ ารณไ์ มพ่ งึ ประสงค์ อยา่ งเหมาะ สมและปลอดภัย. (5) ทีมผใู้ หบ้ ริการประเมินความคาดหวังของครอบครวั ในการมีสว่ นรว่ มกับการดแู ลผปู้ ่วย ที่ครอบคลมุ ท้ังด้าน ร่างกาย จติ ใจ สังคม และจติ วญิ ญาณ. (6) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารสอ่ื สารแลกเปลย่ี นขอ้ มลู และประสานการดแู ลผปู้ ว่ ยภายในทมี เพอ่ื ความสอดคลอ้ งและความ ตอ่ เนือ่ งในการดแู ล. (7) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารจดั ชอ่ งทางการเขา้ ถงึ อำ� นวยความสะดวก และจดั บรกิ ารเฉพาะเพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการ ด้านสุขภาพ บริบทเชิงวฒั นธรรม ความเช่ือ และความตอ้ งการด้านจิตวิญญาณของผปู้ ว่ ย. (8) ทีมผู้ใหบ้ รกิ ารตดิ ตามความกา้ วหนา้ และการปรบั เปลีย่ นเปา้ หมายหรอื ผลลพั ธท์ ่ีคาดหวงั . 180 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบบั ที่ 5
ตอนท่ี III กระบวนการดูแลผู้ป่วย III-4.2 การดแู ลผปู้ ว่ ยและการใหบ้ รกิ ารทม่ี คี วามเสย่ี งสงู (High-Risk Patients and High-Risk Services) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารสรา้ งความมน่ั ใจวา่ จะใหก้ ารดแู ลผปู้ ว่ ยทมี่ คี วามเสย่ี งสงู การใหบ้ รกิ ารและหตั ถการทม่ี คี วาม เสยี่ งสงู ไดอ้ ยา่ งทนั ทว่ งที ปลอดภัย เหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชพี . (1) ทมี ผ้ใู ห้บรกิ ารกำ� หนดกลมุ่ ผปู้ ว่ ย146 การดแู ลรกั ษา/บรกิ าร147 และหตั ถการ148 ทม่ี คี วามเสีย่ งสงู เพื่อร่วมกนั จดั ท�ำแนวทางหรอื กระบวนการดแู ลเพ่ือลดความเสยี่ งดงั กลา่ ว149. 146 กลมุ่ ผู้ปว่ ยทมี่ ีความเสีย่ งสงู เช่น เดก็ อายุน้อย (0-5 ป)ี ผู้สูงอายุ ผ้ปู ่วยฉุกเฉินทส่ี ับสนหรือไมร่ ูส้ กึ ตัว ผูป้ ว่ ยท่ีไดร้ บั บาดเจบ็ หลายอวัยวะ ผู้ปว่ ยท่มี ีภมู คิ ุม้ กันบกพร่อง 147 การดแู ล/บรกิ ารทมี่ คี วามเสย่ี งสงู เชน่ บรกิ ารทต่ี อ้ งใชเ้ ครอื่ งมอื ทซี่ บั ซอ้ นเพอ่ื รกั ษาภาวะทคี่ กุ คามตอ่ ชวี ติ ธรรมชาตขิ องการรกั ษาทมี่ คี วามเสย่ี ง หรือบริการทม่ี โี อกาสเกดิ อนั ตรายต่อผปู้ ว่ ย เชน่ การฟอกเลอื ด การชว่ ยฟนื้ คืนชีพ การใชเ้ ครอ่ื งผกู ยดึ การใหย้ าเพอ่ื ใหห้ ลบั ลึก (moderate and deep sedation) หรือทีมผ้ดู ูแลทห่ี ลากหลายและประสบการณ์ตา่ งกัน เชน่ การร่วมดูแลโดยบุคลากรทางการแพทยห์ ลายคน หรือการ ดแู ลผู้ป่วยของนกั ศึกษาแพทย/์ นกั ศึกษาสายวิชาชพี ทางด้านสาธารณสุข เป็นตน้ รวมถึง การใชเ้ ลอื ดและสว่ นประกอบของเลือด การใชร้ งั สี ชนดิ กอ่ ไอออน ไอโซโทปกมั มนั ตรงั สี และเวชศาสตรน์ วิ เคลยี ร์ การใชย้ าทเี่ ปน็ พษิ ตอ่ เซลล์ (cytotoxic drugs) และการใชย้ าทคี่ วบคมุ การวจิ ยั และการทดลองทางคลนิ ิก เคร่ืองมือหรืออปุ กรณจ์ ไ้ี ฟฟ้า การใช้เลเซอร์ และการดแู ล/บรกิ ารในภาวะฉกุ เฉิน 148 หตั ถการทมี่ คี วามเสย่ี งสงู หมายถงึ หตั ถการทม่ี คี วามซบั ซอ้ นมอี งคป์ ระกอบและรปู แบบทมี่ คี วามเฉพาะ หรอื การผา่ ตดั และหตั ถการทมี่ กี ารรกุ ลำ�้ (surgical and invasive procedures) ทกุ ชนดิ ทีต่ อ้ งทำ� ในภาวะเรง่ รบี หรอื ภาวะฉุกเฉนิ 149 การลดความเส่ียง ครอบคลมุ ถงึ การส่งตอ่ ผ้ปู ว่ ยหรอื การงดท�ำหตั ถการทมี่ คี วามเสี่ยงสงู กรณที สี่ ถานพยาบาลไมม่ ีความพรอ้ ม มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสุขภาพ ฉบับท่ี 5 181
ตอนท่ี III กระบวนการดูแลผปู้ ว่ ย (2) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารไดร้ บั การฝกึ อบรม ฝกึ ปฏบิ ตั ิ และนำ� แนวทางการดแู ลผปู้ ว่ ยในสถานการณท์ มี่ คี วามเสยี่ งสงู 150 มาใชใ้ นการดูแลผปู้ ว่ ย. (3) การใหบ้ ริการหรอื ทำ� หตั ถการทม่ี คี วามเสย่ี งสูง ตอ้ งท�ำในสถานท่ที เี่ หมาะสม มีความพร้อมท้ังด้านเครือ่ งมือ และผชู้ ว่ ยท่จี ำ� เปน็ . (4) ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง หรือผู้ป่วยท่ีได้รับบริการหรือท�ำหัตถการที่มีความเสี่ยงสูงได้รับการเฝ้าระวังการ เปลยี่ นแปลงอยา่ งเหมาะสมกบั ความรนุ แรงของการเจบ็ ปว่ ย151 และดำ� เนนิ การแกไ้ ขหรอื ปรบั เปลยี่ นแผนการ รกั ษาไดท้ นั ท่วงท.ี (5) เมอื่ ผปู้ ว่ ยมอี าการทรดุ ลงหรอื เปลย่ี นแปลงเขา้ สภู่ าวะวกิ ฤติ มคี วามชว่ ยเหลอื จากผเู้ ชยี่ วชาญกวา่ 152 มาชว่ ย ทีมผ้ใู ห้บรกิ ารอยา่ งทนั ท่วงทใี นการประเมนิ และดแู ลผปู้ ว่ ยใหม้ อี าการคงที่ มีการสอ่ื สาร การใหค้ วามรู้ และ การยา้ ยผู้ป่วยถา้ จ�ำเป็น. (6) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารตดิ ตามและวเิ คราะหแ์ นวโนม้ ของภาวะแทรกซอ้ นหรอื เหตกุ ารณไ์ มพ่ งึ ประสงคใ์ นผปู้ ว่ ยเหลา่ น้ี เพือ่ น�ำมาปรบั ปรุงกระบวนการดูแลผปู้ ว่ ยใหเ้ กิดความปลอดภัย. 150 สถานการณท์ มี่ คี วามเสี่ยงสงู เช่น การดแู ลผ้ปู ่วยฉุกเฉนิ ภาวะฉกุ เฉนิ ตา่ งๆ และสถานการณ์โรคระบาด เปน็ ต้น 151 เครื่องมือที่ใช้ในการเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลง เช่น กราฟบันทึกสัญญาณชีพท่ีมีแถบสีแสดงถึงระดับสัญญาณชีพที่ต้องมีการทบทวน (แถบสเี หลอื ง) หรอื มกี ารตอบสนองอยา่ งรวดเรว็ (แถบสแี ดง) ดตู วั อยา่ ง SAGO (Standard Adult General Observation) chart ของออสเตรเลยี 152 อาจเรยี กระบบนวี้ า่ Rapid Response System ซงึ่ องคป์ ระกอบสำ� คญั ไดแ้ ก่ Rapid Response Team (RRT) หรอื Medical Emergency Team ซงึ่ จะนำ� ความเชย่ี วชาญในการดแู ลผปู้ ว่ ยวกิ ฤตขิ องตนไปทขี่ า้ งเตยี งผปู้ ว่ ยทนั ทที เี่ จา้ หนา้ ทซ่ี งึ่ รบั ผดิ ชอบผปู้ ว่ ยรอ้ งขอความชว่ ยเหลอื 182 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบบั ที่ 5
ตอนท่ี III กระบวนการดแู ลผปู้ ว่ ย III-4.3 การดแู ลเฉพาะ (Specific Care) ทมี ผ้ใู หบ้ ริการสร้างความมั่นใจวา่ จะใหก้ ารดแู ลในบริการเฉพาะทีส่ ำ� คัญ อยา่ งทนั ทว่ งที ปลอดภัย และ เหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชพี . ก. การระงับความร้สู กึ (Anesthesia Care) (1) ทีมผู้ให้บริการเตรียมความพร้อมการระงับความรู้สึกให้ปลอดภัย และเหมาะสม โดยมีแนวทางท่ีชัดเจน มกี ารเตรยี มความพรอ้ มเพ่อื แกไ้ ขภาวะฉุกเฉินขณะการระงบั ความร้สู ึก153และระหวา่ งรอฟื้น มกี ารซอ้ มรับ ภาวะฉุกเฉนิ และมีการเตรยี ม/ใช้เครอ่ื งมอื วัสดุ และยา ตามท่ีองค์กรวชิ าชีพดา้ นวสิ ัญญแี นะนำ� . (2) ทีมผู้ให้บริการประเมินผู้ป่วยก่อนการระงับความรู้สึก เพ่ือค้นหาความเสี่ยงท่ีอาจจะเกิดข้ึนขณะการระงับ ความรสู้ กึ และนำ� ขอ้ มลู จากการประเมนิ มาวางแผนการระงบั ความรสู้ กึ ทเี่ หมาะสม รวมทง้ั ปรกึ ษาผเู้ ชยี่ วชาญ ในสาขาที่เกย่ี วข้อง. (3) ผปู้ ว่ ย/ครอบครวั ไดร้ บั ขอ้ มลู ทจี่ ำ� เปน็ เกยี่ วกบั การระงบั ความรสู้ กึ และอาจมสี ว่ นรว่ มในการเลอื กวธิ กี ารระงบั ความร้สู ึก. ผปู้ ว่ ยได้รบั การเตรยี มความพร้อมทางดา้ นรา่ งกายและจติ ใจกอ่ นการระงับความรสู้ ึก. (4) กระบวนการระงับความรู้สึกเป็นไปอย่างราบรื่นและปลอดภัยตามมาตรฐานแห่งวิชาชีพซ่ึงเป็นที่ยอมรับว่า ดที สี่ ดุ ภายใตส้ ถานการณข์ องโรงพยาบาล โดยบคุ ลากรท่ีมีคุณวุฒ.ิ (5) ผ้ปู ว่ ยไดร้ บั การตดิ ตามและบันทกึ ขอ้ มูลผ้ปู ่วยขณะระงับความรสู้ กึ และในช่วงรอฟ้ืน. 153 เช่น การใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจได้ยาก ภาวะอณุ หภมู ิขนึ้ สูงอยา่ งอันตราย การแพ้ยา มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสขุ ภาพ ฉบบั ท่ี 5 183
ตอนท่ี III กระบวนการดูแลผปู้ ่วย (6) ผู้ปว่ ยไดร้ ับการจำ� หน่ายจากบรเิ วณรอฟ้นื โดยผ้มู ีคณุ วฒุ ิ ตามเกณฑ์ท่กี �ำหนดไว้. และมกี ารสง่ ต่อข้อมูลไปให้ ทีมผูด้ แู ลหลงั ผา่ ตัดเพือ่ เกิดการดแู ลต่อเน่อื ง. ข. การผ่าตดั (Surgical Care) (1) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารวางแผนการดแู ลสำ� หรบั ผปู้ ว่ ยทจี่ ะรบั การผา่ ตดั แตล่ ะรายโดยนำ� ขอ้ มลู จากการประเมนิ ผปู้ ว่ ย ทง้ั หมดมาพจิ ารณา. มีการบันทึกแผนการผ่าตดั และการวนิ จิ ฉยั โรคก่อนการผ่าตัดไว้ในเวชระเบียน. มีการ ประเมนิ ความเสี่ยงและประสานกับผู้ประกอบวิชาชพี ในสาขาทเ่ี กยี่ วขอ้ งเพ่อื การดแู ลท่ปี ลอดภัย. (2) ทมี ผ้ใู หบ้ รกิ ารอธิบายความจ�ำเป็น ทางเลือกของวิธกี ารผา่ ตดั โอกาสทจี่ ะตอ้ งใช้เลอื ด ความเสย่ี ง ภาวะ แทรกซ้อนทอ่ี าจเกดิ ข้นึ ให้แก่ผปู้ ว่ ย ครอบครวั หรอื ผู้ท่ตี ัดสินใจแทนผ้ปู ่วย. (3) ทมี ผใู้ หบ้ รกิ ารเตรยี มความพรอ้ มทางดา้ นรา่ งกายและจติ ใจของผปู้ ว่ ยกอ่ นการผา่ ตดั เพอื่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยมคี วามพรอ้ ม ลดความเสย่ี งจากการผา่ ตดั และการตดิ เชอ้ื ทง้ั ในกรณผี า่ ตดั ฉกุ เฉนิ และกรณผี า่ ตดั ทม่ี กี ำ� หนดนดั ลว่ งหนา้ . (4) ทมี ผู้ใหบ้ รกิ ารมกี ระบวนการที่เหมาะสมในการป้องกนั การผา่ ตดั ผดิ คน ผิดข้าง ผิดต�ำแหน่ง ผิดหัตถการ. (5) ผู้ปว่ ยได้รับการดูแลและผา่ ตดั ภายใต้สภาวะท่มี ีความพรอ้ ม มปี ระสิทธภิ าพ และปลอดภยั 154. 154 การดแู ลและการผา่ ตดั ภายใตส้ ภาวะทม่ี คี วามพรอ้ ม มปี ระสทิ ธภิ าพ และปลอดภยั หมายถงึ การจดั แบง่ พน้ื ท่ี การกำ� หนดการไหลเวยี นและการปอ้ งกนั การปนเปอ้ื นในหอ้ งผา่ ตดั การทำ� ความสะอาดบรเิ วณหอ้ งผา่ ตดั และเตยี งผา่ ตดั การทำ� ความสะอาดเครอื่ งมอื /อปุ กรณผ์ า่ ตดั และทำ� ใหป้ ราศจากเชอื้ เพอ่ื ปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื ตำ� แหนง่ ผา่ ตดั และภาวะแทรกซอ้ นอนื่ ๆ การเตรยี มเครอื่ งมอื /อปุ กรณ/์ เจา้ หนา้ ทช่ี ว่ ยผา่ ตดั สำ� หรบั ผปู้ ว่ ยแตล่ ะราย การดแู ลระหวา่ งรอผา่ ตดั การตรวจนบั เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ การจดั การกบั ชน้ิ เนอื้ ทอ่ี อกมาจากผปู้ ว่ ย การเตรยี มความพรอ้ มและการปฏบิ ตั เิ มอื่ เกดิ ภาวะวกิ ฤตกิ บั ผปู้ ว่ ย 184 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสขุ ภาพ ฉบับท่ี 5
ตอนที่ III กระบวนการดแู ลผปู้ ่วย (6) ทีมผู้ให้บริการบันทึกรายละเอียดการผ่าตัดในเวชระเบียนผู้ป่วยในเวลาที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดการส่ือสารท่ีดี ระหวา่ งทีมงานผู้ใหบ้ ริการและเกิดความต่อเนื่องในการดแู ลรักษา. (7) ทีมผู้ใหบ้ รกิ ารติดตามดแู ลหลังผา่ ตดั ที่เหมาะสมกับสภาวะของผู้ปว่ ยและลกั ษณะการท�ำหตั ถการ. ค. อาหารและโภชนบำ� บัด (Food and Nutrition Therapy) (1) ผู้ป่วยได้รับอาหารที่เหมาะสม มีคุณค่าทางโภชนาการเพียงพอกับความต้องการพ้ืนฐานของผู้ป่วย โดยมี ระบบบริการอาหารท่ีดี. มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงท่ีอาจเกิดข้ึนจากการให้บริการอาหารและโภชนาการ155 ตลอดจนมีการดำ� เนินมาตรการปอ้ งกันทเ่ี หมาะสม. (2) ผปู้ ว่ ยทม่ี ีปญั หาหรือความเสีย่ งดา้ นโภชนาการได้รบั การประเมินภาวะโภชนาการ วางแผนโภชนบ�ำบดั และ ได้รบั อาหารท่ีมคี ุณคา่ ทางโภชนาการเพียงพอ. (3) ผปู้ ว่ ย/ครอบครวั ไดร้ บั ความรทู้ างดา้ นวชิ าการอาหาร โภชนาการและโภชนบำ� บดั เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ว่ ยและครอบครวั สามารถปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม การเตรยี มและบรโิ ภคอาหารให้เหมาะสมกบั โรคทีเ่ ปน็ อยู.่ (4) การผลิตอาหาร การจัดเก็บ การส่งมอบ และการจัดการกับภาชนะ/อุปกรณ์/ของเสยี /เศษอาหาร เปน็ ไป อยา่ งปลอดภยั ตามหลกั ปฏบิ ตั ทิ ย่ี อมรบั ทวั่ ไป เพอ่ื ลดความเสย่ี งจากการปนเปอ้ื น การเนา่ เสยี การเกดิ แหลง่ พาหะนำ� โรค และการแพร่กระจายของเชือ้ โรค. 155 ความเสย่ี งจากการใหบ้ รกิ ารอาหารและโภชนาการ เชน่ ผปู้ ว่ ยไมไ่ ดร้ บั อาหารในเวลาทเ่ี หมาะสม การจดั อาหารทผี่ ปู้ ว่ ยมอี าการแพใ้ หผ้ ปู้ ว่ ย การเตรยี มอาหารทีไ่ มเ่ หมาะสมใหผ้ ปู้ ว่ ยซ่งึ ผปู้ ว่ ยอาจสำ� ลักได้ มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบบั ที่ 5 185
ตอนท่ี III กระบวนการดแู ลผปู้ ่วย ง. การดแู ลผ้ปู ่วยระยะประคับประคอง (Palliative care) (1) ทมี ดแู ลผู้ป่วย มคี วามตระหนกั ในความตอ้ งการของผปู้ ่วยระยะประคบั ประคองที่มลี กั ษณะเฉพาะโดยค�ำนงึ ถงึ การมสี ว่ นร่วมของผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชน. (2) ผู้ป่วย/ครอบครัว ได้รับการประเมิน/ประเมินซ�้ำ เก่ียวกับอาการของผู้ป่วย การตอบสนองต่อการบ�ำบัด อาการ ความตอ้ งการด้านจติ ใจ สงั คม156 จติ วิญญาณ157. (3) ทีมดูแลผู้ป่วยมีการน�ำผลการประเมินท่ีได้ มาวางแผนดูแลเพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยและ ครอบครัว. (4) องคก์ รประสานเชอ่ื มตอ่ การดแู ลผปู้ ว่ ยระหวา่ งทมี และระหวา่ งหนว่ ยบรกิ ารกบั การดแู ลทบ่ี า้ นหรอื ชมุ ชนเพอ่ื ให้เกดิ การดูแลอย่างตอ่ เน่อื ง. (5) องคก์ รใหม้ กี ารทำ� แผนดแู ลลว่ งหนา้ (advance care planning) และการทำ� หนงั สอื แสดงเจตนาไมป่ ระสงค์ จะรับบรกิ ารสาธารณสุข โดยเปน็ ไปตามความประสงค์/ความตอ้ งการของผปู้ ่วยและครอบครัว และในกรณี ทม่ี กี ารจดั ท�ำ ให้มีการสือ่ สารใหผ้ ู้เกยี่ วขอ้ งในการดูแลผปู้ ว่ ยไดร้ ับทราบ. (6) ทีมผ้ใู หบ้ รกิ ารใหก้ ารดูแลระยะสดุ ท้าย (end of life) หรอื ในช่วงใกล้เสยี ชวี ติ (terminal care) อยา่ ง เหมาะสมทัง้ ในด้านการบรรเทาอาการ ตอบสนองความตอ้ งการดา้ นจิตใจ/สังคม/จิตวิญญาณ โดยให้ผู้ป่วย และครอบครัวมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ. 156 ความต้องการด้านสงั คม เชน่ การอยรู่ ่วมกนั การยอมรับ การมีสว่ นรว่ ม ครอบคลุมถงึ ความพร้อมทางเศรษฐานะ 157 ความตอ้ งการดา้ นจติ วญิ ญาณ เช่น การเช่ือในศาสนาและวัฒนธรรมของผปู้ ่วย 186 มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบับที่ 5
ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย (7) องคก์ รมรี ะบบดแู ลผดู้ แู ลผปู้ ว่ ย (care for carer) เพอื่ ใหส้ ามารถทำ� หนา้ ทไ่ี ดเ้ หมาะสมกบั ความตอ้ งการของ ผู้ป่วย. จ. การจดั การความปวด (Pain Management) (1) ผปู้ ว่ ยไดร้ บั การคดั กรองเรอื่ งความปวดทง้ั ความปวดเฉยี บพลนั และความปวดเรอื้ รงั . เมอ่ื พบวา่ ผปู้ ว่ ยมคี วาม ปวด ผปู้ ่วยได้รบั การประเมินความปวดอยา่ งครอบคลมุ ทั้งความรุนแรงของความปวด และลักษณะของ ความปวด. (2) ผ้ปู ่วยแตล่ ะรายได้รบั การจัดการความปวด โดยวิธีการใช้ยาและไม่ใชย้ าเพอ่ื บรรลเุ ป้าหมายที่พึงปรารถนาท่ี เป็นไปได้ ผปู้ ว่ ยไดร้ บั การเฝ้าระวังทัง้ การตอบสนองตอ่ การจัดการความปวดและเหตุการณไ์ ม่พงึ ประสงค์ มี การประเมินซ้ำ� และมกี ารปรับการรักษาทเ่ี หมาะสม. (3) ทมี ผู้ให้การรกั ษาใหข้ อ้ มูลทจ่ี ำ� เปน็ เก่ียวกบั การจดั การความปวดแก่ผู้ป่วยและ/หรือ ครอบครัว เพอ่ื ให้มสี ว่ น รว่ มในการตดั สนิ ใจและการจัดการความปวด ขอ้ มูลท่ใี ห้ประกอบด้วย: (i) โอกาสเกิดความปวดจากการตรวจรักษา; (ii) ทางเลือกในการจดั การความปวด; (iii) ผลข้างเคยี งและข้อพงึ ระวงั ; (iv) ความร่วมมือทค่ี าดหวงั จากผู้ป่วย. มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสุขภาพ ฉบับที่ 5 187
ตอนท่ี III กระบวนการดูแลผ้ปู ่วย (4) ผปู้ ว่ ยไดร้ บั การดแู ลเรอื่ งการจดั การความปวดจากบคุ ลากรทม่ี คี วามรคู้ วามชำ� นาญตามมาตรฐานวชิ าชพี หรอื ภายใตก้ ารกำ� กบั ของบุคลากรดังกล่าว. (5) ผู้ป่วยและผู้ดูแลได้รับความรู้และการสนับสนุนเก่ียวกับการจัดการความปวด หลังจากจ�ำหน่ายทั้งผู้ป่วยใน และผู้ป่วยนอก. ฉ. การฟ้ืนฟสู ภาพและสมรรถภาพ (Rehabilitation Services) (1) ทมี ผู้ให้บริการ158น�ำข้อมลู จากการประเมินผปู้ ว่ ย159ดา้ นร่างกาย จติ ใจ สงั คม และจิตวิญญาณ ของผปู้ ว่ ย แตล่ ะราย มาวางแผนการฟน้ื ฟสู ภาพและสมรรถภาพทจ่ี ำ� เปน็ และครบองคร์ วมดา้ นสขุ ภาพ160 ใหส้ อดคลอ้ ง ไปในทศิ ทางเดยี วกัน และบรรลเุ ป้าหมายท่ีต้ังไวใ้ นระยะเวลาทีเ่ หมาะสม. 158 ทมี ผใู้ หบ้ รกิ าร หมายถงึ ทมี สหสาขาวชิ าชพี (multidiciplinary team) ประกอบดว้ ย แพทยเ์ วชศาสตรฟ์ น้ื ฟ/ู แพทย์ พยาบาล นกั กายภาพบำ� บดั นกั กจิ กรรมบำ� บดั นกั กายอปุ กรณห์ รอื ชา่ งกายอปุ กรณ์ นกั แกไ้ ขการพดู นกั จติ วทิ ยา นกั สงั คมสงเคราะหห์ รอื ตามบรบิ ทของสถานบรกิ ารนนั้ ๆ 159 การประเมินผปู้ ่วย มกี ารประเมินแรกรบั และประเมนิ ซำ้� ทีค่ รอบคลุมรวมถึงระดบั ความสามารถหรอื สมรรถนะในการประกอบชวี ติ ประจ�ำวัน เพอื่ ใหส้ ามารถระบรุ ะดบั ความสามารถทค่ี าดหวงั หลงั ทำ� การฟน้ื ฟสู มรรถภาพ (expected functional level) และระยะเวลาทคี่ วรทำ� การฟน้ื ฟู (duration of rehabilitation needed) รวมถงึ แผนการฟื้นฟูสภาพและสมรรถภาพ (rehabilitation plan) ทจี่ ำ� เปน็ 160 องคร์ วมดา้ นสขุ ภาพ โดยองคร์ วมดา้ นสขุ ภาพวางอยบู่ นพน้ื ฐานของหลกั การบญั ชสี ากลเพอื่ การจำ� แนกการทำ� งาน ความพกิ าร และสขุ ภาพ (International Classification of Functioning, Disability and Health: ICF) ซง่ึ หมายรวมถงึ มติ ดิ า้ นการทำ� งานและโครงสรา้ งของรา่ งกาย (body functions and structure), มติ ดิ า้ นกจิ กรรมและการมสี ว่ นรว่ ม (activity and participation), ปจั จยั ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม (environmental factors) และปจั จยั สว่ นบคุ คล (personal factors) 188 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสขุ ภาพ ฉบบั ที่ 5
ตอนท่ี III กระบวนการดูแลผู้ป่วย (2) ทีมผู้ให้บริการ ให้บริการฟื้นฟูสภาพและสมรรถภาพของผู้ป่วย161ตามปัญหาและความต้องการของผู้ป่วย อยา่ งมคี ณุ ภาพ ปลอดภัย และอยู่บนพ้ืนฐานหลกั ฐานวชิ าการ และมีการวดั ผลลพั ธ์การฟื้นฟูอยา่ งเป็นรปู ธรรมด้วยเครอื่ งมอื ทเี่ ป็นมาตรฐาน. (3) ทมี ผู้ใหบ้ รกิ ารสอ่ื สารกับผูป้ ว่ ยและครอบครัวอยา่ งมีประสทิ ธผิ ล: (i) ให้ข้อมลู เพียงพอ162ส�ำหรบั การตัดสนิ ใจ. (ii) เสรมิ ความร้แู ละทักษะท่จี ำ� เปน็ ส�ำหรับการดูแลตนเองไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ163. (4) การใหบ้ รกิ ารฟน้ื ฟสู ภาพและสมรรถภาพ เปน็ ไปเพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายของการฟน้ื ฟสู มรรถภาพและความปลอดภยั ตามมาตรฐานบรกิ าร มาตรฐานวชิ าชพี กฎระเบยี บ และขอ้ บงั คบั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง โดยบคุ ลากรทมี่ คี วามรู้ ทกั ษะ และความเชย่ี วชาญ. 161 การบริการฟืน้ ฟสู ภาพและสมรรถภาพ ครอบคลมุ ถงึ การจัดหาอปุ กรณเ์ คร่อื งช่วยความพกิ ารทเ่ี หมาะสม ตลอดจนกระบวนการส่งต่ออย่าง เปน็ ระบบเพ่อื การดูแลต่อเน่อื ง และติดตามผลการฟน้ื ฟูระยะยาว ท้งั ระหว่างหน่วยบริการและส่ชู มุ ชน 162 ข้อมูลที่เพียงพอ ครอบคลุมถึงเป้าหมาย แผน และบริการ การฟื้นฟูสภาพและสมรรถภาพท่ีจ�ำเป็นต้องได้รับ เพื่อใช้ประโยชน์ตลอด กระบวนการฟ้นื ฟู ช่วยให้ผูป้ ่วยเขา้ สูส่ ังคมตามศักยภาพ ด�ำรงวถิ ชี วี ิตอิสระและมีคณุ ภาพชวี ิตท่ดี ขี ้นึ 163 การดูแลตนเองไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ หมายถงึ การดูแลตนเองไดท้ ่ีสามารถพัฒนาตอ่ เน่ือง และสามารถฟนื้ ตวั ได้อย่างเตม็ ศกั ยภาพใน ระดบั ทเี่ หมาะสม หรือคงระดบั สมรรถภาพทางร่างกาย กลบั เข้าสสู่ งั คมตามศกั ยภาพ ดำ� รงวิถชี ีวิตอิสระและมีคุณภาพชวี ติ ท่ีดี มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสขุ ภาพ ฉบบั ท่ี 5 189
ตอนท่ี III กระบวนการดแู ลผู้ปว่ ย ช. การดูแลผปู้ ่วยโรคไตเรื้อรัง (Care of Patients with Chronic Kidney Diseases) (1) การดูแลผู้ป่วยโรคไตเร้ือรัง164 ให้เป็นไปตามแนวทางปฏิบัติที่ได้มาตรฐานในบริบทและทรัพยากรของ โรงพยาบาล เพื่อให้ผปู้ ว่ ยได้รบั การดแู ลทีม่ ีคณุ ภาพและความปลอดภัย. (2) ในกรณีท่ีโรงพยาบาลมีการให้บริการฟอกเลือดด้วยเคร่ืองไตเทียม ศูนย์ไตเทียม หรือ หน่วยไตเทียมของ โรงพยาบาล หรือของหน่วยงานภายนอก (outsource) ต้องได้รบั การรับรองจากคณะอนุกรรมการตรวจ รบั รองมาตรฐานการรกั ษาโดยการฟอกเลือดดว้ ยเคร่อื งไตเทยี ม (ตรต.) และในกรณที ่มี ีการด�ำเนินการโดย บริษทั ภายนอก โรงพยาบาลตอ้ งมีการก�ำกบั ดูแลใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานเช่นเดยี วกบั ของโรงพยาบาล. ซ. การแพทยแ์ ผนไทย (Thai Traditional Medicine) (1) ทีมผ้ใู หบ้ รกิ ารประเมนิ ผปู้ ว่ ย/ผรู้ บั ผลงานเพอื่ คน้ หาและเฝา้ ระวงั ความเสย่ี งท่อี าจจะเกิดขน้ึ ระหวา่ งการดแู ล และนำ� ขอ้ มลู จากการประเมนิ มาวางแผนการดแู ลรกั ษา รวมทง้ั การสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ย/ผรู้ บั ผลงานไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม. 164 การดูแลผปู้ ว่ ยโรคไตเร้ือรงั ได้แก่ การชะลอการเสือ่ มของไต การรักษาภาวะแทรกซ้อนของโรคไต (เชน่ ภาวะโลหติ จาง ภาวะผิดปกตขิ อง กระดูกและแร่ธาตุ เป็นตน้ ) การวางแผนกอ่ นการรกั ษาด้วยการบำ� บดั ทดแทนไต การรักษาโดยการฟอกเลอื ดด้วยเคร่ืองไตเทยี ม การล้างไต ทางชอ่ งทอ้ ง การปลกู ถา่ ยไต และการรักษาแบบประคับประคอง 190 มาตรฐานโรงพยาบาลและบรกิ ารสขุ ภาพ ฉบับที่ 5
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260