Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาการศึกษา 2554-2558

แผนพัฒนาการศึกษา 2554-2558

Published by planrpk31, 2019-03-20 07:14:29

Description: แผนพัฒนาการศึกษา 2554-2558

Search

Read the Text Version

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2554 - 2558 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชียงใหม่ สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

การให้ความเห็นชอบเอกสารแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2554 ถงึ 2558 ของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ได้ประชุมพิจารณา แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 5 ปี (ปีการศึกษา 2554 – 2558) ของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ในการประชุมครั้งที่ 1 / 2554 เมือ่ วันที่ 1 เดือนสิงหาคม 2554 แล้ว เหน็ ชอบให้ดาเนนิ การตาม แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา 5 ปี ตามรายละเอียดทีป่ รากฏในเอกสาร (ลงชือ่ ) ........................................................ (นายดาวเรือง ลาจวน) ประธานคณะกรรมการการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31

คานา ตามบทบัญญัติในพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 กาหนดว่า การบริหารราชการจะต้องวางแผนโดยกาหนดระยะเวลา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน งบประมาณ เป้าหมาย และตัวชี้วัด จัดให้มีการประเมินและตรวจสอบการ ปฏิบตั ิหน้าที่ ให้มกี ารพฒั นาองค์ความรภู้ ายในองค์กรอย่างสม่าเสมอและให้ทุกส่วนราชการปฏิบัติ ตามแผนที่กาหนด ประกอบกับกฎกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ข้อ 14 (2) ได้กาหนดให้โรงเรียนจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาที่มงุ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา พร้อมทั้งกาหนดองค์ประกอบของแผนพัฒนาการ จดั การศึกษาไว้ในข้อ 16 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จึงจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 5 ปี คือ ปีการศึกษา 2554-2558 นขี้ นึ้ เพื่อเปน็ กรอบทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตาม ภารกิจและตามต้องการของผู้ปกครองและชุมชน กาหนด โดยผ่านความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานแลว้ เมือ่ วันที่ 1 สิงหาคม 2554 ขอขอบคุณ คณะครู นักเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่อานวยความสะดวก ในการจดั ทา และร่วมดาเนินการจนแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาฉบบั นสี้ าเรจ็ ลุล่วงไปด้วยดี คณะผจู้ ัดทา

สารบญั หน้า 1 ส่วนที่ 1 ภาพรวมของสถานศกึ ษา 2 ประวตั ิทีต่ ้ัง/สภาพพื้นที่ 5 สุภาษิต คาขวัญ 6 กลุ่มเป้าหมายที่ให้บริการ 8 ข้อมูลแผนการจัดการศกึ ษา 9 ข้อมลู บุคลากร 10 ข้อมลู อาคารเรียน อาคารประกอบ 11 ผลการดาเนินงานทีป่ ระสบความสาเร็จ 12 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 25 ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสอง 27 ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษาปี 2553 35 36 ส่วนที่ 2 นโยบายและจุดเน้นในการพฒั นาการจดั การศึกษา 38 นโยบายด้านการจัดการศกึ ษาของรัฐบาล 43 วิสยั ทัศนแ์ ละยทุ ธศาสตรส์ านกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ 44 47 ส่วนที่ 3 การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมทางการศึกษา 48 การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 49 ตารางวิเคราะห์น้าหนักสภาพแวดล้อมภายใน 50 การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก 51 ตารางวิเคราะห์น้าหนกั สภาพแวดล้อมภายนอก 58 ตาแหน่งสถานภาพของโรงเรียน 59 การวิเคราะหส์ ถานภาพของโรงเรียนตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 60 62 ส่วนที่ 4 ทิศทางการพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา 64 วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ 73 กลยุทธ์และจดุ เน้นของสถานศกึ ษา 131 การกาหนดพันธกิจ เป้าหมาย และกลยุทธของสถานศึกษา 139 แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 145 ส่วนที่ 5 กรอบแผนกลยทุ ธ์ ส่วนที่ 6 แผนงบประมาณระยะปานกลาง ส่วนที่ 7 ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น วิทยากรภายนอกและแหล่งการเรียนรู้ ส่วนที่ 8 บทบาทของผู้มหี น้าที่จัดการศกึ ษาและผมู้ ีสว่ นเกีย่ วข้อง ภาคผนวก

1 สว่ นที่ 1 ภาพรวมของสถานศกึ ษา แผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

2 ส่วนที่ 1 ภาพรวมของสถานศกึ ษา 1. ประวัติ ทต่ี งั้ / สภาพพืน้ ท่เี ขตบริการ 1.1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 เลขที่ 99 หมู่ 10 ตาบลช่างเคิ่ง อาเภอแม่แจม่ จังหวัดเชยี งใหม่ 50270 โทรศัพท์ 0-5326-8642 โทรสาร 0-5326-8643 E-mail address : [email protected] Website : www.rpk31.ac.th สังกดั : สานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษา ข้ันพ้ืนฐานกระทรวงศกึ ษาธิการ 1.2 เปิดสอนต้ังแต่ระดับ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถึง ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 1.3 รบั นกั เรียนในเขตพื้นที่บริการ 6 อาเภอของจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ อาเภอแมแ่ จ่ม อาเภอจอมทอง อาเภอฮอด อาเภออมก๋อย อาเภอดอยเต่าและอาเภอดอยหล่อ บริบทอาเภอแม่แจม่ ทต่ี ัง้ และอาณาเขต อาเภอแม่แจ่ม ตั้งอยู่ทางทิศตะวนั ตกของจังหวัดเชียงใหม่ มีอาณาเขตติดต่อกับอาเภอ และจังหวดั ใกล้เคียงดังน้ี ทศิ เหนือ ติดตอ่ กับอาเภอกลั ยาณิวัฒนา ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ่ กบั อาเภอสะเมงิ อาเภอแมว่ างและอาเภอจอมทอง ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั อาเภอจอมทอง อาเภอฮอดและอาเภอแมส่ ะเรยี ง (จังหวดั แมฮ่ ่องสอน) ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กับอาเภอแมล่ านอ้ ย อาเภอขนุ ยวมและอาเภอเมืองแมฮ่ ่องสอน (จังหวดั แมฮ่ ่องสอน) แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

3 การปกครองสว่ นภมู ิภาค อาเภอแม่แจ่ม แบ่งเขตการปกครองย่อยออกเปน็ 7 ตาบล 108 หมบู่ ้าน ได้แก่ ที่ ตาบล จานวนหม่บู า้ น 1 ช่างเคิ่ง (Chang Khoeng) 19 2 ท่าผา (ThaPha) 14 3 บ้านทบั (Ban Thap) 13 4 แมศ่ กึ (Mae Suek) 17 5 แมน่ าจร (Mae Na Chon) 19 6 ปางหินฝน (Pang HinFon) 14 7 กองแขก (Kong Khaek) 12 การปกครองสว่ นท้องถิ่น ท้องทีอ่ าเภอแมแ่ จ่ม ประกอบด้วย องค์การปกครองส่วนท้องถิน่ 8 แห่ง ได้แก่ เทศบาลตาบลแม่แจ่ม ครอบคลมุ พืน้ ทีบ่ างสว่ นของตาบลชา่ งเคิ่ง เทศบาลตาบลท่าผา ครอบคลมุ พืน้ ที่ตาบลท่าผาท้ังตาบล องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลชา่ งเค่งิ ครอบคลมุ พืน้ ที่ตาบลชา่ งเคิ่ง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลแมแ่ จ่ม) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลบ้านทบั ครอบคลุมพืน้ ทีต่ าบลบ้านทับท้ังตาบล องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลแม่ศึก ครอบคลมุ พืน้ ที่ตาบลแมศ่ กึ ทั้งตาบล องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลแมน่ าจร ครอบคลุมพืน้ ที่ตาบลแมน่ าจรท้ังตาบล องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลปางหนิ ฝน ครอบคลมุ พืน้ ที่ตาบลปางหินฝนท้ังตาบล องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลกองแขก ครอบคลุมพืน้ ที่ตาบลกองแขกทั้งตาบล ประวัติและความเปน็ มาของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 เน่ืองจากสภาพพื้นที่อาเภอแม่แจ่ม เป็นภูเขาสลับซับซ้อนทุรกันดาร มีเนื้อที่ 3,361.151 ตารางกิโลเมตร มีประชากรจานวน 68,185 คน มีหย่อมบ้าน 215 หย่อมบ้าน ระยะทางห่าง จากตัวจังหวัดเชียงใหม่ ประมาณ 117 กิโลเมตร (เส้นทางสายดอยอินทนนท์) และประมาณ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

4 156 กิโลเมตร (เส้นทางสายฮอด) ประชากรส่วนใหญ่เปน็ ชาวไทยภูเขา เผ่ากะเหรี่ยง ม้ง ล๊ัว และ ลีซอ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ทานา ทาสวน ปลูกข้าวไร่และรับจ้าง การคมนาคมไม่ สะดวก บางหย่อมบ้านหา่ งจากหมู่บ้านหลักมาก ต้องเดินทางด้วยเท้าใช้เวลาประมาณ 2-3 วัน เน่ืองจากหย่อมบ้านอยู่อย่างกระจัดกระจายห่างไกลกัน ทาให้เป็นอุปสรรคในการจัดการศึกษา อย่างทั่วถึง เด็กขาดโอกาสทางการศึกษา (ภาคบังคับ) ถึง 141 หย่อมบ้าน ในช่วงอายุระหว่าง 6-13 ปี จานวน 3,709 คน จากสภาพป๎ญหาและอุปสรรคในพื้นที่อาเภอแม่แจ่ม ทาให้ไม่สามารถจัดการศึกษาได้ อย่างทวั่ ถึง มีเด็กอีกจานวนมากที่ไม่ได้เรียนหนังสืออยู่ในพื้นที่และพยายามดิ้นรนหาทางไปเรียน หนงั สอื ที่อน่ื ทาใหเ้ กิดป๎ญหาถูกหลอกลวง ถูกกดขี่ใชแ้ รงงานเด็ก เป็นเด็กเร่ร่อน เด็กยากจนขาด ผู้อุปการะ จึงควรให้ความสงเคราะห์ช่วยเหลือเด็กที่ประสบป๎ญหาดังกล่าว ทางคณะกรรมการ ทางการศึกษา การศาสนาและการวัฒนาธรรม (ศศว.อ.) อาเภอแม่แจ่ม โดยสานักงาน ศกึ ษาธิการอาเภอแมแ่ จ่ม ได้เสนอโครงการจัดตงั้ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ประเภทประจาขึ้น และได้เสนอโครงการดังกล่าวไปยังกองราชเลขานุการ ในองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ (ฝุาย การศึกษา) ได้รับคาแนะนาให้เสนอเร่ืองขอเปิดโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ โดยผ่านทางมูลนิธิ ราชประชานเุ คราะห์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ในวันที่ 5 เดือนเมษายน พ.ศ. 2539 รองเลขาธิการพระราชวัง นาโดยนายขวัญแก้ว วัชโรทัย และคณะได้เดินทางมาสารวจพื้นที่ ที่จะจัดต้ัง ณ โรงเรียนบ้านปุาเท้อ ผลการสารวจปรากฏว่า สถานที่ไม่เหมาะสม เพราะขาดแหล่งน้า จึงได้เสนอให้ทางอาเภอจัดหาสถานที่ต้ังใหม่ใน วันที่ 20 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2540 นายสุขวิช รังสิตพล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ พร้อมด้วยนายขวัญแก้ว วัชโรทัย ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิราช ประชานุเคราะหฯ์ นายโชดก วรี ธรรมพลู สวัสดิ์ เลขาธิการมลู นธิ ิราชประชานุเคราะห์ฯ ได้เดินทาง มาตรวจดูสภาพพื้นที่ ที่จะก่อสร้างโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ตามพระราชดาริของสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีและนายอาเภอแม่แจ่ม(นายขวัญชัย วงศ์นิติกร) ซึ่ง ได้รับมอบหมายจากผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ให้บรรยายเกี่ยวกับข้อมูลของสถานที่ ที่จะใช้ ก่อสร้าง 4 แหง่ และผลจากการสารวจได้กาหนดที่ต้ังโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอ แมแ่ จ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ ทีบ่ ้านแมป่ าน หมู่ที่ 10 ตาบลชา่ งเคิ่ง อาเภอแมแ่ จ่ม จังหวัดเชียงใหม่ มีพ้นื ที่ทั้งหมด จานวน 226 ไร่ อยู่หา่ งจากทีว่ า่ การอาเภอแมแ่ จ่มประมาณ 8 กิโลเมตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายชุมพล ศิลปอาชา ได้ลงนามในประกาศจัดตั้ง โรงเรียน เม่ือวันที่ 30 เดือนกันยายน พ.ศ. 2541 โดยมีวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งเพื่อรับ เด็กด้อยโอกาสที่มีความเป็นอยู่ด้อยกว่าเด็กปกติทั่วไป ได้แก่เด็กยากจนมากเป็นพิเศษ (ครอบครัวมีรายได้ไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี) เด็กกาพร้า เด็กถูกทอดทิ้ง เด็กในชนกลุ่มน้อย แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

5 เด็กถูกทาร้ายทารุณ เด็กที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์ เด็กเร่ร่อน แรงงานเด็ก เด็กในสถาน พินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนฯลฯ ในเขตพื้นที่อาเภอแม่แจ่ม อาเภอฮอด อาเภอจอมทอง อาเภอดอยเต่า อาเภออมก๋อยและอาเภอดอยหล่อ ได้มีวิธีวางศิลาฤกษ์โรงเรียนราชประชานุ- เคราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ในวันพุธที่ 15 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2540 เวลา 10.49 น. โดยนายสขุ วิช รังสติ พล รองนายกรฐั มนตรเี ปน็ ประธานในพิธี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ เริ่มรับนักเรียนในปีการศึกษา 2541 ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จานวน 70 คน โดยฝากเรียนที่โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 26 อาเภอปุาซาง จังหวัดลาพูนและชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 80 คน ฝากเรียนที่โรงเรียน ศกึ ษาสงเคราะหเ์ ชยี งใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ในปีการศึกษา 2554 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 สังกัดสานักบริหารงาน การศกึ ษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินงาน ภายใต้การประสานงานระหว่างมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์กับสานั ก บริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดรบั นกั เรียนด้อยโอกาสทางการศึกษา โดยจดั การเรียนการสอนในระดับการศึกษาภาคบังคับ และการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีห้องเรียนตามแผนการรับนักเรียนคือ 1-1-1-1-1-1/3-3-3/3-3-3 รวมจานวน 24 หอ้ งเรียน มีนักเรียนทั้งสิน้ จานวน 1,010 คน จานวนอาคารเรียนในป๎จจุบัน ประกอบด้วยอาคารเรียนแบบ 104 ล หลังคาทรงไทย จานวน 2 หลงั 8 หอ้ งเรียน อาคารเรยี น 324 ล หลังคาทรงไทย จานวน 1 หลัง 24 ห้องเรียน และอาคารเรียน 216 ล จานวน 1 หลัง 16 ห้องเรียน รวมจานวนอาคารเรียนทั้งหมด 4 หลัง 48 ห้องเรียน ซึ่งจัดเป็นห้องเรียนจานวน 24 ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 3 ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 4 ห้อง ห้องปฏิบัติการทางภาษา 1 ห้อง ห้องปฏิบัติการผ้าและการตัดเย็บ 1 ห้อง ห้องดนตรี 2 ห้อง ห้องศิลปศึกษา 1 ห้อง ห้อง นาฏศิลป์ 1 ห้อง ห้องจริยศึกษา 1 ห้องและห้องศูนย์การเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ต่างๆจานวน 8 หอ้ ง ห้องแนะแนวและหอ้ งให้คาปรึกษาจานวน 2 หอ้ ง 2. สุภาษติ คาขวญั อตั ลักษณ์และสปี ระจาโรงเรียน สภุ าษิต อตฺตาหิ อตฺตโน นาโถ หมายถึง ตนแลเป็นทีพ่ ึ่งแหง่ ตน แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

6 คาขวัญ คณุ ธรรมดี มีความรู้ สู่วิถีตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อัตลกั ษณ์ ทักษะอาชีพดี มคี ณุ ธรรม ดาเนินชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สีประจาโรงเรียน สนี ้าเงิน – เหลือง สีนา้ เงนิ หมายถึง สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ โดยโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จัดตั้ง ขนึ้ ตามพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เพือ่ จดั การศึกษาสาหรบั เด็กด้อยโอกาส สีเหลือง หมายถึง สีแห่งแสงสว่างทางป๎ญญา และเป็นสีแห่งวันพระราชสมภพใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ได้น้อมนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และหลักคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ตามแนวพระราชดาริ มาเป็นแนว ทางการจัดการเรียนรู้เพือ่ พัฒนาทางปญ๎ ญาแก่นกั เรียนผดู้ ้อยโอกาส 3. กลมุ่ เป้าหมายทีใ่ หบ้ ริการจดั การศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถานศึกษาที่จัดการศึกษาสาหรับ เด็กด้อยโอกาส 10 ประเภท ตามที่คณะกรรมการปฏิรูปการศึกษาเพื่อคนพิการ ผู้ด้อยโอกาสและ ผมู้ ีความสามารถพิเศษของกระทรวงศกึ ษาธิการ แบ่งไว้ดังน้ี 1) เด็กที่ถกู ทอดท้งิ หรอื เดก็ กาพรา้ คือ เดก็ ทีม่ ารดาคลอดทิง้ ไว้ในโรงพยาบาลหรอื ตามสถานที่ต่างๆรวมถึงเด็กที่บิดามารดาปล่อยทิ้งไว้ให้มีชีวิตอยู่ลาพังหรืออยู่กับบุคคลอื่นโดย ไม่ได้รับการเลี้ยงดูจากบิดามารดา ท้ังนี้อาจมีสาเหตุจากป๎ญหาการหย่าร้างหรือครอบครัว แตกแยก มีสภาพชีวติ อยู่ท่ามกลางความสับสนขาดความรกั ความอบอุ่น และขาดผอู้ ปุ การะ เลี้ยงดู 2) เด็กท่ีอยู่ในชนกลุ่มน้อย คือ เด็กที่มีวัฒนธรรมแตกต่างจากประชาชนส่วนใหญ่ ของประเทศ มชี ีวติ อยู่ยากลาบากและมีป๎ญหาเกีย่ วกับการถือสัญชาติไทย ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทา ให้ไม่ได้รับการศึกษาหรือบริการอื่นๆ ส่วนใหญ่ เป็นเด็กในครอบครัวที่อพยพเข้ามาอาศัยตาม บริเวณแนวชายแดนของประเทศไทย เชน่ ชาวเขา ชาวเล 3) เด็กท่ีได้รับผลจากโรคเอดส์หรือโรคติดต่อร้ายแรงท่ีสังคมรังเกียจ คือ เด็กที่ ติดเชื้อเอดส์ หรือมีบิดามารดาเจ็บปุวยด้วยโรคเอดส์ เป็นเด็กที่ถูกสังคมรังเกียจ เป็นเหตุให้เด็ก ไม่สามารถเข้ารับการศกึ ษาหรอื บริการอ่ืนๆ ร่วมกบั เด็กปกติทั่วไปได้ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

7 4) เด็กเร่ร่อน คือ เด็กที่ไม่มีที่อยู่อาศัยพักพิงเป็นหลักแหล่งแน่นอน ดารงชีวิตอยู่ อย่างไร้ทิศทาง ขาดป๎จจัยพื้นฐานในการดารงชีวิต เสี่ยงต่อการปะสบภัยอันตรายและเป็นป๎ญหา สงั คม 5) เดก็ ที่ถูกทารา้ ยทารุณ คือ เด็กที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศทางร่างกายหรือทางจิตใจ ชีวิตอยู่อย่างไม่เป็นสุข ระแวง หวาดกลัว เน่ืองจากถูกทาร้ายทารุณ ถูกบีบค้ัน กดดัน จากบิดา มารดาหรือผู้ปกครองซึ่งมีสภาพจิตใจหรืออารมณ์ไม่ปกติหรือถูกล่วงละเมิดทางเพศในลักษณะ ต่างๆจากบคุ คลใกล้ตัว 6) เด็กท่ีมีปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติด คือ เด็กที่ติดสารระเหยหรือยาเสพติดให้โทษ หรอื เดก็ กลุ่มเสี่ยงตอ่ การชักนาให้ประพฤติตนไม่เหมาะสมเกี่ยวข้องผูกพันกับกลุ่มมิจฉาชีพ หรือ ผมู้ ีอทิ ธิพลหรือบคุ คลที่ไม่แสวงหาผลประโยชน์จากการประกอบอาชีพผิดกฎหมาย เป็นเด็กด้อย โอกาสที่มแี นวโน้มสงู ต่อการก่อป๎ญหาในสังคม 7) เด็กในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน คือ เด็กที่กระทาผิดและถูก ควบคมุ ในสถานพินจิ คุ้มครองเด็กและเยาวชนตามกฎหมาย ตลอดถึงเด็กหญิงที่ต้ังครรภ์นอกสมรส ซึง่ มีแนวโน้มที่จะก่อใหเ้ กิดป๎ญหาต่างๆ เช่น การทาแท้ง การฆ่าตวั ตาย การทอดทิง้ ทารก เปน็ ต้น 8) เด็กท่ีอยู่ในธุรกิจทางเพศหรือโสเภณี คือ เด็กที่มีความสมัครใจ หรือถูกบังคับ ล่อลวงให้ขายบริการทางเพศหรือถูกชักจูงให้ต้องตกอยู่ในสภาพเสี่ยงต่อประกอบอาชีพขาย บริการทางเพศ 9) เด็กท่ีถูกบังคับให้ขายแรงงานหรือแรงงานเด็ก คือ เด็กที่ถูกบังคับให้ทางานหา รายได้ด้วยการขายแรงงานก่อนวัยอันสมควร ถูกเอารัดเอาเปรียบ จากนายจ้างจนไม่มีโอกาส ได้รับการศกึ ษา หรอื การพฒั นาใหเ้ ป็นไปตามหลักพัฒนาการอันเหมาะสมกบั วยั 10) เด็กยากจน (มากเป็นพิเศษ) คือ เด็กซึ่งเป็นบุตรหลานของคนยากจนที่มีรายได้ ไม่เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ ครอบครัวมีรายได้เฉลี่ยไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี ครอบครัวอยู่ รวมกันหลายคน ขาดแคลนป๎จจัยพื้นฐาน มีชีวิตอยู่อย่างลาบากรวมถึงเด็กในแหล่งชุมชนแออัด บุตรของกรรมกรก่อสร้าง หรือเด็กจากครอบครัวที่อยู่ในที่ทุรกันดารห่างไกลที่ขาดโอกาสจะ ได้รบั การศกึ ษาและบริการอน่ื ๆ แผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

8 4. ข้อมลู แผนการจัดการศกึ ษา แผนการรับนักเรยี น (คน) ชว่ งช้ัน 2554 ปีการศึกษา 2557 2558 ช่วงช้ันที่ 1 35/35/35 2555 2556 35/35/35 35/35/35 ช่วงชั้นที่ 2 35/35/35 35/35/35 35/35/35 35/35/35 35/35/35 ช่วงชั้นที่ 3 120/120/120 35/35/35 35/35/35 120/120/120 120/120/120 ช่วงช้ันที่ 4 120/120/120 120/120/120 120/120/120 120/120/120 120/120/120 120/120/120 120/120/120 รวม 930 930 930 930 930 แผนการจดั ช้ันเรยี น (หอ้ ง) ชว่ งช้ัน 2554 2555 ปีการศึกษา 2557 2558 ช่วงช้ันที่ 1 1/1/1 1/1/1 2556 1/1/1 1/1/1 ช่วงชั้นที่ 2 1/1/1 1/1/1 1/1/1 1/1/1 1/1/1 ช่วงช้ันที่ 3 3/3/3 3/3/3 1/1/1 3/3/3 3/3/3 ช่วงช้ันที่ 4 3/3/3 3/3/3 3/3/3 3/3/3 3/3/3 3/3/3 รวม 24 24 24 24 24 แผนการจดั เรอื นนอน (หลงั ) เพศ ปีการศึกษา ชาย 2554 2555 2556 2557 2558 หญิง 55667 รวม 7 8 9 10 11 12 13 15 16 18 แผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

9 5. ขอ้ มลู บคุ ลากร เพศ ระดบั การศึกษาสูงสดุ ประเภทบคุ ลากร ชาย หญิง ตา่ ป.ตรี สงู กวา่ อายเุ ฉลีย่ ประสบการณ์ กว่า ป.ตรี เฉลีย่ ผอู้ านวยการ 1 ป.ตรี รองผู้อานวยการ 3 27 ปี ครูประจาการ 7 14 1 51 2 ปี พนักงานราชการ 13 27 6 ปี ครอู ัตราจา้ ง 3 40 4 ปี ลกู จา้ งประจา 2 6 เดือน ลกู จา้ งชั่วคราว 1 17 4 35 12 ปี - คนครัว 40 30 - นักการภารโรง - ยามรักษาการณ์ 2 26 - พนักงานขับรถ - เจ้าหน้าทีธ่ ุรการ 1 43 - พีเ่ ลี้ยงเดก็ พิการ 44 43 2 ปี รวม 11 45 12 ปี 11 56 11 ปี 11 43 12 ปี 11 31 1 ปี 45 53 39 6 เดือน 31 54 13 63 8 * มีครทู ีส่ อนวิชา ตรงตามวิชาเอก 67 คน (94.74%) * มีครูที่สอนวิชา ตรงความถนัด 5 คน (5.26%) 6. ขอ้ มลู อาคารเรียน อาคารประกอบ ประเภท ชื่อแบบอาคาร จานวนหลงั / ปีที่ไดร้ บั หน่วยท่มี ีแลว้ จดั สรร อาคารเรยี น 1 อาคารเรยี นแบบ 324/41 ( หลังคาทรงไทย) อาคาร 2 อาคารเรยี นแบบ 104 ล/41 ( หลังคาทรงไทย) 1 หลงั 24 หอ้ ง 3 อาคารเรยี นแบบ 104 ล/41 ( หลงั คาทรงไทย) 1 หลงั 4 หอ้ ง 2545 1 หลงั 4 หลงั 2541 2542 แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

10 ประเภท ชื่อแบบอาคาร จานวนหลัง / ปีที่ไดร้ ับ หนว่ ยท่มี ีแล้ว จัดสรร อาคาร อาคาร 4 หอนอนมาตรฐาน 26 พร้อมครภุ ัณฑ์ (1หลงั =40ที่) 1 หลงั (40 ที)่ 2541 ประกอบ 5 หอนอนมาตรฐาน 26 พร้อมครภุ ัณฑ์ (1หลงั =40ที่) 3 หลัง (120 ที)่ 2542 6 หอนอนมาตรฐาน 26 พร้อมครภุ ณั ฑ์ (1หลัง=40ที่) 1 หลงั (40 ที)่ 2544 7 หอนอนมาตรฐาน 26 พร้อมครุภณั ฑ์ (1หลัง=40ที่) 1 หลงั (40 ที)่ 2545 8 หอนอนมาตรฐาน 26 พร้อมครุภัณฑ์ (1หลงั =40ที่) 1 หลงั (40 ที)่ 2546 9 หอนอนมาตรฐาน 38 พร้อมครภุ ณั ฑ์ (1หลงั =90ที่) 1 หลงั (90 ที)่ 2547 10 บ้านพักครู แบบ 207 (เปน็ บ้านพกั ผบู้ ริหาร) 1 หลัง (1 หนว่ ย) 2542 11 บ้านพกั ครู แบบ 203/32 (1 หลงั = 3 หนว่ ย) 3 หลงั (9 หนว่ ย) 2542 12 อาคารพยาบาล 1 หลงั 2541 13 โรงอาบน้ามาตรฐานนกั เรียนหญิง 2 หลัง 2542 14 โรงอาบน้ามาตรฐานนักเรียนหญิง 1 หลงั 2543 15 โรงอาบน้ามาตรฐานนกั เรียนหญิง 1 หลงั 2544 16 โรงอาบน้ามาตรฐานนักเรียนหญิง 2 หลงั 2545 17 โรงอาบน้ามาตรฐานนักเรียนหญิง 1 หลงั 2546 18 โรงอาบน้ามาตรฐานนกั เรียนหญิง 1 หลัง 2547 19 หอ้ งน้า - หอ้ งสว้ มแบบ 6 ทีน่ ่ัง / 27 4 หลงั 2542 20 หอ้ งน้า - หอ้ งสว้ มแบบ 6 ที่น่ัง / 27 2 หลงั 2544 21 หอ้ งน้า - หอ้ งสว้ มแบบ 6 ทีน่ ่ัง / 27 2 หลงั 2545 22 หอ้ งน้า - หอ้ งสว้ มแบบ 6 ที่นง่ั / 27 1 หลัง 2546 23 หอ้ งน้า - หอ้ งสว้ มแบบ 6 ที่นง่ั / 27 1 หลงั 2547 24 โรงหุงตม้ แบบราชประชา 1 หลงั 2542 25 โรงฝกึ งาน 102/27 1 หลัง 2548 26 หอประชมุ - โรงอาหาร แบบ 101 ล / 27 ( พิเศษ ) 1 หลงั 2543 แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

11 7. ผลการดาเนินงานทป่ี ระสบความสาเรจ็ 1) โรงเรียนได้รบั รางวลั ระดับเหรียญทอง สถานที่ทางานน่าอยู่ ของกระทรวงสาธารณสขุ 2) โรงเรียนได้รบั รางวัลชนะเลิศ ระดบั จังหวดั กิจกรรมคู่หูทันตสขุ ภาพ 3) โรงเรียนได้รับพระราชทานปูายสนองพระราชดาริในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนจาก สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 4) โรงเรียนได้รับรางวลั ชมเชยระดับประเทศ โครงงานคณุ ธรรมเฉลิมพระเกียรติ เยาวชน ไทยทาดีถวายในหลวง ของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 5) นักเรียนได้รบั รางวัลรองชนะเลิศ ระดบั ประเทศ กิจกรรม Microsoft IT Youth Challenge จากสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานร่วมกับบริษัท Microsoft ในการนานกั เรียน เข้าร่วมกิจกรรม 6) นักเรียนได้รบั การคดั เลือกให้เข้าร่วมการนาเสนอผลงานสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ แว่นตากู้ชีพ ระดับประเทศ (7 ทีมสุดท้าย) ของสมาคมนักประดิษฐ์แห่งประเทศไทยในพระบรม ราชปู ถมั ภ์ ร่วมกับสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 7) นายธิติ ศรัทธานนท์ ได้รับประกาศเปน็ Master Teacher กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงาน อาชีพ และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตาม โครงการยกระดับคณุ ภาพครูท้ังระบบ แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 8) นางตวงพร ทรายคา ได้รบั ประกาศเปน็ Master Teacher กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตามโครงการ ยกระดับคณุ ภาพครูท้ังระบบ แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 9) นางสาวรตั ติกาล ยศสุข ได้รบั ประกาศเป็น Master Teacher กลุ่มกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน (แนะแนวการศึกษา) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามโครงการ ยกระดบั คณุ ภาพครทู ้ังระบบแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 10) นางสาวรัตนา เทพวงศ์ ได้รบั ประกาศเปน็ Master Teacher กลุ่มสาระการเรียนรู้ สขุ ศึกษา พลศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ตามโครงการยกระดับ คณุ ภาพครทู ั้งระบบ แผนปฏิบตั ิการ ไทยเข้มแข็ง 11) โรงเรียนส่งเสริมสขุ ภาพระดับเหรียญทอง ปีการศกึ ษา 2548 และปีการศึกษา 2550 12) โรงเรียนผ่านการประเมิน สมศ. รอบที่ 2 เมื่อปีการศกึ ษา 2551 13) ผ่านการรับรองโรงเรียนในฝ๎นรนุ่ ที่ 3 “โรงเรียนดีระดับอาเภอ” ปีการศกึ ษา 2553 แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

12 8. ผลการทดสอบระดับชาติ O-net , NT และ LAS ผลการสอบ LAS 40 ผลการเปรยี บเทียบการประเมินระดับเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา (LAS) 2552 35 34.15 ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 2553 30 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 /2553 31.83 25 22.83 21.43 20 ร้อยละ 15 10 5 0 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 2 กลมุ่ สาระ ผลการเปรยี บเทยี บการประเมินระดับเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา (LAS) ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2552 /2553 35 33.11 29.88 31.25 30 28.04 2552 2553 25 ้รอยละ 20 17.48 15 10 5 0 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 3 กลุ่มสาระ แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

13 ผลการเปรยี บเทยี บการประเมินระดับเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา (LAS) ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2552 /2553 26.5 26 25.93 2552 2553 ร้อยละ 25.5 25 24.66 24.5 24 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ 2 กล่มุ สาระ ผลการเปรียบเทียบการประเมนิ ระดบั เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา (LAS) ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 29 ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2552 /2553 28.5 28.64 28 2552 2553 27.5 ้รอยละ 27 26.5 26.45 26 25.5 25 สงั คมศึกษาภาษาต่างประเทศ กลุม่ สาระการเรียนรู้ 2 กลุ่มสาระ ผลการสอบ NT แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

14 ผลการเปรียบเทียบการประเมนิ ระดบั ชาติ (NT)44.67 ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 34.32 35.87 31.91 2552 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552/255327.130.35 2553 ร้อยละ 50 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0 ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 3 กลมุ่ สาระ ผลการเปรียบเทียบการประเมนิ ระดบั ชาติ (NT) ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2553 35 ร้อยละ 15.2730 9.61 10.1125 2553 15.11 15.8720 17.0215 21.65 30.8 10 5 0 มวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยอู่ ย่าง ม่งุ มน่ ในการ รกั ความเป็น มจี ิตสาธารณะ รักชาติ ศาสน์ ซื่อสตั ย์สุจริต พอเพียง ทางาน ไทย กษัตรยิ ์ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 8 ข้อ แผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

15 ผลการเปรียบเทียบการประเมนิ ระดบั ชาติ (O-NET) ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2551/2552/2553 70 ้รอยละ 60 38.03 37.3150 2551 33.65 2552 28.8940 2553 21.74 30 9.18 29.67 25.6520 27.45 31.65 32.51 44.38 52.1 38.97 58.19 42.77 32.64 28.14 41.88 26.1 33.85 25.58 18.09 13.27 10 0 สุข-พละ ศลิ ปะ การงาน ฯ องั กฤษ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม ฯ สาระการเรียนรู้ 8 กล่มุ สาระ แผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

16 กราฟแสดงขอ้ มูลสารสนเทศผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนชน้ั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2553 รอ้ ยละ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนชั้นประถมศกึ ษา 80.00 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 23.68 20.00 14.02 16.55 16.32 13.10 0.00 7.36 8.97 0.00 เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 รอ้ ยละ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชน้ั ประถมศกึ ษา 80.00 กลุม่ สาระภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 22.19 22.19 18.44 20.00 9.06 13.44 12.50 0.00 3.5 3 2.5 2 1.5 2.19 0.00 4 1 0 เกรด ร้อยละ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนช้ันประถมศกึ ษา 80.00 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 22.66 18.13 17.82 20.00 12.08 13.60 10.27 2 1.5 0.00 5.44 0.00 4 3.5 3 2.5 1 เกรด 0 แผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

17 ร้อยละ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนชัน้ ประถมศกึ ษา 80.00 กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะศึกษา ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 29.03 25.81 26.73 20.00 10.60 4.61 1.84 1.38 0.00 0.00 เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร้อยละ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนชนั้ ประถมศกึ ษา 80.00 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 23.96 18.89 20.00 17.05 14.75 10.60 7.83 6.91 0.00 0.00 เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร้อยละ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนระดบั ประถมศกึ ษา 80.00 กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 20.00 20.74 21.89 20.97 7.83 10.83 10.83 6.91 0.00 0.00 เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

18 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระดบั ช้นั ประถมศกึ ษา ร้อยละ กลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2/2553 80.00 60.00 40.00 29.95 20.00 21.20 23.96 11.06 0.00 9.68 3.23 0.92 0.00 เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 รอ้ ยละ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษา 80.00 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ ภาคเรยี นที่ 2/2553 60.00 40.00 20.00 13.82 14.29 13.36 19.35 19.82 7.37 11.98 0.00 0.00 เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 แผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

19 กราฟแสดงข้อมลู สารสนเทศผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2553 ร้อยละ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้ 80.00 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 19.26 22.51 20.35 20.00 14.07 14.72 0.00 6.93 1.95 0.22 เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 รอ้ ยละ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น 80.00 กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ภาคเรยี นที่ 2/2553 60.00 40.00 20.00 11.67 14.98 18.06 15.42 13.00 16.52 9.47 0.00 0.88 เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 รอ้ ยละ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น 80.00 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 23.46 24.56 26.75 20.00 5.48 10.75 7.02 0.00 4 1.5 1.75 0.22 เกรด 3.5 3 2.5 2 0 1 แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

20 ร้อยละ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนชน้ั มัธยมศึกษาตอนต้น 80.00 กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 24.85 19.81 22.07 20.00 4 3.5 14.94 10.43 0.00 2 5.21 2.26 0.43 3 2.5 1.5 เกรด 10 รอ้ ยละ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาตอนต้น 80.00 กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 10.67 22.89 19.33 19.78 15.33 8.89 3.11 0.00 เกรด 20.00 0 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0.00 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้น รอ้ ยละ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ภาคเรียนที่ 2/2553 80.00 60.00 45.60 40.00 25.19 20.00 15.15 0.00 7.42 2.47 2.63 1.24 0.31 เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 แผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

21 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น กลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2/2553 รอ้ ยละ 80.00 60.00 40.00 31.07 24.66 21.42 20.00 11.61 4.75 2.87 3.02 เกรด 0.00 0.60 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร้อยละ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ 80.00 กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 23.01 22.32 20.00 17.77 10.25 9.11 7.97 8.20 0.00 1.37 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 เกรด 0 แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

22 กราฟแสดงขอ้ มลู สารสนเทศ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2553 ร้อยละ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย 80.00 กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 27.27 23.01 27.83 20.00 10.95 10.02 0.00 3.5 3 2.5 2 0.37 0.56 0.00 4 1.5 1 เกรด 0 รอ้ ยละ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 80.00 กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 20.00 22.93 17.62 8.92 13.80 15.07 8.07 10.19 0.00 3.40 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 เกรด 0 รอ้ ยละ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย 80.00 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 30.28 20.00 21.99 16.69 0.00 10.39 14.48 5.41 0.44 0.33 เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 แผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

23 รอ้ ยละ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย 80.00 กลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 48.01 40.00 33.77 20.00 14.40 0.00 1.82 0.17 0.66 0.50 0.66 เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร้อยละ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย 80.00 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 40.00 35.12 20.00 28.41 0.00 21.03 4 12.30 1.34 1.79 0.00 0.00 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 เกรด ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษา และพลศึกษา ภาคเรียนที่ 2/2553 ร้อยละ 80.00 60.00 45.39 40.00 20.00 25.69 24.69 0.00 3.5 3 2.99 0.75 0.00 0.25 0.25 4 2.5 2 1.5 เกรด 10 แผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

24 ร้อยละ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย 80.00 กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2/2553 60.00 45.59 40.00 20.00 22.38 0.00 12.64 7.89 4.14 2.84 3.52 1.00 เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ ภาคเรียนที่ 2/2553 ร้อยละ 80.00 60.00 40.00 22.72 21.97 25.33 20.00 10.43 15.83 0.00 2.61 0.19 0.93 เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 แผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

25 9. ผลการประเมินและขอ้ เสนอแนะจากการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสอง จากสมศ. โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. รอบ สอง เมื่อวันที่ 7 – 9 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของ สถานศกึ ษา สรปุ ผลได้ดังนี้ มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอก ผลประเมินระดับมาตรฐาน ดีมาก โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ ระดบั ระดบั คณุ ภาพ คะแนน ปรบั ปรุง พอใช้ ดี มาตรฐานที่ 1 ปรชั ญา วัตถปุ ระสงค์ 3.33 กลยุทธ์และแผนการจัดการศกึ ษา  มาตรฐานท่ี 2 ผลสมั ฤทธิข์ องโรงเรียนศกึ ษา สงเคราะห์ 2.86  มาตรฐานท่ี 3 การจัดการเรียนการสอน มาตรฐานท่ี 4 การบริหารจัดการ 2.67  มาตรฐานท่ี 5 การประกันคณุ ภาพภายใน 3.50  3.75  คา่ เฉลี่ยของผลประเมิน 5 มาตรฐาน 3.22  ข้อเสนอแนะจากการประเมิน 1) สถานศกึ ษาควรพัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ คิดอย่างมีเหตุผลและคิดอย่างสร้างสรรค์ โดยการจัดกิจกรรมการฝึกที่จาเพาะเจาะจงในแต่ละ ด้าน ใช้แบบฝกึ และวิธีการที่เหมาะสมอย่างสม่าเสมอโดยจดั ใหเ้ ปน็ หน่งึ ในกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน 2) สถานศกึ ษาควรพัฒนาความรู้และทกั ษะของผู้เรยี นให้มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนให้สงู ขึน้ โดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะและการวดั ผลประเมนิ ผล ที่สอดคล้องกบั ธรรมชาติของแตล่ ะสาขาวิชา 3) สถานศกึ ษาควรพัฒนาครดู ้านการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ โดยเฉพาะด้านการวิเคราะห์หลักสูตร การวิเคราะห์ผู้เรียน การสร้างสื่อฯนวัตกรรมเพื่อพัฒนา ผู้เรียน และสอดคล้องกับธรรมชาติและพัฒนาการของผู้เรียนแต่ละคน วิธีการจัดการสอนซ่อม เสริมผู้เรยี นทีเ่ รยี นชา้ และการพัฒนาผเู้ รียนทีม่ คี วามสามารถพิเศษไปสู่ความเป็นเลิศ แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

26 4) สถานศกึ ษาควรพัฒนาด้านการจัดกิจกรรมการนเิ ทศ การเรียนการสอน การจัด กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อให้ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นสงู ขึ้นและพัฒนาผู้เรยี นที่มคี วามสามารถพิเศษไปสู่ความเปน็ เลิศ 5) สถานศกึ ษาควรเน้นจัดกิจกรรมด้านการสง่ เสริมให้ผู้เรยี นมีรายได้ระหว่างเรียน โดย เฉพาะการจดั กิจกรรมส่งเสริมอาชีพให้หลากหลาย เน้นการจัดกิจกรรมการตลาดท้ังในและนอก สถานศกึ ษา จาหนา่ ยสินค้าทีผ่ ลิตได้โดยผเู้ รียน แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

27 10. ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ปี 2553 ตารางสรุปเปูาหมายการจัดการศกึ ษา ตามมาตรฐานการศกึ ษาสถานศกึ ษาที่มี วตั ถปุ ระสงค์พิเศษ : โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ รอบทีส่ อง กับผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษา ประจาปี 2553 มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน เกณฑ์ที่ ผลการ คณุ ภาพ คาดหวงั ประเมิน มาตรฐานดา้ นผูเ้ รยี น ภายนอก ปี 2553 ปี 2553 มาตรฐานท่ี 1 ผ้เู รยี นมีคุณธรรม จริยธรรมและ รอบสอง ค่านิยม ทีพ่ งึ ประสงค์ (ปี2551) ระดับดีมาก ระดับดีมาก 1.1 ผเู้ รียนมีวนิ ัย มคี วามรับผิดชอบ 1.2 ผเู้ รียนมีความซื่อสัตย์ สุจริต ระดับดีมาก 1.3 ผเู้ รียนมีความกตัญํูกตเวที 1.4 ผเู้ รียนมีความเมตตากรุณา โอบอ้อมอารี เอือ้ เฟื้อเผ่อื แผ่ และไม่เหน็ แก่ตัว 1.5 ผเู้ รียนมีความประหยดั และใชท้ รพั ยากร อย่างคุ้มค่า 1.6 ผเู้ รียนปฏิบตั ิตนเปน็ ประโยชนต์ ่อสว่ นรวม 1.7 ผเู้ รียนมีมารยาท ปฏิบัติตนตามประเพณี วฒั นธรรมที่ดีงามของท้องถิ่น มาตรฐานท่ี 2 ผเู้ รยี นมีสขุ นสิ ัย สุขภาพกาย ระดับดี ระดบั ดี ระดับดีมาก และสขุ ภาพจติ ท่ดี ี 2.1 ผเู้ รียนรู้จกั ดแู ลสุขภาพ สุขนสิ ัย และออก กาลงั กายสม่าเสมอ 2.2 ผเู้ รียนมีน้าหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพ ทางกายตามเกณฑ์ แผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

28 มาตรฐาน / ตวั บง่ ชี้ ผลการประเมิน เกณฑ์ที่ ผลการ คุณภาพ คาดหวัง ปี ประเมิน มาตรฐานท่ี 2 ผู้เรยี นมีสขุ นสิ ัย สุขภาพกาย ภายนอก ปี 2553 และสขุ ภาพจติ ท่ดี ี(ต่อ) รอบสอง 2553 (ปี2551) 2.3 ผเู้ รียนไม่เสพหรอื แสวงหาผลประโยชน์ จากสิ่งเสพติดและสิ่งมอมเมา หลีกเลีย่ ง ระดบั ดี ระดับดี ระดับดีมาก สภาวะที่ เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัยและ อุบตั ิเหตุรวมท้ังป๎ญหาทางเพศ 2.4 ผเู้ รียนมีความมัน่ ใจ กล้าแสดงออกอย่าง เหมาะสมและให้เกียรติผู้อ่นื 2.5 ผเู้ รียนร่าเริงแจ่มใส มมี นุษย์สัมพันธ์ทีด่ ีตอ่ เพื่อน ครู และผอู้ ืน่ และชอบมาโรงเรียน 2.6 ผเู้ รียนดารงชีวติ อยู่ในโรงเรยี นประจาได้อย่าง มีความสุข มาตรฐานท่ี 3 ผู้เรยี นมีสุนทรยี ภาพและลักษณะ ระดบั ดีมาก ระดบั ดีมาก ระดบั ดีมาก นิสยั ดา้ นศิลปะ ดนตรี และกีฬา 3.1 ผเู้ รียนมีความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรม ด้านศลิ ปะ 3.4 ผเู้ รียนมีความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรม ด้านดนตรี / นาฏศลิ ป์ โดยไม่ขัดหลกั ศาสนา 3.5 ผเู้ รียนมีความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมด้าน กีฬา/นันทนาการ 3.6 ผเู้ รียนสนใจและเข้าร่วมกิจกรรม ศลิ ปวฒั นธรรมและประเพณีที่ดงี ามของท้องถิ่น และของไทย แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

29 ผลการประเมิน คุณภาพ เกณฑท์ ี่ ผลการ คาดหวัง ประเมิน มาตรฐาน / ตวั บ่งชี้ ภายนอก ปี 2553 ปี 2553 ระดบั พอใช้ รอบสอง ระดับดี ระดับพอใช้ (ปี2551) ระดบั ปรับปรงุ มาตรฐานท่ี 4 ผเู้ รยี นมีความสามารถในการ วิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์ มวี ิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คดิ ไตร่ตรอง และมีวิสยั ทัศน์ ระดับพอใช้ 4.1 ผเู้ รียนมีทกั ษะการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ สรปุ ความคิดอย่างเป็นระบบและมีการคิดแบบองค์รวม 4.2 ผเู้ รียนมีทักษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ และ คิดไตร่ตรอง 4.3 ผเู้ รียนมีทักษะการคิดสรา้ งสรรค์และ จนิ ตนาการ มาตรฐานท่ี 5 ผเู้ รยี นมีความรูแ้ ละทักษะทจ่ี าเปน็ ตามหลกั สตู ร คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบรวบยอดระดับชาติ ในระดบั ชั้น ป. 3 ป. 6 ม. 3 และ ม. 6 ไม่ต่ากว่าระดับ ดี ใน 8 กลุ่ม สาระ 5.1 – 5.8 ร้อยละเฉลี่ยของผู้เรยี นที่มี ผลการทดสอบระดับชาติไม่ต่ากว่าระดับดีในกลุ่มสาระ ระดับปรบั ปรุง การเรียนรู้ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ สขุ และพลศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการ เรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

30 มาตรฐาน / ตวั บ่งชี้ ผลการประเมิน เกณฑท์ ี่ ผลการ คุณภาพ คาดหวัง ปี ประเมิน มาตรฐานท่ี 6 ผเู้ รยี นมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ ภายนอก ปี 2553 ด้วยตนเอง รกั การเรียนรู้และพฒั นา รอบสอง 2553 ตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง (ปี2551) ระดบั ดี ระดบั ดี 6.1 ผเู้ รียนมีนสิ ัยรกั การอ่านสนใจแสวงหาความรู้ ระดบั พอใช้ ระดบั ดี จากแหล่งต่างๆ รอบตัว ระดับดี ระดบั ดี 6.2 ผเู้ รียนใฝุรู้ ใฝเุ รียน สนุกกบั การเรียนรู้ และ พัฒนาตนเองอยู่เสมอ 6.3 ผเู้ รียนสามารถใช้หอ้ งสมดุ ใชแ้ หล่งความรู้ และสือ่ ต่างๆ ท้ังภายในและนอกตามความ เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 7 ผ้เู รยี นมีทกั ษะในการทางาน รักการ ทางาน สามารถทางานร่วมกับผอู้ ื่น ได้และมีเจตคติทด่ี ีตอ่ อาชีพสุจริต 7.1 ผเู้ รียนสามารถวางแผน ทางานตามลาดบั ขั้นตอน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7.2 ผเู้ รียนรักการทางาน สามารถปรับตวั และ ทางานเป็นทีมได้ 7.3 ผเู้ รียนมีความรสู้ ึกที่ดตี ่ออาชีพสุจรติ และหา ความรเู้ กีย่ วกับอาชีพที่ตนสนใจ 7.4 ผเู้ รียนมีความรทู้ ักษะด้านอาชีพสาหรบั การ ดารงชีวติ ในอนาคตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

31 มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน เกณฑ์ที่ ผลการ คณุ ภาพ คาดหวงั ปี ประเมิน มาตรฐานด้านครู ภายนอก ปี 2553 มาตรฐานท่ี 8 ครมู ีคุณวุฒ/ิ ความรู้ ความสามารถ รอบสอง 2553 ระดบั ดีมาก (ปี2551) ระดับดี ตรงกับงานทีร่ ับผิดชอบ และมีครู ระดับดี ระดับดี เพียงพอ ระดบั ดี 8.1 ครมู ีคณุ ลักษณะทีเ่ หมาะสม ระดบั พอใช้ 8.2 ครทู ีจ่ บปริญญาตรีข้นึ ไป 8.3 ครทู ี่สอนตรง ตามวิชาเอก/โท หรอื ความถนัด 8.4 ครไู ด้รบั การพัฒนาในวิชาที่สอนตามทีค่ รุ สุ ภา กาหนด 8.5 สถานศกึ ษามีจานวนครูตามเกณฑ์ 8.6 ครมู ีภาระงานดูแลนักเรียนประจา 12 – 16 ชวั่ โมง/วัน 8.7 ครมู ีคุณสมบตั ิเหมาะสมในการจัดการเรยี น การสอนในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ มาตรฐานท่ี 9 ครูมีความสามารถในการจัดการ เรยี นการสอนอยา่ งมีประสิทธิภาพ และเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 9.1 ครใู นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมี ประสิทธิภาพการสอนและเน้นผู้เรยี นเป็น สาคัญ 9.2 ครใู นกลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตรม์ ี ประสิทธิภาพการสอนและเน้นผู้เรยี นเป็น สาคญั 9.3 ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ มีประสิทธิภาพการสอนและเนน้ ผเู้ รียนเป็น สาคญั แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

32 มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน เกณฑ์ที่ ผลการ คณุ ภาพ คาดหวัง ปี ประเมินปี 9.4 ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมฯมี ภายนอก ประสิทธิภาพการสอนและเน้นผู้เรยี น รอบสอง 2553 2553 เปน็ สาคัญ (ปี2551) ระดับดีมาก ระดับดีมาก 9.5 ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขและพลศกึ ษามี ระดับดีมาก ประสิทธิภาพการสอนและเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั 9.6 ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมี ประสิทธิภาพการสอนและเน้นผู้เรยี นเป็น สาคัญ 9.7 ครใู นกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพมี ประสิทธิภาพการสอนและเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ 9.8 ครใู นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมี ประสิทธิภาพการสอนและเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ มาตรฐานดา้ นผู้บริหาร มาตรฐานท่ี 10 ผบู้ ริหารมีภาวะผู้นาและมี ความสามารถในการบริหารจัดการ 10.1 ผบู้ ริหารมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีความมุ่งมนั่ และอุทิศตนในการทางาน 10.2 ผบู้ ริหารมคี วามคิดริเรม่ิ และมีวสิ ัยทัศน์ 10.3 ผบู้ ริหารมคี วามสามารถในการบริหาร วิชาการและเป็นผนู้ าทางวิชาการ 10.4 ผบู้ ริหารมกี ารบริหารที่มีประสิทธิผลและ ผเู้ กีย่ วข้องพงึ พอใจในการบริหาร แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

33 มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน เกณฑ์ที่ ผลการ คุณภาพ คาดหวงั ปี ประเมินปี 10.5 ผบู้ ริหารมคี วามรู้ความเข้าใจหรอื มี ประสบการณใ์ นการจัดการศกึ ษาสงเคราะห์ ภายนอก รอบ 2553 2553 สอง (ปี2551) มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดองคก์ ร โครงสรา้ ง ระดับดีมาก ระดบั ดีมาก และการบรหิ ารงานและพฒั นาองค์กร ระดับดีมาก อย่างเปน็ ระบบครบวงจร ระดบั ดีมาก ระดับดีมาก ระดับดี 11.1 สถานศกึ ษามีการจัดองคก์ ร โครงสรา้ งการ บริหารและระบบการบริหารงานที่มีความ คล่องตัวสูง 11.2 สถานศกึ ษามีการบริหารเชิงกลยุทธ์ 11.3 สถานศกึ ษามีการบริหารโดยใช้หลักการมี ส่วนรว่ มและมีการตรวจสอบ ถ่วงดุล 11.4 สถานศกึ ษามีระบบและดาเนนิ การประกนั คุณภาพภายในเปน็ ไปตามกฎกระทรวง 11.5 สถานศกึ ษามีระบบดแู ลและช่วยเหลอื ผเู้ รียน ประจาอย่างมปี ระสิทธิภาพ 11.6 สถานศกึ ษามีการบริหารจัดการและจัด กิจกรรมให้ผเู้ รียนมคี วามจงรกั ภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ และมุ่งเน้นการ แก้ปญ๎ หาความมัน่ คงของชาติ มาตรฐานท่ี 12 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมและ การเรียนการสอนโดยเนน้ ผู้เรยี น เป็นสาคญั 12.1 สถานศกึ ษามีการจดั สภาพแวดล้อมและการ บริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรยี นพัฒนาตาม ธรรมชาติเต็มศักยภาพ 12.2 สถานศกึ ษามีการจดั กระบวนการเรียนรู้ทีเ่ น้น ผเู้ รียนเป็นสาคัญ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

34 ผลการประเมิน เกณฑ์ที่ ผลการ คาดหวงั ปี ประเมินปี มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้ คณุ ภาพ ภายนอก รอบ 2553 2553 สอง (ปี2551) ระดับดีมาก ระดบั ดีมาก 12.3 สถานศกึ ษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคณุ ภาพ ระดบั ดี ระดบั ดี ผเู้ รียนอย่างหลากหลาย มาตรฐานท่ี 13 สถานศึกษามีหลกั สตู รทเ่ี หมาะสม กับผเู้ รยี นและทอ้ งถิ่นมีสือ่ การเรียน การสอนท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ 13.1 สถานศกึ ษามีหลักสตู รและเนือ้ หาสาระการ เรียนรู้ระดับสากล ระดับชาติ และระดบั ท้องถิ่นที่เหมาะสม สอดคล้องกับหลักสูตร ระดบั ดีมาก แกนกลาง ความต้องการของผู้เรยี นและ ท้องถิ่น 13.2 สถานศกึ ษามีส่อื การเรียนการสอนที่เหมาะสม และเอือ้ ต่อการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 14 สถานศึกษาส่งเสรมิ ความสมั พนั ธ์ และความร่วมมือกับชมุ ชน ในการ พฒั นาการศึกษา 14.1 สถานศกึ ษามีระบบและกลไกในการส่งเสริม ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการ ระดบั ดี พัฒนาการศกึ ษา 14.2 สถานศกึ ษามีกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมความสมั พันธ์ และความร่วมมือกับชมุ ชนในการพฒั นา การศกึ ษา แผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

35 ส่วนที่ 2 นโยบาย และจดุ เนน้ ในการพฒั นาการจัดการศกึ ษา แผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

36 ส่วนที่ 2 นโยบายและจุดเนน้ ในการพฒั นาการจดั การศกึ ษา นโยบายด้านการจดั การศึกษาของรฐั บาล 1. ปฏิรูปการศึกษาท้ังระบบ โดยปฏิรูปโครงสร้างและการบริหารจัดการ ปรับปรุง กฎหมายให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญและระดมทรัพยากรเพื่อการปรับปรุงการบริหารจัด การศึกษาตั้งแต่ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานจนถึงระดับอุดมศึกษา พัฒนาครู พัฒนาระบบการ คัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย พัฒนาหลักสูตร รวมท้ังปรับหลักสูตรวิชาแกนหลักรวมถึงวิชา ประวัติศาสตร์ ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ ปรับบทบาท การศึกษานอกโรงเรียนเป็นสานักงานการศึกษาตลอดชีวิตและจัดให้มีศูนย์การศึกษาตลอดชีวิต เพื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ตลอดจนส่งเสริมการกระจายอานาจให้ทุกภาคส่วนมี ส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา เพื่อนาไปสู่เปูาหมายคุณภาพการศกึ ษาและการเรียนรทู้ ี่มงุ่ เน้น คณุ ธรรมนาความรู้อย่างแท้จรงิ 2. ส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาท้ังระบบ โดยมุ่งเน้นใน ระดบั อาชีวศกึ ษาและอุดมศกึ ษา เพื่อให้สนองตอบความต้องการด้านบุคลากรของภาคเศรษฐกิจ 3. พัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ได้ครูดี ครูเก่ง มีคุณธรรม มีคุณภาพและมีวิทยฐานะสูงขึ้น ลดภาระงานครูที่ไม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนตามโครงการคืน ครูให้นักเรียน มีการดูแลคุณภาพชีวิตของครูด้วยการปรับโครงสร้างหนี้และจัดต้ังกองทุนพัฒนา คุณภาพชีวิตครู ควบคู่ไปกับการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เน้นการพัฒนาเนื้อหาสาระ และบุคลากรให้พร้อมรองรับและใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างคุ้มค่า 4. จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี ตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึง มัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เกิดความเสมอภาคและ ความเป็นธรรมในโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรในกลุ่มผู้ด้อยโอกาสท้ังผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือ ทุพพลภาพ ผู้อยู่ในสภาวะยากลาบาก ผู้บกพร่องทางร่างกายและสติป๎ญญาและชนต่าง วฒั นธรรม รวมท้ังยกระดับการพัฒนาศนู ย์เด็กเล็กในชุมชน 5. ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาไปสู่ความ เป็นเลิศ โดยการจัดกลุ่มสถาบันการศึกษาตามศักยภาพปรับเงินเดือนค่าตอบแทนของผู้สาเร็จ การศึกษาระดับอาชีวศึกษาให้สูงขึ้น โดยภาครัฐเป็นผู้นาและเป็นแบบอย่างของการใช้ทักษะ อาชีวศกึ ษาเปน็ เกณฑก์ าหนดค่าตอบแทนและความก้าวหน้าในงาน ควบคู่กับการพัฒนาองค์ ความรแู้ ละนวัตกรรมด้วยการเพิม่ ขีดความสามารถด้านการวิจยั และพฒั นา แผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

37 6. ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ให้มีการประนอม และไกล่เกลี่ยหนี้ รวมทั้งขยายกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาเพิ่มขึ้นเพื่อให้ประชาชนมีโอกาสใน การเข้าถึงการศึกษาระดับอาชีวศกึ ษาและปริญญาตรเี พิ่มขึ้น 7. ส่งเสริมให้เดก็ เยาวชนและประชาชน ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเชงิ สร้างสรรค์อย่างชาญฉลาด เพิม่ เสริมสรา้ งการเรยี นรู้ 8. เร่งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้อย่างบูรณาการในทุกระดับ การศึกษาและในชุมชน โดยใช้พื้นที่และโรงเรียนเป็นฐานในการบูรณาการทุกมิติและยึดเกณฑ์ การประเมินของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาเป็นหลักในการ ยกระดับคุณภาพโรงเรียนที่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานและส่งเสริมความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัย ไปสู่การเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาและวิจัยพัฒนาในภูมิภาค รวมท้ังเสริมสร้างสังคมแห่งการ เรียนรู้อย่างตอ่ เนือ่ งตลอดชวี ิตในชุมชนโดยเชื่อมโยงบทบาทสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา และสถาบนั ทางศาสนา นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ 1. การขบั เคลือ่ นการปฏิรูปการศกึ ษาในทศวรรษที่สอง 2. โครงการเรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมคี ุณภาพ 3. จัดตงั้ โรงเรียนดีประจาตาบล 4. พฒั นาการศึกษา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 5. สร้างแหล่งเรียนรรู้ าคาถูก 6. สร้างเครอื ข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศกึ ษา (National Education Network : Ned Net) 7. สร้างขวญั และกาลงั ใจครู 8. สนบั สนุนองค์ความรู้เกี่ยวกบั วิทยาศาสตรค์ ณิตศาสตร์และเทคโนโลยี แผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

38 นโยบาย สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน 1. ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาของคนไทยอย่างมบี รู ณาการและสอดคล้องกนั ตั้งแต่ ระดับปฐมวัย จนถึงอดุ มศกึ ษาท้ังในและนอกระบบการศกึ ษา 2. การเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพระบบการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต 3. พัฒนาหลักสูตรปรับระบบการผลิตและพัฒนาครู ให้มคี ุณภาพและคณุ ธรรมอย่าง ท่ัวถึง ตอ่ เนื่อง และก้าวทนั การเปลีย่ นแปลงในยุคโลกาภวิ ฒั น์ 4. ส่งเสริมการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการเพิม่ ประสิทธิภาพการเรียน การ สอนและการเรียนรู้อย่างจริงจัง รวมท้ังการเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสงู อย่างกว้างขวาง 5. ดาเนนิ การให้บคุ คลมีสทิ ธิเสมอกันในการรับการศกึ ษา 12 ปีโดยไม่เกบ็ ค่าใช้จ่าย และให้ครอบคลุมผยู้ ากไร้ ผู้พิการหรอื ทพุ พลภาพหรอื อยู่ในสภาวะยากลาบากมากขึน้ 6. เพิ่มโอกาสใหแ้ ก่เยาวชนในการศกึ ษาต่อ ผ่านกองทนุ ใหก้ ู้ยืมทีผ่ ูกพนั กบั รายได้ใน อนาคตและเช่ือมโยงกับนโยบาย การผลติ บัณฑิตที่ตอบสนองความตอ้ งการบคุ ลากรทีม่ ีความรู้ ความสามารถของประเทศ 7. สนบั สนนุ การให้ทุนการศกึ ษาท้ังในและต่างประเทศ สาหรับผดู้ ้อยโอกาส 8. สนบั สนนุ การผลติ และพัฒนากาลงั คน ให้สอดรบั การเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ ง การผลิตและการบริการ 9. เร่งผลิตกาลังคนระดบั อาชีวศกึ ษา ให้มคี ุณภาพสนบั สนุนความสามารถในการ แขง่ ขันของประเทศพร้อมท้ังพฒั นารบั รองคุณวุฒิวิชาชีพตามมาตรฐานสากล 10. ขยายบทบาทของระบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่านองค์กรต่าง ๆ วสิ ยั ทัศน์ และยุทธศาสตร์ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ วสิ ยั ทัศน์ คนพิการและผู้ด้อยโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ ด้วยรูปแบบที่ หลากหลาย เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องจาเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล ท้ังนี้เพื่อให้มี ทักษะชีวิต สามารถพึ่งตนเองได้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข มีศักดิ์ศรี มีคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะ คนพิการจะได้รับบริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มและได้รับสิ่งอานวยความสะดวก สื่อบริการและ ความชว่ ยเหลอื อื่นใดตามความเหมาะสม แผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

39 ยุทธศาสตร์ 1. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจดั การศึกษาเพื่อคนพิการและผดู้ ้อยโอกาส 2. การเสริมสรา้ งประสทิ ธิภาพในการให้บริการทางการศกึ ษาและการฝกึ อบรมเพือ่ คนพิการและผู้ด้อยโอกาสสามารถศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น สามารถประกอบอาชีพและ พึ่งตนเองได้ตามศักยภาพ 3. การพัฒนาครู ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเพื่อคน พิการและผู้ด้อยโอกาส ให้มีความรู้ความเข้าใจเร่ืองคนพิการและผู้ด้อยโอกาส สามารถบริการ จัดการบริหารหลกั สตู รและวางแผนการจดั การศกึ ษาได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 4. การผลิต พัฒนากระจายสื่อ เทคโนโลยีการศึกษาและสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับ คนพิการให้ทวั่ ถึง เพียงพอและเหมาะสมตามความต้องการจาเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล 5. การประสานเครือขา่ ยการทางานระหว่างหนว่ ยงานทั้งภายในและภายนอกประเทศ รวมทั้งการระดมทรัพยากรในการพฒั นาการจัดการศกึ ษาเพือ่ คนพิการและผดู้ ้อยโอกาส นโยบายปฏิรูปการศึกษาสาหรบั เด็กด้อยโอกาสในโรงเรียนศึกษาสงเคราะหใ์ น ทศวรรษทีส่ อง นโยบายขอ้ ท่ี 1 เด็กด้อยโอกาสได้รบั การศกึ ษาอย่างทั่วถึงและเสมอภาค ยุทธศาสตร์ 1 เพิ่มโอกาสให้ เด็กด้อยโอกาสได้รบั บริการทางการศกึ ษา มาตรการ 1. พัฒนาระบบและจัดทาฐานข้อมูล เดก็ ด้อยโอกาสให้ทนั สมัยเปน็ ป๎จจุบันและสามารถ เช่อื มโยงกบั หนว่ ยงานอ่ืนๆ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 2. พัฒนาเครือข่ายการเข้าถึงเด็กด้อยโอกาสและพฒั นากระบวนการรับนกั เรียนเชิงรกุ เพื่อสร้างโอกาสการศกึ ษาแก่เดก็ ด้อยโอกาส 3. พัฒนารูปแบบการจดั การศกึ ษาให้สอดคล้องกับความตอ้ งการจาเปน็ ของเด็กด้อย โอกาส 4. เพิม่ สถานศกึ ษาในการจัดการศกึ ษา ใหก้ บั เด็กด้อยโอกาสตามความจาเป็นและ สอดคล้องกับความต้องการของสงั คม 5. กาหนด กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการให้เดก็ ด้อยโอกาสทกุ คน ได้รับบริการทาง การศกึ ษาอย่างท่ัวถึง 6. ส่งเสริมใหเ้ ดก็ ด้อยโอกาสในโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหเ์ ขา้ ถึงการศกึ ษาในระดบั ปริญญาตรี ตามศกั ยภาพแต่ละบคุ คลโดยไม่เสยี ค่าใช้จ่าย แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

40 นโยบายขอ้ ท่ี 2 เดก็ ด้อยโอกาสได้รบั การศกึ ษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาใน ทกุ ระบบและรูปแบบการศกึ ษา ยทุ ธศาสตร์ 2 พฒั นาหลกั สตู รกระบวนการจดั การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผลใหเ้ หมาะสม สาหรบั เด็กด้อยโอกาส มาตรการ 1. พัฒนามาตรฐานและการประกนั คณุ ภาพการศึกษาสาหรับเด็กด้อยโอกาสในโรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์ 2. ส่งเสริม การวิจัย พัฒนามาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา รวมท้ังการจัด หลักสูตร นวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การทดสอบทางการศึกษา การวัดและ ประเมินผล ทีเ่ หมาะสมกับเด็กด้อยโอกาสโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ 3. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ โครงการตามพระราชดาริ 4. พัฒนากรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 สาหรับเด็กด้อยโอกาสในโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ 5. พฒั นาระบบและให้การสนับสนุนสื่อ เทคโนโลยีทางการศึกษาที่ทันสมัยให้สอดคล้องกับ ความต้องการสาหรับเด็กด้อยโอกาสในโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ 6. กาหนดระเบียบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการ เกีย่ วกับการวัดและประเมินผลการศกึ ษา การเทียบโอน สาหรับเดก็ ด้อยโอกาสในโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ ยทุ ธศาสตร์ 3 พฒั นาคณุ ภาพครูและบุคลากร ทีเ่ กยี่ วข้องกับการจัดการศกึ ษาสาหรบั เดก็ ด้อยโอกาส มาตรการ 1. ส่งเสริม สนบั สนุน การพัฒนาสมรรถนะ ครู บุคลากรทางการศึกษา ใหไ้ ด้รับ การพัฒนาศักยภาพ องคค์ วามรู้ การศกึ ษาต่อเน่ืองและทักษะในการจดั การศกึ ษาสาหรับเดก็ ด้อยโอกาสในโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ 2. ปรบั ปรงุ กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ และวิธีการที่เกีย่ วกับการพัฒนาครู และบุคลากร ทางการศึกษาของโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ 3. ส่งเสริมการยกย่องเชิดชเู กียรติ จัดสวัสดิการสร้างขวญั กาลังใจและสนบั สนุน ทนุ การศึกษาต่อในระดับทีส่ ูงข้ึน รวมทั้งการศึกษาดูงานการจัดการศกึ ษาสาหรับเด็กด้อยโอกาส ทั้งในและต่างประเทศ แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

41 ยทุ ธศาสตร์ 4 พฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษาและแหล่งเรยี นรู้สาหรบั เดก็ ดอ้ ยโอกาส มาตรการ 1. สนับสนนุ อตั รากาลงั ขา้ ราชการครใู หเ้ ต็มตามเกณฑ์ควรมีของโรงเรียนศกึ ษา สงเคราะห์ 2. ส่งเสริมความเข้มแข็งระบบการประกนั คุณภาพภายในของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ เพื่อให้ได้รับการรบั รองมาตรฐานการศกึ ษาตามระบบการประกันคณุ ภาพภายนอก 3. ส่งเสริม สนบั สนนุ พฒั นาแหล่งเรียนรตู้ ่างๆ และโครงการพระราชดาริด้านปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงให้มีคุณภาพที่เดก็ ด้อยโอกาสสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ 4. ส่งเสริม สนบั สนุนสถานศกึ ษา และแหล่งเรียนรู้ จัดสภาพแวดล้อม ระบบสนับสนนุ การเรียนการสอน ตลอดจนบริการ สื่อ เทคโนโลยีทางการศึกษาที่เดก็ ด้อยโอกาสสามารถเข้าถึง และใช้ประโยชน์ได้ 5. ส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์เป็นแกนนาการจัดการเรียนร่วม นโยบายขอ้ ท่ี 3 บคุ คล องคก์ ารภาครัฐและเอกชน มีสว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษาสาหรับเด็ก ด้อยโอกาส ยทุ ธศาสตร์ 5 ส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษาสาหรบั เด็กด้อยโอกาส มาตรการ 1. ส่งเสริมความเข้มแข็ง และพัฒนาศักยภาพของเครือขา่ ยในการจัดการศกึ ษาสาหรับ เด็กด้อยโอกาสในโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ 2. ส่งเสริม สนับสนนุ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ บคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กร เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ สถาบนั สังคมอน่ื ใหม้ ีสว่ นรว่ มในการ จัดการศึกษาสาหรับ เดก็ ด้อยโอกาสในโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ 3. ส่งเสริม สนับสนนุ ใหค้ รอบครวั มีบทบาทในการพฒั นาศกั ยภาพเด็กด้อยโอกาสอย่าง ต่อเน่อื ง และการเรียนรู้โดยครอบครัว 4. พัฒนากลไก การประสานงานเครือข่ายในการจดั การศกึ ษาสาหรับเด็กด้อยโอกาสทั้ง ในระดับนโยบายและระดบั ปฏิบัติการอย่างเป็นระบบ 5. ส่งเสริมความเข้มแข็ง และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ของโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

42 นโยบายข้อท่ี 4 พฒั นาคุณภาพการบริหารจดั การศึกษาสาหรับเด็กด้อยโอกาส ยทุ ธศาสตร์ 6 พฒั นาระบบการบริหารและกลไกในการจัดการศกึ ษาสาหรับเด็กด้อยโอกาส มาตรการ 1. จดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์ในการจัดการศกึ ษาสาหรับเด็กด้อยโอกาสในโรงเรียนศกึ ษา สงเคราะห์ 2. พัฒนาระบบการจัดการศึกษา ระบบการส่งต่อ และระบบการสนบั สนุนการจัด การศกึ ษาสาหรบั เด็กด้อยโอกาสในโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์อย่างเป็นรปู ธรรม 3. เร่งจัดทา กฎ ระเบียบ หลักเกณฑแ์ ละวิธีการที่เอื้อต่อการบริหารจัดการศกึ ษาสาหรบั เด็กด้อยโอกาสในโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ ทีส่ อดคล้องกบั พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ 4. กาหนดนโยบายด้านการบริหาร และกลไกการจัดการศกึ ษาสาหรับเด็กด้อยโอกาส และจัดทาข้อเสนอเกณฑก์ ารจัดสรรบุคลากรและการกาหนดจานวนนักเรียนตอ่ หอ้ งให้ สอดคล้องกับดูแลเชิงคุณภาพ 5. ส่งเสริมศกั ยภาพในการประชาสัมพันธ์ การประสานงาน กากับติดตามและประเมินผล การจัดการศกึ ษาสงเคราะห์ในระดบั ชาติ 6. ปรบั ปรุงระบบ โครงสร้างการบริหารงาน และสง่ เสริมความเข้มแข็งในการบริหารงาน ของในโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ ยทุ ธศาสตร์ 7 ปฏิรปู ระบบการเงนิ การคลงั และงบประมาณ เพือ่ การศกึ ษาสาหรับเด็กด้อยโอกาส มาตรการ 1. ให้รฐั บาลจดั งบประมาณสนับสนุนกองทนุ ส่งเสริมและพฒั นาการศกึ ษาสาหรบั เดก็ ด้อยโอกาสเพือ่ ใช้ในการจดั การศึกษาสาหรับเดก็ ด้อยโอกาสในโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ 2. เร่งรัดให้มีรายได้จากการออกสลากการกุศล และภาษีของสนิ ค้าที่เปน็ ต้นเหตปุ ญ๎ หา ทางสังคมเข้ากองทนุ ส่งเสริมและพฒั นาการศกึ ษาสาหรับเด็กด้อยโอกาสในโรงเรยี นศึกษา สงเคราะห์ 3. ส่งเสริม สนับสนนุ ความร่วมมอื กับภาคเอกชนและขยายเครอื ข่ายการใหค้ วาม ช่วยเหลือในการศกึ ษาต่อและการประกอบอาชีพสาหรับเดก็ ด้อยโอกาสในโรงเรยี นศึกษา สงเคราะห์ แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

ส่วนที่ 3 การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมทางการศกึ ษา ( SWOT ANALYSIS )

44 ส่วนที่ 3 การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มทางการศึกษา (SWOT ANALYSIS ) สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน (Internal Environment) ปจั จัยภายใน จุดแข็ง (Strengths) จดุ ออ่ น (Weaknesses) ดา้ นโครงสร้าง 1. สถานศกึ ษากาหนดนโยบายใหบ้ ุคลากร 1. ไม่มกี ารประเมนิ ผลสาเร็จของ และนโยบาย ทกุ คนมสี ่วนรว่ มในการพัฒนางานส่งผลให้ แผนยทุ ธศาสตรท์ ีผ่ ่านมา เทียบกับ ของโรงเรยี น การดาเนินงานมีการพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง เปูาประสงค์ทีก่ าหนดไว้ S1 Structure 2. สถานศกึ ษามีแผนภูมิโครงสรา้ งการ 2. ภาระงานตามโครงสรา้ งการ บริหารงานชดั เจน ทาให้งา่ ยต่อการปฏิบัติ บริหารงานมีมาก ด้านผลผลิตและ 3. สถานศกึ ษามีการกาหนดวิสัยทัศน์ คุณภาพการ พันธกิจเป็นปูาหมายในการพัฒนาคณุ ภาพ 1. ผลสัมฤทธิข์ องนักเรียนใน บริการS2 การจัดการศกึ ษา ภาพรวมต่ากว่าเกณฑม์ าตรฐาน Service 4. นโยบายเร่งคุณภาพของสถานศกึ ษาทา ทุกระดบั ช้ัน ให้บุคลากรทุกคนกระตอื รอื ร้นในการ 2. นกั เรียนทุกระดบั ชั้น มปี ๎ญหา ปฏิบตั ิงาน ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียน 1. นักเรียนทกุ คนได้รบั การอบรม ดูแล 3. นักเรียนส่วนใหญ่ขาดความ เอาใจใส่ตลอด 24 ชว่ั โมง กระตอื รอื ร้นและเอาใจใส่ต่อการ 2. นักเรียนทุกคนได้รบั การสนบั สนนุ เรียน ปจ๎ จัยพืน้ ฐานในการดารงชีวิตในโรงเรยี น 3. นกั เรียนทีย่ ากจน และเรียนดี ได้รบั ทุน สนบั สนนุ การศกึ ษาจากหน่วยงานภายนอก 4. นักเรียนทีม่ ีความตอ้ งการพิเศษได้เรียน ร่วมกับนกั เรียนปกติ 5. โรงเรียนมีหลักสตู รสถานศกึ ษาที่ สอดคล้องกบั ความต้องการของผู้เรยี น 6. นักเรียนส่วนใหญ่มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีความประพฤติเรยี บร้อย แผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

45 ปัจจัยภายใน จุดแข็ง (Strengths) จุดออ่ น (Weaknesses) ดา้ น บุคลากร M1 Man 7. โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมใหน้ กั เรียนมี ด้านการเงิน คณุ ธรรมจริยธรรมและค่านิยมทีพ่ ึงประสงค์ งบประมาณ M2 Money 1. มีบคุ ลากรครบตามเกณฑแ์ ละสอนตรง 1. บุคลากรบางสว่ นขาดความรู้ ตามวิชาเอก ความเข้าใจในการใชเ้ ทคโนโลยี 2. บุคลากรมีความกระตือรอื ร้นใน ใหม่ๆ ทาให้นกั เรียนขาดโอกาสใน การศกึ ษาต่อ ในระดบั ทีส่ ูงขนึ้ การเรียนรู้ 3. คณะครใู ห้ความเอาใจใส่ อบรม ดแู ล 2. บุคลากรมีภาระงานนอกจาก นักเรียน งานสอนทาให้การสอนไม่มี 4. บุคลากรส่วนใหญ่พกั อาศยั อยู่ใน ประสิทธิภาพเท่าที่ควร โรงเรียนมีความพร้อมในการพฒั นาโรงเรียน 3. บุคลากรที่มาปฏิบตั ิงานใหม่ ขาดความรู้ ความเข้าใจ ในบริบท การจดั การศกึ ษาในโรงเรยี นศกึ ษา สงเคราะห์ 4. ขาดบคุ ลากรสนับสนุนทาง การศกึ ษา เช่น เจ้าหน้าทีก่ ารเงิน บัญชี พัสดุ เป็นต้น 5. ครมู ีทกั ษะการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ค่อนขา้ งน้อย 1. มีการใช้จา่ ยเงินตามแผน ทาใหส้ ามารถ 1. งบอดุ หนุนคา่ สาธารณปู โภคไม่ พัฒนางานได้ตามวตั ถุประสงค์ เพยี งพอตอ่ การใชจ้ ่าย 2. ระบบการใช้จา่ ยเงินแบบมุ่งเน้นผลงาน 2. แนวปฏิบตั ิดา้ นการเงนิ มีการ ส่งผลให้การบริหารงบประมาณมีประสิทธภิ าพ เปลี่ยนแปลงและต้องอาศัยระบบ และเกิดประสิทธิผล Internet ในการเบิกจา่ ยงบประมาณ 3. งบประมาณดา้ นการดาเนนิ งานเพยี งพอต่อ การบรหิ ารจดั การศึกษา 4. การใช้จา่ ยงบประมาณเพอ่ื พฒั นาคุณภาพ นกั เรยี นด้านความเปน็ อยมู่ ีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล แผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา 2554 – 2558 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook