Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอน 0042003

เอกสารประกอบการสอน 0042003

Published by surachat.s, 2020-07-15 10:12:31

Description: เอกสารประกอบการสอน 0042003

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไป รายวิชา 00042003 (การดแู ลและการสร้างเสรมิ สขุ ภาพแบบองค์รวม) (Holistic Health Promotion) 1. รศ.ดร.ชัยสิทธิ์ สิทธเิ วช คณะแพทยศาสตร์ 2. รศ.ดร.นริสา วงศ์พนารกั ษ์ คณะพยาบาลศาสตร์ 3. รศ.ดร.วรพจน์ พรหมสัตยพรต คณะสาธารณสุขศาสตร์ 4. รศ.ดร.วลั ยา สทุ ธขิ า คณะวทิ ยาศาสตร์ 5. รศ.ดร.สมุ ัทนา กลางคาร คณะสาธารณสุขศาสตร์ 6. ผศ.ดร. ณภสั สรรณ ธนาพงษ์อนนั ท์ คณะศึกษาศาสตร์ 7. ผศ.ดร.ดรุณี พ่วงพรพิทกั ษ์ คณะแพทยศาสตร์ 8. ผศ.ดร.นงเยาว์ มเี ทียน คณะพยาบาลศาสตร์ 9. ผศ.ดร.ภคนิ ี ศรสี ารคาม คณะพยาบาลศาสตร์ 10. ผศ.ขวัญใจ ศกุ รนนั ทน์ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ 11. ผศ.วัลลภา ลลี านันทกลุ คณะแพทยศาสตร์ 12. อ.ดร.เก้ือพันธ์ กล่นั การดี คณะพยาบาลศาสตร์ 13. อ.ดร.จงกลณี ธนาไสย์ คณะแพทยศาสตร์ 14. อ.ดร.พัดชา หิรัญวัฒนกุล คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ 15. อ.ดร.วัลยา เนาวรตั นว์ ัฒนา คณะแพทยศาสตร์ 16. อ.ดร.สุรศกั ดิ์ เทยี บฤทธ์ิ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ 17. อ.ชลลดา ทอนเสาร์ คณะแพทยศาสตร์ 18. อ.ปยิ าภรณ์ แสนศลิ า คณะแพทยศาสตร์ 19. อ.สไุ วย์รินทร์ ศรีชัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ 20. อ.สรุ ชาติ สิทธิปกรณ์ คณะพยาบาลศาสตร์ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2563) โดยสานักศกึ ษาทัว่ ไป มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

คานา เอกสารประกอบการสอน รายวิชา การดูแลและการสร้างเสริมสขุ ภาพแบบองค์รวม รหัสวิชา 00042003 ได้เรียบเรยี งข้นึ อย่างเป็นระบบครอบคลุมเน้ือหาสาระตามคาอธิบายของวิชาในหมวดวิชาเพ่ือใช้ในการเรียนการสอน ให้แก่นักศึกษาหรือผู้ท่ีสนใจในวิชาดังกล่าว สามารถอ่านและทาความเข้าใจในเน้ือหาได้ด้วยตนเอง โดยเน้ือหา ประกอบด้วย แนวคิดการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม สุขอนามัยและการป้องกันโรค การดูแลสุขภาพกายและการ ป้องกันโรคท่ีพบบ่อยในช่วงวัยต่าง ๆ ในระดับเบ้ืองต้น การประเมินสุขภาพจิตและการจัดการปัญหาสุขภาพจิต เบื้องต้น กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการล่วงละเมิดทางเพศ ความสัมพันธ์ ความรัก การเตรียมความพร้อมสู่การมี ครอบครัวและการวางแผนครอบครัว การดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาไทยและสากลภายใต้หลักเศรษฐกิจพอเพียงที่ สอดคลอ้ งกับบริบทไทยและวถิ ชี วี ติ ไทย และสทิ ธปิ ระกนั สุขภาพในประเทศไทยและสิทธแิ ละหน้าทขี่ องผ้ปู ่วย ผู้แต่งหวังว่า เอกสารประกอบการสอนน้ีคงอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอน ตามสมควรหากท่านท่ี นาไปใช้มีขอ้ เสนอแนะ ผูแ้ ตง่ ยินดีรับฟงั ความคดิ เหน็ และขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ดี ว้ ย รศ.ดร.ชยั สทิ ธิ์ สิทธเิ วช รศ.ดร.วรพจน์ พรหมสตั ยพรต รศ.ดร.วัลยา สทุ ธขิ า รศ.ดร.สมุ ทั นา กลางคาร ผศ.ขวัญใจ ศกุ รนันทน์ ผศ.วัลลภา ลลี านันทกุล อ.ชลลดา ทอนเสาร์ อ.สุรชาติ สิทธปิ กรณ์ อ.สุไวยร์ นิ ทร์ ศรชี ยั 17 มิถุนายน 2563

สารบญั หน้า คานา (ก) บทท่ี 1.............................................................................................................................................................................1 แนวคดิ การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม สุขอนามยั และการป้องกนั โรค.......................................................................1 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ..................................................................................................................................1 วิธีการสอน/กจิ กรรมการเรยี นการสอน...............................................................................................................1 การประเมินผลลัพธ์การเรยี นรู้ ............................................................................................................................1 บทนา......................................................................................................................................................................... 2 เนื้อหา........................................................................................................................................................................ 2 เอกสารอ้างอิง..........................................................................................................................................................15 ใบงาน/ใบกจิ กรรม/แบบทดสอบทา้ ยบท ................................................................................................................16 บทที่ 2...........................................................................................................................................................................17 การดูแลสขุ ภาพกายและการปอ้ งกันโรคทพี่ บบอ่ ยในช่วงวัยตา่ ง ๆ ........................................................................17 ในระดบั เบอ้ื งตน้ ตอนท่ี 1.......................................................................................................................................17 วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ................................................................................................................................17 วธิ กี ารสอน/กิจกรรมการเรียนการสอน.............................................................................................................17 การประเมินผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ ..........................................................................................................................17 บทนา.......................................................................................................................................................................18 เนื้อหา......................................................................................................................................................................18 เอกสารอ้างองิ ..........................................................................................................................................................31 การดูแลสุขภาพกายและการป้องกันโรคท่ีพบบ่อยในชว่ งวัยตา่ ง ๆ ในระดบั เบอื้ งตน้ ตอนท่ี 2.............................32 วัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ................................................................................................................................32 วธิ ีการสอน/กจิ กรรมการเรียนการสอน.............................................................................................................32 การประเมนิ ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ ..........................................................................................................................32 เนือ้ หา......................................................................................................................................................................33 เอกสารอ้างอิง..........................................................................................................................................................48 แบบทดสอบท้ายบท................................................................................................................................................49 ใบงาน (เดี่ยว) ..........................................................................................................................................................50 บทที่ 3...........................................................................................................................................................................51

การประเมินสุขภาพจติ และการจัดการปัญหาสุขภาพจติ เบื้องตน้ ...........................................................................51 วตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม ................................................................................................................................51 วธิ ีการสอน/กิจกรรมการเรยี นการสอน.............................................................................................................51 การประเมินผลลพั ธ์การเรียนรู้ ..........................................................................................................................51 บทนา.......................................................................................................................................................................52 เนื้อหาตอนที่ 1........................................................................................................................................................52 เนือ้ หาตอนที่ 2........................................................................................................................................................61 เอกสารอ้างองิ ..........................................................................................................................................................64 ใบงาน/ใบกจิ กรรม/แบบทดสอบทา้ ยบท ................................................................................................................65 บทที่ 4...........................................................................................................................................................................66 กฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การลว่ งละเมิดทางเพศ.......................................................................................................66 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ................................................................................................................................66 วิธีการสอน/กิจกรรมการเรยี นการสอน.............................................................................................................66 การประเมินผลลพั ธ์การเรียนรู้ ..........................................................................................................................66 บทนา.......................................................................................................................................................................67 เนอ้ื หา......................................................................................................................................................................67 เนอ้ื หาตอนท่ี 1........................................................................................................................................................68 เน้ือหาตอนท่ี 2........................................................................................................................................................72 ใบงาน/ใบกจิ กรรม/แบบทดสอบทา้ ยบท ................................................................................................................78 บทที่ 5...........................................................................................................................................................................80 ความสัมพันธ์ ความรัก ............................................................................................................................................80 การเตรียมความพร้อมสกู่ ารมคี รอบครวั และการวางแผนครอบครัว ตอนท่ี 1........................................................80 วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม ................................................................................................................................80 วธิ ีการสอน/กิจกรรมการเรยี นการสอน.............................................................................................................80 การประเมนิ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ ..........................................................................................................................80 บทนา.......................................................................................................................................................................81 เนื้อหา......................................................................................................................................................................81 เอกสารอ้างองิ ..........................................................................................................................................................94 ใบงาน/ใบกิจกรรม/แบบทดสอบท้ายบท ................................................................................................................95 ความสัมพันธ์ ความรกั การเตรยี มความ พรอ้ มสู่การมคี รอบครัวและการวางแผน ครอบครวั ตอนที่ 2 ...............96 วัตถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ................................................................................................................................96

วธิ ีการสอน/กิจกรรมการเรียนการสอน.............................................................................................................96 การประเมินผลลพั ธ์การเรยี นรู้ ..........................................................................................................................96 บทนา.......................................................................................................................................................................97 เนื้อหา......................................................................................................................................................................97 เอกสารอ้างอิง........................................................................................................................................................111 ใบกจิ กรรม.............................................................................................................................................................112 บทท่ี 6.........................................................................................................................................................................113 การดแู ลสุขภาพดว้ ยภูมปิ ญั ญาไทยและสากลภายใต้หลกั เศรษฐกจิ พอเพียงท่สี อดคล้องกบั บริบทไทยและวิถชี วี ติ ไทย ........................................................................................................................................................................113 วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ..............................................................................................................................113 วิธีการสอน/กจิ กรรมการเรยี นการสอน...........................................................................................................113 การประเมินผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ ........................................................................................................................113 บทนา.....................................................................................................................................................................114 เนอ้ื หา....................................................................................................................................................................114 ตอนท่ี 1 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง...................................................................................................115 ตอนท่ี 2 หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งกับการดูแลสุขภาพของคนไทย ....................................................................122 ตอนท่ี 3 การสรา้ งเสริมสขุ ภาพในการแพทย์แผนไทย : หลักปฏบิ ัติเพ่ือให้คนไทยมีสขุ ภาพดี.......................126 ตอนที่ 4 หลักการสร้างเสริมสุขภาพในการแพทย์แผนไทยบนพนื้ ฐานของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง............133 เอกสารอา้ งองิ ........................................................................................................................................................140 ใบงาน/ใบกิจกรรม/แบบทดสอบท้ายบท ..............................................................................................................142 บทที่ 7.........................................................................................................................................................................143 สทิ ธิประกนั สุขภาพในประเทศไทยและสทิ ธแิ ละหนา้ ทขี่ องผปู้ ่วย ........................................................................143 วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม ..............................................................................................................................143 วธิ กี ารสอน/กิจกรรมการเรียนการสอน...........................................................................................................143 การประเมินผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ ........................................................................................................................143 บทนา.....................................................................................................................................................................144 เนือ้ หา....................................................................................................................................................................145 เอกสารอ้างองิ ........................................................................................................................................................156 ใบงาน/ใบกิจกรรม/แบบทดสอบท้ายบท ..............................................................................................................157 ภาคผนวก....................................................................................................................................................................158 รายนามอาจารย์ผูเ้ ขียน/เรยี บเรยี ง เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าการดูแลสขุ ภาพแบบองคร์ วม ............158

บทท่ี 1 แนวคิดการดแู ลสุขภาพแบบองคร์ วม สุขอนามยั และการปอ้ งกนั โรค วัตถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. อธบิ ายแนวคดิ และความหมายการดแู ลสขุ ภาพแบบองค์รวมได้ 2. อธบิ ายการดแู ลสขุ ภาพในมิตทิ างกาย จติ ใจ สงั คม จติ วิญญาณและสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ไดไ้ ด้ 3. อธิบายการป้องกันโรคและนาไปประยุกต์ใชไ้ ด้ วิธกี ารสอน/กจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน 2. คน้ คว้าเอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ ง 3. วเิ คราะห์ อภปิ ราย แสดงความคิดเห็น 4. กจิ กรรมท้ายบท การประเมินผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ 1. จากการสังเกต วเิ คราะห์ อภิปราย แสดงความคิดเห็น 2. กจิ กรรมทา้ ยบท 3. การสอบกลางภาคและสอบปลายภาค 1

บทนา องค์รวม หรอื Holistic มาจากรากศพั ท์ในภาษากรีก “Holos” ซ่งึ หมายถึง ความเปน็ จรงิ หรอื ความสมบรู ณ์ ทั้งหมดของสรรพส่ิง มีเอกลักษณ์และเอกภาพท่ีมิอาจแบ่งแยกเป็นส่วนย่อยได้ คาน้ีถูกนาไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ และในศาสตรส์ าขาต่างๆ โดยมุง่ หวังใหเ้ กดิ การมองเปา้ หมายทก่ี ว้างขวางรอบด้านสาหรับระบบสขุ ภาพ การทาความ เข้าใจความหมายขององค์รวมย่อมแตกต่างกันไปตามพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ตลอดจนประสบการณ์ท่ี เก่ียวข้องกับองค์รวม แตใ่ นท่นี ้ีจะกลา่ วถึง องค์รวมทหี่ มายถงึ สุขภาวะที่สมดุลของกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิต วญิ ญาณ เป็นการดแู ลแบบเชือ่ มมิติของความเป็น “คน” ในทกุ ด้านทีเ่ กี่ยวข้อง ทั้งทางรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม รวมถึงจิตวิญญาณโดยอาศัยความสัมพันธ์แบบเข้าอกเข้าใจระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการและสร้างให้เกิ ดเงื่อนไขของ การประสานเชื่อมโยงสร้างความสัมพันธ์ท่ีต่อเนื่องซึ่งเป็นผลให้เข้าใจความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆที่เก่ียวข้องกับ สุขภาพของประชาชนแต่ขณะเดียวกันต้องเข้าใจถึงเป้าหมายการพัฒนาสุขภาพที่เป็นดุลยภาพที่พอดีกับชีวิตของ ประชาชนแต่ละคน ดังน้นั การท่ีจะดูแลสุขภาพแบบองค์รวมเพื่อให้เป็นผู้ที่มีสุขภาพอนามัยดี จะต้องเข้าใจการดูแล สุขภาพท้ัง 4 มิติ รู้จักการป้องกันโรคและวิธีการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง ที่สาคัญคือมีการนาไปปฏิบัติอย่างสม่าเสมอ ย่อมจะส่งผลดตี อ่ สุขภาพของทุกคนอยา่ งย่งั ยืน เนอ้ื หา 1. แนวคิดและความหมายการดแู ลสุขภาพแบบองคร์ วม 2. การดแู ลตนเองเพ่ือสุขภาวะแบบองค์รวม 3. การป้องกันโรค 4. การปฏิบตั ิตวั เก่ียวกบั การดูแลสุขภาพอนามัย 1. แนวคิดและความหมายการดแู ลสขุ ภาพแบบองคร์ วม 1.1 แนวคิดการดแู ลสขุ ภาพแบบองค์รวม การดูแลสุขภาพแบบองคร์ วม เปน็ การดแู ลสุขภาพท่ีมกี ารบรู ณาการความรดู้ ง้ั เดมิ เข้ากบั การบาบดั เสรมิ เพ่ือ ส่งเสริมให้เกิดสุขภาวะท่ีดี และป้องกันรักษาโรค ในปัจจุบันมีการนาการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมไปใช้ในการ บาบัดรกั ษาคนไขห้ รอื ผ้ทู ี่มีความไม่สบาย ทาให้เกิดเป็นการแพทย์แบบองค์รวมข้ึน (Holistic Medicine) การแพทย์แบบ องคร์ วมได้รบั ความนิยมอย่างแพรห่ ลายในหลายประเทศ เปรียบเสมือนปรชั ญาการสร้างสุขภาพและการรักษาโรค ซ่ึง จะพิจารณาองคป์ ระกอบทุกอยา่ งของมนุษย์ ไม่วา่ จะเป็นร่างกาย จิตใจ และจติ วิญญาณ นอกจากน้ยี ังมุ่งเน้นไปทกี่ าร ให้ผู้เข้ารับการบาบัดเข้ามามสี ่วนร่วมในกระบวนการบาบัดรักษา หรือปฏิบัติตนเพื่อให้หายจากโรคภยั ดว้ ยตนเอง จะ เห็นได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงบทบาทพฤติกรรมสุขภาพจาก “เชิงรับ” มาเป็น “เชิงรุก” ในบางครั้งเรียกการแพทย์ แบบองค์รวม ว่าเป็นการแพทย์ทางเลอื ก (Alternative Medicine) โดยไม่ได้จากดั อยู่ที่วิธใี ดวิธีหนึ่ง 1.2 ความหมายของการดูแลสุขภาพแบบองคร์ วม การดูแลสุขภาพแบบองคร์ วม (Holistic Health) ซึ่งความหมายด้งั เดมิ ของ Holistic มาจากภาษากรีกคือ คาว่า Holos หมายถึง Whole แปลว่าท้ังหมด สุขภาพองค์รวมหมายถึง ความสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมและจิต วิญญาณ (Body Mind &Spirit) ไม่เพียงแต่ไม่เจ็บป่วยหรือไม่มีโรคหากยังครอบคลุมถึงการดาเนินชีวิตที่ยืนยาวและมี ความสุขของทกุ คนดว้ ย ประเวศ วะสี (2550) ได้ใหค้ วามหมายไว้ว่า สุขภาพองค์รวม หมายถึง ความสมบูรณ์ท้ังทางร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ (Body Mind &Spirit) ไมเ่ พียงแต่ไมเ่ จ็บป่วยหรือไม่มีโรค หากยงั ครอบคลุมถึงการดาเนินชีวติ ที่ ยืนยาวและมีความสุขของทุกคน“สุขภาพหรือสุขภาวะ หมายถึง สุขภาวะทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทาง 2

ปญั ญาหรอื ทางจติ วิญญาณ สขุ ภาพหรือสขุ ภาวะจึงเป็นเรื่องใหญท่ ี่บูรณาการอย่ใู นการพัฒนามนุษย์และสงั คมทง้ั หมด (Health is integral in total human and social development) เป็นเร่ืองท่ีอยู่เลยพรมแดนของกระทรวงสาธารณสุข ..ไป มาก” สุขภาพองค์รวม หมายถึง การมองสุขภาพท่ีเก่ียวข้องเชื่อมโยงกันทั้งชีวิตมากกว่าการเน้นแค่ความเจ็บป่วย หรือการจัดการกับส่วนใดสว่ นหนง่ึ ของร่างกาย โดยจะพิจารณาที่“ตัวคนท้ังคน” ความเกีย่ วเน่ืองของร่างกายจิตใจและ จิตวิญญาณ รวมถึงปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ที่มปี ฏิสัมพันธก์ ับคนคนนัน้ (พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบบั ๑๐๐ ปีการสาธารณสุขไทย) ดงั นั้น การดูแลสุขภาพแบบองคร์ วม จึงหมายถึง การดแู ลสขุ ภาพท้ังมิติทางกาย มิติทางจิตใจ มิตทิ างสังคม และมิติทางจิตวิญญาณ ท่ีเกี่ยวข้องเช่ือมโยงกันทั้งชีวิตมากกว่าการเน้นแค่ความเจ็บป่วยหรือการจัดการกับส่วนใด สว่ นหนึ่งของร่างกาย โดยจะพิจารณาที่“ตัวคนท้งั คน” ความเกี่ยวเนอื่ งของร่างกายจติ ใจและจติ วิญญาณ รวมถึงปัจจัย แวดลอ้ มต่าง ๆ ทม่ี ปี ฏิสมั พันธก์ ับคนคนนั้น 1.3 ความสาคญั ของการดูแลสขุ ภาพแบบองคร์ วม การสรา้ งให้ประชาชนมสี มรรถนะเพิ่มข้ึนในการควบคมุ และพฒั นาสุขภาพ มีความสาคัญต่อการพฒั นา ประเทศเปน็ อยา่ งยิ่ง โดยการพฒั นาประชาชนให้มีความสามารถในการดแู ลสุขภาพของตนเองด้วยตนเอง และ ผสมผสานกบั การตัดสนิ ใจในการใช้บริการทางดา้ นสุขภาพจากผอู้ นื่ เช่น โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล (สถานี อนามัย) โรงพยาบาล โรงเรยี น ชุมชนหรือแมแ้ ตบ่ คุ คลหรือหนว่ ยงานอืน่ ๆอย่างมดี ลุ พินจิ และมดี ุลยภาพ โดยอย่บู น พ้ืนฐานทางสังคม วฒั นธรรม รวมทั้งความเปน็ มนษุ ย์ โดยการพัฒนาดงั กลา่ ว ตอ้ งพฒั นาให้ประชาชนเกดิ ความ พร้อม เพราะองค์รวมท้งั 4 มติ ิมคี วามสาคญั ต่อสุขภาพ 2. การดแู ลตนเองเพือ่ สขุ ภาวะแบบองค์รวม 2.1 ประเดน็ พื้นฐาน 5 ประการ การที่บุคคลจะมีภาวะสุขภาพแบบองค์รวมได้ จะต้องมีบทบาทในการดูแลตนเอง โดยเน้นประเด็นพ้ืนฐาน 5 ประการ คอื 2.1.1 เน้นตัวบุคคล ความเจ็บปว่ ยเกดิ ข้ึนในตัวบุคคล เกิดจากการท่ีคนมีปฏสิ ัมพันธ์กบั สง่ิ แวดลอ้ ม และเสียดุลจนทาให้เกดิ ภาวะเบยี่ งเบนทางสุขภาพหรือความเจบ็ ปว่ ยขึ้น 2.1.2 เนน้ การปอ้ งกันโรค ในปัจจบุ นั ความเจ็บปว่ ยสว่ นใหญเ่ กิดจากสาเหตุท่ีปอ้ งกันได้ เพราะสว่ น ใหญเ่ กิดจากพฤตกิ รรมท่ไี มเ่ หมาะสมของมนุษย์ 2.1.3 เน้นการมองความเจ็บปว่ ยในแง่ดี ความเจ็บป่วยเป็นส่วนหนึ่งของประสบการณ์ที่ดีในชีวิต ทาให้ทราบและตระหนักถึงจดุ ดจี ุดด้อยของตน อันจะเป็นประโยชน์ใหป้ ฏิบัตติ นให้เหมาะสมต่อไป 2.1.4 เน้นการตระหนักและการให้ความสาคัญของคุณค่าด้านจิตวิญญาณ (spiritual) หมายถึง ความเช่ือ ความฝังใจ ความผูกพัน ความศรัทธาของบุคคลท่ีมีต่อศาสนา บุคคลอื่นหรือสิ่งของ ตลอดจนความมี อสิ ระของความคดิ และการตัดสินใจในการดาเนนิ ชีวิต 2.1.5 เน้นการดูแลตนเองหรือการดูแลสุขภาพตนเอง การดูแลตนเองเป็นความรับผิดชอบของ บุคคลและครอบครัว ทง้ั ในภาวะสุขภาพดีและเกดิ ความเจ็บป่วย 2.2 องค์ประกอบของสขุ ภาพองค์รวม มี 4 มติ ิ ไดแ้ ก่ - มติ ิทางกาย (Physical dimension) - มิตทิ างจติ ใจ (Psychological dimension) - มิตทิ างสงั คม (Social dimension) - มติ ทิ างจิตวญิ ญาณ (Spiritual dimension) 3

2.2.1 มิติทางกาย (Physical dimension) เป็นมิติทางร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรค หรือความเจ็บป่วย มีปัจจัยองค์ประกอบทั้งด้าน อาหาร สิ่งแวดล้อม ที่อยู่ อาศัย ปัจจัยเก้ือหนุนทาง เศรษฐกิจท่ี เพียงพอ และส่งเสริมภาวะสุขภาพ การออกกาลังกายแบบต่างๆ เช่น Yoga ( โยคะ ), Qigong ( จ้ีกง ) หรือการ ออกกาลังกายต่างๆ ท่ีทาอยู่เช่น การเดิน การวิ่ง การว่ายน้า กีฬาชนิดต่างๆ ล้วนแล้วแต่ช่วยการเสริมสร้าง สมรรถภาพทางกายใหแ้ ขง็ แรง ทาใหม้ ีความตา้ นทานโรค 2.2.2 มิตทิ างจติ ใจ (Psychological dimension) เป็นมิตทิ บี่ ุคคลมสี ภาวะทางจติ ใจท่ีแจม่ ใส ปลอด โปร่ง มองโลกในแง่ดี รู้จกั ยืดหยนุ่ ตอ่ ปัญหาตา่ งๆ ใสใ่ จคนรอบข้าง เอาใจใสค่ รอบครวั ไมม่ คี วามกังวล มคี วามสุข มี เมตตา และ ลดความเหน็ แกต่ วั การใชว้ ิธกี ารสรา้ งความผ่อนคลายแบบตา่ งๆ การฝึกการหายใจ การใช้จนิ ตนาการ บาบดั การสะกดจติ ดนตรีบาบดั ศิลปบาบดั ล้วนแตส่ รา้ งความผ่อนคลาย มผี ลตอ่ การหายของโรค และพัฒนาคุณภาพ ชวี ิตใหด้ ขี น้ึ ด้วย 2.2.3 มิติทางสังคม (Social dimension) เป็นความผาสุกของครอบครัว สังคม และชุมชนโดย ชุมชน สามารถให้การดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สังคมมีความเปน็ อยู่ท่ีเออื้ อาทร เสมอภาค มีความยุติธรรม และมี ระบบบรกิ ารที่ดีและทวั่ ถึง การใหค้ วามรัก ความอบอุ่น ความช่วยเหลอื การมีไมตรตี อ่ กัน ความเมตตา การใหอ้ ภยั ต่อ กัน การมองผูอ้ นื่ ในแง่ดี ครอบครวั ชุมชน ล้วนแลว้ แต่สรา้ งความสุข ความเช่ือมน่ั ในตนเองใหเ้ กิดขึน้ 2.2.4 มิติทางจิตวิญญาณ (Spiritual dimension) เป็นความผาสุก ที่เกิดจากจิตสัมผัสกับสิ่งท่ีมี บุคคลยึดม่ันและเคารพสูงสุด ทาให้เกิดความหวัง ความเชื่อมั่นศรัทธา มีการปฏิบัติในสิ่งที่ดีงาม ด้วยความมีเมตตา กรณุ า ไม่เหน็ แก่ตวั มคี วามเสยี สละ และยนิ ดีในการที่ได้มองเห็นความสขุ หรอื ความสาเร็จของบคุ คลอ่ืน ท้ังนีส้ ขุ ภาวะ ทางจิตวิญญาณจะเกิดข้นึ เม่อื บุคคลมีความหลดุ พน้ จากตัวเอง (self transcending) มีจิตใจทด่ี ีงาม มคี วามเห็นแก่ตัว น้อย มีความโลภ / โกรธ / หลง น้อย ความยึดมั่นถือม่ันน้อย จิตใจที่มีสมาธิ และมีปัญญา รู้เห็นส่ิงต่างๆ ตามความ เปน็ จรงิ จิตใจทยี่ อมรบั การเปลย่ี นแปลงตามเหตุปัจจัย สามารถปรบั ตัวตามการผันผวนของสถานการณ์ต่างๆ มีความ ถือตัวน้อย อ่อนน้อมถ่อมตนสูง มีชีวิตท่ีเรียบง่าย ไม่ติดในโลกธรรมทั้งปวง เป็นเหตุให้เรามีสุขภาพดีไม่เป็นโรค การ เคารพกฎหมายและปฏิบัติตามระเบียบของสังคมและหลักศาสนา ซึ่งสอนให้ทุกคนทาดีละเว้นความชั่วรักษา ขนบธรรมเนยี มวัฒนธรรมต่าง ๆ ตลอดจนมารยาทในสังคม ท่ีหากเราเอามาประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชีวิตอยา่ งถูกวิธี ยอ่ มจะทาใหช้ ีวติ สงบสขุ มติ ิสุขภาพองค์รวมท้ัง 4 มิติ ซึ่งถือเป็นสุขภาวะจะมีความสัมพนั ธ์เช่ือมโยงกัน โดยสุขภาวะทางจิตวิญญาณ จะเปน็ มิตทิ ี่สาคัญทบ่ี ูรณาการความเป็นองค์รวมของกาย จิต และสังคมของบุคคล และชมุ ชนใหส้ อดประสานเข้าเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน จิตวิญญาณเป็นสิ่งสาคัญของสุขภาพท่ีจะยึดกุมสุขภาวะในมิติอ่ืนๆ ให้ปรับตัวประสานกันอย่าง ครอบคลุมและครบถ้วนทั้งในระดับปัจเจกบุคคล และชุมชน หากขาดสุขภาวะทางจิตวิญญาณ มนุษย์จะไม่พบ ความสุขที่แท้จริง ขาดความสมบูรณ์ในตนเองมีความรู้สึกบกพร่อง หากมีความพร้อมถึงส่ิงอันมีคุณค่าสูงสุดก็จะมี ความสขุ หรอื สุขภาวะที่ดีได้แม้ว่าจะบกพร่องทางกาย เช่น มคี วามพกิ าร หรอื เป็นโรคเร้ือรังหรือร้ายแรง 2.3 ระดับของสขุ ภาพองค์รวม แบง่ เปน็ 3 ระดับ ไดแ้ ก่ - ระดบั บคุ คล - ระดับครอบครัวและชมุ ชน - ระดบั สังคม 2.3.1 ระดบั บคุ คล ซึง่ หมายถงึ การทาใหเ้ กิดความสมดุลภายในตัวคนแตล่ ะ คนทัง้ ดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ เกดิ เป็นเอกภาพทก่ี ลมกลืนระหว่างร่างกาย จิตใจ และวิญญาณ โดยที่ หนทางไปสู่ความ เอกภาพคือ การดาเนินชีวิตท่ีเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบริโภคอาหารท่ีเหมาะสม มีพฤติกรรมท่ีนาไปสู่คุณภาพท่ีดี และทาจิตใจให้ผอ่ นคลาย 2.3.2 ระดับครอบครวั และชุมชน 4

1. ครอบครวั คนจะมสี ุขภาพกายใจดหี รือไม่ครอบครวั มคี วามสาคญั มาก ครอบครัวที่ อบอุน่ สมาชกิ ในครอบครัวมีความรกั ใหก้ นั และกัน ช่วยกันดูแลใหท้ ุกคนมสี ขุ ภาพที่ดที ัง้ กายและใจ ทกุ คนมหี น้าท่ี รับผิดชอบและบทบาทแตกต่างกนั ไป เมื่อมาประกอบกนั เข้าก็ทาใหเ้ กดิ ความเป็นเอกภาพองคร์ วม 2. ชมุ ชน ชมุ ชนที่มคี วามเกอื้ กูล เอ้อื อาทรซึ่งกนั และกนั สขุ ภาพและชีวิตของคนใน ชมุ ชนก็ย่อมดไี ปด้วย ชมุ ชนชนบทไทยในอดตี นา่ จะเปน็ แบบอย่างของความเปน็ องค์รวมในระดับครอบครัวและชุมชน ไดด้ ี 2.3.3 ระดับสงั คม สังคมในทนี่ ้ีรวมถึงสงิ่ แวดล้อมหรือธรรมชาตดิ ้วย แบ่งเปน็ 2 ด้าน 1. ความสมั พันธร์ ะหวา่ งคนต่อคน หมายถงึ คนในสงั คมมีความเปน็ เอกภาพกันถงึ แมว้ ่าคน ในสังคมนน้ั ๆ จะมคี วามแตกต่างและหลากหลาย (ชนชน้ั อาชพี ความคดิ ฯลฯ ) แต่คนจานวนมากมีเจตจานงอยา่ ง เดยี วกัน ท่จี ะสรา้ งสังคมท่ดี งี าม 2. ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งคนกบั ธรรมชาติ ไมว่ า่ จะเปน็ สัตว์ ต้นไม้ ป่าไม้ ภเู ขา แมน่ ้า ลา ธาร อากาศ ถ้าเราทกุ คนตระหนกั ว่ามนษุ ยน์ นั้ เป็นส่วนหนงึ่ ของธรรมชาตแิ ละเรียนรทู้ ่ีจะอยู่รว่ มกับสรรพชีวติ อน่ื ๆ เคารพในแม่นา้ ลาธาร ตน้ ไม้ ปา่ ไม้ สัตว์นานาพันธุ์ ตระหนกั และจริงจงั ทจ่ี ะใช้ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างยงั่ ยนื ก็จัก เกิดความสมั พนั ธท์ ่กี ลมกลนื ระหวา่ งคนกบั ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 3. การปอ้ งกันโรค 3.1 ความหมายของการป้องกนั โรค การป้องกันโรค หมายถึง มาตรการและกิจกรรมที่ดาเนินการก่อนที่จะเกิดโรคหรือภัย เพื่อไม่ได้ เกิดโรคหรือภัยดังกล่าว นิยามความหมายของ “การป้องกันโรค” ได้ครอบคลุม ความหมาย ของ “การควบคุม โรค” ไปด้วย ต้ังแต่กิจกรรมท่ีดาเนินการก่อนเกิดโรค (primary prevention) เกิดโรคแล้ว แต่ยังไม่เกิดอาการ (secondary prevention) หรอื เกิดอาการแล้ว (tertiary prevention) ก็ได้ โดยแต่ละช่วงจะมีวัตถุประสงค์ท่ี แตกตา่ งกนั 3.2 ระดบั ของการป้องกันโรค 3.2.1 การป้องกันในระดับปฐมภมู ิ (Primary prevention) กิจกรรมที่สาคัญ ได้แก่ การส่งเสริมให้ มสี งิ่ แวดลอ้ มทเี่ อื้อต่อสขุ ภาพของประชาชน (healthy environment) การสง่ เสริมใหร้ ่างกาย มีความตา้ นทานตอ่ โรค ต่างๆ และการสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนมพี ฤตกิ รรมสุขภาพท่เี หมาะสม (healthy behaviors) ตอ่ มา ไดม้ กี ารเสนอใหม้ ี Primordial prevention หมายถงึ การดาเนินการ ปอ้ งกันไม่ให้เกดิ ปัจจัยเสย่ี งข้นึ เลย เชน่ การป้องกนั ไม่ให้รา้ นอาหารภายในโรงเรียนจาหนา่ ยขนมกรุบกรอบ และขนม ประเภทลูกอม ลูกกวาด เพ่ือป้องกันไม่ให้เกิดโรคอ้วนในเด็ก และปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพฟันในเด็ก Primordial prevention ยังมีความหมายรวมถึงการจัดให้มีกิจกรรมทางด้านสังคม (Social movement) ต่างๆ เพื่อให้เกิดการ เปล่ียนแปลงทัศนคติหรือค่านิยมของสังคมเกี่ยวกับเร่ืองนั้นๆ ด้วย หากจะกล่าวกันโดยแท้จริงแล้ว Primordial prevention กค็ ือ primary prevention อย่างหน่ึงนัน่ เอง 3.2.2 การป้องกันระดบั ทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary prevention) เปน็ การปอ้ งกัน ในระยะที่โรคไดเ้ กิดขน้ึ แล้ว มวี ตั ถุประสงคท์ ส่ี าคัญ คอื การระงับ กระบวนการดาเนินของโรค การป้องกันการแพร่เชือ้ และระบาด ของโรคไปยังบุคคลอนื่ หรือชมุ ชนอ่ืน โดยจะมุ่งเน้นการคัดกรอง โรคเพอื่ ใหพ้ บโรคโดยเรว็ ทส่ี ุดก่อนทจี่ ะมี อาการ และให้การรักษาโดยทันที โดยเช่ือว่าการค้นพบโรคในระยะแรกและให้การรักษา อย่างทันท่วงทีนั้น จะมี ผลการรกั ษาที่ดีกว่าการค้นพบโรคในระยะ หลงั ๆ และ/หรือ การให้การรักษาทชี่ า้ 3.2.3 การปอ้ งกนั ในระดบั ตตยิ ภูมิ (Tertiary prevention) มีวัตถปุ ระสงค์เพอ่ื ป้องกันความสูญเสียจากโรค เช่น ป้องกันความพิการ หรือการสูญเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควร นอกจากนี้ Tertiary prevention อาจจะหมายรวมถึง การป้องกนั การเกิดโรคซา้ (recurrence) อกี ดว้ ย 3.3 ประเภทของโรค แบ่งเปน็ 2 ประเภท ดังน้ี 5

3.3.1 โรคติดต่อหรือโรคติดเช้ือ (Communicable diseases หรือInfectious diseases) เป็น โรคที่เกิดจากเช้ือโรคหรอื พษิ ของเช้ือโรคชนิดใดชนดิ หนง่ึ ซ่งึ อาจถา่ ยทอดจากคน สตั ว์ หรอื แมลงทีเ่ ป็นโรคไปสูค่ นปกติ โดยทางตรงหรอื ทางออ้ ม รวมทง้ั พาราสติ ทอ่ี ยู่บนผิวหนัง เช่น หิด เหา โรคทเี่ กิดขึ้นอาจเกดิ จากเชื้อโรคทไ่ี ปเพมิ่ จานวน ในร่างกายแลว้ ทาใหม้ ีอาการเจบ็ ปว่ ย บางคร้ังเกิดจากพิษที่เช้อื โรคปล่อยออกมา ซึ่งอาจติดตอ่ จากคนหน่ึงไปยงั อีกคน หน่ึงได้ หรือเรียกว่าโรคติดเช้ือ โดยผ่านทางการหายใจ เช่น โรคหวัด วัณโรค ปอดบวม หรือผ่านทางระบบทางเดิน อาหาร เชน่ อหวิ าตกโรค อาหารเป็นพษิ โรคไทฟอยด์ 3.3.2 โรคไม่ติดต่อหรือโรคไม่ติดเช้ือ (Noncommunicable diseases หรือ Noninfectious diseases) เปน็ โรคเรื้อรังโดยผ้ทู ี่เป็นมกั จะไม่รู้ตัววา่ กาลังเป็นโรค เนื่องจากในชว่ งแรกๆ จะไม่มีอาการ เพราะการเกิด อาการของโรคต้องใชเ้ วลานาน ปัจจัยที่ทาใหเ้ กิดโรคมกั เกดิ จากสง่ิ แวดลอ้ ม เช่น น้า อาหาร อากาศ เปน็ ต้น ทาให้เกิด โรคตา่ งๆ เชน่ โรคขาดสารอาหาร โรคพิษจากคาร์บอนมอนอกไซด์ โรคจติ โรคแผลเปือ่ ย โรคมะเรง็ เป็นตน้ 3.4 องค์ประกอบของการเกดิ โรค การจะเกิดเหตกุ ารณ์ใดเหตุการณ์หนงึ่ ข้นึ มา จาเปน็ จะตอ้ งมีตวั ก่อให้เกดิ สง่ิ นน้ั มีผ้รู บั การกระทาและ สภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อตอ่ การเกิดเหตุการณน์ นั้ สง่ิ เหล่านถี้ า้ อยู่ในภาวะสมดุลหรอื ภาวะทไี่ มเ่ อือ้ ต่อการเกิดปฏกิ ิรยิ า ใดๆกจ็ ะไม่เกดิ เหตกุ ารณน์ ้นั ๆ แต่ถ้าอย่ใู นภาวะทไี่ ม่สมดลุ และมอี งค์ประกอบบางอยา่ งมากหรอื น้อยเกนิ ไป หรอื มี ปจั จัยส่งิ แวดล้อมเอ้อื ต่อการเกิดหรือถา่ ยทอดโรคกท็ าใหเ้ กดิ โรคได้ ดังนน้ั การท่คี นจะเปน็ โรคหรือไม่ ไมว่ ่าโรคตดิ ต่อ หรือโรคไม่ตดิ ต่อข้นึ อย่กู บั ปฏกิ ิริยาและความสมดลุ ระหวา่ งองค์ประกอบ 3 ประการ คอื 3.4.1 คนหรือโฮสท์ (Host) 3.4.2 ส่งิ ที่ทาให้เกิดโรค (Agent) 3.4.3 สง่ิ แวดลอ้ ม (Environment) ภาพประกอบ 1 ภาวะท่ีมคี วามสมดุลระหว่างปัจจยั ท้ังสาม ไมม่ โี รคเกดิ ขน้ึ ในชมุ ชน ภาพประกอบ 2 ภาวะที่ไมม่ คี วามสมดุลระหวา่ งปจั จยั ทงั้ สาม มโี รคเกดิ ข้นึ ในชมุ ชน 6

ภาพประกอบ 3 - คนเกดิ โรคเน่ืองจาก Host อ่อนแอภมู ไิ วรับโรคมากขน้ึ หรอื มีพฤตกิ รรมเส่ยี ง มากขนึ้ - คนเกดิ โรคเนอ่ื งจาก Environment เปลย่ี นแปลงสนบั สนุนให้ Host อ่อนแอ ภมู ไิ วรบั โรคมากขนึ้ หรือมพี ฤตกิ รรมเส่ยี งมากขึ้น ภาพประกอบ 4 - คนเกดิ โรคเน่อื งจาก Agent แพร่กระจายเพิ่มข้นึ - คนเกดิ โรคเนอ่ื งจาก Environment เปลี่ยนแปลงสนบั สนุนให้เพ่ิม Agent 3.4.1. คนหรือโฮสท์ (Host) คือ ผู้ที่อาจจะได้รับเช้ือหรือสิ่งอ่ืนที่ทาให้เกิดโรค หรือมีพฤติกรรมที่ เอื้อต่อการเกิดโรค แล้วเกิดการป่วยขึ้น โฮสท์ ในทางระบาดวิทยา หมายถึง มนุษย์ เรือนร่าง สังขาร องคป์ ระกอบดา้ นต่างๆของมนุษย์เองมอี ทิ ธพิ ลต่อการเปน็ โรค องคป์ ระกอบเหลา่ นไ้ี ดแ้ ก่ 1) อายุ ในทารกระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายยังพัฒนาได้ไม่ดีพอโอกาสที่เด็กจะป่วยก็ เพิ่มข้ึน ส่วนในคนชราระบบภูมิต้านทานของร่างกายก็จะเสื่อมสภาพลงโอกาสเป็นโรคต่างๆก็เพ่ิมข้ึน โรคติดต่อบาง ชนิดพบมากในผู้ใหญ่และพบน้อยในเด็ก เช่น นิ่วในไตโรคทัยฟอยด์ เป็นต้น โรคติดต่อบางชนิดพบมากในเด็กและ พบน้อยในผู้ใหญ่ เช่น โรคคอตีบ ไอกรน หัด น่วิ ในกระเพาะปัสสาวะ เปน็ ต้น อายุมีความสัมพนั ธ์กบั ความรนุ แรง ของโรคด้วย 2) เพศ โดยทั่วไปอัตราการตายด้วยโรคต่างๆของเพศชายจะสูงกว่าเพศหญิงเกือบทุก กลุ่มอายุ ในขณะที่อตั ราป่วยของเพศหญงิ จะสงู กว่าเพศชาย การท่เี ปน็ เช่นน้ีอาจเนอื่ งมาจากความสมดุลของฮอร์โมน ส่ิงแวดลอ้ มแลลักษณะนิสยั อัตราส่วนของอตั ราการตายระหว่างเพศชายและเพศหญิงแตกต่างกันแลว้ แตช่ นิดของ โรค 3) กรรมพันธแุ์ ละเชอื้ ชาติ โรคบางชนดิ สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรม เช่น ธาลสั ซเี มยี โรคเบาหวาน เปน็ ต้น โรคโลหิตจางบางชนิดพบมากในพวกชนผิวดามากกว่าชนผิวขาว วัณโรคที่อาการรุนแรงก็พบ มากในชนผิวดา 4) องค์ประกอบทางสรีรวิทยา องค์ประกอบทางสรีรวิทยามีส่วนสัมพันธ์กับการเกิดโรค เช่น ในหญิงขณะต้ังครรภ์ หัวใจและตับทางานมากกว่าปกติ ผู้ท่ีมีโรคหัวใจอยู่เดิมอาจมีอาการหัวใจวายได้ ภาวะ เหน่ือยล้าละภาวะความเครียดทางอารมณ์เป็นสาเหตุเสริมให้เป็นโรคจิตหรือโรคประสาทได้ วัยรุ่นมีความ 7

เปลีย่ นแปลงทางฮอรโ์ มนทาใหเ้ กิดสิว และเกดิ การเปลี่ยนแปลงทางอารมณไ์ ด้ การขาดการพักผ่อนทาให้ภูมิตา้ นทาง โรคต่าติดเชอ้ื โรคไดง้ ่าย 5) องค์ประกอบทางด้านจิตใจ ความวิปริตหรือความแปรปรวนทางจติ หรืออารมณ์ ทา ให้บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลงไปมีแต่ความวิตกกังวล ความเสร้าใจ ความคับแค้นใจ ความไม่สบายใจเป็นต้น เป็นบ่อ เกิดของการเกิดโรคทางกายและโรคทางใจ โรคทางกายมีผลกระทบมาจากสาเหตุทางจิตใจและอารมณ์ เช่น โรค ความดันโลหิตสูง โรคแผลในกระเพาะอาหาร เป็นต้น 6) องค์ประกอบทางด้านพฤติกรรม พฤติกรรมในการดารงชีวิตของคนได้รับอิทธิพลมา จากประเพณี ความเชื่อ การศึกษา รายได้ อาชีพ ค่านิยมทางสังคม และการตอบสนองต่อสภาพแวดล้อม พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมจะนาไปสู่การเกิดโรค เช่น การสูบบุหร่ี ทาให้มีโอกาสเป็นโรคหลอกลมอักเสบ โรคมะเร็ง ปอด โรคหวั ใจมากขึ้น การดมื่ เหลา้ มโี อกาสเปน็ โรคตบั แขง็ และโรคพษิ สุราเรื้อรงั ได้ เป็นต้น 7) ภาวะภูมิคุ้มกันในร่างกาย คนที่มีภูมิคุ้มกันโรคอยู่แล้ว อาจจะได้รับวัคซีนหรือมีผล มาจากการติดเชื้อในอดตี เมอ่ื ไดร้ ับเชือ่ อกี จะมโี อกาสเปน็ โรคน้อยลง 8) ประสบการณ์การเคยเป็นโรคหรือได้รับการรักษาโรคที่ผ่านมา การป่วยเป็นโรคบาง โรคหรือได้รบั การรกั ษาบางชนิด อาจเสรมิ ให้มโี อกาสเป็นโรคมากข้ึน เชน่ ผู้ป่วยโรคมะเร็ง ท่ไี ด้รับการรักษาโยการ ฉายแสง ทาให้มกี ารกดการสร้างภูมคิ ุม้ กนั หรือผูป้ ่วยโรคเบาหวานมีโอกาสเปน็ โรคตดิ เชื้อได้มากกว่าคนปกติ 3.4.2 สง่ิ ท่ีทาให้เกดิ โรค (Agent) หมายถึง สิ่งทเ่ี ป็นตน้ เหตุทาให้เกิดโรค อาจเป็นสิง่ มชี วี ิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ เรยี กว่า “ตวั ก่อโรค”โรคต่างๆที่เปน็ ท่รี จู้ ักในปจั จุบนั ทัง้ โรคตดิ ตอ่ และโรคไมต่ ดิ ตอ่ ที่รู้สาเหตุหรือการเกิดโรคแล้วมอี ยู่จานวนมาก แต่ยังมีอีกหลายโรคท่ียงั ไม่รสู่ าเหตุหรือสิ่งทที่ าให้เกิดโรคชัดเจน โรค บางโรคเกิดจากสาเหตุเดียว เช่น โรคอหิวาตกโรค ไข้เลือดออก เป็นต้น แต่บางโรค เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคมะเร็ง เปน็ ต้น เกดิ จากสาเหตุหลายประการรว่ มกัน สาเหตุหรือสิง่ ท่ีทาให้เกิดโรคอาจจัดออกเป็นประเภทต่างๆ ไดด้ ังน้ี 1) สาเหตุทางด้านชีวภาพ คือ เชื้อโรคชนิดต่างๆเช่น ช้ือไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา พยาธิ โปรโตซัว รวมไปถงึ แมลงต่างๆ เชน่ หิด เหา โลน เป็นตน้ 2) สาเหตุทางด้านสารเคมี คือ สารเคมีที่อาจเป็นพิษต่อร่างกายและทาให้เกิดโรคได้ แบง่ ออกได้เป็นหลายกลุ่มดังน้ี (1) สารเปน็ พษิ เช่นยาฆา่ แมลง โลหะหนกั แอลกอฮอร์ ผงชูรส เป็นต้น (2) ส่ิงระคายเคือง เช่น กรด ด่าง ฝุ่นละออง เป็นต้น สารอื่นๆท่ีอาจจะ กอ่ ให้เกิดการระคายเคือง ต่อผวิ หนงั เยอ่ื เมอื ก หรืออวัยวะท่ีสมั ผสั เปน็ ต้น (3) สารภูมิแพ้ แต่ละคนจะแพ้สารต่างชนิดกัน สารท่ีอาจเป็นสารภูมิแพ้มี หลายชนดิ เชน่ ฝุ่นเกสรดอกไม้ เครือ่ งสาอาง อาหารทะเล สบู่ ผงซกั ฟอก เปน็ ตน้ (4) ยารักษาโรค ยารักษาโรคหลายชนิดมีผลข้างเคียงทาให้เกิดโรคได้ เช่น แอสไพรนิ ทาใหเ้ กิดโรคกระเพาะอาหาร ทาลิโดไมด์ ซึง่ เป็นยาแก้แพ้ทอ้ ง ทาใหท้ ารกแขนขาพิการแตก่ าเนดิ เพรดนิ โซโลน กดภูมิตา้ นทานโรค ทาใหต้ ิดเช้ืองา่ ย และเกิดความผิดปกตติ ่อรา่ งกายได้หลายระบบ ยาตา้ นจุลชีพบางชนดิ มี อันตรายตอ่ ตับ ไต หรอื ระบบประสาท เปน็ ตน้ (5) สารมลพิษ สารมลพิษจากบา้ นเรอื น ยานพาหนะ และโรงงานอุตสาหกรรม กาลังเป็นปัญหามากขึ้นเรื่อย เช่นก๊าซพิษละฝุ่นละอองในอากาศ สารพิษและโลหะหนักในน้า ยาฆ่าแมลงและ สารเคมีท่ีเป็นพษิ ต่างๆที่ปนเปื้อนอยู่ในดิน (6) สารเคมีภายในร่างกาย หลายชนดิ เปน็ ผลติ ผลจากการทางานของเซลล์ เนอ้ื เย่อื และอวัยวะ รวมทัง้ ฮอรโ์ มนนิดตา่ งๆ ที่รา่ งกายผลิตขนึ้ หากมปี รมิ าณไมส่ มดลุ ก็กอ่ ใหเ้ กดิ โรคได้ 8

3) สาเหตุทางด้านกายภาพ คือ ความรอ้ น แสง เสียง และรังสีต่างๆหากมกี ารสัมผสั กัน สง่ิ เหล่าน้ีในปริมาณที่ไม่เหมาะสม อากาศที่ร้อนผิดปกติจะทาให้อ่อนเพลีย เป็นลมหรือหมดสติ ในอากาศหนาวจัด หากไมม่ ีเสื้อผา้ หอ่ หุม้ เพยี งพอทาให้เกดิ การเจ็บปว่ ยไดห้ ลายประการ 4) สาเหตุจากการขาดสารอาหาร ปัจจัยหรือสารอาหารบางอย่างจาเป็นสาหรับการ ดารงชีพ เม่อื ขาดสารอาหารเหล่านนั้ จะทาให้เกิดโรคได้ เช่น การขาดวิตามินบี2 ทาใหเ้ ป็นโรคปากยกกระจอก การ ขาดวิตามนิ เอทาใหม้ อี าการตาฟางในเวลากลางคนื การขาดธาตไุ อโอดีนทาให้เป็นโรคคอพอก เปน็ ต้น 3.4.3 ส่งิ แวดล้อม (Environment) หมายถงึ ส่งิ ต่างๆทีอ่ ยู่รอบๆตัวมนษุ ย์ เป็นปัจจัยท่ีครอบคลุมกว้างขวางและเช่ือมโยงถึงกันท่ัวประเทศและทั่วโลก โดยท่ัวไปส่ิงแวดล้อมที่อยู่ใกล้จะมี อิทธิพลตอ่ การเกดิ โรคมากกว่าสงิ่ แวดลอ้ มที่อย่ไู กลออกไป อาจแบง่ สิง่ แวดล้อมออกไดเ้ ป็น 4 ประเภท คือ 1) ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ หมายถึง สิ่งแวดล้อมท่ีเกี่ยวข้องกับสิ่งที่มีขนาด รูปร่าง สถานท่ี หรือพลังงานต่างๆ เช่น สิ่งแวดล้อมของท่ีอยู่อาศัยหรือโรงงานอุตสาหกรรม ลักษณะภูมิประเทศในเขต ร้อนและเขตอบอนุ่ สภาพความรอ้ นและแสงสว่างขณะทางาน สภาพของเสียงรบกวนในเขตบริเวณโรงเรียน เป็นตน้ 2) สิ่งแวดล้อมทางเคมี หมายถึง ส่ิงแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี ได้แก่ สารเคมี และก๊าซต่างๆ ที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อม ซ่ึงอาจจะมีอันตรายต่อมนษุ ย์ได้ เช่น ส่งิ แวดล้อมของโรงงานหลอมเปลือกหม้อ แบตเตอรีร่ ถยนต์ทาใหบ้ รเิ วณโรงงานมีสารตะก่ัวสงู เกิดโรคพษิ ตะก่ัวได้ ปรมิ าณสารคาร์บอนมอนนอกไซด์ตามถนน ท่มี ีการจราจคับคัง่ ปริมาณจะสูงเกินระดับมาตรฐาน ทาใหเ้ ปน็ อนั ตรายต่อสขุ ภาพได้ 3) สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ หมายถึง ส่ิงแวดล้อมท่ีเกี่ยวข้องกับส่ิงมีชีวิตทั้งหลาย ท้ังท่ี มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าและที่มองเห็นด้วยเปลา่ เชน่ เชือ้ ไวรัส แบคทีเรยี พยาธิ แมลง สัตว์ และมนุษย์ เป็นต้น ส่ิงแวดลอ้ มทางชวี ภาพนบ้ี างชนิดกม็ ปี ระโยชน์ บางชนิดกม็ ีโทษก่อให้เกิดอนั ตรายแก่ชุมชน 4) สง่ิ แวดล้อมทางเศรษฐกจิ และสังคม หมายถงึ ส่งิ แวดล้อมท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั ลกั ษณะทาง สงั คม ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ตลอดจนฐานะความเป็นอยู่และอาชีพของประชากรในชุมชน กย็ ังช่วยใน การบ่ันทอนสุขภาพของประชาชนด้วย เชน่ การรดนา้ มนต์รักษาโรค การงดของแสลง เป็นต้น 3.5 ลกั ษณะและธรรมชาติของการเกดิ โรค ธรรมชาตขิ องการเกิดโรค หมายถึง วงจรการเกดิ โรคตามธรรมชาติ โดยเริม่ จากคนปกติไดร้ ับองคป์ ระกอบ ท่ีเส่ียงต่อการเกิดโรคหรือปัจจัยเส่ียงของโรค ทาให้มีความไวต่อการติดเช้ือหรือเป็นโรค เมื่อเป็นโรคแล้วก็อาจมี ความพกิ าร หาย หรอื ตายได้ ธรรมชาติของโรคแบง่ ไดเ้ ป็น 4 ระยะ คือ 3.5.1 ระยะท่เี สย่ี งต่อการติดโรค หรอื ระยะทม่ี ีภูมิไวรับต่อการเกิดโรค (Stage of susceptibility) เป็นระยะที่โรคยังไม่เกิดขึ้นแต่มีปัจจัยที่ส่งเสริมต่อการเกิดโรค โดยบุคคลนั้นอยู่ใน สิ่งแวดล้อมที่เอ้ืออานวยต่อการเกิดโรคหรือสัมผัสกับปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น อากาศหนาวทาให้คนมีโอกาส เป็นโรคปอดอักเสบได้ง่าย คนท่ีสูบบุหร่ีมีโอกาสเป็นโรคมะเร็งปอดเป็น 10 เท่าของคนที่ไม่ได้สูบบุหรี่ เด็กแรกเกิด และคนชรามีโอกาสติดโรคได้ง่ายกว่าวัยอื่นๆเน่ืองจากกลไกในการสร้างภูมิต้านทานยังพัฒนาไม่ดีพอและความ เส่อื มสภาพเมื่อเข้าสู่วัยชรา 3.5.2 ระยะก่อนมอี าการตงั้ แต่เริ่มตดิ เช้อื หรือรับสาเหตแุ ล้ว หรอื ระยะก่อนมี อาการของโรค(Stage of preclinical disease) เปน็ ระยะทเ่ี ร่ิมมีพยาธสิ ภาพของโรคเกดิ ขน้ึ แลว้ แตย่ งั ไมม่ ีอาการ ของโรคเกิดข้ึนให้เห็นเนื่องจากพยาธสิ ภาพของโรคไม่มากพอ การท่ีจะทราบวา่ มีพยาธิสภาพเกิดข้ึนก็โดยการสารวจ การตรวจคดั กรองโรค การตรวจสุขภาพ การค้นหาผู้ป่วยในระยะเริ่มแรก เชน่ การตรวจหามะเรง็ ปากมดลูกระยะ แรกเรมิ่ (Pap Smear) การฉายรังสีปอด (Chest X-ray) เพ่อื ค้นหาผู้ปว่ ยวัณโรคปอดหรอื มะเร็งปอด เปน็ ต้น 3.5.3 ระยะที่มอี าการของโรค (Stage of clinical disease) เป็นระยะที่มพี ยาธสิ ภาพของโรคเกิด มากขนึ้ จงึ เกิดการเปลีย่ นแปลงเกีย่ วกบั ลกั ษณะและหน้าท่ีของสว่ นตา่ งๆของรา่ งกายตามชนดิ ของโรค ทาใหผ้ ปู้ ่วยมี อาการของโรคเกดิ ขน้ึ ผู้ปว่ ยส่วนใหญจ่ ะมาพบแพทย์ในระยะนี้เน่อื งจากมอี าการผิดปกติตา่ งๆ 3.5.4 ระยะท่ีโรคกอ่ ให้เกดิ ผลเสยี หาย หรอื ระยะมีความพกิ ารของโรค(Stage 9

of disability) เป็นระยะหลงั จากมีอาการของโรคเกิดข้ึนแล้ว ผู้ป่วยอาจได้รับหรือไม่ได้รบั การรักษาจากแพทย์ ถ้า ได้รับการรักษาเร็วก็มีความพิการน้อยหรือไม่มีความพิการ ผู้ป่วยท่ีได้รับการตรวจรักษาช้าก็อาจพบความพิการมาก ทาให้เสยี สมรรถภาพการทางานของอวยั วะนัน้ ไปได้ ผลท่ตี ามมาหลังจากเปน็ โรคอาจแยกไดเ้ ปน็ 3 พวกคือ 1) พวกท่ปี ่วยเป็นโรคแลว้ หายสนิท 2) พวกทีป่ ว่ ยเป็นโรคแล้วหายไมส่ นิท มีความพกิ ารเกิดขึ้นในระยะสน้ั หรอื ระยะยาว 3) พวกที่ปว่ ยเปน็ โรคแล้วมีอาการมากจนถึงแกก่ รรม 3.6 การแพร่กระจายโดยท่ัวไปของโรค การแพร่กระจายโดยท่ัวไปของโรค หมายถึง การท่ีเช้ือโรคเคลื่อนท่ีจากแหล่งท่ีอยู่ไปสู่คนสัตว์สิ่งของอ่ืนๆ แล้วทาให้เกดิ โรค การแพร่กระจายของเช้ือโรคมี 2 ทางดงั นี้ 3.6.1 การแพร่เช้ือโรคโดยทางตรง หมายถึง การท่ีเช้ือโรคแพร่จากแหล่งหนึ่งไปสู่อีกแหล่งหนึ่ง โดยไม่มีส่ือกลางหรือพาหะเป็นตัวนาไป เช่น การสัมผัสหรือได้รับเชื้อจากน้ามูก น้าลาย หนอง น้าเหลือง หรือ สะเก็ดแผลของผู้ป่วยนอกจากน้ียังมีการรับเช้ือโดยตรง จากการได้รับเลือดท่ีมีโรคติดต่อบางอย่างอยู่ในเลือด เช่น โรคเอดส์ ไวรัสตับอกั เสบบี เป็นต้น 3.6.2 การแพรเ่ ชอื้ โรคโดยทางอ้อม หมายถึง การท่ีเช้อื โรคแพรจ่ ากแหลง่ หนงึ่ ไปสู่อกี แหล่งหน่ึงโดย มีตวั กลาง หรือพาหะเป็นตวั นา ซึ่งไม่ใชเ่ ป็นการติดต่อกันโดยตรงระหว่างผู้ปว่ ยกันคนปกติหรือผู้ทอี่ ยู่ใกล้ชิด เช่นเช้ือ โรคอาจปะปนอยู่ในน้า อาหาร เส้อื ผา้ และของใช้ตา่ งๆ เมื่อเราไดร้ ับเชอ้ื นี้เข้าสู่ร่างกายได้ อาจได้รับเช้ือจากสัตว์นา โรค เช่น ยุง แมลงวัน เป็นต้น 4. การปฏิบัติตัวเกี่ยวกบั การดูแลสขุ อนามัย 4.1 การปฏิบัติตามสขุ บัญญัติแหง่ ชาติ การดูแลสุขอนามัยอาจจะมแี นวปฏบิ ัติทหี่ ลากหลาย แตท่ ีเ่ ปน็ หลักปฏิบัติในการดูแลสขุ ภาพขนั้ พื้นฐานและ ครอบคลุมการดแู ลสุขภาพของทุกคนคือสุขบัญญตั แิ หง่ ชาติ เพราะสขุ บัญญัติ คือ ข้อกาหนดทีเ่ ด็กและเยาวชน ตลอดจนประชาชนทวั่ ไป พงึ ปฏบิ ัตอิ ย่างสมา่ เสมอจนเปน็ สขุ นสิ ยั เพ่ือให้มีสุขภาพดี ท้งั ทางร่างกาย จิตใจ และสังคม ดงั นัน้ การสง่ เสรมิ สุขบญั ญัติ จงึ เป็นกลวิธีหนง่ึ ในการสรา้ งเสริมและปลูกฝังพฤตกิ รรมสุขภาพทพี่ งึ ประสงค์ เพอื่ ใหเ้ ดก็ เยาวชน และประชาชนปฏิบตั ิเพอื่ นาไปสูก่ ารมีสขุ ภาพท่ดี ไี ด้ การปฏิบัติตามสุขบัญญัติแห่งชาติ เป็นบรรทัดฐานสาหรับการสร้างเสริมและปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่ ถูกต้องให้เกิดขึ้นกับประชาชนตามนโยบายการสุขศึกษาแห่งชาติ เพ่ือให้เยาวชนและประชาชนทั่วไปยึดเป็นแนว ปฏิบัติขั้นพื้นฐานเพ่ือการมีสุขอนามัยที่ดี โดยคณะกรรมการสุขศึกษา ซ่ึงแต่งตั้งโดยอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี ได้ รว่ มกันพิจารณาสุขบัญญัติแหง่ ชาติและเห็นสมควรให้นาเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัตแิ ละประกาศใช้เป็น “สุข บญั ญัติแห่งชาติ” เม่ือวันท่ี 28 พฤษภาคม 2539 กระทรวงสาธารณสุขจึงได้กาหนดให้ วันท่ี 28 พฤษภาคมของทุกปี เป็นวันสุขบัญญัติแห่งชาติ เพอ่ื ยา้ เตือนใหป้ ระชาชน ตระหนักถงึ การดูแลและสง่ เสรมิ สุขภาพข้ันพ้ืนฐานตามแนวทาง สุขบญั ญตั แิ หง่ ชาติ สขุ บญั ญัตแิ หง่ ชาตมิ ี 10 ประการ ดังนี้ ประโยชนข์ องการปฏบิ ัติ สขุ บญั ญตั แิ ห่งชาติ 1. ป้องกนั การตดิ เช้อื โรค 2. ปลูกฝงั ระเบยี บในตัวเอง 4.1 ดูแลรักษาร่างกายและของใชใ้ ห้สะอาด 3. เสริมบุคลิกภาพ 1. อาบน้าให้สะอาดทกุ วนั อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 1 ครง้ั 4. เป็นทีย่ อมรับในสงั คม 2. สระผมอย่างน้อยสปั ดาห์ละ 2 ครงั้ 3. ตัดเลบ็ มือ เล็บเทา้ ให้ส้ันอยเู่ สมอ 4. ถ่ายอุจจาระเปน็ เวลาทกุ วนั 10

5. ใส่เสือ้ ผา้ ท่ีสะอาดไม่อับชนื้ และเหมาะสมกับสภาพ 1. ป้องกนั โรคฟันผุ เหงอื กอักเสบ อากาศ ปากมีกล่ินเหม็น 6. จัดเก็บของใช้ให้เปน็ ระเบียบ 2. ป้องกันโรคทางเดนิ อาหาร 3. มฟี ันใชง้ านตลอดชวี ติ 4.2 รักษาฟนั ให้แขง็ แรงและแปรงฟันทุกวันอยา่ งถกู ต้อง 4. ขบเคย้ี วอาหารไดส้ มบูรณ์ 1. แปรงฟันทุกวันอย่างถูกวธิ ี อย่างนอ้ ยวนั ละ 2 ครั้ง 5. ลดคา่ ใช้จา่ ยในการรกั ษา เวลาเช้าและก่อนนอน 2. เลือกใชย้ าสีฟันผสมฟลอู อไรด์ 1. ป้องกันโรคทางเดนิ อาหาร เช่น 3. หลีกเล่ยี งการกินลกู อม ลูกกวาด ท็อฟฟี่ หรือขนม พยาธติ า่ งๆ โรคท้องรว่ งอยา่ งแรง หวานเหนียว บิด ไทฟอยด์ และอนื่ ๆ 4. ตรวจสขุ ภาพในชอ่ งปากอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครั้ง 2. ไมเ่ ปน็ ท่ีรงั เกยี จของสังคม 5. หา้ มใชฟ้ ันกดั ขบของแขง้ 4.3 ล้างมือใหส้ ะอาดกอ่ นกินอาหารและหลังการขบั ถา่ ย 1. ลา้ งมอื มอื ดว้ ยสบูท่ กุ คร้ังกอ่ นและหลังการเตรียมปรุง และกินอาหาร 2. ล้างมือด้วยสบทู่ กุ ครั้งหลงั การขับถา่ ย สุขบัญญัติแห่งชาติ ประโยชนข์ องการปฏบิ ตั ิ 4.4 กนิ อาหารสกุ สะอาด ปราศจากสารอนั ตราย และ หลีกเล่ยี งอาหารรสจดั สฉี ดู ฉาด 1. เลอื กซ้ืออาหารสดสะอาด ปลอดสารพษิ โดยคานงึ ถึง 1. รา่ งกายแขง็ แรงสมบูรณ์ หลกั 3 ป. คือ ประโยชน์ ปลอดภัย ประหยัด 2. ไม่เป็นโรคขาดสารอาหารหรือเปน็ 2. ปรุงอาหารท่ีถกู สขุ ลกั ษณะและใชเ้ คร่ืองปรงุ รสท่ี โรคอว้ น ถกู ตอ้ ง โดยคานงึ ถึงหลัก 3 ส. คอื สงวนคุณค่า สุกเสมอ 3. ป้องกันการเจ็บปว่ ยและเสียชวี ติ สะอาดปลอดภัย จากการติดเช้ือโรคอันเกดิ จาก 3. กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ เพียงพอต่อความต้องการของ สารพิษทเี่ ปน็ อนั ตราย และโรคระบบ ร่างกาย และกนิ ให้ถกู หลักโภชนาการทุกวนั ทางเดนิ อาหาร 4. กินอาหารปรุงสกุ ใหม่และใชช้ ้อนกลางในการกินอาหาร ร่วมกนั 5. หลกี เลี่ยงการกนิ อาหารสกุ ๆดบิ ๆ หรืออาหารรสจัด ของหมักดอง หรืออาหารใส่สีฉูดฉาด 6. ดม่ื น้าสะอาดอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว 4.5 งดบุหร่ี สรุ า สารเสพตดิ การพนัน และการสาส่อน ทางเพศ 1. ป้องกันโรครา้ ยแรงตา่ งๆทงั้ 1. งดสบู บหุ ร่ี โรคติดตอ่ และโรคไมต่ ิดตอ่ ทางเพศ 2. งดเครื่องดมื่ ท่ีมีแอลกอฮอล์ทุกชนดิ 2. ป้องกันภยั พบิ ัตแิ ละความหายนะ 3. ไมเ่ สพสารเสพตดิ ทุกประเภท ทกี่ อ่ ให้เกดิ ความสูญเสียชวี ิต 4. งดเลน่ การพนันทุกชนดิ ครอบครัว และประเทศชาติ 5. งดการสาส่อนทางเพศ 3. เป็นทยี่ อมรับของครอบครัวและ สงั คม 11

4.6 สร้างความสัมพนั ธใ์ นครอบครัวใหอ้ บอุ่น 1. สมาชิกทุกคนในครอบครัวมี 1. ทกุ คนในครอบครวั ช่วยกันทางานบา้ น ความสุข 2. ปรึกษาหารอื และแสดงความคิดเหน็ รว่ มกนั 2. ครอบครวั อบอ่นุ เปน็ เกราะ 3. เผ่ือแผ่น้าใจให้กันและกัน ป้องกันภัยและความหายนะทเ่ี กดิ ข้นึ 4. ทาบญุ และได้ทากจิ กรรมสนกุ สนานรว่ มกนั ทง้ั มวล สุขบัญญตั แิ หง่ ชาติ ประโยชนข์ องการปฏบิ ตั ิ 4.7 ป้องกนั อบุ ัตภิ ัยด้วยการไมป่ ระมาท 1. ระมดั ระวังในการป้องกนั อุบตั ิภยั ภายในบา้ น เชน่ 1. ป้องกันการบาดเจบ็ ความพกิ าร และ ไฟฟ้า เตาแกส๊ ของมีคม การจดุ ธปู เทียนบูชาพระ การเสยี ชวี ติ ไม้ขดี ไฟ เปน็ ตน้ 2. ป้องกนั ภยั ทเ่ี กดิ ข้นึ กับเพ่อื นบา้ นและ 2. ระมดั ระวงั ในการป้องกนั อบุ ตั ภิ ัยในท่ีสาธารณะ สังคม เช่นปฏิบตั ิ ตามกฎแห่งความปลอดภยั จาก การจราจรทางบก ทางน้า ปอ้ งกันอนั ตรายจากโรง ฝึกงาน หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เขตกอ่ สร้าง หลีกเลยี่ ง การชุมนมุ ห้อมล้อมในขณะเกดิ อบุ ตั ิภัย 4.8 ออกกาลงั กายสม่าเสมอและตรวจสขุ ภาพ ประจาปี 1. ปอ้ งกันความเสี่ยงต่อการเกดิ โรครา้ ย 1. ออกกาลงั กายอย่างนอ้ ยสปั ดาห์ละ 3 คร้งั ๆละ ต่างๆ เชน่ โรคหลอดเลือดหวั ใจอดุ ตัน 20 – 30 นาที โรคไขมนั ในเลอื ด โรคความดนั โลหิตสูง 2. ออกกาลังกายและเลน่ กีฬาให้เหมาะสมกับสภาพ เป็นตน้ ร่างกายและวัย 2. รา่ งกายแขง็ แรงเจริญเติบโต 3. ตรวจสขุ ภาพประจาปี รูปรา่ งสมสว่ น 4.9 ทาจติ ใจให้รา่ เรงิ แจ่มใสอยเู่ สมอ 1. พักผอ่ นและนอนหลบั ใหเ้ พยี งพอ 1. ใครเหน็ ใครอยากคบ 2. จัดสิ่งแวดลอ้ มทงั้ ในบา้ นและท่ีทางานใหน้ า่ อยู่ อยากเขา้ ใกล้ หรอื น่าทางาน 2. สขุ สดช่นื ลดความทุกข์ 3. มองโลกในแงด่ ี ใหอ้ ภัย และยอมรับใน 3. สุขภาพดที ้งั ร่างกายและจิตใจ ข้อบกพรอ่ งของคนอ่นื 4. ไมแ่ กเ่ รว็ 4. เมื่อมปี ัญหาไม่สบายใจควรหาทางผ่อนคลาย 4.10 มสี านึกต่อส่วนรวม รว่ มสร้างสรรค์สงั คม 1. มกี ารกาจดั ขยะในบา้ นและทงิ้ ขยะในทรี่ องรับ 1. ทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ้ มไดร้ ับการ 2. หลกี เลีย่ งการใช้วสั ดุอปุ กรณ์ทกี่ ่อใหเ้ กิดมลภาวะ ดูแลอนุรกั ษ์ ต่อสง่ิ แวดล้อม เชน่ โฟม พลาสติก สเปรย์ เปน็ ตน้ 2. ลดมลภาวะส่ิงแวดลอ้ ม 3. มีและใช้สว้ มที่ถูกสขุ ลกั ษณะ 3. บ้านและชุมชนนา่ อยู่ 4. มกี ารกาจัดน้าท้ิงในครวั เรือนและโรงเรยี นท่ี ถูกตอ้ ง 5. ใชท้ รัพยากรอย่างประหยัด 6. อนรุ กั ษ์และพัฒนาสงิ่ แวดล้อม เชน่ ชมุ ชน ป่า นา้ สตั วป์ า่ เป็นตน้ 12

4.2 การบรโิ ภคอาหาร (Nutrition) ขอ้ ปฏบิ ตั กิ ารกินอาหารเพือ่ สุขภาพทด่ี ี มดี งั น้ี 4.2.1 กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ใหห้ ลากหลายและหมน่ั ดูแลนา้ หนกั ตวั 4.2.2 กนิ อาหารเปน็ หลกั สลบั กบั อาหารประเภทแป้งเป็นบางมอื้ 4.2.3 กินผักใหม้ ากและกินผลไมเ้ ปน็ ประจา 4.2.4 กนิ ปลา เน้ือสตั ว์ไม่ติดมนั ไข่ ถั่วเมล็ดแห้งเปน็ ประจา 4.2.5 ดืม่ นมให้เหมาะสมตามวยั 4.2.6 กินอาหารท่ีมีไขมนั แตพ่ อควร 4.2.7 หลีกเล่ียงการกินอาหารหวานจดั และเคม็ จัด 4.2.8 กนิ อาหารท่ีสะอาดปราศจากการปนเป้อื น 4.2.9 งดหรอื ลดเครือ่ งดื่มท่มี ีแอลกอฮอล์ 4.3 การลา้ งมือที่ถูกวิธี วธิ ีการลา้ งมือ 7 ขน้ั ตอน ต้องลา้ งดว้ ยน้าและสบ่ทู ุกขั้นตอนทา 5 ครงั้ สลบั กนั ทัง้ 2 ข้าง จากนั้นลา้ งดว้ ยนา้ เปลา่ ใหส้ ะอาดแลว้ เช็ดใหแ้ หง้ 1. ฝ่ามือถกู ัน 2. ฝา่ มอื ถหู ลงั มือและน้วิ ถูซอกนว้ิ 3. ฝ่ามอื ถูฝ่ามอื และนว้ิ ถซู อกน้ิว 4. หลงั น้วิ มอื ถฝู า่ มอื 5. ถูนว้ิ หัวแม่มอื โดยรอบด้วยฝา่ มือ 6. ปลายน้วิ มอื ถูขวางฝา่ มือ 7. ถรู อบข้อมือ ข้อควรระวังเก่ียวกบั การลา้ งมอื 1. ผา้ เชด็ มอื ควรจะใชส้ าหรับคนแตล่ ะคน ไม่ควรใชร้ ่วมกนั 2. ใหใ้ ชผ้ ้าหรือกระดาที่ใช้ครั้งเดียว 3. ไม่ควรใช้ผ้าเชด็ มือชนิดใชผ้ ืนเดยี วแขวนไวท้ งั้ วัน 4. ไม่ตอ้ งใชฟ้ องนา้ หรือผ้าในการลา้ งมอื เพราะสิง่ เหลา่ นนั้ อาจจะมีเชื้อโรคอยู่ 5. ท่ีวางสบู่แบบก้อนก็ควรระบายนา้ ไมใ่ หไ้ ปขังในจุดวางสบู่ 6. หากใช้สบ่เู หลวหรอื สบู่ยาก็ตอ้ งมีการทาความสะอาดขวดท่ใี ส่ 4.4 การออกกาลงั กาย การออกกาลงั กาย หมายถงึ การเคลอ่ื นไหวรา่ งกายให้มีจังหวะเหมาะสม เป็นการฝึกซอ้ มให้ร่างกายแทบ ทกุ ส่วนมีความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว จึงทาใหร้ ่างกายเตรียมพร้อม อดทน แขง็ แรง ผอ่ นคลายความเครง่ เครยี ดจากงาน หรอื ชวี ิตประจาวนั ซ่งึ มักจะทาซา้ ๆซากๆ เมือ่ รา่ งกายแข็งแรงกท็ าให้สมองแจ่มใสปราศจากโรคภยั หลกั การออกกาลังกายเพอื่ สุขภาพ พอสรุปไดด้ ังนี้ 1. เมื่อเริ่มออกกาลงั กายควรเรมิ่ ด้วยวิธงี ่ายๆปละปริมาณน้อยๆตามข้นั ตอน 2. ควรออกกาลงั กายทกุ สว่ นของรา่ งกาย โดยกระทาอยา่ งตอ่ เนื่องและ สมา่ เสมอคร้งั ละไมต่ า่ กวา่ 30 นาทีสปั ดาหล์ ะ 3 วนั เปน็ อย่างนอ้ ย 3. การออกกาลงั กายควรประกอบด้วย 3 ช่วงคือ ชว่ งอบอนุ่ ร่างกาย โดยการ ยืดเสน้ ยดื สายเพอ่ื ใหร้ ่างกายเตรียมพรอ้ มใชเ้ วลาประมาณ 5 นาที ตามดว้ ยช่วงฝกึ จรงิ ประมาณ 20 นาที และช่วง ผอ่ นคลายกลา้ มเนอื้ อีกประมาณ 5 นาที 4. การออกกาลงั กายควรคานึงถงึ สภาพรา่ งกายให้เหมาะสมกับเพศ วัย และ 13

ความแตกต่างของรา่ งกายแต่ละบุคคล 5. ไมค่ วรรบั ประทานอาหารก่อนออกกาลงั กายและหลังจากออกกาลงั กาย เสรจ็ ใหม่ๆ 6. งดสูบบุหรี่ ด่ืมสุรา สารกระตนุ้ หรือสิง่ เสพติดอน่ื ๆ 4.5 การพักผ่อนและการนอนหลับ (Rest and Sleep) 4.4.1 การพักผ่อน (Rest) หมายถงึ การพกั ระหวา่ งการทางานหรือการ เล่นเพือ่ ผอ่ นคลายความตึงเครียด การพักผ่อนอาจทาได้หลายวธิ ี เช่น การทางานอดเิ รก การอ่านหรือเขียนหนงั สือ การพกั เปล่ียนอิรยิ าบถ เปน็ ตน้ 4.4.2 การนอนหลับ (Sleep) การนอนหลบั ทเี่ พียงพอเปน็ การสง่ เสริมใหค้ นเรามสี ขุ ภาพดี มี ประสทิ ธภิ าพในการทางาน สดชน่ื แข็งแรงและกระปรี้กระเปร่า ปกตผิ ู้ใหญค่ วรนอนประมาณ 8 ชว่ั โมงตอ่ วัน 4.6 การจัดการความเครียด 4.6.1 การดูแลตนเอง การดแู ลสุขภาพร่างกายใหแ้ ข็งแรงสมบรู ณ์ ทาให้มีความพร้อมกบั การ เผชญิ ความเครยี ด และยงั เปน็ การป้องกันความเครียดท่เี กดิ จากสขุ ภาพรา่ งกายทไ่ี มด่ ี 4.6.2 การฝึกคิดไม่ใหเ้ ครยี ด โดยการคิดในเชิงบวก มองโลกในแงด่ ี ความคิดยดื หยนุ่ และการ คิดถงึ คนอน่ื บ้างจะทาใหล้ ดความตอ้ งการของตนเอง 4.6.3 การวางแผนแกไ้ ขปัญหาเมอ่ื เกิดปัญหาขึน้ ในชวี ิต บคุ คลมีวธิ ีเผชญิ กับปัญหาหลายวิธตี าม บคุ ลกิ ลักษณะของแต่ละบคุ คล 4.6.4 การฝกึ เผชิญกบั ปัญหาทเ่ี กิดขึ้นในชีวติ เปน็ ทักษะท่ีสาคญั ทีจ่ ะลดความตงึ เครยี ด ช่วยให้ ค้นหาต้นเหตขุ องความเครียด ชว่ ยให้สามารถแกป้ ัญหาไดด้ ีและดาเนินชีวติ อยา่ งมีความสขุ นาไปสจู่ ดุ หมายของชวี ิตที่ ตง้ั ใจไวไ้ ด้ 14

เอกสารอา้ งอิง กองแผนงาน. (2559), ระบบปอ้ งกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ. ยุทธศาสตร์การพฒั นา ระบบ ป้องกนั ควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพแหง่ ชาติ ภายใต้แผนพฒั นาสุขภาพแหง่ ชาตใิ นช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔(ฉบบั แนะนา) พิมพ์ที่ : สานกั พิมพ์ อกั ษรกราฟฟคิ แอนดด์ ีไซน์ กองสุขศกึ ษา. (2551), สุขบญั ญัติแหง่ ชาติ. กองสุขศกึ ษา สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. พิมพ์คร้ังที่ 4. ขวัญใจ ศุกรนนั ทน.์ (2552), เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าการป้องกันและสร้างเสริมสุขภาพ. คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. จฬุ าภรณ์ โสตะ. (2546), การส่งเสริมสขุ ภาพแนวใหม่. ภาควิชาสุขศึกษา คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ไพเราะ ผอ่ งโชค. (2548), ปจั จัยของการเกิดโรค. เอกสารการสอนชดุ วิชาการพยาบาลชมุ ชน และการรักษาพยาบาลเบ้ืองต้น. หน่วยที่ 8-15 สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี:มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช.พิมพค์ ร้งั ที่ 6. ไพเราะ ผอ่ งโชค. (2548), ธรรมชาตขิ องการเกิดโรคและการป้องกันโรค 3 ระดับ. เอกสารการ สอนชุดวชิ าการพยาบาลชุมชนและการรกั ษาพยาบาลเบอื้ งต้น. หนว่ ยท่ี 8-15 สาขาวชิ า พยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช.นนทบรุ ี: มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.พมิ พค์ ร้ังที่ 6. เยาวภา ปน่ิ ทุพันธ์. (2545), สุขภาพและการสาธารณสขุ . เอกสารการสอนวิชาสาธารณสขุ ทั่วไป สาขาวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ มสธ นนทบุรี สานกั พมิ พ์ มสธ พมิ พค์ รั้งที่ 1. รจุ ิรา ดวงสงค์. (2546), เอกสารประกอบการสอนวชิ าการจดั การสุขศกึ ษาและการส่งเสรมิ สุขภาพ ภาควชิ าสุขศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. 15

ใบงาน/ใบกจิ กรรม/แบบทดสอบท้ายบท ชื่อ-สกลุ ............................................................. รหสั ประจาตวั นสิ ติ .................................................................. ชอื่ รายวชิ า ................................................................................. รหัสวชิ า ....................................................... กลุ่มท่เี รียน .................. ใบงานที่ ............................. วันที่ ............................................................................. อาจารย์ผสู้ อน................................................................................................................................................... 1) ให้อธิบายการดแู ลสุขภาพแบบองคร์ วมใหเ้ ข้าใจพรอ้ มยกตัวอย่าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2) ทา่ นจะนาหลักการดแู ลสขุ ภาพแบบองคร์ วมไปประยกุ ต์ใช้กบั ตนเองอยา่ งไร อธบิ ายให้เขา้ ใจพรอ้ ม ยกตวั อยา่ งประกอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3) ให้นาองค์ประกอบของการเกดิ โรคมาอธิบายการเกดิ โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา่ สาย พันธใ์ุ หม่ 2019 …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4) จากสถานการณ์ในปจั จุบนั ที่มกี ารระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา่ สายพนั ธใ์ุ หม่ 2019 ทา่ นจะมีวิธีปอ้ งกนั โรคนอี้ ยา่ งไรตามระดับของการปอ้ งกนั โรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 16

บทที่ 2 การดูแลสุขภาพกายและการป้องกนั โรคท่พี บบอ่ ยในชว่ งวยั ตา่ ง ๆ ในระดับเบอื้ งต้น ตอนที่ 1 วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม เมื่อนสิ ิตศกึ ษาเอกสารและทากจิ กรรมตา่ ง ๆ ในหน่วยการเรยี นน้แี ลว้ นิสติ สามารถ 1. อธิบายการเปลยี่ นแปลงดา้ นร่างกายของชว่ งวยั ตา่ ง ๆ ได้ 2. อธบิ ายปญั หาสขุ ภาพในเดก็ ปฐมวยั ได้ 3. อธิบายการดแู ลสขุ ภาพกายและการปอ้ งกันโรคในเด็กปฐมวยั ได้ 4. อธิบายการป้องกันโรคทพ่ี บบอ่ ยในเดก็ ปฐมวยั ได้ 5. อธบิ ายการดแู ลสุขภาพกายและการป้องกนั โรคในเดก็ วยั เรยี นได้ 6. อธิบายการปอ้ งกันโรคที่พบบอ่ ยในเด็กวัยเรียนได้ วิธีการสอน/กจิ กรรมการเรียนการสอน 1. กจิ กรรมการเรียนการสอน เพือ่ บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ ขอ้ ที่ 1 1.1 บรรยายและศกึ ษาเอกสารประกอบ 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ ข้อท่ี 2 2.1 บรรยายและศกึ ษาเอกสารประกอบ 2.2 ทาแบบฝึกหัดหลงั บทเรียน 3. กิจกรรมการเรียนการสอนเพือ่ บรรลุวตั ถุประสงคข์ ้อท่ี 3 - 4 3.1 บรรยายและศึกษาเอกสารประกอบ 3.2 แบ่งกลุ่มศกึ ษาการดแู ลสขุ ภาพกายและการปอ้ งกนั โรคในเดก็ ปฐมวยั 3.3 นาเสนอ อภิปราย 4. กจิ กรรมการเรียนการสอนเพอื่ บรรลวุ ตั ถุประสงคข์ ้อที่ 5 - 6 4.1 บรรยายและศกึ ษาเอกสารประกอบ 4.2 แบง่ กลุ่มศึกษาการดแู ลสขุ ภาพกายและการป้องกันโรคในเดก็ วยั เรยี น 4.3 นาเสนอ อภิปราย การประเมนิ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ 1. การสอบ 2. งานเดยี่ ว/รายงานเด่ียว 3. งานกลมุ่ /รายงานกลมุ่ 4. การมสี ว่ นร่วมในชน้ั เรยี น 17

บทนา วงจรชีวิตของคนเราเรม่ิ ต้ังแต่วัยทารก วัยเด็ก วัยรุ่น วยั ผูใ้ หญ่ และวยั ผู้สงู อายุ โดยใช้อายุเป็นเกณฑ์ในการ แบ่งช่วงวัย การเปลี่ยนแปลงของเซลล์ต่าง ๆในร่างกายเริ่มต้ังแต่อยู่ในครรภ์ จนเติบโตเป็นทารกและเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ ในช่วงเวลาเหลา่ นีเ้ ซลลจ์ ะเปลี่ยนแปลงในทางเสริมสร้างทาให้เจรญิ เติบโต เม่ือพ้นวัยผู้ใหญ่แลว้ จะมีผลการสลายของ เซลล์มากกว่าการสรา้ ง ทาให้สมรรถภาพการทางานของอวัยวะตา่ ง ๆ ลดลง การเปล่ียนแปลงดังกลา่ วจะแตกตา่ งกัน ในแต่ละบุคคล ในบทนี้จะอธบิ ายการเปลย่ี นแปลงทางด้านร่างกายของแตล่ ะช่วงวยั และการดแู ลสุขภาพกายและการ ปอ้ งกนั โรคที่พบบอ่ ยในเด็กปฐมวยั (แรกเกดิ – 5 ป)ี และเด็กวยั เรียน (6 – 12 ปี) เด็กปฐมวัย เป็นวัยเร่ิมของพัฒนาการทางด้านต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว เป็นวัยท่ีกาลังเจริญเติบโต มีความ จาเป็นตอ้ งได้รับการดแู ลจากผทู้ ม่ี ีความรคู้ วามเข้าใจ และสามารถตอบสนองความตอ้ งการอยา่ งถูกต้องเหมาะสมตาม พฒั นาการ สาหรับเด็กวัยเรยี น เป็นวัยที่มกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างมากทางด้านสติปญั ญาและสังคม มกี ารเปลีย่ นแปลง แบบแผนการดาเนนิ ชีวิตประจาวันจากการใช้ชวี ิตในครอบครัวออกส่สู ังคมภายนอก เดก็ วยั นี้ชอบรวมกลมุ่ ระหวา่ งเพศ และวัยเดียวกัน ระยะนี้เด็กจะมีเหตุผล มีความรับผิดชอบ และยึดถือปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด เด็กวัย เรยี นจึงเปน็ วัยท่เี หมาะสมทีจ่ ะปลกู ฝังพฤติกรรมสุขภาพ เพ่ือใหม้ สี ขุ ภาพสมบรู ณแ์ ขง็ แรง มีพัฒนาการด้านตา่ ง ๆ เต็ม ตามศักยภาพ พรอ้ มทจี่ ะเติบโตเปน็ ผูใ้ หญ่ที่มคี ณุ ภาพ เน้อื หา 2.1 การเปลีย่ นแปลงทางดา้ นรา่ งกายของช่วงวัยต่าง ๆ 2.1.1 การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นรา่ งกายของเด็กปฐมวัย 2.1.2 การเปล่ียนแปลงทางดา้ นร่างกายของเด็กวัยเรียน 2.1.3 การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นรา่ งกายของวยั รนุ่ 2.1.4 การเปลยี่ นแปลงทางดา้ นรา่ งกายของวัยผ้ใู หญ่ 2.1.5 การเปล่ยี นแปลงทางดา้ นรา่ งกายของวัยผู้สงู อายุ 2.2 การดแู ลสขุ ภาพกายและการป้องกนั โรคท่ีพบบอ่ ยในเด็กปฐมวัย (แรกเกดิ – 5 ปี) 2.3 การดแู ลสขุ ภาพกายและการปอ้ งกนั โรคทีพ่ บบ่อยในเด็กวัยเรยี น (6 – 12 ป)ี 18

2.1 การเปลีย่ นแปลงในช่วงวัยต่าง ๆ 2.1.1 การเปลีย่ นแปลงทางด้านร่างกายของเดก็ ปฐมวยั เดก็ ปฐมวยั หมายถงึ ช่วงวยั แรกเกิด – 5 ปี แบง่ เป็น 2 ชว่ งวยั คอื วยั ทารก (แรกเกดิ – 1 ปี) และ วยั กอ่ นเรยี น (1 – 5 ป)ี 2.1.1.1 วัยทารก หมายถึง เด็กแรกเกิดจนอายุครบ 1 ปี เด็กวัยทารกเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับ อันตรายต่าง ๆ มากที่สุด เพราะขณะอยู่ในครรภ์มารดาเด็กได้รับความปลอดภัย สุขสบาย ได้รับอาหารเพ่ือการ เจริญเติบโต แตเ่ มื่อคลอดออกมาสู่โลกภายนอก ได้รับชีวิตท่เี ปน็ อิสระอย่างรวดเร็ว อวัยวะตา่ ง ๆ ต้องปรบั ระบบใหม่ ต้องหายใจเอง ระบบการไหลเวียนโลหิตต้องทางานเอง ฉะน้ันเด็กในวัยน้ีจึงจาเป็นต้องได้รับการดูแลใกล้ชิด และ ระมดั ระวงั เป็นพิเศษ การเจริญเติบโตและการเปลย่ี นแปลงของรา่ งกายเด็กทารก (แรกเกิด – 1 ปี) 1. การเปล่ียนแปลงสดั ส่วนของร่างกาย เม่ือแรกเกิดขนาดของศรี ษะทารกจะเป็นประมาณ 1 ใน 4 ของความยาวของลาตัวท้ังหมด แต่เม่ือร่างกายเจริญถึงวุฒิภาวะ (Mature) ขนาดของศีรษะจะเป็นเพียงประมาณ 1 ใน 8 ของความสูง คือเด็กจะมแี ขนขายาวเพิ่มข้ึนในสัดสว่ นมากกว่าการเพ่ิมความยาวของลาตวั ทาให้จดุ กง่ึ กลางลาตัว เปลี่ยนจากประมาณระดับสะดือในทารกแรกเกิดมาเปน็ ประมาณระดับหวั หน่าวในผใู้ หญ่ 2. น้าหนัก น้าหนักตัวจะมีความไวต่อการเปล่ียนแปลงของภาวะโภชนาการและการเจ็บป่วย ดังนั้น ในเด็กทารกและวัยก่อนเรียนจึงใช้น้าหนักเป็นตัวบ่งชี้การเจริญเตบิ โตและโภชนาการ การเพมิ่ ของน้าหนักตวั ในระยะ 5 เดอื นแรก ทารกจะมีนา้ หนักตัวเพม่ิ วันละประมาณ 20 กรัมและช่วงระหวา่ ง 5 เดอื น –1 ปี น้าหนกั เพ่มิ ประมาณวัน ละ 15 กรัม ด้วยอัตราการเพิ่มของน้าหนักเช่นนี้ ทารกปกติจะมีน้าหนักเป็น 2 เท่าของแรกเกิดเม่ือประมาณอายุ 5 เดอื น และเมอ่ื อายุ 1 ปี เปน็ 3 เทา่ ของนา้ หนักเม่ือแรกคลอด คอื ประมาณ 9 กโิ ลกรัม 3. การเจรญิ ของกระดกู และฟนั - การเจริญของกะโหลกศีรษะ กะโหลกศีรษะประกอบด้วยกระดูกแข็งบางหลายชิ้นมาต่อกัน ทา ให้เกิดรอยประสานที่เรียกว่า “ซูเจอร์” (Suture) 8 รอย รอยเหล่าน้ีจะประสานเมื่อสมองเจริญเติบโตเต็มท่ีรอยต่อ ระหว่างกระดูกที่มาชนกันเรยี ก “ฟอนตาเนล” (Fontanels) หรอื กระหมอ่ ม ฟอนตาเนลทกุ แห่งจะปดิ หมดภายใน 2- 3 เดือนหลังคลอด ยกเวน้ กระหม่อมหนา้ (Anterior fontanel) เท่านนั้ ทีย่ ังคงเปิดอยู่ โดยจะเร่มิ ปดิ เม่อื อายุประมาณ 9 เดือน และปิดสมบรู ณเ์ มือ่ อายปุ ระมาณ 18 เดอื น ถ้ากระหมอ่ มปดิ ชา้ กว่าปกตอิ าจแสดงวา่ เดก็ เกิดภาวะหัวบาตร - ทอ่ ยูสเตเซียน (Eustachian tube) คอื ท่อที่ตอ่ ระหว่าง Nasopharynx และหูสว่ นกลาง ในเด็ก ท่อน้ีสั้น กว้าง และตรงกว่าในผู้ใหญ่ จึงทาให้โรคติดเช้ือในจมูกและลาคอเด็กแผ่ขยายไปยังหูส่วนกลางได้มาก และ ง่ายกว่าในผใู้ หญ่ - การเจริญของกระดูกแขนขา เด็กแรกเกิดแขนยาวกว่าขา แต่ต่อมาขาจะเจรญิ เรว็ มาก และยาว กว่าแขนในท่ีสดุ ภาวะขาโกงและเขา่ ชิดเปน็ ภาวะปกติในทารกและเด็กเล็ก เมอ่ื เดก็ เร่ิมยนื และเดนิ กระดูกขาจะค่อย ๆ ตรงขน้ึ - ฟัน ฟันเร่ิมสร้างขึ้นต้ังแต่ทารกอยู่ในครรภ์ แต่จะงอกพ้นเหงือกออกมาให้เห็นเป็นคร้ังแรกเม่ือ อายุประมาณ 6 เดือน และจะขนึ้ จนครบ 20 ซี่ เมอ่ื อายปุ ระมาณ 1 ½ - 3 ปี เรียกฟันชุดน้ีวา่ ฟันนา้ นม 2.1.1.2 เด็กวยั ก่อนเรยี น หมายถึง เดก็ อายุระหว่าง 1-5 ปี เด็กวัยน้ีเป็นวัยท่ีต่อจากวัยทารก และ ส้นิ สดุ ลงเมือ่ อายปุ ระมาณ 5 ปี โดยอาจแบง่ ออกได้เปน็ 2 ระยะ - ระยะแรก อายุ 1-3 ปี เรียกวา่ วยั เด็กเล็ก หรอื วยั เตาะแตะ - ระยะที่สองอายุ 4-5 ปี เรียกว่า วัยเด็ก หรือวัยอนุบาล เน่ืองจากเด็กบางคนที่อายุ ระหว่าง 4-5 ปี จะเร่ิมเข้าโรงเรียนอนุบาลแล้ว แต่ก็ยังถือว่าเป็นเด็กวัยก่อนเรียน เพราะการเข้าโรงเรียนอนุบาลนั้น เป็นเพียงการเตรียมความพรอ้ มเพอื่ จะเขา้ ชั้นเรียนตามปกติต่อไป อีกประการหนึง่ เด็กอายุ 4-5 ปี ยงั ไมอ่ ยใู่ นเกณฑ์ท่ี จะเข้าโรงเรยี นตามพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาภาคบงั คับด้วย 19

การเจริญเติบโตและการเปล่ียนแปลงของรา่ งกายเด็กวัยกอ่ นเรยี น (1 – 5 ป)ี ในเด็กวยั ก่อนเรยี นจะมีอัตราการเจริญเติบโตค่อนข้างชา้ เม่อื เปรียบเทียบกับเดก็ ทารก แต่อตั ราการ เจรญิ เตบิ โตจะเป็นไปอย่างสม่าเสมอ การเจรญิ เตบิ โตทางดา้ นร่างกายนีแ้ บ่งออกเป็น 1. การเจรญิ เตบิ โตของรา่ งกายทั่วไป รูปรา่ งและสัดสว่ นของรา่ งกายของเดก็ วยั นจี้ ะเปล่ียนไปจากวัย ทารกค่อนข้างมาก รูปร่างเดิมท่ีเคยอ้วนกลม ศีรษะใหญ่ หัวใหญ่และสั้น จะค่อย ๆ ยืดตัวออก ใบหน้าและศีรษะจะ เล็กลงเม่ือเปรียบเทียบกับขนาดของลาตัว จนแขน ขา ลาตัว และลาคอจะเรียวและยาวข้ึน มือและเท้าจะใหญ่และ แขง็ แรงขนึ้ สว่ นอกและไหลจ่ ะกว้าง แตส่ ่วนหนา้ ท้องจะแฟบลง 2. น้าหนัก การเพิ่มน้าหนักของเด็กวัยนี้ เกิดจากการเจรญิ เติบโตของกระดูกและกล้ามเน้ือเป็นส่วน ใหญ่ ต่างจากวัยทารกซึ่งนา้ หนกั จะเพ่มิ จากเน้อื เยือ่ ไขมัน น้าหนักของเด็กวยั กอ่ นเรยี นจะมีการเปล่ยี นแปลงตั้งแตแ่ รก เกิด โดยน้าหนักของเด็กจะเพิ่มรวดเร็วมากในระยะ 2-3 ปีแรก ต่อมาพออายุย่างเข้าระหว่าง 4-7 ปี น้าหนักตัวเพ่ิม น้อยลง จนกระท่งั ยา่ งเขา้ สู่วยั รุน่ จะเพิ่มขนึ้ อยา่ งรวดเร็วอกี ครั้ง โดยเฉล่ียนา้ หนักตวั จะเพมิ่ ประมาณปีละ 2 กโิ ลกรัม 3. สว่ นสูง ในการวดั สว่ นสงู ของเด็กใหว้ ัดขณะเดก็ ยนื โดยให้เด็กหันหลงั แนบกบั ฝาหรือแนบกับไม้ท่ี จะใช้วัด ใบหน้าวางตรง การวัดให้วัดจากยอดศีรษะถึงพ้ืนเด็กยืน ปกติเด็กเมื่ออายุ 1 ปีจะสูงประมาณ 1.5 เท่าของ ความยาวแรกเกิด หรือประมาณ 75 เซนติเมตร เมื่ออายุ 2 ปี ส่วนสูงจะเท่ากับคร่ึงความสูงเมื่อเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ หรือเป็นประมาณ 1.75 เท่าของความยาวแรกเกิดคือ ประมาณ 87 เซนติเมตร เม่ืออายุ 4 ปีส่วนสูงจะเพิ่มข้ึนเป็น 2 เท่าของความยาวแรกเกิด หรอื ประมาณ 100 เซนตเิ มตรเมอ่ื อายุ 13 ปี สว่ นสูงจะเท่ากบั 3 เท่าของความยาวแรกเกิด หรือประมาณ 150 เซนตเิ มตร เด็กอายุ 1-7 ปี ส่วนสูงจะเพิ่มเฉล่ียปีละ 7 เซนติเมตร 4. การเจริญเติบโตศีรษะ เด็กเมื่ออายุได้ 1 ปี ขนาดรอบศีรษะจะขยายข้ึนเป็นประมาณ 45 เซนติเมตร อายุได้ 3 ปี ขนาดศีรษะของเดก็ จะโตเป็นร้อยละ 90 ของขนาดศีรษะผู้ใหญ่ หรือประมาณ 50 เซนติเมตร หลงั จากอายุ 3 ปีไปแล้ว ศีรษะจะเจริญเตบิ โตช้ามาก คือศรี ษะจะมีขนาดใหญข่ น้ึ 1 เซนตเิ มตรทุก ๆ 3 ปี จนอายุ 10 ปี ขนาดของศีรษะจะโตประมาณ 55 เซนติเมตร ขนาดของศีรษะจะมีความสมั พันธก์ ับขนาดของสมอง กล่าวคือเดก็ ท่ี มีศีรษะเจริญเตบิ โตปกติกจ็ ะมีสมองเติบโตดีดว้ ย เมื่อสมองมีการเจริญเติบโตดี การพัฒนาการและระดบั สติปัญญาก็ดี ตามไปด้วย ดงั นน้ั การส่งเสรมิ การเจรญิ เตบิ โตของรา่ งกาย ศีรษะของเด็กในชว่ ง 3 ปแี รก จงึ นบั ว่ามคี วามสาคัญมาก 5. การเจรญิ เติบโตของฟนั เดก็ เม่ืออายุครบ 1 ปี จะมีฟนั นา้ นมประมาณ 6-8 ซี่ เม่ืออายุได้ 2 ปี จะ มีฟันเพ่ิมข้ึนอีกรวมเป็น 16 ซี่ และเม่ืออายุประมาณ 2 ปี ฟันน้านมจะขึ้นครบทั้ง 20 ซี่ ส่วนฟันชุดที่สองซึ่งเป็นฟัน แทจ้ ะขนึ้ เมอ่ื อายุประมาณ 6 ปี 2.1.2 การเปล่ยี นแปลงทางดา้ นรา่ งกายของเด็กวัยเรยี น (6 – 12 ปี) เด็กวัยเรียน แบ่งเป็น 2 ช่วง คือวัยเด็กตอนกลางอายุ ประมาณ 6 – 10 ปี วัยเด็กตอนปลายอายุ ประมาณ 10–12 ปี 2.1.2.1 วัยเด็กตอนกลาง เด็กวัยนี้จะมีอายุประมาณ 6–10 ปี เป็นช่วงท่ีมีความสาคัญต่อการ เริ่มต้นชีวิตใหม่ของเด็ก เพราะเป็นระยะที่เด็กจะต้องเข้าโรงเรียน จึงเรียกเด็กวัยน้ีว่า วัยเข้าโรงเรียน ( School age) หรือวัยเขา้ กลุ่มเพ่ือน (Gang age) ในวัยนี้เด็กควรพรอ้ มที่จะออกจากครอบครัวไปสู่สังคมนอกบ้านและเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว เช่น เรียนรู้ระเบียบกฎเกณฑ์ความประพฤติท่ีต้องปฏิบัติในสังคม เพ่ือให้สามารถปรับตัวให้เข้ากับ สถานทีแ่ ละบุคคลอนื่ ๆ นอกจากครอบครัวได้ 2.1.2.2 วัยเด็กตอนปลาย เด็กวัยนจี้ ะมีอายุ ระหวา่ ง 10–12 ปี วัยน้ีคาบเก่ียวกับวยั เรียนกับวัยรุ่น ตอนต้น วัยนี้ไม่แตกต่างกับวัยเด็กตอนกลางมากนัก แต่มีการเปลี่ยนแปลงโครงกระดูก ต่อมต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อ เตรียมเข้าสูว่ ยั รุ่น การเจริญเติบโตและการเปล่ียนแปลงของรา่ งกายเดก็ วัยเรียน (6 – 12 ปี) การเปลยี่ นแปลงดา้ นร่างกายของเด็กวัยเรยี นจะมคี วามแตกต่างกบั วยั ก่อนเรยี น ในวยั นี้การ เจรญิ เติบโตจะเป็นไปค่อนขา้ งชา้ แต่สมา่ เสมอ รา่ งกายของเด็กจะขยายออกทางสว่ นสงู มากกวา่ ส่วนกวา้ ง ลาตัวแบน แขน ขา ยาวออก รูปร่าง เปลีย่ นแปลงเข้าลกั ษณะผใู้ หญเ่ ข้าทุกที อัตราการเจรญิ เตบิ โตจะมีความแตกต่างในเด็กแต่ 20

ละคน โดยเฉลย่ี เด็กวยั เรยี นจะมีน้าหนักเพ่มิ ข้ึนปลี ะประมาณ 2.37-3.18 กโิ ลกรัม สว่ นสงู เพิ่มขน้ึ ปลี ะประมาณ 5-5.5 เซนตเิ มตร เมื่ออายุ 12 ปี เด็กจะมีนา้ หนกั ประมาณ 40 กโิ ลกรัม และมสี ่วนสงู ประมาณ 150 เซนติเมตร ชว่ งตน้ ของ วยั คอื อายุ 6-9 ปี เด็กผูช้ ายจะสงู กวา่ เด็กผู้หญิง แต่ชว่ งปลายของวัย คือ อายุประมาณ 10-12 ปี เด็กผหู้ ญงิ จะโตเรว็ กว่าเด็กผชู้ ายท้ังด้านสว่ นสงู และนา้ หนัก เน่อื งจากเริ่มมกี ารทางานของฮอร์โมนเพศ ฟนั นา้ นมจะเร่มิ หักเมื่ออายุ 6 ปี และฟันแทจ้ ะข้นึ แทนท่ีฟนั นา้ นมจนครบเมอ่ื อายุประมาณ 12 ปี ยกเวน้ ฟันกรามซี่ท่ี 3 อวัยวะภายในและระบบ หมนุ เวยี นของโลหิตเจริญเกอื บเต็มท่ี แตห่ วั ใจยงั เจรญิ ชา้ กวา่ อวยั วะเหล่านน้ั สมองมนี า้ หนักสูงสดุ มีกระดูกข้อมือ 6- 7 ชน้ิ ยงั ไม่เจรญิ เต็มที่ ลกั ษณะของตายงั ไม่เจริญสูงสดุ สายตายังเปน็ สายตายาวอยู่ ตาและมอื ยงั เคล่อื นไหวอยา่ ง ประสานกนั ไมส่ ะดวก เพราะพฒั นาของกลา้ มเน้ือมีไมเ่ ทา่ กนั กล้ามเนอื้ ตาของเดก็ หญิงมกั จะพัฒนาได้เร็วกว่าของ เด็กชาย เด็กวัยนมี้ พี ลงั งานมากจึงไม่อยนู่ งิ่ ชอบทากิจกรรมและทาอย่างรวดเร็ว ไมใ่ ครใ่ ชค้ วามระมัดระวงั มากนัก ทา ใหป้ ระสบอุบัติเหตุบ่อย ๆ (สกณุ า บุญนรากร, 2554) พฒั นาการดา้ นการทางานของกล้ามเน้ือมัดใหญแ่ ละมดั เลก็ จะดีขึ้น โดยกล้ามเนอ้ื มัดใหญ่จะทางานได้ ดีกว่ากล้ามเน้ือมัดเล็ก การเคลื่อนไหวและการทางานประสานกันของระบบประสาทการเคล่ือนไหวดีขึ้น มีความ สมดลุ มากขึ้น โดยเป็นการทางานประสานกนั ระหวา่ งมอื ตา และการเคลอ่ื นไหวของรา่ งกายไปพร้อม ๆ กัน ทาให้เด็ก วัยน้ีสามารถพัฒนาทักษะทางกีฬาได้ดีข้ึน ช่วงปลายวัยเด็กจะเริ่มมีพัฒนาการทางเพศข้ันทุติยภูมิ โดยเด็กผู้หญิงจะ เร่ิมมีขนอ่อนบนใบหน้า รักแร้ และอวัยวะสืบพนั ธุ์ ขนาดของทรวงอกขยายใหญ่ขึ้น ส่วนเด็กผู้ชายจะมีการเจริญของ ขนบริเวณรักแร้ หน้าอก และอวัยวะสืบพันธุ์ รวมทั้งมีการเจริญเติบโตของอวัยวะเพศ ความสามารถของเด็กจาแนก ตามอายุได้ดังน้ี อายุ 6 ปี สายตาและกล้ามเน้ือยังทางานประสานกันได้ไม่ดีนัก แต่สามารถว่ิงและกระโดดได้คล่อง เดินต่อเท้าเป็นเส้นตรงได้โดยไม่ล้ม ถอยหลังได้ ใช้สองมือรับลูกบอลท่ีโยนมาได้ กระโดดได้ไกลประมาณ 120 เซนติเมตร ผกู เชือกรองเทา้ ได้ สามารถวาดรปู สเ่ี หลย่ี มขนมเปียกปนู ได้ และส่เี หลยี่ มทมี่ ีเส้นทแยงมมุ ได้ อายุ 7 ปี มีพลังงานมาก กล้ามเนื้อแข็งแรงข้ึน ทางานประสานกันได้ดีขึ้น โดยเฉพาะกล้ามเน้ือมัด ใหญ่ ทากิจกรรมกลางแจ้งได้คล่องแคล่ว กล้ามเน้ือมือจะทางานประสานกับกล้ามเนื้อตาได้ดีขึ้น สามารถกระโดดขา เดียวได้หลายคร้ังต่อกัน เดินถือของหลายช้ินได้ เริ่มขี่จักรยาน 2 ล้อได้ สามารถวาดรูปตามแบบได้ ต่อรูป 10 ช้ินได้ เขียนตวั หนังสือได้ อายุ 8 ปี สามารถทรงตัวได้ดี การเคลอ่ื นไหวคล่อง ควบคุมกล้ามเน้ือไดด้ ี เลน่ กีฬาได้ดีขึ้น ขี่จักรยาน 2 ลอ้ ไดด้ ี สามารถวาดภาพซอ้ นตามแบบได้ และเขยี นตัวหนงั สือได้ถกู ต้อง อายุ 9 ปี กล้ามเน้อื มัดเล็กเจรญิ เติบโตเพม่ิ ข้ึน มีความคล่องตัวในการใช้มือมากขนึ้ ยืนขาเดียวปิดตา ได้ 15 วินาที ตาและมือทางานประสานกันได้ดี ลายมือเขียนดีข้ึน ใช้ปลายนิ้วจับของเล็ก ๆ ได้ดีข้ึน วาดรูป ทรงกระบอกและภาพซ้อนตามแบบ เขยี นหนังสือตวั บรรจงได้ อายุ 10-12 ปี กล้ามเน้ือมัดใหญ่มัดเล็กเจริญเติบโตเพิ่มมากขึ้น สามารถรับลูกบอลมือเดียวได้ กระโดดไกลได้ 150-165 เซนติเมตร สามารถวาดรูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ตามแบบเขียนและวาดได้คล่อง และ สามารถใช้เครื่องมือในการทางานได้ วัยเด็กตอนปลายอายุระหว่าง 10-12 ปี วัยนี้จะคาบเก่ียวกับวัยแรกรุ่นและวัยรุ่นตอนต้น เกิดการ เปลี่ยนแปลงในร่างกายเนื่องจากการทางานของต่อมต่าง ๆ มีการเปล่ียนแปลงของโครงกระดูกและสั ดส่วนของ ร่างกายเพื่อเตรียมเข้าสู่วัยรุ่น โดยเด็กหญิงเข้าสู่วัยแรกรุ่นเร็วกว่าเด็กชาย คือ ระหว่างอายุ 11-13 ปี ขณะที่เด็กชาย เขา้ สวู่ ยั แรกรุน่ เมอื่ อายุ 12-16 ปี 2.1.3 การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นรา่ งกายของวัยรนุ่ (13 – 19 ปี) ในระยะวัยรุ่นมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายอย่างมาก ท้ังรูปร่างและสัดส่วน ซ่ึงมีผล เนื่องมาจากการทางานของต่อมไฮโปธาลามัส (Hypothalamus) ต่อมพิทูอิทารี (Pituitary) และต่อมเพศ (Gonad) ต่อมต่าง ๆ เหล่านี้ทาหน้าท่ีผลิตฮอร์โมนในการพัฒนาร่างกาย โดยเฉพาะต่อมเพศจะผลิตฮอร์โมนที่จะทาให้เกิด พฒั นาการของลักษณะทแี่ สดงความเปน็ เพศหญงิ และเพศชาย ลักษณะทางดา้ นร่างกายของเด็กวยั รุ่น คือ 21

1. มกี ารเปลี่ยนแปลงทางรปู ร่างและโครงร่างของรา่ งกาย สดั สว่ นทเ่ี คยเป็นเด็กเร่มิ เปลย่ี นมาเป็น สดั สว่ นของผู้ใหญ่ ความสูงเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว เด็กหญิงมอี ัตราความสูงเพิ่มเร็วมากในชว่ งอายุ 10-12 ปี สูงข้นึ เฉลี่ย ปีละ 8 เซนติเมตร ในขณะท่ีเด็กชายจะสูงเร็วมากในช่วง 13-16 ปี สูงข้ึนเฉล่ียปีละ 10 เซนติเมตร น้าหนักเพ่ิมขึ้น อย่างรวดเร็ว อายุ 15 ปี น้าหนักเป็น 15 เท่าของแรกเกิด คือ ประมาณ 50 กิโลกรัม และมีการเปลี่ยนแปลงในส่วน ต่าง ๆ ของร่างกาย ช่วงแรกขาจะยาว มือและเท้าใหญ่ ต่อมาตะโพก หน้าอก และไหล่ขยายขึ้น สุดท้ายลาตัวและ ประสาทไขสันหลังยาวขึ้น ความสูงจะเท่ากบั ผ้ใู หญ่ เมือ่ เดก็ หญิงอายุประมาณ 17 ปี เด็กชายอายปุ ระมาณ 21 ปี 2. ฮอร์โมนยังมีผลให้แขนขาเจรญิ กวา่ ลาตัว ทาใหด้ ูมีลกั ษณะเกง้ กา้ ง อกและไหลก่ ว้างและขยาย มากขน้ึ ทาใหป้ รมิ าณความจขุ องอากาศมากขึ้น การหายใจชา้ ลงใกล้เคยี งกับผู้ใหญ่ หวั ใจมขี นาดใหญแ่ ละแขง็ แรงขึ้น กล้ามเนื้อในส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมีปริมาณมากขึ้นและแข็งแรงข้ึน ทาให้วัยรุ่นสามารถทากิจกรรมที่ต้องใช้กาลัง กายได้ทนทาน สายตาและอวัยวะในการเรียนรู้มีความสมบูรณเ์ ต็มท่ี ฟันแท้ขึ้นแทนฟันน้านมจนสมบูรณ์เมื่ออายุ 12 ปี ยกเวน้ ฟนั กราม 4 ซสี่ ดุ ท้ายท่จี ะขึ้นเม่อื อายุ 17-21 ปี การเปลี่ยนแปลงของฟนั น้ีเองทาใหโ้ ครงสร้างและสดั สว่ นของ ใบหน้าเปล่ียนแปลงไปจากวัยเดก็ ทีผ่ ่านมา โดยใบหนา้ และกระดกู ส่วนคางจะยน่ื ไปข้างหนา้ และดยู าวข้นึ 3. การเจริญเติบโตและพัฒนาการทางเพศ ระยะวัยรุ่นตอนต้นๆ ของทั้งเด็กชายและเด็กหญิง แม้ว่าจะยังไม่พัฒนาสมบูรณ์เต็มที่นัก แต่ก็สามารถทาให้เด็กเกิดความเปลย่ี นแปลงทางด้านจิตใจได้ และเมื่อพ้นอายุ ประมาณ 17-18 ปีไปแล้ว เด็กจะมีลักษณะท่าทางและรูปร่างภายนอกใกล้เคียงกับผู้ใหญ่มาก เน่ืองจากอิทธิพลของ ฮอร์โมนเพศ ทาให้เด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงมีร่างกายเปล่ียนแปลง เรียกว่าการเปล่ียนแปลงทางเพศระยะที่ 2 (Secondary sex characteristics) คือ เด็กผู้ชายจะมีเสียงเปลี่ยนแปลง เสียงแตกห้าว มีขนเกิดขึ้นตามร่างกายในท่ี ต่าง ๆ เชน่ บรเิ วณรักแร้ริมฝีปาก และบริเวณของลับ กลา้ มเน้ือแข็งแกรง่ ขน้ึ ส่วนในเด็กผู้หญิง นอกจากจะมีขนขึน้ ที่ บริเวณรักแร้และบริเวณของลับแล้ว ก็ยังมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายท่ีสาคัญ คือ หน้าอกโตข้ึน สะโพกขยายใหญ่ ข้ึน เด็กผู้ชายมีการหลั่งอสุจิและอวัยวะเพศโตอย่างรวดเร็ว ส่วนเด็กผู้หญิงเริ่มมีประจาเดือนครั้งแรก (Menarche) และอวัยวะเพศเตบิ โตเต็มท่ีเหมอื นผู้ใหญ่ 2.1.4 การเปล่ยี นแปลงทางด้านร่างกายของวยั ผู้ใหญ่ (15 – 59 ปี) วัยผู้ใหญ่ หมายถึง ประชากรชายและหญิง ในช่วงอายุ 15-59 ปี แบ่งเป็น กลุ่มวัยผู้ใหญ่ตอนต้น หรือกลุ่มวัยเจรญิ พันธุ์ อายุ 15-44 ปี และกลมุ่ วัยผใู้ หญ่กลางคนหรือกลุ่มหลังวยั เจริญพนั ธุ์ อายุ 45-59 ปี 2.1.4.1 กลุ่มวัยผู้ใหญ่ตอนต้นหรือกลุ่มวัยเจริญพันธ์ุ อายุ 15-44 ปี บุคคลในวัยน้ีมีการพัฒนา ทางร่างกายอย่างเต็มที่ทั้งเพศหญิงและเพศชาย เมื่ออายุ 20-30 ปี ในวัยนี้ร่างกายจะมีพลัง คล่องแคล่วว่องไว การ รบั ร้ตู า่ ง ๆ จะมีความสมบูรณเ์ ต็มที่ จนกระทง่ั เข้าสู่วยั กลางคนความสามารถตา่ ง ๆ เหล่านี้จะลดลง 1. ระบบหัวใจและหลอดเลือด จะมปี ระสิทธิภาพสูงสุดในการทาหน้าที่เมือ่ อายุ 20-30 ปี หลังจาก อายุ 30 ปีข้ึนไปแล้ว จะทาหน้าท่ีลดลงเรื่อย ๆ ประมาณร้อยละ 0.7 ต่อปี วัยผู้ใหญ่จะมีความดันโลหิตประมาณ 110/65-140/90 mmHg ชีพจร 70 ครัง้ /นาที 2. ระบบหายใจ จะทางานลดลง ประสิทธิภาพของปอดลดลงร้อยละ 8 ทกุ ๆ 10 ปี ความจปุ อด 4- 5 ลิตร 3. ระบบยอ่ ยอาหาร จะทางานลดลง ทั้งการย่อยอาหาร การดูดซึมอาหาร และการขับถ่าย ความ ตอ้ งการพลังงานลดน้อยลง หากยงั คงรับประทานอาหารเทา่ เดิมจะมผี ลใหเ้ กิดภาวะอว้ น 4. ระบบกล้ามเน้ือและกระดูก เมื่ออายุประมาณ 21 ปี กระดูกจะหยุดเจริญเติบโต จะไม่มีการ พัฒนาด้านความสูงอีกต่อไป ส่วนกล้ามเนื้อจะทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสดุ โดยเพศชายจะมีกล้ามเน้ือโตและ แข็งแรงกวา่ เพศหญงิ 5. ระบบผิวหนัง มีความยืดหยุ่นน้อยลง เร่ิมมีรอยย่นปรากฎเม่ืออายุได้ 30 ปี โดยเฉพาะบริเวณ ใบหนา้ คอ และมอื ผมจะเรมิ่ ร่วง และเร่มิ มผี มหงอกเมอ่ื อายุ 30 ปี 22

6. ระบบประสาท เซลลส์ มองจะมวี ุฒิภาวะและมีนา้ หนกั สงู สดุ เมือ่ อายุ 25 ปี หลังจากนัน้ จะลดลง สมองมีน้าหนักประมาณ 13.80 กรัม ดังนั้นในช่วงอายุ 20-30 ปี จึงเป็นวัยท่ีมีความสามารถในการจา ระลึกถึง ประสบการณ์ท่ผี า่ นมาไดอ้ ยา่ งดี 7. ระบบปัสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ์ จะทางานมปี ระสิทธิภาพสูงสุด ในเพศหญงิ จะมีไข่สุกเพ่ิมข้ึน เมือ่ อายุ 18-24 ปี เพศชายจะมีการผลติ อสุจทิ สี่ มบรู ณ์ไดถ้ ึงรอ้ ยละ 90 ระหว่างอายุ 20-39 ปี ไตจะมขี นาดโตที่สุดเมอื่ อายไุ ด้ 30 ปี โดยมนี ้าหนกั 270 กรัม และเรม่ิ ลดขนาดลงชา้ ๆ 2.1.4.2 กลุ่มวัยผู้ใหญ่กลางคนหรือกลุ่มหลังวัยเจริญพันธุ์ อายุ 45-59 ปี วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง หรือวัยกลางคน บุคคลผู้มีการพัฒนาตามวัยท่ีผ่านมามักมีแบบแผนของชีวิตเข้ารูปเข้ารอย จะประสบความสาเร็จใน ชีวิต ทงั้ ดา้ นอาชพี และครอบครัว จงึ ได้รบั สมญาวา่ “ยคุ ความสาเร็จสดุ ยอด” หรอื “ยคุ ทองของชวี ิต” หรอื “วยั ทอง” การเปลีย่ นแปลงของรา่ งกายเรม่ิ เปน็ ไปในทางเส่อื ม ดังน้ี 1. ระบบกล้ามเน้ือ กระดูก และผิวหนัง น้าหนักตัวจะเพิ่มมากข้ึน รูปร่างจะอ้วน มีการสะสมของ ไขมันใต้ผิวหนัง โดยเฉพาะบริเวณหนา้ ท้อง ตะโพก เน่ืองจากวยั น้ีมีกจิ กรรมที่ต้องใช้พลังงานลดลง สีผมจะเริ่มหงอก ขาวเห็นชดั เจนเมื่ออายุ 50 ปี ท้ังเพศชายและเพศหญิง เน่อื งจากสารเมลานนิ (Melanin) ที่สร้างจากรากผมมีจานวน ลดลง ฟนั จะหักและหลดุ ร่วง กระดูกเร่ิมเปราะบางและหกั ง่าย เนื่องจากการสรา้ งกระดกู เกิดข้ึนน้อยกว่าเดมิ แต่เซลล์ กระดูกกลับสลายตัวมากขึ้น ผิวหนังบริเวณใบหน้า ลาคอ แขน และมอื เริ่มหยาบปรากฏรอยย่นได้ง่ายข้ึน เนื่องจาก ผิวหนังแห้งเพราะต่อมรูขุมขนทางานน้อยลง ผิวหนังบริเวณรอบตาจะปรากฏเป็นถุงและเป็นรอยคล้า กล้ามเนื้อ บรเิ วณใตค้ อ ใต้แขน และชอ่ งท้องจะนุ่มไมแ่ ขง็ แรง 2. ระบบประสาท อวัยวะท่ที าหน้าท่ีรบั สัมผัสจะมคี วามเส่ือมเกดิ ขึ้น เช่น ตา เปลือกตาจะเหย่ี วย่น ดวงตาไม่สดใส เพราะเยื่อบุลูกตาและท่อน้าตาเหี่ยวทาให้ขาดน้าเลี้ยงลูกตา กล้ามเน้ือควบคุมรูปของดวงตาจะขาด ความกระชับลงเปน็ ลาดบั แกว้ ตาไมส่ ามารถจะยดื หดตวั ได้เหมอื นก่อน ๆ จึงไม่สามารถมองเห็นในระยะใกล้ไดช้ ดั เจน สว่ นใหญ่จะสายตายาวหลังอายุ 40 ปี จะมองไม่ชัดในที่มืดเนื่องจากมกี ารลดขนาดลงของรมู ่านตา จะมีปัญหาในการ อ่านหนังสือและการขับรถในตอนกลางคนื อวัยวะเกีย่ วกับการได้ยิน คือ หู จะมีความเสื่อมของเซลลท์ าให้การทางาน ของหูผิดปกติ การได้ยินเสยี งแหลมจะเสยี ก่อน การได้กลิ่นจะเส่ือมลง การรับรกู้ ารสัมผัสเบา ๆ จะช้าลง เน่ืองจากมี ความเส่อื มของเซลล์ประสาท การลมิ้ รสจะลดลงเนอื่ งจากต่อมรบั รสน้อยลง 3. ระบบหัวใจและหลอดเลือด อวัยวะภายในร่างกายมีความเสื่อมถอยลงเช่นเดียวกัน ผนังเส้น เลือดมีความยืดหยุ่นน้อยลง มีไขมันมาเกาะทาให้ตีบตัน การหมุนเวียนโลหิตไม่สะดวก ความดันโลหิตสูงขึ้นกว่าเดิม เป็นช่องทางให้เกิดโรคเกีย่ วกบั หัวใจ 4. ระบบปสั สาวะและอวยั วะสืบพันธ์ุ ไตทาหน้าทกี่ ล่ันกรองของเสยี ไม่ได้เต็มที่ เกดิ โรคเกี่ยวกับไต ส่วนอวัยวะสืบพันธุ์ ได้แก่ รังไข่ในเพศหญิงและอัณฑะในเพศชายมีการเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นทาให้ผู้หญิงแก่เร็วกว่า ผชู้ าย เพราะต่อมรงั ไข่แกเ่ รว็ ตง้ั แต่อายุ 30 ปี เปน็ ต้นไป เมอ่ื อายุ 40-50 ปี เกดิ ภาวะหมดประจาเดือน (Menopause) ซงึ่ มีอาการร่วมได้หลายแบบ เช่น หงุดหงดิ คิดมาก ตกใจงา่ ย เหงอ่ื แตกตามฝ่ามือ ร้อนซูซ่ ่าตามผิวกาย รูส้ ึกเหมือนมี แมลงไต่ตามผิวหนัง ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย มีเสียงหึ่ง ๆ ในหู ในช่วงก่อนหมดประจาเดือน ผู้หญิงมักมีความต้องการ ทางเพศมากขึ้น 5. ระบบย่อยอาหาร ต่อมต่าง ๆ ในร่างกาย รวมท้งั ต่อมท่ีเก่ียวกับการย่อยอาหารเสื่อมหน้าท่ีลงทา ให้เป็นโรคกระเพาะอาหารได้ง่าย ประสิทธิภาพการย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหารที่ลดลง ทาให้อาหารที่ รับประทานเขา้ ไปจะถูกยอ่ ยหรอื มีการดูดซมึ ไดน้ อ้ ยลงกวา่ เดมิ นอกจากน้ตี ่อมไร้ท่อในรา่ งกายซ่ึงทาหนา้ ที่ในการสรา้ ง ฮอร์โมนจะทางานน้อยลงด้วย 2.1.5 การเปลย่ี นแปลงทางด้านรา่ งกายของวยั ผสู้ งู อายุ (60 ปี ข้นึ ไป) ผสู้ ูงอายุหมายถงึ ผูท้ ่ีมีอายุ 60 ปีขึ้นไป เมอ่ื พ้นวยั ผู้ใหญ่แลว้ จะมีการสลายของเซลล์มากกวา่ การ สรา้ ง ทาใหส้ มรรถภาพการทางานของอวยั วะต่าง ๆ ลดลง การเปลีย่ นแปลงดงั กล่าวจะแตกต่างกันในแต่ละบคุ คล 23

การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายในวยั ผูส้ ูงอายุ มดี งั น้ี 1. ผิวหนัง เม่ืออายุมากข้ึนคอลลาเจนจะมีความยืดหดตัวน้อยลง จะมีลักษณะแข็งกระด้าง ทาให้ ผวิ หนังของผู้สูงอายุจะบาง แห้ง เหีย่ วย่น มกั มีอาการคัน ขาดความมันและความยืดหยุ่น มรี อยเขียวชา้ เกิดขนึ้ ไดง้ ่าย เนื่องจากเส้นเลือดเปราะ เลบ็ จะหนาแขง็ และเปราะ 2. ต่อมเหงื่อเร่ิมเห่ียว การขับเหงื่อน้อยลง น้ามันใต้ผิวหนังมีน้อย ทาให้ทนต่อการเปล่ียนแปลง ของอุณหภมู ิของอากาศไมด่ ี เกิดความรูส้ กึ หนาวร้อนไมค่ งท่ี 3. ผม มกี ารเปลี่ยนจากสีเดมิ เป็นสขี าว เพราะรากผมไมส่ ามารถสรา้ งสีให้กับเส้นผมได้ ผมแหง้ ผม และขนตามรา่ งกายรว่ งหลดุ ง่าย ผสู้ งู อายุจะมผี มบางลง ศีรษะลา้ น 4. ระบบประสาทสมั ผสั - ตา หนงั ตาจะตก ตาลึก ขอบเขตการมองเห็นแคบ กาลังการปรบั แสงในท่มี ดื ต่า มคี วามเสือ่ ม ของประสาทตา รูมา่ นตาแคบ สายตายาว กระจกตาขนุ่ กล้ามเนอ้ื ลูกตาเสอื่ ม - หู ประสาทรับเสียงเส่ือมลง หูตึง ต้องพูดดัง ๆ จึงจะได้ยิน และเสียงที่จะไม่ได้ยินก่อนคือ เสียงแหลม เชน่ เสียงโทรศัพท์ เสยี งกระด่ิง - จมกู ประสาทรบั กล่ินบกพรอ่ ง การรับรกู้ ลนิ่ ลดลง และกลนิ่ บางกลน่ิ อาจไม่รับรเู้ ลยก็ได้ - ลิ้น การรับรู้รสอาหารเปลี่ยนแปลงไป การรู้สึกเบ่ือในรสอาหารเพราะไม่ได้รสที่ดี ผู้สูงอายุ บางคนรับประทานอาหารรสจัดขึน้ เพราะรสที่จะกระตุ้นให้รับรรู้ สไดน้ ้นั อาจต้องเขม้ ขน้ ขึ้น 5. ระบบทางเดินอาหาร ผู้สูงอายุจะมีฟันโยก คลอน หรือหักมากขึ้น ทาให้การเคี้ยวอาหารไม่ได้ ละเอียด ต่อมน้าลายขับน้าลายออกมาน้อย ประสาทกล้ามเน้ือที่ควบคุมการกลืนทางานน้อยลง ทาให้กลืนอาหาร ลาบาก ปริมาณนา้ ย่อยต่าง ๆ จะลดลง ทาใหอ้ าหารยอ่ ยไมด่ ี ท้องอดื การดูดซึมอาหารบางประเภทลดลง ตับและตับ อ่อนเส่ือม ทาใหเ้ กดิ โรคเบาหวานได้งา่ ย การขับถ่ายอุจจาระไม่ปกติ ท้องผูกงา่ ย 6. ระบบทางเดินหายใจ สมรรถภาพการทางานของปอดลดลง ความจุของปอดจะลดลง ปริมาณ อากาศค้างในปอดเพิ่มมากขึ้น การระบายอากาศลดลงเป็นเหตุให้การได้รับออกซิเจนต่า การแพร่กระจายของ ออกซิเจนไปสู่เส้นเลือดได้น้อยกว่าปกติทาให้ออกซิเจนในเลือดต่า จากความยืดหยุ่นของเนื้อเย่ือปอด หลอดลม และ หลอดลมฝอยลดลง การเปลยี่ นแปลงของกระดูกซี่โครงและกระดูกสนั หลัง 7. ระบบหัวใจและหลอดเลือด กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนกาลัง หลอดเลอื ดแขง็ ตัว ความยืดหยุ่นของเส้น เลือดมีน้อยลง เนื่องจากมีการจับเกาะของแคลเซียมตามผนังเส้นเลือดสูง ไขมันเกาะผนังหลอดเลือดหนาขึ้น ทาให้ ระบบไหลเวียนเปล่ียนแปลง จานวนเม็ดเลือดแดงและความเข้มข้นของฮีโมโกลบนิ ลดลงไปดว้ ยเน่อื งจากขาดน้าและ อาหาร เพราะการดูดซมึ ไมด่ ี 8. ระบบทางเดินปัสสาวะ ไตทาหน้าท่ีเสื่อมลง ขับของเสียได้น้อย แต่ขับน้าออกมามาก ทาให้ ปัสสาวะบ่อย ส่วนกระเพาะปัสสาวะนั้น กล้ามเน้ือหูรูดของท่อปัสสาวะหย่อน จึงกลั้นปัสสาวะได้ไม่ดี ผู้ ชายบางคน ตอ่ มลูกหมากโต ทาใหถ้ ่ายปสั สาวะลาบาก 9. ระบบประสาทและสมอง ส่วนประกอบของเซลล์สมองลดลง เมตาบอริซึมของสมองต่า ความรู้สึก ความคิดจะช้า การเคลื่อนไหวช้า ประสิทธิภาพการส่ังงานของสมองจะต่า ความสัมพันธ์ระหว่างสมอง กล้ามเน้อื และข้อเสยี ไป การทรงตัวไม่ดี มีอาการส่ันตามรา่ งกาย บางคนมีอาการหลงลมื งา่ ย 10. ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อของผู้สูงอายุจะเส่ือมสภาพอย่างรวดเร็ว กล้ามเน้ือ บงั คับได้ลาบากมากข้ึน จานวนเซลล์ของกล้ามเนื้อลดลง และหากไม่ออกกาลังกายก็จะยิ่งเสื่อมเรว็ ขาดความว่องไว เคลื่อนไหวได้เช่ืองช้า การทรงตัวไม่ดี กระดูกมีความเปราะบางสูง การได้รับอันตรายแต่เพียงเล็กน้อยเป็นผลทาให้ กระดูกหักได้ ทง้ั นี้เพราะกระดกู จะมกี ารเสอ่ื มสลายตวั ของแคลเซียมออกจากกระดูก 24

11. ฮอร์โมน เมื่ออายุมากขึ้น ฮอร์โมนเพศ เอสโตรเจน แอนโดรเจนลดลง และการเปล่ียนแปลง ของระบบพาราธัยรอยด์ฮอร์โมน ทาให้การสร้างเซลล์จากกระดูกมากขึ้น ทาให้เกิดกระดูกพรุน เปราะหักง่าย โดยเฉพาะกระดกู สันหลงั สะโพก กระดกู ตน้ ขาและขอ้ มอื ทาใหเ้ กิดอาการปวดหลงั และขอ้ ได้ง่าย 2.2 การดูแลสุขภาพกายและการป้องกนั โรคท่ีพบบอ่ ยในเดก็ ปฐมวัย (แรกเกดิ – 5 ป)ี 2.2.1 ปญั หาสขุ ภาพเด็กปฐมวยั 2.2.1.1 ปัญหาสุขภาพเดก็ ทารก ปัญหาสุขภาพท่พี บบ่อยมดี งั นี้ 1. ภาวะตัวเหลอื ง พบได้ในทารกภายหลังเกิด 24 ช่ัวโมง ซึ่งเกดิ จากการทต่ี ับของทารกแรกเกิดยัง ทาหน้าที่ในการขับถ่ายบิลิรูบินไม่สมบูรณ์ อาการที่พบคอื จะเร่มิ เหลืองที่ใบหน้าเข้าหาลาตัว แขน ขา และสุดท้ายที่ ฝ่ามือฝ่าเท้า การดูแลท่ีสาคัญคือ การให้ทารกได้รับนมและน้ามากพอท่ีจะช่วยขับสารบิลิรูบินออกทางปัสสาวะ อจุ จาระ สังเกตดูวา่ ทารกมีอาการเหลอื งเพิม่ ขึ้นหรือซมึ ลงหรอื ไม่ หากมีควรพาไปพบแพทย์เพอื่ การรักษาทีเ่ หมาะสม ต่อไป 2. อาเจียน ทารกทุกคนมักเกิดการเรอหรือแหวะนมออกมาเล็กน้อยหลังจากอิ่มนมใหม่ ๆ ซึ่งถือ เป็นเรื่องปกติ แต่ถ้าแหวะนมที่กินเข้าไปออกมาเกือบหมดถือว่าเป็นเรื่องผิดปกติ ควรจับเด็กพาดบ่า ลูบหลังให้เรอ ก่อนใหน้ อน หากมีอาการอาเจียนพุ่ง หรืออาเจียนร่วมกับอาการซึม อาเจียนเป็นนา้ สีเขยี ว ๆ เหลือง ๆ อาเจยี นหลาย คร้งั มากกว่า 6 ชั่วโมง หรอื มอี าการของภาวะขาดนา้ ควรพบแพทยโ์ ดยเรว็ 3. สะอึก อาการสะอึกเกิดจากการทางานของกล้ามเน้ือหน้าท้องและกระบังลมของทารกยังไม่ สมั พันธ์กันดีเท่าที่ควร มารดาควรดูแลด้วยการอุ้มกอด ปลอบโยน หรือให้ทารกดดู นมมารดา จะช่วยให้อาการสะอึก หยุดเร็วขึ้น แต่หากพบทารกมีอาการสะอึกต่อเน่ืองนานมากอยู่เป็นประจา จนรบกวนการนอนหลับหรือการหายใจ ของทารก ควรปรึกษาแพทย์ 4. ท้องผูก ทารกบางคนเมื่ออายุได้ 15 วัน จะถ่ายอุจจาระน้อยลง เช่น เคยถ่ายอุจจาระ 2 – 3 คร้ังต่อวัน พออายุคร่ึงเดือนอาจถ่ายอุจจาระน้อยลงเหลือเพียงวันละคร้ัง ไม่ถือว่าผิดปกติ แต่หากพบว่าอุจจาระที่ ออกมาเป็นก้อนแข็ง ขณะถ่ายทารกจะร้องไห้เสียงดัง หรือมีเลือดปนออกมากับอุจจาระ แสดงว่าทารกท้องผูก ควร ดูแลโดยให้น้าผลไม้ประมาณ 20 มิลลิลิตร (น้าผลไม้คั้นผสมน้าต้มสุกเท่าตัว) ถ้าท้องผูกเกิน 3 วัน ท้องอืดโต ควร ปรกึ ษาแพทย์ 5. ท้องร่วง เป็นการถา่ ยอุจจาระเหลวหรือถา่ ยเป็นน้าบ่อยครั้งกวา่ ปกติ อาจเกิดจากการกนิ อาหาร บางอยา่ งทรี่ ่างกายทารกยอ่ ยไมไ่ หว หรอื เปน็ อาหารที่มกี ากมากกว่าท่ีเคยกิน หากทารกมอี าการถ่ายเหลวและมีสีเขียว หรือเหลอื ง มีชนิ้ สขี าว ๆ ปน จะไม่ใชอ่ าการท้องเสยี เปน็ อาการปกตขิ องทารกท่ดี ูดนมมารดา การดแู ลใหไ้ ดร้ ับน้าและ เกลือแร่ และดูแลเรอ่ื งความสะอาดในการใหน้ ม หากพบว่าทารกท้องเสียนานเกิน 6 ช่ัวโมงมเี ลือดปนอจุ จาระ หรือมี อาการขาดน้า ควรปรึกษาแพทยโ์ ดยเรว็ 6. ผน่ื ผ้าอ้อม (Diaper rash) เปน็ การอักเสบของผวิ หนังบริเวณกน้ อาจเกิดจากความสกปรกหรือ ความเปียกช้ืนจากอุจจาระและปัสสาวะท่ีทารกขับถ่ายออกมาหมักหมม ทาให้เกิดก๊าซแอมโมเนียซ่ึงระคายเคืองต่อ ผิวหนัง หรืออาจเกิดจากการแพ้สบู่ หรือผงซักฟอกที่ใช้ซักผ้าอ้อม ควรดูแลโดยเปล่ียนผ้าอ้อมบ่อย ๆ อย่าปล่อยให้ เปียกชื้น ทาความสะอาดบริเวณก้นและเช็ดให้แห้งทุกครั้ง ใช้ครีมรักษาผ่ืนผ้าอ้อมทาบริเวณผื่นทุกคร้ังที่เปล่ียน ผ้าออ้ ม หากพบว่าเปน็ ผ่นื นานเกิน 2 วัน หรอื สงสยั ว่าเกดิ จากเช้อื รา ควรปรึกษาแพทยโ์ ดยเร็ว 7. ลิ้นเป็นฝ้า พบได้บ่อยในทารกท่ีได้รับนมผสมและไม่ได้รับการดูแลความสะอาดในช่องปาก ลักษณะของฝ้าจะสามารถเช็ดออกได้ง่าย โดยใช้ผ้าสะอาดชุบน้าต้มสุกที่ต้ังไว้จนเยน็ แล้วเช็ดในช่องปาก เหงือก และ ลิ้นของทารกทกุ วนั จะชว่ ยใหป้ ญั หาน้หี มดไป 8. โรคติดเชอ้ื เปน็ ปัญหาสขุ ภาพที่พบบอ่ ย โดยเฉพาะในช่วง 6 เดือนแรก เนื่องจากภูมิคุ้มกนั โรคที่ ทารกได้รับจากมารดาเริ่มหมดไปในช่วง 3 เดือนแรก และระบบภูมิคมุ้ กันของทารกยังทางานไม่เต็มท่ี ทารกสว่ นมาก จึงยังไม่เริ่มสร้างภูมิคุ้มกันของตนเองจนกว่าจะได้รับเชื้อโรค ซ่ึงอาจทาให้ทารกเป็นโรคและตายได้ โรคติดเช้ือท่ีพบ 25

บอ่ ยในทารก ได้แก่ ท้องรว่ ง โรคติดเชื้อทางเดนิ หายใจ เช่น หวัด ปอดอกั เสบ และโรคติดเชื้อระบบประสาท เช่น เย่ือ หมุ้ สมองอักเสบ เป็นต้น 2.2.1.1 ปญั หาสขุ ภาพเดก็ วัยก่อนเรยี น ปัญหาสุขภาพท่พี บบอ่ ยมีดงั นี้ 1. โรคติดเชื้อ เป็นปัญหาสุขภาพท่ีพบบ่อยของเด็กวัยก่อนเรียนเนื่องจากเป็นวัยที่เข้าสถานเล้ียง เด็กกลางวันหรือโรงเรียนอนุบาล ทาให้เด็กมีโอกาสสัมผัสเช้ือโรคตัวใหม่ ความเจ็บป่วยท่ีพบในวัยน้ี คือ โรคติดเช้ือ ระบบทางเดินหายใจ และโรคติดเชื้อระบบทางเดนิ อาหาร ไดแ้ ก่ โรคหวดั โรคปอดอักเสบ และโรคอุจจาระร่วง 2. ฟันผุ เป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในเด็กวัยก่อนเรียน มักเป็นปัญหาท่ีถูกละเลย เพราะถือว่า เป็นฟนั นา้ นม ซง่ึ ความจรงิ แลว้ การเสียฟันหนา้ กอ่ นเวลาทาใหเ้ ด็กออกเสยี งไม่ชดั กลายเปน็ เด็กพดู ไม่ชัดได้ ฟันผทุ าให้ เป็นปญั หาสาหรบั เด็กคือ เดก็ ไดร้ ับความเจ็บปวดจากฟนั ผแุ ละต้องถกู ถอนฟนั หลายซหี่ รือบางคนอาจทัง้ ปาก 3. ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition) เป็นภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารไม่เพียงพอหรือมากเกิน ความต้องการของร่างกาย จะพบความชุกของภาวะทุพโชนาการมากขึ้นในเด็กอายุ 1 หรือ 2 ปีข้ึนไป โดยเป็นภาวะ โภชนาการต่ากวา่ ปกติ (Undernutrition) ท่พี บในเดก็ วยั น้ี คอื ภาวะะขาดโปรตีนและพลงั งาน ภาวะขาดสารไอโอดีน และภาวะโลหติ จางจากการขาดธาตุเหลก็ 4. ปสั สาวะรดที่นอน เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น ขาดการฝึกฝนให้เดก็ ไปปัสสาวะเวลาปวด โดย การใส่ผ้าออ้ มสาเร็จรปู ใหเ้ ด็กตลอดเวลา เดก็ ไม่ไดป้ สั สาวะกอ่ นเข้านอน หรอื เกิดจากความเครยี ด วิตกกงั วลบางเรอื่ ง 5. โรคเหา เปน็ โรคที่พบได้บ่อยในเด็กวัยก่อนเรียนเนื่องจากเป็นช่วงที่เด็กเร่ิมเข้าศูนยเ์ ด็กเล็กหรือ โรงเรียนอนุบาล เล่นคลกุ คลกี บั เพ่อื น นอนกับเพอื่ น พบไดท้ ั้งในเด็กผูห้ ญงิ และผชู้ าย แต่สว่ นใหญ่พบในเดก็ ผหู้ ญงิ 6. โรคผวิ หนงั เช่น หิด กลาก เกล้อื น มักพบในเด็กที่มกี ารดแู ลสุขวิทยาสว่ นบคุ คลไม่ดี 7. อุบัติเหตุ เนื่องจากเด็กวัยน้ีสามารถเคล่ือนไหวได้คล่อง ชอบว่ิง ปีนป่าย แต่ยังขาดความ ระมัดระวงั จึงมกั เกดิ อุบัตเิ หตุจมน้า การพลัดตกจากท่สี ูง และรถชน เปน็ ตน้ 2.2.2 การป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย เดก็ ปฐมวัย (แรกเกิด – 5 ปี) เปน็ วัยที่มีการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการเร็วมาก ทาใหร้ ่างกายมีการ เปล่ียนแปลงอยู่เสมอ จึงอาจจะมีความผิดปกติเกิดขึ้นได้ง่ายและตลอดเวลา อวัยวะที่เจริญมากที่สุดในระยะนี้ คือ สมอง ฉะนน้ั หากการเจรญิ เตบิ โตในระยะนีผ้ ิดปกติ จะมีปญั หาทางด้านร่างกายและสติปัญญา ซงึ่ สามารถแกไ้ ขไดน้ ้อย หรือไม่ได้เลยในระยะต่อมา และเป็นวัยที่มีอัตราตายสูงกว่าวัยอ่ืน เป็นวัยท่ีมีความเส่ียงต่อโรคติดเช้ือมากกว่าวัยอื่น เนื่องจากร่างกายยังไมส่ ามารถสร้างภมู ิคุ้มกนั โรคไดด้ ี และภมู ิคุม้ กันโรคบางอยา่ งไม่สามารถถา่ ยทอดจากแม่ได้ ฉะนั้น จงึ มีความจาเป็นอยา่ งยิ่งที่จะตอ้ งมีการดูแลสขุ ภาพของเดก็ วัยนีอ้ ย่างใกลช้ ิดและต่อเน่อื ง การดแู ลสขุ ภาพเพ่อื ป้องกันการเกิดโรคในเดก็ ปฐมวัย 1. การรับวัคซีนป้องกันโรค เด็กวัยนี้เป็นวัยที่เริ่มออกจากบ้านเข้าสงั คมมีโอกาสได้รับเชื้อโรคระบบ ทางเดินหายใจและทางเดนิ อาหาร จึงมีความจาเป็นท่จี ะต้องเสรมิ สร้างภูมิคุม้ กันโรคโดยการใหว้ ัคซีนครบตามช่วงอายุ 2. การดูแลรักษาสุขภาพฟัน เด็กควรได้รับการดูแลสุขภาพฟันต้ังแต่เล็ก ๆ เพื่อให้มีสุขภาพฟันท่ี แขง็ แรง ๆไมม่ ีฟันผุหรอื ปวดฟัน เป้าหมายทสี่ าคญั คือ การกาจดั หินปนู และจุลินทรยี ์ที่อยูต่ ามซอกฟัน ซึ่งเปน็ สาเหตุให้ เกิดฟันผุ แนะนาให้ผู้ดูแลแปรงฟันให้เด็กอย่างถูกวิธี สม่าเสมอ ในช่วงเช้าและก่อนนอน เพ่ือให้เด็กเกิดความคุ้นเคย ใช้ยาสีฟันท่ีมีส่วนผสมฟลูออไรด์ ฝกึ นิสัยการกินอาหารและด่มื นม อยา่ ให้เด็กดูดนมแบบหลับคาขวด ต้องเอาขวดนม ออกแล้วใหด้ ูดนา้ ตาม หรืออาจใช้ผ้าชุบน้าอนุ่ เช็ดน้าตามดว้ ย ควรให้เด็กเลิกดูดนมเมอ่ื อายุ 1 ขวบ และห้ามเล้ียงเด็ก ด้วยนมข้นหวาน เพราะมีคุณค่าทางโภชนาการไม่เหมาะสมและมีน้าตาลเข้มข้นสูง ทาให้ฟันผุได้ง่าย อีกท้ังยังติดรส หวาน เสย่ี งต่อการเป็นโรคอ้วน เบาหวาน ไขมันในเลือดสงู ในอนาคต เลือกอาหารว่างเป็นผลไม้หรอื โปรตีนแทนของ หวาน เดก็ อายตุ ง้ั แต่ 1 ปขี ึ้นไป ให้พบทันตแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพฟนั อย่างตอ่ เนือ่ งทกุ 6 เดอื น 3. การส่งเสริมความอยากรับประทานอาหาร พ่อแม่ควรทาความเข้าใจก่อนว่า การที่ลูกไม่ยอม รับประทานอาหารส่งผลกระทบถึงพัฒนาการด้านอ่ืน ๆ ของเด็กหรือไม่ เช่น น้าหนักต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน หรือมี 26

พัฒนาการถดถอยหรือไม่ หากพบความผิดปกติให้ปรึกษาแพทย์เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ ตรวจร่างกายเพ่ือให้ แนใ่ จวา่ ไมม่ โี รคใด ๆ แอบแฝง 4. การสร้างเสริมสุขลักษณะการนอน ได้แก่ จัดเวลานอนและเวลาต่ืนให้เป็นกิจวัตรสาหรับเด็ก ไม่ ทากิจกรรมอื่น ๆ ในห้องนอน เช่น การเอาของเล่นเข้าไปในห้องนอน 5. การปรับปรุงพฤติกรรมปัสสาวะรดที่นอน การแก้ไข เร่ิมต้นง่าย ๆ ด้วยการไม่ใส่ผ้าอ้อมให้เด็ก ตลอดเวลา ฝึกให้บอกเมอ่ื ตอ้ งการขับถ่าย พอ่ แม่จะได้ช่วยพาลกู ไปขับถา่ ยให้ถูกท่ี ฝึกใหม้ ีการกลั้นปสั สาวะบ้าง ส่วน ในช่วงเวลากลางคืน วิธกี ารป้องกันท่ดี ีทีส่ ดุ คือ การให้เดก็ ถ่ายปสั สาวะก่อนเข้านอน 6. ส่งเสรมิ การหดั เดินด้วยการเลือกรองเท้าท่ีเหมาะสม เด็กเล็กไม่จาเป็นต้องสวมรองเท้าจนกว่าจะ เริ่มเดนิ เพียงแค่สวมถุงเท้าอยา่ งเดยี วก็เพียงพอท่จี ะชว่ ยให้ความอบอนุ่ แกเ่ ทา้ หรอื ปกป้องเทา้ ไมใ่ ห้ไดร้ ับอันตรายขณะ คลาน เมอ่ื เดก็ เรม่ิ ยืนหรือเดิน อายุประมาณ 12-15 เดือน ควรให้เด็กได้เดนิ ด้วยเทา้ เปล่าก่อน เพราะจะทรงตัวได้ง่าย เม่ือเริ่มเดินออกไปนอกบ้านต้องสวมรองเท้าให้ เพ่ือช่วยป้องกันอันตราย การสวมถุงเท้าจะช่วยลดการเสียดสีกับ รองเท้าโดยตรง การเลอื กรองเทา้ ทเ่ี หมาะสม ขนาดพอดีจึงเปน็ เรื่องสาคัญ 7. การสร้างเสริมพัฒนาการทางร่างกายทั่วไป เช่น การดูแลให้เด็กได้รับอาหารครบห้าหมู่ ปริมาณ เพียงพอทุกมอ้ื ด่ืมนมทกุ วัน นอนหลับเป็นเวลา การสอนการขบั ถา่ ยเป็นเวลา การดูแลและฝึกให้เด็กทาความสะอาด ร่างกาย เช่น อาบน้า แปรงฟัน ล้างมือ ล้างเทา้ ลา้ งก้น เปน็ ตน้ การฝึกใหเ้ ด็กแต่งตัวเอง เช่น การติดกระดมุ เส้อื สวม ถงุ เท้า สวมรองเท้า ผูกเชือกรองเท้า การจัดหาเครอ่ื งเลน่ ท่ีส่งเสริมพัฒนาการตามวัย เช่น ของลากจูง ดินน้ามัน สมุด วาดภาพระบายสี เป็นต้น นาเด็กไปออกกาลังกายทุกวัน เพื่อเสริมสร้างสุขนิสัยที่ดี และหัดให้ทางานเล็ก ๆ น้อย ๆ ตามความสามารถ เชน่ เก็บขยะ รดนา้ ตน้ ไม้ เปน็ ต้น สรุปการดแู ลสุขภาพและการปอ้ งกันโรคในเดก็ ปฐมวัย วัยทารกมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว อารมณ์เปล่ียนแปลงง่าย เริ่มมี สัมพันธภาพกับคนในครอบครัว ทารกพร้อมท่ีจะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัว ถ้าได้รับการส่งเสริมการเจริญเติบโตและ พัฒนาการที่ดีในแต่ละช่วงวัยจะทาใหท้ ารกพฒั นาเขา้ สรู่ ะยะตอ่ ๆ ไปไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ปญั หาสุขภาพทพี่ บบ่อย ในทารกคือ โรคติดเชื้อ การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ โรคทางพันธุกรรม ภาวะขาดสารอาหาร การสร้างเสริมสุขภาพ โดยเฉพาะด้านร่างกายต้องให้การดูแลเป็นพิเศษในเรื่องอาหาร การขับถ่าย การพักผ่อนนอนหลับ เน่ืองจากยัง ชว่ ยเหลือตวั เองไดน้ อ้ ย นอกจากนี้ต้องดูแลการเลน่ เพอ่ื ส่งเสริมพฒั นาการ โดยจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย ป้องกัน การเกิดอุบตั เิ หตุ ตลอดจนการให้วคั ซนี สรา้ งเสริมภูมิคุม้ กันโรค สว่ นเดก็ วยั ก่อนเรียน จะมพี ฒั นาการทางด้านกลา้ มเนือ้ อย่างรวดเร็ว เดก็ สามารถยืน เดิน ว่ิง ได้คล่องแคลว่ ว่องไว ช่วยเหลอื ตัวเองได้มากขึ้น อารมณห์ งุดหงดิ โมโหรา้ ย ดื้อรน้ั ชอบปฏเิ สธ ปญั หาสุขภาพและพฤติกรรมเสย่ี งต่อ สุขภาพที่พบบอ่ ย เปน็ ปญั หาโรคตดิ เชอ้ื และการบาดเจ็บ การสร้างสุขภาพทส่ี าคญั ในวัยน้ดี ้านร่างกายคอื เร่อื งอาหาร สขุ ภาพฟัน การนอน การฝึกการขับถ่าย และการหัดเดิน ด้านจิตใจคือเร่ืองการสง่ เสริมวฒุ ิภาวะทางอารมณ์ และการ ปรับพฤติกรรมทางอารมณ์ หากเด็กวัยก่อนเรียนได้รับการสร้างเสริมสุขภาพที่ดี ก็จะมีความพร้อมที่จะก้าวออกจาก บา้ นเข้าสู่สงั คมใหม่ในการเป็นเดก็ วัยเรยี นทม่ี คี ณุ ภาพตอ่ ไป 2.3 การดแู ลสขุ ภาพกายและการป้องกันโรคทพ่ี บบอ่ ยในเดก็ วัยเรยี น (6 – 12 ป)ี 2.3.1 ปัญหาสขุ ภาพเดก็ วยั เรยี น ปญั หาสุขภาพทพ่ี บบ่อยมดี งั น้ี 1. ปัญหาสขุ ภาพในชอ่ งปาก เปน็ ปญั หาทพ่ี บไดเ้ กอื บทกุ คนในเดก็ วัยเรยี น โดยเดก็ กลุ่มอายุ 5-6 ปี มีค่าเฉลี่ยฟันผุในฟนั น้านมสูงสุดเม่ือเทียบกับกลุ่มอายุอื่น ลักษณะการผุในวัยนี้จะเปล่ียนไปจากช่วงอายุ 3 ปี คอื การผุจะรุนแรงขึ้น ฟนั ที่พบผุมากจะเปน็ ฟันกรามลา่ งและบน สว่ นเดก็ อายุประมาณ 12 ปี หรือชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 6 ฟนั ทผี่ ุมากเปน็ ฟันกรามซี่ท่ี 1 และ 2 โดยพบว่าฟนั ล่างผุมากกวา่ ฟนั บน สาเหตุฟันผมุ าจากแบคทเี รยี จานวนมาก ในช่องปากรวมตัวกันเป็นแผ่นเหนียวติดบนตัวฟัน (Plague) เมื่อรับประทานอาหารท่ีมีส่วนประกอบของน้าตาล แบคทีเรียจะนาอาหารไปใช้ในการสร้างกรดมาทาลายฟันทาให้ฟันผุ โดยเฉพาะบริเวณที่ทาความสะอาดได้ยาก เช่น 27

ซอกฟัน ร่องฟนั ทาให้เส้นประสาทของฟนั ถกู ทาลายได้งา่ ยและเรว็ สง่ ผลตอ่ การเคีย้ วอาหารลาบาก การปวดฟันและ การอักเสบของฟนั 2. ปัญหาภาวะโภชนาการ ปัญหาด้านโภชนาการที่พบในเด็กวัยเรียนปัจจุบันมีทั้งปัญหา ภาวะโภชนาการต่ากว่าเกณฑ์ คือการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ และภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ คือการได้รับ สารอาหารเกินความตอ้ งการซง่ึ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสียต่อท้ังภาวะสุขภาพและพัฒนาการของเด็ก และจะเพมิ่ โอกาสเสย่ี ง ตอ่ การเกดิ โรคต่าง ๆ ตามมา เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดนั โลหิตสูง โรคเบาหวาน เนื่องจากสภาพสงั คม ท่ีเปลี่ยนไป เดก็ มีการรับประทานอาหารขยะหรืออาหารจานด่วนทีม่ ีปริมาณคาร์โบไฮเดรตและไขมันเพ่ิมมากข้ึน ขาด การออกกาลงั กาย ติดโทรทศั น์และเกมคอมพวิ เตอร์ 3. โรคติดเชื้อและพาราสิต โรคติดเช้ือที่พบบ่อยได้แก่ โรคติดเช้ือที่ผิวหนัง ท้ังจากเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา โรคที่มีแมลงและสัตว์เป็นพาหะนาโรค เช่น ไข้เลือดออก ไข้สมองอักเสบ ส่วนโรคที่เกิดจาก พาราสิตท่ียงั เปน็ ปัญหาในเดก็ นักเรียนไทยคอื หดิ เหา กลาก เกล้ือน ในชนบทยงั พบมีปญั หาโรคพยาธพิ ยาธิที่พบว่ามี การติดต่อกันได้ง่าย คือ พยาธิเข็มหมุด เด็กมักมีอาการคันที่ทวารหนักในเวลากลางคืน ส่วนพยาธิไส้เดือนและพยาธิ ปากขอ เปน็ สาเหตุสาคัญของการเกดิ ภาวะโลหติ จางจากการเกดิ ธาตเุ หล็ก สามารถป้องกันไดง้ ่าย โดยการหมน่ั ลา้ งมือ ให้สะอาด ตดั เลบ็ ใหส้ น้ั รับประทานอาหารท่ีปรุงสกุ เท่าน้นั และสวมรองเท้าเป็นประจา 4. อบุ ัติเหตุและการบาดเจ็บ เน่ืองจากเด็กวัยเรียนชอบเล่นแบบเสี่ยงและท้าทายแต่ยังขาด ทกั ษะในการระมดั ระวังตนเอง จึงเกิดอบุ ัตเิ หตุการจราจรได้บ่อย พบว่าเด็กอายุ 5-9 ปี มอี ัตราการตายจากการจมนา้ 12/แสน/ปี หรือรอ้ ยละ 56 ของการตายจากการบาดเจบ็ ท้ังหมด ส่วนอุบัติเหตุในโรงเรียนมักเกิดจากการพลัดตกหก ล้ม ขาแพลง แขนหัก หรือถูกของมีคมบาด อวัยวะของร่างกายเข้าไปติดขัดกับอะไรที่แคบ ๆ แล้วเอาออกไม่ได้ และ อุบตั เิ หตุจากการเล่นกับเพ่อื น 2.3.2 การปอ้ งกนั โรคในเดก็ วยั เรียน เด็กวัยเรียน เป็นวัยท่ีมีความสาคัญเพราะเป็นระยะท่ีต้องไปโรงเรียน หรือวัยเข้ากลุ่มเพ่ือน ในวัยน้ี เด็กควรพร้อมที่จะออกจากครอบครัวไปสู่สังคมนอกบ้านและเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบตัว ให้เด็กได้รับการพัฒนาใน ทุก ๆ ด้าน เพื่อปรับตัวให้เข้ากับส่ิงแวดล้อมใหม่ เด็กจะเรียนรู้และทากิจกรรมต่าง ๆ ให้สาเร็จด้วยตัวเอง การดูแล สขุ ภาพเด็กวัยเรยี นจงึ จาเปน็ ต้องครอบคลมุ ทัง้ ดา้ นการป้องกนั ดแู ลรกั ษาและสง่ เสริมสขุ ภาพ การดแู ลสุขภาพเพ่อื ป้องกันการเกิดโรคในเดก็ วยั เรียน 1. การดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน สิ่งสาคัญคือการสร้างนิสัยการกินและการรักษาความ สะอาดฟันของเด็กใหถ้ ูกต้อง เด็กควรไดร้ ับการเคลือยหลุมรอ่ งฟันในฟันกรามแทโ้ ดยเรว็ ที่สุดก่อนทฟ่ี ันจะเริ่มผุ ซ่ึงฟัน กรามแท้ซ่ที ่ี 1 จะข้ึนเม่ือเดก็ อายุประมาณ 5-7 ปี และฟันกรามแทซ้ ่ีที่ 2 จะขน้ึ เม่ืออายุ 11-14 ปี นอกจากนฟ้ี ันกราม นอ้ ยที่มีหลุมและรอ่ งฟันลกึ ก็ควรไดร้ ับการเคลอื บหลุมร่องฟนั เดก็ นักเรียนควรได้รับความรเู้ กี่ยวกับการแปรงฟัน การ ตรวจฟันด้วยตนเอง การใช้ไหมขัดฟนั เน้นการแปรงฟันอยา่ งถูกวิธีวันละ 2 ครั้ง เช้าและก่อนนอน การใช้ยาสีฟนั ท่ีมี ฟลูออไรด์ การรับประทานอาหารท่มี ีกากใย อาหารท่มี นี า้ ตาลน้อย จัดโครงการทันตสุขภาพในโรงเรียน เช่น แปรงฟัน หลังอาหารกลางวัน ตรวจสุขภาพนกั เรยี นอยา่ งน้อยปีละ 1 ครัง้ และแนะนาผู้ปกครองให้นาเดก็ ไปพบทันตแพทย์ทุก 6 เดือน เพื่อตรวจเชค็ สภาพฟันและปอ้ งกนั การลุกลามจากฟันผุ 2. การจัดอาหารที่เหมาะสมตามวัย ในแต่ละวันเด็กควรได้รับอาหารท่ีสะอาด ประหยัด ปลอดภัย ครบ 5 หมู่ หลีกเล่ียงอาหารท่ีมีปริมาณแป้งและน้าตาลมากเกินไป เช่น อาหารจานด่วน คุกก้ี ขนมกรอบแกรบ นา้ อัดลม ลูกอม หมากฝรั่ง หรอื ขนมขบเคี้ยวต่าง ๆ เพราะนอกจากจะทาให้ได้พลังงานเกินความต้องการของร่างกาย และอาจเกิดภาวะอ้วนแล้ว ยังทาให้ฟันผุ ซึ่งเป็นปัญหาสาคัญในวัยเด็กน้ีอีกด้วย ฝึกให้เด็กรับประทานผักผลไม้ โดย การดัดแปลงหน้าตาให้น่ารบั ประทาน เช่น การแกะสลักผลไม้เปน็ ส่ิงของหรือสัตว์ท่ีเด็กชอบ การแปลงผักสดเป็นผัก ชุบแป้งทอด หรือแกงจืดท่ีผักต้มจนเป่ือยยุ่ย รับประทานง่าย เพ่ือให้เด็กเร่ิมหัดรับประทานและคุ้นเคยกับรสชาติผัก กอ่ น และเด็กจะคอ่ ย ๆ พัฒนาจนสามารถรบั ประทานผกั สดได้ 28

3. การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน ในเด็กวัยเรียนควรได้รับการเฝ้าระวังภาวะ โภชนาการโดยการชั่งนา้ หนกั วัดส่วนสูง อย่างน้อยปีละ 2 ครัง้ 4. การป้องกันอุบตั ิเหตุในเด็กวัยเรียน เด็กและผู้ปกครองควรได้รับคาแนะนาเพื่อส่งเสริมทักษะการ ป้องกันการเกิดอุบตั เิ หตุในเด็กวัยเรียน ตลอดจนการปฐมพยาบาลในเร่ืองเหลา่ นี้ - อุบัติเหตภุ ายในบา้ น เช่น ไฟไหมน้ ้าร้อนลวก ของมีคมบาด การใชย้ า - อบุ ตั ิเหตจุ ากการเล่น เชน่ การจมน้า การตกจากทส่ี ูง การเล่นเคร่อื งเลน่ - อุบตั ิเหตจุ ากการเล่นกฬี า เชน่ นิ้วซ้น ขอ้ เทา้ แพลง กลา้ มเนื้อฉกี - อุบัติเหตุจากยานพาหนะ เชน่ ไม่เล่นกนั ขณะเดินบนทางเทา้ รมิ ถนน การขบั ขท่ี ี่ปลอดภัย การ เคารพกฎจราจร - อุบัติเหตุในชุมชน ควรสอนให้เด็กรู้จักหลีกเล่ียงสถานท่ีไม่ปลอดภัยในชุมชน เช่น แหล่งท่ีมี การม่วั สุมสรุ า ยาเสพติด การพนัน สถานทเ่ี ปล่ียว การพูดคุยกับคนแปลกหน้า ตลอดจนศลิ ปะ ป้องกันตวั 5. การดูแลสุขภาพร่างกายทั่วไป เด็กวัยเรียนควรได้รับการเฝ้าระวังทางสุขภาพและการตรวจคัด กรองเปน็ ระยะ ๆ เช่น การดูแลสุขภาพทั่วไปจากเจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ อยา่ งน้อยปลี ะ 1 ครั้ง ได้รบั คาแนะนาเรือ่ งการ รกั ษาความสะอาดร่างกายทัว่ ไป การแปรงฟัน การกาจดั เหา เป็นต้น 6. การส่งเสริมความสามารถในการควบคุมการขบั ถ่ายปัสสาวะ เด็กทีม่ ีปัญหาปัสสาวะรดที่นอน จะ รสู้ กึ อายและพยายามเก็บไว้เปน็ ความลับ เด็กต้องใช้ชวี ิตอยกู่ ับความลับ กลัวเพ่อื นร้แู ล้วนาไปลอ้ เลียน ควรมีการปรับ พฤติกรรมเด็ก เช่น ให้เดก็ ดมื่ นา้ และนมก่อนนอนให้น้อยลง ปสั สาวะก่อนเข้านอน และปลกุ เด็กใหต้ น่ื มาปัสสาวะตอน ดึกในช่วงที่เคยฉ่ีรดท่ีนอน ไม่ตาหนิเด็กเม่ือยังทาไม่ได้ แต่ให้เด็กร่วมรับผิดชอบจากการท่ีปัสสาวะรดท่ีนอน เช่น ให้ เปลย่ี นผ้าปูทน่ี อน ซกั เสอื้ ผา้ ทีป่ สั สาวะรดเอง นาทน่ี อนไปตาก กรณีทาทุกอยา่ งแลว้ ไมด่ ขี ึน้ ให้ปรึกษาแพทย์ สรุปการดูแลสขุ ภาพและการปอ้ งกันโรคในเดก็ วยั เรียน เด็กวัยเรียนคือเด็กทอ่ี ยู่ในช่วงอายุ 6-12 ปี อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายทาหน้าที่สมบูรณ์ข้ึน ในช่วงท้ายของ วัยจะเริ่มเข้าสู่พัฒนาการทางเพศระดับทุติยภูมิ สามารถควบคุมอารมณ์ให้เหมาะสมมากขึ้น มักชอบรวมกลุ่มกัน ระหว่างเพศและวัยเดียวกนั ปัญหาสขุ ภาพส่วนใหญ่มกั เกิดจากความเครียด จากการปรับตวั ในเรอ่ื งเรยี น การประเมิน สุขภาพของเด็กกระทาโดยการซักประวัติและตรวจร่างกาย เด็กในวัยนี้สามารถดูแลตนเองในเร่ืองสุขภาพได้มากขึ้น จนเกอื บสมบูรณใ์ นช่วงทา้ ยของวัย การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพควรเน้นในเรื่องสุขภาพชอ่ งปาก อาหารและโภชนาการ การ ป้องกันอุบัติเหตุ ส่งเสริมความม่ันใจให้เด็ก ฝึกทักษะท่ีจาเป็นในการดารงชีวิต ฝึกระเบียบวินัยและความรับผิดชอบ รวมไปถงึ การปลูกฝังให้มีคุณธรรมจริยธรรม เพื่อเป็นพน้ื ฐานทดี่ ีมพี ฤติกรรมสุขภาพท่ีเหมาะสมในการเติบโตเปน็ วยั รุ่น ทีม่ ีคณุ ภาพต่อไป 29

ใบงาน/ใบกจิ กรรม/แบบทดสอบทา้ ยบท ชอ่ื -สกุล............................................................. รหสั ประจาตัวนสิ ติ ................................................ ช่ือรายวชิ า .......................................................................... รหัสวิชา ..................................... กลมุ่ ทเ่ี รยี น .................. ใบงานที่ ............................. วันท่ี ................................................................................................... อาจารย์ผูส้ อน................................................................................................................................. 1) จงอธบิ ายการเปลยี่ นแปลงดา้ นรา่ งกายของแต่ละช่วงวยั …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2) จงบอกโรคท่ีพบบอ่ ยในเด็กปฐมวยั พรอ้ มวิธีการปอ้ งกันโรค มา 2 โรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3) จงบอกโรคท่พี บบอ่ ยในเดก็ วัยเรียนพรอ้ มวิธกี ารป้องกันโรค มา 2 โรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4) จงบอกแนวทางการดแู ลรกั ษาสขุ ภาพกายในเดก็ ปฐมวัย …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5) จงบอกแนวทางการดแู ลรักษาสขุ ภาพกายในเด็กวัยเรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 30

เอกสารอา้ งอิง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. ค่มู อื การคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอาย.ุ กรงุ เทพมหานคร. สานกั งานกจิ การโรง พิมพ์สงเคราะห์องคก์ ารทหารผา่ นศึก. 2557. ปิยะนชุ จติ ตนนู ท์. การดแู ลสุขภาพเดก็ วยั เรียน: การจดั บริการพยาบาลในโรงเรยี น. สงขลา : ลิมบราเดอร์สเพรส, 2553. พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. ทฤษฎีจิตวิทยาพฒั นาการ. พมิ พ์ครั้งที่ 5. กรงุ เทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2553. สกุณา บุญนรากร. การสร้างเสรมิ สุขภาพแบบองคร์ วมทุกช่วงวยั . พมิ พค์ รงั้ ที่ 3. สงขลา : เทมการพมิ พ,์ 2554. สมุ ัทนา กลางคาร. วิทยาการระบาด. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2. มหาสารคาม: สารคามการพิมพ;์ 2560. สุมัทนา กลางคาร. อนามยั ครอบครวั . พมิ พค์ รง้ั ที่ 3. มหาสารคาม: สารคามการพิมพ,์ 2560. สานักสง่ เสริมสขุ ภาพ, กรมอนามัย, กระทรวงสาธารณสขุ . คมู่ ือสง่ เสริมสุขภาพแมแ่ ละเดก็ . กรงุ เทพมหานคร: โรง พิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2549. สานกั สง่ เสรมิ สุขภาพ, กรมอนามัย, กระทรวงสาธารณสุข. ค่มู ือพอ่ -แม่ สาหรบั การอบรมเลีย้ งดเู ดก็ แรกเกิด-5 ปี. พิมพค์ รง้ั ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์, 2552. สานักสง่ เสริมสขุ ภาพ, กรมอนามัย, กระทรวงสาธารณสุข. คู่มอื การดาเนินงานโรงเรียนสง่ เสรมิ สขุ ภาพ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2554. สานักอนามยั การเจญิ พันธ,์ุ กรมอนามัย, กระทรวงสาธารณสขุ . คูม่ อื ครู การป้องกนั การตงั้ ครรภ์ในวยั รุน่ . กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2554. สานกั อนามัยการเจญิ พันธุ,์ กรมอนามัย, กระทรวงสาธารณสขุ . รายงานการเฝ้าระวงั การแทง้ ในประเทศไทย ปี 2554. กรงุ เทพมหานคร: องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2555. อมุ าพร ตรงั คสมบัต.ิ จติ บาบดั และการให้คาปรึกษาครอบครัว. พิมพ์ครง้ั ท่ี 5. กรุงเทพมหานคร : ศนู ย์วจิ ัยและ พัฒนาครอบครวั , 2544. อบเชย วงศท์ อง. โภชนศาสตรค์ รอบครัว. กรุงเทพมหานคร. สานกั พิมพม์ หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ 2541. 31

การดูแลสุขภาพกายและการป้องกนั โรคทพี่ บบ่อยในช่วงวัยต่าง ๆ ในระดบั เบือ้ งต้น ตอนที่ 2 วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. เพือ่ ใหน้ ิสิตสามารถอธิบายแนวทางการดูแลและสร้างเสริมสขุ ภาพกายและการปอ้ งกันโรคทพี่ บบอ่ ย ในช่วงวยั รนุ่ วยั ผ้ใู หญ่ และวยั ผูส้ งู อายุ ในระดับเบื้องตน้ ได้ 2. เพอ่ื ให้นิสิตสามารถประเมนิ ภาวะสุขภาพกายและการปอ้ งกนั โรคท่พี บบ่อยในชว่ งวยั รนุ่ วัยผู้ใหญ่ และ วยั ผู้สูงอายุ ในระดบั เบือ้ งต้นได้ วิธกี ารสอน/กิจกรรมการเรยี นการสอน 1. Quiz กอ่ นเรียน 2. การบรรยาย 3. การมอบหมายงาน ใบงานเด่ยี ว : การประเมินภาวะสขุ ภาพกายและการป้องกนั โรคท่พี บบอ่ ยในช่วงวยั ร่นุ วยั ผู้ใหญ่ และวัยผสู้ งู อายุ ในระดับเบอ้ื งตน้ การประเมินผลลพั ธ์การเรียนรู้ 1. การ Quiz 2. การสอบกลางภาค 3. การสง่ งานตรงเวลา ครบตามประเด็นท่ีกาหนดและถกู ต้อง 32

เนอ้ื หา กลุ่มเด็กวัยร่นุ อายุ 13-19 ปี ธรรมชาติของวยั : เปน็ วัยทีม่ ีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนทาให้รา่ งกายเจริญเติบโตอยา่ งรวดเร็วท่ีสดุ ท้ัง ดา้ นส่วนสงู และนา้ หนัก และการเพมิ่ ของฮอร์โมนเพศ คอื estrogen และ progesterone ทาใหเ้ กดิ ลักษณะความ เป็นหญิงและ testosterone ทาให้เป็นชายเต็มตัว เพศหญิงซ่ึงสามารถใหก้ าเนิดบตุ รได้ ลกั ษณะเดน่ ของวัยน้ี เช่น การค้นหาเอกลักษณ์ของตนเอง มีความสับสนในตนเองระหว่างการปรับตัว ระหว่างความเป็นเด็กและผู้ใหญ่ การ ต้องการความเปน็ อสิ ระและการยอมรบั ในกลมุ่ เพอ่ื น ปญั หาสขุ ภาพในกลุ่มเด็กวยั รนุ่ อายุ 13-19 ปี ปญั หาเกีย่ วกบั สขุ ภาพทางกาย ทีพ่ บบอ่ ย ๆ และก่อให้เกดิ ความวิตกกงั วลในกล่มุ วยั ร่นุ ไดแ้ ก่ - โรคอ้วน ภาวะน้าหนักเกนิ ในปัจจุบันพบได้มากข้ึนและพบมากข้ึนในกลมุ่ วัยรุ่นท่ัวโลก ( ) สว่ นใหญไ่ มพ่ บสาเหตทุ าง กาย แตม่ ักเกิดจากพฤติกรรมการดารงชีวิตทไี่ ม่เหมาะ เช่น รับประทานอาหารมากเกนิ ออกกาลังหรือมีกิจวัตรที่ ใช้พลังงานน้อย จากการสารวจเด็กวัยเรียนจากการสุ่มตัวอย่างท่ัวประเทศ พบว่า ประมาณ 1 ใน 10 มีภาวะ โภชนาการเกนิ หรอื โรคอว้ น โดยมีสาเหตมุ าจาก พันธกุ รรม การเล้ยี งดู ส่ิงแวดล้อม พฤติกรรมทางกายน้อย เช่น เลน่ Internet และ game online โดยมีการเคลอื่ นไหวทางกายนอ้ ยและไมม่ ีการควบคุม โรคทต่ี ามมาจากภาวะโรคอว้ นมีหลายโรค เช่น เบาหวานชนดิ ท่ี 2 ซึ่งในวัยรุ่นไทยสงู เกนิ กวา่ 3 เทา่ ในช่วง 5 ปีหลงั เปน็ รอ้ ยละ 17.9 ของวยั ร่นุ ทัง้ หมด เกิดภาวะผิวหนงั รอยทบั ตามข้อพับ ความผิดปกติของการหายใจโดยมี การหยดุ หายใจเปน็ ชว่ งระหว่างการนอนหลบั (Sleep apnea) แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพและการปอ้ งกนั โรคเบอื้ งตน้ 1. วัยน้ีมีการเจริญเติบโตด้านร่างกายอย่างรวดเร็ว ควรพัฒนากระดูกและกล้ามเน้ือที่มีความแข็งแกร่ง เต็มที่ และมีพลังทางร่างกายมากประกอบกับการมีความคิดที่อิสระไม่ชอบการบังคับ ควรเน้นให้นาพลังงานท่ี เหลอื เฟือมาใช้ในทางท่ีเหมาะสมกับเวลาว่าง เช่น การเล่นกีฬา ออกกาลงั กายเพือ่ เสริมสรา้ งกล้ามเนอื้ ใหไ้ ด้สัดสว่ น ซึ่งต้ังแต่อายุ 19 ปีขึ้นไป สามารถประเมินสัดส่วนร่างกายด้วยดัชนีมวลกาย (Body Mass Index : BMI) แทน Growth Chart เนื่องจากน้าหนักตัวเป็นน้าหนักมวลรวมทุกชนิดในร่างกาย ได้แก่ น้า กล้ามเนื้อ กระดูก และ ไขมัน แต่เมื่อเอาน้าหนักเทียบกับส่วนสูงจะสะท้อนให้เห็นถึงโครงร่าง หมายถึงกล้ามเน้ือและกระดูกดังกล่าว จึง สามารถบอกมวลไขมันท่ีมากหรอื น้อยกวา่ บคุ คลมาตรฐานทมี่ โี ครงรา่ งขนาดเดียวกนั [5,6] 2. ความร่วมมือของครอบครัวในการควบคุมอาหาร การออกกาลัง การปรับพฤติกรรมการใช้พลังงานใน ระหว่างวัน ทงั้ นีต้ ้องเปน็ ลกั ษณะของการเสรมิ แรงทางบวก การมีกจิ กรรมร่วมกันในด้านกีฬา โดยชวนกันออกกาลัง ท้ังครอบครัว การออกกาลังนอกจากช่วยลดน้าหนักแล้ว ยังช่วยกระตุ้นการเติบโตใหม่ของเซลล์สมองซึ่งจะทาให้ จติ ใจสดช่นื ด้วย 3. โรงเรียนและสถานศึกษา ควรจัดไม่ให้มีการจาหน่ายอาหารหรือเครื่องด่ืมท่ีหวานเกินไป การส่งเสริม การออกกาลังกายเพื่อสุขภาพอย่างต่อเน่ืองและการสร้างเจตคติท่ีเหมาะสมเพื่อควบคุมพฤติกรรมการบริโภคของ หวาน 4. ไมค่ วรใช้ยาลดความอ้วน เพราะมีอันตรายตอ่ สขุ ภาพและอาจกลบั มาอ้วนได้อีก - โรคภูมิแพ้ โรคภูมิแพ้เป็นสภาวะท่ีร่างกายมคี วามไวต่อสารหรือสภาวะบางอย่างมาก ซึ่งร่างกายคิดว่าเป็นส่ิงท่ีจะเป็น อันตรายต่อร่างกาย ระบบภมู ิคุ้มกันจงึ ทางานอย่างเต็มที่ โดยทว่ั ไป อาการภูมิแพ้ท่ีพบบ่อยแสดงออก 3 ลักษณะ คอื ทางผวิ หนงั ทางเดินหายใจสว่ นบน จมกู ระบบหายใจ ปอด ทางผิวหนังจะมีอาการผื่นแพ้ เฉพาะจุดหรือท่วั ทง้ั รา่ งกาย หายใจไม่สะดวก มนี า้ มกู สารคัดหล่ัง แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคเบื้องต้น 33

การป้องกันที่สาคัญท่ีสุด คือ การเลี่ยงสิ่งท่ีแพ้และการจัดสภาพอากาศให้ดี ปลอดโปร่ง จะช่วยลดและ บรรเทาอาการไดห้ ากเลี่ยงส่ิงท่แี พ้ได้ในระยะเวลานานอาการภมู แิ พท้ ีเ่ กิดขน้ึ จะห่างไปและเกดิ อาการน้อย - โรคผิวหนัง ในวัยรุ่น เน่ืองจากเป็นช่วงท่ีมีการดาเนินกิจกรรมมาก เช่น กีฬา หรือการออกกาลัง ซึ่งหากไม่รักษา ความสะอาด และสุขอนามัยของร่างกาย อาจก่อให้เกิดโรคผิวหนัง เช่น ผื่นจากเชื้อรา ผิวหนังอักเสบจากเช้ือ แบคทเี รยี การเปน็ สวิ การมกี ล่ินตวั และโรคผิวหนงั แนวทางการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและการปอ้ งกันโรคเบอื้ งตน้ เม่ือเกิดอาการ ควรให้ผู้เช่ียวชาญได้พิจารณา ไม่ควรหายามาทาหรือรักษาเอง โรคผิวหนังบางประเภท หากใช้ยาไมถ่ ูกต้องอาจเกิดอาการกลบั เป็นซ้าหรอื ลกุ ลามมากข้นึ - ภาวะสุขภาพช่องปาก จากรายงานผลการสารวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากระดับประเทศคร้ังท่ี 6 (พ.ศ. 2549 - 2550) พบว่าสถานการณ์การ เกิดโรคฟันผใุ นฟันแท้ของเดก็ วัยเรยี นและเยาวชนดีข้ึนเลก็ น้อย โดยลดลงจากร้อยละ 57.3 ในปี พ.ศ. 2543 - 2544 เป็น ร้อยละ 56.87 คิดเป็นค่าเฉล่ีย ฟันผุ ถอน อดุ (DMFT) คงที่ อยทู่ ่ี 1.55 ซ่ี/คน และอัตราการเกิดโรคของ เด็กในเขตชนบทสูงกว่าเด็กในเขตเมือง ส่วนสภาวะเหงือกอักเสบยังคงเป็นปัญหาหลักของเด็กนักเรียนและเยาวชน คอื มีสภาวะเหงอื กอักเสบ ร้อยละ 58.94 และในเด็กเหลา่ นี้จานวนครงึ่ หนึ่งมีคราบหินนา้ ลายร่วมด้วย แนวทางการสร้างเสรมิ สขุ ภาพและการปอ้ งกันโรคเบ้ืองตน้ โรงเรียนเป็นสถาบันทางสังคมพื้นฐานที่มีหน้าที่พัฒนาเด็กวัยเรียนให้มีศักยภาพเติบโตเป็นผู้ใหญ่ท่ีสามารถ ดารงชวี ิตในสงั คมไดอ้ ยา่ งปกติสุข โรงเรียนจึงเปน็ จุดเรมิ่ ตน้ ของการปลกู ฝังความรู้ เจตคติและพฤตกิ รรมทกุ ๆ ด้าน แกเ่ ดก็ ในโรงเรียน โดยการมสี ว่ นร่วมของครอบครัวและชุมชน - โรคติดตอ่ ทางเพศสัมพันธ์ จากการสารวจพฤติกรรมสุขภาพของวัยรุ่น พบว่า ในกลุ่มวันพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ ( Sexual behavior) รนุ่ เคยมีเพศสัมพนั ธ์มาแล้ว ร้อยละ 18.6 และในกลุ่มเด็กท่ีเคยมีเพศสัมพันธ์ ไดเ้ ริม่ มีเพศสัมพนั ธ์คร้ัง แรกก่อนอายุ 14 ปี หรอื น้อยกว่า (ร้อยละ 40.0) รวมไปถึงนกั เรียนเคยมีเพศสมั พันธ์กับคู่นอนจานวน 2 คนหรือ มากกว่าน้ัน ในช่วงชีวิตท่ีผ่านมา (ร้อยละ 7.4) พฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยเม่ือมีเพศสัมพันธ์ พบว่า นักเรียนหรือคู่นอนใช้ถุงยางอนามัยในครั้งหลังสุดของการมีเพศสัมพันธ์ (ร้อยละ 63.0) ซ่ึงพฤติกรรมเสี่ยงดังกล่าว อาจนาไปส่กู ารตง้ั ครรภไ์ มพ่ ึงประสงค์และโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พันธ์ แนวทางการดแู ลและสร้างเสริมสขุ ภาพกายและการปอ้ งกันโรคเบอ้ื งต้น การให้ความรู้และการมีส่วนร่วมของสถานศึกษา ครอบครัว และชุมชน แนะนาและฝึกทักษะการใช้ชีวิต เช่น การแก้ปัญหาในสถานการณ์จาลองต่าง ๆ สอนเรื่องการปรับตัวทางเพศ รู้จักการปฏิเสธในเรื่องเพศสัมพันธ์ นาการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชนต์ อ่ สังคม การสนบั สนนุ กลมุ่ เพือ่ นชว่ ยเพือ่ น เปน็ ตน้ - การมพี ฤตกิ รรมเส่ียงตอ่ สขุ ภาพ เชน่ สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า ตดิ ยา อบุ ัติเหตุ และฆ่าตวั ตาย การสูบบุหรี่ (Tobacco use) วัยรุ่นส่วนใหญ่จะเริ่มสูบบุหร่ีคร้ังแรกเมื่ออายุยังน้อย คือ ก่อนอายุ 14 ปี (ร้อยละ70.6) อีกทั้งยังพบปัจจัยเส่ียงและอาจจะสนบั สนุนให้วัยรุ่นสบู บุหร่ี คือ มีคนสูบบหุ รี่อยู่ในสถานท่ีเดียวกัน กับวัยรุ่น ร้อยละ 41.6 และพ่อแม่หรือผู้ปกครองของวัยรุ่นใช้ยาสูบรูปแบบอื่น เช่น ยาเส้น ร้อยละ 31.8 นอกจากนี้ การดื่มแอลกอฮอล์และการใช้สารเสพติดอื่นๆ (Alcohol and drug use) ในวัยรุ่นส่วนใหญ่ที่เคยด่ืม แอลกอฮอล์จะเริ่มด่ืมคร้ังแรกนจากการจิบเพียงเล็กน้อยก่อนอายุ 14 ปี หรือน้อยกว่า (ร้อยละ 54.8) ในกลุ่ม วัยรุ่นท่ีเคยใช้สารเสพติดประเภทกัญชา แอมเฟตตามีน หรือเมทแอมเฟตตามีน (ยาบ้า) ส่วนใหญ่จะใช้สารเสพติด ครัง้ แรกตอนอายนุ ้อยยังไม่บรรลุนิติภาวะ คือ กอ่ นอายุ 14 ปีหรอื น้อยกว่า (ร้อยละ 73.5) 34

แนวทางการดูแลและสร้างเสริมสขุ ภาพกายและการป้องกันโรคเบือ้ งตน้ เนอื่ งจากการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและจิตใจทีร่ วดเร็วอาจเรียกได้ว่าเป็น “วัยแหง่ พายบุ แุ คม” หรือ “วัย หัวเล้ียวหัวต่อ” มีอารมณ์รุนแรง กล้าเส่ียง ท้าทาย ต่อต้านกฎระเบียบของสังคม ปัญหาท่ีมักภพในวัยนี้ เช่น อุบัติเหตุจากการขับขจ่ี ักรยายนต์ การใช้สารเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ดังน้ัน การดูแลสร้างเสริมสุขภาพ ของเด็กวยั นม้ี ักเน้น การให้ความรแู้ ละการมีส่วนรว่ มของสถานศึกษา ครอบครัว และชมุ ชน กล่มุ วยั ผู้ใหญ่ ธรรมชาติของวัย : เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตของร่างกายเต็มที่ มีวุฒิภาวะและพร้อมที่จะสร้างครอบรัว ใหม่ มีความรบั ผิดชอบ สามารถประกอบอาชพี มรี ายได้ และบางครง้ั ยงั ศกึ ษาตอ่ เพือ่ เตรียมตัวประกอบอาชพี ทถี่ นัด ในอนาคต ในช่วงปลายของวัยนี้จะเป็นวัยผู้ใหญ่ท่ีสามารถพ่ึงพาตนเองได้ เป็นวัยท่ีมีการทางานหนักและมีความ รับผิดชอบมากท่ีสดุ ต่อครอบครัว ส่วนใหญต่ ้องเล้ียงดูทง้ั บุตร ธิดา และญาติผู้ใหญ่วยั สงู อายุ การสรา้ งความม่ันคง และเจริญกา้ วหน้าในตาแหน่งหน้าท่ีการงาน การจัดสัดส่วนรายได้และรายจ่าย ตลอดจนเงนิ ออมสาหรบั วยั เกษียณ ดังนั้น วัยผใู้ หญ่ แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ 1. วัยผ้ใู หญ่ตอนตน้ หรอื วัยหนุม่ สาว : อายุต้ังแต่ 20 - 25 ปี ถงึ 40 ปี วัยนี้มีพฒั นาการเตม็ ทขี่ อง รา่ งกาย วุฒภิ าวะทางจติ ใจ อารมณ์ พรอ้ มทีจ่ ะมีบทบาทที่จะเลือกแนวทางในการดาเนนิ ชีวติ ของตนในเรื่องอาชีพ คูค่ รอง และความสัมพนั ธก์ บั บคุ คลตา่ ง ๆ อย่างมคี วามหมาย 2. วยั ผู้ใหญต่ อนกลางหรือวัยกลางคน : อายุ 40 - 59 ปี เปน็ วัยท่ีได้ผา่ นชีวิตครอบครัวและชวี ติ การ งาน มาระยะหนึ่ง มีความม่นั คงและความสาเรจ็ ในชวี ติ 3. วยั ผใู้ หญต่ อนปลายหรอื วยั สงู อายุ : อายุต้งั แต่ 60 ปีข้ึนไป เป็นวัยของความเส่ือมถอยของรา่ งกาย สภาพจิตใจ และบทบาททางสงั คม การปรบั ตวั ต่อความเสอื่ มถอยและการเผชญิ ชวี ิตในบนั้ ปลายเป็นสง่ิ สาคญั ในการ ดารงชวี ติ ของวัยนี้ ในทนี่ ้จี ะแยกวยั ผใู้ หญต่ อนปลายออกไปเปน็ วัยสงู อายุ ปญั หาสุขภาพในกล่มุ วยั ผู้ใหญ่ตอนตน้ ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงตอ่ สขุ ภาพทางกายวัยผใู้ หญต่ อนตน้ ได้แก่ 1. อุบัติเหตุ จากสถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2551 (กองสถิติสาธารณสุข, 2511) เกี่ยวกับอัตราตายของโรค สาคัญ 10 โรค ซึ่งจาแนกอัตราตายตามอายุ พบว่า กลุ่มอายุ 20 - 39 ปี ตายจากถูกฆ่าและถูกทาร้ายโดยผู้อ่ืน และตายจากอุบัติเหตุยานยนต์ในการจราจร มากกว่ากลุ่มอายุอ่ืน ๆ และพบว่าร้อยละ 65 ของคนท่ีบาดเจ็บและ ตายจากอบุ ตั ิภัยนนั้ เป็นคนหนุ่มสาวและครง่ึ หน่ึงของคนพิการทัว่ ประเทศซ่ึงมี 1.2 ลา้ นคนน้ันเป็นหนุม่ สาว (ปรากรม วฒุ ิพงศ์ และคณะ 2532:67-69) 2. โรคติดเชื้อ วัยผ้ใู หญ่ตอนต้นมีโอกาสป่วยจากโรคติดเชื้อได้สงู พอ ๆ กับวัยอื่น โรคติดเชื้อที่สาคัญ ซึ่ง พบเป็นอัตราตายรองลงมาจากอุบัติภัยคือไข้มาลาเรีย (กองสถิติสาธารณสุข 2551 : 187) พบว่า อัตราตายดว้ ยไข้ มาลาเรียในกลุ่มอายุ 20 - 24 ปี เท่ากับ 10.7 โดยชายตายร้อยละ 8.1 และหญิงตายร้อยละ 2.6 สว่ นโรคติดเชื้อ อื่น ๆ เช่น โรคปอดอกั เสบ โรคติดเชื้อลาไส้ พบอตั ราตายน้อยกวา่ กล่มุ อายุอนื่ แตเ่ ป็นโรคติดเชื้อที่มีอัตราป่วยสูง โรคติดเชื้อที่น่าจะใหค้ วามสาคัญในวัยนี้ คอื โรคตดิ เชอ้ื ของอวยั วะสืบพนั ธุ์ 3. โรคไร้เชื้อ มีโรคไร้เช้ือเป็นจานวนมากที่เกิดข้ึนได้ในผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ตอนต้น โรคเหล่าน้ีกระจายอยู่ใน ระบบตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย เช่น โรคของระบบประสาท ได้แก่ ไมแอสเนยี แกรวสี (myasthenia gravis) เนอื้ งอกใน สมอง ลมชัก โรคของตา เชน่ ต้อหิน เลือดออกในช่องหน้าลูกตา จอตาหลุด (retinal detachment) โรคของหู เชน่ หชู ้นั กลางอกั เสบ แก้วหูทะลุ โรคของระบบทางเดนิ ปสั สาวะ เชน่ ไตพิการ ไตหยอ่ น (nephroptosis) น่วิ 35

ปญั หาสุขภาพในกลุม่ วัยผใู้ หญ่ตอนกลาง 1. การเข้าสู่วัยทองของผชู้ ายและการหมดประจาเดอื นในผูห้ ญงิ หรอื สตรวี ัยทอง (menopause) 2. ปญั หาการมพี ฤติกรรมไม่เหมาะสม - การรบั ประทานอาหารไมเ่ หมาะสม - การขาดการออกกาลงั กาย - การพักผ่อนไม่เพียงพอ 3. ปญั หาสขุ ภาพทเี่ กิดจากการประกอบอาชพี - โรคที่เกิดจากส่ิงคุกคามสุขภาพทางกายภาพ เช่น ความร้อน ความเย็น แสง เสียง การ สนั่ สะเทือน - โรคท่ีเกดิ จากส่งิ คุกคามสุขภาพทางชีวภาพ เช่น โรคแอนแทรกซ์ โรคปอดชานอ้อย - โรคท่เี กดิ จากสงิ่ คกุ คามสขุ ภาพทางเคมี เชน่ พษิ จากตะกัว่ ปรอท แคดเมยี ม ฝุน่ แร่ใยหนิ ฝนุ่ ซิลกิ า เบนซนี ข้อมูลจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่า ประชากรวัยทางาน อายุ 20 – 65 ปี ของไทย มี ความเสีย่ งทางสุขภาพทน่ี าไปสู่โรคไร้เช้ือ และโรคติดเชอ้ื ได้แก่ 1. โรคอว้ น เกิดจากการขาดการออกกาลงั กายและกนิ อาหารทมี่ ีน้าตาลมากเกนิ ไป - อว้ นลงพุง (Abdominal Obesity)รอบเอวที่เหมาะสม (ซม.) จะต้องมีค่าไมเ่ กนิ สว่ นสูง (ซม.) หาร 2 ดังตัวอยา่ ง หรอื อาจเทียบกบั คา่ มาตรฐานโดยท่ัวไปของชาวเอเชีย คอื - ชายไมเ่ กนิ 35.4 นว้ิ - หญงิ ไมเ่ กนิ 31.5 น้วิ 2. โรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิตสูง เบาหวานปัจจัยเสียงของ โรคหัวใจ และหลอดเลือด ได้แก่ - ความดันโลหิตสูง (Hypertension) ควรวัดความดันโลหิตเป็นประจาเม่ือเข้าวัยผู้ใหญ่ ค่าท่ี เหมาะสมคือ ไม่เกิน 120/80 - ไขมันในเลือดผิดปกติ (Dyslipidemia) ส่วนใหญ่เกิดจากการบริโภคอาหาร ควรเจาะเลือด เพือ่ ตรวจคดั เกรองต้องแต่อายุ 35 ปขี ้นึ ไป - สูบบุหร่ี (Smoking) ท้ังท่ีเป็นผู้สูบเอง และได้สูดดมควันบุหร่ีจากคนใกล้ชิดท่ีเรียกว่า “บุหร่ี มอื สอง” - ไม่มกี ารออกกาลังกาย (Physical inactivity; Sedentary lifestyle) จากการสารวจโรคเร้ือรังท่ีพบในวัยผู้ใหญ่ พบว่า มีความดันโลหิตสูงมากที่สุด โดยที่ไม่รู้ตัวมา ก่อน โรคเร้ือรังอื่น ๆ เช่น โรคเบาหวาน พบมากในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ส่วนผู้ชายมักเป็นโรคหัวใจและหลอด เลือดมากกวา่ ผ้หู ญงิ สอดคลอ้ งกับผูช้ ายมักจะมีภาวะอว้ นลงพงุ มากกวา่ ผู้หญงิ [7] ซึง่ การมีไขมนั รอบพุงมากสมั พันธ์ กบั การเปน็ โรคหวั ใจและหลอดเลือด [8] และวัยน้ีมกั ไมต่ รวจสุขภาพประจาปี (ยกเวน้ ผูท้ มี่ ีประกนั สังคม) 3. โรคมะเร็งระบบสบื พันธุ์ พบมากโดยเฉพาะในผหู้ ญิง เช่น มะเรง็ ปากมดลูก มะเรง็ เตา้ นม 4. โรคจากเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ นาไปสู่การเกดิ โรคมะเรง็ ตบั มะเร็งปอด มะเร็งกลอ่ ง เสยี ง หลอดเลอื ดสมองตบี และเส่อื มสมรรถภาพทางเพศ 5. โรคติดเชอ้ื วัยผ้ใู หญ่มีโอกาสป่วยจากโรคติดเชือ้ ได้สงู พอ ๆ กบั วัยอื่น โรคติดเชื้อทส่ี าคัญ คือ ไข้มาลาเรีย (กองสถิติสาธารณสุข. 2531 : 187) ส่วนโรคติดเช้ืออ่ืน เช่น โรคปอดอักเสบ โรคติดเชื้อลาไส้ พบ อตั ราตายน้อยกว่ากลมุ่ อายุอ่นื แต่เป็นโรคติดเช้อื ที่มอี ตั ราป่วยสงู โรคติดเช้ือทีน่ ่าจะใหค้ วามสาคญั ในวัยนี้ คือ โรค ตดิ เชอ้ื ของอวัยวะสืบพนั ธ์ุ การติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ การติดเชื้อท่ีตา นอกจากนี้ โรคเอดสน์ ับเปน็ โรค 36

ตดิ เชือ้ ท่ีมคี วามสาคญั มากในวัยผใู้ หญ่ จากการรวบรวมข้อมูลของกองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสขุ ผลปรากฏ วา่ กลุม่ อายทุ ม่ี กี ารตดิ เชือ้ เอดส์สงู สุด คือ กลมุ่ อายุ 20-34 ปี เนอ่ื งจากอยูใ่ นวัยเจรญิ พันธ์ุ แนวทางการดูแลและสร้างเสรมิ สุขภาพกายและการปอ้ งกนั โรคเบอ้ื งต้น วยั ผใู้ หญ่ตอนต้นรา่ งกายมีความสามารถสูงสุด มีวุฒิภาวะทางอารมณ์มากข้นึ กลุ่มเพื่อนลดนอ้ ยลง มีการ ปรบั เปล่ียนบทบาทมากมาย ปัญหาที่เกิดขน้ึ ในวัยนี้ทีส่ าคัญ คอื ความผิดหวงั ในความรัก การไมส่ ามารถปรับตัวกบั บทบาทใหม่ วัยน้ีมกั จะทางานจนลืมออกกาลังกายและคลายเครียด อาจมีภาวะอ้วนได้ ความเครยี ดจากการศึกษา ต่อการปรับตัวต่อสถานที่ทางานใหม่ หรือการย้ายงาน ความเร่งรีบจากการทางานหาเลี้ยงชีพเพ่ือสร้างความม่ันคง ของชีวิต ขาดการออกกาลังกาย เป็นจุดเริม่ ต้นของการสะสมโรคเรื้อรังตามมา ได้แก่ ความดนั โลหติ สงู เบาหวาน ไขมันสูง มะเร็ง โรคเครยี ด ส่วนในวัยกลางคน รา่ งกายมีการเปลยี่ นแปลงไปในทางทเี่ ส่อื มลง เร่ิมมปี ญั หาเกยี่ วกับ สุขภาพ โดยเฉพาะในเพศหญิงการเข้าสู่วัยหมดประจาเดือน อาจกอ่ ให้เกิดปัญหาครอบครัวตามมาได้ ในวัยน้ีส่วน ใหญ่บุคคลจะมีบุคลิกภาพและอารมณ์มั่นคง มีความพึงพอใจกับชีวิตท่ีผ่านมา ดังน้ัน ควรมีแนวทางการดูแลและ สร้างเสรมิ สุขภาพกายและการปอ้ งกันโรคเบอ้ื งต้น ดังนี้ 1. สรา้ งเสรมิ ความร้เู ก่ยี วกับการเปลี่ยนแปลงของรา่ งกาย - ให้ความรู้เก่ียวกับการเปล่ียนแปลงของร่างกายท่ีเกิดข้ึน สาเหตุ อาการและอาการแสดง เช่น ปัญหาความเสื่อมของอวัยวะต่างๆ ปญั หาหมดประจาเดือน หรือชายวัยทอง - แนะนาการปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงนั้น และวิธีการชะลอความเส่ือมถอยของร่างกาย โดยเลือกอาหาร การออกกาลงั กาย การพกั ผ่อน และการผอ่ นคลายความตงึ เครยี ด 2. คงไวซ้ ่งึ ความสมบรู ณแ์ ข็งแรงของร่างกาย - การออกกาลังกายท่ีถูกหลักและสม่าเสมอ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ คร้ังละไม่น้อยกว่า 30 นาทีต่อครั้ง สามารถลดไขมันตัวร้าย (LDL) เพิ่มไขมันตัวดี (HDL) กล้ามเน้ือ เอ็น กระดูก ข้อต่อและผนังหลอด เลือด มีความยืดหยุ่นดี [8] สอดคล้องกับรายงานการวจิ ัยผลการออกกาลงั กายหนกั ระดับปานกลางพอทนได้แบบใช้ ออกซิเจนอย่างต่อเนอ่ื งในผู้ที่ยังไม่ป่วย หรอื ผู้ท่ีปว่ ยแล้ว สัปดาห์ละ 3 คร้ัง เฉลยี่ 90 นาทีต่อสัปดาห์ สามารถลด ระดับความดนั โลหติ อัตราการเต้นของหวั ใจช้าลง ความทนตอ่ ความเหน่อื ยเพิ่มมากขึน้ ความแข็งแรงของกล้ามเนอื้ ขาและหลังเพ่มิ ขึน้ อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ิท่ี 0.05 [9, 10] - การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ เชน่ อาหารหลกั 5 หมู่ ยงั มคี วามสาคญั ต่อการใช้ พลังงานในแต่ละวัน ลดอาหารเค็ม หวาน มัน ผัด ทอด ปิ้ง ย่าง ซ่ึงเป็นบ่อเกิดของโรคความดนั โลหติ สูง ไขมัน ในเลอื ดสูง การเกิดหลอดเลอื ดสมองตีบตนั และแตก โรคมะเร็ง เปน็ ต้น - สนบั สนุนให้มีการตรวจสุขภาพประจาปี 3. สรา้ งเสรมิ ความร้ใู นการดูแลสขุ ภาพ เช่น ความดนั โลหิตสูง เบาหวาน 4. สร้างเสริมความรู้เก่ียวกับการรักษาด้วยการแพทย์ทางเลือก เช่น การรักษาด้วยสมุนไพร การกด จุด การฝงั เข็ม การใชน้ ้ามนั หอมระเหย การบาบัดดว้ ยโภชนาการและอาหาร ดนตรีบาบัด เปน็ ต้น 5. การนอนหลับสนิทจะมีความจาเป็นต่อมนุษย์ทุกช่วงวัย เพราะเป็นช่วงท่ีร่างกายหล่ังฮอร์โมนช่วย ชะลอวัย ดังที่กล่าวมาแลว้ เพื่อพัฒนาสุขภาพและเป็นพลงั สารองเต็มที่ แม้มีโรคทางพนั ธุกรรมก็จะสามารถชะลอ ระยะเวลาการเป็นได้ กลมุ่ วยั ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป หรือวยั สงู อายุ ธรรมชาติของวัย : เป็นวัยที่มีการเสื่อมของโครงสรา้ งร่างกายและประสาทสัมผัสท้ังห้าตามระยะเวลาของ การใช้งานตลอดช่วงชีวิต เช่น ตาก็มองไม่ค่อยชัดประกอบกับการเป็นโรคเร้ือรัง ต้อกระจกจากความดันโลหิตที่ เพม่ิ ขนึ้ หรือจอประสาทตาเสื่อมจากเบาหวาน หูได้ยนิ ลดลง ต่อมรบั รสของลิน้ ลดลง ประสาทกายสัมผสั ลดลง ยิ่ง การเปน็ เบาหวานความรสู้ กึ ชาปลายมือปลายเท้าจะมากข้ึนได้ นอกจากน้ี ปญั หาทม่ี กั พบบอ่ ยในวยั ผู้สงู อายุจนถึงวัย 37

ชรา คือ โรคกระดูกและข้อเสื่อม ส่วนสภาพจิตใจบางคร้ังซึมเศร้า ความรู้สึกที่ต้องพึ่งพาบุตรหลานเพ่ิมมากข้ึน นอนไมค่ ่อยหลบั ท้องผกู เป็นต้น แนวโน้มสังคมไทยจะกลายเปน็ สังคมของผสู้ งู อายุเพิม่ มากขน้ึ ปัจจบุ นั มีประมาณ 7.5 ล้านคน หรือร้อยละ 11.9 และจะสูงข้ึนเป็น 12.9 ล้านคน หรือร้อยละ 19.8 ในปี พ.ศ. 2568 จากนิยาม องค์การสหประชาชาติได้ใหน้ ิยามวา่ เมอื่ ประเทศใดมปี ระชากรอายุ 60 ปขี ้ึนไป เกนิ รอ้ ยละ 10 หรอื อายุ 65 ปีข้ึนไป เกนิ รอ้ ยละ 7 ของประชากรท้ังหมด ถอื วา่ ประเทศนั้น ไดก้ ้าวเขา้ สู่สังคมผู้สูงอายแุ ละจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ เมื่อสัดส่วนดังกล่าวเพ่ิมขึ้นเป็นร้อยละ 20 และร้อยละ 14 ตามลาดับ ซ่ึงตามนิยามน้ีทาให้ไทยเริ่มก้าวเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุในปี พ.ศ. 2547 และจะเป็นสังคม ผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2567 หรืออีก 4 ปี ข้างหน้า เนื่องจาก การเจริญทางการแพทย์และการสาธารณสุขดีขึ้น ช่วยต่อชีวิตให้ยืนยาว โดยอายุเฉลี่ยคนไทย ชาย 71.1 ปี หญิง 78.1 ปี [15, 16] ดังน้ัน เม่ือสังคมมีผู้สูงอายุเพ่ิมมากขึ้น ไทยต้องเตรียมรับกับการดูแลโรคที่เกิดจากความ เส่อื มและโรคเร้ือรงั รมุ เรา้ ซงึ่ ผสู้ ูงอายุควรที่จะไดร้ ับการดูแลสร้างเสรมิ สขุ ภาพจากผดู้ ูแลในครอบครัวและสังคม ปัญหาสขุ ภาพในวัยสูงอายแุ ละแนวทางการดแู ลเสริมสร้างสุขภาพทางกายและป้องกนั โรคเบือ้ งต้น 1. กระดูกหักง่าย เน่ืองจากความเส่ือมของกระดูก กระดูกบางท่ีพบบ่อย คือ กระดูกสะโพก ต้นขา ขอ้ มือ และกระดกู สันหลัง การแกไ้ ข โดยดื่มนม กนิ ปลาเล็กปลานอ้ ยอย่างสม่าเสมอ ไมค่ วรดืม่ สุราเพราะทาให้สูญเสยี แคลเซยี ม ในกระดกู มาก ทาให้กระดูกผุ เปราะ เส่อื มเร็ว 2. สายตาไม่ดี เกดิ จากเลนส์ตาแข็งตวั ยืดหย่นุ ไมด่ ี การปรับภาพจะนอ้ ยลง จงึ เหน็ ภาพไม่ชดั การแกไ้ ข โดยสวมแวน่ ทีเ่ ปน็ เลนส์นูน 3. หูตึง เกิดจากระบบประสาทเสอ่ื มถอย ประสาทการไดย้ นิ ของหเู สอ่ื ม การแก้ไข ควรพบแพทย์ 4. ฟันไมด่ ี ฟันลดลง ปากแห้ง การไดก้ ล่ินและรบั รสเสีย ทาให้กนิ อาหารไม่ได้ กินชา้ ลง กนิ ไดน้ อ้ ย การแก้ไข ควรปรกึ ษาทันตแพทย์ และตอ้ งเลือกอาหารทีเ่ คย้ี วงา่ ย 5. เป็นลมบ่อย เกิดจากการปรับตัวของความดันเลือดไม่ดีขณะเปลี่ยนท่าทาง ความดันเลือดจะลดลง อย่างรวดเรว็ การแกไ้ ข นอนหมอนสงู เล็กนอ้ ย ค่อยๆ ลกุ เพือ่ ให้รา่ งกายได้ปรบั ตวั และออกกาลงั กายสมา่ เสมอ 6. เรอบ่อย จากท้องอดื ท้องเฟอ้ อาหารไม่ย่อย เนื่องจากการบีบตัวของหลอดอาหารลดลง น้าย่อยออก นอ้ ย เกดิ ลมในกระเพาะ 7. ทอ้ งผกู เกิดจากความเสอ่ื มของกลา้ มเนือ้ ลาไส้ การเคลื่อนไหวรา่ งกายน้อยลง ทาให้กากอาหารเคลือ่ น ตัวมาสลู่ าไสส้ ่วนล่างชา้ การแก้ไข รับประทานอาหารย่อยงา่ ย ออกกาลงั กายสม่าเสมอ 8. อาจเป็นเบาหวาน เพราะเนือ้ เยอ่ื ของร่างกายไม่สามารถตอบสนองตอ่ ฮอร์โมนอินซลู ินท่อี อกมาจากตับ อ่อนไดเ้ พียงพอ ทาให้น้าตาลในเลือดสงู การแกไ้ ข ควบคมุ อาหารหวานจัด 9. หรู ูดเสือ่ ม ท่อปสั สาวะเสื่อมในผู้ชายจากต่อมลูกหมากโต ผหู้ ญิงจะมีมดลูกหย่อน ดึงกระเพาะปัสสาวะ ลงมา ทาให้ปัสสาวะบ่อย การแกไ้ ข กรณีเป็นมากอาจต้องพบแพทย์ 10. หลงลืมบอ่ ย เนอื่ งจากเซลล์สมองเสือ่ ม เซลล์สมอง ลดลงมกี ารตายของเซลล์ และไมเ่ กิดใหม่ การแก้ไข ควรรวมกลมุ่ วัยเดียวกันมีกิจกรรมรว่ มกัน ไม่แยกตัว ทางานที่เป็นประโยชนส์ ังคม จะช่วย ใหค้ วามจาดีขนึ้ 11. หัวใจและหลอดเลือด เกิดภาวะหลอดเลือดเส่ือม หลอดเลือดแข็งตัว โดยเฉพาะหลอดเลือดเล็ก ๆ ทเ่ี ล้ียงไต สมอง หัวใจ หวั ใจต้องทางานหนกั จึงเหน่อื ยงา่ ย 38

การแก้ไข กินอาหารท่ีเหมาะสมให้ครบ 5 หมู่ ควรระวังอย่าให้อ้วนเกินไป หลีกเล่ียงอาหารไขมันจาก สัตวแ์ ละกะทิ อาหารรสหวานจดั ควรกนิ ข้าวกลอ้ ง ปลา จะยอ่ ยงา่ ย ผกั ผลไม้ ถ่วั 12. ปัญหาอารมณ์ เกลียด เครียด กังวล โกรธ มผี ลต่อร่างกาย ขณะมีอารมณ์ดังกลา่ ว ต่อมหมวกไต จะหลั่งฮอรโ์ มนออกมาทาใหม้ ีอาการใจสน่ั นา้ ตาลสงู ขึน้ และทาให้เป็นโรคกระเพาะอาหารลาไส้ การแกไ้ ข ผู้ใกล้ชิด ลกู หลาน ควรใหค้ วามรักความเข้าใจ เอาใจใส่ดูแลให้ความเคารพนับถือ จะช่วย ให้ปญั หาทางอารมณใ์ นผูส้ งู อายลุ ดลง การประเมนิ สขุ ภาพทางกายเบอ้ื งต้น การประเมินสุขภาพทางกาย เป็นการวินิจฉัยภาวะสุขภาพหรอื ภาวะเป็นโรคหรือความผิดปกติต่าง ๆ เพ่ือ ทาให้ทราบว่าบุคคลนั้นมีสุขภาพสมบูรณ์มากน้อยเพียงใด สามารถทางานได้ตามปกติหรือทางานได้เฉพาะตามที่ กาหนด รวมทัง้ ประโยชน์ในการนาผลการประเมนิ สุขภาพน้นั มาวินิจฉัยและวางแผนการดูแลสขุ ภาพท้ังในภาวะปกติ หรือผิดปกติได้ และนาไปสู่การพัฒนาสุขภาพครบครัว และชุมชน ในการป้องกันโรคหรือความเสี่ยงต่าง ๆ ท่ีจะ นาไปสูก่ ารเจ็บป่วยหรือเป็นโรคได้ การประเมนิ สขุ ภาพทางกาย แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1. การประเมินสุขภาพกายด้วยตนเอง เปน็ การประเมินสุขภาพส่วนบุคคลด้วยตนเองโดยการสงั เกตความ ผิดปกติหรอื ความเจบ็ ปว่ ย เพ่ือให้ทราบว่ามปี ัญหาสุขภาพทางกายหรือไม่ เช่น เป็นโรคตา่ ง ๆ เหน่ือยง่าย สายตา ผิดปกติ หูไม่ค่อยได้ยิน อ่อนเพลียง่าย มีแผลแล้วรักษาหายยาก เป็นต้น ถ้าพบอาการเช่นน้ีให้ประเมินได้เลยว่า ภาวะร่างกายไม่ดีตอ้ งรีบไปพบแพทย์เพ่อื ทาการตรวจรักษา ซึ่งการประเมินสุขภาพกายด้วยตนเองด้วยวิธีง่าย ๆ มี ดงั น้ี 1.1 การช่ังน้าหนักและวัดสว่ นสูง เป็นการประเมินการพัฒนาการด้านร่างกายเบ้อื งต้น และสามารถ นาไปใชใ้ นการพจิ ารณาว่า บุคคลอว้ น หมายถงึ ภาวะที่ร่างกายได้รบั พลังงานจากอาหารมากกวา่ พลงั งานท่ีรา่ งกาย ใช้ไป ทาให้เหลอื พลังงานทสี่ ะสมไว้ในรา่ งกายในรปู ไขมนั มากขึ้นแลว้ ทาให้น้าหนกั เพม่ิ มากข้ึน สาหรบั ผู้ใหญส่ ามารถ ประเมินดว้ ยวธิ งี า่ ย ๆ คอื คานวณค่าดชั นีมวลกาย (Body Mass Index) เปน็ ค่าสากลทใ่ี ช้เพ่อื คานวณหานา้ หนกั ตวั ท่ีควรจะเปน็ และประมาณระดับไขมันในรา่ งกาย โดยใชน้ า้ หนักตวั และสว่ นสูง การคานวณดชั นมี วลกายไม่ใชก่ ารวัด โดยตรงแตก่ ็เป็นตัวชีว้ ัดไขมันในรา่ งกายท่ีคอ่ นข้างเชอ่ื ถือได้สาหรับคนส่วนใหญ่ สามารถใช้บ่งบอกความเสี่ยงในการ เกิดโรคต่าง ๆ ได้อีกด้วย เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือด ระบบหัวใจ รวมไปถึงมะเร็งบาง ชนิด แต่อย่างไรก็ตามค่า BMI เป็นแค่การคานวณเบ้ืองต้นเท่าน้ัน เน่ืองจากจาเป็นต้องนาปัจจัยอื่น ๆ มา ประกอบด้วย ท้ังเรื่องของพันธุกรรม ปรมิ าณกล้ามเนือ้ พฤติกรรมการกิน การใช้ชีวิต การออกกาลงั กาย และอื่น ๆ แต่เน่ืองจากดัชนีมวลกายมีวิธีคานวณท่ีง่าย จึงทาให้ทุกคนสามารถประเมินความเส่ียงของตนเอง จากการมี ปริมาณไขมันในร่างกายเกินได้ วธิ ีการคานวณ BMI มีสูตรดังนี้ BMI = นา้ หนักตวั (กโิ ลกรมั ) ความสูง (เมตร2) การแปลผล คา่ BMI จากโปรแกรมคานวณนี้ เป็นค่าสาหรับชาวเอเชียและคนไทย ซ่ึงอาจแตกต่าง กันไปในแต่ละเชื้อชาติ ค่า BMI เฉล่ียของหญิงไทยคือ 24.4 และของชายไทยคือ 23.1 (อายุต้ังแต่ 20 ปีขึ้นไป) (กระทรวงสาธารณสุข, 2552) 39

ดชั นมี วลกาย < 18.5 แปลผล ผอมเกินไป ถือว่าน้าหนักน้อยกว่าปกติ ไม่คอ่ ยดี เนื่องจาก หากมีความสูงมากแต่น้าหนักน้อยเกินไป อาจเสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอหรือได้รับพลังงานไม่เพียงพอ ส่งผลให้ร่างกายอ่อนเพลียง่าย การรับประทานอาหารให้เพียงพอ และการออกกาลังกายเพ่ือเสริมสร้างกล้ามเน้ือ สามารถช่วยเพม่ิ ค่า BMI ให้อยใู่ นเกณฑ์ปกติได้ ดชั นมี วลกาย 18.5 - 22.9 แปลผล น้าหนักปกติ จัดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ห่างไกลโรคที่เกิดจาก ความอ้วน และมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ น้อยท่ีสุด ควรพยายามรักษาระดับค่า BMI ให้อยู่ในระดับนี้ให้ นานทสี่ ุด และควรตรวจสุขภาพทุกปี ดชั นมี วลกาย 23 - 29.9 แปลผล น้าหนักเกิน จัดอยู่ในอ้วนระดับหน่ึง ถึงแม้จะไม่ถึงเกณฑ์ที่ ถือว่าอ้วนมาก ๆ แต่ก็ยังมีความเส่ียงต่อการเกิดโรคที่มากับความอ้วนได้เช่นกัน ทั้งโรคเบาหวาน และความดัน โลหิตสงู ควรปรับพฤตกิ รรมการทานอาหาร ออกกาลงั กาย และตรวจสขุ ภาพ ดัชนีมวลกาย >หรอื = 30 แปลผล อ้วนเกินไป ค่อนข้างอนั ตราย เสี่ยงต่อการเกิดโรครา้ ยแรงท่ี แฝงมากบั ความอ้วน หากค่า BMI อยู่ในระดับน้ี จะต้องปรับพฤตกิ รรมการทานอาหาร และควรเริม่ ออกกาลังกาย และหากเลขยง่ิ สูงกวา่ 40.0 ยิ่งแสดงถงึ ความอ้วนทมี่ ากขน้ึ ควรไปตรวจสขุ ภาพ และปรกึ ษาแพทย์ 1.2 การวัดรอบเอว (Waist circumference) เป็นการประเมินด้วยตัวเองโดยการวัดรอบเอวเพ่ือดู ปรมิ าณไขมันในช่องทอ้ ง ค่ารอบเอวท่มี ีความเสี่ยงตอ่ การเกิดโรคหรือภาวะอ้วนลงพุงสาหรบั คนไทย คอื ชาย > 90 เซยติเมตร (35 น้วิ ) และหญงิ > 80 เซนติเมตร (31 นิ้ว) ตาราง 1 การแบ่งระดับโรคอ้วน โดยใช้ค่าดชั นมี วลกาย เส้นรอบเอว และการเกดิ โรคร่วม ระดบั BMI ความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ความเส่ยี งตอ่ การเกดิ โรค* (กโิ ลกรัม/เมตร2) เม่อื เสน้ รอบเอวปกติ เม่ือเสน้ รอบเอวสงู กว่าปกติ น้าหนกั ตัวตา่ < 18.5 นา้ หนกั ตวั ปกติ 18.5 – 22.9 น้าหนักเกนิ 23.0 – 24.9 ความเส่ยี งเพ่ิมขึน้ ความเส่ียงสูง อ้วนระดบั 1 25.0 – 29.9 ความเส่ยี งสงู ความเสี่ยงรนุ แรง อ้วนระดบั 2 ≥ 30.0 ความเสี่ยงรนุ แรง ความเสี่ยงรนุ แรงมาก * โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ท่ีมา : ดัดแปลงจาก WHO Regional Office for the Western Pacific/International Association for the Study of Obesity/International Obesity Task Force. The Asia-Pacific perspective: 40

1.3 การประเมนิ โดยการใช้แบบสอบถาม การประเมินความพร้อมก่อนออกกาลังกาย โดยใช้แบบประเมินตนเองก่อนออกกาลังกายเพ่ือ ตรวจสอบความพร้อมของตนเองในการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ ดังตัวอย่างแบบประเมินความพร้อมก่อนออก กาลังกาย ตาราง 2 แบบประเมนิ ความพร้อมของนสิ ติ กอ่ นออกกาลังกาย ขอ้ คาถาม ใช่ ไม่ใช่ 1. ปัจจบุ นั นสิ ิตมโี รคประจาตัวที่รนุ แรง ซึง่ อาจส่งผลกระทบตอ่ การออกกาลงั กาย 2. นสิ ิตป่วยและมปี ัญหาด้วยโรคหัวใจ 3. นิสิตรู้สกึ เจบ็ บรเิ วณหนา้ อกบอ่ ยๆ 4. นิสิตมักจะเปน็ ลมหมดสติ หรอื วงิ เวยี นศรี ษะอยา่ งรนุ แรง 5. นสิ ิตมคี วามดนั โลหิตสงู 6. นิสติ เคยมอี าการกระดกู และข้ออกั เสบ ซ่ึงอาจจะรุนแรงถา้ ออกกาลังกาย 7. นิสติ รู้สึกเบื่อหน่ายและไม่ชอบการออกกาลังกาย 8. นสิ ติ รู้สึกเหนือ่ ยมากถ้าออกกาลังกาย 9. ขณะน้นี สิ ติ กาลงั ใชย้ าเพื่อรักษาโรคที่เปน็ อยู่ 10. นิสิตยังมปี ัญหาสุขภาพอื่น นอกเหนอื จากท่กี ล่าวมา *ถ้าตอบว่าใช่ข้อใดข้อหน่ึง ควรรีบปรึกษาแพทย์หรือเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขก่อนเริ่มต้นโปรแกรมการออก กาลังกายแบบหนกั ๆ หรอื เหนอ่ื ยมากๆ การประเมนิ สุขภาพตามกลุ่มวยั เปน็ การประเมินสขุ ภาพทางกายตามกลุ่มวยั เพ่ือเปน็ การตรวจสอบ ติดตามและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มวัยต่าง ๆ โดยกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ได้ดาเนินการพัฒนาแบบประเมินตามกลุ่มวยั เช่น แบบประเมนิ สขุ ภาพ วยั ทางาน (อายุ 21 - 40 ป)ี แบบประเมินสุขภาพ สตรีวัยทอง (อายุ 41 - 59 ปี) แบบประเมินสุขภาพ ผู้สูงอายุ 60 ปีข้ึนไป เป็นต้น ดัง ตวั อยา่ ง 41

ตาราง 3 แบบประเมนิ สุขภาพ วัยทางาน (อายุ 21 - 40 ป)ี ข้อมูลสขุ ภาพ ว/ด/ป ว/ด/ป ว/ด/ป ............................. ............................. ............................. อายุ อายุ อายุ ................................. ................................. ................................. ว/ด/ป ............................. น้าหนัก อายุ ส่วนสูง ................................. ดัชนมี วลกาย รอบเอว ประวตั ิการเจ็บปว่ ย โรคประจาตวั /โรคเร้ือรงั สบู บุหร่ี ดม่ื เครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์ อ่ืน ๆ ............................... ตาราง 4 แบบประเมนิ สุขภาพ สตรวี ัยทอง (อายุ 41 - 59 ป)ี ข้อมูลสขุ ภาพ ว/ด/ป ว/ด/ป ............................. ............................. อายุ อายุ ................................. ................................. นา้ หนัก สว่ นสงู ดชั นมี วลกาย รอบเอว ประวัตกิ ารเจบ็ ป่วย โรคประจาตวั /โรคเรือ้ รงั สูบบหุ รี่ ดื่มเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ การตรวจมะเร็งเต้านม ด้วยตนเอง การตรวจมะเรง็ ปากมดลูก อน่ื ๆ ............................... 42

ตาราง 5 แบบประเมนิ สขุ ภาพ วัยผสู้ งู อายุ 60 ปขี ึ้นไป ข้อมลู สขุ ภาพ ว/ด/ป ว/ด/ป ว/ด/ป ............................. ............................. ............................. อายุ อายุ อายุ ................................. ................................. ................................. นา้ หนกั สว่ นสูง ดัชนีมวลกาย รอบเอว ประวตั กิ ารเจ็บป่วย โรคประจาตวั /โรคเรอ้ื รัง สูบบุหรี่ ด่ืมเครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ มภี าวะซมึ เศร้า มีอาการหลงลมื มกี ารหกล้ม อน่ื ๆ ............................... 1.4 การประเมินโดยใช้โปรแกรมหรือแอพพลิเคชัน (Applications) ต่าง ๆ เป็นการประเมินจาก กจิ กรรม ความหนกั ความบอ่ ย ความนาน ของประเภทและกิจกรรม ถา้ สามารถปฏิบัติได้ตามเกณฑข์ องกิจกรรม แต่ละประเภทจะเป็นการชว่ ยประเมินและสามารถพฒั นาตนเองใหป้ ระสบความสาเรจ็ ได้ ไดแ้ ก่ ตาราง 6 ตัวอย่างกิจกรรม ความหนกั ความบ่อย ความนาน ของประเภทและกจิ กรรม ประเภท กิจกรรม ความหนกั ความบอ่ ย ความนาน 1. การออกกาลังกาย - การทางานบา้ น หัวใจเหนื่อยพอประมาณ ทุ ก วั น ห รื อ วันละ 30 นาที อาจ แอโรบิก (เพอ่ื - งานสวน โดยมีอัตราการเต้นร้อย เกือบทุกวันใน แบ่งทาเป็นช่วง ๆ ปอ้ งกันโรค) - การออกแรงทางานจาก ละ 55-69 ของอัตราการ แตล่ ะสปั ดาห์ ได้ ถ้าทากิจกรรม การประกอบอาชีพ เตน้ ของหัวใจสงู สุด หนักระยะเวลาส้ัน - กิจกรรมนันทนาการท่ีมี ถ้าทากิจกรรมเบา ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว อย่ า ง ระยะเวลาจะนาน กระฉับกระเฉง ข้ึน 43

ตาราง 6 ตวั อยา่ งกจิ กรรม ความหนกั ความบ่อย ความนาน ของประเภทและกจิ กรรม (ต่อ) ประเภท กจิ กรรม ความหนกั ความบอ่ ย ความนาน 2. การออกกาลังกาย - การเดินว่ิง วง่ิ เหยาะ หัว ใ จเต้ น เร็ ว ขึ้น เป็ น 3 - 5 วนั ต่อ 20 – 60 น า ที อย่างต่อเนื่องแบบ แอโรบกิ (เพื่อ วิ่งแข่ง เดนิ ทางไกล ร้อยละ 60-90 ของอัตรา สัปดาห์ แอโรบกิ ระยะเวลา ข้ึ น อ ยู่ กั บ ค ว า ม สมรรถภาพของ - การเล่นกีฬาตา่ ง ๆ การ การเตน้ ของหัวใจสูงสดุ หนกั ของกิจกรรม หัวใจและปอด ว่ายนา้ กระโดดเชือก 20-30 นาทตี ่อวนั - ถีบจักรยาน - เตน้ แอโรบกิ - กา้ วข้ึนลงบนั ได 3. ความแข็งแรงและ การดนั พน้ื การลกุ -นั่ง กรณีใช้น้าหนักภายนอก 2-3 วนั ต่อ ความอดทนของ แบบงอเข่า การดงึ ข้อ น้าหนักที่ยกประมาณ สปั ดาห์ กล้ามเน้ือ การห้อยตัวงอแขนบนราว ร้ อ ย ล ะ 50- 69 ข อ ง เด่ียว น้าหนักที่ยกได้สูงสุดหรือ น้า ห นั ก พ อ ป ร ะ ม า ณ (ถา้ ไม่ทราบนา้ หนกั สูงสุด ใ ห้ ใ ช้ น้ า ห นั ก เ บ า ก่ อ น ซึ่งสามารถยกได้ 8-12 ครั้ง แล้วค่อย ๆ เพ่ิม น้าหนัก) 4. การยืดเหยยี ด ยืดเหยียดกลา้ มเนอื้ แบบ ให้ยืดเหยียดจนถึงจุดท่ี อย่างนอ้ ย 3 15-30 นาทตี ่อวนั กล้ามเน้อื หยดุ ค้างไว้ 10 – 30 รู้สึกว่าดึงพอสมควรหรือ วันตอ่ สัปดาห์ วินาที บริเวณขา อก ไหล่ หนัก ๆ แต่ไม่เจบ็ บา่ แขน และต้นคอ จานวน 10-12 ท่า ทาซา้ ๆ อยา่ งน้อย 4 ครงั้ ตอ่ ท่า ที่มา : กองกิจกรรมออกกาลงั , กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ , เอกสารเผยแพรก่ องออกกาลังกายเพ่อื สขุ ภาพ 44

ตาราง 7 ตวั อย่างกจิ กรรมเคล่ือนไหวเพ่ือออกกาลังกายพอประมาณท่ีใชพ้ ลังงานประมาณ 150 แคลอรตี ่อคร้ัง กิจกรรม ระยะเวลา ความหนกั เบา ลา้ งและเช็ดถขู ัดรถยนต์ 40-60 นาที เบา : ใช้เวลามาก เช็ดถหู น้าตา่ ง 45-60 นาที . เลน่ วอลเลย์บอล 45 นาที . . ทาสวนขดุ ดนิ 30-45 นาที . หมุนลอ้ รถเข็นขณะนงั่ (ผพู้ กิ าร) 30-40 นาที เดินประมาณ 2.8 กโิ ลเมตร 35 นาที หนัก : ใช้เวลาน้อย ชู๊ตลกู บาสเกตบอล 30 นาที ถีบจักรยาน ประมาณ 8 กโิ ลเมตร 30 นาที เต้นราจังหวะเรว็ 30 นาที คราดหญา้ โกยหญา้ 30 นาที เดนิ ประมาณ 3.2 กโิ ลเมตร 30 นาที ออกกาลังแบบแอโรบิกในนา้ 30 นาที ว่ายนา้ 20 นาที เล่นบาสเกตบอลล้อเข็น (ผ้พู ิการ) 20 นาที เลน่ บาสเกตบอล (ทมี ) 15-20 นาที ถบี จกั รยาน ประมาณ 6.4 กโิ ลเมตร 15 นาที กระโดเชือก 15 นาที วงิ่ ประมาณ 2.4 กิโลเมตร 15 นาที เดินขน้ึ บันได* 15 นาที *เดนิ ขึ้นบนั ได วันละ 5 เทยี่ ว เที่ยวละ 5 ชั้น หรอื เดนิ วันละ 10,000 ก้าว ท่มี า : กองกิจกรรมออกกาลงั , กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ , เอกสารเผยแพร่กองออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพ 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook