Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ

Published by panyaponphrandkaew2545, 2021-08-23 06:23:51

Description: เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการอาชีพ

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 1 ความรู้เบื้องต้นเกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์และอปุ กรณ์โทรคมนาคม ความหมายของคอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์(Computer)ซ่ึงหมายถึง การนบั หรือ การคาํ นวณ พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ใหค้ วามหมายของคอมพวิ เตอร์ไวว้ า่ \"เคร่ืองอิเลก็ ทรอนิกส์แบบอตั โนมตั ิ ทาํ หนา้ ท่ีเหมือนสมองกลใชส้ าํ หรับ แกป้ ัญหาตา่ งๆท่ีงา่ ยและซบั ซอ้ นโดยวธิ ีทางคณิตศาสตร์\"คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจกั รอิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีถูก สร้างข้ึนเพอื่ ใชท้ าํ งานแทนมนุษยใ์ นดา้ นการคิดคาํ นวณและสามารถจาํ ขอ้ มลู ท้งั ตวั เลขและตวั อกั ษรไดเ้ พื่อการ เรียกใชง้ านในคร้ังต่อไป นอกจากน้ียงั สามารถจดั การกบั สัญลกั ษณ์ไดด้ ว้ ยความเร็วสูง โดยปฏิบตั ิตามข้นั ตอน ของโปรแกรม คอมพวิ เตอร์ยงั มีความสามารถในดา้ นตา่ งๆ อีกมาก อาทิเช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งขอ้ มลู การจดั เก็บขอ้ มูลในตวั เครื่องและสามารถประมวลผลจากขอ้ มลู ตา่ งๆได้ ท้งั น้ีมีความตอ้ งการท่ี จะเรียกร้องคอมพิวเตอร์วา่ “เคร่ืองสมองกล \"แต่ไมเ่ ป็นท่ีนิยมจึงเรียกทบั ศพั ทว์ า่ “เครื่องคอมพวิ เตอร์\" องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ ตวั เครื่องของคอมพิวเตอร์ท่ีเราเห็นๆกนั อยนู่ ้ีเป็นเพยี งองคป์ ระกอบส่วนหน่ึงของระบบคอมพวิ เตอร์เท่าน้นั แต่ ถา้ ตอ้ งการใหเ้ ครื่องสามารถทาํ งานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพตามที่เราตอ้ งการน้นั จาํ เป็นตอ้ งอาศยั องคป์ ระกอบ พ้นื ฐาน 4 ประการ มาทาํ งานประสานร่วมกนั ซ่ึงองคป์ ระกอบพ้นื ฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบดว้ ย

1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง อปุ กรณ์ตา่ งๆ ที่ประกอบข้ึนเป็นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ มีลกั ษณะเป็นโครงสร้าง สามารมองเห็นดว้ ยตาและสมั ผสั ได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คียบ์ อร์ด เคร่ืองพมิ พ์ เมาส์ เป็นตน้ ซ่ึงสามารถแบ่ง ออกเป็น 4 ส่วน 1. หน่วยรับคาํ สั่งหรือขอ้ มลู (Input Unit: IU) ส่วนท่ีนาํ ขอ้ มูลจากภายนอกเขา้ สูเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์ เป็นตวั กลางเช่ือมโยงจากมนุษยส์ ู่เครื่องคอมพวิ เตอร์ (เสมือนเป็นประสาทสมั ผสั ของคอมพิวเตอร์ ในการรับคาํ ส่งั หรือขอ้ มลู เขา้ คอมพวิ เตอร์เพือ่ ประมวลผลต่อไป) ตวั อยา่ งอุปกรณ์ เช่น เมาส์,คียบ์ อร์ด,ไมค,์ สแกนเนอร์, เครื่องอ่านรหสั บาร์โคด้ เป็นตน้ 2.หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หน่วยประมวลผลกลางเป็ นศูนยก์ ลางการประมวลผลของท้งั ระบบ เปรียบเสมือนกองบญั ชาการหรือส่วนศีรษะ ของมนุษย์ ท่ีมีผบู้ ญั ชาการ หรือสมองอยภู่ ายใน ภายในหน่วยประมวลผลกลางน้ี จะเป็นการทาํ งานประสานกนั ระหวา่ ง 2 ส่วนหลกั คือ ส่วนประมวลผล และส่วนความจาํ หลกั 3.หน่วยความจาํ (Memory Unit) ทาํ หนา้ ที่เก็บชุดคาํ สงั่ หรือขอ้ มลู ในระหวา่ งการประมวลผล หรือที่ไดจ้ ากการประมวลผล แบ่งไดห้ ลกั ๆดงั น้ี 3.1หน่วยความจาํ หลกั (Main Memory) เป็นส่วนความจาํ พ้ืนฐานในคอมพวิ เตอร์ทกุ เครื่อง เป็นหัวใจของ การทาํ งานในรูปแบบอตั โนมตั ิ มีหนา้ ท่ีเกบ็ ขอ้ มลู ต่างๆที่ป้อนเขา้ มาเพือ่ ใหส้ ่วนประมวลผลนาํ ไปใช้ และเกบ็ ขอ้ มลู ที่เกี่ยวกบั คุณสมบตั ิและระบบการทาํ งานของเครื่องคอมพวิ เตอร์ 3.2หน่วยความจาํ สาํ รอง (Secondary Storage) เป็นหน่วยความจาํ ที่ใชใ้ นการเก็บชุดคาํ สั่งหรือขอ้ มลู ไว้ เมื่อ ตอ้ งการใชง้ านหรือประมวลผลกส็ ามารถอ่านมาได้ มีราคาถกู กวา่ หน่วยความจาํ หลกั เม่ือเทียบจากราคาต่อ ความจุ 4.หน่วยแสดงผล (Output Unit: OU) ทาํ หนา้ ท่ีในการแสดงผล ส่ิงที่คอมพิวเตอร์ตอ้ งการส่ือสารกบั คน หรือเพ่อื ใหค้ นไดเ้ ขา้ ใจ 2.ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนท่ีมนุษยส์ ัมผสั ไมไ่ ดโ้ ดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคาํ สง่ั ที่ ถูกเขียนข้ึนเพอ่ื สัง่ ใหเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์ทาํ งาน ซอฟตแ์ วร์จึงเป็นเสมือนตวั เช่ือมระหวา่ งผใู้ ชเ้ ครื่อง

คอมพิวเตอร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ถา้ ไม่มีซอฟตแ์ วร์เรากไ็ มส่ ามารถใชเ้ คร่ืองคอมพวิ เตอร์ทาํ อะไรไดเ้ ลย ซอฟตแ์ วร์แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ 1.ซอฟตแ์ วร์ระบบ (System Software) ซอฟตแ์ วร์ที่บริษทั ผผู้ ลิตสร้างข้ึนมาเพ่ือใชจ้ ดั การกบั ระบบ หนา้ ท่ีการทาํ งานของซอฟตแ์ วร์ระบบ คือ ดาํ เนินงานพ้นื ฐานตา่ งๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับขอ้ มลู จากแผงแป้นอกั ขระแลว้ แปลความหมายให้ คอมพวิ เตอร์เขา้ ใจ นาํ ขอ้ มลู ไปแสดงผลบนจอภาพหรือนาํ ออกไปยงั แป้นพิมพ์ จดั การขอ้ มลู ในระบบ แฟ้มขอ้ มูลบนหน่วยความจาํ สาํ รอง 2.ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ (Application Software) เป็นซอฟตแ์ วร์ท่ีใชก้ บั งานดา้ นต่างๆตามความตอ้ งการของผใู้ ช้ ท่ีสามารถนาํ มาใชป้ ระโยชน์ไดโ้ ดยตรง ปัจจุบนั นมีผพู้ ฒั นาซอฟตแ์ วร์ใชง้ านทางดา้ นต่างๆ ออกมาจาํ หน่ายอยา่ งมากมาย 3.บคุ ลากร บุคลากร คือ คนท่ีมีความรู้ความสามารถในการใชห้ รือควบคุมใหก้ ารใชค้ อมพวิ เตอร์เป็นไปอยา่ งาบร่ืน อาจจะ ประกอบดว้ ยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนช่วยกนั รับผดิ ชอบโครงสร้างของหน่วยงานคอมพิวเตอร์ 4.ขอ้ มูล (Data) เป็นองคป์ ระกอบที่สาํ คญั อยา่ งหน่ึงในระบบคอมพวิ เตอร์เป็นสิ่งที่ตอ้ งป้อนเขา้ ไปในคอมพวิ เตอร์พร้อมกบั โป รแกมท่ีนกั คอมพิวเตอร์เขียนข้ึนเพอ่ื ผลิตผลลพั ธท์ ี่ตอ้ งการออกมา ขอ้ มูลที่สามารถนาํ มาใชก้ บั คอทพวิ เตอร์ไดม้ ี 5 ประเภท - ขอ้ มูลตวั เลข (Numeric Data) -ขอ้ มูลตวั อกั ษร (Text Data) -ขอ้ มูลเสียง (Audio Data) -ขอ้ มูลภาพ (Images Data)

-ขอ้ มลู ภาพเคลื่อนไหว (Video Data) ความหมายและหน้าทขี่ องแป้นพมิ พ์ แป้นพิมพ์ คือ เป็นอปุ กรณ์สาํ หรับนาํ เขา้ ขอ้ มลู ข้นั พ้นื ฐาน ทาํ หนา้ ท่ีเช่ือมความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยก์ บั ระบบคอมพวิ เตอร์ โดยส่งคาํ สัง่ หรือขอ้ มูลจากผใู้ ชไ้ ปสู่หน่วยประมวลผลในระบบคอมพิวเตอร์ ภายใน แป้นพมิ พจ์ ะมีแผงวงจรหลกั ท่ีจะประกอบดว้ ยชิ้นส่วนอิเลก็ ทรอนิกส์จาํ นวนมาก ซ่ึงมีลกั ษณะเป็นแผ่นบางๆ ที่ ถูกฉาบดว้ ยหมึกท่ีเป็นตวั นาํ ไฟฟ้า เม่ือถูกกดจนติดกนั กจ็ ะมีกระแสไฟฟ้าไหลในตวั วงจร เมื่อผใู้ ชก้ ดแป้นใด แป้นหน่ึง ขอ้ มูลในรูปของสญั ญาณไฟฟ้าจากแป้นกดแต่ละแป้นจะถกู เปรียบเทียบรหสั (Scan Code) กบั รหสั มาตรฐานของแตล่ ะแป้นท่ีกด เพอ่ื เปลี่ยนใหเ้ ป็นตวั อกั ษร ตวั เลข หรือสญั ลกั ษณ์ไปแสดงบนจอภาพ การจดั วางตาํ แหน่งของตวั อกั ษรต่างๆ บนแป้นพิมพ์ ในส่วนของภาษาองั กฤษ แป้นพิมพโ์ ดยทวั่ ไปจะจดั แบบ QWERTY (ต้งั ชื่อตามตวั อกั ษรบริเวณแถวบนดา้ นซา้ ย) ตามมาตรฐานของสหรัฐอเมริกา แต่กย็ งั มีคนบางกลมุ่ ใชแ้ บบ Dvorak โดยคิดวา่ สามารถพมิ พไ์ ดเ้ ร็วกวา่ เนื่องจากแป้นพมิ พแ์ บบ QWERTY จงใจออกแบบมาเพอ่ื ไม่ใหพ้ ิมพไ์ ดเ้ ร็วเกินไป ต้งั แต่สมยั ของพิมพด์ ีดที่ไม่ใชไ้ ฟฟ้าหรือคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงกา้ นตวั พิมพม์ กั จะเกิดการ ขดั กนั เม่ือผใู้ ชพ้ ิมพเ์ ร็วเกินไป ในส่วนของแป้นพิมพภ์ าษาไทยกแ็ บง่ ออกได้ 2 แบบ เช่นกนั คือ แป้นพมิ พป์ ัตตโชติ ซ่ึงเป็ นแป้นพิมพร์ ุ่นเดิม แป้นพมิ พเ์ กษมณี ซ่ึงเป็นแป้นพมิ พท์ ่ีนิยมใชใ้ นปัจจุบนั วิธีการใช้และบํารุงรักษาเคร่ืองคอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม 1. ความปลอดภยั ของคอมพวิ เตอร์ (1) อยา่ จบั ตอ้ งอปุ กรณ์ภายในหากเครื่องคอมพิวเตอร์ยงั เปิ ดอยู่ (2) อยากเปิ ดปิ ดสวติ ชเ์ ครื่องคอมพิวเตอร์บ่อยๆ ถา้ โปรแกรมมีปัญหาใหก้ ด reset แทนการปิ ดเปิ ด

2. ความปลอดภยั ของผใู้ ช้ อนั ตรายท่ีเกิดจากไฟฟ้าดูด การใชป้ ลก๊ั เสียบคอมพิวเตอร์ตอ้ งใชป้ ลกั๊ เสียบ 3 ขา เพราะขาที่สามของปลก๊ั เสียบคอมพิวเตอร์มีสายต่อกบั ส่วนที่เป็นโลหะของอุปกรณ์จ่ายไฟ ซ่ึงยดึ ติดกบั กลอ่ ง ของคอมพวิ เตอร์เรียกวา่ สายดิน 2 สภาพแวดลอ้ มและการติดต้งั เครื่องคอมพิวเตอร์ สภาพแวดลอ้ มโดยทวั่ ไป อาจมีผลตอ่ สภาพจิตใจของพนกั งานโดยตรง โดยเฉพาะงานที่ตอ้ งอยกู่ บั เครื่องคอมพวิ เตอร์เป็นเวลานานๆ รวมท้งั ส่วนประกอบของระบบอ่ืนท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั คอมพวิ เตอร์ดว้ ย เช่น เมาส์ เคร่ืองพิมพ์ เป็นตน้ ขอ้ ควรปฏิบตั ิเก่ียวกบั การจดั สภาพแวดลอ้ มสาํ หรับงานคอมพิวเตอร์ มีดงั น้ี 1. การติดต้งั ตวั เครื่องคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ เมาส์ และอปุ กรณ์ประกอบอ่ืนควรใหเ้ กิดความสะดวกในการใช้ งาน ทาํ ใหก้ ารใชง้ านเป็นธรรมชาติมากท่ีสุด ไมค่ วรใหเ้ กิดอาการเซ็ง มีแนวทางปฏิบตั ิดงั น้ี 1) สถานที่ติดต้งั เคร่ืองและอุปกรณ์ ควรมีพ้นื ที่กวา้ งขวางมากพอที่จะทาํ ใหผ้ ใู้ ชเ้ คร่ืองคอมพวิ เตอร์สามารถ เคลื่อนไหวไดส้ ะดวก 2) แป้นพมิ พ์ ควรวางใหอ้ ยตู่ รงหนา้ ของผใู้ ชแ้ ละตรงกบั หนา้ จอดว้ ย เพราะจะสามารถปล่อยแขนใหห้ อ้ ยลง แนบกบั ลาํ ตวั ไดท้ นั ทีที่รู้สึกเมื่อย และทาํ ใหไ้ ม่ตอ้ งเก่งไรในขณะป้อนขอ้ มูล 3) เมาส์ ควรวางในระดบั เดียวกบั แป้นพมิ พ์ และวางในดา้ นที่ถนดั 2. การจดั วางคอมพิวเตอร์และเกา้ อ้ี ที่นงั่ ที่เหมาะสมนอกจากตอ้ งสัมผสั กนั ระหวา่ งโตะ๊ กบั เกา้ อ้ีท่ีใชง้ านแลว้ ยงั ควรใหเ้ หมาะสมกบั คนที่ใชเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์โตะ๊ และเกา้ อ้ีแบบปรับความสูงไดจ้ ะใหป้ ระโยชน์มากกวา่ เพราะสามารถปรับระดบั ในกรณีท่ีตอ้ งใชง้ านคอมพิวเตอร์ชุดเดียวกนั หลายๆคน ปัจจยั ที่ควรคาํ นึงถึงเมื่อตอ้ ง ปรับระดบั ของโตะ๊ หรือเกา้ อ้ี คือ 1) ระดบั ความสูงของโต๊ะและเกา้ อ้ีประมาณ 28-31 นิ้ว และ 16-21 นิ้ว ตามระดบั เพื่อทาํ ใหศ้ อกกบั ขอ้ มือ ของผใู้ ชใ้ นขนานกบั พ้นื 2) ไมท่ าํ ใหผ้ ใู้ ชม้ ีอาการเกรง บริเวณช่วงแขน มือ 3) นง่ั ทาํ งานใหช้ ่วงลา่ งของแผน่ หลงั พิงสนิทกบั พนกั เกา้ อ้ี

4) ควรจดั สรรพ้นื ท่ีวางบนโตะ๊ ไวบ้ างส่วน 3. การเคลื่อนไหวมือและแขนเป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนบ่อยท่ีสุด และหลีกเล่ียงไมไ่ ดใ้ นการทาํ งานดงั น้นั ควรใหก้ าร เคล่ือนไหวเป็นธรรมชาติที่สุด เพราะจะทาํ ใหท้ าํ งานไดเ้ ป็นเวลานาน จึงควรปฏิบตั ิดงั น้ี 1) ในขณะป้อนขอ้ มลู ควรใชป้ ลายนิ้วและขอ้ มืออยใู่ นระดบั และแนวเดียวกนั 2) อยา่ ใหข้ อ้ ศอกอยชู่ ิดและห่างลาํ ตวั เกินไป 3) ในขณะใชแ้ ป้นพมิ พ์ เมาส์ หรืออุปกรณ์อ่ืนๆ ควรใหม้ ืออยใู่ นท่าที่เป็นธรรมชาติ 4) ควรมีการบริหารนิ้วมือในขณะป้อนขอ้ มูล ดว้ ยวธิ ีการกาํ มือใหแ้ น่นแลว้ คลายออก 5) ควรจบั เมาส์เบาๆและวางนิ้วช้ีกบั นิ้วกลางบนป่ ุมกดท้งั สองของมือ 4. มมุ มองจอภาพและการถนอมสายตา หมายถึง ระดบั ของการมองจอภาพรวมท้งั การจดั แสงสวา่ งภายในหอ้ ง เพือ่ ใหไ้ ม่เม่ือยสายตาไหล่และบริเวณลาํ คอ มีแนวทางปฏิบตั ิดงั น้ี 1) ใหจ้ อภาพอยตู่ รงหนา้ ผใู้ ชง้ านโดยห่างจากตาของผใู้ ชป้ ระมาณ 20 ถึง 36 นิ้ว 2) ระดบั ขอบบนของจอภาพตอ้ งไมส่ ูงกวา่ ระดบั สายตาของผใู้ ช้ 3) ใหเ้ กิดแสงสะทอ้ นจากสภาพสูตรอาผใู้ ชน้ อ้ ยท่ีสุด 4) อยา่ ปรับความสวา่ งของจอภาพ 5) หอ้ งทาํ งานควรปรับความสวา่ งได้ 6) ควรพกั สายตาเป็นระยะๆ 3 ขอ้ ควรระวงั เก่ียวกบั การใชค้ อมพิวเตอร์ 1) ไม่ควรนาํ เอาอปุ กรณ์สาํ รองของขอ้ มูลออกจากเครื่องอ่าน 2) ไมค่ วรปิ ดเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดท่ีไฟของฮาร์ดดิสกต์ ิดอยู่ 3) ไม่ควรเปิ ดจอภาพทิ้งไวน้ านๆ 4) เม่ือปิ ดเคร่ืองคอมพวิ เตอร์แลว้ ไมค่ วรเปิ ดเครื่องคอมพิวเตอร์ทนั ที

5) ไมค่ วรเสียบสายไฟคา้ งไวท้ ่ีเตา้ เสียบ 6) การเกบ็ ขอ้ มูล ไมค่ วรเกบ็ ชุดเดียวควรทาํ แฟ้มสาํ รองขอ้ มลู ไวห้ ลายชุด หน่วยที่ 2 ระบบเครือข่ายและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.1ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( Computer Network ) หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ต้งั แต่ 2 เครื่องข้ึน ไปเขา้ ดว้ ยกนั ดว้ ยสายเคเบิล หรือส่ืออื่นๆ ทาํ ใหค้ อมพิวเตอร์สามารถรับส่งขอ้ มูลแก่กนั และกนั ไดใ้ นกรณีที่เป็น การเช่ือมต่อระหวา่ งเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆ เคร่ืองเขา้ กบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เป็นศูนยก์ ลาง เรา เรียกคอมพิวเตอร์ท่ีเป็นศูนยก์ ลางน้ีวา่ โฮสต์ (Host) และเรียกคอมพวิ เตอร์ขนาดเลก็ ท่ีเขา้ มาเชื่อมต่อว่า ไคลเอนต์ (Client)ระบบเครือข่าย (Network) จะเช่ือมโยงคอมพวิ เตอร์เขา้ ดว้ ยกนั เพอื่ การติดตอ่ ส่ือสาร เรา สามารถส่งขอ้ มูลภายในอาคาร หรือขา้ มระหวา่ งเมืองไปจนถึงอีกซีกหน่ึงของโลก ซ่ึงขอ้ มูลตา่ งๆ อาจเป็นท้งั ขอ้ ความ รูปภาพ เสียง ก่อใหเ้ กิดความสะดวก รวดเร็วแก่ผใู้ ช้ ซ่ึงความสามารถเหล่าน้ีทาํ ใหเ้ ครือขา่ ย คอมพิวเตอร์มีความสาํ คญั และจาํ เป็นตอ่ การใชง้ านในแวดวงตา่ งๆ แลว้ ทาํ ไมเราถึงตอ้ งใชเ้ ครือข่าย หรือระบบคอมพวิ เตอร์เครือขา่ ย การที่เรานาํ เอาเคร่ืองคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อ กนั เราจะสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากระบบ หรือระบบสามารถทาํ อะไรไดบ้ า้ ง ทาํ ใหใ้ ชท้ รัพยากร ของเคร่ือง คอมพิวเตอร์ ร่วมกนั ได้ (Resources Sharing) ซ่ึงเป็นการช่วย ประหยดั ค่าใชจ้ ่าย และเพม่ิ ความสะดวก ในการ ใชง้ าน เช่น การใชพ้ ้นื ที่บนฮาร์ดดิสก์ และเครื่องพิมพร์ ่วมกนั สามารถบริหารจดั การการทาํ งานของ คอมพวิ เตอร์ทุกเครื่อง ไดจ้ ากศนู ยก์ ลาง (Centralized Management) เช่น สร้างเวิร์กกรุป กาํ หนดสิทธ์ิในการ เขา้ ถึงขอ้ มูล และสามารถทาํ การ สาํ รองขอ้ มูล ของแตล่ ะเคร่ืองได้ สามารถทาํ การส่ือสาร ภายในเครือข่าย (Communication) ไดห้ ลายรูปแบบ เช่น อีเมล,์ แชท (Chat), การประชุมทางไกล (Teleconference), และ การ ประชุมทางไกล แบบเห็นภาพ (Video Conference)มีระบบรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มลู บนเครือขา่ ย

(Network Security) เช่นสามารถ ระบผุ ทู้ ี่มีสิทธ์ิเขา้ ถึงขอ้ มลู ในระดบั ต่างๆ ป้องกนั ผทู้ ี่ไม่ไดร้ ับอนุญาติ เขา้ ถึง ขอ้ มลู และใหก้ ารคุม้ ครอง ขอ้ มูลท่ีสาํ คญั ใหค้ วามบนั เทิงไม่รู้จบ (Entertainment)เช่น สามารถสนุกกบั การเล่น เกมส์ แบบผเู้ ลน่ หลายคน หรือท่ีเรียกวา่ มลั ติ เพลเยอร์(Multi Player) ท่ีกาํ ลงั เป็นท่ีนิยมกนั อยใู่ นเวลาน้ีได้ ใชง้ านอินเทอร์เน็ตร่วมกนั (Internet Sharing) เพยี งต่อเขา้ อินเทอร์เน็ต จากเคร่ืองหน่ึงในเครือข่าย โดยมีแอค เคาทเ์ พยี งหน่ึงแอคเคาท์ ก็ทาํ ใหผ้ ใู้ ชอ้ ีกหลายคน ในเครือขา่ ยเดียวกนั สามารถใชง้ านอินเทอร์เนต็ ได้ เสมือนกบั มีหลายแอคเคาท์ ฯลฯ ระบบเครือข่ายชนิดต่างๆ ระบบเครือขา่ ย สามารถเรียกได้ หลายวิธี เช่นตามรูปแบบ การเชื่อมต่อ (Topology) เช่น แบบบสั (bus), แบบ ดาว (star), แบบวงแหวน (ring)หรือจะเรึยกตามขนาด หรือระยะทางของระบบกไ็ ด้ เช่นแลน (LAN), แวน (WAN), แมน (MAN) นอกจากน้ี ระบบเครือข่าย ยงั สามารถ เรียกไดต้ าม เทคโนโลยที ี่ไช้ ในการส่งผา่ นขอ้ มลู เช่น เครือข่าย TCP/IP, เครือข่ายIPX, เครือขา่ ย SNA หรือเรียกตาม ชนิดของขอ้ มลู ท่ีมีการส่งผา่ น เช่นเครือขา่ ย เสียงและวิดีโอ เรายงั สามารถจาํ แนกเครือข่ายได้ ตามกล่มุ ที่ใชเ้ ครือขา่ ย เช่น อินเตอร์เนต็ (Internet), เอก็ ซ์ตร้าเน็ต (Extranet), อินทราเนต็ (Intranet), เครือข่ายเสมือน (Virtual Private Network) หรือเรียก ตามวธิ ีการ เช่ือมต่อทางกายภาพ เช่นเครือข่าย เสน้ ใยนาํ แสง, เครือข่ายสายโทรศพั ท,์ เครือข่ายไร้สาย เป็นตน้ จะเห็นไดว้ า่ เราสามารถจาํ แนก ระบบเครือข่าย ไดห้ ลากหลายวิธี ตามแต่วา่ เราจะพูดถึง เครือข่ายน้นั ในแง่มมุ ใด เราจาํ แนก ระบบเครือข่าย ตามวธิ ีท่ีนิยมกนั 3 วธิ ีคือ รูปแบบการเชื่อมตอ่ (Topology), รูปแบบการสื่อสาร (Protocol), และ สถาปัตยกรรม เครือขา่ ย (Architecture) การจาํ แนกระบบเครือข่าย ตามรูปแบบการเช่ือมต่อ (Topology)จะบอกถึงรูปแบบ ที่ทาํ การ เช่ือมต่ออปุ กรณ์ ใน เครือข่ายเขา้ ดว้ ยกนั ซ่ึงมีรูปแบบท่ีนิยมกนั 3 วิธีคือ แบบบัส (bus)

ในระบบเครือข่าย โทโปโลยแี บบ BUS นบั วา่ เป็ นแบบโทโปโลยีท่ีไดร้ ับความนิยมใชก้ นั มากท่ีสุดมา ต้งั แต่ อดีตจนถึงปัจจุบนั เหตผุ ลอยา่ งหน่ึงกค็ ือสามารถติดต้งั ระบบ ดูแลรักษา และติดต้งั อปุ กรณ์เพิ่มเติมไดง้ ่าย ไม่ ตอ้ งใชเ้ ทคนิคท่ียงุ่ ยากซบั ซอ้ น ลกั ษณะการทาํ งานของเครือข่ายโทโปโลยแี บบ BUS คืออปุ กรณ์ทุกช้ินหรือ โหนดทกุ โหนด ในเครือขา่ ยจะตอ้ งเชื่อมโยงเขา้ กบั สายสื่อสารหลกั ท่ีเรียกวา่ \"บสั \" (BUS) เมื่อโหนดหน่ึง ตอ้ งการจะส่งขอ้ มลู ไปให้ยงั อีกโหนด หน่ึงภายในเครือข่าย ขอ้ มูลจากโหนดผสู้ ่ง จะถกู ส่งเขา้ สู่สายบสั ในรูป ของแพก็ เกจ ซ่ึงแต่ละแพก็ เกจจะประกอบดว้ ยตาํ แหน่งของ ผสู้ ่งและผรู้ ับ และขอ้ มูล การสื่อสารภายในสายบสั จะเป็นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยงั ปลายท้งั 2 ดา้ นของบสั โดยตรงปลายท้งั 2 ดา้ นของบสั จะมีเทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) ทาํ หนา้ ที่ดูดกลืนสัญญาณ เพอ่ื ป้องกนั ไม่ใหส้ ญั ญาณขอ้ มลู น้นั สะทอ้ นกลบั เขา้ มายงั บสั อีก เป็น การป้องกนั การชนกนั ของสญั ญาณ ขอ้ มลู อื่น ๆ ที่เดินทางอยบู่ นบสั สญั ญาณขอ้ มลู จากโหนดผสู้ ่ง เมื่อเขา้ สู่บสั จะไหลผา่ นไปยงั ปลายท้งั 2 ขา้ งของบสั แต่ละโหนดท่ีเชื่อมต่อเขา้ กบั บสั จะคอยตรวจดูวา่ ตาํ แหน่งปลายทาง ที่มากบั แพก็ เกจขอ้ มลู น้นั ตรงกบั ตาํ แหน่งของตนหรือไม่ ถา้ ใช่กจ็ ะรับขอ้ มลู น้นั เขา้ มาสู่โหนดตน แต่ถา้ ไม่ใช่ กจ็ ะปลอ่ ยใหส้ ัญญาณขอ้ มูลน้นั ผา่ นไป จะเห็นวา่ ทกุ ๆ โหนดภายในเครือข่ายแบบ BUS น้นั สามารถรับรู้ สัญญาณขอ้ มูลได้ แต่จะมเี พยี งโหนดปลายทางเพียงโหนดเดียวเท่าน้นั ท่ีจะรับขอ้ มลู น้นั ไปได้ การควบคุมการสื่อสารภายในเครือขา่ ยแบบ BUS มี 2 แบบคือแบบควบคุมดว้ ยศนู ยก์ ลาง (Centralized) ซ่ึงจะมี โหนดหน่ึง ที่ทาํ หนา้ ท่ีเป็ นศนู ยก์ ลางควบคุมการส่ือสารภายในเครือขา่ ย ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นไฟลเ์ ซิร์ฟเวอร์ การ ควบคุมแบบกระจาย (Distributed) ทกุ ๆ โหนดภายในเครือข่าย จะมีสิทธิในการควบคุมการสื่อสาร แทนที่จะ เป็นศูนยก์ ลางควบคุมเพยี งโหนดเดียว ซ่ึงโดยทว่ั ไปคูโ่ หนดที่กาํ ลงั ทาํ การส่ง-รับ ขอ้ มลู กนั อยจู่ ะเป็นผคู้ วบคุม การสื่อสารในเวลาน้นั ขอ้ ดีขอ้ เสียของโทโปโลยแี บบบสั แบบดาว (star)

เป็นหลกั การส่งและรับขอ้ มูล เหมือนกบั ระบบโทรศพั ท์ การควบคุมจะทาํ โดยสถานีศูนยก์ ลาง ทาํ หนา้ ท่ีเป็น ตวั สวติ ชิ่ง ขอ้ มลู ท้งั หมดในระบบเครือข่าย จะตอ้ งผ่านเครื่องคอมพวิ เตอร์ศนู ยก์ ลาง (Center Comtuper)เป็น การเชื่อมโยงการติดต่อส่ือสาร ท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยกบั รูปดาว (STAR)หลายแฉก โดยมีศนู ยก์ ลางของดาว หรือฮบั เป็นจุดผา่ นการติดตอ่ กนั ระหวา่ งทุกโหนดในเครือข่าย ศูนยก์ ลาง จึงมีหนา้ ที่เป็นศูนยค์ วบคุมเสน้ ทางการ ส่ือสารท้งั หมด นอกจากน้ีศูนยก์ ลางยงั ทาํ หนา้ ท่ี เป็นศูนยก์ ลางขอ้ มูลอีกดว้ ย การสื่อสารภายในเครือข่ายแบบ STAR จะเป็นแบบ 2 ทิศทาง โดยจะอนุญาตใหม้ ีเพยี งโหนดเดียวเท่าน้นั ที่ สามารถส่งขอ้ มูลเขา้ สู่เครือขา่ ยได้ จึงไมม่ ีโอกาสที่หลายๆ โหนดจะส่งขอ้ มูลเขา้ สู่เครือข่ายในเวลาเดียวกนั เพอ่ื ป้องกนั การชนกนั ของสัญญาณขอ้ มลู เครือขา่ ยแบบ STAR เป็นโทโปโลยี อีกแบบหน่ึง ที่เป็นท่ีนิยมใชก้ นั ใน ปัจจุบนั ขอ้ ดีของเครือข่ายแบบSTAR คือการติดต้งั เครือข่ายและการดูแลรักษาทาํ ไดง้ า่ ย หากมีโหนดใดเกิด ความเสียหาย ก็สามารถตรวจสอบไดง้ ่าย และศูนยก์ ลางสามารถตดั โหนดน้นั ออกจากการสื่อสาร ในเครือข่าย ได้ แบบวงแหวน (ring) เครือขา่ ยแบบ RING เป็นการส่งขา่ วสารที่ส่งผา่ นไปในเครือขา่ ย ขอ้ มูลขา่ วสารจะไหลวนอยใู่ นเครือข่าย ไป ในทิศทางเดียว เหมือนวงแหวน หรือ RING นน่ั เอง โดยไมม่ ีจุดปลาย หรือเทอร์มิเนเตอร์ เช่นเดียวกบั เครือขา่ ย แบบ BUS ในแตล่ ะโหนดหรือสเตชน่ั จะมีรีพตี เตอร์ประจาํ โหนด 1 เคร่ือง ซ่ึงจะทาํ หนา้ ท่ีเพม่ิ เติมข่าวสารที่

จาํ เป็นต่อการส่ือสาร ในส่วนหวั ของแพก็ เกจขอ้ มลู สาํ หรับการส่งขอ้ มูลออกจากโหนด และมีหนา้ ท่ีรับแพก็ เกจ ขอ้ มลู ท่ีไหลผา่ นมาจากสายสื่อสาร เพือ่ ตรวจสอบว่าเป็นขอ้ มลู ที่ส่งมาใหโ้ หนดตนหรือไม่ ถา้ ใช่ก็จะคดั ลอก ขอ้ มลู ท้งั หมดน้นั ส่งต่อไปใหก้ บั โหนดของตน แตถ่ า้ ไมใ่ ช่กจ็ ะปลอ่ ยขอ้ มลู น้นั ไปยงั รีพตี เตอร์ของโหนดถดั ไป โทโปโลยี แบบผสม (Hybrid Topology) เป็นเครือขา่ ยการส่ือสารขอ้ มลู แบบผสมระหวา่ งเครือข่ายแบบใดแบบหน่ึงหรือมากกวา่ เพอ่ื ความถกู ตอ้ ง แน่นอน ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ความตอ้ งการและภาพรวมขององคก์ ร 2.2 เทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยี หมายถึง วธิ ีการปฏิบตั ิที่มีการจดั ลาํ ดบั อยากมีรูปแบบและข้นั ตอนเพ่อื ที่จะทาํ ใหเ้ กิดประสิทธิภาพ ในเร่ืองของความรวดเร็ว ความน่าเชื่อถือ ความถูกตอ้ ง เป็นตน้ สารสนเทศ หมายถึง ขอ้ มูลดิบท่ีไดผ้ า่ นการประมวลผลจากคอมพิวเตอร์มาแลว้ คือ ผา่ นการคาํ นวณ การจดั เรียง การเปรียบเทียบ เป็นตน้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ หมายถึง วธิ ีการปฏิบตั ิที่มีการจดั ลาํ ดบั อยา่ งมีรูปแบบและข้นั ตอนเพือ่ ที่จะทาํ ใหเ้ กิด ประสิทธิภาพในเรื่องของความรวดเร็ว ความน่าเชื่อถือ ความถกู ตอ้ ง ซ่ึงเป็นเทคโนโลยที ่ีมีการนาํ คอมพวิ เตอร์ การส่ือสาร การโทรคมนาคม และเทคโนโลยสี าํ หรับการผลิตในโรงงานอตุ สาหกรรมมาทาํ งานร่วมกนั เพื่อทาํ ใหเ้ กิดการแลกเปล่ียนสารสนเทศ โดยนาํ ขอ้ มลู ป้อนเขา้ สู่เครื่องคอมพวิ เตอร์ และทาํ การประมวลผลเพื่อให้ ไดผ้ ลลพั ธ์ตามตอ้ งการ 2.3 บทบาทของระบบสารสนเทศ

บทบาทความสาํ คญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ความกา้ วหนา้ ทางดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาํ ใหม้ ีการพฒั นาคิดคน้ ส่ิงอาํ นวยความสะดวกสบาย ต่อการดาํ ชีวิตเป็นอนั มาก เทคโนโลยไี ดเ้ ขา้ มาเสริมปัจจยั พ้นื ฐานการดาํ รงชีวิตไดเ้ ป็นอยา่ งดี เทคโนโลยที าํ ให้ การสร้างที่พกั อาศยั มีคุณภาพมาตรฐาน สามารถผลิตสินคา้ และใหบ้ ริการต่าง ๆ เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการ ของมนุษยม์ ากข้ึน เทคโนโลยที าํ ใหร้ ะบบการผลิตสามารถผลิตสินคา้ ไดเ้ ป็นจาํ นวนมากมีราคาถกู ลง สินคา้ ได้ คุณภาพ เทคโนโลยที าํ ใหม้ ีการติดตอ่ สื่อสารกนั ไดส้ ะดวก การเดินทางเชื่อมโยงถึงกนั ทาํ ใหป้ ระชากรในโลก ติดตอ่ รับฟังขา่ วสารกนั ไดต้ ลอดเวลา พฒั นาการของเทคโนโลยที าํ ใหช้ ีวติ ความเป็ นอยเู่ ปล่ียนไปมาก ลองยอ้ นไปในอดีตโลกมีกาํ เนินมา ประมาณ 4600 ลา้ นปี เช่ือกนั วา่ พฒั นาการตามธรรมชาติทาํ ใหเ้ กิดสิ่งมีชีวติ ถือกาํ เนินบนโลกประมาณ 500 ลา้ น ปี ท่ีแลว้ ยคุ ไดโนเสาร์มีอายอุ ยใู่ นช่วง 200 ลา้ นปี สิ่งมีชีวิตท่ีเป็นเผา่ พนั ธุ์มนุษย์ ค่อย ๆ พฒั นามา คาดคะเนวา่ เมื่อหา้ แสนปี ท่ีแลว้ มนุษยส์ ามารถส่งสัญญาณทา่ ทางสื่อสารระหวา่ งกนั และพฒั นามาเป็นภาษา มนุษยส์ ามารถ สร้างตวั หนงั สือ และจารึกไวต้ ามผนึกถ้าํ เม่ือประมาณ 5000 ปี ที่แลว้ กลา่ วไดว้ า่ มนุษยต์ อ้ งใชเ้ วลานาน พอสมควรในการพฒั นาตวั หนงั สือที่ใชแ้ ทนภาษาพดู และจากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์พบวา่ มนุษยส์ ามารถ จดั พมิ พห์ นงั สือไดเ้ มื่อประมาณ 5000 ปี ที่แลว้ กลา่ วไดว้ า่ ฐานทางประวตั ิศาสตร์พบวา่ มนุษยส์ ามารถจดั พมิ พ์ หนงั สือไดเ้ มื่อประมาณ 500 ถึง 800 ปี ท่ีแลว้ เทคโนโลยเี ร่ิมเขา้ มาช่วยในการพิมพ์ ทาํ ใหก้ ารสื่อสารดว้ ยขอ้ ความและภาษาเพ่มิ ข้ึนมาก เทคโนโลยี พฒั นามาจนถึงการสื่อสารกนั โดยส่งขอ้ ความเป็นเสียงทางสายโทรศพั ทไ์ ดป้ ระมาณร้อยกวา่ ปี ท่ีแลว้ และเม่ือ ประมาณหา้ สิบปี ท่ีแลว้ ก็มีการส่งภาพโทรทศั นแ์ ละคอมพวิ เตอร์ทาํ ใหม้ ีการใชส้ ารสนเทศในรูปแบบข่าวสาร มากข้ึน ในปัจจุบนั มีสถานที่วิทยุ โทรทศั น์ หนงั สือพมิ พ์ แ ละส่ือตา่ ง ๆ ท่ีใชใ้ นการกระจ่ายขา่ วสาร มีการแพร่ ภาพทางโทรทศั น์ผา่ นดาวเทียมเพื่อรายงานเหตุการณ์สด เห็นไดช้ ดั วา่ เทคโนโลยไี ดเ้ ขา้ มามีบทบาทอยา่ งมาก บทบาทของการพฒั นาเทคโนโลยรี วดเร็วข้ึนเมื่อมีการพฒั นาอุปกรณ์ทางดา้ นคอมพวิ เตอร์และส่วนประกอบ จะเห็นไดว้ า่ ในช่วงสี่หา้ ปี ท่ีผา่ นมาจะมีผลิตภณั ฑใ์ หม่ ซ่ึงมีคอมพิวเตอร์เขา้ ไปเกี่ยวขอ้ งใหเ้ ห็นอยตู่ ลอดเวลา 2.4 ระบบสารสนเทศทใ่ี ช้คอมพวิ เตอร์ ระบบสารสนเทศท่ีใชค้ อมพิวเตอร์ (Computer-Based Information Systems : CBIS) ระบบสารสนเทศที่ใชค้ อมพวิ เตอร์ประกอบดว้ ย ฮาร์ดแวร์ (Hardware), ซอฟตแ์ วร์ (Software), ขอ้ มูล(Data), บคุ คล (People), ขบวนการ (Procedure) และการสื่อสารขอ้ มูล (Telecommunication) ซ่ึงถูกกาํ หนดข้ึนเพ่ือทาํ

การรวบรวม, จดั การ จดั เก็บและประมวลผลขอ้ มลู ใหเ้ ป็นสารสนเทศ แสดงส่วนประกอบของระบบ สารสนเทศท่ีใชค้ อมพวิ เตอร์ 1. ฮาร์ดแวร์ คืออปุ กรณ์ทางกายภาพ ที่ใชใ้ นการรวบรวม การนาํ เขา้ และการจดั เก็บขอ้ มลู , ประมวลผล ขอ้ มูล ใหเ้ ป็นสารสนเทศ และแสดงสารสนเทศที่เป็นผลลพั ธ์ออกมา 2. ซอฟตแ์ วร์ ประกอบดว้ ยกล่มุ ของโปรแกรมท่ีใชใ้ นการปฏิบตั ิงานร่วมกบั ฮาร์ดแวร์และใชใ้ นการประมวลผล ขอ้ มลู เป็นสารสนเทศ 3. ขอ้ มูล ในส่วนน้ีหมายถงึ ขอ้ มลู และสารสนเทศที่ถกู เก็บอยใู่ นฐานขอ้ มลู โดยฐานขอ้ มลู (Database) หมายถึง กลุม่ ของคา่ ความจริงและสารสนเทศท่ีมีความเกี่ยวขอ้ งกนั นน่ั เอง 4. บคุ คล หมายถึงบุคคลที่ใชง้ านและปฏิบตั ิงานร่วมกบั ระบบสารสนเทศ 5. ขบวนการ หมายถึงกลุ่มของคาํ ส่งั หรือกฎ ที่แนะนาํ วธิ ีการปฏิบตั ิงานกบั คอมพวิ เตอร์ในระบบสารสนเทศ ซ่ึง อาจไดแ้ ก่การแนะนาํ การควบคุมการเขา้ ใชง้ านคอมพิวเตอร์, วธิ ีการสาํ รองสารสนเทศในระบบและวธิ ีจดั การ กบั ปัญหาท่ีอาจเกิดข้ึนได้ 6. การสื่อสารขอ้ มลู หมายถึงการส่งสัญญาณอิเลก็ ทรอนิกส์เพ่ือติดตอ่ ส่ือสาร และช่วยใหอ้ งคก์ รสามารถเช่ือม ระบบคอมพิวเตอร์เขา้ กบั ระบบเครือขา่ ย (Network) ที่มีประสิทธิภาพได้ โดยเครือข่ายใชใ้ นการเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ไวด้ ว้ ยกนั อาจจะเป็นภายในอาคารเดียวกนั ในประเทศเดียวกนั หรือทว่ั โลก เพือ่ ใหส้ ามารถสื่อสารขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนิกส์ได้ 2.5 ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ ความหมายของระบบสารสนเทศเพอ่ื การจดั การ ระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ (Management Information Systems) (MIS) เป็นระบบเกี่ยวกบั การจดั หาคน หรือขอ้ มูลท่ีสัมพนั ธก์ บั ขอ้ มูล เพือ่ การดาํ เนินงานขององคก์ าร เช่น การใช้ MIS เพื่อช่วยเหลือกิจกรรม ของลูกจา้ ง เจา้ ของกิจการ ลูกคา้ และบคุ คลอื่นที่เจา้ มาเก่ียวขอ้ งกบั องคก์ าร การประมวลผลของขอ้ มูลจะช่วย แบ่งภาระการ ทาํ งานและยงั สามารถนาํ สารสนเทศมา ช่วยในการตดั สินใจของผบู้ ริหาร หรือMIS เป็นระบบซ่ึง รวมความสามารถของผใู้ ชง้ านและคอมพิวเตอร์เขา้ ดว้ ยกนั โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อใหไ้ ดม้ าซ่ึงสารสนเทศเพ่อื การดาํ เนินงานการจดั การ และการตดั สินใจในองคก์ าร หรือ MIS หมายถึงการเก็บรวบรวมขอ้ มลู การ

ประมวลผล และการสร้างสารสนเทศข้ึนมาเพือ่ ช่วยในการตดั สินใจ การประสานงาน และการควบคุม นอกจากน้นั ยงั ช่วยผบู้ ริหาร และ พนกั งานในการวเิ คราะห์ปัญหา แกป้ ัญหา และสร้างผลิตภณั ฑใ์ หม่ โดย MIS จะตอ้ งใชอ้ ปุ กรณ์ทางคอมพวิ เตอร์ (Hardware) และ โปรแกรม (Software) ร่วมกบั ผใู้ ช้ (Peopleware) เพือ่ ก่อใหเ้ กิดความสาํ เร็จในการไดม้ าซ่ึงสารสนเทศที่มีประโยชน์ การใชง้ านระบบสารสนเทศเพอ่ื การจดั การ (Management Information Systems) ไดข้ ยายขอบเขตเก่ียว ขอ้ ง กบั หลายหนา้ ที่ในองคก์ ารและเป็นประโยชนก์ บั บุคคลหลายระดบั ต้งั แต่การใชง้ านส่วนบคุ คล กลุ่ม องคก์ าร และระหวา่ งหน่วยงาน MIS ช่วยใหผ้ ใู้ ชส้ ารสนเทศสามารถแกไ้ ขปัญหาทางธุรกิจที่ยงุ่ ยาก และซบั ซอ้ นไดอ้ ยา่ ง มีประสิทธิภาพ ตลอดจนสร้างโอกาสทางธุรกิจ ให้กบั หลายองคก์ าร ดงั ท่ี Kroenke และHatch (1994) กลา่ วถึง ความสาํ คญั และผลกระทบของระบบสารสเทศที่มีต่อธุรกิจดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ระบบสารสนเทศช่วยสร้างคุณค่าเพิม่ ใหก้ บั การทาํ งาน 2. บุคลากรทุกคนตอ้ งมีความรู้เกี่ยวกบั MIS เน่ืองจากปัจจุบนั มีการพฒั นาและการใชง้ านสารสนเทศทวั่ องคก์ าร ตลอดจนการขยาย ตวั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการปรับรูปของระบบงานอยา่ งตอ่ เน่ือง 3. การประยกุ ตเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เพือ่ ตอบสนองต่อความตอ้ งการของธุรกิจและการบรรลุเป้าหมาย ขององคก์ ารมากข้ึน ปัจจุบนั เทคโนโลยี MIS มีพฒั นาการมากข้ึนจนมีความสาํ คญั ต่อเราในหลายระดบั ที่แตกตา่ งจากอดีต เราจะเห็นวา่ เทคโนโลยสี ารสนเทศมีความจาํ เป็นและความสาํ คญั สาํ หรับผศู้ ึกษาและปฏิบตั ิงานในสาขาต่าง ๆ เช่น การบญั ชี การเงิน การตลาด และการจดั การทรัพยากรบคุ คล แมก้ ระทง่ั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศิลป ศาสตร์ ดงั น้นั บคุ ลากรท่ีจะปฏิบตั ิงาน ในทุกสาขา จึงสมควรมีความรู้และความเขา้ ใจในหลกั การของ MIS เพื่อใหก้ ารทาํ งานมีประสิทธิภาพและประสบผลสาํ เร็จในอาชีพได้ Laudon และ Laudon (1994) กลา่ ววา่ การเปลี่ยนแปลงท่ีมีผลต่อสภาพแวดลอ้ มในการแข่งขนั ทางธุรกิจมี 2 ประการคือ 1. การรวมตวั ของระบบเศรษฐกิจโลก (Emergence of the Global Economy) ก่อใหเ้ กิดกระบวนการโลกา ภิวตั น์ ของตลาด (Globalization of Markets) ท่ีเกิดการบรู ณาการของทรัพยากรทางธุรกิจและการแขง่ ขนั ทวั่ โลก ธุรกิจขยาย งานครอบคลมุ พ้นื ท่ีกวา้ งขวางจากระดบั ทอ้ งถ่ินสู่ระดบั ประเทศ จากระดบั ประเทศสู่ระดบั

ภูมิภาค และจากระดบั ภูมิภาคสู่ ระดบั โลก โดยท่ีการขยายตวั ของธุรกิจไม่เพียงแต่เป็นการกระจายสินคา้ และ บริการอยา่ งเป็นระบบและทวั่ ถึง แตค่ รอบคลุม การจดั ต้งั การจดั เตรียม ทรัพยากร การผลิตและดาํ เนินงาน ดงั น้นั องคก์ ารธุรกิจในยคุ โลกาภิวตั น์จึง ตอ้ งมีโครงสร้าง องคก์ ารและการ ประสานงานท่ีสอดรับและสามารถ ควบคุมอยา่ งมีประสิทธิภาพ 2. การปรับรูปของระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (Transformation of Industrial Economies) ประเทศ อุตสาหกรรม ช้นั นาํ เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา ยโุ รปตะวนั ตก และญี่ป่ นุ ปรับตวั จากระบบ เศรษฐกิจ อุตสาหกรรมเขา้ สู่ ระบบเศรษฐกิจที่อาศยั เทคโนโลยที ี่ทนั สมยั ซ่ึงจะเห็นไดจ้ ากประมาณร้อยละ 70 ของรายได้ ประชาชาติของประเทศท่ีพฒั นาแลว้ จะมาจากธุรกิจบริการ และธุรกิจที่ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ ในการสร้าง มูลคา่ เพ่มิ (Value Added) การปรับรูปของระบบเศรษฐกิจจากอุตสาหกรรมเขา้ สู่ธุรกิจบริการ ส่งผลกระทบต่อ การคา้ และการลงทนุ เช่น การแข่งขนั ทวคี วามรุนแรงและซบั ซอ้ นข้ึน วงจรชีวติ ของผลิตภณั ฑ์ และบริการส้ัน ลง ธุรกิจตอ้ งตอบสนองและสร้างความพอใจแก่ลูกคา้ เป็นตน้ ทาํ ใหธ้ ุรกิจตอ้ งการบุคลากรท่ีมี ความรู้ (Knowledge Worker) ในการสร้างคุณค่าเพิม่ ใหแ้ ก่องคก์ าร ส่งผลใหธ้ ุรกิจตอ้ งพฒั นา ทรัพยากรบคุ คลอยา่ ง ตอ่ เน่ือง ระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การ หมายถึง ระบบท่ีรวบรวมและจดั เก็บขอ้ มูลจากแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ ท้งั ภายใน และภายนอกองคก์ ารอยา่ งมีหลกั เกณฑ์ เพื่อนาํ มาประมวลผลและจดั รูปแบบใหไ้ ด้ สารสนเทศท่ี ช่วย สนบั สนุนการทาํ งาน และการตดั สินใจในดา้ นตา่ ง ๆ ของผบู้ ริหารเพอ่ื ใหก้ ารดาํ เนินงานของ องคก์ าร เป็นไป อยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยท่ีเราจะเป็นวา่ MIS จะประกอบดว้ ยหนา้ ที่หลกั 2 ประการคือ 1. สามารถเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากแหล่งต่าง ๆ ท้งั จากภายในและภายนอกองคก์ าร มาไวด้ ว้ ยกนั อยา่ งเป็น ระบบ 2. สามารถทาํ การประมวลผลขอ้ มูลอยา่ งมีประสิทธิภาพ เพ่ือใหไ้ ดส้ ารสนเทศที่ช่วยสนบั สนุน การ ปฏิบตั ิงานและการบริหารงานของผบู้ ริหาร ชุมพล ศฤงคารศิริ (2537 : 2) ใหค้ วามหมายของระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การ คือ เป็นระบบที่รวม (integrate) ผใู้ ช้ (user) เครื่องคอมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ (machine) เพ่อื จดั ทาํ สารสนเทศ สาํ หรับ สนบั สนุน การปฏิบตั ิงาน (operation) การจดั การ (management) และการตดั สินใจ (decision making) ใน องคก์ รจาก ความหมายท่ีกลา่ วมาสามารถสรุปความหมายของระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การไดค้ ือ การ

รวบรวมและการจดั เก็บขอ้ มูล จากแหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั องคก์ าร ท้งั จากภายใน และภายนอก หน่วยงาน เพอ่ื นาํ มาประมวลผล และจดั รูปแบบ ใหไ้ ดส้ ารสนเทศที่เหมาะสมกบั องคก์ าร ในการช่วยในการ ตดั สินใจ ประสานงาน และควบคุมของผบู้ ริหาร ในอนั ท่ีจะ ดาํ เนินงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 2.6การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ คือ การนาํ เอาเทคโนโลยสี ารสนเทศไปกระจายเผยแพร่ไปยงั ผใู้ ชไ้ และมีประสิทธิภาพ เพือ่ เป็นประโยชน์ตอ่ การตดั สินใจ พฒั นาอาชีพ หรือดา้ นการศึกษาเช่น การนาํ สารสนเทศท วิจยั พฤติกรรมของมนุษยม์ าช่วยในการวางแผนการตลาด เป็นตน้ นอกจากน้ีการนาํ เทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีมีปร ใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในดา้ นตา่ งๆ ยง่ิ เป็นการพฒั นาสงั คมและประเทศชาติใหด้ ียง่ิ ข้ึน ดงั น้นั จึงมีการประยกุ ตใ์ ชเ้ ท สารสนเทศในดา้ นตา่ งๆ ดงั น้ี การประยุกต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศด้านการศึกษา การนาํ เทคโนโลยสี ารสนเทศเขา้ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นดา้ นศึกษา เป็นการเรียน การสอนสมยั ใหม่ท่ีเป็นท่ีนิยม เพอื่ พฒั นาและกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนน้นั เกิดความสนใจในการเรียนและศึกษาส่ิงใหม่ที่อยนู่ อกกรอบหอ้ งเรียน ดงั น้นั สารสนเทศจึงมีบทบาทความสาํ คญั ต่อดา้ นการศึกษาเป็นอยา่ งมาก เทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นการศึกษามีดงั ตอ่ ไปน้ี วดี ีทศั น์ เป็นระบบท่ีนาํ ภาพวดิ ีโอมาบนั ทึกเป็นไฟลใ์ นระบบคอมพิวเตอร์และเผยแพร่ผา่ นระบบอินเทอร์เนต็ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รีย นอกเวลาเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนาํ เอาเทคโนโลยี รวมกบั การออกแบบโปรแกรมการสอน มาใชช้ ่วยสอน ซ่ึงเรียกกนั โดยทวั่ ไปวา่ บทเรีย อยใู่ นรูปของส่ือประสมซ่ึงหมายถึงนาํ เสนอไดท้ ้งั ภาพ ขอ้ ความ เสียง ภาพเคล่ือนไหว การสืบคน้ ขอ้ มูล เป็นการคน้ หาขอ้ มลู ความรู้ อีกวธิ ีหน่ึงของผเู้ รียนโดยแสวงหาความรู้จากนอกหอ้ งเรียน เพอื่ พฒั นาตนเองใหก้ า้ ว เหตุการณ์ โดยคน้ หาดว้ ยเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ เช่น Google Sanook เป็นตน้

อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เนต็ ไดเ้ ขา้ มามีบทบาทต่อชีวิตประจาํ วนั มากมายและเป็นส่ิงท่ีสาํ คญั ต่อหลายๆองคก์ ร และหลายๆหน่ว เพราะอินเทอร์เน็ตน้นั มีประโยชนใ์ นดา้ นตา่ งๆ เช่น ดา้ นการศึกษา ดา้ นการคา้ ดา้ นการสื่อสาร เป็นตน้ เมื่ออินเทอร์เน็ตเขา้ มามีบทบาทต่อการศึกษาจึงเป็นส่ิงที่ช่วยใหก้ ารศึกษาน้นั ดีข้ึนเพราะอินเทอร์เน็ตสามารถ ติดต่อส่ือสารได้ คน้ หาคาํ ตอบในเร่ืองที่ตอ้ งการ ท้งั ในรูปแบบขอ้ มลู และวีดีโอ ปัจจุบนั ไดม้ ีการนาํ วีดีโอ สื่อการเรียนการสอน ส่ือประสม ไปเผยแพร่บนเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตเพ่ือใหผ้ เู้ รียนได หาความรู้เพิ่มเติม การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศด้านธุรกจิ การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นธุรกิจ เป็นการเพม่ิ ประสิทธิภาพในการผลิตและการบริการของธุรกิจ ดึงดูดลูกคา้ ใหส้ นใจและเกิดความประทบั ใจเมื่อไดใ้ ชบ้ ริการ การพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-commerce) คือ การทาํ กิจกรรมทางธุรกิจโดยผา่ นช่องทางอิเลก็ ทรอนิกส์ทุกช่องทาง เช่น อินเทอร์เนต็ โทรทศั น์ วทิ ยุ เป็นต ปัจจุบนั ไดม้ ีการขายสินคา้ บนระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตเพ่อื กระจายสินคา้ ใหก้ บั ลูกคา้ ไดเ้ ร็วข้ึน การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นการสื่อสาร การสื่อสารเป็นสิ่งที่ทาํ ใหค้ นเราเกิดความเขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั สามารถกระทาํ ในส่ิงท่ีสื่อสารกนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง อุปกรณ์หรือเครื่องมือท่ีใชใ้ นการสื่อสาร เป็นตวั กลางในการสื่อสาร เช่น โทรศพั ทม์ ือถือ วิทยุ คอมพวิ เตอร์ โทรทศั น์ การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นการสื่อสารน้นั เป็นการนาํ เอาเคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ที่ใชเ้ ป็นตวั กลาง ส่ือสารมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์อนั สูงสุด เช่น การใชโ้ ทรทศั น์ในการโฆษณาเพื่อดึงดูดและกระตนุ้ ใหล้ กู คา้ เกิดความสน มาซ้ือสินคา้ เพ่มิ มากข้ึน การใชว้ ิทยปุ ระสมั พนั ธ์การทาํ กิจกรรมตา่ งๆ การใชค้ อมพวิ เตอร์ผลิตสื่อส่ิงพิมพต์ า่ งๆ การ ประชาสัมพนั ธ์ เวบ็ ไซต์ เวบ็ บอร์ด รวมไปถึงการแชทในรูปแบบตา่ งๆ หน่วยที่ 3 การสืบค้นข้อมูลบนอนิ เทอร์เน็ต

3.1 ความรู้เบื้องต้นเกยี่ วกบั อนิ เทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต (องั กฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมตอ่ ระหวา่ งเครือขา่ ย หลาย ๆ เครือขา่ ยทวั่ โลก โดยใชภ้ าษาที่ใชส้ ื่อสารกนั ระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ท่ีเรียกวา่ โพรโทคอล (protocol) ผใู้ ชเ้ ครือขา่ ยน้ีสามารถสื่อสารถึงกนั ไดใ้ นหลาย ๆ ทาง อาทิ อีเมล เวบ็ บอร์ด และสามารถสืบคน้ ขอ้ มลู และ ข่าวสารตา่ ง ๆ รวมท้งั คดั ลอกแฟ้มขอ้ มลู และโปรแกรมมาใชไ้ ด้ ความสามารถของอินเทอร์เนต็ 1. ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic mail=E-mail) เป็นการส่งจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ผา่ นเครือข่าย อินเทอร์เน็ตโดยผสู้ ่งจะตอ้ งส่งขอ้ ความไปยงั ท่ีอยขู่ องผรู้ ับ และแนบไฟลไ์ ปได้ 2. เทลเน็ต (Telnet) การใชง้ านคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหน่ึงที่อยไู่ กล ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง เช่น สามารถเรียก ขอ้ มลู จากโรงเรียนมาทาํ ท่ีบา้ นได้ 3. การโอนถา่ ยขอ้ มลู (File Transfer Protocol ) คน้ หาและเรียกขอ้ มลู จากแหล่งต่างๆมาเกบ็ ไวใ้ นเครื่อง ของเราได้ ท้งั ขอ้ มลู ประเภทตวั หนงั สือ รูปภาพและเสียง 4. การสืบคน้ ขอ้ มลู (Gopher,Archie,World wide Web) การใชเ้ ครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการคน้ หา ขา่ วสารที่มีอยมู่ ากมาย ใชส้ ืบคน้ ขอ้ มูลจากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ ทว่ั โลกได้ 5. การแลกเปล่ียนข่าวสารและความคิดเห็น (Usenet) เป็นการบริการแลกเปล่ียนข่าวสารและแสดง ความคิดเห็นที่ผใู้ ชบ้ ริการอินเทอร์เน็ตทว่ั โลก แสดงความคิดเห็นของตน โดยกล่มุ ข่าวหรือนิวกรุ๊ป (Newgroup)แลกเปล่ียนความคิดเห็นกนั 6. การสื่อสารดว้ ยขอ้ ความ (Chat,IRC-Internet Relay chat) เป็นการพดู คุย โดยพมิ พข์ อ้ ความตอบกนั ซ่ึงเป็นวิธีการส่ือสารที่ไดร้ ับความนิยมมากอีกวิธีหน่ึง การสนทนากนั ผา่ นอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรานง่ั อยู่ ในหอ้ งสนทนาเดียวกนั แมจ้ ะอยคู่ นละประเทศหรือคนละซีกโลกกต็ าม 7. การซ้ือขายสินคา้ และบริการ (E-Commerce = Electronic Commerce) เป็นการซ้ือ - สินคา้ และ บริการ ผา่ นอินเทอร์เนต็ 8. การใหค้ วามบนั เทิง (Entertain) บนอินเทอร์เนต็ มีบริการดา้ นความบนั เทิงหลายรูปแบบตา่ งๆ เช่น รายการโทรทศั น์ เกม เพลง รายการวิทยุ เป็นตน้ เราสามารถเลือกใชบ้ ริการเพ่ือความบนั เทิงไดต้ ลอด 24 ชวั่ โมง 3.2 เวบ็ ไซต์และโปรแกรมเว็บเบราเซอร์

เบราเซอร์ (Browser) เป็นช่ือท่ีใชเ้ รียกโปรแกรมท่ีเราใชท้ อ่ งเวบ็ กนั ซ่ึงชื่อน้ีหลายทา่ นไมค่ ุน้ และไมร่ ู้จกั ส่วนมากเวลาถามวา่ ใชอ้ ะไรเลน่ เนต็ กม็ กั จะไดค้ าํ ตอบวา่ IE บา้ ง Chrome บา้ ง Firefox บา้ ง แตพ่ อถามวา่ ใชเ้ บ ราเซอร์อะไร กลบั ไดร้ ับคาํ ตอบคือ งงๆๆๆ อะไรคือเบราเซอร์? เบราเซอร์ (Browser) คือโปรแกรมหรือซอฟตแ์ วร์ท่ีใชท้ อ่ งเวบ็ หรือใชด้ ูขอ้ มลู ท่ีอยใู่ นเวบ็ ไซต์ เบราเซอร์ มีความสามารถในการเปิ ดดูไฟลต์ ่างๆ ท่ีสนบั สนุนเช่น Flash JavaScript PDF Media ต่างๆ ซ่ึงเบราเซอร์มี หลายตวั และความสามารถของแต่ละตวั กแ็ ตกตา่ งกนั ข้ึนอยกู่ บั วา่ ผพู้ ฒั นาเบราเซอร์ พฒั นาใหม้ ีความสามารถ อะไรบา้ ง เบราเซอร์มกั ใชเ้ ปิ ดดูเวบ็ เป็นส่วนใหญ่ และการใชง้ านตา่ งๆในระบบเครือขา่ ยอินเตอร์เนต็ ก็มกั จะ ทาํ ผา่ นเบราเซอร์ เช่น การดูภาพยนตร์ผา่ น Youtube การส่งเมล์ การซ้ือขายสินคา้ ในระบบ e- commerce การใชส้ ื่อสงั คมออนไลน์ (Social Media) การดาวนโ์ หลดไฟล์ การเล่นเกมผา่ นเนต็ การเรียน ออนไลน์ เป็นตน้ ลว้ นแลว้ แต่ทาํ ผา่ นเบราเซอร์ท้งั สิ้น เรามาดูกนั ครับวา่ มีเบราเซอร์อะไรที่นิยมใชก้ นั บา้ ง ชื่อเบราเซอร์ ข้อดี ข้อจํากดั Internet Explorer - เป็นบราวเซอร์ท่ีคนใชง้ านมากท่ีสุดใน - IE เปิ ดหลายๆ แทบ็ มกั จะ (IE) โลก เกิดอาการคา้ ง รองรับการเปิ ดเวบ็ ไซตไ์ ดท้ ุกเวบ็ ไซต์ เม่ือ ไมท่ าํ งาน เกิด - ชา้ ที่สุด เมื่อเทียบกบั ปัญหาเกิดสามารถแกไ้ ขไดง้ ่าย บราวเซอร์อ่ืนๆ - เวบ็ ไซตเ์ กมทุกเวบ็ หรือโซเชียลเน็ตเวริ ์ค - ใชห้ น่วยความจาํ ต่างๆ คอมพวิ เตอร์มากท่ีสุด รองรับโคด้ ของ IE ซ่ึงอาจทาํ ใหเ้ คร่ืองชา้ ไป ดว้ ย

- เร็วที่สุดในบรรดาเบราเซอร์ทุกตวั ในที่น้ี - Google สนบั สนุนนอ้ ยลง FireFox - เตม็ ไปดว้ ยอปุ กรณ์เสริม ( add-ons ) เนื่องจาก หนั ไป - ถา้ โดนบุกรุกจากสปายแวร์ ไวรัส หากใช้ พฒั นา Chrome แทน เบราเซอร์ FireFox จะไมค่ ่อยเจอปัญหา - ผใู้ ชท้ วั่ โลกยงั นอ้ ย เมื่อ (เกือบ 100%) ดว้ ยระบบการรักษาความ เทียบกบั IE เพราะ IE ปลอดภยั และระบบการอพั เดตอยตู่ ลอด ติดมากบั วนิ โดวอ์ ยแู่ ลว้ จะช่วยแกป้ ัญหาได้ อยา่ งทนั ท่วงที - เวบ็ ไซตส์ ่วนใหญท่ าํ ดว้ ย - มีลุกเลน่ เยอะ IE แสดงผลใน - มีตวั ดาวนโ์ หลดอยใู่ นตวั Firefox ไมไ่ ด้ หรือถา้ แสดง - มีการอพั เดทอยเู่ ร่ือย ๆ ได้ กอ็ าจ ไมส่ มบูรณ์ - ไมส่ ามารถเขา้ ไปยงั เวบ้ ไซตข์ องสถาบนั การเงินตา่ ง ๆ ได้ - เนื่องจากลูกเล่นเยอะ ก็มี ขอ้ ดีและขอ้ เสีย ในตวั คือลกู เลน่ เยอะ เปิ ด แทบ็ ไดเ้ ยอะ กินแรมมาก

- พ้นื ท่ีหนา้ จอใหญ่ที่สุดและใชเ้ น้ือท่ีคุม้ ค่า - ไตเติ้ลบาร์ส้ัน Google Chrome ท่ีสุด - เขา้ เวบ็ สถาบนั การเงิน ไม่ได้ Opera - เร็วกวา่ IE และเร็วพอ ๆ กบั Firefox เช่นเดียวกบั Safari - มีแถบสาํ หรับการคน้ หาท่ีรวดเร็ว FireFox - ขนาดไฟลน์ อ้ ย ไมห่ นกั เครื่อง - ยงั ซพั พอร์ตภาษาไทยไดไ้ ม่ดี - หนา้ ต่างดาวนโ์ หลดอยแู่ ถบดา้ นล่าง ไม่ เทา่ ที่ควร เกะกะ - การลบตวั อกั ษร ถา้ คาํ ที่มีสระ เหมือน IE และ Firefox ที่เดง้ ออกมาเป็น อยดู่ ว้ ยมนั จะลบ อีก ไปหมด หนา้ ต่าง - ดึงแอพของกเู กิลมาใชง้ านอยา่ งสะดวก - เร็วกวา่ IE Chrome FireFox - ลูกเลน่ นอ้ ย บางหนา้ เวบ็ - รูปลกั ษณ์สวย แสดงผลเพ้ียน - ใชห้ น่วยความจาํ ของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ - เวลาเปิ ด บางทีชา้ กวา่ เบรา นอ้ ยกวา่ IE แต่กย็ งั มากกวา่ Chrome เซอร์อ่ืน ๆ - มี download manager ในตวั - ไมซ่ พั พอร์ตเวบ็ ที่เป็นไออี - ซพั พอร์ต HTML CSS เท่าน้นั เช่น เวบ็ ของสถาบนั การเงินต่างๆ - โหลดหนา้ เวบ็ เร็วมาก - ลกุ เลน่ ยงั ไมค่ ่อยเยอะ โดยรวมแลว้ ไมส่ ู้ - เลน่ javascript เร็วกวา่ เบราเซอร์อื่นๆ Firefox - รองรับ CSS Animation ซ่ึงเบราเซอร์อ่ืน - มีปัญหาดา้ นภาษาไทยเหมือน Chrome ไม่รองรับ - กินทรัพยากรของคอมพิวเตอร์คุณ - รองรับ CSS Web Font คอ่ นขา้ ง - สแกนขอ้ มลู ไดร้ วดเร็ว เยอะพอ ๆ กบั IE - ไวรัส สปายแวร์ต่าง ๆ ซาฟารีกาํ จดั ได้ - ฟ้อนตเ์ พ้ยี นเยอะมาก

ดีกวา่ IE และ Firefox ที่มาของขอ้ มูลในตาราง :: http://www.siamzone.com/board/view.php?sid=1798373 สาํ หรับเบราเซอร์ของไทยก็มีนะครับ ผมกเ็ คยใชอ้ ยคู่ ือปลาวาฬเบราเซอร์ (Plawan Browser) เวบ็ ไซต์ ของเขาก็คือhttp://www.plawan.com/ ซ่ึงกม็ ีเบราเซอร์ใหด้ าวน์โหลดมาใชง้ านไดฟ้ รีๆ แถมมีระบบ Plawan Central Log ที่ใชต้ ิดต้งั เพอ่ื เก็บ Log ตาม พรบ.คอมพวิ เตอร์ อีกดว้ ย รูปร่างหนา้ ตาของ Plawan ก็สวยดีครับสามารถเปลี่ยน Theme เป็นสีต่างๆไดต้ ามตอ้ งการท่ีสาํ คญั คือ รองรับภาษาไทยได้ 100% หนา้ ตาของ Plawan กเ็ ป็นแบบน้ีครับ 3.3 วธิ ีการสืบค้นข้อมูลโดยใช้สารบนเวบ็ วธิ ีการสืบคน้ ขอ้ มลู บนอินเทอร์เน็ตการสืบคน้ ขอ้ มลู บนอินเทอร์เนต็ ในโลกไซเบอร์สเปซมีขอ้ มูลมากมายมหาศาล การท่ีจะคน้ หาขอ้ มูลจาํ นวนมากมายอยา่ งน้ีเราไม่อาจจะคลิก เพ่อื คน้ หาขอ้ มลู พบไดง้ ่ายๆ จาํ เป็นจะตอ้ งอาศยั การคน้ หาขอ้ มลู ดว้ ยเคร่ืองมือคน้ หาที่เรียกวา่ Search Engine เขา้ มาช่วยเพอื่ ความสะดวกและรวดเร็ว เวบ็ ไซตท์ ี่ใหบ้ ริการคน้ หาขอ้ มลู มีมากมายหลายท่ีท้งั ของคนไทย และ ถา้ เราเปิ ดไปทีละหนา้ จออาจจะตอ้ งเสียเวลาในการคน้ หา และอาจหาขอ้ มลู ท่ีเราตอ้ งการไมพ่ บ การท่ีเรา จะคน้ หาขอ้ มูลใหพ้ บอยา่ งรวดเร็วจึงตอ้ งพ่งึ พา Search Engine Site ซ่ึงจะทาํ หนา้ ท่ีรวบรวมรายช่ือเวบ็ ไซต์ ต่างๆ เอาไว้ โดยจดั แยกเป็นหมวดหมู่ ผใู้ ชง้ านเพียงแตท่ ราบหวั ขอ้ ท่ีตอ้ งการคน้ หาแลว้ ป้อน คาํ หรือขอ้ ความ ของหวั ขอ้ น้นั ๆ ลงไปในช่องที่กาํ หนด คลิกป่ ุมคน้ หา เท่าน้นั รอสกั ครู่ขอ้ มูลอยา่ งยอ่ ๆ และรายชื่อเวบ็ ไซตท์ ี่ เกี่ยวขอ้ งจะปรากฏใหเ้ ราเขา้ ไปศึกษาเพม่ิ เติมไดท้ นั ที การคน้ หาขอ้ มลู มีกี่วธิ ี ?

1. การคน้ หาในรูปแบบ Index Directory 2. การคน้ หาในรูปแบบ Search Engine การค้นหาในรูปแบบ Index Directory วิธีการคน้ หาขอ้ มลู แบบ Index น้ีขอ้ มลู จะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมากกวา่ การคน้ หาขอ้ มูลดว้ ย วิธีของ Search Engineโดยมนั จะถกู คดั แยกขอ้ มลู ออกมาเป็นหมวดหมู่ และจดั แบง่ แยก Site ต่างๆออก เป็น ประเภท สาํ หรับวิธีใชง้ าน คุณสามารถท่ีจะ Clickเลือกขอ้ มูลท่ีตอ้ งการจะดูไดเ้ ลยใน Web Browser จากน้นั ท่ี หนา้ จอก็จะแสดงรายละเอียดของหวั ขอ้ ปลีกยอ่ ยลึกลงมาอีกระดบั หน่ึง ปรากฏข้ึนมาใหเ้ ราเลือกอีก ส่วนจะ แสดงออกมาใหเ้ ลือกเยอะแค่ไหนอนั น้ีกข็ ้ึนอยกู่ บั ขนาดของฐานขอ้ มลู ใน Index วา่ ในแต่ละประเภท จดั รวบรวมเกบ็ เอาไวม้ ากนอ้ ยเพยี งใด เม่ือคุณเขา้ ไปถึงประเภทยอ่ ยที่คุณสนใจแลว้ ที่เวบ็ เพจจะแสดงรายชื่อ ของเอกสารที่เก่ียวขอ้ งกบั ประเภทของขอ้ มลู น้นั ๆออกมา หากคุณคิดวา่ เอกสารใดสนใจหรือตอ้ งการอยากที่ จะดู สามารถ Click ลงไปยงั Link เพื่อขอเช่ือตอ่ ทางไซตก์ จ็ ะนาํ เอาผลของขอ้ มูลดงั กลา่ วออกมาแสดงผล ทนั ที นอกเหนือไปจากน้ี ไซตท์ ี่แสดงออกมาน้นั ทางผใู้ หบ้ ริการยงั ไดเ้ รียบเรียงโดยนาํ เอา Site ท่ีมีความเก่ียว ขอ้ งมากท่ีสุดเอามาไวต้ อนบนสุดของรายชื่อท่ีแสดง การค้นหาในรูปแบบ Search Engine วธิ ีการอีกอยา่ งที่นิยมใชก้ ารคน้ หาขอ้ มลู คือการใช้ Search Engine ซ่ึงผใู้ ชส้ ่วนใหญก่ วา่ 70% จะใช้ วธิ ีการคน้ หาแบบน้ี หลกั การทาํ งานของ Search Engine จะแตกตา่ งจากการใช้ Indexลกั ษณะของมนั จะเป็น ฐานขอ้ มูลขนาดใหญม่ หาศาลท่ีกระจดั กระจายอยทู่ วั่ ไป บน Internet ไมม่ ีการแสดงขอ้ มูลออกมาเป็นลาํ ดบั ข้นั ของความสาํ คญั การใชง้ านจะเหมือนการสืบคน้ ฐานขอ้ มูล อ่ืนๆคือ คุณจะตอ้ งพมิ พค์ าํ สาํ คญั (Keyword) ซ่ึงเป็น การอธิบายถึงขอ้ มูลที่คุณตอ้ งการจะเขา้ ไป คน้ หาน้นั ๆเขา้ ไป จากน้นั Search Engine กจ็ ะแสดงขอ้ มูลและ Site ตา่ งๆที่เก่ียวขอ้ งออกมา ข้อแตกต่างระหว่าง Index และ Search Engine คาํ ตอบก็ คือวิธีในการคน้ หาขอ้ มูลแบบ Index เคา้ จะใชค้ นเป็นผจู้ ดั รวบรวมและทาํ ระบบฐานขอ้ มลู ข้ึนมา ส่วนแบบ Search Engine น้นั ระบบฐานขอ้ มูลของมนั จะไดร้ ับการจดั สร้างโดยใช้ Software ท่ีมี หนา้ ท่ีเก่ียวกบั งานทางดา้ นน้ีโดยเฉพาะมาเป็นตวั ควบคุมและจดั การ ซ่ึงเจา้ Software ตวั น้ีจะมี ช่ือเรียกวา่ Spiders การทาํ งาน

ขอ้ งมนั จะใชว้ ิธีการเดินลดั เลาะไปตามเครือข่ายต่างๆที่เชื่อมโยงถึง กนั อยเู่ ต็มไปหมดใน Internet เพอ่ื คน้ หา Website ที่เกิดข้ึนมาใหมๆ่ รวมท้งั ยงั สามารถตรวจสอบหาความเปลี่ยนแปลงของ ขอ้ มูลใน Site เดิมท่มี ีอยู่ วา่ ท่ีใดถกู อพั เดตแลว้ บา้ ง จากน้นั มนั ก็จะนาํ เอาขอ้ มูลท้งั หมดที่สาํ รวจเขา้ มา ไดเ้ ก็บใส่เขา้ ไปในฐานขอ้ มลู ของ ตนอตั โนมตั ิ ยกตวั อยา่ งของผใู้ หบ้ ริการประเภทน้ีเช่น Excite , Lycos Infoserch เป็นตน้ การคน้ หาดว้ ยวธิ ี Search Engine น้นั มกั จะไดผ้ ลลพั ธ์ออกมากวา้ งๆช้ีเฉพาะเจาะจงไดย้ าก บางคร้ังขอ้ มูลท่ี คน้ หามาไดอ้ าจมีถึง เป็นร้อยเป็นพนั Site แลว้ มีใครบา้ งหละที่อยากจะมาน้นั คน้ หาและอ่านดูที่จะเพจ ซ่ึงคง ตอ้ งเสียเวลาเป็นวนั ๆ แน่ ซ่ึงกไ็ ม่รับรองดว้ ยวา่ คุณจะไดข้ อ้ มูลที่คุณตอ้ งการหรือไม่ ดงั น้นั จึงมีหลกั ในการคน้ หา เพื่อใหไ้ ดข้ อ้ มูล ใกลเ้ คียงความเป็นจริงมากท่ีสุด ซ่ึงจะขอกล่าวในตอนหลงั ประเภทของ Search Engine Search Engine แตล่ ะแห่งมีวธิ ีการและการจดั เก็บฐานขอ้ มูลที่แตกตา่ งกนั ไปตามประเภทของ Search Engine ที่แตล่ ะเวบ็ ไซตน์ าํ มาใชเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มูล ดงั น้นั การที่คุณจะเขา้ ไปหาขอ้ มลู หรือเวบ็ ไซต์ โดยวธิ ีการ Search น้นั อยา่ งนอ้ ยคุณจะตอ้ งทราบวา่ เวบ็ ไซตท์ ่ีคุณเขา้ ไปใชบ้ ริการ ใชว้ ิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแตล่ ะประเภทมีความละเอียดในการจดั เกบ็ ขอ้ มูลตา่ งกนั ไป ที่น้ีเราลองมาดูซิวา่ Search Engine ประเภทใดที่เหมาะกบั การคน้ หาขอ้ มูลของคุณ 1. Keyword Index เป็นการคน้ หาขอ้ มลู โดยการคน้ จากขอ้ ความในเวบ็ เพจท่ีไดผ้ า่ นการสาํ รวจ มาแลว้ จะอ่านขอ้ ความ ขอ้ มลู อยา่ งนอ้ ยๆ ก็ประมาณ 200-300 ตวั อกั ษรแรกของเวบ็ เพจน้นั ๆ โดยการอ่าน น้ีจะหมายรวมไปถึงอา่ นขอ้ ความที่อยใู่ นโครงสร้างภาษาHTML ซ่ึงอยใู่ นรูปแบบของขอ้ ความท่ีอยใู่ นคาํ ส่งั alt ซ่ึงเป็นคาํ ส่งั ภายใน TAG คาํ สัง่ ของรูปภาพ แตจ่ ะไม่นาํ คาํ สง่ั ของ TAG อ่ืนๆ ในภาษา HTML และคาํ สง่ั ในภาษา JAVA มาใชใ้ นการคน้ หา วธิ ีการคน้ หาของ Search Engine ประเภทน้ีจะใหค้ วามสาํ คญั กบั การ เรียงลาํ ดบั ขอ้ มูลก่อน-หลงั และความถ่ีในการนาํ เสนอขอ้ มูลน้นั การคน้ หาขอ้ มูล โดยวิธีการเช่นน้ีจะมีความ รวดเร็วมาก แตม่ ีความละเอียดในการจดั แยกหมวดหม่ขู องขอ้ มลู คอ่ นขา้ งนอ้ ย เน่ืองจากไม่ไดค้ าํ นึงถึง รายละเอียดของเน้ือหาเท่าท่ีควร แตห่ ากวา่ คุณตอ้ งการแนวทางดา้ นกวา้ งของขอ้ มูล และความรวดเร็วในการ คน้ หา วิธีการน้ีกใ็ ชไ้ ดผ้ ลดี 2. Subject Directories การจาํ แนกหมวดหม่ขู อ้ มลู Search Engine ประเภทน้ี จะจดั แบง่ โดยการ วิเคราะหเ์ น้ือหา รายละเอียด ของแต่ละเวบ็ เพจ วา่ มีเน้ือหาเกี่ยวกบั อะไร โดยการจดั แบ่งแบบน้ีจะใช้

แรงงานคนในการพจิ ารณาเวบ็ เพจ ซ่ึงทาํ ใหก้ ารจดั หมวดหม่ขู ้ึนอยกู่ บั วิจารณญาณของคนจดั หมวดหม่แู ต่ละ คนวา่ จะจดั เก็บขอ้ มูลน้นั ๆ อยใู่ นเครือข่ายขอ้ มูลอะไร ดงั น้นั ฐานขอ้ มูลของ Search Engine ประเภทน้ีจะถกู จดั แบง่ ตามเน้ือหาก่อน แลว้ จึงนาํ มาเป็นฐานขอ้ มูลในการคน้ หาต่อไป การคน้ หาคอ่ นขา้ งจะตรงกบั ความ ตอ้ งการของผใู้ ช้ และมีความถกู ตอ้ งในการคน้ หาสูง เป็นตน้ วา่ หากเราตอ้ งการหาขอ้ มูลเก่ียวกบั เวบ็ ไซต์ หรือ เวบ็ เพจท่ีนาํ เสนอขอ้ มูลเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ Search Engine กจ็ ะประมวลผลรายชื่อเวบ็ ไซต์ หรือเวบ็ เพจที่ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ลว้ นๆ มาใหค้ ุณ 3. Metasearch Engines จุดเด่นของการคน้ หาดว้ ยวิธีการน้ี คือ สามารถเช่ือมโยงไปยงั Search Engine ประเภทอื่นๆ และยงั มีความหลากหลายของขอ้ มลู แต่การคน้ หาดว้ ยวิธีน้ีมีจุดดอ้ ย คือ วิธีการน้ีจะไมใ่ ห้ ความสาํ คญั กบั ขนาดเลก็ ใหญข่ องตวั อกั ษร และมกั จะผา่ นเลยคาํ ประเภท Natural Language (ภาษาพดู ) ดงั น้นั หากคุณจะใช้ Search Engine แบบน้ีละก็ ขอใหต้ ระหนกั ถึงขอ้ บกพร่องเหล่าน้ีดว้ ย หลกั การคน้ หาขอ้ มลู ของ Search Enine สาํ หรับหลกั ในการคน้ หาขอ้ มลู ของ Search Engine แตล่ ะตวั จะมีลกั ษณะท่ีแตกต่างกนั ออกไป ข้ึนอยู่ กบั วา่ ทางศนู ยบ์ ริการตอ้ งการจะเก็บขอ้ มูลแบบไหน แตโ่ ดยส่วนใหญแ่ ลว้ จะมีกลไกใน การคน้ หาท่ีใกลเ้ คียง กนั หากจะแตกต่างกค็ งจะเป็นเร่ืองประสิทธิภาพเสียมากกวา่ วา่ จะมีขอ้ มลู เก็บรวบรวมไวอ้ ยใู่ นฐานขอ้ มลู มากนอ้ ยขนาดไหน และพอจะนาํ เอาออกมาบริการใหก้ บั ผใู้ ช้ ไดต้ รงตามความตอ้ งการหรือเปล่า ซ่ึงลกั ษณะ ของปัจจยั ท่ีใชค้ น้ หาโดยหลกั ๆจะมีดงั น้ี 1. การคน้ หาจากชื่อของตาํ แหน่ง URL ใน เวบ็ ไซตต์ า่ งๆ 2. การคน้ หาจากคาํ ที่มีอยใู่ น Title (ส่วนที่ Browser ใชแ้ สดงช่ือของเวบ็ เพจอยทู่ างดา้ น ซา้ ยบนของ หนา้ ต่างที่แสดง 3. การคน้ หาจากคาํ สาํ คญั หรือคาํ ส่งั keyword (อยใู่ น tag คาํ สัง่ ใน html ที่มีชื่อวา่ meta) 4. การคน้ หาจากส่วนที่ใชอ้ ธิบายหรือบอกลกั ษณะ site 5. คน้ หาคาํ ในหนา้ เวบ็ เพจดว้ ย Browser ซ่ึงการคน้ หาคาํ ในหนา้ เวบ็ เพจน้นั จะใชส้ าํ หรับกรณีท่ีคุณเขา้ ไปคน้ หาขอ้ มูลที่เวบ็ เพจใด เวบ็ เพจหน่ึง แลว้ ภายในมีขอ้ ความปรากฏอยเู่ ตม็ ไปหมด จะนง่ั ไล่ดูทีละ บรรทดั คงไมส่ ะดวก ในลกั ษณะน้ีเราใชใ้ ช้ browser ช่วยคน้ หาให้ ข้ึนแรกใหค้ ุณนาํ mouse ไป click ที่

menu Edit แลว้ เลือกบรรทดั คาํ สัง่ Find in Page หรือกดป่ มุ Ctrl + F ที่ keyboard กไ็ ด้ จากน้นั ใส่คาํ ที่ ตอ้ งการคน้ หาลงไปแลว้ ก็กดป่ มุ Find Next โปรแกรมก็จะวิง่ หาคาํ ดงั กล่าว หากพบมนั กจ็ ะกระโดดไป แสดงคาํ น้นั ๆ ซ่ึงคุณสามารถกดป่ มุ Find Next เพอ่ื คน้ หาต่อได้ อีกจนกวา่ คุณจะพบขอ้ มลู ที่ตอ้ งการ เทคนิค 11 ประการที่ควรรู้ในการคน้ หาขอ้ มูล ในการคน้ หาขอ้ มูลดว้ ย Search Engine ส่วนใหญแ่ ลว้ ปัญหาที่ผใู้ ชง้ านทว่ั ไปมกั จะพบเห็น หรือประสบอยเู่ สมอๆก็คงจะหนีไปไม่พน้ ขอ้ มลู ที่คน้ หาไดม้ ีขนาดมาก จนเกินไป ดงั น้นั เพ่ือ ความสะดวกในการใชง้ านคุณจึงน่าท่ีจะเรียนรู้เทคนิคตา่ งๆเพ่อื ช่วยลดหรือ จาํ กดั คาํ ท่ี คน้ หาใหแ้ คบลงและตรงประเด็นกบั เรามากท่ีสุด ดงั วธิ ีการต่อไปน้ี 1. เลือกรูปแบบการคน้ หาใหต้ รงกบั ส่ิงที่คุณตอ้ งการมากที่สุด (อยา่ งที่บอกไวต้ ้งั แตต่ อนตน้ วา่ มี อยู่ 2 แบบ ) ส่วนจะเลือกใชว้ ิธีไหนก็ตามแตจ่ ะเห็นวา่ เหมาะสม ยกตวั อยา่ งเช่น ถา้ ตอ้ งการจะ คน้ หาขอ้ มูลที่มีลกั ษณะทว่ั ไป ไม่ช้ี เฉพาะเจาะจง กค็ วรเลือกบริการสืบคน้ ขอ้ มูลแบบ Index อยา่ งของ yahoo เพราะ โอกาสท่ีจะเจอน้นั เปอร์เซ็นตส์ ูงกวา่ จะมานง่ั สุ่มหาโดยใชว้ ธิ ีแบบ Search Engine 2. ใชค้ าํ มากกวา่ 1 คาํ ที่มีลกั ษณะเกี่ยวขอ้ งกนั ช่วยคน้ หา เพราะจะไดผ้ ลลพั ธท์ ี่มีขนาด แคบลงและช้ีเฉพาะ มากข้ึน (ยอ่ มจะดีกวา่ หาคาํ เดียวโดดๆ) 3. ใชบ้ ริการของผใู้ หบ้ ริการเฉพาะดา้ น เช่นการคน้ หาขอ้ มลู เก่ียวกบั เร่ืองราวของ ภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้ Search Engine ที่ใหบ้ ริการใกลเ้ คียงกบั เรื่องพวกน้ี เพราะผลลพั ธ์ที่ไดน้ ่าจะเป็นที่น่าพอใจกวา่ 4. ใส่เครื่องหมายคาํ พดู ครอบคลมุ กล่มุ คาํ ท่ีตอ้ งการ เพ่ือบอกกบั Search Engine วา่ เรา ตอ้ งการผลการคน้ หาที่ มีคาํ ในกลมุ่ น้นั ครบและตรงตามลาํ ดบั ที่เราพมิ พท์ กุ คาํ เช่น \"free shareware\" เป็นตน้ 5. การข้ึนตน้ ของตวั อกั ษรตวั เลก็ เทา่ กนั หมด Search Engine จะเขา้ ใจวา่ เราตอ้ งการ ใหม้ นั คน้ หาคาํ ดงั กลา่ ว แบบไมต่ อ้ งสนใจวา่ ตวั อกั ษรท่ีไดจ้ ะมีขนาดเลก็ หรือใหญ่ ดงั น้นั หากคุณตอ้ งการอยากที่จะใหม้ นั คน้ หาคาํ ตรง ตามแบบที่เขียนไวก้ ใ็ หใ้ ช้ ตวั อกั ษรใหญ่แทน 6. ใชต้ วั เช่ือมทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เขา้ มาช่วยคน้ หา มีอยู่ 3 ตวั ดว้ ยกนั คือ - AND สง่ั ใหห้ าโดยจะตอ้ งมี คาํ น้นั ๆมาแสดงดว้ ยเทา่ น้นั ! โดยไม่จาํ เป็นวา่ จะตอ้ งติดกนั เช่น phonelink AND pager เป็นตน้ - OR สงั่ ใหห้ า โดยจะตอ้ งนาํ คาํ ใดคาํ หน่ึงท่ีพมิ พล์ งไปมาแสดง - NOT สง่ั ไมใ่ หเ้ ลือกคาํ น้นั ๆมาแสดง เช่น food and cheese not butter หมายความวา่ ใหท้ าํ การหาเวบ็ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั food และcheese แต่ตอ้ งไม่มี butter เป็นตน้

7. ใชเ้ ครื่องหมายบวกลบคดั เลือกคาํ + หนา้ คาํ ท่ีตอ้ งการจริงๆ - (ลบ)ใชน้ าํ หนา้ คาํ ที่ไมต่ อ้ งการ () ช่วยแยก กลุ่มคาํ เช่น(pentium+computer)cpu 8. ใชเ้ ป็นตวั ร่วม เช่น com* เป็นการบอกใหห้ าคาํ ท่ีมีคาํ วา่ com ข้ึนหนา้ ส่วนดา้ นทา้ ยเป็น อะไรไม่ สนใจ *tor เป็นการใหห้ าคาํ ที่ลงทา้ ยดว้ ย tor ดา้ นหนา้ จะเป็นอะไรไม่สนใจ 9.หลีก เล่ียงการใชต้ วั เลข พยายามเล่ียงการใชค้ าํ คน้ หาท่ีเป็นคาํ เด่ียวๆ หรือเป็ นคาํ ที่มีตวั เลขปน แต่ถา้ เลี่ยงไมไ่ ด้ คุณกอ็ ใส่เครื่องหมายคาํ พูด (\" \") ลงไปดว้ ย เช่น \"windows 98\" 10. หลีก เลี่ยงภาษาพดู หลีกเล่ียงคาํ ประเภท Natural Language หรือเรียกง่ายๆ วา่ คาํ หรือขอ้ ความที่เป็นภาษาพดู หรือเป็นประโยค คุณควรสรุปเป็นเพียงกลมุ่ คาํ หรือวลี ที่มีความหมายรวมท้งั หมดไว้ Advanced Search อยา่ ลืม ที่จะใช้ Advanced Search เพราะจะมีส่วนช่วยคุณไดม้ าก ในการบีบประเดน็ หวั ขอ้ ใหแ้ คบลง ซ่ึงจะทาํ ใหค้ ุณได้ รายชื่อเวบ็ ไซต์ ท่ีตรงกบั ความตอ้ งการของคุณมากข้ึน 11. อยา่ ละเลย Help ซ่ึงในแตล่ ะเวบ็ จะมี ป่ ุม help หรือ Site map ไวค้ อยช่วยเหลือคุณ แต่คนส่วนใหญ่มกั จะ มองขา้ ม ซ่ึงhelp/site map จะมีประโยชน์มากในการอธิบาย option หรือการใชง้ าน/แผนผงั ปลีกยอ่ ยของแต่ละ เวบ็ ไซต์ 3.4 วิธีการสืบค้นข้อมูลโดยใช้เคร่ืองมือช่วยค้น เครื่องมือช่วยคน้ ขอ้ มลู ในอินเทอร์เน็ต เครื่องมือช่วยคน้ หรือ เซิร์ชเอน็ จิน (Search Engine) Search Engine คือ เวบ็ ไซตท์ ่ีใหบ้ ริการการคน้ หาขอ้ มูล เวบ็ ไซตด์ งั กลา่ วจะมีโปรแกรมชนิดหน่ึงที่เขียนข้ึน เพอื่ ช่วยในการคน้ หาขอ้ มลู ในอินเทอร์เนต็ การทาํ งานของSearch Engineน้นั จะเริ่มจากการหเวบ็ ไซตต์ ่างๆ ในอินเทอร์เนต็ วา่ มีเวบ็ ไซตอ์ ะไรแลว้ สร้างเป็นฐานขอ้ มูลของเวบ็ ไซตต์ า่ งๆข้ึนมาเก็บไวเ้ พื่อใชใ้ นการคน้ หา ตามความตอ้ งการของผใู้ ช้ ฐานขอ้ มลู เหลา่ น้ีจะตอ้ งมีการปรับปรุงบอ่ ยๆเพราะมีเวบ็ ไซตเ์ พม่ิ เติมอยู่ ตลอดเวลานอกจากการสร้างฐานขอ้ มลู เกี่ยวกบั เวบ็ ไซตข์ องตนเองแลว้ Search Engine ยงั อาจจะใชว้ ธิ ีการ คน้ หาจากฐานขอ้ มูลของ Search Engine ตวั อ่ืนๆแลว้ นาํ มาบริการกไ็ ด้ ในการสร้างฐานขอ้ มลู ของ Search Engine น้นั จะใชโ้ ปรแกรมท่ีเรียกวา่ สไปเดอร์ (Spider)หรือโรบอต(Robot)ทาํ การสาํ รวจไปยงั

เวบ็ ไซตต์ ่างๆทวั่ อินเทอร์เน็ตแลว้ นาํ ขอ้ มลู ของเวบ็ ไซตน์ ้นั มาเก็บไวใ้ นฐานขอ้ มลู ของตนเองเมื่อผใู้ ชป้ ้อน Keyword ของขอ้ มูลที่ตอ้ งการคน้ หาเขา้ ไป Search Engine ก็จะนาํ ไปคน้ หาในฐานขอ้ มูลที่มีอยู่ ผลที่ไดจ้ าก การคน้ หาก็คือรายการของเวบ็ ไซตท์ ่ีมี Keyword ดงั กลา่ วอยู่ SearchEngine แตล่ ะตวั มีขอ้ ดีในการสืบคน้ และวธิ ีการในการสืบคน้ ที่แตกต่างกนั ตลอดจนมีการจดั ทาํ ส่วน พิเศษตา่ งๆในการสืบคน้ เพ่ือช่วยผใู้ ช้ และเพือ่ ใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถสืบคน้ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ผใู้ ชค้ วรมีความรู้เก่ียวกบั การคน้ หา ดงั น้ี คือ 1. วิธีการใช้ Search Engine แต่ละเวบ็ ไซตS์ earch Engine แต่ละตวั จะมีส่วนช่วยในการอธิบายวิธีใชใ้ นส่วนที่เรียกวา่ H หรือAbout เช่น Yahoo มีวิธีกาํ หนดคาํ คน้ เพื่อใหไ้ ดผ้ ลคน้ ท่ีเฉพาะเจาะจงหรือตรงต่อความตอ้ งการ ดงั น้ี 1.1 ใชเ้ ครื่องหมายดอกจนั ทร์ (*) เพอ่ื คน้ หาคาํ ท่ีมีการสกดคลา้ ยกนั เช่น smok* หมายความวา่ ใหค้ น้ หาคาํ ท้งั หมดท่ี ข้ึนดว้ ย 5 ตวั อกั ษรแรก เช่น smoke smoker เป็นตน้ 1.2 ใชเ้ คร่ืองหมาย + สาํ หรับกาํ หนดใหแ้ สดงผลการคน้ เฉพาะ เวบ็ ไซต์ ท่ีปรากฏคาํ ท้งั สองคาํ เช่น Secondary + education1.3 ใชเ้ คร่ืองหมาย “ ” สาํ หรับการคน้ หาคาํ ที่เป็นวลี เช่น “great barrier reaf” ฯลฯ 2.การใชต้ รรกบลู ีน (Boolean Logic)เพื่อใหส้ ามารถกาํ หนดการคน้ หาท่ีแคบเขา้ มา โดยใชค้ าํ AND OR NOT เขา้ ช่ว กาํ หนดคาํ คน้ เพอื่ ใหส้ ามารถคน้ หาไดอ้ ยา่ งเฉพาะเจาะจงมากยงิ่ ข้ึน การใช้ ANDการกาํ หนดใช้ AND จะใชเ้ มื่อตอ้ งการกาํ หนดใหค้ น้ รายการที่ปรากฏคาํ ท่ีมีความเก่ียวขอ้ งกนั ในรายการเดียวกนั เช่น water and soilการกาํ หนดแบบน้ีหมายความวา่ ผลการคน้ ตอ้ งการคือเฉพาะรายการท่ีมีคาํ วา่ water และ soil เทา่ น้นั หาก รายการใดที่มีแต่คาํ วา่ water หรือ soil ไม่ตอ้ งการการใชค้ าํ วา่ ORการใช้ OR เป็นการขยายคาํ คน้ โดย กาํ หนดคาํ หลายท่ีเห็นวา่ มีความหามายคลา้ ยกนั หรือสามารถสะกดไดห้ ลายแบบ การใช้ NOTการใช้ NOT จะใชใ้ นเม่ือตอ้ งการจาํ กดั การคน้ เขา้ มาคือไม่ตอ้ งการรายการที่มีเน้ือหาส่วนที่ไม่ ตอ้ งการปรากฏอยู่ โดยกาํ หนดใหต้ ดั คาํ ที่ไม่ตอ้ งการออกเช่นwater not soilการกาํ หนดคาํ แบบน้ี หมายถึง

1. ใหค้ น้ หารายการที่มีคาํ วา่ water แต่หากรายการใดมีคาํ วา่ soil อยดู่ ว้ ย ไมต่ อ้ งการ 2. ผลสืบคน้ ที่ไดท้ ุกรายการที่มีคาํ วา่ water และหากมีคาํ วา่ Soil ใหค้ ดั ออกทุกรายการ 3.5 ตวั อย่างเวบ็ ไซต์ท่ีให้บริการสืบค้นข้อมูลท้งั ของไทยและของต่างประเทศ การใชง้ าน และ Web Search engine ของไทยและตา่ งประเทศSearch Engine แบบไทย ๆ ขอ้ ดีของ Search Engine ไทย ก็คือคน้ หาคาํ ที่ใชภ้ าษาไทยได้ และสามารถ Search เวบ็ ไซตข์ องไทยไดด้ ีกวา่ ดว้ ยเพราะต้งั ใจทาํ มาเพอ่ื การน้ีโดยเฉพาะ ตวั อยา่ งเช่นSearch Engines of Thailand (www.searchenginecolossus.com/Thailand.html) เป็นเวบ็ ไซตท์ ี่รวบรวมรายช่ือลิงคส์ าํ หรับ Search Engines และเวบ็ ไซตท์ ี่เป็นไดเรคทอรของไทย ถา้ ไม่รู้จะเริ่มตน้ ที่ไหนก็เร่ิมตน้ ท่ีนี่ก่อนได้ แต่ไมไ่ ดใ้ หบ้ ริการคน้ หา ขอ้ มูลหรอื Search โดยตรง Thaifind (www.kmutt.ac.th/menu6/Thaifind.html) เป็นเวบ็ ไซตข์ องสถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ที่ใหบ้ ริการคน้ หาขอ้ มูลโดยใชค้ ียเ์ วิร์ดไดท้ ้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ และทาํ การคน้ หาขอ้ มูงไหเ้ รา โดย ใชเ้ คร่ืองมือคน้ หาของไทย 10 ตวั ของสากลอีก 10 ตวั เรียกวา่ เป็น Metasearch หรือ อภิมหา Search นน่ั แหละที่อยขู่ อง Search Engine ไทยอืรน ๆ ที่น่าสนใจ มีดงั น้ี Thaiseek (www.thaiseek.com) Thaisearch (www.thaisearch.com) Thaispy (www.thaispy.com) Atriumtech (www.atriumtech.com) Orientation (http://th.orientation.com) Nontrisearch (http://search.ku.ac.th) วธิ ีการคน้ หา เพียงพิมพค์ าํ ส้ันท่ีเราตอ้ งการคน้ หา หรือท่ีเราเรียกวา่ Key Word และกดป่ ุม Search หรือคน้ หา ประโยชน์ท่ีไดร้ ับจาก Search Engine

◦คน้ หาเวบ็ ท่ีตอ้ งการไดส้ ะดวก รวดเร็ว ◦สามารถคน้ หาแบบเจาะลึกได้ ไมว่ า่ จะเป็น รูปภาพ, ข่าว, MP3 และอื่นๆ อีกมากมาย ◦สามารถคน้ หาจากเวบ็ ไซตเ์ ฉพาะทาง ที่มีการจดั ทาํ ไว้ เช่น download.com เวบ็ ไซตเ์ ก่ียวกบั ขอ้ มลู และ ซอร์ฟแวร์ เป็นตน้ ◦มีความหลากหลายในการคน้ หาขอ้ มลู ◦รองรับการคน้ หา ภาษาไทย นอกจากน้ียงั มีการพฒั นาในรูปแบบของ Search Bar ที่ทาํ ใหผ้ ใู้ ชง้ านไม่จาํ เป็นตอ้ งเขา้ ผา่ นเวบ็ ไซต์ Search Engine เหลา่ น้นั โดยตรงแลว้ ตวั อยา่ ง Search Bar ท่ีขอแนะนาํ เช่น Google Search Bar, Yahoo Search Bar เป็นตน้ สาํ หรับรายละเอียดใหค้ ลิกเขา้ ไปอ่านและ download ไดท้ ่ี Search Bar Ads by Google ลองใช้ Google Chrome เบราวเ์ ซอร์ที่ใหค้ ุณคน้ หาหนา้ ท่ี คุณเคยเยยี่ มชม ดาวน์โหลดเด๋ียวน้ี www.google.co.th/chrome เวบ็ ไซตท์ ี่ใหบ้ ริการ Search Engine เคร่ืองมือในการคน้ หาขอ้ มูลทางอินเตอร์เนต็ Search Engine เป็นเคร่ืองมือหรือโปรแกรมในการคน้ หาเวบ็ ต่างๆ โดยมีการเก็บ รายช่ือเวบ็ ไซต์ และขอ้ มลู ที่เก่ียวขอ้ งตา่ งๆ ของเวบ็ ไซตแ์ ละนาํ มาจดั เก็บไวใ้ น server เพ่ือใหส้ ามารถคน้ หาและ แสดงผลไดส้ ะดวก และรวดเร็วมากยิ่งข้ึน ท้งั น้ี บาง search engine อาจไม่ไดม้ ีการเก็บขอ้ มูลใน server ของตวั เอง แตอ่ าจอาศยั ขอ้ มลู จากเจา้ ของ server น้นั ๆ เคร่ืองมือหรือโปรแกรมสาํ หรับการสืบคน้ (Search Engine) มีอยมู่ ากมายและมีใหบ้ ริการ

อยตู่ ามเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ ที่ใชบ้ ริการการสืบคน้ ขอ้ มูลโดยเฉพาะ การเลือกใชน้ ้นั ข้ึนกบั ประเภทของขอ้ มลู สารสนเทศท่ีตอ้ งการสืบคน้ Search Engine ตา่ งๆ จะใหข้ อ้ มลู ท่ีมีความลึกในแง่มมุ หรือศาสตร์ต่างๆ ไม่ เท่ากนั ตวั อยา่ ง Search Engine ที่นิยมใชม้ ีท้งั เวบ็ ไซตท์ ่ีเป็นของต่างประเทศ และของไทยเอง ตวั อยา่ ง เวบ็ ไซตข์ องไทยและต่างประเทศ ไดแ้ ก่ website ภาษาไทย website ภาษาองั กฤษ http://www.thaifind.com http://www.ixquick.com http://www.thaiseek.com http://www.yahoo.com http://www.thaiall.com http://www.lycos.com http://www.thainame.net/main.html http://www.netfind2.aol.com http://www.sanook.com http://www.excite.com http://www.google.com http://www.altavista.com http://www.aromdee.com http://www.freestation.com หน่วยท่ี 4 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสําเร็จรูปด้านงานเอกสารด้วยโปรแกรม Microsoft Word 4.1 ความรู้เบื้องต้นเกยี่ วกบั โปรแกรม Microsoft Word 4.1.1 ความหมายของโปรแกรม microsoft word 2013 โปรแกรมไมโครซอฟทเ์ วิร์ด เป็นโปรแกรมประมวลผลคาํ ที่ผลิตโดยบริษทั ไมโครซอฟท์ จึงนิยมเรียกวา่ ไมโครซอฟทเ์ วิร์ด ซ่ึงปัจจุบนั พฒั นามาถึงรุ่นหรือเวอร์ชนั่ (Version) 2013 ตามปี ค.ศ. ท่ีผลิตออกมาจาํ หน่าย เป็นโปรแกรมที่นิยมใชส้ าํ หรับการพมิ พง์ านเอกสารตา่ ง ๆ เช่น จดหมาย รายงาน หนงั สือ หนงั สือราชการ วทิ ยานิพนธเ์ ป็นตน้ และสามารถจดั รูปแบบของเอกสารใหด้ ู สวยงาม นอกจากน้ียงั สามารถสร้างงานพิมพ์ แบบคอลมั น์ (Column) ไดแ้ ละในเวอร์ชนั่ ปัจจุบนั ไดม้ ี การปรับความสามารถของโปรแกรมใหน้ ่าใชแ้ ละ ทนั สมยั มากข้ึน 4.1.2 ส่วนประกอบของโปรแกรม microsoft word 2013

1. หมายเลข 1 แถบช่ือเรื่อง (Title Bar) แถบช่ือเรื่อง เป็นส่วนที่ใชใ้ นการแสดงชื่อของไฟลเ์ อกสารที่กาํ ลงั ใช้ งานและแสดงชื่อของ โปรแกรมจากภาพงานเอกสารท่ีกาํ ลงั ใชง้ านมีชื่อวา่ “Document1” และช่ือโปรแกรมที่ กาํ ลงั ใชง้ าน คือ “Microsoft Word” 2. หมายเลข 2 แถบเครื่องมือด่วน (Quick Access Tool Bar) แถบเคร่ืองมือด่วน เป็นส่วนที่แสดงคาํ สั่งที่ตอ้ งการ ใชง้ านบ่อยๆ ปรากฏอยดู่ า้ นบนซา้ ย ของหนา้ ต่างหรือเราสามารถสง่ั ใหแ้ สดงอยใู่ ตร้ ิบบอนกไ็ ดท้ ่ีแสดงในรูป ของป่ ุมรูปภาพ หรือไอคอนเราสามารถเพิม่ หรือลดจาํ นวนของเครื่องมือบนแถบเครื่องมือด่วนไดโ้ ดยการคลิกที่ ท่ีอยดู่ า้ น ทา้ ยสุดของแถบเครื่องมือด่วน แลว้ เลื่อนเมาส์คลิกในบริเวณคาํ สั่งท่ีตอ้ งการให้ปรากฏเครื่องมือบน แถบเครื่องมือด่วน โดยเครื่องมือที่จะปรากฏบนแถบเคร่ืองมือด่วนจะปรากฏเครื่องหมาย üหนา้ เครื่องมือ เหล่าน้นั ในทาํ นองเดียวกนั หากตอ้ งการยกเลิกเคร่ืองมือบนแถบเคร่ืองมือด่วนก็กระทาํ เช่นเดียวกนั แต่ เคร่ืองหมาย üจะหายไป 3. หมายเลข 3 แทบ็ คาํ สัง่ “ไฟล”์ (File Tab) แทบ็ คาํ สั่ง “ไฟล”์ เป็นป่ มุ รายการท่ีรวบรวมคาํ สัง่ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การ จดั การแฟ้มหรือ งานนาํ เสนอ ซ่ึงประกอบดว้ ยคาํ สง่ั “ขอ้ มูล” “ใหม”่ “เปิ ด” “บนั ทึก” “บนั ทึกเป็น” “พิมพ”์ “แชร์” “ส่งออก” และ “ปิ ด” 4. หมายเลข 4 แทบ็ เครื่องมือหรือริบบอน (Ribbon) ริบบอน เป็นแทบ็ ท่ีรวบรวมเครื่องมือคาํ สั่งตา่ งๆของ โปรแกรมไมโครซอฟทเ์ วิร์ด ซ่ึงจะถกู แบ่งออกเป็นแทบ็ (Tab) ตามหมวดหมขู่ องการใชค้ าํ สั่ง ไดแ้ ก่แทบ็ “หนา้ แรก” “แทรก” “ออกแบบ” “เคา้ โครงหนา้ กระดาษ” “การอา้ งอิง” “การส่งจดหมาย” “รีวิว” และ “มุมมอง” 5. หมายเลข 5 ไมบ้ รรทดั (Ruler) ไมบ้ รรทดั เป็นส่วนท่ีแสดงมาตราส่วนเช่นเดียวกบั ไมบ้ รรทดั ทว่ั ไป เพอื่ บอก ระยะของ ขอ้ ความในเอกสาร มีท้งั แนวนอนและแนวต้งั ใชไ้ ดท้ ้งั เป็นนิ้วและเซนติเมตร 6. หมายเลข 6 ตาํ แหน่งพมิ พ์ (Cursor) ตาํ แหน่งพิมพห์ รือเคอร์เซอร์เป็นเครื่องหมายที่บอกตาํ แหน่งการพิมพ์

งานในปัจจุบนั 7. หมายเลข 7 แถบสถานะ (Status Bar) แถบสถานะ เป็นส่วนท่ีแสดงสถานะของการใชง้ านเอกสารในขณะน้นั บางสถานะของ การทาํ งานส่วนน้ีจะแสดงคาํ อธิบายการทาํ งานใหท้ ราบดว้ ย 8. หมายเลข 8 มมุ มอง (View) เราสามารถใชม้ ุมมองของเอกสารในแบบต่าง ๆ จากริบบอน “มุมมอง” หรือใช้ จากแถบ สถานะดา้ นมมุ ล่างขวามือตามหมายเลข 8 ก็ไดซ้ ่ึงไดแ้ ก่มุมมอง “โหมดการอา่ น” “เคา้ โครงเหมือน พิมพ”์ และ “เคา้ โครงเวบ็ ” 9. หมายเลข 9 มุมมองยอ่ /ขยาย มุมมองยอ่ /ขยาย ใชส้ าํ หรับปรับมมุ มองของเอกสาร ซ่ึงสามารถปรับไดท้ ้งั แบบ ยอ่ และ แบบขยาย โดยเปรียบเทียบไดจ้ ากตวั เลขแสดงเปอร์เซ็นต์ (Percent) ของการยอ่ /ขยาย 10. หมายเลข 10 แถบเล่ือน (Scroll Bar) แถบเล่ือน โดยปกติมีท้งั แนวต้งั และแนวนอน ใชส้ าํ หรับการเล่ือนดู เอกสารท้งั ในแนว บน-ล่าง และแนวซา้ ย-ขวา 4.2 ความหมายและการใช้คาํ ส่ังแถบเคร่ืองมือ แถบเคร่ืองมือ คือกล่มุ ของคาํ ส่งั ท่ีใชบ้ อ่ ย จดั ไวเ้ ป็นชุดๆ ปกติเม่ือเปิ ดโปรแกรม Microsoft Word ข้ึนมา โปรแกรมจะแสดงแถบเครื่องแถบเครื่องมือยอ่ ยให้ผใู้ ชเ้ ลือกเครื่องมือต่างๆ ตามความเหมาะสมกบั รูปแบบงาน ท่ีหาํ ลงั ใชง้ าน เม่ือนาํ ตวั ช้ีเมาส์ไปวางบนป่ มุ สักครู่ จะปรากฏช่ือน้นั ข้ึนมา ถา้ ตอ้ งการใชป้ ่ มุ ใดใหค้ ลิกป่ มุ น้นั 1 คร้ัง แตล่ ะป่ ุมมีหนา้ ที่แตกต่าง 4.3 ข้นั ตอนการเปิ ด-ปิ ด ละบนั ทกึ ข้อมูลบนโปรแกรม Microsoft Word 4.3.1 ข้นั ตอนการเปิ ดโปรแกรม microsoft word 1.เลือกป่ มุ start 2.เลือกProgram 3. เลือก microsoft office 4.เลือก microsoft word 2013 4.3.2 ข้นั ตอนการบนั ทึกขอ้ มูลบนโปรแกรม microsoft word 1. เลือกเมนู file 2. เลือก save as เพื่อระบไุ ดร์ฟท่ีตอ้ งการบนั ทึก 3. ในส่วนของ file name ป้อนช่ือบนั ทึกขอ้ มูล 4. เลือก save

4.3.3 ข้นั ตอนการปิ ดโปรแกรม microsoft word 1. เลือกเมนู file 2. เลือกCloseปิ ดแฟ้มงาน 3 .เลือกเมนู file 4. เลือก Exit ปิ ดโปรแกรมการใชง้ าน 4.4 การพมิ พ์เอกสาร การเลือกข้อมูล คัดลอก และเคล่ือนย้ายข้อมูล 4.4.1 ข้นั ตอนการพิมพเ์ อกสาร 1. เลือกแถบเครื่องมือ 2. เลือกขอ้ ความเพอ่ื จดั การขอ้ ความ เช่น เลือกขนาดตวั อกั ษรเลือกรูปตวั อกั ษรโดยเลือกท่ีแถบเครื่องมือ 3. วางเคอร์เซอร์ ณ ตาํ แหน่งที่ตอ้ งการพมิ พข์ อ้ ความ 4. พิมพข์ อ้ ความที่ตอ้ งการ 5. เม่ือตอ้ งการพิมพบ์ รรทดั ถดั ไปกดป่ ุม enter 4.4.2 ข้นั ตอนการเลือกขอ้ ความ (แรงเงา) 1.วางเคอร์เซอร์หนา้ ขอ้ ความ 2. กดป่ ุมเมาส์ซา้ ยคา้ งลา่ งจากขอ้ ความแรกไปจนถึงขอ้ ความสุดทา้ ยที่ตอ้ งการปรากฏสีดาํ บนขอ้ ความ 4.4.3ข้นั ตอนการคดั ลอกขอ้ ความ Copy 1. เลือกขอ้ ความที่ตอ้ งการแรงเงา 2.วางเมาส์บนพ้นื ท่ีท่ีเลือกขอ้ ความ 3. คลิกเมาส์ป่ ุมขวาเลือก copy 4. วางเคอร์เซอร์ณตาํ แหน่งที่ตอ้ งการวางขอ้ ความ 5. คลิกเมาส์ป่ ุมขวาเลือก paste options 4.4.4 ข้นั ตอนการตดั ขอ้ ความ 1.เลือกขอ้ ความที่ไม่ตอ้ งการ 2. กดป่ ุม delete หรือเลือก cut บนแถบเครื่องมือถือกด enter 4.4.5 ข้นั ตอนการเรียกขอ้ ความกลบั คืน เลือก Undo

4.4.6 ข้นั ตอนการเคลื่อนไหวขอ้ ความ 1. เร่ืองขอ้ ความที่ตอ้ งการยา้ ย 2. วางเมาส์บนพ้นื ท่ีที่เลือกขอ้ ความ 3.เลือกเมาส์เพื่อนาํ เคอร์เซอร์r แปลวา่ เอาขอ้ ความห ณ ตาํ แหน่งที่ตอ้ งการ 4. การเลือกขอ้ ความไปยงั บรรทดั ถดั ไป (1) การวางเคอร์เซอร์หนา้ ขอ้ ความหรือหนา้ บรรทดั ท่ีตอ้ งการ (2) กดป่ ุม enter 5. การเลื่อนไปยงั หนา้ ถดั ไป (1) วางเคอร์เซอร์หลงั ขอ้ ความสุดทา้ ยของบรรทดั ในหนา้ เอกสาร (2) กดป่ มุ ctrl enter พร้อมกนั 4.4.7 การแกไ้ ขขอ้ ความ 1.1 การลบขอ้ ความ (1) วางเคอร์เซอร์หนา้ ขอ้ ความที่ตอ้ งการลบแลว้ กดป่ ุม delete หรือ (2) วางเคอร์เซอร์หลงั ขอ้ ความที่ตอ้ งการลบแลว้ กดป่ ุม blackspace 4.5 การจดั รูปแบบตวั อกั ษร การกาํ หนดตาํ แหน่งขอ้ ความสามารถจดั วางขอ้ ความในเอกสารวา่ จะใหช้ ิดดา้ นใดในเอกสารกไ็ ด้ ซ่ึงการจดั ขอ้ ความจะมีผล ต่อขอ้ ความในยอ่ หนา้ น้นั วธิ ีกาํ หนดการจดั วางตาํ แหน่งขอ้ ความในเอกสารทาํ ไดด้ งั น้ี 1. คลิกที่ใดๆ ในเอกสารท่ีตอ้ งการจดั วางตาํ แหน่งขอ้ ความ 2. คลิกป่ มุ เครื่องมือ เพอ่ื เลือกรูปแบบการจดั วางขอ้ ความ ถา้ ตอ้ งการวางขอ้ ความในเอกสารให้ ชิดซา้ ยใหค้ ลิกสญั รูป ถา้ ตอ้ งการขอ้ ความในเอกสารใหอ้ ยู่ ตรงกลาง ใหค้ ลิกสญั รูป ถา้ ตอ้ งการขอ้ ความในเอกสารให้ ชิดขวา ใหค้ ลิกสญั รูป ถา้ ตอ้ งการขอ้ ความในเอกสารใหเ้ ตม็ บรรทดั ใหคลิกสัญรูป ถา้ ตอ้ งการจดั วางขอ้ ความใหช้ ิดขอบซา้ ยและขวา โดยการแยกช่องไฟระหวา่ งตวั อกั ษรแตล่ ะตวั เทา่ ๆ กนั (มีใช้ เฉพาะภาษาไทยเท่าน้นั ) ใหคลิกสญั รูป

4.6 การจดั เอกสารเป็ นคอลมั น์ การแบ่งเอกสารเป็นหลายสดมภว์ ธิ ีที่ง่ายที่สุดคือ ควรกาํ หนดคอลมั นเ์ สียก่อนที่เราจะพมิ พข์ อ้ มลู ลงไป มีวิธีการ ดงั น้ี หรือทาํ ตามข้นั ตอนดงั น้ี 1. คลิกเมาส์ เลือกคาํ ส่งั รูปแบบ 2. คลิกเมาส์ เลือกคาํ สง่ั สดมภ์ จะปรากฎเครื่องมือแสดงการแบง่ จาํ นวน สดมภ์ 3. คลิกเมาส์ เลือกจาํ นวน สดมภ์ ที่ตอ้ งการ 4. เอกสารจะถูกแบ่งเป็นหลาย สดมภ์ ตามท่ีไดเ้ ลือกไว้ การแบ่งเอกสารเป็นหลาย สดมภ์ น้นั จะมีผลท้งั เอกสาร แตถ่ า้ ตอ้ งการแบง่ ใหเ้ ป็นหลาย สดมภใ์ นเอกสาร บางส่วนก็ สามารถ ทาํ ไดโ้ ดยการกาํ หนด การนาํ ไปใช้ (5) ทาํ ใหเ้ อกสารถกู แบ่งออกเป็นส่วนๆ ซ่ึงการแบ่ง เอกสารเป็นหลาย สดมภน์ ้นั จะมี ผลเฉพาะพ้ืนที่ ทีเ่ ลือกไวเ้ ทา่ น้นั 4.7 การแทรกรูปภาพและอกั ษรศิลป์ อกั ษรศิลป์ เป็นวธิ ีท่ีรวดเร็วในการทาํ ใหข้ อ้ ความโดดเด่นโดยใชเ้ อฟเฟกตพ์ ิเศษ คุณเลือกสไตลอ์ กั ษรศิลป์ จาก แกลเลอรีอกั ษรศิลป์ โดยเรียกใชจ้ ากแท็บ แทรก ซ่ึงคุณสามารถกาํ หนดคา่ เองได้ 1.คลิก แทรก > อกั ษรศิลป์ แลว้ เลือกสไตลอ์ กั ษรศิลป์ ที่คุณตอ้ งการ

ในแกลเลอรีอกั ษรศิลป์ ตวั อกั ษร A แสดงแทนรูปแบบต่างๆท่ีใชก้ บั ขอ้ ความท้งั หมดท่ีคุณพมิ พ์ หมายเหตุ: ไอคอนอกั ษรศิลป์ จะอยใู่ นกลมุ่ ขอ้ ความ และอาจจะปรากฏข้ึนแตกตา่ งกนั ไปตามโปรแกรมที่คุณ กาํ ลงั ใชอ้ ยแู่ ละขนาดหนา้ จอของคุณ คน้ หาหนี่งในไอคอนเหลา่ น้ี: 2. ตวั แทนขอ้ ความ \"ขอ้ ความของคุณอยทู่ ่ีน่ี\" จะปรากฏข้ึน โดยเป็นขอ้ ความที่เนน้ ไว้ ใส่ขอ้ ความของคุณเองแทนท่ีตวั แทนขอ้ ความ เคลด็ ลบั : คุณสามารถป้อนไดท้ ้งั ประโยค และแมแ้ ต่ยอ่ หนา้ ใหเ้ ป็นอกั ษรศิลป์ (คุณอาจจะตอ้ งเปล่ียนขนาด ฟอนตส์ าํ หรับขอ้ ความที่ยาวกวา่ ) และใน Word คุณสามารถแปลงขอ้ ความที่มีอยเู่ ป็นอกั ษรศิลป์ ใน Word คุณสามารถรวมสญั ลกั ษณ์เป็นขอ้ ความอกั ษรศิลป์ ได้ คลิกตาํ แหน่งที่ต้งั สาํ หรับสญั ลกั ษณ์ และบนแท็บ แทรก ใหค้ ลิก สัญลกั ษณ์ และเลือกสัญลกั ษณ์ท่ีคุณตอ้ งการ กาํ หนดอกั ษรศิลป์ ดว้ ยตวั เอง คุณอาจจะลองใชส้ ไตลร์ ูปร่างเพ่ือเปล่ียนรูปร่างของอกั ษรศิลป์ และรู้สึกสับสนกบั ขอ้ ความท่ีไมม่ ีการ เปล่ียนแปลง ใชต้ วั เลือกขอ้ ความในกลมุ่ สไตลข์ องอกั ษรศิลป์ แทน สไตลร์ ูปร่างและเอฟเฟ็กตจ์ ะมีผลกบั กลอ่ งและพ้นื หลงั รอบๆ อกั ษรศิลป์ ของคุณ ไม่ใช่ขอ้ ความอกั ษรศิลป์ ดงั น้นั เมื่อตอ้ งการเพิม่ อกั ษรศิลป์ ของ

คุณ เช่น เงา การหมนุ เส้นโคง้ และสีเติมและสีเคา้ ร่าง คุณใชต้ วั เลือกในกลุ่ม อกั ษรศิลป์ ประกอบดว้ ย สีเติม ขอ้ ความ, เคา้ ร่างขอ้ ความ และ เอฟเฟ็กตข์ อ้ ความ หมายเหต:ุ คุณอาจจะเห็นเฉพาะไอคอนสาํ หรับสไตลอ์ กั ษรศิลป์ ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ขนาดหนา้ จอของคุณ เปล่ียนสีเติมและสีเคา้ ร่างของขอ้ ความอกั ษรศิลป์ 1.เลือกขอ้ ความอกั ษรศิลป์ หรือตวั อกั ษรท่ีตอ้ งการเปลี่ยน แทบ็ รูปแบบเครื่องมือการวาด จะปรากฏข้ึน 2.บนแทบ็ รูปแบบเคร่ืองมือการวาด คลิก สีเติมขอ้ ความ หรือ สีเคา้ ร่าง และเลือกสีท่ีคุณตอ้ งการ คลิกดา้ นนอกกลอ่ งขอ้ ความของคุณเพอ่ื ดูเอฟเฟ็กต์ มีการใชส้ ีเติมขอ้ ความสีน้าํ เงินอ่อนและสีเคา้ ร่างสีแดงในตวั อยา่ งน้ี

สร้างอกั ษรศิลป์ เส้นโคง้ หรือแบบวงกลม และเพ่มิ เอฟเฟ็กตข์ อ้ ความอื่นๆ เลือกขอ้ ความอกั ษรศิลป์ หรือตวั อกั ษรท่ีตอ้ งการเปลี่ยน แทบ็ รูปแบบเครื่องมือการวาด จะปรากฏข้ึน เมื่อตอ้ งการสร้างเอฟเฟ็กตเ์ สน้ โคง้ บนแทบ็ รูปแบบเครื่องมือการวาด คลิก เอฟเฟ็กตข์ อ้ ความ >การแปลง และ เลือกหน่ึงตวั เลือกที่คุณตอ้ งการ สิ่งสาํ คญั : เมนู ขอ้ ความเอฟเฟ็กต์ ป่ ุมเมนูขอ้ ความเอฟเฟ็กต์ ไมเ่ หมือนกบั เมนู เอฟเฟ็กตร์ ูปร่าง ป่ ุมเมนูรูปร่าง เอฟเฟ็กตร์ ูปร่าง ถา้ คุณไม่เห็น แปลง ที่ดา้ นล่างของเมนู โปรดตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ คุณคลิกเมนู ขอ้ ความเอฟ เฟ็ กต์ มีการเลือกใชเ้ อฟเฟ็กตก์ ารแปลงเสน้ โคง้ แรกในตวั อยา่ งน้ี คลิกดา้ นนอกกล่องขอ้ ความของคุณเพ่อื ดูเอฟเฟ็กต์ ใชเ้ มนู เอฟเฟ็กตข์ อ้ ความ เพอื่ สร้างเอฟเฟ็กตอ์ ่ืนๆ เช่น เงา การทาํ รีเฟลกชนั เรืองแสง ยกนูน และการหมุนสาม มิติ ตวั อยา่ งน้ีจะแสดงอกั ษรศิลป์ ที่มีเอกเฟ็กตก์ ารแปลงเส้นโคง้ และใชเ้ งา หมุนหรือพลิกขอ้ ความอกั ษรศิลป์ เม่ือตอ้ งการหมนุ ขอ้ ความอกั ษรศิลป์ ไปท่ีมุมใดๆ ใหเ้ ลือกมุมท่ีตอ้ งการ และจากน้นั ลากตวั จดั การหมุนแบบ วงกลมท่ีดา้ นบนของกล่อง

เม่ือตอ้ งการพลิกอกั ษรศิลป์ หรือหมุนเป็น 90 องศา ใหค้ ลิกแทบ็ รูปแบบเคร่ืองมือการวาด คลิก หมนุ ในกล่มุ จดั เรียง จากน้นั เลือกตวั เลือก เปล่ียนฟอนตข์ องขอ้ ความอกั ษรศิลป์ เม่ือตอ้ งการเปลี่ยนขนาดฟอนตห์ รือสไตลข์ อ้ ความอกั ษรศิลป์ ของคุณ เลือกขอ้ ความอกั ษรศิลป์ หรือตวั อกั ษรที่ตอ้ งการเปลี่ยน บนแทบ็ หนา้ แรก ใหเ้ ปลี่ยนตวั เลือกในกล่มุ ฟอนต์ เช่น สไตลฟ์ อนต์ ขนาดฟอนต์ หรือขีดเสน้ ใต้ แปลงขอ้ ความท่ีมีอยเู่ ป็นอกั ษรศิลป์ ใน Word ในเอกสาร Word ของคุณ ใหเ้ ลือกขอ้ ความเพ่ือแปลงเป็นอกั ษรศิลป์ บนแทบ็ แทรก ใหค้ ลิก อกั ษรศิลป์ แลว้ เลือกอกั ษรศิลป์ ที่คุณตอ้ งการ 4.8 การจัดการตารางบนเอกสาร เมื่อตอ้ งการแทรกตารางพ้ืนฐานอยา่ งรวดเร็ว ใหค้ ลิก แทรก > ตาราง แลว้ ยา้ ยเคอร์เซอร์ไปไวเ้ หนือเส้นตาราง จนกวา่ คุณจะเนน้ จาํ นวนของคอลมั น์และแถวตามท่ีคุณตอ้ งการ

คลิกและตารางปรากฏในเอกสาร ถา้ คุณจาํ เป็นตอ้ งทาํ การปรับปรุง คุณสามารถเพม่ิ แถวของตารางและคอลมั น์ ลบแถวของตารางและคอลมั น์หรือผสานเซลลต์ ารางเป็นเซลลเ์ ดียว เมื่อคุณคลิกในตาราง เครื่องมือตาราง จะปรากฏข้ึน ใชเ้ ครื่องมือตาราง เพอื่ เลือกสีท่ีแตกตา่ งกนั สไตลต์ ารางเพม่ิ เส้นขอบตารางหรือเอาเสน้ ขอบออกจากตาราง คุณสามารถลองใชค้ ู่แทรกสูตรเพอ่ื แสดงผลรวมสาํ หรับคอลมั นห์ รือแถวของตวั เลขในตาราง ถา้ คุณมีขอ้ ความในเอกสารของคุณที่จะดูดียงิ่ ข้ึนเป็ นตาราง Word สามารถแปลงขอ้ ความลงในตาราง แทรกตารางขนาดใหญ่หรือตารางที่ มีความกวา้ งแบบกาํ หนดเอง หมายเหต:ุ นาํ ไปใชก้ บั เวอร์ชนั บนเดสกท์ อ็ ปของ Word เท่าน้นั นาํ ไปใชก้ บั Word Online ไมไ่ ด้ สาํ หรับตารางขนาดใหญแ่ ละสาํ หรับการควบคุมคอลมั น์เพ่มิ เติม ใหใ้ ชค้ าํ สง่ั แทรกตาราง ดว้ ยวธิ ีน้ี คุณสามารถสร้างตารางท่ีมีมากกวา่ 10 คอลมั นแ์ ละ 8 แถว รวมถึงต้งั ค่าลกั ษณะการทาํ งานของความ กวา้ งของคอลมั น์ไดด้ ว้ ย คลิก แทรก > ตาราง > แทรกตาราง กาํ หนดจาํ นวนคอลมั น์และแถว

ในส่วน ลกั ษณะการทาํ งานแบบปรับพอดีอตั โนมตั ิ คุณมีสามตวั เลือกในการต้งั คา่ ความกวา้ งของคอลมั น์ ของคุณ ดงั น้ี ความกวา้ งคอลมั น์คงท่ี คุณสามารถกาํ หนดให้ Word ต้งั ค่าความกวา้ งของคอลมั น์โดยอตั โนมตั ิดว้ ย อตั โนมตั ิ หรือคุณสามารถต้งั ค่าความกวา้ งเฉพาะสาํ หรับคอลมั น์ท้งั หมดของคุณก็ได้ ปรับพอดีอตั โนมตั ิกบั เน้ือหา จะสร้างคอลมั น์ที่แคบมากที่จะขยายออกไปไดเ้ ม่ือคุณเพิ่มเน้ือหา ปรับพอดีอตั โนมตั ิกบั หนา้ ตา่ ง จะเปล่ียนความกวา้ งของตารางท้งั หมดโดยอตั โนมตั ิเพือ่ ใหเ้ ขา้ กบั ขนาด ของเอกสารของคุณ ถา้ คุณตอ้ งการใหต้ ารางแตล่ ะตารางท่ีคุณสร้างมีลกั ษณะเหมือนกบั ตารางท่ีคุณกาํ ลงั สร้างอยู่ ใหท้ าํ เคร่ืองหมาย ท่ี จาํ ขนาดสาํ หรับตารางใหม่ ดีไซน์ตารางของคุณเอง โดยการวาด หมายเหตุ: นาํ ไปใชก้ บั เวอร์ชนั บนเดสก์ทอ็ ปของ Word เท่าน้นั นาํ ไปใชก้ บั Word Online ไมไ่ ด้ ถา้ คุณตอ้ งการการควบคุมรูปร่างของคอลมั น์และแถวของตารางของคุณหรืออื่นๆ นอกเหนือจากเส้นตาราง พ้นื ฐาน เคร่ืองมือ วาดตาราง จะช่วยคุณวาดตารางไดต้ ามท่ีคุณตอ้ งการ คุณสามารถวาดเส้นทแยงมมุ และเซลลภ์ ายในเซลลไ์ ด้

คลิก แทรก > ตาราง > วาดตาราง ตวั ช้ีจะเปล่ียนเป็ นดินสอ ใหว้ าดส่ีเหล่ียมผนื ผา้ เพ่ือเป็นเสน้ ขอบของตาราง จากน้นั ใหว้ าดเสน้ สาํ หรับคอลมั น์และแถวภายใน ส่ีเหล่ียมผืนผา้ น้นั เมื่อตอ้ งการลบบรรทดั หน่ึง: ใน Word 2013 และ Word 2016: คลิกท่ีแทบ็ เคา้ โครงของเครื่องมือตาราง ใน Word 2007 และ Word 2010: คลิกที่แทบ็ ออกแบบของเคร่ืองมือตาราง คลิกยางลบ น้นั แลว้ คลิกบรรทดั ที่คุณตอ้ งการลบ ถา้ คุณตอ้ งการแจกจ่ายท้งั หมดของแถวและคอลมั น์เทา่ กนั บนแทบ็ เคา้ โครงของเคร่ืองมือตาราง ในกลุ่มขนาด เซลล์ คลิกกระจายแถว หรือคอลมั น์ที่แจกจ่าย หน่วยท่ี 5 การจัดเอกสารและการนาํ เอกสารมาใช้งาน

5.1 การจัดเรียงลาํ ดับข้อมูลในตารางเอกสาร 1. เลือกคอลมั น์ของขอ้ มูลตวั อกั ษรและตวั เลขในช่วงของเซลล์ หรือตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ เซลลท์ ี่ใชง้ านอยู่ อยใู่ นคอลมั นต์ ารางที่มีขอ้ มลู ตวั อกั ษรและตวั เลข 2. บนแทบ็ ขอ้ มูล ในกล่มุ เรียงลาํ ดบั และกรอง ใหเ้ ลือกทาํ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงดงั ต่อไปน้ี 3. เม่ือตอ้ งการเรียงลาํ ดบั ตวั อกั ษรจากนอ้ ยไปหามาก ใหค้ ลิก (เรียงลาํ ดบั จาก A ถึง Z) 4. เม่ือตอ้ งการเรียงลาํ ดบั ตวั อกั ษรจากมากไปหานอ้ ย ใหค้ ลิก เรียงลาํ ดบั จาก Z ถึง A อีกทางเลือกหน่ึงคือ คุณสามารถเรียงลาํ ดบั ตามตวั พมิ พใ์ หญ่-เลก็ : 1. บนแทบ็ ขอ้ มลู ในกลมุ่ เรียงลาํ ดบั และกรอง ใหค้ ลิก เรียงลาํ ดบั 2. ในกลอ่ งโตต้ อบ เรียงลาํ ดบั ใหค้ ลิก ตวั เลือก กลอ่ งโตต้ อบ ตวั เลือกการเรียงลาํ ดบั จะปรากฏข้ึน 3. ในกลอ่ งโตต้ อบ ตวั เลือกการเรียงลาํ ดบั ใหเ้ ลือก ตรงตามตวั พมิ พใ์ หญ-่ เลก็ 4. คลิก ตกลง สองคร้ัง 5. เมื่อตอ้ งการนาํ การเรียงลาํ ดบั มาใชใ้ หมห่ ลงั จากที่คุณเปลี่ยนแปลงขอ้ มูล ใหค้ ลิกท่ีเซลลใ์ นช่วงหรือตาราง จากน้นั บนแทบ็ ขอ้ มลู ในกลุม่ เรียงลาํ ดบั และตวั กรอง ใหค้ ลิก นาํ ไปใชใ้ หม่ ปัญหา: ตรวจสอบว่าข้อมูลท้ังหมดถูกเกบ็ เป็ นข้อความ ถา้ คอลมั นท์ ี่คุณตอ้ งการเรียงลาํ ดบั มีตวั เลขที่เกบ็ เป็น ตวั เลข และตวั เลขที่เก็บเป็ นขอ้ ความ คุณจาํ เป็นตอ้ งจดั รูปแบบท้งั หมดเป็นขอ้ ความ ถา้ คุณไมน่ าํ รูปแบบน้ีไปใช้ ตวั เลขท่ีจดั เกบ็ เป็นตวั เลขจะถูกเรียงลาํ ดบั ก่อนตวั เลขที่จดั เก็บเป็นขอ้ ความ เม่ือตอ้ งการจดั รูปแบบขอ้ มลู ที่เลือก ไวท้ ้งั หมดเป็นขอ้ ความ บนแทบ็ หนา้ แรก ในกล่มุ แบบอกั ษร ใหค้ ลิกป่ ุม ฟอนตใ์ นการจดั รูปแบบเซลล์ คลิก แทบ็ ตวั เลข แลว้ ภายใต้ ประเภท ใหค้ ลิก ขอ้ ความ

ปัญหา: นําช่องว่างนําหน้าออก ในบางกรณี ขอ้ มูลท่ีนาํ เขา้ จากโปรแกรมประยกุ ตอ์ ื่นอาจมีช่องวา่ งนาํ หนา้ แทรกอยทู่ ี่ดา้ นหนา้ ของขอ้ มูล ใหเ้ อาช่องวา่ งนาํ หนา้ ออกก่อนท่ีจะเรียงลาํ ดบั ขอ้ มลู คุณสามารถดาํ เนินการน้ีดว้ ย ตนเอง หรือคุณจะใชฟ้ ังก์ชนั TRIM กไ็ ด้ เรียงลาํ ดบั ตัวเลข 1. เลือกคอลมั นข์ องขอ้ มลู ตวั เลขในช่วงของเซลล์ หรือใหต้ รวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ เซลลท์ ่ีใชง้ านอยอู่ ยใู่ น คอลมั นต์ ารางที่มีขอ้ มูลตวั เลข 2. บนแทบ็ ขอ้ มลู ในกล่มุ เรียงลาํ ดบั และกรอง ใหเ้ ลือกทาํ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงดงั ตอ่ ไปน้ี 3. เมื่อตอ้ งการเรียงลาํ ดบั ตวั เลขจากนอ้ ยไปหามาก ให้คลิก (เรียงลาํ ดบั จากนอ้ ยที่สุดไปหามากท่ีสุด) 4. เม่ือตอ้ งการเรียงลาํ ดบั ตวั เลขจากมากไปหานอ้ ย ให้คลิก (เรียงลาํ ดบั จากมากท่ีสุดไปหานอ้ ยที่สุด) ปัญหา: ตรวจสอบว่ามีการจดั เกบ็ ตัวเลขท้ังหมดเป็ นตวั เลข ถา้ ผลลพั ธ์ไมเ่ ป็นไปตามท่ีคุณคาดไว้ คอลมั น์ อาจมีตวั เลขที่จดั เกบ็ เป็นขอ้ ความแทนท่ีจะเป็นตวั เลข ตวั อยา่ งเช่น คา่ ลบที่นาํ เขา้ จากระบบบญั ชีบางอยา่ งหรือ ตวั เลขท่ีป้อนโดยใชเ้ ครื่องหมายอญั ประกาศเด่ียว (‘) นาํ หนา้ จะไดร้ ับการจดั เกบ็ เป็นขอ้ ความ สาํ หรับขอ้ มลู เพม่ิ เติม ใหด้ ูท่ี แก้ไขข้อความทจี่ ัดรูปแบบเป็ นตัวเลขโดยการนาํ การจดั รูปแบบตัวเลขไปใช้ เรียงลาํ ดบั วนั ท่หี รือเวลา 1. เลือกคอลมั น์ของวนั ท่ีหรือเวลาในช่วงของเซลล์ หรือตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ เซลลท์ ่ีใชง้ านอยอู่ ยใู่ นคอลมั น์ ตารางที่มีวนั ท่ีหรือเวลา 2. เลือกคอลมั นข์ องวนั ที่หรือเวลาในช่วงของเซลลห์ รือตาราง 3. บนแทบ็ ขอ้ มลู ในกล่มุ เรียงลาํ ดบั และกรอง ใหเ้ ลือกทาํ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงดงั ตอ่ ไปน้ี 4. เม่ือตอ้ งการเรียงลาํ ดบั วนั ท่ีหรือเวลาจากก่อนไปหลงั ใหค้ ลิก (เรียงลาํ ดบั จากเก่าสุดไปหาใหม่สุด) 5. เมื่อตอ้ งการเรียงลาํ ดบั วนั ท่ีหรือเวลาจากหลงั ไปก่อน ใหค้ ลิก (เรียงลาํ ดบั จากใหมส่ ุดไปหาเก่าสุด) 6. เม่ือตอ้ งการนาํ การเรียงลาํ ดบั มาใชใ้ หมห่ ลงั จากท่ีคุณเปล่ียนแปลงขอ้ มูล ใหค้ ลิกที่เซลลใ์ นช่วงหรือตาราง จากน้นั บนแทบ็ ขอ้ มูล ในกลุม่ เรียงลาํ ดบั และตวั กรอง ใหค้ ลิก นาํ ไปใชใ้ หม่

ปัญหา: ตรวจสอบว่ามีการจัดเกบ็ วนั ทแ่ี ละเวลาเป็ นวันทห่ี รือเวลา ถา้ ผลลพั ธไ์ ม่เป็นไปตามท่ีคุณคาดไว้ คอลมั น์อาจมีวนั ท่ีและเวลาท่ีจดั เก็บเป็นขอ้ ความแทนท่ีจะเป็นวนั ท่ีหรือเวลา เพือ่ ให้ Excel เรียงลาํ ดบั วนั ท่ีและ เวลาไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง วนั ท่ีและเวลาท้งั หมดในคอลมั น์ตอ้ งจดั เก็บเป็นหมายเลขลาํ ดบั เวลาหรือวนั ท่ี ถา้ Excel ไม่ สามารถจาํ ค่าเป็นวนั ที่หรือเวลา วนั ที่หรือเวลาจะไดร้ ับการจดั เก็บเป็นขอ้ ความ สาํ หรับขอ้ มูลเพม่ิ เติม ใหด้ ู ท่ี แปลงวนั ทที่ เี่ กบ็ เป็ นข้อความให้เป็ นวนั ที่ หมายเหตุ: ถา้ คุณตอ้ งการใหเ้ รียงลาํ ดบั ตามวนั ในสปั ดาห์ ใหจ้ ดั รูปแบบเซลลใ์ หแ้ สดงวนั ในสัปดาห์ ถา้ คุณ ตอ้ งการเรียงลาํ ดบั ตามวนั ในสปั ดาห์โดยไมค่ าํ นึงถึงวนั ที่ ใหแ้ ปลงเซลลเ์ ป็นขอ้ ความโดยใชฟ้ ังกช์ นั Text อยา่ งไรก็ตาม ฟังกช์ นั TEXT จะส่งกลบั คา่ ขอ้ ความ และดงั น้นั การเรียงลาํ ดบั จะเป็นไปตามขอ้ มูลที่เป็ นตวั เลข และตวั อกั ษร สาํ หรับขอ้ มูลเพิ่มเติม ใหด้ ูท่ี แสดงวนั ทเี่ ป็ นวนั ในสัปดาห์ เรียงลาํ ดับตามสีของเซลล์ สีแบบอกั ษร หรือไอคอน ถา้ คุณจดั รูปแบบช่วงของเซลลห์ รือคอลมั นต์ ารางดว้ ยตนเองหรือตามเงื่อนไข ตามสีของเซลล์ หรือสีแบบอกั ษร คุณสามารถเรียงลาํ ดบั ตามสีเหล่าน้ีไดด้ ว้ ย และคุณยงั สามารถเรียงลาํ ดบั ตามชุดไอคอนที่คุณสร้างโดยการนาํ การ จดั รูปแบบตามเง่ือนไขไปใช้ 1. เลือกคอลมั น์ของขอ้ มลู ในช่วงของเซลล์ หรือตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ เซลลท์ ี่ใชง้ านอยนู่ ้นั อยใู่ นคอลมั น์ ตาราง 2. บนแทบ็ ขอ้ มูล ในกลมุ่ เรียงลาํ ดบั และกรอง ใหค้ ลิก เรียงลาํ ดบั กล่องโตต้ อบ เรียงลาํ ดบั จะปรากฎข้ึน 3. ภายใต้ คอลมั น์ ในกล่อง เรียงลาํ ดบั ตาม ใหเ้ ลือกคอลมั น์ที่คุณตอ้ งการเรียงลาํ ดบั 4. ภายใต้ เรียงลาํ ดบั ใหเ้ ลือกชนิดการเรียงลาํ ดบั แลว้ ใหเ้ ลือกทาํ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงตอ่ ไปน้ี o เม่ือตอ้ งการเรียงลาํ ดบั ตามสีของเซลล์ ใหเ้ ลือก สีของเซลล์

o เมื่อตอ้ งการเรียงลาํ ดบั ตามสีแบบอกั ษร ใหเ้ ลือก สีแบบอกั ษร o เมื่อตอ้ งการเรียงลาํ ดบั ตามชุดไอคอน ใหเ้ ลือก ไอคอนของเซลล์ 5. ภายใต้ ลาํ ดบั ใหค้ ลิกลูกศรถดั จากป่ มุ แลว้ เลือกสีของเซลล์ สีแบบอกั ษร หรือไอคอนของเซลล์ โดย ข้ึนกบั ชนิดของรูปแบบ 6. ภายใต้ ลาํ ดบั ใหเ้ ลือกวิธีท่ีคุณตอ้ งการเรียงลาํ ดบั แลว้ ใหเ้ ลือกทาํ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงต่อไปน้ี o เม่ือตอ้ งการยา้ ยสีของเซลล์ สีแบบอกั ษร หรือไอคอนท่ีดา้ นบนหรือดา้ นซา้ ย ให้ เลือก ดา้ นบน สาํ หรับการเรียงลาํ ดบั คอลมั น์ และ ดา้ นซา้ ย สาํ หรับการเรียงลาํ ดบั แถว o เม่ือตอ้ งการยา้ ยสีของเซลล์ สีแบบอกั ษร หรือไอคอนไปยงั ดา้ นล่างหรือดา้ นขวา ให้ เลือก ดา้ นลา่ ง สาํ หรับการเรียงลาํ ดบั คอลมั น์ และ ดา้ นขวา สาํ หรับการเรียงลาํ ดบั แถว หมายเหต:ุ ไม่มีค่าเร่ิมตน้ ของสีของเซลล์ สีแบบอกั ษร หรือการเรียงลาํ ดบั ไอคอน คุณตอ้ งกาํ หนดลาํ ดบั ที่คุณ ตอ้ งการสาํ หรับแต่ละการเรียงลาํ ดบั 7. เม่ือตอ้ งการระบุสีของเซลล์ สีแบบอกั ษร หรือไอคอนในการเรียงลาํ ดบั ตาม ใหค้ ลิก เพ่มิ ระดบั แลว้ ทาํ ซ้าํ ต้งั แต่ข้นั ตอน 3 ถึง 5 ตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ คุณเลือกคอลมั น์เดียวกนั ในกล่อง แลว้ ตามดว้ ย และคุณเลือกส่วนเดียวกนั ใน ลาํ ดบั ทาํ ซ้าํ ไปเร่ือยๆ กบั แตล่ ะสีของเซลล์ สีแบบอกั ษร หรือไอคอนเพิ่มเติมที่คุณตอ้ งการใหร้ วมในการเรียงลาํ ดบั 8. เมื่อตอ้ งการนาํ การเรียงลาํ ดบั มาใชใ้ หมห่ ลงั จากที่คุณเปลี่ยนแปลงขอ้ มลู ให้คลิกท่ีเซลลใ์ นช่วงหรือตาราง จากน้นั บนแทบ็ ขอ้ มูล ในกลุ่ม เรียงลาํ ดบั และตวั กรอง ใหค้ ลิก นาํ ไปใชใ้ หม่ เรียงลาํ ดับตามรายการทีก่ าํ หนดเอง คุณสามารถใชร้ ายการแบบกาํ หนดเองเพือ่ เรียงลาํ ดบั ตามลาํ ดบั ที่ผใู้ ชก้ าํ หนดเองได้ ตวั อยา่ งเช่น คอลมั นห์ น่ึงอาจ มีค่าที่คุณตอ้ งการเรียงลาํ ดบั ตาม เช่น สูง กลาง หรือต่าํ คุณสามารถเรียงลาํ ดบั เพอ่ื ใหแ้ ถวท่ีมี สูง ปรากฏข้ึนก่อน ตามดว้ ย กลาง แลว้ ตามดว้ ย ต่าํ ไดอ้ ยา่ งไร ถา้ คุณกาํ ลงั เรียงลาํ ดบั ตามตวั อกั ษร การเรียงลาํ ดบั “ก ถึง ฮ” จะวาง กลาง ไวท้ ่ีดา้ นบน ตามดว้ ย ต่าํ และจากน้นั จึงจะเป็ น สูง และถา้ คุณเรียงลาํ ดบั จาก “ฮ ไป ก” สูง จะปรากฏข้ึน

ก่อน โดย ต่าํ จะอยตู่ รงกลาง แต่คุณตอ้ งการให้ \"กลาง\" ปรากฏข้ึนตรงกลางเสมอไมว่ า่ จะเรียงลาํ ดบั ทางใด การ สร้างรายการแบบกาํ หนดเองจะช่วยคุณแกป้ ัญหาน้ีได้ นอกเหนือจากรายการแบบกาํ หนดเองแลว้ Excel ยงั มีรายการแบบกาํ หนดเองที่มีอยแู่ ลว้ ภายใน รายการแบบ กาํ หนดเองของวนั ในสปั ดาห์ และรายการแบบกาํ หนดเองของเดือนในปี อีกดว้ ย 1. อีกทางหน่ึงคือ สร้างรายการแบบกาํ หนดเอง 1. ในช่วงของเซลล์ ใหป้ ้อนค่าท่ีคุณตอ้ งการเรียงลาํ ดบั ตาม ในลาํ ดบั ที่คุณตอ้ งการใหเ้ ป็น จากบนลง ลา่ ง ตวั อยา่ งเช่น A 1 สูง 2 ปานกลาง 3 ต่าํ 2. เลือกช่วงท่ีคุณเพิง่ ใส่ จากตวั อยา่ งก่อนหนา้ คือ ใหเ้ ลือกเซลล์ A1:A3 3. คลิกที่แทบ็ แฟ้ม คลิก ตวั เลือก แลว้ คลิกประเภท ข้นั สูง 4. ภายใต้ ทวั่ ไป ใหค้ ลิก แกไ้ ขรายการแบบกาํ หนดเอง 5. ในกลอ่ งโตต้ อบ รายการที่กาํ หนดเอง ใหค้ ลิก นาํ เขา้ แลว้ คลิก ตกลง สองคร้ัง หมายเหต:ุ  คุณสามารถสร้างรายการแบบกาํ หนดเองตามคา่ (ขอ้ ความ ตวั เลข และวนั ที่หรือเวลา) เท่าน้นั คุณไม่สามารถสร้างรายการที่กาํ หนด เองตามรูปแบบ (สีของเซลล์ สีแบบอกั ษร หรือไอคอน)  ความยาวสูงสุดสาํ หรับรายการแบบกาํ หนดเองคือ 255 อกั ขระ และอกั ขระแรกตอ้ งเริ่มตน้ ดว้ ยตวั เลข

2. เลือกคอลมั น์ของขอ้ มูลในช่วงของเซลล์ หรือตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ เซลลท์ ี่ใชง้ าน อยนู่ ้นั อยใู่ นคอลมั น์ตาราง 3. บนแทบ็ ขอ้ มลู ในกลมุ่ เรียงลาํ ดบั และกรอง ใหค้ ลิก เรียงลาํ ดบั กล่องโตต้ อบ เรียงลาํ ดบั จะปรากฎข้ึน 4. ภายใต้ คอลมั น์ ใน เรียงลาํ ดบั ตาม หรือกลอ่ ง แลว้ ตามดว้ ย ใหเ้ ลือกคอลมั น์ที่คุณ ตอ้ งการเรียงลาํ ดบั ตามรายการที่กาํ หนดเอง 5. ภายใต้ ลาํ ดบั ใหเ้ ลือก รายการที่กาํ หนดเอง 6. ในกล่องโตต้ อบ รายการที่กาํ หนดเอง ใหเ้ ลือกรายการท่ีคุณตอ้ งการ การใช้ รายการท่ีกาํ หนดเองที่คุณสร้างในตวั อยา่ งก่อนหนา้ น้ี ใหค้ ลิก สูง กลาง ต่าํ 7. คลิก ตกลง 8. เมื่อตอ้ งการนาํ การเรียงลาํ ดบั มาใชใ้ หม่หลงั จากที่คุณเปลี่ยนแปลงขอ้ มูล ใหค้ ลิก ที่เซลลใ์ นช่วงหรือตาราง จากน้นั บนแทบ็ ขอ้ มลู ในกลุม่ เรียงลาํ ดบั และตวั กรอง ใหค้ ลิก นาํ ไปใชใ้ หม่ ดา้ นบนของหนา้ เรียงลาํ ดบั แถว 1. เลือกแถวของขอ้ มลู ในช่วงของเซลล์ หรือตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ เซลลท์ ี่ใชง้ านอยอู่ ยใู่ นคอลมั น์ตาราง 2. บนแทบ็ ขอ้ มูล ในกลมุ่ เรียงลาํ ดบั และกรอง ใหค้ ลิก เรียงลาํ ดบั

กล่องโตต้ อบ เรียงลาํ ดบั จะปรากฎข้ึน 3. คลิก ตวั เลือก 4. ในกลอ่ งโตต้ อบตวั เลือกการเรียงลาํ ดบั ภายใต้ การวางแนว ใหค้ ลิก เรียงลาํ ดบั จากซา้ ยไปขวา แลว้ คลิก ตกลง 5. ภายใต้ คอลมั น์ ในกล่อง เรียงลาํ ดบั ตาม ใหเ้ ลือกแถวท่ีคุณตอ้ งการเรียงลาํ ดบั 6. เมื่อตอ้ งการเรียงลาํ ดบั ตามคา่ ใหท้ าํ ดงั น้ี 1. สาํ หรับคา่ ขอ้ ความ ใหเ้ ลือก ก ถึง ฮ หรือ ฮ ถึง ก 2. สาํ หรับคา่ ตวั เลข ใหเ้ ลือก เรียงลาํ ดบั จากนอ้ ยที่สุดไปหามากท่ีสุด หรือ มากท่ีสุดไปหานอ้ ยที่สุด 3. สาํ หรับคา่ วนั ที่หรือเวลา ใหเ้ ลือก เก่าท่ีสุดไปหาใหมท่ ี่สุด หรือ ใหมท่ ่ีสุดไปหาเก่าที่สุด 7. เรียงลาํ ดบั ตามสีของเซลล์ สีฟอนต์ หรือไอคอนของเซลล์ ใหท้ าํ ดงั น้ี 1. ภายใต้ เรียงลาํ ดบั ใหเ้ ลือก ค่า 2. ภายใต้ ลาํ ดบั ใหเ้ ลือกทาํ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงต่อไปน้ี 3. ภายใต้ เรียงลาํ ดบั ใหเ้ ลือก สีของเซลลส์ ีแบบอกั ษร หรือ ไอคอนของเซลล์ 4. คลิกลูกศรถดั จากป่ มุ แลว้ เลือกสีของเซลล์ สีแบบอกั ษร หรือไอคอนของเซลล์ 5. ภายใต้ ลาํ ดบั ใหเ้ ลือก ดา้ นซา้ ย หรือ ดา้ นขวา 8. เมื่อตอ้ งการนาํ การเรียงลาํ ดบั มาใชใ้ หมห่ ลงั จากท่ีคุณเปล่ียนแปลงขอ้ มูล ใหค้ ลิก ท่ีเซลลใ์ นช่วงหรือตาราง จากน้นั บนแทบ็ ขอ้ มลู ในกลุม่ เรียงลาํ ดบั และตวั กรอง ใหค้ ลิก นาํ ไปใชใ้ หม่ หมายเหต:ุ เม่ือคุณเรียงลาํ ดบั แถวที่เป็นส่วนหน่ึงของโครงร่างแผน่ งาน Excel เรียงลาํ ดบั กลุม่ ระดบั สูงสุด (ระดบั 1) เพ่ือใหแ้ ถวหรือคอลมั นร์ ายละเอียดจะอยดู่ ว้ ยกนั แมว้ า่ แถว หรือคอลมั น์รายละเอียดจะถูกซ่อนอยกู่ ็ตาม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook