หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ รายวชิ า สุขศึกษา พลศึกษา (ทช 21002) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจาหน่าย หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิ เป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 13/2555
หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ รายวชิ า สุขศึกษา พลศึกษา ( ทช21002 ) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 13/2554
คาํ นํา กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 เม่อื วนั ที่ 18 กนั ยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑแ ละวธิ กี ารจัดการศกึ ษา นอกโรงเรียนตามหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรทพ่ี ัฒนาขนึ้ ตาม หลกั ปรชั ญาและความเชื่อพนื้ ฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนท่ีมีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมี การเรยี นรูแ ละส่ังสมความรแู ละประสบการณอ ยางตอเน่ือง ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือน นโยบายทางการศึกษาเพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขนั ใหป ระชาชนไดมีอาชีพ ที่สามารถสรา งรายไดท่ีมงั่ คัง่ และมนั่ คง เปนบคุ ลากรท่ีมีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และเน้ือหาสาระ ทั้ง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของ หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษา ขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ใหม ีความสอดคลอง ตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพิ่มและ สอดแทรกเน้อื หาสาระเกี่ยวกับอาชีพ คณุ ธรรม จริยธรรมและการเตรยี มพรอม เพ่ือเขาสูประชาคม อาเซียน ในรายวิชาท่ีมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนา หนังสือที่ใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพ่ือทดสอบ ความรูความเขาใจ มีการอภปิ รายแลกเปล่ยี นเรียนรูกบั กลมุ หรอื ศึกษาเพม่ิ เตมิ จากภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่ิน แหลงการเรียนรแู ละส่ืออื่น การปรบั ปรุงหนังสอื เรียนในครงั้ นี้ ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ สาขาวิชา และผเู ก่ียวขอ งในการจัดการเรียนการสอนทศี่ ึกษาคนควา รวบรวมขอ มลู องคค วามรจู าก สอื่ ตาง ๆ มาเรียบเรียงเนอ้ื หาใหค รบถวนสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตัวชี้วัด และกรอบเน้ือหาสาระของรายวิชา สํานักงาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสน้ี และหวังวาหนงั สอื เรียน ชดุ น้ีจะเปน ประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเกี่ยวของใน ทุกระดบั หากมขี อ เสนอแนะประการใด สาํ นกั งาน กศน. ขอนอมรับดวยความขอบคุณย่ิง
สารบัญ หนา คํานํา 1 คําแนะนาํ การใชห นงั สอื เรียน โครงสรา งรายวิชาสขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา 2 บทที่ 1 การพฒั นาการของรา งกาย 12 14 เรอ่ื งท่ี 1 โครงสราง หนา ทแ่ี ละการทาํ งานของระบบตาง ๆ ที่สาํ คัญของรา งกาย 29 และการดูแลรกั ษาการปองกันความผิดปกตขิ องอวยั วะ 30 35 เรอ่ื งที่ 2 ปจจยั ท่ีมีผลตอการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนุษย 40 เรอ่ื งที่ 3 พฒั นาการและการเปลยี่ นแปลงตามวัย 45 บทที่ 2 สขุ ภาพทางกาย 46 เรอ่ื งท่ี 1 การเสรมิ สรา งสขุ ภาพตนเองและบคุ คลในครอบครวั 51 เร่ืองที่ 2 การออกกาํ ลังกาย 60 เรื่องท่ี 3 รปู แบบและวธิ ีการออกกําลงั กายเพื่อสุขภาพ 69 บทที่ 3 สุขภาพทางเพศ 76 เรื่องท่ี 1 สรีระรา งกายท่เี ก่ยี วขอ งกบั การสืบพนั ธุ 77 เรือ่ งท่ี 2 การเปลย่ี นแปลงเมอื่ เขาวัยหนมุ สาว 82 เรื่องที่ 3 พฤติกรรมที่นําไปสกู ารมีเพศสัมพนั ธ 84 เรื่องที่ 4 สุขภาพทางเพศ 88 บทท่ี 4 สารอาหาร 95 เรื่องที่ 1 สารอาหาร 96 เรื่องที่ 2 วธิ กี ารประกอบอาหารเพอื่ คงคุณคา ของสารอาหาร 98 เรื่องท่ี 3 ความเชื่อและคานยิ มเกีย่ วกบั การบรโิ ภค 113 เรอ่ื งท่ี 4 ปญหาสขุ ภาพทีเ่ กิดจากการบรโิ ภค 114 บทที่ 5 โรคระบาด 121 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคญั และการแพรก ระจายของเช้ือโรค เรื่องที่ 2 โรคทีเ่ ปน ปญหาสาธารณสุขของประเทศ บทท่ี 6 ยาแผนโบราณและยาสมุนไพร เรื่องที่ 1 หลกั การและวธิ กี ารใชย าแผนโบราณและยาสมนุ ไพร เรอ่ื งท่ี 2 อันตรายจากการใชยาแผนโบราณและยาสมุนไพร
บทท่ี 7 การปองกนั สารเสพตดิ 126 เรื่องที่ 1 ปญ หา สาเหตุ ประเภทและอันตรายของสารเสพตดิ 127 เรอ่ื งท่ี 2 ลกั ษณะอาการของผตู ดิ สารเสพติด 137 เรื่องที่ 3 การปอ งกนั และหลีกเลี่ยงการติดสารเสพตดิ 139 142 บทที่ 8 อนั ตรายจากการประกอบอาชพี 143 เรือ่ งท่ี 1 การปองกนั อันตรายจากการประกอบอาชพี 169 เรื่องท่ี 2 การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน 178 179 บทที่ 9 ทกั ษะชีวติ เพอ่ื การส่อื สาร 181 เรอ่ื งที่ 1 ความหมายของทักษะชวี ติ 190 เรื่องท่ี 2 ทักษะทีจ่ าํ เปน 3 ประการ 190 190 บทที่ 10 อาชีพแปรรูปสมนุ ไพร 190 สมุนไพรกับบทบาททางเศรษฐกิจ 193 การผลติ สมุนไพรในรปู แบบการประกอบอาชพี 193 การแปรรูปสมุนไพรเพือ่ การจําหนา ย การขออนญุ าตผลิตภัณฑอาหารและยา (ขอเคร่อื งหมาย อย.) การแบงกลุม ผลติ ภณั ฑอ าหาร
คําแนะนําการใชห นงั สอื เรียน หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา รหัส ทช 21002 ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน เปนหนังสือเรียนที่จัดทําขึ้น สําหรับผูเรียนที่เปนนักศึกษานอกระบบ ใน การศกึ ษาหนังสอื เรยี นสาระทักษะการดําเนินชวี ติ รายวิชาสุขศกึ ษา พลศึกษา ผเู รียนควรปฏบิ ัตดิ ังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง และขอบขายเนอ้ื หาของรายวชิ านัน้ ๆ โดยละเอียด 2. ศกึ ษารายละเอยี ดเนื้อหาของแตละบทอยา งละเอยี ด และทาํ กจิ กรรมตามที่กําหนด แลว ตรวจสอบกบั แนวตอบกจิ กรรม ถา ผูเรยี นตอบผดิ ควรกลับไปศกึ ษาและทําความเขาใจในเน้ือหานน้ั ใหมใ หเขาใจ กอนท่จี ะศกึ ษาเรือ่ งตอ ๆ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทา ยเรอ่ื งของแตล ะเรอื่ ง เพ่ือเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเน้ือหา ในเร่ืองนั้น ๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหา แตละเร่ือง ผูเรียนสามารถนําไป ตรวจสอบกับครูและเพอ่ื น ๆ ทรี่ วมเรียนในรายวชิ าและระดบั เดียวกันได 4. หนงั สือเรยี นเลม น้ีมี 10 บท บทท่ี 1 การพัฒนาการของรา งกาย บทที่ 2 สุขภาพทางเพศ บทท่ี 3 สารอาหาร บทที่ 4 สขุ ภาพทางกาย บทที่ 5 โรคระบาด บทท่ี 6 ยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพร บทท่ี 7 การปองกนั สารเสพตดิ บทที่ 8 อนั ตรายจากการประกอบอาชีพ บทที่ 9 ทกั ษะชวี ติ เพ่อื การส่ือสาร บทที่ 10 อาชพี แปรรูปสมุนไพร
โครงสรางรายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน (ทช 21002) สาระสําคญั เปน ความรูเจตคติทด่ี ีการปฏิบัติเกี่ยวกับการดแู ลสง เสริมสขุ ภาพอนามยั และความ ปลอดภัยในการดาํ เนนิ ชีวิต ผลการเรียนรทู คี่ าดหวงั 1. อธบิ ายธรรมชาติการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนุษย 2. บอกหลกั การดูแลและการสรางพฤติกรรมสขุ ภาพท่ีดขี องตนเองและครอบครวั 3. ปฏบิ ตั ติ นในการดูแล และสรางเสรมิ พฤติกรรมสุขภาพท่ีดีจนเปนกิจนสิ ยั 4. ปองกันและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพและความปลอดภัยดวยกระบวนการ ทกั ษะชีวติ 5. แนะนําการปฏบิ ตั ิตนเกย่ี วกบั การดูแลสุขภาพและการหลีกเล่ยี ง 6. ปฏบิ ตั ติ นดแู ลสุขอนามัยและส่ิงแวดลอมในชุมชน ขอบขา ยเนอื้ หา บทท่ี 1 การพัฒนาการของรา งกาย บทท่ี 2 สขุ ภาพทางเพศ บทที่ 3 สารอาหาร บทท่ี 4 สขุ ภาพทางกาย บทท่ี 5 โรคระบาด บทท่ี 6 ยาแผนโบราณและยาสมุนไพร บทท่ี 7 การปองกนั สารเสพติด บทท่ี 8 อันตรายจากการประกอบอาชีพ บทที่ 9 ทักษะชวี ิตเพื่อการสอื่ สาร บทที่ 10 อาชพี แปรรูปสมนุ ไพร
1 บทที่ 1 การพฒั นาการของรางกาย สาระสาํ คัญ พฒั นาการของรา งกายของมนุษยตอ งเปนไปตามวยั ทกุ คนจําเปนตอ งเรียนรใู หเ ขา ใจ ถึงโครงสรา ง หนา ที่ และการทํางานของระบบอวัยวะทส่ี ําคญั ในรา งกายรวมถึงการปอ งกนั ดูแลรกั ษา ไมใหเกิดการผิดปกติ เพื่อใหพัฒนาการของรางกายท่ีเปล่ียนแปลงตามวัยมีความสมบูรณท้ังดาน รา งกาย จติ ใจ อารมณ สังคม และสติปญ ญา ผลการเรยี นรูทคี่ าดหวัง 1. อธบิ ายโครงสราง หนาที่ และการทํางานของระบบอวยั วะสําคญั ของรางกาย 2. บอกวิธปี ฏิบตั ิตนในการดูแลรกั ษาและปองกันอาการผิดปกติของระบบอวัยวะท่ี สําคญั 3. อธบิ ายการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษยไ ด 4. อธิบายพัฒนาการและการเปล่ียนแปลงของมนุษยในดานตา ง ๆ ได ขอบขา ยเนอื้ หา เรอ่ื งท่ี 1 โครงสราง หนา ทีแ่ ละการทาํ งานของระบบตา ง ๆ ท่สี ําคญั ของรางกาย และการดูแลรกั ษาการปอ งกนั ความผิดปกติของระบบอวยั วะ เรื่องท่ี 2 ปจ จัยทมี่ ีผลตอการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย เร่อื งที่ 3 พฒั นาการและการเปล่ยี นแปลงตามวัย
2 เรอ่ื งท่ี 1 โครงสรา ง หนา ที่และการทาํ งานของระบบตาง ๆ ที่สําคัญของรางกาย และการดูแลอวัยวะ รักษาและการปองกนั ความผิดปกตขิ องระบบอวัยวะ รางกายของมนุษยประกอบขึ้นจากหนวยเล็กท่ีสุด คือ เซลลจํานวนหลายพันลาน เซลล เซลลท ม่ี โี ครงสรางและหนา ท่ีคลา ยคลงึ กนั มารวมเปน เน้อื เยื่อ เน้ือเยื่อมีหลายชนิด แตละชนิด เมอ่ื มาประกอบกนั จะเปนอวัยวะ อวยั วะทที่ ําหนา ทป่ี ระสานสัมพนั ธก ันรวมเรยี กวา ระบบในรา งกาย มนุษย ประกอบดว ยระบบการทํางานทัง้ สิ้น 10 ระบบ แตละระบบมกี ารทาํ งานที่ประสานสัมพนั ธก นั กลไกทาํ งานของรา งกายมีการทํางานที่ซบั ซอ น โดยมีระบบประสาทรวมท้ังฮอรโมนจากระบบตอม ไรท อเปน หนว ยควบคมุ การทํางานของรา งกาย
3 อวยั วะตาง ๆ ของรา งกายน้นั มมี ากมาย มีทัง้ อวยั วะทีเ่ รามองเหน็ ซึ่งสวนใหญจะอยู ภายนอกรางกาย และอวยั วะทเี่ รามองไมเห็นซงึ่ อยูภายในรา งกายของคนเรา การทํางานของระบบอวยั วะตา ง ๆของรา งกาย ประกอบดวยโครงสรางท่ีสลับซับซอนย่ิง กวาเคร่อื งยนตกลไกทีม่ นุษยสรา งขน้ึ เปน อยางมาก ธรรมชาตไิ ดสรา งระบบอวัยวะตางๆของรา งกายอยา งนา พศิ วง พอจําแนกไดเปน10ระบบ ซง่ึ แตละระบบกจ็ ะทาํ งานไปตามหนาที่ และมีความสมั พันธตอกันในการ ทาํ งานอยางวเิ ศษสุด ระบบอวยั วะตาง ๆของรางกายทง้ั 10 ระบบ มดี งั น้ี 1. ระบบผวิ หนัง (Integumentary System) 2. ระบบโครงกระดกู (Skeletal System) 3. ระบบกลา มเนื้อ (Muscular System) 4. ระบบยอยอาหาร (Digestive System) 5. ระบบขบั ถา ยปส สาวะ (Urinary System) 6. ระบบหายใจ (Respiratory System) 7. ระบบไหลเวียนเลอื ด (Circulatory System) 8. ระบบประสาท (Nervous System) 9. ระบบสบื พนั ธุ (Reproductive System) 10. ระบบตอมไรทอ (Endocrine System) ระบบอวัยวะที่จัดวาเปนระบบโครงสรางพื้นฐานของรางกาย คือ ระบบผิวหนัง ระบบโครงกระดูก และระบบกลามเนื้อ ระบบอวัยวะทงั้ 3 มีความเก่ียวของสัมพนั ธ กลา วคอื ระบบ ผิวหนังทําหนาที่ปกคลุมรางกาย ซ่ึงรวมท้ังการหุมหอปองกันอันตรายระบบโครงกระดูกและ กลา มเนือ้ ดว ย สาํ หรับระบบกระดูกทําหนาท่ีเปนโครงรางของรางกาย เปนที่ยึดเกาะของกลามเนื้อ เมือ่ กลามเนอ้ื หดตัวทาํ ใหร า งกายสามารถเคล่ือนไหวสวนตาง ๆ ได ระบบท้ัง 3 นอกจากมีการทํางาน เก่ียวขอ งกันและตอ งทาํ งานประสานกับระบบอน่ื ๆ อกี ดว ย ในชั้นนี้จะกลาวถึงการทํางานของระบบอวัยวะ 4 ระบบ คือระบบผิวหนัง ระบบกลามเนื้อ ระบบ กระดกู และระบบไหลเวยี นโลหติ 1. ระบบผวิ หนงั ผวิ หนังเปนอวัยวะที่หอหุมรา งกาย เซลลช ้นั บนมกี ารเปล่ียนแปลงท่ีสาํ คัญคือ มีเคอราทิน (Keratin) ใสและหนา มีความสําคญั คือ ปองกันนํ้าซมึ เขา สรู า งกาย การเปล่ียนแปลงทีท่ ําใหเกดิ เคอราทนี เรียกวา เคอราท-ี ไนเซซนั (Keratinization) ตัวอยา ง อวยั วะที่เกิดกระบวนการดังกลาว เชน ฝา มือ ฝาเทา
4 ผิวหนังประกอบดวย 2 สวน คือ สวนที่อยูบนพื้นผิว เรียกวา หนังกําพรา (Epidermis) สวนทีอ่ ยลู กึ ลงไป เรียกวา หนังแท (Dermis) 1. หนังกําพรา (Epidermis) เปนผิวหนังสวนบนสุด ประกอบดวยเซลลบาง ๆ ตรง พืน้ ผวิ ไมมนี ิวเคลียส และจะเปน สวนท่ีมีการหลุดลอกออกเปนขี้ไคล แลวสรางเซลลข้ึนมาทดแทน อยูเสมอสวนตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในชั้นผิวหนังกําพรา ไดแก เล็บมือ เล็บเทา ขน และผม สวนเซลล ชนั้ ในสดุ ทีท่ าํ หนา ท่ผี ลิตสผี วิ (Melanin) เรียกวา สเตรตมั เจอรมนิ าทิวมั (Stratum Germinativum) 2. หนงั แท (Dermis) ผิวหนังแทอ ยูใตผ วิ หนังกาํ พรา หนาประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ประกอบดว ย เนือ้ เยอ่ื เก่ยี วพัน 2 ชน้ั คอื 2.1 ชนั้ บนหรือชน้ั ตน้ื (Papillary Layer) เปน ชั้นทน่ี ูน ยน่ื เขามาแทรกเขาไปใน หนังกาํ พรา เรียกวา เพบ็ พิลารี (Papillary) มีหลอดเลือด และปลายประสาทฝอย 2.2 ชนั้ ลางหรือชนั้ ลึก (Reticular Layer) มีไขมันอยู มีรากผมหรือขนและตอม ไขมนั (Sebaceous Glands) อยูใ นชนั้ น้ี ความสําคญั ของระบบผวิ หนงั 1. เปน สวนท่หี อหมุ รา งกาย สาํ หรับปองกันอันตรายตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับอวัยวะ ใตผ ิวหนัง 2. เปน อวยั วะรบั สัมผสั ความรสู ึกตา ง ๆ เชน รอ น หนาว 3. เปนอวยั วะขบั ถา ยของเสยี เชน เหงือ่ 4. เปนอวัยวะท่ีชวยขับสงิ่ ตาง ๆ ทอ่ี ยใู นตอ มของผิวหนงั ใหเปน ประโยชนต อรางกาย เชน ขบั ไขมันไปหลอ เลย้ี งเสน ขนหรือผมใหเงางาม 5. ชวยเปนสวนปองกนั รังสตี าง ๆ ไมใหเปน อันตรายตอรา งกาย
5 6. ชวยควบคุมความรอนในรางกายใหคงที่อยูเสมอ รางกายขณะปกติอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส หรือ 98.7 องศาฟาเรนไฮต หรอื ถา อากาศอบอา วเกนิ ไปก็จะระบายความรอนออกทาง รูขมุ ขน การสรา งเสรมิ และดาํ รงประสิทธิภาพการทาํ งานของระบบผวิ หนัง ผิวหนังเปน อวยั วะภายนอกท่ีหอหุมรางกาย ชวยสงเสริมบุคลิกภาพของบุคคลและ บงบอกถึงการมีสขุ ภาพทด่ี แี ละไมดขี องแตล ะคนดว ย เชน คนทม่ี สี ุขภาพดี ผวิ หนังหรือผิวพรรณจะ เตง ตงึ สดใส แข็งแรง ซงึ่ จะตรงกนั ขามกับผูท่ีมีสุขภาพไมดีหรือเจ็บปวย ผิวหนังจะแหง ซีดเซียว หรือผวิ หนังเปนแผลตกสะเกด็ เปน ตน ดงั น้นั จงึ จาํ เปน ตองสรางเสริมและดูแลผิวหนังใหมีสภาพท่ีสมบูรณมีประสิทธิภาพในการ ทํางานอยูเสมอ ดังนี้ 1. อาบน้ําชําระลา งรางกายใหส ะอาดดวยสบูอ ยา งนอยวนั ละ 1-2 ครั้ง 2. ทาครมี บาํ รงุ ผิวทม่ี ีคุณภาพและเหมาะสมกับผวิ ของตนเอง ซึง่ ตามปกติวัยรุนจะมี ผิวพรรณเปลงปล่ังตามธรรมชาติอยูแลว ไมจําเปนท่ีจะตองใชครีมบํารุงผิว ยกเวนในชวงอากาศ หนาว ซ่ึงจะทําใหผวิ แหง แตก 3. ทาครีมกันแดดกอนออกจากบานเมื่อตองไปเผชิญกับแดดรอนจัด เพ่ือปองกัน อันตรายจากแสงแดดท่มี รี ังสีซ่ึงเปน อันตรายตอผิวหนงั 4. สวมเส้ือผาทีส่ ะอาดพอดีตัวไมค ับหรอื หลวมเกินไป และเหมาะสมกับภูมิอากาศ ตามฤดกู าล 5. รบั ประทานอาหารใหครบทกุ หมู และเพยี งพอตอ ความตองการโดยเฉพาะผักและ ผลไม 6. ดม่ื น้ําสะอาดอยางนอยวันละ 6-8 แกว น้าํ จะชว ยใหผ วิ พรรณสดช่ืนแจม ใส 7. ออกกาํ ลังกายเปนประจาํ เพอ่ื ใหร า งกายแขง็ แรง 8. นอนหลับ พกั ผอ นใหเพียงพออยางนอยวนั ละ 8 ช่วั โมง 9. ดูแลผิวหนังอยาใหเปนแผล ถามีควรรีบรักษาเพ่ือไมไดเกิดแผลเร้ือรัง เพราะ แผลเปนทางผา นของเช้ือโรคเขาสรู างกาย 2. ระบบกลามเนือ้ กลามเนอ้ื เปนแหลง พลงั งานทีท่ าํ ใหเ กดิ การเคลอื่ นไหว ในสวนตาง ๆ ของรางกายมี กลามเนอ้ื อยใู นรา งกาย 656 มัด เราสามารถสรางเสริมกลามเน้ือใหใหญโต แข็งแรงได ดังเชน นัก เพาะกายทีม่ กี ลา มเน้อื ใหญโตใหเห็นเปนมัด ๆ หรือนักกีฬาที่มีกลามเน้ือแข็งแรงสามารถปฏิบัติงาน
6 อยางหนักหนวงไดอยางมีประสิทธิภาพ อดทนตอความเมื่อยลา กลามเน้ือประกอบดวยนํ้า 75% โปรตีน 20% คารโ บไฮเดรต ไขมัน เกลือแร และอน่ื ๆ อกี 5% ความสําคัญของระบบกลามเนอื้ 1. ชวยใหรางกายสามารถเคลื่อนไหวไดจากการทํางาน ซ่ึงในการเคล่ือนไหวของ รา งกายน้ี ตอ งอาศัยการทาํ งานของระบบโครงกระดกู และขอตอตาง ๆ ดวย โดยอาศัยการยืด และหดตัว ของกลามเน้อื 2. ชว ยใหอ วยั วะภายในตาง ๆ เชน หัวใจ ปอด กระเพาะอาหาร ลําไสเล็ก ลําไส ใหญ หลอดเลือด ทํางานไดตามปกติและมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากการบีบรัดตัวของกลามเนื้อของ อวยั วะดังกลาว 3. ผลติ ความรอนใหความอบอุนแกรางกาย ซึ่งความรอนนี้เกิดจากการหดตัวของ กลา มเนื้อ แลว เกดิ ปฏิกริ ิยาทางเคมี 4. ชวยปองกันการกระทบกระเทอื นจากอวยั วะภายใน 5. เปนท่ีเกดิ พลังงานของรา งกาย ชนิดของกลามเนอื้ กลา มเนื้อแบง ตามลักษณะรูปรา งและการทาํ งานได 3 ชนิด คอื 1. กลามเนื้อลาย (Striated Muscle or Crosstripe Muscle) เปนกลามเนื้อที่ ประกอบเปนโครงรางของรา งกาย (Skeletal Muscle) เปนกลามเนื้อท่ีประกอบเปนลําตัว หนา แขน ขา เปน ตน โครงสรา งและรูปรา งลักษณะไฟเบอร (Fiber) หรือเซลลของเน้ือเยื่อกลามเน้ือลาย มีรูปรางยาวรีเปนรูปกระสวย ไฟเบอรมีขนาดยาว 1-40 มิลลิเมตร มีพื้นหนาตัดกวาง 0.01-0.05 มิลลิเมตร ไฟเบอรแตละอันเมื่อสองดูดวยกลองจุลทรรศนจะพบลายตามขวางเปนสีแกและออน สลบั กัน
7 2. กลามเน้ือเรียบ (Smooth Muscle) กลามเนื้อเรียบประกอบเปนอวัยวะภายใน รา งกาย เรียกวา กลามเนื้ออวัยวะภายใน ไดแก ลําไส กระเพาะอาหาร กระเพาะปสสาวะ มดลูก หลอดเลอื ด หลอดน้าํ เหลือง เปนตน กลามเนื้อเรยี บสนองตอบสิ่งเรา นานาชนดิ ไดดี เชน การขยายตัว การเปล่ียนแปลง ของอณุ หภมู แิ ละกระแสประสาท ความเย็นจะทําใหก ลามเนอ้ื หดตวั ไดด ี สําหรับความรอนน้ันขึ้นอยู กับอัตราการใหวาเร็วหรือชา คือ ถาหากประคบความรอนทันทีทันใด ความรอนจะกระตุนให กลามเน้ือหดตัว แตใหความรอนทีละนอยกลามเน้ือจะคลายตัว กลามเน้ือเรียบมีความไวตอการ เปล่ยี นแปลงของสว นประกอบของเลอื ดหรือนาํ้ ในเนื้อเย่ือ ฮอรโ มน วิตามนิ ยา เกลือ กรด ดาง 3. กลามเน้ือหัวใจ (Cardiac Muscle) กลามเน้ือหัวใจจะพบท่ีหัวใจและผนังเสน เลือดดาํ ใหญท ีน่ าํ เลือดเขา สหู ัวใจเทา น้นั เซลลกลามเน้ือหวั ใจมีลักษณะโดยทั่วไปคลายคลึงกับเซลล กลามเนื้อลาย คือ มีการเรียงตัวใหเห็นเปนลายเม่ือดูดวยกลองจุลทรรศน กลามเน้ือหัวใจมีลักษณะ แตกกิ่งกานและสานกัน มีรอยตอและชอง (Gap Junction) ระหวางเซลล ซึ่งเปนบริเวณที่มีความ ตานทานไฟฟาตํ่า ทาํ ใหเซลลก ลา มเน้อื หัวใจสามารถสงกระแสไฟฟา ผา นจากเซลลห นึ่งไปยงั อีกเซลล หนงึ่ ได การสรา งเสรมิ และดาํ รงประสิทธภิ าพการทํางานของระบบกลา มเนอื้ การทํางานของกลามเนอื้ ที่มปี ระสทิ ธภิ าพตองทํางานประสานสมั พนั ธก บั กระดกู และ ขอตอ ตา ง ๆ อยา งเหมาะสมกลมกลืนกัน ตลอดจนมีผิวหนังหอหุม ดังน้ัน อวัยวะตาง ๆ เหลานี้จึง ตองไดรับการสรา งเสรมิ บํารุง คือ 1. รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน โดยเฉพาะวัยรุนตองการสารอาหารประเภท โปรตีน แคลเซียม วิตามิน และเกลือแร เพ่ือเสริมสรางกลามเน้ือและกระดูกใหแข็งแรงสมบูรณ ควรไดรับอาหารทใ่ี หสารอาหารโปรตีนอยางนอย 1 กรัม ตอน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัมตอวัน และตอง รับประทานอาหารใหครบทุกหมใู นปรมิ าณทีเ่ พียงพอ 2. ดื่มนํา้ มาก ๆ อยา งนอยวันละ 6-8 แกว เพราะนํ้ามีความสําคัญตอการทํางานของ ระบบอวัยวะตาง ๆ
8 3. ออกกําลังกายเพือ่ สรางเสรมิ ความแข็งแรงใหก ับกลามเน้ือ อยางนอยสัปดาหละ 3 วนั วนั ละ 30-60 นาที 4. ปอ งกนั การบาดเจบ็ ของกลามเนื้อโดยไมใ ชก ลามเนอ้ื มากเกินความสามารถ 3. ระบบโครงกระดกู มนษุ ยจ ะมรี ปู รา งเหมาะสมสวยงามข้ึนอยูก บั กระดกู สวนตาง ๆ ท่ีประกอบเปนโครง รางของรางกายเรม่ิ แรกกระดูกทเี่ กดิ ขึ้นเปน กระดูกออนและเปล่ยี นเปนกระดูกแขง็ ในระยะตอมา โดย มีเลอื ดไปเล้ียงและนําแคลเซยี มไปสะสมในกระดูก กระดูกจะเจริญท้ังดานยาวและดานกวาง กระดูกจะยาวขึ้นโดยเฉพาะในวัยเด็ก กระดกู จะยาวขึ้นเรอ่ื ย ๆ จนอายุ 18 ปใ นหญงิ และ 20 ปใ นชาย แลว จึงหยดุ เจริญเติบโต และกลายเปน กระดูกแข็งแรงทัง้ หมด สว นการขยายใหญยังมีอยูเน่ืองจากยังมีเซลลกระดูกใหมงอกขึ้นเปนเยื่อหุม รอบ ๆ กระดูก กระดูกเปน อวัยวะสาํ คญั ในการชว ยพยงุ รางกายและประกอบเปนโครงราง เปนที่ยึด เกาะของกลา มเนอื้ และปอ งกันการกระทบกระเทือนตออวัยวะภายในของรางกาย เม่ือเจริญเติบโต เต็มทจี่ ะมีกระดกู 206 ชิ้น แบงเปน กระดกู แกน 80 ชิน้ และกระดกู ระยางค 126 ชิน้ กระดูกใหญท ส่ี ําคัญ ๆ ประกอบเปนโครงราง ไดแ ก 1. กระโหลกศรี ษะ (Skull) ประกอบดว ย กระดูก 8 ชิ้น 2. กระดูกใบหนา (Face Bone) ประกอบดว ยกระดกู 14 ช้ิน 3. กระดูกทอี่ ยูภ ายในของหสู วนกลาง (Ear Ossicles) ประกอบดว ยกระดกู 6 ชนิ้ 4. กระดกู โคนลิน้ (Hyoid Bone) ประกอบดว ยกระดกู 1 ชน้ิ 5. กระดูกลําตวั (Hyoid of the Trunk) ประกอบดวยกระดูก 26 ช้ิน 6. กระดกู หนาอก (Sternum) ประกอบดว ยกระดูก 1 ช้ิน 7. กระดูกซ่ีโครง (Ribs)ประกอบดวยกระดกู 24 ช้ิน หรือ 12 คู 8. กระดูกแขนและขา (Appendicular Skeleton) ประกอบดวยกระดูก 126 ชิ้น
9 ความสําคญั ของระบบโครงกระดูก 1. ประกอบเปนโครงรา ง เปนสวนทแ่ี ข็งของรา งกาย 2. เปน ท่ีรองรับและปอ งกันอวยั วะตาง ๆ ของรางกาย 3. เปน ทยี่ ึดเกาะของกลามเนือ้ ทาํ ใหม กี ารเคล่ือนไหวได 4. เปนที่สรา งเม็ดเลือด 5. เปน ทเ่ี ก็บและจา ยเกลือแคลเซยี ม ฟอสเฟต และแมกนเี ซียม 6. ปอ งกนั อวยั วะภายในรา งกาย เชน ปอด หวั ใจ ตบั สมอง และประสาท เปน ตน การสรางเสริมและดาํ รงประสิทธิภาพการทาํ งานของระบบโครงกระดกู 1. รบั ประทานอาหารใหครบทุกหมโู ดยเฉพาะอาหารทม่ี ีสารแคลเซียมและวิตามินดี ไดแก เนอื้ สัตว นมและผักผลไมตางๆ รับประทานใหเพียงพอตอความตองการของรางกายเพ่ือไป สรางและบํารุงกระดกู ใหแ ขง็ แรงสามารถทาํ งานไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. ออกกําลังกายเปนประจําสม่ําเสมอจะชวยใหรางกายแข็งแรง กระดูกและ กลามเน้ือท่ีไดรับการบริหารหรือทํางานสม่ําเสมอ จะมีความแข็งแกรงมากข้ึน มีการยืดหยุน และ ทํางานไดอยางเต็มที่ 3. ระมดั ระวงั การเกิดอบุ ตั ิเหตกุ ับกระดูก หากไดรับอบุ ตั ิเหตุโดยถกู ตี กระแทก ชน หรอื ตกจากที่สงู จนทาํ ใหกระดูกแตกหรอื หัก ตองรีบปฐมพยาบาลอยางถูกวิธีและพบแพทย เพื่อให กระดูกกลับสสู ภาพปกติและใชงานไดดอี ยา งปกติ 4. ระบบไหลเวียนเลือด ระบบไหลเวียนเลือดเปรียบเสมือนระบบการขนสง ท้ังน้ีเปนเพราะในระบบ ไหลเวียนเลือด มีเลือดทําหนาท่ีลําเลียงอาหารท่ียอยสลายแลว น้ํา กาซ ไปเลี้ยงเซลลตาง ๆ ของ รางกาย และเวลาเลือดไหลเวียนกลับก็จะพาเอาของเสียตาง ๆ ไปยังสวนของรางกายท่ีทําหนาท่ีสง ของเสยี เหลา นี้ออกมานอกรางกายดวย ความสาํ คญั ของระบบไหลเวียนเลือด 1. นํากาซออกซิเจน (O2) สงไปยังเซลลตาง ๆ ของรางกาย และนํากาซ คารบอนไดออกไซด (CO2) จากเซลลเพื่อขบั ออกนอกรา งกายทางลมหายใจ 2. ควบคุมอุณหภูมิภายในรางกายใหอยูใ นเกณฑป กติ 3. นํานํ้าและเกลอื แรต า งๆไปสูเ ซลลแ ละขับของเสียออกจากรางกายในรูปของปส สาวะ 4. นาํ แอนตบิ อดี (Antibody) ไปใหเ ซลลต าง ๆเพือ่ ชว ยใหรางกายมีภูมิคุมกนั โรค 5. นําฮอรโมนไปใหเ ซลลตา ง ๆเพือ่ ใหรางกายทาํ งานตอบสนองตอส่ิงเรา ตา ง ๆได 6. นําเอนไซมไ ปใหเ ซลลตาง ๆ เพอ่ื ชว ยในการเผาผลาญอาหาร
10 เลอื ดและทางเดนิ ของเลอื ด 1. เลือด (Blood) เปน ของเหลวสแี ดงมฤี ทธเ์ิ ปนดา ง มีความเหนียวกวานํ้าประมาณ 5 เทา รางกายคนเรามีเลือดอยูประมาณ 10% ของน้ําหนักตัว ในเลือดจะประกอบดวยพลาสมา (Plasma) มีอยูประมาณ 55% ของปริมาณเลือดในรางกายและมีเซลลเม็ดเลือด (Corpuscle) ซึ่งมีทั้ง เม็ดเลอื ดแดงและเม็ดเลือดขาว และเกลด็ เลอื ด (Platelets) ซึ่งรวมกันแลวประมาณ 45% ของปริมาณ เลือดในรา งกาย 2. หัวใจ (Heart) จะมีขนาดประมาณกําปนของตนเอง ต้ังอยูในทรวงอกระหวาง ปอดท้งั 2 ขาง พนื้ ทขี่ องหัวใจ 2 ใน 3 สว นจะอยูท างหนา อกดานซา ยของรางกาย ภายในหัวใจจะแบงเปน 4 หอง ขางบน 2 หอง ขางลาง 2 หอง มีล้ินหัวใจก้ันระหวางหองบนและหองลาง แตละหองจะทํา หนา ทีต่ างกนั คือ หอ งบนขวาจะรบั เลือดเสียจากสวนตาง ๆ ของรางกายจากหลอดเลือดดํา หองลาง ขวาจะรบั เลอื ดจากหองบนขวาแลวสงไปยังปอด ปอดจะฟอกเลือดดําใหเปนเลือดแดงเพ่ือนําไปใช ใหม หองบนซา ยจะรบั เลอื ดแดงจากปอด หองลา งซายจะรับเลือดจากหองบนซายแลวสงผานหลอด เลือดแดงไปยังสว นตา ง ๆ ของรางกาย 3. หลอดเลือด (Blood Vessels) มี 3 ชนิด ไดแก หลอดเลือดแดง (Arteries) จะนํา เลอื ดแดงจากหวั ใจไปเลย้ี งเซลลตาง ๆ ของรางกาย หลอดเลือดดํา (Veins) จะนําเลือดที่ใชแลวจาก สว นตา ง ๆ ของรา งกายกลับสูหัวใจ แลวสงไปฟอกที่ปอด หลอดเลือดฝอย (Capillaries) เปนแขนง เล็ก ๆ ของทั้งหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดํา ผนังของหลอดเลือดฝอยจะบางมากมีอยูทั่วไปใน รา งกาย จะเปน ท่ีแลกเปลี่ยนอาหาร กาซ และของเสยี ตา ง ๆ ระหวา งเลือดกับเซลลกับเซลลของรางกาย เพราะอาหาร กาซ และของเสยี ตา ง ๆสามารถซมึ ผา นได
11 4. น้ําเหลืองและหลอดนํ้าเหลือง (Lymph and Lymphatic Vessels) นํ้าเหลืองเปนสวนหน่ึงของ ของเหลวในรา งกาย มีลักษณะเปน น้ําสีเหลืองออ นอยูในหลอดนา้ํ เหลืองซ่ึงมอี ยูทว่ั รางกาย น้ําเหลือง จะประกอบดวย นํ้า โปรตีน (Protein) เอนไซม (Enzyme) แอนตบิ อดี (Antibody) และเซลลเม็ดเลือดขาว (White blood cell) นํา้ เหลอื งจะเปนตัวกลางแลกเปลยี่ นสารตา ง ๆ ระหวางเซลลและหลอดเลือดฝอย เซลล เม็ดเลือดขาวในตอ มน้ําเหลอื งชว ยกําจดั แบคทเี รยี หรือสงิ่ แปลกปลอมตา ง ๆ การเสรมิ สรางและดํารงประสิทธภิ าพการทํางานของระบบไหลเวยี นเลือด 1. รับประทานอาหารใหครบ 5 หมู และมีปริมาณที่เพียงพอตอความตองการของ รางกาย 2. ลดปริมาณการรับประทานอาหารท่ีมีไขมัน และมีสารคอเลสเตอรอล (Cholesterol) สงู เมอื่ เขา สูวยั ผใู หญ เน่อื งจากจะทําใหเกิดไขมันในเลือดสูง เชน กุง ปลาหมึก กะทิ อาหารประเภทผัด ทอด หนังสตั ว ไขมันสัตว เปนตน อยางไรก็ตาม สารอาหารประเภทไขมันยัง จดั วา เปนสารอาหารท่จี ําเปน ในวัยเด็กและวัยรุน เพราะไขมันเปนสวนประกอบของโครงสรางผนัง เซลลและเปนแหลงของพลังงาน ดังน้ัน วัยรุนควรรับประทานอาหารท่ีมีไขมันบางในปริมาณท่ี เหมาะสมตามขอ แนะนําทางโภชนาการ 3. ออกกําลงั กายอยา งสมํา่ เสมออยางนอยสปั ดาหละ3 วัน วนั ละอยา งนอย 30 นาที 4. ทําจติ ใจใหร า เริงแจมใส ดูแลสุขภาพจติ ของตนเองใหด ี 5. ควรมีเวลาพักผอ นบาง ไมหกั โหมการทาํ งานจนเกินไป
12 6. ผใู หญค วรตรวจวดั ความดันเลือดเปนระยะ ๆ และตรวจเลือดเพ่ือดูไขมันในเลือด อยา งนอ ยปล ะคร้ัง 7. งดเวนการสบู บหุ ร่ี และการด่ืมสุรา ตลอดจนสารเสพตดิ ทกุ ชนดิ 8. เมอ่ื เกิดความผิดปกตเิ กี่ยวกบั ระบบไหลเวียนเลือดควรรีบไปพบแพทย สรุป รา งกายของคนเราประกอบดว ยอวยั วะตาง ๆ มากมาย มีท้ังที่มองเห็น ซ่ึงสวนใหญ จะอยูภ ายนอกรางกาย และสว นทีเ่ รามองไมเ หน็ ซงึ่ จะอยภู ายในรา งกายของคนเรา แตล ะอวัยวะจะทํา หนาท่ีเฉพาะและทาํ งานประสานกนั จงึ ทาํ ใหร า งกายสามารถดาํ รงชวี ติ อยไู ดอ ยางปกติสขุ การทํางาน ของระบบอวยั วะตา ง ๆ ของรางกายจาํ แนกเปนระบบได 10 ระบบ ในช้นั นี้ไดศ กึ ษาเพยี ง 4 ระบบ คือ ระบบผิวหนัง ระบบกลา มเนื้อ ระบบโครงกระดูกและระบบไหลเวยี นเลอื ด ผิวหนังทาํ หนาทเ่ี หมือนเกราะปอ งกนั ส่งิ ตาง ๆ ที่อาจทําอันตรายตอรางกาย กระดูก เปนอวัยวะสําคัญในการชวยพยุงรางกายและประกอบโครงราง เปนที่ยึดเกาะของกลามเนื้อ ซึ่ง กลา มเน้อื ทั่วรา งกายมี 656 มดั มีหนาทีท่ าํ ใหคนเราทาํ งานตาง ๆ ได โดยใชการยืดหดของกลามเนื้อ ดังนั้นเราจะตองสรางเสริมเพ่ือดํารงประสิทธิภาพในการทํางานของระบบผิวหนัง ระบบกลามเนื้อ และระบบโครงกระดูก เรอ่ื งที่ 2 ปจ จัยทม่ี ีผลตอการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษยทุกวัยต้ังแตเกิดจนตาย มีปจจัยสําคัญที่ เกี่ยวของท้ัง 3 เร่ืองคือ พันธุกรรม ส่ิงแวดลอม และโภชนาการ ทุกคนจึงควรเรียนรูเพ่ือใหการ เจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการเปนไปตามวัย 1. พันธุกรรม (Heredity) ลกั ษณะท่ีถา ยทอดทางพันธุกรรม เปน ลกั ษณะทางรางกายและจิตใจที่สืบทอดไปยัง ลกู หลานได ตองเปน ลักษณะที่บรรพบุรุษไดรับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษรุนกอน ๆ สวนความ ผดิ ปกติทเ่ี กิดขน้ึ หลังจากการปฏิสนธิ เชน ตาบอด มอี วยั วะบางสวนพกิ าร เปน โรคล้ินหวั ใจรั่ว เปน ตน ลักษณะผดิ ปกติเหลา น้ี จึงไมใ ชค วามผดิ ปกตจิ ากสาเหตุทางพนั ธุกรรม เมื่อมนุษยรูจักธรรมชาติ ภายในตนเองมากขึน้ และชวยใหวงการแพทยเขา ใจกลไกของการเกดิ โรคหลายกลุม โดยเฉพาะโรค ที่ถา ยทอดทางพันธกุ รรม อนั มีสาเหตุจากยีน (gene) หรือ โครโมโซม (Chromosome)
13 ลกั ษณะทีถ่ ายทอดทางพนั ธกุ รรม ไดแ ก 1. ลกั ษณะทางกาย เชน สผี วิ สตี า รปู รา ง 2. ลักษณะทางจติ ใจและสติปญญา เชน อารมณ ความฉลาด 3. โรคทางกาย เชน เบาหวาน ตาบอดสี เลอื ดออกไมห ยุด 4. โรคทางจติ บางประเภท เชน โรคจิตเภท 5. ชนดิ ของหมูเ ลือด (Blood group) สรปุ พันธุกรรม เปนปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย เปน ลักษณะทางรางกายที่ไดรับการถายทอดจากบรรพบุรุษสูลูกหลานตามโครโมโซม ที่แสดงออกใน ลักษณะสีผวิ สตปิ ญ ญา ชนดิ เลอื ด เปน ตน 2. สิ่งแวดลอม ส่ิงแวดลอมมีอิทธิพลตอชีวิตตั้งแตการปฏิสนธิในครรภมารดาจนกระท่ังคลอด ออกมาเปน ทารก แลว เจริญเติบโตและพัฒนาผา นวยั ตาง ๆ ตามลาํ ดบั สิ่งแวดลอ มเปน องคป ระกอบท่ี มอี ิทธิพลตอสขุ ภาพและการเจรญิ เติบโต แบงออกไดดงั นี้ 1. สิ่งแวดลอมกอนเกิด ไมใชเปนเรื่องที่เก่ียวกับพันธุกรรม สิ่งแวดลอมนี้ไดแก รา งกายของมารดา สุขภาพของมารดาเปนสิ่งท่ีสําคัญที่อาจมีผลกระทบกระเทือนตอทารกในครรภ โดยเฉพาะอาหาร การกิน และการปฏิบัติของมารดาในขณะตัง้ ครรภ 2. ภาวะทางโภชนาการ มคี วามสาํ คัญตอ ทารกในครรภ หากมารดาขาดสารอาหาร ขณะต้งั ครรภจ ะมผี ลทาํ ใหบ ุตรมนี ้าํ หนกั แรกเกิดนอย ผลกระทบตอ การเจริญเติบโตมากนอยเพียงใด ขน้ึ อยูกับระดับความรุนแรงและระยะเวลาของการขาดสารอาหารนั้น ๆ 3. โรคภัยไขเจ็บโรคตาง ๆ เชน หัดเยอรมัน จะมีผลตออัตราการเจริญเติบโตและ พัฒนาการของเด็กนับต้งั แตอ ยูในครรภ เปนตน 4. ฐานะทางเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจยอมมีผลกระทบตอภาวะโภชนาการและ สขุ ภาพของเดก็ ได 5. สขุ ภาพของผูเล้ียงดู สภาพสังคมปจจุบันภาระการอบรมเลี้ยงดูเด็กมักตกอยูกับ ผูอืน่ ทีไ่ มใ ชบิดา มารดา หากผูเล้ียงดูมีสุขภาพท่ีไมดี มีโรคติดตอเชนเปนวัณโรค เพราะเด็กจะติด โรครา ยแรงและมกี ารเจรญิ เตบิ โตไมดเี ทา ที่ควร สง ผลกระทบตอ พฒั นาการดานอืน่ ๆ 6. สิ่งแวดลอ มทางสังคม 7. บรกิ ารสุขภาพ
14 สรปุ ส่งิ แวดลอ ม เปน ปจ จยั ท่ีมผี ลตอ การเจรญิ เตบิ โต และพัฒนาการของมนุษยต้ังแตการปฏิสนธิ ในครรภจนกระทั้งคลอดออกมาเปนทารกและเจรญิ เตบิ โตผานวยั ตาง ๆ ตามลําดบั สิง่ แวดลอ มเหลา น้ี เชน สุขภาพของมารดาในขณะตั้งครรภ อาจมีผลกระทบตอทารกในครรภ ฐานะทางเศรษฐกิจ สงิ่ แวดลอมทางสังคม เปน ตน 3. โภชนาการ การมีความรูเรือ่ งโภชนาการทถ่ี ูกตอง จะทาํ ใหท กุ คนมสี ุขภาพดีท้งั กายและใจทกุ คน ซง่ึ ควรเรียนรหู ลักการบรโิ ภคเพอื่ สุขภาพท่ดี ขี องคนไทย เรียกวา โภชนบญั ญตั ิ 9 ประการ ดังนี้ 1. กนิ อาหารครบ 5 หมู แตล ะหมูใ หห ลากหลาย และหม่นั ดแู ลน้ําหนกั ตัว 2. กินขาวเปนอาหารหลักสลบั กบั อาหารประเภทแปงเปนบางมอ้ื 3. กินพืชผกั ใหมากและกินผลไมเปน ประจํา 4. กนิ ปลา เน้ือสตั วไ มตดิ มนั ไข และถั่วเมล็ดแหง เปน ประจํา 5. ดมื่ นมใหเ หมาะสมตามวัย 6. กินอาหารท่ีมไี ขมันแตพ อควร 7. หลกี เล่ียงการกินอาหารรสหวานจดั และเค็มจัด 8. กนิ อาหารทีส่ ะอาดปราศจากการปนเปอ น 9. งดหรือลดเครอ่ื งดมื่ ที่มีแอลกอฮอล สรปุ การรับประทานอาหารโดยยึดหลักโภชนาการ ทําใหไดพลังงานและสารอาหารท่ี เหมาะสมกับวยั เปน ปจ จัยสาํ คัญขอหน่งึ ท่ีสงผลตอ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษยทุกเพศ ทุกวยั เร่อื งท่ี 3 พฒั นาการและการเปลีย่ นแปลงตามวัย 3.1 วัยทารก การแบงชวงอายขุ องวยั ทารกจะแบงออกได 2 ระยะ คอื วัยทารกแรกเกิด อายุตั้งแต แรกเกิดถงึ 2 สปั ดาห วยั ทารกอายุตั้งแต 2 สัปดาหถึง 2 ขวบ
15 3.1.1 วยั ทารกแรกเกดิ พฒั นาการทางรา งกาย ทารกแรกเกิดมีน้ําหนักเฉลี่ยประมาณ 3,000 กรัม และลําตัวยาวประมาณ 45-50 เซนติเมตร ทารกไมอาจควบคุมกลา มเนื้อได สายตามองส่ิงตาง ๆ ไรจุดหมาย มองเห็นสิ่งใดไมชัด จะนอนมากหลับงายและสะดุงต่ืนงา ย พัฒนาการทางอารมณ อารมณของทารกแรกเกิดมักจะมีอารมณรัก อารมณโกรธ และอารมณกลัว ทั้งน้ี พอ แมจ ะมีอิทธพิ ลในการพัฒนาอารมณต อทารกมากที่สดุ พัฒนาการดานบคุ ลิกภาพ บุคลิกภาพของทารกมีการพัฒนามาตั้งแตกําเนิดเชนเดียวกับลักษณะอ่ืน ๆ ของราย กายโดยมีส่งิ แวดลอมและพนั ธกุ รรมเปนตัวกําหนด จึงทําใหทารกแตละคนมีความแตกตางกันตั้งแต เกิด 3.1.2 วยั ทารก พฒั นาการทางรา งกาย ระยะนท้ี ารกเจรญิ เตบิ โตอยางรวดเรว็ จากแรกเกิดถึงอายุ 6 เดือน นํา้ หนักจะเพิม่ ข้ึน รวดเร็วภายหลัง 6 เดือน ถึง 3 ป น้ําหนักจะเร่ิมลดลง เน่ืองจากตองออกกําลังกายในการฝกหัด อริ ยิ าบถตา ง ๆ เชน นั่ง ยืน เดิน เปนระยะฝกลักษณะใหมจงึ มักเกิดอุบัติเหตุบาง เชน ลม ตกเตียง หรอื ตกบนั ได เปนตน พฒั นาการทางอารมณ การพัฒนาดานอารมณของทารกวัยแรกเกิดจะสงเสียงรองเมื่อไมพอใจ หรือโกรธ เมือ่ ถกู ขดั ใจ จะเรมิ่ กลวั ส่ิงรอบตวั สงิ่ ที่ไมคุนเคยจะถอยหนี รองไหเมื่อตองการขอความชวยเหลือ จากผูใหญ จะเปนวัยท่ีมีความอิจฉาริษยา เมื่อเห็นพอแมเอาใจใสนองเปนพิเศษ ทําใหตนขาด ความสําคญั ไปอยากรูอยากเห็นสิง่ แปลก ๆ ใหม ๆ รูจกั ยิ้มหรือหวั เราะเมอ่ื มคี วามพอใจ จะรกั และหวง แหนของเลนหรอื รักสัตวเ ลีย้ ง พัฒนาการทางภาษา ทารกเริ่มเปลงเสยี งออแอไ ดตั้งแตร ะยะ 6 เดือนแรก เชน ปอ มา ดา ฯลฯ ภายหลัง จงึ ฝก หดั ทําเสียงเลยี นแบบผูใกลชิด สามารถเขาใจคําพูด ความรูสึกท่ีแสดงออกทางสีหนา ทาทาง นํ้าเสียงของผูพูดได ในระหวางน้ีผอู ยใู กลช ดิ ควรเปน แบบอยา งท่ดี ใี หแกท ารก เชนการพูดชา ๆ ออก เสยี งใหชัดเจน
16 พัฒนาการทางสติปญ ญา พัฒนาการดานนี้มีอิทธิพลจากการไดเลนกับเพื่อน ๆ เขาใจภาษาท่ีพูดกับคนอ่ืน ตลอดจนการพัฒนากลา มเนอ้ื บางสว น เชน หู ตา เปน ตน พฒั นาการทางสตปิ ญ ญาของทารก จะเร่ิม มกี ารเคลอ่ื นไหวโดยบังเอญิ และพอใจเพลดิ เพลิน เชน อมสงิ่ ของ ดูดนิ้วมือ รูจักใชเทาเข่ียของท่ีอยู ใกลตัว การถีบผาใหออกจากตัวเมื่อรอนหรือผาเปยก รูจักแกปญหาดวยวิธีลองถูกลองผิด ไมทํา ซาํ้ ซาก เม่ืออายุ 18 เดอื นขน้ึ ไป จะรูจกั สรา งความคิดรวบยอด รจู ักนาํ ตวั ตุก ตามาสมมตเิ ปนพ่ีนอ งกัน ได พอแมควรเสริมพฒั นาการดานความคิดดวยการหาเคร่อื งเลน เกย่ี วกับประสาทสัมผัส การใชกลา มเนอื้ ในระยะตางๆ เชน อายุ 1 เดือน การหาของเลน สสี วยไมแตกมาใหจับเลน อายุ 6-12 เดือน ควรหาของเลนท่เี ปนรูปทรงตางๆ และมีกลองใหใส อายุ 12-18 เดือน ควรเปนรถท่ีสามารถ ลากได เพ่ือใหเ กิดความสนุกเพลิดเพลินฝกสอนไปดว ย สรปุ วัยทารกนบั ชว งอายรุ ะหวา งแรกเกิดจนถึง 2 ขวบ โดยแบงการพัฒนาการออกได 2 ระยะ คือ 1. วัยทารกแรกเกดิ มพี ฒั นาการทางรางกาย ทางอารมณ และดา นบคุ ลิกภาพ 2. วยั ทารก มีพฒั นาการทางรางกาย ทางอารมณ ทางภาษาและสติปญ ญา ในวัยทารกจะมีสงิ่ แวดลอ มและพนั ธุกรรมกาํ หนดความแตกตางกันของทารกแตละ คน ตั้งแตเกิด 3.2 วยั เด็ก การแบงชวงอายุของวัยเด็ก โดยประมาณแบงไดเปน 3 ระยะไดแกวัยเด็กตอนตน อายุ ตงั้ แต 2 - 5 ป วยั เดก็ ตอนกลาง อายตุ งั้ แต 5 - 9 ป วัยเด็กตอนปลาย อายุตง้ั แต 9 - 12 ป 3.2.1 วัยเด็กตอนตน พฒั นาการทางรา งกาย วัยเดก็ ตอนตน หรือวัยกอนเขา เรยี น อตั ราการเจริญเตบิ โตลดลงตางกวาวัยทารก จะ เปลย่ี นจากลกั ษณะทาทางของทารก มคี วามเจริญเติบโตของอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย ฟนแทจะเริ่ม ขึน้ 1-2 ซี่ จะเร่ิมเลอื กอาหารตามที่ชอบ นอนเปน เวลา บางคนยังปสสาวะรดที่นอน เร่ิมมีทักษะใน การใชม อื แตงตวั ไดเอง ใสรองเทาไดเอง เปน ตน ตอ ไปจะสนใจการวิ่งกระโดดหอยโหนเปนระยะ ชอบเลน กับเพอ่ื น ๆ มาก ทําใหเ กดิ ความอบอนุ ไมรสู ึกถกู ทอดท้ิง
17 พฒั นาการทางอารมณ วยั นจ้ี ะเปนคนเจาอารมณ มกั จะโกรธเมือ่ ถกู ขัดใจจะแสดงออกโดยการทุบตี ขวาง ปาส่งิ ของทง้ิ ตวั ลงนอน จะมีความกลัวกับสิ่งของแปลก ๆ ใหม ๆ จะหลบซอนวิ่งหนี ความกลัวจะ คอ ย ๆ หายไปโดยการไดร บั การอธิบาย และการใหเ ดก็ ไดคนุ เคยกบั ส่ิงนั้น ๆ มีความอิจฉาริษยานอง ใหมหรอื พี่ ๆ โดยคิดวา ตนถกู แยงความรกั ไปจากพอแม เปนวัยที่มอี ารมณรางเริง แจมใส หวั เราะย้ิม งา ย อยากรูอยากเห็นจะถามโนนถามน่ี มีความสงสัยในส่ิงตาง ๆ ไมส้ินสุด จะแสดงความรัก อยา งเปด เผย เชน การกอดจูบ บุคคลที่ตนรกั หรอื สิ่งของตา งๆ พฒั นาการทางสงั คม เด็กเริ่มรจู กั คบเพอ่ื น เลน กับเพอ่ื น ปรบั ตัวใหเขากับเพอื่ น ๆ มีการเลนกันเปนกลุม ชอบเลนแขง ขันมกี ารเลนแยกตามเพศชายเพศหญงิ พอใจจะเลนดวยกัน ชวยเหลือกัน เห็นอกเห็นใจ กนั ยอมรบั ฟงกัน เร่มิ มองเห็นความแตกตางระหวางเพศหญิงเพศชาย สนใจซักถามเก่ียวกับสิ่งท่ีเปน เพศของตน ซึง่ จะเปนการไปสบู ทบาทชายหญิงเมือ่ เตบิ โตข้นึ พัฒนาการทางภาษา เดก็ จะใชภ าษาไดด ีพอสมควรสามารถอา นและเขยี น รคู วามหมาย คําใหม ๆ ไดอ ยา ง รวดเรว็ การพฒั นาภาษามไิ ดข น้ึ อยูกบั สติปญญาอยา งเดยี ว แตม ีองคประกอบอื่น เชน ครอบครัวใหญ เกนิ ไปโอกาสพูดคยุ กบั ลูกนอ ยไป ในครอบครัวใชภ าษาพูดมากกวา 1 ภาษาทาํ ใหเด็กสบั สน 3.2.2 วยั เด็กตอนกลาง พฒั นาการทางรางกาย การเจริญเตบิ โตจะเปนไปเรอื่ ย ๆ รางกายจะขยายออกทางสงู มากกวา ทางกวา ง รปู ราง เปล่ียนแปลงจะมฟี นถาวรขนึ้ แทนฟนนาํ้ นมเรอื่ ย ๆ เดก็ วัยนีไ้ มชอบอยูนิ่ง ชอบทาํ กจิ กรรมอยางรวดเร็ว ไมคอ ยระมัดระวงั เด็กสนใจกจิ กรรมการเลน กลางแจง เกมสกฬี าตา ง ๆ ท่ใี ชก ลา มเนือ้ และการทรงตัว พัฒนาการทางอารมณ เปนวยั เขาเรียนตอนตน เม่อื เขาโรงเรียนเด็กตองเรียนรูการปรับตัวเขากับส่ิงแปลก ๆ ใหม ๆ เชน ครู สถานท่ี ระเบียบวินัย สิ่งแวดลอมใหม ๆ ทําใหเด็กมีการเปล่ียนแปลงทางอารมณ ตองการแสดงตนเปนท่ีชนื่ ชอบของครู ตองการการยอมรับเขาเปนหมูคณะ มีโอกาสทํากิจกรรมกับ หมคู ณะทําใหอารมณแจมใสเบิกบาน
18 พัฒนาการทางสังคม เมอื่ เดก็ เริม่ เขาโรงเรยี นบางคนอาจมปี ญ หาในการคบเพอ่ื นฝูง ปรบั ตวั เขากับผูอ่ืนได ยาก ทัง้ นแ้ี ลว แตการอบรมที่ไดรับจากทางบาน เด็กที่เติบโตในครอบครัวท่ีบรรยากาศอบอุน จะมี อารมณม นั่ คงแจม ใสจะใหค วามรว มมือแกหมูค ณะ มีเพ่อื นมาก พฒั นาการทางสตปิ ญญา โดยทั่วไปเด็กจะเรียนรูจากส่ิงใกลตัวกอน จะมีพัฒนาการทางดานภาษาเจริญข้ึน รวดเร็ว รับรูคําศัพทเพ่ิมข้ึนใชถอยคําภาษาแสดงความคิดความรูสึกไดอยางดี เริ่มมีพัฒนาการดาน จรยิ ธรรม มีความรบั ผิดชอบไดในบางอยางเรม่ิ สนใจส่ิงตาง ๆ แตย งั ไมส ามารถพิจารณาไดอยา งลกึ ซ้ึง ในเรอื่ งของความจริง ความซอ่ื สัตยอ าจหยิบฉวยของผูอืน่ โดยไมต ั้งใจขโมยกไ็ ด 3.2.3 วยั เดก็ ตอนปลาย เดก็ วยั นี้จะมีอายุระหวาง 9-12 ป โดยประมาณ โครงสรางของรางกายเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมเขาสวู ยั รุน พัฒนาการทางรางกาย ในระยะนี้ เดก็ หญิงจะเติบโตเร็วกวา เด็กชาย เด็กหญิงจะเริ่มมีประจําเดือนระหวาง อายุ 11-12 ป โดยประมาณ เดก็ ชายจะเริ่มมีการหล่งั อสุจริ ะหวา งอายุ 12-16 ป โดยประมาณ พัฒนาการทางดานอารมณ รกั ษาอารมณไดปานกลาง ไมชอบการแขงขนั ชอบการยกยองมีความกังวลเกี่ยวกับ รูปรางตนเอง รักสวยรักงาม ตองการความรักจากเพื่อนและครู พัฒนาการทางสังคม เดก็ จะมีการรักกลมุ พวกมากโดยมพี ฤติกรรมเหมือนกลมุ ในดานการแตงกาย วาจา และการแสดงออกมคี วามตอ งการเปน ทไ่ี ววางใจได มอี ารมณ คลา ยคลึงกัน ไมย อมอยูคนเดียว พัฒนาการทางสตปิ ญ ญา เรมิ่ มสี ตปิ ญ ญามีความสามารถคิดและแกปญหาไดมาก มีความคิดริเริ่ม ท่ีจะทําสิ่ง ใหม ๆ มีความเช่ือมน่ั ในตนเอง รบั ผดิ ชอบ รจู กั ใชเหตุผล อยากรูอ ยากเห็น และมคี วามเขา ใจส่ิงตาง ๆ ไดเรว็ เดก็ ชายจะมีความสนใจเรอ่ื งวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร ดาราศาสตร แตเด็กหญิงสนใจเร่ือง ตดั เย็บ ทาํ อาหาร การเรือน แตท่ีสนใจคลายกันไดแก เล้ยี งสัตว ดูภาพยนตร หรือการไปเที่ยวไกล ๆ
19 สรปุ ชว งอายุในวัยเดก็ อยูระหวาง 2-12 ป โดยประมาณมีพัฒนาการเปน 3 ระยะดงั น้ี วยั เดก็ ตอนตน มพี ัฒนาการทางรา งกาย ทางอารมณ ทางสงั คม และทางภาษา วัยเด็กตอนกลาง มีพัฒนาการทางรางกาย ทางอารมณ ทางสังคม และทาง สตปิ ญ ญา วัยเดก็ ตอนปลาย มพี ัฒนาการทางรา งกาย ทางอารมณ ทางสงั คม และทางสติปญญา พัฒนาการชวงอายุในวัยเด็ก จะพบวาเด็กหญิงมีพัฒนาการทางรางกายเร็วกวา เดก็ ชาย 3.3 วยั รุน การแบง ชว งอายขุ องวัยรุนอยูระหวาง 11-20 ป โดยประมาณ การเจริญเติบโตทาง รางกายของเด็กผูชายและเด็กผูหญิง เปนชวงระยะของการเขาสูวัยหนุมวัยสาว เด็กผูหญิงจะเขาสู วัยรุนเม่อื อายปุ ระมาณ 11 ปข ึน้ ไป เดก็ ผชู ายจะเขา สวู ัยรนุ เม่อื อายปุ ระมาณ 13 ป วยั รุนเปนชวงของ การปรับตวั จากวยั เดก็ ไปสวู ัยผใู หญ ทาํ ใหมีความเครียด ความขดั แยงในความคิด อารมณ และจติ ใจ หากเด็กวัยรนุ ไดร บั รู เขาใจกระบวนการพัฒนาท้ังในดานรางกายและจิตใจ จะไมวิตกกังวลกับการ เปล่ียนแปลงท่จี ะเกิดข้ึนกับตัวของเขาเอง อีกท้ังยังสามารถชวยใหพวกเขารูจักวิธีปรับตัวใหเขากับ สังคม ไมก อ ปญหาใหเ กิดเปนเรื่องวุนวายรวมถึงการดแู ลรักษา และปอ งกันตนเองจากโรคติดตอทาง เพศสมั พนั ธชนิดตา ง ๆ การแบง ชวงอายขุ องวยั รุน ที่ ชวงวยั หญิง ชาย 1. วัยเตรยี มเขา สูว ัยรุน 11-13 ป 13-15 ป 2. วยั รนุ ตอนตน 13-15 ป 15-17 ป 3. วัยรุนตอนกลาง 15-18 ป 17-19 ป 4. วยั รุนตอนปลาย 18-21 ป 19-20 ป
20 ความวิตกกงั วลของวยั รุน ความวิตกกังวล เปนความกลัวอยางหน่ึงท่ีมีสาเหตุเน่ืองมาจากการใชจินตนาการ มากกวาจะมีสาเหตจุ รงิ ๆ ในวัยรนุ ความกลวั จะลดนอยลงแตจะมีความกังวลใจมาแทน ความวิตกกังวล อาจเกดิ จากประสบการณทไี่ มพ อใจในอดตี หรือตัง้ ความหวงั ในการทํางานไวส งู เปนตน วยั รุน มักมีความวิตกกังวลในเรือ่ งตาง ๆ อาทิ วติ กกังวลเก่ียวกับการเปล่ยี นแปลงของรางกายวา มีความผิดปกติหรือไม วัยรุน คนอ่ืน ๆ จะเปน แบบนหี้ รือไม วิตกกังวลกับอารมณทางเพศท่ีสูงข้ึน และรูสึกไมแนใจในความเปนชายหรือ หญิงของตนทีอ่ าจทําใหภาพพจนหรือความนับถอื ตนเองเรมิ่ สั่นคลอน กงั วลกบั พฤตกิ รรมทางเพศ ไดแ ก การสําเรจ็ ความใครดว ยตนเอง ความอยากรู อยากเหน็ พฤตกิ รรมเบีย่ งเบนทางเพศตาง ๆ เรอื่ งความสมั พันธก ับเพือ่ น ทง้ั กบั เพ่ือนเพศเดยี วกัน และเพื่อนตา งเพศ เรื่องการทาํ งาน เกรงจะไมประสบความสําเร็จ วยั รนุ สามารถลดความรูสึกวติ กกังวลลงไดด ว ยวธิ กี ารตาง ๆ อาทิ ทําความเขาใจหรอื หาความรูในเรื่องท่ียังไมเขาใจใหเกิดความชัดเจน อาทิ หา ความรทู ่ีถูกตองในเรอ่ื งเพศ ปรึกษาผูใหญหรอื ผรู ูในเรื่องนน้ั ๆ ยอมรับวา อารมณความรูสึกเปนสิ่งท่ีเกิดข้ึนเองควบคุมไมไดเพราะเปน ธรรมชาติ แตเราสามารถควบคุมการกระทํา หรือพฤติกรรมได อาทิ อยูใกลเพื่อนหญิงแลวเกิด อารมณท างเพศกค็ วรเขา ใจวา เปนอารมณท เ่ี กดิ ขึน้ จากแรงขับทางเพศตามธรรมชาตไิ มใ ชค วามผดิ ปกติ หรือสิ่งเลวราย และพยายามฝกควบคุมใหมีการแสดงออกที่เหมาะสมกับสถานะของตนหรือหา กจิ กรรมอืน่ ทาํ อาทิ การเลนกฬี า ทาํ งานอดิเรก อานหนังสอื เลนดนตรรี อ งเพลง ฯลฯ เปนตน ความกลัวของวัยรนุ เนือ่ งจากวัยรนุ ในชวงเวลาของการเปลย่ี นจากเดก็ ไปเปนผูใหญ วัยรุนจึงมักกลัวการ เปน ผใู หญก ลวั ความรับผิดชอบ บางคร้ังอยากเปนเดก็ บางครัง้ อยากเปนผใู หญ ทาํ ใหอารมณผ นั ผวน หงุดหงดิ ไดง ายมาก วัยรุนมักกลัวเสยี ช่อื เสียง กลวั ผดิ พลาด กลวั ทํางานไมไดผ ล การแสดงออกของวัยรุนเมื่อเกิดความกลัว คอื การหลีกเล่ียงไปจากสถานการณท่ีทํา ใหเ กดิ กลวั หรือพยายามตอ สกู ับเหตุการณที่เขาพิจารณาแลววาจะเอาชนะได ซ่ึงจะเปนผลดีคือเกิด
21 ความม่ันใจเพม่ิ ข้นึ แตบ างครงั้ ทวี่ ยั รุนไมอ าจหนีจากเหตุการณท่ีทําใหกลัวได เพราะกลัวคนจะวาข้ี ขลาดจะเปนผลใหว ัยรุนเกิดความวติ กกงั วล วยั รุน ควรหาทางออกใหแ กต นเองเพอ่ื เอาชนะความกลวั ไดโ ดย พยายามหาประสบการณตาง ๆ ใหมากท่ีสุดเพื่อไมไดเกิดความกลัวและสราง ความม่นั ใจใหต นเอง วิเคราะหสถานการณ และพยายามหาทางแกไขสิง่ ทแี่ กไขได ขอความชวยเหลือจากผูอ่ืน อาทิ เพอื่ น ครู พอ แม หรอื ผูใหญที่ไวใ จ ความโกรธของวยั รนุ ความโกรธของวัยรุนอาจเกิดจากสาเหตุตางๆ อาทิ ความรูสึกวาไมไดรับความ ยุตธิ รรมจากผูใหญ ถกู เยาะเยย ถากถาง ถกู กา วกา ยเรอ่ื งสวนตัว ถกู ขัดขวางไมใหท ําในสิ่งท่ีเขาคิดวา จะประสบความสําเร็จ เปนตน การแสดงออกเม่ือโกรธข้ึนอยูกับการเลี้ยงดู การเลียนแบบใน ครอบครวั อาจแสดงออกโดย สบถ สาบาน การทุบขวางปาส่ิงของ วัยรุนหญิงรองไหเม่ือผานชวง วัยรุนตอนตนไปแลวคืออายุประมาณ 17-18 ปไปแลวจะควบคุมความโกรธไดดีข้ึน วัยรุนหญิง สามารถควบคุมโกรธไดด กี วา วัยรนุ ชาย วนั รุน ควรฝก ควบคมุ การแสดงออกใหเ หมาะสม อาทิ ฝกควบคุมความโกรธดวยวิธีตาง ๆ เชน นับ 1-100 หายใจเขาออกลึก ๆ ชาๆ ให สมาธิจดจอ อยกู บั ลมหายใจเขาออก หลกี เลีย่ งออกไปจากสถานการณที่ทาํ ใหโกรธ เปน ตน ไมค วรตอบโตฝา ยตรงขามในขณะทอ่ี ยใู นอารมณโกรธดว ยกนั ท้งั 2 ฝา ย รอให อารมณส งบแลว จงึ พดู คุยดวยเหตุผล ควรพดู ชแ้ี จงดว ยกิรยิ าทส่ี ุภาพตอผใู หญท ี่ตักเตือนเพราะความหว งใย อารมณรักของวยั รนุ อารมณรักเปนอารมณที่กอใหเกิดสภาวะของความยินดี ความพอใจ เมื่อวัยรุนมี ความรูสึกรักใครขึ้นแลว จะมีความรูสึกท่ีรุนแรงและจะมีการเลียนแบบบุคลิกภาพที่ตนรักอีกดวย เม่ืออยูหางกันจะทําใหเกิดความกระวนกระวายใจ จะมีการโทรศัพทหรือเขียนจดหมายติดตอกัน วัยรนุ จะพยายามทาํ ทุกวถิ ที างเพ่อื ใหค นทตี่ นรกั มีความสขุ อาทิ ชว ยทํางานในโรงเรียน ใหของขวัญ วยั รุน จะแสดงออกอยางเปด เผย อาทิ การเฝาคอยดหู รอื คอยฟงคนท่ีตนรักทําสง่ิ ตาง ๆ
22 การมคี วามรกั ตอสิ่งตาง ๆ อาทิ รักธรรมชาติ รักช่ืนชมตอเสียงเพลง แมแตความรักที่ เปนอุดมคติสูงสง อาทิ รกั ในเพอื่ นมนุษย หรอื ความรักตอบคุ คลอ่ืนลวนเปนสิง่ ทีด่ งี าม แตทั้งน้ี ขึน้ อยกู ับการแสดงออกวา มคี วามเหมาะสมตามสถานะของวัยรุนหรอื ไม การแสดงความรักที่เหมาะสมตอสถานะของวัยรุน โดยเฉพาะความรักตอเพศตรง ขา ม ควรเปนความรักทอี่ ยูบ นพื้นฐานของการใหเกยี รติคนที่ตนรัก ไมลวงเกินใหเกิดความเส่ือมเสีย มีการควบคุมอารมณค วามตองการทางเพศ มีการแสดงออกทส่ี ังคมยอมรับได อาทิ ไมไปอยูในที่ลับ ตา ไมไ ปพักคางคนื กนั ตามลาํ พัง ไมม ีการถูกเนื้อตอ งตวั เปน ตน อารมณร า เริงของวัยรนุ อารมณรา เริงจะเกดิ ขน้ึ เมือ่ วัยรุนสามารถปรบั ตวั ไดด ใี นการทํางาน และการปรับตัว ใหเขา กับสถานการณต าง ๆ ทางสังคม สามารถทาํ งานที่ยาก ๆ ไดส าํ เร็จ วยั รุน ทอ่ี ารมณราเริงที่มีการ แสดงออกทางใบหนา ทางรา งกาย อาทิ การย้มิ หวั เราะ ความอยากรอู ยากเห็น วัยรุนมีความอยากรูอยากเปนในเหตุการณแปลก ๆ ใหม ๆ เชน เรื่องเพศ การ เปลย่ี นแปลงรา งกาย ความรูสกึ ทางเพศ ความอยากรูอยากเปน ของวัยรุน แสดงออกโดยการพดุ คยุ ซักถาม วิพากษวิจารณ มี การตงั้ คําถามกับคนใกลชิด อาทิ เพื่อน ผูใหญท่ีใกลชิด การแสดงออกเชนน้ีเปนการแสดงออกที่ สรา งสรรค การที่วยั รนุ ไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกบั ผใู หญทมี่ ปี ระสบการณมาก ๆ และเปนคนท่ีใจ กวา งยอมรบั ฟงจะชวยใหวยั รุน ไดพัฒนาความคดิ ทกี่ วา งขวางสกู ารเปนผูใหญต อไป การเปล่ียนแปลงทางดา นสงั คมของวยั รนุ เด็กผูห ญิงเม่อื เริม่ ยา งเขาสวู ัยสาวก็จะมีการเปล่ียนแปลงทางดานอารมณ หรือภาวะ ทางดานจิตใจไปดวยเชนกัน โดยท่ีเด็กผูหญิงจะเร่ิมมีวามสนใจตัวเองมากข้ึน โดยเฉพาะในเรื่อง ความแตกตางของบุคลิกภาพ มีความสนใจทางเพศตรงขาม รูจักสังเกตความรูสึกของผูอื่นท่ีมีตอ ตนเอง ตองการใหผูอื่นประทับใจและใชเวลากับการแตงตัวมากข้ึน ในชวงวัยรุนนี้เองเปนชวงท่ี เด็กผูหญิง เร่ิมทีจ่ ะวางตัวแยกออกหางจากครอบครัว และเริ่มมีวงสังคมในกลุมเพื่อน ๆ ของเขาเอง ทั้งกลุม เพอ่ื นในเพศเดียวกันและเพอื่ นตา งเพศจะไปไหนมาไหนกนั เปนกลุม และเมอ่ื ถึงคราวกลับบาน ก็ยงั ยกหูโทรศัพทห ากันเปน ชั่วโมง ทั้ง ๆ ทีเ่ มื่อกลางวันกไ็ ดเจอกันท่โี รงเรยี น เด็กผูชายเมื่อเขาสูชวงวัยรุนจะเร่ิมมีความสนใจและใกลชิดกับกลุมเพื่อนมากข้ึน พวกเขาจะมีกิจกรรมตาง ๆ รวมกัน ซึ่งอาจจะเปนการเลนกีฬา ดนตรีหรือการออกไปเดินตาม
23 หางสรรพสนิ คา พวกเขามีความรูสกึ เอาใจใสซึ่งกันและกัน รักเพ่ือนมากขึ้นทําอะไรก็จะทําตาม ๆ กัน เปน กลุม ไมตองการที่จะแตกแยกหรือถูกทอดทง้ิ ออกจากลมุ ปญ หาการเปลีย่ นแปลงทางดา นสงั คมของเดก็ วยั รนุ ผชู ายสว นใหญ จะเปนเรื่องของ ยาเสพตดิ ซง่ึ มกั จะเริ่มขึน้ ครง้ั แรกจากการทดลองใชย าเสพติด โดยไดร บั การแนะนําจากเพ่ือน บางคน อาจจะเต็มใจที่จะลอง แตบ างคนจําเปน ทีจ่ ะตอ งลองเพราะวา ไมตองการท่ีจะถกู ทอดทิง้ ออกจากลุม โดยท่วั ไปการทดลองยาเสพติดมักจะเร่ิมจากการสบู บุหร่ี เพราะสามารถหาซอื้ ไดงาย และมีราคาถกู ที่สุด เมือ่ เทยี บกบั ยาเสพติดชนดิ อื่น ๆ เม่อื เรม่ิ สบู บหุ ร่ีแลวกอ็ าจจะเริ่มทดลองยาเสพติด ประเภทอนื่ ๆ ทีม่ ีฤทธร์ิ า ยแรงมากยง่ิ ข้ึน อาทิ สบู กญั ชา เสพยาบา ผงขาว หรือเฮโรอีน เปน ตน การพฒั นาการทางสติปญญา (Metal Development) การพัฒนาการทางสติปญญาของวัยรุนตอนตน คือ ความสามารถทางสมองเพิ่มขึ้นเพราะ เซลลประสาทซ่ึงมีอยูต้ังแตเด็ก ในระยะนี้จะพัฒนาเต็มที่ การเปลี่ยนแปลงจะเห็นไดชัดใน ความสามารถในการพูด จนิ ตนาการ ความสนใจ เปล่ียนแปลงไปจากเดิม เร่ิมสนใจเพื่อนตางเพศ ไมเหมอื นกับวยั เดก็ การทาํ งานมคี วาม สนใจและตดิ ตอกนั นานกวา วัยเดก็ การทํางาน เรียนดี ความคิดดี มีเหตุผลข้ึน เด็กบางคนสามารถ เขียนบทประพันธน วนิยายได เปน ตน สรุป วัยรุน มีพฒั นาการทางรางกายของเด็กหญิง และเด็กชายแตกตา งกนั คือเด็กหญิงจะ มีพฒั นาการเรว็ กวา เด็กชาย โดยแบง ชวงอายดุ งั น้ี 1. วยั เตรยี มเขาสูว ัยรนุ 2. วัยรุน ตอนตน 3. วัยรุนตอนกลาง 4. วยั รนุ ตอนปลาย วัยรนุ เปนชว งท่มี ีพฒั นาการทั้งในดา นรา งกายและจติ ใจคอ นขา งเร็วกวาวยั อนื่ ๆ เปน ชวงของการปรบั ตัวจากวยั เด็กไปสวู ัยผูใหญ โดยมกี ารเปลี่ยนแปลงในดา นตาง ๆ ดังนี้ 1. การเปล่ียนแปลงทางดา นรา งกายจะเปนไปอยางชัดเจน วัยรุนหญิงจะมีลักษณะ รูปรา งทรวดทรงเปนหญิงสาวชัดเจนมีการเปล่ียนแปลงระบบอวัยวะสืบพันธุโดยเร่ิมมีประจําเดือน พรอ มจะสืบพันธุได วยั รนุ ชายจะเรมิ่ มีลักษณะของชายหนุม มีการเปลีย่ นแปลงของระบบอวัยวะเพศ เรม่ิ มีอสุจิซึง่ เปน เซลลส ืบพันธพุ รอ มที่จะสบื พันธุได
24 2. การเปล่ียนแปลงทางดานอารมณและจิตใจสวนใหญจะมีผลมาจากการ เปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย ไดแก ความวิตกกังวล ความกลัว ความโกรธ ความรักและความ อยากรอู ยากเห็น ส่ิงตา ง ๆ ท่ีเกิดข้นึ กบั วยั รนุ ดังกลาวนน้ั ผูใหญ ผใู กลชิดควรสงั เกตและแกไขปญหา ดว ยเหตผุ ลตาง ๆ ที่เหมาะสม 3. การเปล่ียนแปลงทางดานสังคมเร่ิมมีวงสังคมในกลุมเพศเดียวกันและตางเพศมี การทาํ กจิ กรรมรว มกันเปนกลมุ กลวั การถกู ทอดท้ิง ปญ หาที่ควรระวังมากเปนเรื่องของยาเสพติด 4. การพัฒนาการทางสติปญญาความสามารถทางสมองจะพัฒนาเต็มท่ี มีการ เปล่ยี นแปลงท่ีเหน็ ไดชัด ไดแกความสามารถใน การพูด การทํางาน ความคิด ความจําดี มีสมาธิ มากขึ้น 3.4 วัยผูใหญ ระยะของชว งเวลาทเี่ รยี กวา ผูใหญ นั้นมคี วามยาวนาน และมีความสําคัญตอ ชีวิตอยางมากเปนระยะเวลาการเลือกประกอบอาชีพท่ีมั่นคง มีเพื่อน คูครอง ในวัยน้ียังมีการ เปลย่ี นแปลงทางรางกาย และความเสอื่ มในดานความสามารถอีกดว ย จะแบงชวงอายุไดเปน 2 ระยะ คอื วยั ผใู หญอายตุ ั้งแต 21-40 ป วัยกลางคนอายตุ งั้ แต 40-60 ป 3.4.1 วัยผูใ หญ (Adulthood) ลกั ษณะโดยท่ัวไปของวัยผูใหญ บคุ คลยา งเขาสวู ัยผูใหญ ตองปรับตัวใหเขากฎเกณฑตาง ๆ ของสังคม ยอมรับความเปน จรงิ ของชีวิต การควบคมุ อารมณ การเลือกคคู รองทีเ่ หมาะสม อาจกลา วไดดงั นี้ 1. การเลือกคคู รองใชระยะเวลาหลังจากวัยรุน สนใจเลือกคูครองโดย ศกึ ษาองคประกอบท่สี าํ คญั เพือ่ เลือกคูครองไดเหมาะสมกับตน อาทิ ความสนใจ ทัศนคติคลายคลึง กนั ฐานะทางเศรษฐกิจไมแ ตกตางกนั เกนิ ไป องคป ระกอบเหลา นี้จะชวยใหชีวติ ครอบครัวยัง่ ยืนเมื่อ แตงงานแลว ทง้ั ชายและหญิง กต็ อ งปรบั ตัวใหเ ขา กับบทบาทใหมในฐานะความเปนสามี ภรรยาตอง เขา อกเขา ใจกัน ปรบั ตัวเขาหากัน ยอมรบั สภาพความเปน อยูของกันและกนั ไดด แี ลว การเตรียมจติ ใจ ไวเพื่อเปน พอ แมต อ ไป 2. การประกอบอาชีพท่ีเหมาะสมกับความสามารถของตน มักจะมี ความเจริญกาวหนาในอาชีพผูประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพ จะชวยใหชีวิตครอบครัวมี ความสุข
25 3. การเผชิญปญ หา ในวยั ผูใหญมกั จะมปี ญ หาในเรือ่ งของการมีคูครอง และบุตร การมีสมาชิกเพื่อขน้ึ กย็ อมมีปญ หาประดังเขามา ตองใชความสามารถในการแกปญหาเพื่อ ประคับประคองครอบครัวได 4. ความกดดันทางดา นอารมณ ปญ หาตาง ๆ ท้ังในดานครอบครัวและ การงานบางคนมคี วามยงุ ยากในการปรับตวั อยูบา ง แตพอยา งเขา สวู ยั 30-40 ป อาจลดความตึงเครียด ไดบา งและสามารถแกไ ขปญหาตา ง ๆ ไดดขี น้ึ ความตงึ เครยี ดทางอารมณกล็ ดลงไป 3.4.2 วัยกลางคน (Middle Ages) วัยกลางคนนับวา เปน ชว งระยะเวลาที่ยาวนานเปน ชวงท่ีสําคัญที่สุดของ ชีวิต บคุ คลที่ประสบความสําเรจ็ ในชวี ิตจะอยูในชว งชีวิตตอนนีเ้ ปนสว นมาก ความเปลี่ยนแปลงในดา นตา ง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ กับบคุ คลวยั กลางคน 1. ความเปล่ียนแปลงทางรางกาย ไดแก รูปราง หนาตา ทาทาง การ มอง การฟง การทํางานของตอมตาง ๆ ชาลง สมรรถภาพทางเพศลดลง ผูหญิงจะอยูในระยะท่ี ประจาํ เดือนเรมิ่ หมดหรอื ทีเ่ รียกวา ระยะ “menopause” อารมณหวน่ั ไหวไดงาย มีความหงุดหงิดและ ราํ คาญเกง ผใู กลชดิ ตองรูจักเอาอกเอาใจ จะชว ยใหค วามวิตกกังวลลดลงไปได 2. ความเปล่ยี นแปลงในหนาทีก่ ารงาน อาจมกี ารเปลย่ี นแปลงตําแหนง หนา ทีก่ ารงาน เปลย่ี นแปลงผูบังคับบัญชา ระยะนเี้ ปน ชว งของความสาํ เรจ็ สงู สุดในชีวิตการงาน อาจ กอใหเกดิ ความกงั วลใจไมนอย 3. ความเปล่ียนแปลงทางดานอารมณ มีความกังวลหวงการงานอาจมี อารมณท ี่แปรเปล่ียนไปจากเดิม อารมณของหญิงวัยนก้ี ลบั มลี กั ษณะคลา ย ๆ กบั อารมณโกรธงายหาย เรว็ 4. ความเปล่ียนแปลงดานความสนใจ มีความสนใจในเร่ืองตาง ๆ ลึกซ้งึ พเิ ศษและจริงจัง บางคนสนใจเรอ่ื งศาสนา บางคนชว ยงานสังคม เปน การหาความสขุ ใหต นเอง และสงั คมตามอตั ภาพ สรุป วยั ผใู หญเปนชว งอายุต้ังแต 21-60 ป เปน วยั ที่มพี ัฒนาการในดานตา ง ๆ ไดม ากจนถึง ขดี สูงสดุ อาทิ ดานความสูง สตปิ ญ ญา มกี ารเปลย่ี นแปลงดานจิตใจความพอใจ คานิยม และสนใจ ในเร่ืองคคู รองมาก เปน วยั ทเี่ รม่ิ เส่อื มความสามารถ สมรรถภาพทางเพศลดนอยลง
26 3.5 วยั สูงอายุ ความชราจะมีความแตกตางของบคุ คล เขา มาเกี่ยวของดวยในวัยท่ีมีอายุเทากนั สมรรถภาพอาจแตกตา งกนั บางคนอายุ 50 ป แตความชราทางกายภาพมีมาก ในเวลาเดียวกัน คน อายุ 60 ปค วามชราทางกายภาพยงั ไมม ากนัก เราจึงกําหนดอายุวยั ชราโดยประมาณ คอื วัย 60 ปข น้ึ ไป พฒั นาการทางรางกาย เซลลตาง ๆ เร่มิ ตายจะมกี ารเกิดทดแทนไดนอยและชา รางกายสึกหรอ ถามี การเจ็บปวยทางรางกายจะรักษาลาํ บากและหายชากวา วยั อน่ื ๆ เพราะวยั นร้ี างกายมแี ตค วามทรดุ โทรม มากกวา ความเจริญ ความสูงจะคงท่ี หลังโกง ผมบนศรี ษะหงอก กลา มเนือ้ หยอนสมรรถภาพการทรง ตัวไมดี พฒั นาทางสตปิ ญญา มีความสขุ ุมรอบคอบ ยงั มเี หตผุ ลดีแตขาดความริเริ่มจะยึดหลักเกณฑที่ตน เคยยึดถือปฏิบัติ สมรรถภาพในการเลาเรียนจะคอย ๆ ลดลงทีละนอยในชวงอายุระหวาง 25-50 ป หลงั จาก 50 ปแ ลว จะลดลงคอนขา งเร็ว การทองจาํ อะไรจะรับไดยากกวาวยั อืน่ มีความหลงลืมงาย พัฒนาการทางดานอารมณ บางคนชอบงาย โกรธงาย อารมณแปรปรวนไมคงท่ี แตวัยชราบางรายมี จิตใจดี ท้ังนเี้ ปนไปตามสภาพแวดลอม สังคม และประสบการณท ่ผี า นมา รวมถงึ สภาพเศรษฐกิจใน ครอบครัวดวย ในวยั ชรานจี้ ะมีความเมตตากรุณา สงู กวา วัยอ่นื ๆ จะเห็นไดจ ากการชวยเหลือผูอื่นใน กรณีตาง ๆ พัฒนาการทางดา นสงั คม สวนมากจะสนใจเร่ืองของการกุศลยดึ ถือศาสนาเปนที่พึ่งพิงทางใจ บริจาค ทรัพยสินเพ่ือการบํารุงศาสนา จับกลุมปฏิบัติธรรม บางรายสิ่งแวดลอมและเศรษฐกิจบังคับไม สามารถทาํ ความตอ งการได ก็จะไดร ับมอบหมายใหเล้ียงดูเด็กเล็ก ๆ ในบาน มีความสุขเพลิดเพลิน ไปกับลูกหลานประสบการณของคนชรามคี ามากสําหรบั หนุมสาว บตุ รหลาน ตองยอมรับนับถือเอา ใจใสเห็นคุณคา ไมเหยียบย่ําดูหม่ินดูแคลน ควรหาทํางานอดิเรกใหทําเพ่ือใหทานมีความสุข เพลดิ เพลิน
27 สรุป ชวงอายุวยั ชราจะเรมิ่ นับต้ังแต 60 ปข น้ึ ไป ความชรามีความแตกตางของบุคคล ใน วัยอายุเทากัน สมรรถภาพอาจแตกตางกัน โดยทั่วไป รางกายมีแตความทรุดโทรมมากกวาความ เจริญเติบโต สติปญญาจะคอยลดนอยลง แตเปนวัยท่ีมีความสุขุมรอบคอบมีเหตุผล อารมณจะ แปรปรวนไมค งที่ เปนวัยท่ีมคี วามเมตตากรุณาสงู กวา วัยอ่นื ๆ กจิ กรรมท่ี 1 จงอธิบายโครงสราง หนาที่การทาํ งานและการดแู ลรกั ษาระบบอวัยวะที่สําคัญ 4 ระบบมาโดยสรปุ 1. ระบบผิวหนงั _________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ 2. ระบบกลา มเน้อื ______________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ 3. ระบบกระดกู ________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ 4. ระบบไหลเวยี นเลือด__________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________
28 กิจกรรมท่ี 2 ปจ จยั ท่ีผลตอ การเจริญเติบโตและพฒั นาการมนษุ ยม ีอะไรบาง _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ กิจกรรมท่ี 3 จงอธบิ ายพฒั นาการและการเปล่ยี นแปลงตามวัยของมนษุ ยม าโดยสรปุ 1. วยั ทารก_____________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ 2. วัยเด็ก______________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ 3. วัยรุน _______________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ 4. วยั ผูใ หญ_____________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ 5. วยั สงู อาย_ุ ____________________________________________________________ _____________________________________________________________________________
29 บทที่ 2 สขุ ภาพทางกาย สาระสําคัญ ความรคู วามเขา ใจ ในการปฏิบัติตนเพอ่ื หลีกเลย่ี งพฤตกิ รรมเสย่ี งตอ สุขภาพ ตลอดจนสามารถ อธิบายถึงประโยชนของการออกกําลังกายและโทษของการขาดออกกําลังกาย ตลอดจนอธิบายถึง วิธกี ารออกกาํ ลังกายเพ่อื สุขภาพได ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวงั 1.สามารถอธบิ ายถงึ วิธีปฏิบัติตนในการหลีกเล่ยี งพฤตกิ รรมเสีย่ งตอสุขภาพได 2.สามารถอธิบายประโยชนและรูปแบบของการออกกําลังกายและโทษของการขาดการออก กําลงั กายได ขอบขา ยเนอ้ื หา เรื่องท่ี 1 การเสริมสรา งสขุ ภาพของตนเองและบคุ คลในครอบครวั เรอ่ื งที่ 2 การออกกาํ ลังกาย เร่ืองที่ 3 รปู แบบและวธิ กี ารออกกาํ ลังกายเพ่อื สขุ ภาพ
30 เรอ่ื งท่ี 1 การเสริมสรา งสุขภาพตนเองและบคุ คลในครอบครวั ครอบครัวมีบทบาทและอิทธิพลที่สําคัญมากในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของบุคลใน ครอบครัว เพราะครอบครวั เปนสงั คมปฐมภูมิทม่ี ีความใกลชิดผูกพัน มีความนับถือเชื่อฟงกันและกัน เปนพ้ืนฐาน ครอบครัวประกอบดวย ปู ยา ตา ยาย พอ แม ลูก หลาน และอ่ืนๆครอบครัวจึงเปน ศนู ยก ลางการเรยี นรูข้นั พื้นฐานและพัฒนาการดานตางๆ ตลอดจนการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของ บุคคลทุกวัย ดังนั้นการวางแผนดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัวจึงจําเปนและสําคัญอยางมาก เพ่ือใหท ุกคนมีสขุ ภาพดีโดยตอ งเรมิ่ จากตัวเราและทกุ คนในครอบครวั เปนสาํ คญั การดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัวจะตองมีการวางแผนไวลวงหนาและดําเนินการให เปนไปตามแผน และทุกคนตองมีการปฏิบตั ใิ หเปน ไปตามแผนท่ีวางไวในเร่อื งตา งๆดังนี้ 1. การรกั ษาความสะอาด 2. การปอ งกนั โรค 3.การรับภมู คิ มุ กันโรค 4. อาหารและโภชนาการ 5. การออกกาํ ลังกายและเลน กฬี า 6. การพกั ผอนและกิจกรรมนนั ทนาการ 7. การดูแลรักษาสง่ิ แวดลอ ม 8. การดแู ลสขุ ภาพจิต 9. การปอ งกนั อบุ ตั ิเหตแุ ละสรางเสริมความปลอดภยั 10. การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน การรกั ษาความสะอาด การรกั ษาความสะอาดของรางกาย ไดแก เส้ือผา เคร่อื งนงุ หม เคร่ืองใชสวนตัว และสวนรวม ตลอดจนการรักษาความสะอาดของท่ีอยูอาศัย ในวัยเด็ก พอ แม ปู ยา ตา ยาย หรือ ผูปกครองเปน แบบอยา งในการรกั ษาความสะอาด เมื่อเติบโตขน้ึ เราควรรูจักการดูแลตนเองเร่ืองการทําความสะอาด ในเร่ืองสว นตัว และชวยเหลือสมาชิกคนอื่น ภายในครอบครัวจนเปนนิสัย เชน ชวยซักผาใหพอแม หรือผูสงู อายใุ นครอบครวั เปนตน
31 การปองกันโรค การปฏิบัติใหถูกตองจะชวยปองกันโรคตาง ๆ ที่เกิดขึ้นตามฤดูกาลหรือเม่ือเกิดการระบาด เชน หนา ฝนจะมีการระบาดของโรคหวัด ควรสวมใสเส้ือผาที่ทําใหรางกายอบอุน ฝนตกตองกางรม หรอื สวมใสเ ส้ือกนั ฝน หนารอนกเ็ กิดการระบาดของโรคทองรวงหรืออหิวาตกโรค ควรรับประทาน อาหารทีม่ ปี ระโยชนและปรุงสุก ใหม ๆ หากมกี ารระบาดของโรคที่ปองกนั ได โดยการฉีดวัคซีนปองกัน ก็ควรใหบุคคลในครอบครัว ไปรับการฉดี วคั ซนี เปน ตน การรบั ภูมิคมุ กนั โรค การรับภูมคิ มุ กันโรคในวัยเด็กเปน หนา ท่ีของพอแมห รือผูปกครองตอ งพาเด็กไปรับภูมิคุมกัน จากแพทย เชน โรคไอกรน คอตบี โปลโิ อ เปน ตน เม่ือโตข้นึ หากเกิดโรคระบาดหรือตอ งฉดี วัคซีน เรา ตองเห็นความสําคัญและเห็นคุณคาของการรับภูมิคุมกันเพ่ือปองกันโรคตางๆและยินดีเต็มใจรับ ภมู คิ ุมกัน ตลอดจนแนะนําคนอ่ืนๆใหเหน็ ความสําคญั ดวย อาหารและโภชนาการ การไดรบั อาหารที่มปี ระโยชน มีคุณคา และเพียงพอตอความตองการของรางกายในแตละม้ือ และแตละวันนับวามีความสําคัญ ควรมีกาํ หนดหรอื วางแผนไวลว งหนาวาม้ือเชา ม้ือกลางวัน หรือมื้อ เย็นจะทําอาหารอะไรบาง เพ่ือจะไดอาหารที่หลากหลายและแตกตางกันไป เชน อาหารของเด็กเล็ก ควรแตกตางจากอาหารผูใ หญ การจัดอาหารสาํ หรับผูปวยเฉพาะโรค ไดคุณคาของอาหารครบทุกหมู และในปรมิ าณที่เพียงพอตอ ความตองการของรา งกาย เพอ่ื สงเสริมสุขภาพของทุกคนในครอบครัว ใน แตล ะวนั ทกุ คนในครอบครัวควรไดร ับประทานอาหารครบ 3 ม้ือ มคี ุณคาอาหารครบ 5 หมู และดื่มนํ้า อยางนอยวันละ 6-8 แกว การออกกําลงั กายและเลนกฬี า ควรออกกําลังกายและสนับสนุนใหทุกคนในครอบครัวไดออกกําลังกายและเลนกีฬาเปน ประจาํ โดยชกั ชวนกนั ไปออกกําลังกาย พรอมทั้งใหคําแนะนําเก่ียวกับประโยชนของการออกกําลัง กายและเลนกีฬาที่ชวยใหสุขภาพดี มีความสดช่ืน แจมใส คลายเครียด และชวยใหระบบตางๆ ใน รา งกายทํางานดีขึ้น ทุกคนควรออกกําลังกายอยางสม่ําเสมออยางนอยวันละ 30 นาที หรืออยางนอย สปั ดาหละ 3 วัน ถาเปนไปไดค วรออกกาํ ลังกายทุกๆวัน
32 การพกั ผอนและกจิ กรรมนนั ทนาการ หลงั จากการทาํ งานของผูใหญ หรอื การเรียนของเดก็ การออกกําลังกาย และการเลนกีฬาของ ทุกคนในครอบครัวท่ีถือวาเปนภารกิจท่จี ะตอ งทําประจาํ วนั แลว ภารกจิ อกี สว นหนงึ่ ท่ีทกุ คนจะตองทํา คือ การพกั ผอนและกจิ กรรมนันทนาการที่ตองมีการกําหนดหรือวางแผนในการปฏิบัติ การพักผอน โดยการนอนท่ีถือวาสําคัญที่สุด ควรนอนเปนเวลา และนอนหลับอยางนอยวันละ 6-8 ช่ัวโมง นอกจากน้ีควรกําหนดการวางแผนรวมกับครอบครัว โดยใชกิจกรรมนันทนาการ เชน ปลูกตนไม รว มกนั ไปทอ งเทยี่ วในวนั หยุด เปน ตน การดูแลรักษาสงิ่ แวดลอม การดูแลสุขภาพของทุกคนในครอบครัวในเรื่องสุขภาพรางกาย ความสะอาด อาหาร การ บรโิ ภค ตลอดจนการพักผอ นนั้นยังไมเพยี งพอ เพราะสงิ่ ท่ีจะชวยใหคนมีสขุ ภาพดี ปราศจากโรคภัยไข เจบ็ ไดตองมีสิ่งอื่นประกอบดวย ไดแก บานเรือน โรงเรียน สิ่งแวดลอมรอบตัว ตองชวยกันดูแลให สะอาด ปราศจากขยะมูลฝอย และส่ิงปฏิกูลตางๆ ทางระบายน้ําไมมีน้ําเนา นํ้าขัง มีสวมที่ถูก สขุ ลกั ษณะ และมสี ง่ิ แวดลอมท่ดี ี นา อยูอ าศยั ทกุ คนควรมจี ิตสาํ นกึ โดยปฏิบตั ติ นเปนแบบอยา งและจดั ส่ิงแวดลอมภายในบานและบริเวณใหถูกสุขลักษณะ รวมท้ังใหความรวมมือในการดูแลรักษา ส่ิงแวดลอมในชุมชนอยางสม่ําเสมอ เชน การเขารวมกิจกรรมพัฒนาสาธารณะสถานหรือกิจกรรม บําเพ็ญประโยชนก ารรกั ษาชมุ ชนใหส ะอาด หรอื กจิ กรรมในวันสําคญั ทางศาสนา เปนตน การดูแลสขุ ภาพจิต การดแู ลสขุ ภาพรางกายอยา งเดยี วยอมไมเ พยี งพอ เพราะทกุ คนจะมีสขุ ภาพท่ีสมบูรณแข็งแรง ไดจ ะตองมีความสมบรู ณแข็งแรงท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจิต การดูแลสุขภาพจิต ทําไดโดยการให ความเอ้ืออาทร ความหวงใยแกสมาชกิ ในครอบครวั มีการชวยเหลือเก้ือกูล และใหกําลังใจซึ่งกันและ กัน ใหคําปรึกษาหารือและมีสวนรวมในการวางแผนและการทํากิจกรรมของครอบครัวเพ่ือสราง สมั พนั ธภาพอนั ดี ใหเ กดิ ข้ึนในครอบครัวซ่ึงจะสงผลถงึ การมสี ุขภาพจติ ทด่ี ีในท่สี ุด การปอ งกนั อบุ ัตเิ หตุและสรางเสริมความปลอดภัย การวางแผนเพอ่ื ไมใหเ กดิ อุบตั ิเหตุภายในครอบครัว ทุกคนในครอบครัวควรชวยกันสํารวจ เคร่อื งมอื เครอ่ื งใชท อ่ี าจจะเปน สาเหตขุ องการเกดิ อบุ ัติเหตุใหปลอดภัยในการใช หากมีการชํารุดตอง ซอ มแซมแกไขใหอ ยูในสภาพท่ีพรอมใชงานไดดี จัดเก็บในท่ีท่ีเหมาะสมและสะดวกสําหรับการใช งานในครั้งตอไป เรียนรูการใชเคร่ืองมือทุกชนิดใหถูกวิธี และรูวิธีปองกันอุบัติเหตุตางๆ ท่ีอาจจะ เกิดขน้ึ ฝก ใหม พี ฤตกิ รรมที่ถกู ตอง รูหลกั ของความปลอดภัย และรจู กั หลกี เลยี่ งการเกดิ อุบตั เิ หตุตางๆ การปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน
33 การดแู ลปฐมพยาบาลเบอื้ งตน เปน เรอื่ งสําคัญและจําเปนสําหรับครอบครัว นักเรียน ควรหา ความรู และความเขาใจในเร่อื งการปฐมพยาบาลอยางงา ยๆ สาํ หรบั บคุ คลในครอบครัว เชน เม่ือมีการ บาดเจบ็ ตอ งปฐมพยาบาลดว ยการทําแผล ใสย า รจู กั การวดั อณุ หภมู ิเม่ือมีไข การปฐมพยาบาลคนเปน ลม เปน ตะครวิ เปนตน นอกจากน้ีตอ งวางแผนในการดแู ลคนในบานใหไ ดร ับการตรวจโรคอยางนอย ปละ 1 ครง้ั หรือถา ในครอบครวั มสี ุขภาพไมป กตจิ ะตอ งไปพบแพทยวันใด เดือนใดหรือหากเกิดเหตุ ฉกุ เฉินตองไปพบแพทยที่ไหน โดยวธิ ใี ด หรอื ใชเ บอรโทรศพั ทอะไร เปนตน และแนะนาํ ใหทุกคนใน บา นเขาใจและฝก ปฏิบัติใหทกุ คนไดเรยี นรู เพอื่ ใหส ามารถชวยเหลอื ตนเองและผอู ื่นได การวางแผนดูแลสขุ ภาพของบคุ คลในครอบครัวเปนสิ่งที่จําเปน เพราะเม่ือปฏิบัติแลวจะเกิด ประโยชนต อสุขภาพ ดังนั้นทุกคนในครอบครัวจึงควรมีการวางแผนดูแลสขุ ภาพของตนเองและบคุ คล ในครอบครัว ดงั นี้ 1. ฝกใหตนเองสนับสนุนใหบุคคลในครอบครัวมีพฤติกรรมที่ถูกตองเก่ียวกับเร่ือง ความ สะอาด และมีความเปน อยทู ถี่ ูกสุขลักษณะ 2. วางแผนการไปรบั ความรูและการปอ งกันโรค ท้ังโรคตดิ ตอ และไมตดิ ตอ 3. วางแผนไปรับการสรางภูมิคุมกันโรคดวยการฉีดวัคซีนตามกําหนด หรือตามการระบาด ของโรค 4. วางแผนรับประทานอาหารท่มี ีคุณคา และเปนประโยชนตอรางกายครบถวนท้ังคุณคาและ ปรมิ าณทเ่ี หมาะสม และเปน ไปตามวัย 5. จัดตารางเวลากิจกรรมในชวี ติ ประจําวนั ใหสามารถออกกําลังกายเลนกีฬาอยา งสม่าํ เสมอ 6. แบง เวลาเพ่ือใหไ ดร ับการพกั ผอนอยา งเพียงพอ 7. วางแผนในการปรับปรุงท่อี ยูอ าศัยและสิง่ แวดลอ มใหปลอดภยั 8. ดูแลเอาใจใสท กุ คนในครอบครวั ใหม ีสุขภาพจิตทีด่ ี มีความรกั ความอบอุน มกี ารชวยเหลือ เก้อื กูลและเออื้ อาทรตอกันในครอบครัว 9.วางแผนเรือ่ งความปลอดภัยในชีวิต หลีกเล่ียงพฤติกรรมที่อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุหรือการ สูญเสยี เนื่องจากมกี ารปอ งกนั ไวก อ น 10. วางแผนเม่ือเกิดเหตุการณไมคาดคิดโดยใหความชวยเหลืออยางถูกตองวิธีเม่ือมีการ บาดเจบ็ หรือเจ็บปว ยขน้ึ ในครอบครัว
34 วัน จันทร ตวั อยา งแผนตารางและกจิ กรรมประจาํ สปั ดาห อาทติ ย ผลการปฏิบตั ิ หมาย เวลา เลน ฟตุ บอล ทาํ สวน ได ไมไ ด เหตุ 17.00 น. องั คาร พุธ พฤหัสบดี ศกุ ร เสาร ชวยแม วา ยนํา้ เลน ดนตรี ข่จี ักรยาน ทําความ ทํากบั ขา ว สะอาดบา น 18.00 น. รบั ประทาน รบั ประทาน รับประทาน รับประทาน รบั ประทาน รบั ประทาน รับประทาน อาหารกับ อาหารกบั อาหารกบั อาหารกบั อาหารกับ อาหารกบั อาหารกบั 19.00 น. ครอบครวั ครอบครัว ครอบครัว ครอบครวั ครอบครัว ครอบครวั ครอบครัว 20.00 น. ทําการบา น ทาํ การบาน ทําการบาน ทําการบา น ทาํ การบา น ดูโทรทัศน ดโู ทรทัศน ดูโทรทศั น อา นหนังสือ ดูโทรทัศน อา นหนงั สือ อา นหนังสอื อา นหนังสือ อานหนงั สอื กับคณุ ยาย กับคณุ พอคณุ แม ตวั อยางแผนตารางและกิจกรรมประจาํ เดอื น(ใน1วนั อาจเลอื กปฏบิ ัตไิ ดม ากกวา 1 กจิ กรรม) วนั 1 2 3 4 56 78 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 หมาย กิจกรรม เหตุ 1. ไปวดั 2 . ขั ด หองน้ํา 3. ซกั ผา 4. ไป ตลาด 5. ไป เลนกฬี า (สัปดาห ละ3วัน) การวางแผนดูแลสุขภาพของบุคคลในเรื่องตางๆ ดังกลาวขางตน เปนเรื่องจําเปน สําหรับทุกครอบครัว ซึ่งพื้นฐานของการมีสุขภาพดีตองประกอบดวยรางกาย จิตใจ เคร่ืองใช ที่อยู อาศัย ตลอดจนสิง่ แวดลอม อาหารและโภชนาการท่ีไดคณุ คาครบถว น ปริมาณท่ีเหมาะสม รวมท้ังการ ไดออกกําลังกาย หรือเลนกีฬาที่กระตุนใหอวัยวะทุกสวนไดเคล่ือนไหว ระบบตางๆ ของรางกาย ทาํ งานไดด ี มกี ารพกั ผอ นทีเ่ หมาะสมเพียงพอ ตลอดจนไดด แู ลสขุ ภาพใหพนจากทุกขภ ยั และปลอดภยั จากการทํางานหรือการเลน เมื่อเจ็บปวยไดรับการดูแลที่ถูกตองเหมาะสม ก็จะชวยทําใหคนเรามี สุขภาพท่ีดี ดังนั้นการดูแลสุขภาพที่ถูกตองและไดรับการแนะนําท่ีเหมาะสม ปลูกฝงพฤติกรรมที่ ถูกตอ งต้ังแตว ัยเดก็ ตอเน่อื งมาจนเติบโตเปนผูใหญจึงมีความจําเปนในการที่จะชวยทําใหสมาชิกใน ครอบครวั ไดชว ยเหลอื ดูแลกนั และกนั อนั จะนาํ ไปสูการมสี ัมพันธภาพอันดแี ละสุขภาพที่ดีของบุคคล ในครอบครัว
35 การปฏบิ ัติในการหลกี เลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงตอสขุ ภาพ ในสภาวะปจจุบันความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยี และพัฒนาการทางสังคมเขามา เกยี่ วขอ งในชีวติ ประจําวนั และเปน ตนเหตุทท่ี ําใหเกิดพฤตกิ รรมในทางที่ไมถูกตอง พฤตกิ รรมท่ีไมถกู ตอง ไดแ ก - การมีเพศสัมพนั ธท ไ่ี มปลอดภัย - การดมื่ เคร่ืองดืม่ ทม่ี แี อลกอฮอล - การรับประทานอาหารไมต รงเวลา - การกลน้ั ปส สาวะ - การเกยี่ วขอ งกบั สารเสพติด และบุหรี่ - การด่มื เครอื่ งดื่มชกู าํ ลังเปนประจํา - การน่งั ในอริ ยิ าบถเดมิ นานๆ - การใชสายตาเพงมองนานๆ เชน เลนเกม,ทาํ คอมพวิ เตอร เร่อื งท่ี 2 การออกกาํ ลงั กาย การออกกาํ ลงั กายเปน ปจ จัยหนงึ่ ของสิ่งแวดลอ มท่มี ผี ลตอการเจริญเติบโต และพัฒนาการของ มนุษย การออกกาํ ลงั กายเปนการกระตนุ การสราง และเติบโตของกระดูก รวมถึงกลามเน้ือใหมีความ แขง็ แกรง มีโครงสรา งรางกายท่สี มบูรณ กระตุนการทํางานของปอด หัวใจ กระดกู กลา มเน้อื และเปน การเพิ่มภูมิตานทานโรคไดเปนอยางดี นอกจากน้ีการออกกําลังกายยังเปนการใชเวลาวางใหเปน ประโยชน ลดความเครยี ดทางอารมณ เปน การเปดโอกาสใหไดพบเพื่อนใหม ๆ เรียนรูการอยูกันเปน หมูค ณะ และสามารถปรบั ตวั ใหเขากับสังคม และสภาพแวดลอ มไดเ ปน อยา งดี ท้ังน้ี แตล ะบุคคลอาจมคี วามถนัดในกฬี าที่แตกตา งกัน การเลนกีฬาเปนการพัฒนาตนเอง จึง ไมจาํ เปนตองหาซื้ออุปกรณท่มี รี าคาแพง กิจกรรม หรอื งานบา นหลายอยางก็เปนการออกกําลังกายท่ีดี อาทิ การกวาดบาน ถบู าน ซักผา ตดั หญา รดน้ําตน ไม ฯลฯ ซง่ึ นอกจากจะเปน การออกกาํ ลังกายแลว ยงั ทาํ ใหคนในครอบครวั เห็นถงึ ความรบั ผิดชอบ ซง่ึ เปน การพัฒนาตนเองใหผูอื่นยอมรับ และไววางใจ มากขึ้น 2.1 ความสําคัญของการออกกาํ ลงั กาย มีดังน้ี 1. การออกกาํ ลังกายชวยใหอวยั วะตา ง ๆ อาทิ หัวใจ ปอด ไต กระดูก และกลามเนื้อแข็งแรง ขนึ้ และยงั ชว ยลดการเปนโรคความดนั โลหิตสูง โรคไขมนั ในเลือดสูง และโรคบาดแผลในกระเพาะ อาหาร 2. ผูทีท่ าํ งานเบา ๆ แตไมคอยไดอ อกกําลังกาย อาจเปนโรคเหนื่อยงาย และทําใหเวียนศีรษะ การออกกําลงั กายบอ ย ๆ จะชว ยปอ งกนั อาการเหลาน้ไี ด
36 3. พระภิกษุ นักเรียน แมบาน ชางเย็บเส้ือผา นักธุรกิจ หรือผูที่มีอาชีพทํางานเบา ๆ ควรหา เวลาออกกําลงั กายทุกวนั อาการเหนอ่ื ยงาย เบ่ืออาหาร เวียนศีรษะ และอาการนอนไมหลบั อาจหายได 4. บรุ ษุ ไปรษณยี เปนโรคหัวใจนอยกวาพนักงานรับโทรศัพท กระเปารถเมลเปนโรคหัวใจ นอยกวา พนักงานขับรถเมล เพราะผลจากการเดินท่ีมากกวานน่ั เอง 5. การออกกาํ ลงั กายเปนประจําทกุ วนั ทาํ ใหก ารเปนโรคตดิ เชอื้ อาทิ หวัด และอาการเจ็บคอ นอ ยลง 6. ผทู ท่ี ํางานเบา ๆ อาจเจ็บปวยไดบอ ย ๆ 7. การเดนิ การว่งิ การทาํ กายบรหิ าร การทาํ โยคะ การรํามวยจีน ลว นเปน การบริหารกายท่ีทํา ใหสขุ ภาพดีข้ึน 8. การออกกําลงั กายทกุ วนั ทาํ ใหชะลอความชรา และอายุยนื 9. การออกกําลังกายวันละนดิ จิตแจม ใส ถา ไมอ ยากหวั ใจวายใหอ อกกําลงั กาย ประโยชนข องการออกกําลังกายทีม่ ตี อสุขภาพ 1.ระบบการทํางานของหวั ใจ ระบบการเตน หวั ใจของนกั กีฬา และผอู อกกาํ ลังกายเปน ประจาํ จะชากวาคนปกติ ท้ังน้ีเพราะกลา มเนือ้ หัวใจแข็งแรงกวาจึงทาํ งานนอยกวา กลาวคือ หัวใจของ คนปกติเตน 70-80 คร้ังตอนาที ขณะท่ีผูออกกําลังกายเปนประจํา จะเตนเพียง 50-60 ครั้งตอนาที เทานัน้ เมอ่ื หวั ใจทาํ งานนอ ยกวาจึงมอี ายกุ ารใชงานที่ยาวนานกวา คนปกติ อยางไรกต็ าม ขณะออกกําลังกายหัวใจอาจเตนเรว็ ถึง 140-150 ครง้ั ตอนาที จึงทําใหมี โลหิตไปหลอเล้ียงรางกายมากถึง 5-6 เทาของชวงปกติ ผลของการสูบฉีดโลหิตท่ีเร็ว ทําใหการ หมนุ เวียนโลหติ ในรางกายดีขนึ้ จึงสามารถปอ งกนั โรคหลอดเลอื ดหัวใจตีบได ตอระบบหายใจ ตามปกติคนเราหายใจเขาออกประมาณ 16-18 คร้ังตอนาที ขณะท่ี ออกกําลังกาย รางกายตองการออกซิเจนเพิ่มขึ้นจากเดิม 5-15 เทา เมื่อเปนเชนน้ีจะทําใหปอดรับ ออกซิเจน และคายคารบ อนไดออกไซด ปอดจึงฟอกโลหิตไดด ขี ึน้ การที่ปอดพอง และแฟบมากขน้ึ ทาํ ใหห ลอดลมขยายตัวมกี ารไหลเวียนของโลหติ ใน ถุงลมมากข้นึ ปอดจึงแข็งแรงขนึ้ ตามไปดว ย อนึง่ จากการสํารวจการหายใจเขา ออกของนกั กฬี าเหรยี ญทองโอลมิ ปกพบวา หายใจ ชาและลึกกวาคนปกติ ดวยเหตุนี้จึงไมคอยเหนื่อยงาย หัวใจทํางานไมหนักและปอดไดออกซิเจน มากกวา คนธรรมดา ระบบกลามเน้ือ การออกกําลังกายทําใหเกิดการเผาผลาญไขมันใหหมดไป กอเกิด กลามเน้ือ รางกายสมสวน ขอตอตาง ๆ มีการเคลื่อนไหว เอ็นยึดขอตอมีการเคลื่อนไหว จึงมีการ ยดื หยนุ แขง็ แรง ผูที่ออกกาํ ลงั กายจงึ ไมป วดเมอื่ ย ไมปวดหลัง ไมข ัดยอก
37 2. ผลที่เก่ยี วของกับการเจริญเติบโต จากการศึกษาเปรยี บเทยี บในเรื่องความแตกตางใน ลักษณะตา ง ๆ ของการเจรญิ เตบิ โต ระหวา งเด็กที่ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ และถูกตองกับเด็กท่ีขาด การออกกําลังกาย หรือมีการออกกําลังกายที่ไมถูกตองพบวา เด็กที่มีการออกกําลังกายอยูถูกวิธี และ สม่าํ เสมอจะมีการเจริญเตบิ โตของรา งกายทีด่ ีกวาเดก็ ทีข่ าดการออกกําลงั กาย 3. ผลท่เี กย่ี วของกบั รูปรางทรวดทรง ความผดิ ปกตขิ องรูปรางทรวดทรง นอกจากจะ เปนผลสืบเน่ืองมาจากปจจัยท่ีเก่ียวของกับการเจริญเติบโต ความผิดปกติของรูปรางทรวดทรง เชน รูปรางอวน หรือผอมเกินไป ลักษณะลําตัวเอียง กระดูกสันหลังคดงอ เปนตน ซ่ึงความผิดปกติของ รูปรา งทรวดทรงดงั กลาวจะมีมากย่งิ ขนึ้ หากขาดการออกกําลังกายท่ีถกู ตอง ในทางตรงขามการนําเอา รปู แบบและวิธกี ารออกกาํ ลังกายท่ีถกู ตองมาปฏิบัติเปนประจําสมํ่าเสมอ จะสามารถแกไขทรวดทรง ใหก ลับคนื ดีข้ึน ดังจะเห็นไดจากในทางการแพทย ไดมีการนําเอาวิธีการออกกําลังกายมาใชในการ ฟนฟูสภาพ และสมรรถภาพของผูปวยในระหวางการบําบัดควบคูกับวิธีการบําบัดอื่น ๆ โดยเฉพาะ อยางยง่ิ ผูปว ยท่มี ปี ญ หาในการเคล่อื นไหว หรือความออ นแอของระบบกลา มเน้ือ 4. ผลท่ีเก่ียวของกับสุขภาพทั่วไป เชื่อวาเม่ือการทํางานของอวัยวะตาง ๆ มี ประสิทธภิ าพทดี่ จี ะสงผลใหสุขภาพโดยทวั่ ไปดขี น้ึ โดยเฉพาะความตานทานโรค หรือภูมติ า นทานตอ โรคของบุคคลท่ีมากข้ึน ดังจะเห็นไดจากการศึกษาเปรียบเทียบชวงเวลาของการเกิดการเจ็บปวย ระหวางนักกีฬากับบคุ คลทว่ั ไปจะพบวา นกั กฬี าท่เี กดิ จากการเจบ็ ปวยจาการติดเช้อื จะมีระยะเวลาใน การฟน ตัวและเกิดโรคแทรกซอนนอ ยกวาบคุ คลโดยทวั่ ไป สรุป การออกกําลงั กายเพอื่ สขุ ภาพ เปนการเคลื่อนไหวของรางกายท่ีใชกลามเน้ือมัดใหญ เชน กลามเนือ้ ขา ลาํ ตวั แขน ใหมกี ารเคล่ือนไหวที่เร็วข้ึน ทําใหอัตราการเตนของหัวใจเพ่ิมข้ึน หรือ เหนื่อยข้นึ อยา งตอ เนอ่ื ง อยา งนอยสัปดาหละ 3 วนั ๆ ละ 20-60 นาที แลวแตความเหนื่อยนั้นมากหรือ นอย ถาเหน่ือยมากก็ใชเวลานอย แตถาเหน่ือยนอยก็ใชเวลามากขึ้น ซ่ึงจะทําใหเกิดประโยชนตอ รา งกาย คอื มีการเปลี่ยนแปลงท่ีทําใหเกิดความแข็งแรงอดทนของการทํางานของปอด หัวใจ ระบบ ไหลเวียนโลหติ กลามเน้ือ กระดกู เอ็น ขอตอ และสงผลใหร า งกายมคี วามแขง็ แรง เพิ่มความตานทาน ของการเกิดโรค ชวยลดโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอวน ไขมนั ในเสนเลือด ฯลฯ
38 การออกกาํ ลงั กายอยางสมํ่าเสมอ จะใหป ระโยชนตอรางกายดงั นี้ 1. ระบบไหลเวยี นโลหิต หัวใจ ปอด ทํางานดีขนึ้ จะชวยปองกันโรคหัวใจโรคความ ดันโลหติ 2. รา งกายมีการอดทน แขง็ แรง กระฉบั กระเฉง ทํางานไดนานโดยไมเหนอื่ ย 3. ชวยปอ งกนั โรคกระดกู ขอ เสอ่ื ม และยังทําใหกระดกู ขอ เอน็ แข็งแรง 4. ชว ยผอ นคลายความเครยี ด และชวยใหน อนหลบั ดีขึ้น 2.3 ผลกระทบจาการขาดการออกกาํ ลังกาย จากการศึกษาในเร่ืองผลกระทบของการขาดการออกกาํ ลงั กายในวัยเด็ก วัยหนุมสาว และวยั กลางคนข้ึนไป สรุปลักษณะเดน ๆ ที่เกิดขน้ึ ไดด งั นี้ 1. ผลกระทบในวยั เด็ก ผลกระทบจากการขาดการออกกําลงั กายของเดก็ ในวัยน้ี มลี กั ษณะดังนี้ 1.ดานการเจริญเตบิ โต และทรวดทรง พบวา นอกจากการบรโิ ภคอาหารทีถ่ ูกตองตาม หลกั โภชนาการแลว การออกกําลังกายยังมีสวนชวยกระตุนใหกระดูกมีการเจริญที่เหมาะสมตามวัย ทั้งในดา นความยาว และความหนา เนอื่ งจากรา งกายสามารถดงึ ธาตุแคลเซยี มทม่ี ใี นอาหารมาชวยสรา ง เสรมิ โครงกระดูกไดมากขน้ึ น่นั เอง แตใ นบางกรณีอาจพบวา มเี ดก็ บางกลุมที่ไมคอยไดออกกําลังกาย แตมอี าหารการกินอุดมสมบรู ณ อาจมสี วนสูง และน้าํ หนักตวั มากกวา เดก็ ในวัยเดยี วกันโดยเฉล่ีย แตก็ พบวา สวนใหญแ ลวรา งกายมกั จะมกี ารสะสมไขมนั มากเกนิ (อวน) มีกระดกู เล็ก หัวใจมีขนาดเล็กเมื่อ เทยี บกบั นํ้าหนักตัว และทาํ ใหท รวดทรงรูปรางท่ีเห็นมีความผิดปกติเกิดขึ้น เชน อวนลงพุง มีเขาชิด หรอื ขาโกง เปนตน 2.ดานสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย พบวาเด็กที่ขาดการออกกําลังกายจะมีความ ตานโรคตาํ่ เจ็บปวยไดงา ย และระยะการฟนตัวในการเจ็บปวยก็มักจะมีระยะเวลานานกวาเด็กท่ีออก กาํ ลังกายเปนประจาํ ซึ่งจะมีความสมั พันธกบั ระดับสมรรถภาพทางกาย เพราะสมรรถภาพทางกายเปน ผลมาจากการออกกําลังกาย ดังนั้นหากขาดการออกกําลังกายยอมสงผลใหสมรรถภาพทางกายตํ่าลง เมอื่ สมรรถภาพทางกายตา่ํ จะสง ผลใหองคประกอบในดา นสุขภาพต่าํ ดวยเชนกัน 3.ดา นสังคมและสภาพของจิตใจ พบวา เดก็ ท่ขี าดการออกกาํ ลังกายมักเปนเด็กท่ีชอบ เก็บตัว และขาดความเชื่อมัน่ ในตนเอง ตรงกันขามกับกลุมที่ชอบออกกาํ ลังกาย และเลน กีฬา จะมีความ เช่ือมั่นในตนเอง และไดเรียนรูพฤติกรรมทางสังคมกับกลุม ทําใหรูแนวทางในการปรับตัวเขากับ สงั คมท่ีเปน หมูค ณะไดด ขี ึ้น นอกจากนเ้ี ด็กท่ีขาดการออกกําลังมักจะมีนิสัยไมชอบออกกําลังกายเมื่อ เขา สูวยั รนุ และวยั ผูใหญ
39 4.ดานการเรียน พบวา เดก็ ที่มีสมรรถภาพทางกายที่ดจี ะมผี ลการเรยี นรูท่ีดีกวาเด็กที่มี สมรรถภาพทางกายต่ํา ซ่งึ สนบั สนุนใหเ หน็ วาการขาดการออกกาํ ลังกายจะสง ผลเสียตอ การเรียนรูของ เด็กดวย 2.ผลกระทบในวัยหนมุ สาว ชวงวยั นเี้ ปนชวงทีต่ อเน่ืองจากวัยเด็ก และเช่ือมตอกับวัยกลางคน ถือวาเปนวัยแหง การเจริญพันธุหากขาดการออกกําลังกาย ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นก็จะคลายกับผลกระทบในวัยเด็ก คือ สมรรถภาพทางกายตํ่า สขุ ภาพท่ัวไปไมดี การทาํ งานของระบบตา งๆ โดยเฉพาะระบบไหลเวียนเลือด จะผิดปกติ รวมไปถงึ บคุ ลิกภาพท่ีอาจมีความไมเหมาะสม และสงผลเสียตอการแสดงออกทางสังคม ดวย 3.ผลกระทบในวัยกลางคนขน้ึ ไป ชวงวัยน้ีเปนบุคคลที่มีอายุต้ังแต 35 ปข้ึนไป และถือวาเปนชวงของวัยเสื่อม โดยเฉพาะอยางย่ิงหากขาดการออกกําลังกายดวยวิธีที่ถูกตองเหมาะสม ความผิดปกติท่ีเกิดขึ้นมัก แสดงออกในลกั ษณะอาการความผดิ ปกตขิ องรางกาย ซงึ่ เปน อาการของการเกิดโรคตางๆ ไดแก โรค ประสาทเสยี ดลุ ยภาพ โรคความดันเลือดสงู โรคหลอดเลือดหัวใจเส่ือมสภาพ โรคอวน โรคเบาหวาน และโรคทีเ่ ก่ยี วของกบั ขอ ตอ กระดกู เปน ตน สรุป การเลน กีฬาตามหลักวิทยาศาสตร เปนการกระทําท่ีกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงของ ระบบตางๆ ภายในรางกายใหมีสุขภาพท่ีดีขึ้น การออกกําลังกายมีผลตอการเจริญเติบโต และ พัฒนาการของมนุษย ชว ยใหกระดกู มีความแข็งแกรง อวัยวะตาง ๆ อาทิ ปอด ไต หัวใจ แข็งแรง ชวยลดการเปนโรค ความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเสนเลือดสูง ๆ การออกกําลังกายประจํา สมํ่าเสมอ จึงมีความสําคัญ และเพ่ิมภูมิตานทานโรคไดอยางดียิ่ง นักวิทยาศาสตรการกีฬาไดแบง ประเภทของการออกกําลังกายได 5 ชนิด คอื 1.การออกกาํ ลงั กายแบบเกร็งกลา มเน้ืออยูกับท่ีไมม กี ารเคลอ่ื นไหว 2.การออกกําลงั กายแบบมีการยืด – หดตวั ของกลามเนอ้ื 3.การออกกาํ ลงั กายแบบใหกลา มเนอ้ื ทํางานเปน ไปอยา งสมํ่าเสมอ 4.การออกกาํ ลงั กายแบบไมต องใชออกซิเจนในระหวา งมกี ารเคลอื่ นไหว 5.การออกกาํ ลงั กายแบบใชอ อกซเิ จน
40 ประโยชนและคุณคาของการออกกาํ ลงั กายและการเลน กฬี า จําแนกไดด ังน้ี 1.ทางดา นรางกาย 1.1 ชวยเสริมสรางสมรรถภาพทางดานรางกายใหเปนผูท่ีแข็งแรง มี ประสิทธิภาพในการทาํ งาน สรา งความแข็งแกรงของกลา มเนื้อ 1.2 ชวยทําใหระบบตางๆ ภายในรางกายเจริญเติบโตแข็งแรง มี ประสทิ ธภิ าพในการทาํ งาน อาทิ ระบบการไหลเวยี นของเลือด ระบบหายใจ และระบบการยอ ยอาหาร เปนตน 2.ทางดา นอารมณ 2.1 ชว ยสามารถควบคมุ อารมณไ ดเปนอยา งดไี มวา จะอยใู นสภาพเชนไร 2.2 ชวยใหค นทีม่ ีอารมณเ บกิ บาน ย้ิมแยมแจมใส 2.3 ชว ยผอ นคลายความตงึ เครยี ดทางสมอง และอารมณไดเปน อยางดี 3.ทางดา นจติ ใจ 3.1 ชว ยใหเปนคนทม่ี จี ิตใจบริสทุ ธิ์มองโลกในแงด ี 3.2 ชวยใหเปน คนทมี่ ีจติ ใจเขมแข็ง กลาเผชิญตอ ปญหาอปุ สรรคตางๆ 3.3 ชวยใหเ กดิ ความเชื่อมั่น ตัดสินใจไดดี 4.ทางดา นสังคม 4.1 เปนผทู ม่ี รี ะเบียบวนิ ัย สามารถอยูใ นสภาพแวดลอมตางๆ ได 4.2 เปนผูท ี่เขากับสงั คม เพ่ือนฝงู และบุคคลทัว่ ไปไดเปนอยางดี ไมป ระหมา หรอื เคอะเขิน 4.3 เปนผทู ี่ชว ยสรางความสมั พนั ธอันดรี ะหวา งสังคมตอ สังคม และประเทศ ตอประเทศ เรอ่ื งท่ี 3 รปู แบบ และวธิ ีการออกกําลงั กายเพอื่ สขุ ภาพ การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย และการเลนกีฬาตามหลักวิทยาศาสตร เปนการกระทําท่ี กอใหเ กดิ การเปลี่ยนแปลงของระบบตา ง ๆ ภายในรางกายท่ีตองทํางานหนักเพ่ิมมากข้ึน แตเปนผลดี ตอสุขภาพรางกาย ซึ่งนักวิทยาศาสตรการกีฬา ไดแบงประเภทของการออกกําลังกายออกเปน 5 ประเภท คือ 1. การออกกําลงั กายแบบเกรง็ กลามเน้ืออยูกับท่ี ไมมีการเคล่ือนไหว (Isometric Exercise) ซง่ึ จะ ไมมกี ารเคลอื่ นที่ หรอื มีการเคลื่อนไหวของรา งกาย อาทิ การบีบกําวตั ถุ การยนื ตนเสา หรอื กําแพง เหมาะกบั ผทู ่ีทํางานน่งั โตะ เปนเวลานานจนไมมีเวลาออกกาํ ลงั กาย แตไมเ หมาะสมกับรายท่เี ปน
41 โรคหัวใจ หรือโรคความดันโลหติ สูง เปน การออกกาํ ลงั กายที่ไมไดชว ยสงเสริมสมรรถภาพทางกายได อยางครบถวน 2. การออกกาํ ลังกายแบบมกี าร ยดื – หดตวั ของกลามเนอ้ื (Isotonic Exercise) จะมกี าร เคลอ่ื นไหวสวนตา ง ๆ ของรา งกาย ขณะทอ่ี อกกาํ ลังกาย อาทิ การวดิ พืน้ การยกนาํ้ หนกั การดึงขอ เหมาะกับผทู ีม่ ีความตองการสรางความแข็งแรงกลามเนอ้ื เฉพาะสว นของรา งกาย อาทิ นกั เพาะกาย หรือนกั ยกนํ้าหนกั 3. การออกกาํ ลงั กายแบบใหก ลา มเนื้อทาํ งานเปน ไปอยางสม่าํ เสมอ ตลอดการเคลอ่ื นไหว (Isokinetic Exercise) อาทิ การถบี จกั รยานอยกู บั ที่ การกาวข้นึ ลงแบบขนั้ บันได หรอื การใชเครอื่ งมือ ทาง ชีวกลศาสตร เหมาะกบั การใชทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักกีฬา หรือผทู ่มี ีความสมบรู ณทาง รา งกายเปน สว นใหญ 4. การออกกาํ ลงั กายแบบไมตอ งใชออกซเิ จนในระหวา งทมี่ กี ารเคลือ่ นไหว (Anaerobic Exercise) อาทิ วง่ิ 100 เมตร กระโดดสงู ปฏิบัตกิ นั ในหมนู กั กฬี าที่ทาํ การฝก ซอ ม หรอื แขงขัน จึงไมเหมาะกบั บคุ คลทวั่ ไป 5. การออกกาํ ลงั กายแบบใชออกซเิ จน (Aerobic Exercise) คอื จะเปนลกั ษณะท่ีมกี าร หายใจเขา – ออก ในระหวางท่ีมกี ารเคล่อื นไหว อาทิ การวงิ่ จ็อกกงิ้ การเดนิ เร็ว หรือการวา ยนา้ํ นยิ ม กนั มากในหมขู องนกั ออกกําลงั กาย นกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี า ตลอดจนวงการแพทย สามารถบงบอกถงึ สมรรถภาพรางกายของบคุ คลนน้ั ๆ ไดเ ปนอยา งดี 3.1 ขั้นตอนในการออกกําลงั กาย การออกกาํ ลงั กายแตล ะรปู แบบขน้ึ อยูกบั ความตอ งการ และความพอใจของผทู ่ีตอ งการกระทํา ซึง่ จะสง ผลใหร างกายแขง็ แรง มสี ขุ ภาพดี และเปน การสรางภมู คิ มุ กันโรคไดอ ยา งวิเศษ โดยไมตอ งพึง่ วิตามนิ หรอื อาหารเสรมิ ทมี่ รี าคาแพงในยคุ เศรษฐกจิ แบบพอเพยี ง ตราบใดกต็ าม ถา มนษุ ยยังมกี ารเคลอื่ นไหว การกีฬา หรือการออกกาํ ลงั กายยอมเขา มามี บทบาทที่จะสง เสริมการเคลือ่ นไหวใหมปี ระสทิ ธิภาพย่ิงขนึ้ ฉะนน้ั การกีฬาจงึ มคี วามสัมพันธอยาง ใกลชดิ กบั การดาํ รงชวี ติ ในยุคปจ จุบัน ขนั้ ตอนในการจัดแนะนาํ ใหค นออกกาํ ลงั กาย และเลน กีฬา 1. ตองใหความรกู ับผูเลน เพื่อใหเขาใจหลักการ เหตุผล ขอจาํ กัด ขอควรระวังของการ ออกกาํ ลงั กาย / กีฬา 2. ตองปลกู ฝงใหเกิดเจตคตทิ ี่ดีตอการออกกาํ ลงั กาย 3. ตอ งฝก ใหเกดิ ทกั ษะ เมอ่ื เลนเปนจนชํานาญทาํ ไดค ลอ งแคลว จงึ จะอยากเลน ตอไป 4. ตอ งรว มกจิ กรรมสมํ่าเสมอ
42 5. กิจกรรมนนั้ ตองสรางใหเ กดิ สมรรถภาพทางกายท่เี ปลยี่ นไปในทางดขี ้นึ เชน แขง็ แรง อดทน คลอ งตวั รวดเรว็ และมกี ารตดั สินใจดีขน้ึ การออกกาํ ลงั กายเพื่อสุขภาพทด่ี ี และกิจกรรมหนกั เพยี งพอ ตองฝก ใหห วั ใจเตนประมาณ 120 – 130 คร้งั ตอ นาที สําหับผูใ หญท วั่ ไปท่ีมสี ขุ ภาพดี หรือทาํ ใหตองใชพ ลงั งานจากการออกกําลังกายวนั ละ 285 แคลอรี่ หรอื 2000 กิโลแคลอรี่ / สัปดาห การจดั โครงการ หรอื รูปแบบการออกกาํ ลงั กายทีด่ ี ควรมีลกั ษณะดังนี้ 1. ตองทาํ ใหผ เู ลนไดใ ชค วามคดิ สตปิ ญ ญา 2. ชวยใหผเู ลน ไดร จู กั สมาชกิ มากขนึ้ ชวยกระชับสัมพันธไมตรี 3. ใหผลดีตออารมณ สนกุ สนาน เพลิดเพลนิ 4. ใหผ ลดีตอ รา งกาย ทาํ ใหแขง็ แรง มีพละกาํ ลงั 5. ชวยใหส มาธิ และจติ ใจปลอดโปรง คลายเครยี ด ถา ผอู านสนใจจะออกกาํ ลังกาย หรือเลนกีฬา แตยังไมร ูว า จะใชว ิธีใด ลองตรวจสอบจาก คณุ สมบตั ิตามหลักการดงั ตอไปน้ี 1. การออกกาํ ลงั กาย / กฬี าทีด่ ี ตองมจี งั หวะการหายใจสมา่ํ เสมอ 2. ไมมีการกระแทก หรือแบง แรง หรอื อดกล้นั การหายใจ 3. ผูเลนตอ งรคู ณุ คา ผลประโยชนข องการออกกําลังกาย 4. ผเู ลน ตอ งสนุกที่จะทํา ทาํ ดว ยความเต็มใจ พึงพอใจ 5. ผเู ลน ตอ งเกดิ การเรยี นรู และทาํ ดว ยตนเอง 6. เม่ือเลน แลว ตองเหนื่อยอยางสบายใจ 3.2 หลักการและรูปแบบการออกกาํ ลังกายเพอื่ สขุ ภาพ หลักการออกกําลงั กายเพอ่ื สุขภาพเปนการเสรมิ การทํางานของปอด หัวใจ ระบบการ ไหลเวยี นของเลือด ความแข็งแรงของกลามเนือ้ และขอ ตอ ซง่ึ จะชว ยใหร า งกายแขง็ แรงสมบรู ณ รวมทั้งสุขภาพจิตดี รปู แบบของการออกกําลังกาย แบงออกไดดังน้ี 1. การออกกาํ ลังกายโดยการเลน 2. การออกกาํ ลงั กายโดยการทํางาน 3. การออกกาํ ลังกายโดยการบรหิ ารรางกาย มรี ายละเอยี ดตามรปู แบบ 3 ขอ ดงั นี้ 1. การออกกําลังกายโดยการเลน คือ การเลน เกมกีฬาตาง ๆ ทีช่ ่ืนชอบ เชน เดิน วง่ิ วายนาํ้ 2. การออกกาํ ลังกายโดยการทํางาน นอกจากจะไดงานแลว ยงั ทาํ ใหก ลามเนอ้ื ไดม กี าร เคลอื่ นไหวจากการทํางาน เพ่มิ ความแข็งแรงใหก บั สุขภาพ อาทิ การทํางานบา น ทําสวน ดอกไม หรือผลไม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208