คำนำ รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการศึกษา 2562 ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนา คุณภาพการศึกษานากลาง 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลำภู เขต 2 จัดทำขึ้นโดยมี วัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอข้อมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ระหว่างปีการศึกษา 2561 – 2562 เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาและบริหารจัดการ ต่อไป ขอขอบพระคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมทำให้รายงานฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี หวังว่ารายงานนี้จะเป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาใหม้ ีประสิทธิภาพยง่ิ ๆ ข้ึนไป ปาริชาติ ปิตพิ ัฒน์ ศกึ ษานเิ ทศก์ ศูนยเ์ ครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 ก
สารบัญ หนา้ คำนำ....................................................................................................................................................... ก สารบัญ..................................................................................................................................................... ข สารบัญตาราง............................................................................................................................. ............. ง บทที่ 1 บทนำ 1 ความเปน็ มาและความสำคญั .................................................................................................... 1 วัตถุประสงค์ ............................................................................................................................. 3 ขอบเขตของการรายงาน .......................................................................................................... 4 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ ...................................................................................................................... 6 ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ ....................................................................................................... 7 บทที่ 2 เอกสารท่เี กย่ี วข้องในการประเมินคุณภาพผเู้ รียน 8 นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาช้ันพ้ืนฐานในการประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น (NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ในปีการศึกษา2562.............................................................................. 8 แนวคิดเกี่ยวกบั ความสามารถพนื้ ฐานของผูเ้ รยี น (Primary Capability) ............................... 8 กรอบโครงสร้างในการประเมินคณุ ภาพผเู้ รียน (NT) ปีการศึกษา 2562 และตัวอย่างข้อสอบ.. 11 แนวปฏิบตั ิการประเมินคุณภาพการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานเพ่ือการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2562...................................................................................................................... 18 บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินการ 27 กลมุ่ เปา้ หมาย ........................................................................................................................... 27 เครื่องมือที่ใชใ้ นการประเมิน .................................................................................................... 27 การเก็บรวบรวมข้อมูล .............................................................................................................. 29 การวิเคราะห์ข้อมลู ................................................................................................................... 36 สถิตทิ ี่ใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล ................................................................................................. 38 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 39 ตอนที่ 1 ผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น (NT) ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 ในปกี ารศกึ ษา 2562 ของโรงเรยี นในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 จำแนกตามความสามารถ รายดา้ น............................................................................................................................. ....... 39 ตอนท่ี 2 ผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น (NT) ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ในปกี ารศกึ ษา 2562 ของโรงเรยี นในศูนย์เครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 จำแนกตามความสามารถ รายมาตรฐานและรายตัวชวี้ ัด.................................................................................................... 45 ข
สารบญั (ตอ่ ) หน้า ตอนท่ี 3 เปรยี บเทยี บผลประเมนิ คุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ในปีการศึกษา 2562 ของโรงเรยี น ในศนู ยเ์ ครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกตามกลุ่ม คณุ ภาพ...................................................................................................................................... 55 บทที่ 5 สรุป และข้อเสนอแนะการนำผลการวเิ คราะห์ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาคุณภาพ 58 การศึกษา สรุปผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2562 ............ 58 ข้อเสนอแนะการนำผลการวิเคราะห์ไปใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา........... 66 ภาคผนวก 68 ภาคผนวก ก ขอ้ สอบคณิตศาสตร์ ป.3 ประจำปีการศึกษา 2562 ............................................ ภาคผนวก ข เฉลยขอ้ สอบคณิตศาสตร์ ป.3 ประจำปีการศึกษา 2562 .................................... ภาคผนวก ค ขอ้ สอบภาษาไทย ป.3 ประจำปีการศึกษา 2562 ................................................ ภาคผนวก ง เฉลยข้อสอบภาษาไทย ป.3 ประจำปกี ารศึกษา 2562 ........................................ ภาคผนวก จ รายงานผลการประเมนิ คุณภาพผูเ้ รยี น (NT) รายโรงเรียน................................... คณะผจู้ ดั ทำ ค
สารบญั ตาราง หน้า ตารางท่ี 1 วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ คุณภาพผ้เู รยี น (NT) ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2562 คา่ ร้อยละ และระดบั คุณภาพของโรงเรยี น ในศูนย์เครอื ขา่ ยพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา นากลาง 4 จำแนกตามความสามารถรายด้าน………………………………………………………………… 39 ตารางท่ี 2 จำนวนและร้อยละผลการประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ในปกี ารศึกษา 2562 ของโรงเรียนในศูนย์เครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกตามระดบั คุณภาพ (รวมความสามารถ 2 ดา้ น)…………………………………………………… 41 ตารางท่ี 3 จำนวนและร้อยละผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น (NT) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 ในปกี ารศึกษา 2562 ของโรงเรยี นในศนู ย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกตามระดบั คุณภาพ (ความสามารถด้านคณติ ศาสตร)์ ……………………………………………… 42 ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ในปกี ารศึกษา 2562 ของโรงเรยี นในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกตามระดับคุณภาพ (ความสามารถดา้ นภาษาไทย)………………..……………………………… 43 ตารางที่ 5 เปรียบเทยี บผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ในปีการศึกษา 2562 ของโรงเรียน ในศนู ยเ์ ครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 คะแนนร้อยละ และระดับคณุ ภาพ จำแนกตามความสามารถรายมาตรฐาน (ด้านคณิตศาสตร์)…………………… 45 ตารางที่ 6 วเิ คราะหผ์ ลการประเมินคุณภาพผเู้ รียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 ในปีการศึกษา 2562 ค่ารอ้ ยละของโรงเรยี น ในศูนย์เครอื ข่ายพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกตาม ความสามารถรายมาตรฐาน (ดา้ นภาษาไทย)………………………………………………………………… 50 ตารางท่ี 7 เปรยี บเทียบผลประเมินคุณภาพผ้เู รียน (NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2562 ของโรงเรียนในศูนย์เครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษานากลาง 4 จำแนกตามกลมุ่ คุณภาพ (ความสามารถ รวม 2 ดา้ น)………………………………………………………………………………..………… 55 ตารางที่ 8 เปรียบเทียบผลประเมินคุณภาพผเู้ รียน (NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ในปีการศึกษา 2562 ของโรงเรียนในศูนยเ์ ครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกตามกลุ่มคุณภาพ (ความสามารถดา้ นคณติ ศาสตร์)………………………………….………………………………………………… 56 ตารางท่ี 9 เปรยี บเทียบผลประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ในปีการศึกษา 2562 ของโรงเรียนในศนู ยเ์ ครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 จำแนกตามกลมุ่ คุณภาพ (ความสามารถดา้ นภาษาไทย)……………………………………………………………..………………………… 57 ง
1 บทท่ี 1 บทนำ ความเปน็ มาและความสำคัญ สถานการณ์โลกปจั จุบันมีการเปล่ยี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา เชน่ เดยี วกับระบบการศึกษา ต้องมีการพฒั นา เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะความเป็นจริง แนวคิดเร่อื ง \"ทักษะแหง่ อนาคตใหม:่ การเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21\" ทม่ี งุ่ เน้นทักษะการเรยี นรู้และนวัตกรรม หรอื 3Rs 4Cs ซงึ่ มอี งคป์ ระกอบ ดังนี้ 3Rs ได้แก่ การอำน (Reading) การเซียน (Writing) และคณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4Cs ไดแ้ ก่ การคดิ วิเคราะห์ (Critical Thinking) การสอื่ สาร (Communication) ความคดิ สร้างสรรค์ (Creativity) และการร่วมมือ (Collaboration) โดยเฉพาะ ผูเ้ รียนในระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐานจะตอ้ งมที ักษะอ่ืนอกี หลายดา้ น เชน่ ทักษะการสอ่ื สาร และทักษะการคิด คำนวณ เป็นตน้ เพ่ือให้อย่ใู นโลกแห่งการแช่งขนั ได้อยา่ งปลอดภยั และมีคณุ ภาพชวี ิตที่ดี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กำหนดนโยบายและจดุ เน้น เพ่ือให้การบริหารจดั การศึกษา ในปึงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีความสอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ เป้าหมายของแผนแมบ่ ทภายใต้ ยทุ ธศาสตร์ชาติ วตั ถุประสงค์ ของแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และนโยบายของรฐั บาล เรอ่ื งการ เตรียมคนในศตวรรษที่ 21 ในระดับประถมศกึ ษา มงุ่ คำนึงถงึ พหุปัญญาของผ้เู รียนรายบุคคลทห่ี ลากหลาย ตามศักยภาพ โดยเฉพาะการเรยี น ภาษาไทย เนน้ เพอื่ ใช้เปน็ เครื่องมือในการเรียนรูว้ ชิ าอ่นื รวมถึงนโยบาย การพฒั นาและส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษาคิดเลขเปน็ พร้อมกบั สร้างเด็กใหเ้ กิดทกั ษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ รวมถงึ การคิดวเิ คราะห์ เพอ่ื ใหแ้ ก้ปัญหาได้ การประเมินคุณภาพการศึกษาขนั้ พื้นฐาน เพื่อการประกนั คุณภาพผู้เรียน ปกี ารศึกษา 2562 เปน็ การประเมนิ ภาพรวมของการจดั การศกึ ษาของประเทศไทยและเป็นภาพสะท้อนคุณภาพของเด็กไทย เพ่ือพัฒนา ปรบั ปรุงการเรียนการสอนของครู ซงึ่ ถือเป็นกระบวนการตรวจสอบการขับเคลอื่ นนโยบายการศึกษาและการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพสถานศกึ ษา สร้างความม่นั ใจวา่ สถานศกึ ษาและหน่วยงานดน้ สังกดั จดั การศึกษาอยา่ งมีคณุ ภาพ ได้มาตรฐานตามท่ีกำหนด นักเรยี นมคี วามร้คู วามสามารถ และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามทห่ี ลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 กำหนด และเป็นองค์ประกอบ ตัวชี้วัดทีส่ ำคัญตามมาตรฐานการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ซ่ึงความสำคญั ของการประกนั คณุ ภาพ จะเห็นได้จากพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พุทธคักราช 2542 มาตรา 47 กำหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐาน การศกึ ษาในทุกระดับ และมาตรา 48 ให้หนว่ ยงานดน้ สังกัด และสถานศึกษา จดั ใหม้ รี ะบบการประกนั คุณภาพ การศึกษาภายในสถานศกึ ษา และใหถ้ ือว่าการประกนั คณุ ภาพภายในเปน็ ส่วนหน่งึ ของกระบวนการบรหิ าร การศกึ ษาท่ีต้องดำเนนิ การอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปเี สนอต่อหนว่ ยงานด้นสังกัด หนว่ ยงาน ทีเ่ ก่ยี วข้อง และเปิดเผยตอ่ สาธารณชน เพอื่ นำไปสูก่ ารพฒั นา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรองรับ การประกันคณุ ภาพภายนอก
22 หลักการสำคัญประการหน่ึงของการประกนั คณุ ภาพการศึกษา คอื การแสดงถงึ ภาระรบั ผิดชอบ (Accountability) ซงึ่ ตรวจสอบได้ท่ีสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา สถานศึกษา และหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง ไดร้ ่วมกนั กำหนดคำรับรองในการปฏิบัตริ าชการของส่วนราชการประจำปงี บประมาณ โดยกำหนดเปา้ หมาย และจุดเนน้ ทตี่ ้องการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น รวมทงั้ ความสามารถในการคดิ ของ ผู้เรยี นใหส้ ูงข้นึ โดยหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธคักราช 2551 ได้กำหนดเกณฑส์ ำหรับการจบ การศึกษาวา่ นอกจากผู้เรยี นไดเ้ รียนรายวชิ าพืน้ ฐาน รายวิชากิจกรรมเพ่มิ เดิมตามโครงสร้างเวลาเรยี น และผ่าน เกณฑ์การประเมนิ ตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด ประกอบกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐานได้จัดทำ ประกาศเร่อื งแนวปฏบิ ัตใิ นการยกระดับคุณภาพนักเรยี นระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ประกาศ ณ วนั ท่ี 18 เมษายน 2561 ลงนามโดยเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (นายอภชิ าติ จีระวุฒิ) โดยเฉพาะข้อ 7 ใหเ้ พิ่ม ขอ้ สอบแบบเขยี นตอบท้งั การเขียนตอบแบบสัน้ และแบบยาว ในการวัดและประเมินผลเมื่อจบหน่วยการเรยี น ในการสอบระหวา่ งภาคเรยี นและการสอบปลายภาคเรยี น อยา่ งน้อยรอ้ ยละ 30 ของการสอบแตล่ ะครงั้ จาก นโยบาย ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ และประกาศของ สพฐ. ดังกลา่ ว สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา ได้ดำเนนิ การจดั ทำ แบบทดสอบวัด ความสามารถพนื้ ฐานสำคญั 2 ด้าน คอื ด้านความสามารถด้านภาษาไทย และความสามารถดา้ น คณิตศาสตร์ ข้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 ซ่งึ เปน็ ความสามารถท่ีตกผลึก (Crystallization) จากการเรยี นรูต้ ามหลกั สูตร แกนกลาง การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธคักราช 2551 และในปกี ารศึกษา 2562 ไดเ้ พิ่มข้อสอบแบบเขยี นตอบในการ ประเมนิ ความสามารถพ้นื ฐานท้ัง 3 ดา้ น เปน็ ความสามารถพน้ื ฐานทจี่ ำเปน็ สำหรบั ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมือในการเรียนรู้ ของ นกั เรยี นในระดับสงู ขึน้ ต่อไป การประเมนิ คุณภาพการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน เพ่ือการประกันคุณภาพผเู้ รียน ในปีการศกึ ษา 2562 นี้ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ดำเนินการประเมนิ คุณภาพการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานกบั นกั เรยี น ชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 3 ซง่ึ ถือเปน็ การประเมนิ ความสามารถพนื้ ฐานเบ้อื งดน้ สำคัญท่ใี ซ้ในการเรียนรใู้ นระดบั ทสี่ งู ข้ึน และยังสะทอ้ นไปสกู่ ารยกระดับผลการประเมนิ ระดับชาติ (O-NET) และนานาชาติ (PISA) ผลการประเมินทไ่ี ด้ จะเปน็ ข้อมลู สำคญั ทส่ี ะท้อนคุณภาพการดำเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เขตพน้ื ท่ีการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐานจำเปน็ ต้องมีขอ้ มูลผลการเรียนรู้ไปเตรียมความพร้อมของผเู้ รยี น และเป็นตวั บ่งชี้ คณุ ภาพการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานในภาพรวม เพ่อื ใช้เปน็ ข้อมูลประกอบการตดั สินใจในการกำหนด นโยบาย กำหนด ยทุ ธศาสตร์ แผนการศึกษาของชาติระดับสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ระดบั เขตพื้นทก่ี ารศึกษา ระดบั สถานศึกษา มคี ณุ ภาพมาตรฐานระดบั สากล บนพ้ืนฐานของความเป็นไทย ใหน้ กั เรียน ได้รบั การพฒั นาศักยภาพสงู สุดในตน มคี วามรแู้ ละทักษะที่แขง็ แกร่งและเหมาะสม เปน็ พืน้ ฐานสำคัญในการเรียนรู้ ระดบั สูงข้นึ ไป และการดำรงชีวติ ในอนาคต โดยเฉพาะทักษะการอ่าน เขียน และการคดิ เพอื่ ให้มีความพร้อม เขา้ สู่การศึกษาระดับสงู และ โลกของการทำงาน โดยไดก้ ำหนดเป็นยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพผู้เรยี นทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อใหน้ ักเรียนระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานทุกคนมพี ฒั นาการเหมาะสมตามชว่ งวัย มีคุณภาพและ มาตรฐานใกลเ้ คียงกนั อกี ท้ังเป็นกา ร ส่งเสรมิ การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ใหม้ ีความเข้มแข็ง
33 เพื่อรองรับการประเมนิ ภายนอก ซึ่งไดก้ ำหนด เป็นกลยทุ ธใ์ นการดำเนินงาน ท่ีมรี ปู แบบการประเมนิ ท่ีหลากหลาย มุ่งเน้นคุณภาพของนักเรียนโดยพจิ ารณาจาก ความสามารถพนื้ ฐานทสี่ ำคญั จำเปน็ ผลการประเมินนักเรยี นทุกคน จะเป็นข้อมูลสำคัญในการปรับปรุง เพ่อื การพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น คุณภาพการศึกษาต่อไป สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 เปน็ หน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบการจดั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 – ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ซง่ึ บทบาทของการประเมินคุณภาพ การศึกษาระดบั เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาดำเนนิ การเป็นการประเมนิ เพ่ือปรับปรงุ และพัฒนา (Formative Evaluation) ใหโ้ รงเรยี นพรอ้ มรบั การประเมนิ ระดับชาติ และนำผลการสอบไปใช้ในการปรบั ปรุงคุณภาพการเรียนการสอน ของโรงเรยี นและนำผลการทดสอบไปใช้ในการประเมินผลการเรยี นรูข้ องนักเรียน และนำผลการประเมินมา วิเคราะห์ สรุปและเขยี นรายงาน ในภาพรวมระดบั ของสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา เพื่อนำผลการประเมนิ ไปใช้ วางแผนในการปฏบิ ตั เิ พอื่ ยกระดบั คุณภาพผ้เู รียนได้อยา่ งเป็นรูปธรรมชดั เจน และปกี ารศึกษา 2562 สำนักงาน เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลำภู เขต 2 ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดำเนนิ การประเมนิ คุณภาพผู้เรียน (NT) ข้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ทุกคนจากโรงเรยี นในสงั กัด โดยประเมินความสามารถ พน้ื ฐานของผเู้ รียน 2 ด้าน คอื ความสามารถดา้ นภาษาไทย และความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ซ่งึ ผลการประเมนิ ท่ไี ดจ้ ะเปน็ ข้อมูลสำคญั ทสี่ ะท้อน คุณภาพผู้เรยี น คณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา และของสำนักงานเขต พ้ืนท่กี ารศกึ ษา และ นอกจากนี้โรงเรียนยงั สามารถจะใชน้ ิยามและตวั ชว้ี ัดเพื่อการสรา้ งเครอ่ื งมือประเมนิ คุณภาพ ผู้เรยี นนไ้ี ป วางแผนการจดั การเรียนร้ทู สี่ อดคล้องกับการประเมิน เพื่อรองรับการประกันคณุ ภาพการศึกษาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ผูร้ ายงานในฐานะศึกษานิเทศกท์ ี่รบั ผิดชอบศูนย์เครือข่ายพัฒนาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 4 จงึ นำ ขอ้ มูลผลการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รียน (NT) ขนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 มาวิเคราะห์ และจดั ทำรายงานผลการทดสอบ ทางการศึกษา ปกี ารศึกษา 2563 ศนู ย์เครือข่ายพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 4 เพื่อนำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ ประโยชน์ ในการพัฒนาคณุ ภาพนักเรียนและการบริหารจดั การศกึ ษาในระดับศูนย์เครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพ การศกึ ษาให้มีคุณภาพและประสทิ ธภิ าพย่งิ ขนึ้ ตอ่ ไป วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื วิเคราะหแ์ ละสรุปผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รียน (NT) ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2562 ของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 สำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาหนองบัวลำภู เขต 2 ใน 2 ด้าน คือ ความสามารถดา้ นภาษาไทย และความสามารถด้าน คณติ ศาสตร์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลการประเมนิ คุณภาพผ้เู รยี น (NT) ของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2562 ของโรงเรยี นในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาหนองบวั ลำภู เขต 2 3. เพอ่ื รายงาน และเผยแพร่สารสนเทศ ในการยกระดับคุณภาพผเู้ รยี นจากผลการประเมินคณุ ภาพ ผเู้ รียน (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2562 ศนู ย์เครือข่ายพัฒนาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 4
44 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 ไปใชใ้ นการวางแผน พัฒนา และปรบั ปรงุ คุณภาพ การศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนื่องต่อไป ขอบเขตของการรายงาน 1. ขอบเขตด้านเน้อื หา การประเมนิ คณุ ภาพผู้เรยี น (NT) ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2562 โดย ประเมินความสามารถพื้นฐาน 2 ดา้ น คือ ด้านความสามารถด้านภาษาไทย และความสามารถดา้ นคณติ ศาสตร์ โดยดา้ นภาษาไทยมีข้อสอบ 3 รูปแบบ คอื แบบเลือกตอบ 4 ตวั เลอื ก 26 ข้อ แบบเขยี นตอบสัน้ จำนวน 3 ขอ้ และแบบเขยี นตอบอิสระจำนวน 1 ข้อ และความสามารถด้าน คณติ ศาสตร์ มีข้อสอบ 3 รูปแบบ คอื แบบ เลือกตอบ 4 ตัวเลือก 26 ข้อ แบบเขยี นตอบจำนวน 3 ข้อ และแบบแสดงวธิ ีทำจำนวน 1 ข้อ รายละเอียด ดงั นี้ 1) ความสามารถดา้ นคณติ ศาสตร์ สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใชจ้ ำนวน ในชีวติ จริง มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจถงึ ผลท่ีเกิดขน้ึ จากการดำเนินการของจำนวนและความสมั พนั ธ์ ระหวา่ ง การดำเนินการตา่ ง ๆ และใชก้ ารดำเนนิ การในการแกป้ ญั หา สาระที่ 2 การวดั มาตรฐาน ค 2.2 แกป้ ญั หาเก่ียวกับการวดั สาระที่ 3 เรขาคณติ มาตรฐาน ค 3.1 อธบิ ายและวิเคราะหร์ ูปเรขาคณติ สองมติ ิและสามมติ ิ มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนกึ ภาพ (visualization) ใช้เหตผุ ลเก่ยี วกบั ปรภิ มู ิ (spatial reasoning) และใชแ้ บบจำลองทางเรขาคณติ (geometric model) ในการแกป้ ัญหา สาระท่ี 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.1 เขา้ ใจและวเิ คราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟ้งก้ชัน สาระที่ 5 การวเิ คราะหข์ ้อมลู และความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล 2) ความสามารถด้านภาษาไทย สาระท่ี 1 การอา่ น มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพอื่ นำไปใชต้ ดั สนิ ใจแกป้ ัญหา ในการดำเนินชวี ติ และมนี ิสยั รกั การอา่ น สาระท่ี 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี น เขยี นส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี น เร่ืองราวในรปู แบบต่าง ๆ เซยี นรายงานขอ้ มลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษา ค้นควา้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ
55 สาระท่ี 3 การฟ้ง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟง้ และดูอยา่ งมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ พลงั ของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณคา่ และนำมาประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ 2. ขอบเขตด้านระยะเวลา ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ทำการทดสอบ ในวนั ท่ี 4 มีนาคม 2563 3. เปา้ หมาย นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ทุกคนและทุกโรงเรียนในศูนยเ์ ครือข่ายพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษานากลาง 4 สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 จำนวน 78 คน นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 1. การประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT) หมายถึง การประเมินคณุ ภาพผู้เรียน ในระดบั ชัน้ ประถมศึกษา ปที ่ี 3 ซึ่งสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาชั้นพื้นฐานเปน็ หนว่ ยงานทด่ี ำเนินการจดั สอบ ผเู้ รยี น โดยประเมิน ความสามารถพื้นฐาน 2 ด้าน คือ ความสามารถดา้ นคณิตศาสตร์ (Mathematics) และความสามารถดา้ น ภาษาไทย (Thai Language) 2. ความสามารถด้านภาษาไทย หมายถึง ความสามารถด้านการใช้ภาษาไทยเพื่อการส่อื สารในยุค เทคโนโลยีสารสนเทศโดยใชท้ กั ษะการฟง้ การดู การพดู การอ่าน การเขียน และกระบวนการ คิดอย่างมี วิจารณญาณ ในการใชภ้ าษาไทยเปน็ เครือ่ งมือสือ่ สารเพ่อื สรปุ ความ สบื ด้น แสวงหาความรู้ อย่างต่อเน่ือง นำเสนออยา่ งสร้างสรรค์ ประเมนิ และตดั สนิ ข้อมลู สารสนเทศ เพ่ือนำไปแกป้ ัญหาในชวี ิตประจำวนั และรเู้ ทา่ ทัน สอ่ื ตลอดจนสามารถใช้ภาษาแสดงอัตลักษณ์ทางวฒั นธรรมของชาตเิ พือ่ สรา้ งความเข้าใจอันดี ในสังคม โดยมี คำสำคญั ของความสามารถด้านภาษา ดงั นี้ 1) รู้ หมายถงึ สามารถบอกความหมาย เรือ่ งราว ข้อเท็จจริง และเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ 2) เขา้ ใจ หมายถึง สามารถแปลความ ดีความ ขยายความ และอ้างอิง 3) วิเคราะห์ หมายถึง สามารถแยกแยะโครงสร้าง เร่ืองราว ข้อเทจ็ จรงิ ข้อคดิ เห็น เหตผุ ล และ คุณคา่ 4) สรุปสาระสำคัญ หมายถึง สามารถสรุปใจความสำคัญของเรอ่ื งได้อยา่ งครอบคลุม 5) ประเมนิ หมายถึง สามารถตดั สนิ ความถูกต้อง ความชัดเจน ความเหมาะสม คุณคา่ อย่างมี หลักเกณฑ์
66 6) สื่อสาร หมายถึง สามารถถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ และความคดิ จากการอา่ น ฟ้งและดู โดย การพูดหรือเขียนอธบิ าย วเิ คราะห์ สรปุ หรือประเมนิ 7) สร้างสรรค์ หมายถงึ สามารถสอื่ สารความรู้ ความเขา้ ใจ เรื่องราว ทศั นะและ ความคดิ ที่แปลก ใหมจ่ ากการอ่าน การฟ้ง และการดู เปน็ คำพดู การเขียน หรอื การกระทำได้อยา่ ง หลากหลาย และมีประโยชน์ เพ่ิมมากขนึ้ 8) การนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั การอยู่รว่ มกนั ในสังคม และการศกึ ษาตลอดชวี ิต หมายถึง ความสามารถในการนำความรู้ ความเข้าใจ การวิเคราะห์ การสรุปสาระสำคัญนำไปใชเ้ ปน็ ประโยชน์ ในการ แกไข ปญั หาการตดั สินใจในการดำเนนิ ชีวติ การอย่รู ่วมกบั ผอู้ ืน่ และการพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เน่ือง 3. ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ หมายถงึ ความสามารถของบคุ คลในการตีความจากสถานการณ์ ปญั หา หรอื สถานการณ์ต่าง ๆ ในบรบิ ทของชวี ิตจรงิ (Problem in context) ใหเ้ ป็นปญั หาเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical problem) การใชท้ ักษะการคดิ คำนวณ การแกป้ ญั หา การเชอื่ มโยง การสอื่ สารและส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์ การคิดสรา้ งสรรค์และการให้เหตผุ ล โดยอาศัยข้อเทจ็ จริง ความคิดรวบยอด หลกั การ หรอื ทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ มีการพิจารณาไตรต่ รองอยา่ งรอบคอบ ประเมินและตัดสนิ ใจอย่างสมเหตุสมผล และ สร้างสรรคโ์ ดยยึดหลกั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและความเปน็ พลเมืองดีของประชาคมโลก เพื่อนำไปสกู่ ารหาผลลพั ธ์ และการอธบิ าย/คาดการณ์/พยากรณส์ ถานการณ์ ปญั หาหรือปรากฎการณต์ า่ ง ๆ ดังนี้ 1) ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หมายถงึ ความสามารถในการแกป้ ัญหาด้วยวธิ ีการที่ หลากหลาย การให้เหตุผล การสอื่ สาร การสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ การนำเสนอ การเชื่อมโยง ความรู้ และการมคี วามคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ 2) ทักษะการคดิ คำนวณ หมายถึง ความสามารถในการบวก การลบ การคณู และการหาร ได้อยา่ ง ถกู ต้อง คลอ่ งแคลว่ 3) ความคดิ รวบยอดทางคณิตศาสตร์ หมายถงึ ความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับจำนวนนบั เศษสว่ น ทศนยิ ม และร้อยละ ความยาว ระยะทาง น้ำหนัก พื้นท่ี ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน ทิศ แผนผัง ขนาดของมุม ชนดิ และสมบัตขิ องรูปเรขาคณิต แบบรปู และความสมั พนั ธ์ แผนภูมแิ ละกราฟ การคาดคะเน การเกิดขนึ้ ของเหตุการณต์ ่าง ๆ 2. ศนู ย์การบรหิ ารและจัดการประเมินคุณภาพผูเ้ รียน (NT) โดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) มอบใหส้ ำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 เปน็ ผ้รู บั ผิดชอบ ดำเนนิ การประสานและบรหิ ารงานการจัดสอบกับทุกโรงเรียนในสงั กดั 3. ผลการทดสอบระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา หมายถึง ค่าสถิติผลการทดสอบระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษาของ นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2562 ท่ีเข้าสอบจากทกุ โรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาหนองบวั ลำภู เขต 2 4. ผลการทดสอบระดับประเทศ หมายถึง คา่ สถติ ผิ ลการทดสอบระดับประเทศของนกั เรยี นช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2562 ทเ่ี ข้าสอบจากโรงเรียนทุกสงั กัดในประเทศ
77 5. สถานศึกษา หมายถงึ โรงเรียนในสังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลำภู เขต 2 ท่ีอยูใ่ นศูนยเ์ ครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 6. ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 4 หมายถงึ โรงเรียนในสังกัดสำนกั งานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 จำนวนท้งั หมด 8 โรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรียนบ้านกา่ น โรงเรยี นบ้าน ซำเส้ียว โรงเรียนบ้านนาหนองทมุ่ โรงเรียนบา้ นโนนงาม โรงเรยี นบา้ นโนนตาล โรงเรยี นบ้านฝ่งั แดง โรงเรียนบา้ น แสงดาวโนนธาตุ และโรงเรียนบ้านเออ้ื งโนนไรโ่ นนสาวทิ ยา ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ 1. สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาหนองบวั ลำภู เขต 2 สามารถนำผลการประเมนิ คุณภาพ ผู้เรียน เปน็ ขอ้ มูลสารสนเทศในการวางแผน กำหนดนโยบายและกลยทุ ธก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาในภาพรวม ของเขตพน้ื ที่ เพ่ือสนองนโยบายหน่วยงานด้นสังกดั 2. ศกึ ษานเิ ทศก์ สามารถนำสารสนเทศ ไปวางแผนในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา วางแผน การนิเทศ การศึกษาในกลุ่มเครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศึกษาท่ไี ด้รับมอบหมาย ดำเนินการกระตุ้นและ สง่ เสรมิ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนาครู 3. สถานศกึ ษา ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครูผ้สู อน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐานนำขอ้ มูล สารสนเทศเกย่ี วกบั ผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รียนการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ไปใชใ้ นการวางแผนการจัด การศึกษา และพัฒนาผูเ้ รียน 4. ครปู ระจำชั้นหรือครูทีป่ รึกษา ครผู ้สู อน นำข้อมลู สารสนเทศเกีย่ วกับผลการประเมนิ คุณภาพ ผู้เรยี น ไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนการสอนรายบคุ คล ประเมนิ นักเรยี นก่อนสอนในภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 และทำวจิ ัยในข้ันเรียนเพอ่ื พฒั นาผู้เรียน 5. ผู้ปกครองนำขอ้ มลู สารสนเทศเก่ียวกบั ผลการทดสอบวดั ความสามารถของผู้เรียน ส่งเสรมิ สนับสนุน และวางแผนพฒั นาการเรียนรู้ของนักเรยี น
8 บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ งในการประเมินคณุ ภาพผู้เรียน รายงานการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ในปีการศกึ ษา 2562 ของโรงเรียนใน ศนู ยเ์ ครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 ไดศ้ ึกษาเอกสารท่เี กย่ี วข้อง ดังนี้ 1. นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาชัน้ พน้ื ฐานในการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี น (NT) ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2562 2. แนวคิดเก่ยี วกบั ความสามารถพืน้ ฐานของผ้เู รยี น (Primary Capability) 3. กรอบโครงสร้างในการประเมนิ คุณภาพผูเ้ รียน (NT) ปีการศกึ ษา 2562 และตัวอย่างข้อสอบ 4. แนวปฏิบัตกิ ารประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาขัน้ พื้นฐานเพื่อการประกนั คณุ ภาพผ้เู รยี น ปีการศึกษา 2562 นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาชน้ั พ้ืนฐานในการประเมินคุณภาพผเู้ รยี น (NT) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ในปกี ารศึกษา 2562 ในปกี ารศึกษา 2562 สำนกั ทดสอบทางการศึกษา ไดป้ รบั เปล่ียนชือ่ โครงการ จากโครงการทดสอบ ความสามารถพ้นื ฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ เป็นโครงการการประเมินคุณภาพ ผูเ้ รียน (NT) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ในปีการศึกษา 2562 ซง่ึ ประเมนิ นักเรียนสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน และสงั กดั อื่น ๆ ใน ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 จากการสอบวดั สมรรถนะ 2 ดา้ นของนักเรียน คอื ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ความสามารถด้านคำนวณ (Numeracy) และความสามารถด้านเหตผุ ล (Reasoning Abilities) เป็นการสอบวัด สมรรถนะสำคัญ 2 ด้านของนักเรยี น คอื ความสามารถด้านคณิตศาสตร์และความสามารถดา้ นภาษาไทย โดย ดำเนินการระดมสมองผทู้ รงคุณวุฒิ ผเู้ ชย่ี วชาญ และผูเ้ กยี่ วข้องทกุ ฝ่าย ท้ังในระดบั นโยบายและระดับปฏบิ ตั ิ ท้ังใน สว่ นกลางและสว่ นภูมภิ าคเข้า ประชมุ รว่ มกนั ระดมความคดิ เพื่อกำหนดนิยามและกรอบโครงสร้างของเครื่องมือ วัดสมรรถนะของนักเรียน ท้ัง 2 ดา้ น และพิจารณากลนั่ กรองนยิ ามและกรอบโครงสรา้ งของเคร่ืองมือวดั ต้งั แต่ ระดับชนั้ ประถมศึกษา ปีที่ 1 ถึงชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 เพ่ือประเมินคุณภาพของนักเรยี น อีกทั้งกรอบโครงสรา้ งนี้ นอกจากใช้เพ่ือ การสรา้ งเคร่ืองมือประเมนิ สมรรถนะนกั เรียนแลว้ โรงเรียนยงั สามารถใช้นิยามและตัวช้วี ัดที่ ร่วมกนั กำหนด ขน้ึ นี้ ไปวางแผนการจัดการเรยี นรูท้ ส่ี อดคล้องกับการประเมนิ สมรรถนะของนักเรียน เพื่อรองรับ การประกัน คุณภาพการศึกษาได้เป็นอย่างดี แนวคิดเก่ียวกับความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียน (Primary Capability) ความสามารถพ้นื ฐานท่ีใช้เป็นกรอบในการประเมนิ คุณภาพผู้เรียนนี้ เป็นความสามารถท่ีวิเคราะห์ มาจากหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 กำหนดแนวทางในการประเมินคุณภาพผู้เรียน วา่ เปน็ การประเมินคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรยี นรู้ (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551) สถานศึกษาตอ้ งจัด
99 ให้ผู้เรียนทุกคนท่เี รียนในขนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 เข้ารบั การประเมนิ รวมทงั้ แนวคดิ ในการจัดการเรียนร้ใู นศตวรรษ ท่ี 21 ทก่ี ลา่ วว่าความสามารถพื้นฐาน เปรยี บเสมอื นเครื่องมือในการเรยี นรู้ เนอื้ หาความรูเ้ ชงิ บูรณาการ โดย ใน ศตวรรษที่ 21 ได้ระบสุ มรรถนะพน้ื ฐานที่จำเป็นในการเรยี นรู้ 3 ดา้ น (3Rs) ได้แก่ การอ่าน (Reading) การเขยี น (Writing) และคณิตศาสตร์ (Arithmetic) ดงั ภาพ ดังนั้น ความสามารถพนื้ ฐานของผูเ้ รยี น (Primary Capability) ท่ใี ช้เป็นกรอบในการประเมนิ คณุ ภาพ ผูเ้ รียน (NT) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 จึงประกอบดว้ ย ความสามารถตามกรอบตวั ชว้ี ดั ในหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 และผลลัพธท์ ี่เกดิ ขนั้ กับผ้เู รยี น (Student Outcomes) จากแนวคิด ในศตวรรษท่ี 21 ได้แก่ ความสามารถด้านภาษาไทย และความสามารถด้านคณิตศาสตร์ โดยมี รายละเอียด ดงั ต่อไปน้ี 1. ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถของบคุ คลในการตีความ และแปลงจาก สถานการณ์ปัญหา หรอื สถานการณต์ า่ ง ๆ ในบรบิ ทของชีวติ จรงิ (Problem in context) ใหเ้ ป็นปัญหา เชงิ คณิตศาสตร์ (Mathematical problem) การใช้ทักษะการคดิ คำนวณ การแก้ปัญหา การเชือ่ มโยง การสื่อสาร
1010 และส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ การคดิ สร้างสรรค์ และการให้เหตุผล โดยอาศยั ขอ้ เท็จจรงิ ความคดิ รวบยอด หลกั การหรือทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ มีการพจิ ารณาไตรต่ รองรอบคอบ ประเมนิ และตัดสินใจอยา่ งสมเหตุสมผล และสร้างสรรค์ โดยยึดหลักคุณธรรมจรยิ ธรรมและความเป็นพลเมอื งดีของประชาคมโลก เพอ่ื นำไปสู่การหา ผลลพั ธ์และการอธิบาย/คาดการณ์/พยากรณ์ สถานการณป์ ัญหาหรือปรากฎการณ์ต่าง ๆ ดังน้ี สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวติ จริง มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลทเี่ กิดข้ันจากการดำเนนิ การของจำนวนและความสัมพันธร์ ะหวา่ ง การดำเนินการต่าง ๆ และใช้การดำเนินการในการแก้ปัญหา สาระท่ี 2 การวดั มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเก่ียวกับการวดั สาระท่ี 3 เรขาคณติ มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณติ สองมิติและสามมิติ มาตรฐาน ค 3.2 ใชก้ ารนกึ ภาพ (visualization)ใช้เหตผุ ลเกยี่ วกบั ปริภมู ิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.1 เขา้ ใจและวิเคราะหแ์ บบรปู (pattern) ความสมั พนั ธ์ และฟังก์ชัน สาระที่ 5 การวเิ คราะหข์ ้อมลู และความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถติ ิในการวเิ คราะหข์ ้อมลู 2) ความสามารถดา้ นภาษาไทย ความสามารถด้านภาษาไทย หมายถงึ ความสามารถด้านการใชภ้ าษาไทยเพื่อการส่ือสารในยคุ เทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยใชท้ ักษะการฟัง การดู การพูด การอา่ น การเขียน และกระบวนการคิด อยา่ งมี วิจารณญาณ ในการใชภ้ าษาไทยเปน็ เครื่องมือส่อื สารเพื่อสรปุ ความ สบื ค้น แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง นำเสนออย่างสรา้ งสรรค์ ประเมนิ และตัดสนิ ขอ้ มูลสารสนเทศ เพื่อนำไปแก้ปัญหาในชวี ติ ประจำวนั และรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ตลอดจนสามารถใช้ภาษาแสดงอตั ลักษณ์ทางวฒั นธรรมของชาตเิ พอ่ื สรา้ ง ความเข้าใจอันดีในสงั คม โดยมี ตัวช้ีวดั ดงั น้ี สาระที่ 1 การอา่ น มาตรฐานท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิด เพ่ือนำไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปัญหา ในการดำเนินชวี ติ และมนี ิสยั รักการอ่าน สาระท่ี 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขยี นสื่อสาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเร่อื งราว ในรปู แบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษา ค้นควา้ อยา่ งมี ประสิทธิภาพ
1111 สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ สาระที่ 4 หลักการใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลง ของภาษาและ พลังของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐานท5.1 เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็นวิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อยา่ งเหน็ คุณค่าและนำมาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจริง กรอบโครงสรา้ งในการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) ปีการศกึ ษา 2562 และตัวอย่างขอ้ สอบ 3.1 กรอบโครงสร้างในการประเมินคุณภาพผูเ้ รยี น (NT) ปกี ารศึกษา 2562 1) ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ มกี รอบโครงสร้างในการประเมิน ดังนี้ ตวั ชี้วัด ระดบั รูปแบบข้อสอบ (จำนวนข้อ) รวม สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนนิ การ พฤตกิ รรม (ข้อ) เลอื กตอบ เขยี น แสดง ตอบสนั้ วิธที ำ 1 2 มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจถึงความหลากหลายของการแสดง 1 จำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง 3 ค 1.1 ป.3/1 เขยี นและอา่ นตัวเลขฮนิ ดูอารบิกตวั เลข ไทย นำไปใช้ และตวั หนงั สอื แสดงปริมาณของสงิ ของหรือจำนวนนับ ทไี่ มเ่ กนิ หนึง่ แสนและศนู ย์ ค 1.1 ป.3/2 เปรยี บเทยี บและเรียงลำดบั จำนวนนบั ไม่เกิน นำไปใช้ 2 หนึ่งแสน และศนู ย์ มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจถงึ ผลท่เี กดิ ขึ้นจากการดำเนนิ การ ของจำนวนและความสัมพนั ธ์ระหว่างการดำเนินการตา่ ง ๆ และใช้การดำเนินการในการแกป้ ัญหา ค 1.2 ป.3/1 บวก ลบ คณู หาร และบวก ลบ คูณ วเิ คราะห์ 3 หารระคน ของจำนวนนบั ไม่เกินหนึง่ แสนและศนู ย์ พร้อมท้ัง ตระหนัก ถงึ ความสมเหตุสมผลของคำตอบ
1212 ตัวชีว้ ดั ระดับ รูปแบบขอ้ สอบ (จำนวนข้อ) รวม ค 1.2 ป.ร/2 วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ พฤตกิ รรม (ขอ้ ) เลือกตอบ เขยี น แสดง 5 ตอบสั้น วธิ ที ำ 2 วเิ คราะห์ 4 1 1 2 ปญั หาและโจทยป์ ญั หาระคนของจำนวนนบั ไมเ่ กนิ หนึ่ง 1 1 แสน และศนู ย์พร้อมทัง้ ตระหนกั ถงึ ความสมเหตสุ มผล 1 1 ของคำตอบ และสรา้ งโจทย์ได้ สาระท่ี 2 การวัด 1 มาตรฐาน ค 2.2 แกป้ ญั หาเก่ียวกบั การวดั 1 ค 2.2 ป.3/1 แก้,ปัญหาเก่ยี วกับการวัดความยาวการชั่ง การตวง เงนิ และเวลา - ความยาว วเิ คราะห์ 1 1 1 1 - ช่ัง วเิ คราะห์ 1 1 - ตวง วเิ คราะห์ 1 1 - เงนิ วเิ คราะห์ 1 - เวลา วิเคราะห์ ค 2.2 ป.3/2 อา่ นและเขียนบันทกึ รายรบั รายจา่ ย นำไปใช้ ค 2.2 ป.3/3 อ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมหรอื เหตกุ ารณ์ นำไปใช้ ที่ระบเุ วลา สาระท่ี 3 เรขาคณิต มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวเิ คราะหร์ ูปเรขาคณิตสองมติ ิ และสามมติ ิ ค.3.1 ป.3/1 บอกชนดิ ของรูปเรขาคณิตสองมิติทีเ่ ป็น นำไปใช้ 1 ส่วนประกอบของสิง่ ของท่มี ลี ักษณะเปน็ รูปเรขาคณิต สามมติ ิ ค.3.1 ป.3/2 ระบุรปู เรขาคณิตสองมติ ิทีม่ ีแกนสมมาตร นำไปใช้ 1 จากรปู ที่กำหนดให้ มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนกึ ภาพ (visualization) ใชเ้ หตผุ ล เกี่ยวกบั ปรภิ ูมิ (spatial reasoning) และใชแ้ บบจำลอง ทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแกป้ ญั หา
1313 ตัวชวี้ ัด ระดับ รูปแบบขอ้ สอบ (จำนวนข้อ) รวม เขียน แสดง (ข้อ) พฤติกรรม เลือกตอบ ตอบสัน้ วิธที ำ 1 1 ค.3.2 ป.3/1 เขยี นรปู เรขาคณติ สองมิติท่ีกำหนดใหใ้ นแบบ นำไปใช้ 1 2 ต่าง ๆ 2 ค.3.2 ป.3/2 บอกรูปเรขาคณิตตา่ ง ๆ ท่อี ยู่ใน ส่ิงแวดล้อม นำไปใช้ 1 2 30 รอบตัว สาระที่ 4 พชี คณติ มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวเิ คราะห์แบบรปู (pattern) ความสัมพนั ธ์ และฟังกช์ ัน ค 4.1 ป.3/1 บอกจำนวนและความสัมพนั ธ์ในแบบรูปของ วเิ คราะห์ 1 1 จำนวนทีเ่ พ่ิมขนึ้ ทลี ะ 3 ทลี ะ 4 ทลี ะ 25 ทลี ะ 50 และ ลดลง ทลี ะ 3 ทีละ 4 ทีละ 5 ทลี ะ 25 ทลี ะ 50 2 แคล4ะ.แ1บปบ.3รปู/2ซ้าํบอกรูปและความสัมพนั ธ์ในแบบรปู ของรูป วิเคราะห์ ทมี่ รี ูปร่าง ขนาด หรือสทึ ส่ี มั พันธก์ นั สองลักษณะ สาระที่ 5 การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและความน่าจะเปน็ มาตรฐาน ค 5.1 เขา้ ใจและใชว้ ธิ กี ารทางสถิติในการ วเิ คราะห์ข้อมูล ค 5.1 ป.3/2 อา่ นข้อมูลจากแผนภมู ิรูปภาพและแผนภมู ิ วิเคราะห์ 2 แทง่ อยา่ งง่าย รวม 26 3 1 หมายเหตุ : การให้คะแนนข้อสอบแตล่ ะรูปแบบของข้อสอบคณิตศาสตร์ ดังน้ี ขอ้ สอบเลอื กตอบ ข้อละ 3 คะแนน คะแนนเป็น 0, 3 คะแนน ข้อสอบเขียนตอบ ข้อละ 4 คะแนน คะแนนเป็น 0, 4 คะแนน ขอ้ สอบแสดงวิธที ำ คะแนนเป็น 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 และ 10 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 100 คะแนน ใชเ้ วลาทำ 90 นาที
14 14 2) ความสามารถด้านภาษาไทย มีกรอบโครงสรา้ งในการประเมิน ดังน้ี มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ัด ระดบั รปู แบบชอ้ สอบ (จำนวนชอ้ ) รวม พฤติกรรม จำนวนข้อ เลือก หลาย เชิงซ้อน ตอบ ตอบ ตอบ คำตอบ สนั้ อสิ ระ สาระที่ 1 การอา่ น มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคดิ เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนนิ ชีวติ และมนี ิสยั รกั การอ่าน ป.3/2 อธบิ ายความหมายของคำและ เข้าใจ 2 2 ขอ้ ความท่อี ่าน ป.3/3 ตัง้ คำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผล วิเคราะห์ 2 2 เกี่ยวกับเร่อื ง ป.3/4 ลำดับเหตกุ ารณ์และคาดคะเน วิเคราะห์ 2 2 เหตกุ ารณจ์ ากเรือ่ งท่ีอ่านโดยระบเุ หตผุ ล ป.3/5 สรปุ ความรจู้ ากเร่อื งที่อ่านเพื่อนำไป นำไปใช้ 1 2 ใชใ้ นชีวิตประจำวนั วเิ คราะห์ 1 2 นำไปใช้ 1 2 ป.3/7 อ่านข้อเขียนเชงิ อธิบายและปฏิบัติ 1 ตามคำสง่ั หรอื ขอ้ แนะนำ เข้าใจ 1 ป.3/8 อธิบายความหมายของขอ้ มลู จาก นำไปใช้ แผนภาพ แผนทแี่ ละแผนภูมิ 1 วิเคราะห์ สาระที่ 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นสอ่ื สาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่ืองราวในรูปแบบตา่ ง ๆ เขยี น รายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอย่างมปี ระสิทธิภาพ ป.3/2 เขยี นบรรยายเกยี่ วกับสงิ่ ใดสงิ่ หนงึ่ ได้ วเิ คราะห์ 11 อย่างชัดเจน เขา้ ใจ 1 1 ป.3/4 เขยี นจดหมายลาครู สร้างสรรค์ 1 1 ป.3/5 เขียนเรือ่ งตามจนิ ตนาการ สาระท่ี 3 การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด ความรสู้ กึ ในโอกาส ตา่ ง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ ป.3/2 บอกสาระสำคญั จากการฟังและการดู เข้าใจ 1 1 ป.3/3 ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับ วิเคราะห์ 1 1 เรอื่ งที่ฟังและดู
1515 มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ัด ระดับ รูปแบบช้อสอบ (จำนวนช้อ) รวม พฤติกรรม จำนวนข้อ เลือก หลาย เชงิ ซอ้ น ตอบ ตอบ ตอบ คำตอบ สนั้ อิสระ สาระที่ 4 หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เชา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ ป.3/1 เขียนสะกดคำและบอกความหมาย เขา้ ใจ 1 2 ของคำ วิเคราะห์ 1 ป.3/2 ระบุชนิดและหนา้ ทข่ี องคำใน นำไปใช้ 1 2 ประโยค วิเคราะห์ 1 1 2 ป.3/4 แต่งประโยคง่าย ๆ เขา้ ใจ 1 11 วเิ คราะห์ ป.3/5 แตง่ คำคลอ้ งจองและคำขวัญ สร้างสรรค์ 1 2 ป.3/6 เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและ วเิ คราะห์ 1 ภาษาถน่ิ ได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ นำไปใช้ สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เชา้ ใจและแสดงความดดี เห็น วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคณุ ค่า และนำมา ประยุกดใ์ ชใ้ นชวี ิตจรงิ ป.3/1 ระบขุ ้อคดิ ทไี่ ด้จากการอ่าน ประเมินค่า 1 2 วรรณกรรมเพ่ือนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั วเิ คราะห์ 1 2 ป.3/3 แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับวรรณคดี วิเคราะห์ 1 30 ท่อี ่าน ประเมนิ ค่า 1 รวมจำนวนข้อ 26 31 หมายเหตุ : การใหค้ ะแนนข้อสอบแตล่ ะรูปแบบของข้อสอบภาษาไทย ดังนี้ ขอ้ สอบเลอื กตอบ ข้อละ 3 คะแนน ขอ้ สอบเขยี นตอบส้ัน ข้อละ 5 คะแนน คะแนนเปน็ 0, 2.5, 5 คะแนน ขอ้ สอบเขียนตอบอสิ ระ ข้อละ 7 คะแนน คะแนนเป็น 0, 3.5, 7 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 100 คะแนน ใชเ้ วลาทำ 60 นาที
1616 3.2 ตัวอย่างข้อสอบการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี น (NT) ปีการศกึ ษา 2562 1) ความสามารถด้านคณิตศาสตร์
17 17 2) ความสามารถดา้ นภาษาไทย
1818 แนวปฏบิ ตั ิการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานเพอ่ื การประกนั คุณภาพผเู้ รียน ปกี ารศึกษา 2562 1. การจดั สนามสอบและห้องสอบ 1.1) การจัดสนามสอบ ศนู ย์สอบสามารถจดั สนามสอบได้ตามความเหมาะสมของสถานศกึ ษาแต่ละแหง่ โดยให้ คำนึงถึงความปลอดภัยของนักเรียนเปน็ หลกั ในกรณีท่ีสถานศึกษามเี ดก็ เข้าสอบเปน็ จำนวนมาก หรือมีความ ยากลำบากในการเดนิ ทางมายงั สนามสอบ ศนู ยส์ อบสามารถแต่งต้งั สถานศึกษาเหล่านีเ้ ป็น สนามสอบไดเ้ ลย 1.2) การจดั ห้องสอบ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ได้กำหนดห้องสอบในแตล่ ะสนามสอบ เป็น 3 ประเภท คือ 1.2.1) หอ้ งสอบปกติ (ห้องเด็กปกตทิ ่ีใช้ข้อสอบปกต)ิ 1.2.2) หอ้ งสอบพิเศษ 1 (ห้องเด็กพเิ ศษทีใ่ ช้ข้อสอบปกติ) 1.2.3) ห้องสอบพิเศษ 2 (หอ้ งเด็กพเิ ศษที่ใช้ข้อสอบพิเศษ เชน่ อกั ษรเบรลล์ และข้อสอบอกั ษร ขยาย) โดยลกั ษณะการจดั เรยี งหอ้ งสอบจะจัดเรียงตามลำดับ ดังนี้ ห้องปกติห้องแรก จนถึงห้องปกติสดุ ท้าย ตามดว้ ยห้องพเิ ศษ 1 และห้องพิเศษ 2 ตามลำดับ ห้องปกติ ห้องปกติ ห้องพิเศษ หอ้ งพเิ ศษ ห้องที่ 1 หอ้ งสุดทา้ ย ห้อง 1 หอ้ ง 2 หมายเหตุ การจดั ห้องสอบของสนามสอบที่มหี อ้ งพเิ ศษ 1 (เด็กพิเศษท่ีใช้ขอ้ สอบปกติ) เพ่ือมใิ ห้ เดก็ พิเศษ เกิดความรู้สกึ วา่ ตนเองแตกต่างจากเพื่อน ๆ ศนู ย์สอบ/สนามสอบสามารถบรหิ ารจัดใหผ้ เู้ รียนสอบ ร่วมกับเดก็ ปกตไิ ดโ้ ดยนำโต๊ะของเด็กพิเศษมาวางไวใ่ นห้องเดก็ ปกติ และดำเนนิ การจดั สอบตามปกติ แต่การบรรจุ กระดาษคำตอบให้บรรจุแยกตามจำนวนหอ้ งสอบที่ สพฐ. ส่งไปให้ ตัวอยา่ ง เช่น โรงเรยี น ก. มผี ู้เรียน 10 คน มหี ้องสอบ 2 หอ้ ง คือ ห้องปกติ จำนวน 1 หอ้ ง ห้องพเิ ศษ 1 จำนวน 1 หอ้ ง ในวันสอบจรงิ ศนู ย์สอบอาจกำหนด สถานศกึ ษาน้ใี หม้ ีห้อง สอบ เพยี ง 1 ห้อง (ให้สอบร่วมกัน) ซ่งึ สพฐ.จะส่งขอ้ สอบไปสนามสอบ 2 ห้องสอบ (กล่อง) ดงั นัน้ การบรรจุกระดาษคำตอบ ใหแ้ ยกกล่องออกเป็น 2 ห้องสอบ (กล่อง) เหมือนท่ี สพฐ. ส่งไป 1.3) จำนวนผู้เรยี นในหอ้ งสอบ ศนู ยส์ อบต้องกำหนดสนามสอบ ผ่านระบบ NT Access ภายในช่วงเวลาที่สำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานกำหนด โดยโปรแกรม NT Access จะทำการกำหนดหอ้ งสอบในแตล่ ะสนาม สอบโดยอตั โนมตั ิ กำหนดจำนวนผู้เขา้ สอบห้องละ 30 คน (ยกเวน้ หอ้ งสุดท้ายสามารถมีจำนวนผ้เู รยี นได้สงู สุด 35 คน) โดยการจัดห้องสอบจะจดั ผเู้ รียนเขา้ ห้องสอบท่ลี ะสถานศกึ ษา โดยเรม่ิ ตน้ ทผี่ เู้ รียนในสถานศกึ ษาทเี่ ปน็ สนามสอบก่อน หลังจากนน้ั จะเรยี งตามอกั ษรตัวแรกของชื่อสถานศึกษา และการเรยี งลำดับเลขที่น่งั ของผูเ้ รยี น ในแต่ละสถานศึกษาจะจัดเรียง ตามทีส่ ถานศกึ ษาส่งข้อมลู เข้าโปรแกรม NT Access ตัวอย่าง เช่น ถา้ โรงเรียน ก.
1919 เป็นสนามสอบ มีสถานศึกษามาเขา้ สอบ 3 แหง่ ได้แก่ โรงเรียน ก. มีผู้เรียน 20 คน โรงเรยี น ข. มีผ้เู รียน 10 คน และ โรงเรยี น ค. มจี ำนวนผเู้ รยี น 20 คน การจดั ห้องสอบจะเป็น ดังต่อไปน้ี 1.3.1) มจี ำนวนผมู้ สี ทิ ธ์ิสอบ ทงั้ หมด 50 คน ดังนั้นจะต้องมีห้องสอบทั้งสนิ้ 2 ห้อง 1.3.2) จัดเรยี งผู้มสี ทิ ธิ์สอบเข้าห้องสอบ เริม่ จากสถานศกึ ษาท่ีเป็นสนามสอบ คือ โรงเรยี น ก. คนท่ี 1-20 ของห้องที่ 1 ตามด้วยสถานศกึ ษาอ่ืนซ่ึงเรยี งตามตัวอกั ษรของชือ่ สถานศึกษา คือ โรงเรียน ข. คนที่ 21-30 ของห้องท่ี 1 และโรงเรยี น ค. คนท่ี 1-20 ของหอ้ งที่ 2 ตามลำดบั ดังภาพ 1.3.3) จดั ผู้มีสิทธิ์สอบเข้าห้องสอบ เรียงลำดับของผู้เรียนตามท่สี ถานศกึ ษานำเขา้ โปรแกรม NT Access โดยจดั หอ้ งสอบให้มโี ต๊ะสอบทั้งหมด 5 แถว ๆ ละ 6 ตวั ถ้าผ้เู รยี นครบ 30 คน คนที่ 31 ให้จดั ผเู้ รียน เขา้ สอบในห้องถัดไป 1.3.4) ตดิ สติ๊กเกอร์ข้อมูลผมู้ ีสทิ ธ์ิสอบทโ่ี ตะ๊ นกั เรียน โดยเรยี งลำดบั เลขทนี่ ่ังสอบตามประกาศ ลพฐ.2 ดังภาพต่อไปน้ี
2020 2. ข้อปฏบิ ัติในการสอบของผู้เข้าสอบ 2.1 ระเบยี บการเข้าห้องสอบ 1) ต้องแสดงบตั รประจำตัวประชาชน หรือบตั รประจำตัวนักเรยี นที่มีรูป หรอื หลักฐานอย่างอน่ื ท่สี ามารถใช้แสดงตัวตนของผู้เขา้ สอบ 2) ผู้เขา้ สอบมาสายเกิน 15 นาที ไมม่ สี ิทธ์ิสอบในวิชาน้ัน (ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย การปฏบิ ัตขิ องผู้เข้าสอบ พ.ศ. 2548) 3) ให้ผเู้ ขา้ สอบน่ังอยู่ในหอ้ งสอบจนหมดเวลา 4) หา้ ม ผู้เขา้ สอบนำตำร เอกสาร เคร่อื งอิเลก็ ทรอนิกส์หรอื เคร่ืองมอื ส่ือสารเขา้ ห้องสอบ 5) อนญุ าตให้ผู้เข้าสอบนำนาฬิกาเข้าห้องสอบเฉพาะนาฬิกาธรรมดาทใ่ี ชด้ ูเวลาเทน่ ้นั อุปกรณ์ ทีอ่ นญุ าตให้นำเข้าห้องสอบ โดยผูเ้ ข้าสอบต้องเตรียมมาในวนั สอบ ได้แก่ ดนิ สอดำ 2B ใชส้ ำหรับระบายคำตอบ ยางลบ และกบเหลาดินสอ 2.2 กรณผี เู้ ข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) ผเู้ ข้าสอบกรณพี เิ ศษ (Walk in) ได้แก่ ผู้ทไี่ ม่มีรายชื่อในใบเซ็นช่ือผู้เขา้ สอบ (สพฐ.2) ซึง่ ผู้เรียน จะเข้าสอบได้ กต็ อ่ เม่ือได้รับอนญุ าตจากประธานสนามสอบแล้ว โดยตอ้ งปฏิบตั ิ ดังนี้ 1) เข้าสอบในห้องสอบปกติ โดยนั่งต่อจกเลขทน่ี ั่งสอบสุดท้ายของห้องสอบปกติห้องสดุ ท้าย ในสนามสอบนัน้ ๆ 2) ใชแ้ บบทดสอบสำรอง และกระดาษคำตอบสำรอง สำหรับเลขที่นั่งสอบใหใ้ ช้เลขทีน่ ั่งสอบ ตอ่ จากเลขที่สุดท้ายของหอ้ งสอบสุดทา้ ยในสนามสอบนั้น ๆ 3) ลงชือ่ ในใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (แบบ สพฐ.3) วิชาละ 1 แผ่น (สำหรับส่งคืน สพฐ.) หากมีผ้เู รยี นเข้าสอบกรณพี ิเศษ (Walk in) จำนวนมากกว่า 1 คน กใ็ ห้ลงช่อื ในแผน่ เดยี วกัน 4) เม่ือเสร็จส้ินการสอบให้เก็บกระดาษคำตอบของผเู้ ข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) ใส่ในซอง กระดาษคำตอบต่อจากผเู้ ข้าสอบคนสดุ ทา้ ยของห้องสอบสุดท้ายในสนามสอบนนั้ ๆ 3.5.4 กรณกี ระดาษคำตอบ ชำรุดให้ผู้เขา้ สอบระบายลในช่อง \"ยกเลกิ กระดาษคำตอบ\" และใหใ้ ช้กระดาษคำตอบสำรอง โดยระบุรายละเอยี ด ของผู้เข้าสอบตามกระดาษคำตอบเดิม และเกบ็ กระดาษคำตอบท่ีชำรุดใส่ซองคนื ดว้ ย (ใหเ้ รียงกระดาษคำตอบ ท่ีถกู ยกเลิก อยู่หลงั กระดาษคำตอบสำรองของผู้เขา้ สอบคนนน้ั ) 3. กรณีขาดสอบ 1) เมือ่ เสรจ็ สนิ้ การสอให้เก็กระตาษคำตอบของผขู้ าดสอบ ให้กรรมการคุมสอบระบาย ในชอ่ ง \"ขาดสอบ\" แล้วเกบ็ รวบรวมกระดาษคำตอบตามเลขทน่ี ัง่ สอบ 2) ให้กรรมการคุมสอบเก็บกระดาษคำตอบของผู้ขาดสอบเรียงตามเลขทีน่ ่ังสอบปกติ 3) ให้กรรมการคุมสอบ ระบุว่า \"ขาดสอบ\" ด้วยหมีกสีแดง ในใบเซน็ ซ่อื ผู้เขา้ สอบ สพฐ.2
2121 4. กำหนดการบริหารจัดการสอบ (หอ้ งสอบ) ระยะเวลา การปฏิบัติ กอ่ นถึงเวลาสอบ 15 ให้ผเู้ ข้าสอบเขา้ หอ้ งสอบ กรรมการคุมสอบตรวจบตั รประจำตัวประชาชน หรือ นาที หลกั ฐานอย่างอ่ืนที่แสดงตวั ตนของผูเ้ ข้าสอบ รวมทัง้ อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการสอบ ก่อนถึงเวลาสอบ 10 1. ให้ผ้เู ข้าสอบ 2 คน ตรวจซองแบบทดสอบ เพ่ือยืนยันความเรียบร้อยของ นาที แบบทดสอบ แลว้ ลงลายมือชอื่ ใน สพฐ.2 2. แจกกระดาษคำตอบใหผ้ เู้ ข้าสอบเรียงตามลำดบั เลขที่นั่งสอบ จากน้อยไปหามาก 3. แจ้งใหผ้ เู้ ข้าสอบตรวจสอบวา่ กระดาษคำตอบเป็นของตนเอง และลงลายมือชื่อ ในกระดาษคำตอบ ก่อนถึงเวลาสอบ 5 นาที แจกแบบทดสอบให้ผเู้ ข้าสอบเรยี งตามลำดับเลขทนี่ ั่งสอบ จากน้อยไปหามาก เมื่อถึงเวลาสอบ ประกาศใหผ้ เู้ ขา้ สอบเริ่มทำแบบทดสอบ ระหวา่ งการสอบ ดแู ลการจัดสอบใหเ้ ป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย มีความโปร่งใสไมม่ กี ารทจุ รติ หรอื กระทำผดิ ระเบยี บระหว่างการสอบ เมอื่ เวลาสอบผา่ นไป 30 ใหผ้ ้เู ขา้ สอบลงชอ่ื ในใบเซน็ ชื่อผ้เู ขา้ สอบ สพฐ.2 นาที ก่อนหมดเวลาสอบ 5 ประกาศเวลาให้ผูเ้ ข้าสอบทราบเพือ่ ตรวจสอบความเรยี บร้อยของกระดาษคำตอบ นาที และการระบายคำตอบ เมอ่ื หมดเวลาสอบ 1. ประกาศหมดเวลา 2. แจง้ ให้ผเู้ ข้าสอบหยุดการสอบ 3. ตรวจสอบการลงชอ่ื - สกุล และเลขที่นั่งสอบของผู้เข้าสอบ และตรวจดกู ารลง ลายมอื ชื่อบนหัวกระดาษของนักเรยี นทกุ คน 4. เก็บแบบทดสอบ และกระดาษคำตอบให้ครบถ้วนตามจำนวนท่รี ะบุไว้บนหน้า ซองเพอื่ นำสง่ ประธานสนามสอบ หลังสอบเสรจ็ แตล่ ะวิชา 1. อนุญาตให้นกั เรยี นออกจากห้องสอบตามดลุ พินิจของกรรมการคุมสอบ 2. กรรมการคุมสอบอย่างน้อย 1 คน ร่วมตรวจสอบความถูกต้อง ครบถว้ น กับ ประธานสนามสอบ และเปน็ สักขีพยานในการบรรจุซองกระดาษคำตอบแบบเขยี น ตอบ ตอ่ หน้าประธานสนามสอบ
2222 การจัดสอบสำหรับเดก็ ที่มีความตอ้ งการจำเป็นพิเศษ เด็กทมี่ ีความต้องการจำเปน็ พิศษ หมายถึง ผู้เข้าสอบที่มีความต้องการพิเศษเกี่ยวกบั วธิ ีการกระบวนการ เครอ่ื งมือหรือบริการอื่นใดท่ีใช้ในการจดั สอบแตกต่างไปจากเดก็ ท่ัวไป เพ่ือให้เด็กเหล่าน้ัน สามารถทำข้อสอบได้ อย่างเต็มศกั ยภาพ 1. แนวทางการจดั สอบสำหรับเดก็ ทมี่ ีความต้องการจำเป็นพเิ ศษ การดำเนนิ การจัดสอบสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ 9 ประเภท โดยแต่ละประเภท มีแนวทางการจดั สอบ ดังนี้ 1.1) เดก็ ท่ีมีความบกพร่องทางการเหน็ หมายถึง คนทีส่ ูญเสยี การเหน็ ตง้ั แตร่ ะดบั เล็กน้อย จนถึงตา บอดสนทิ อาจแบง่ ได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1.1.1) ตาบอด หมายถึง คนกลุ่มนี้ไมส่ มารถใชก้ ารมองเหน็ จากประสกตได้เลย ต้องใชอ้ ักษร เบลล์ ช่วยในการอ่านและทำความเข้าใจขอ้ สอบ ในการดำเนนิ การ ผจู้ ัดสอบแจกข้อสอบ ฉบบั อักษรเบลล์ใหเ้ ดก็ แตล่ ะคน โดยแยกออกมาใหส้ อบในหอ้ งเฉพาะและให้มีกรรมการคุมสอบท่ีมาจาก โรงเรียนสอนคนตาบอดแห่งน้นั หรือผู้ทีม่ ีประสบการณ์และความเชีย่ วชาญเฉพาะด้าน เปน็ กรรมการคุมสอบ ช่วยในการคุมสอบและชว่ ยเหลอื เท่าที่จำเป็น โดยกรรมการคุมสอบจะเปน็ ผรู้ บายคำตอบในกระตาษคำตอบ ให้เด็กแต่ละคนในช่วงทา้ ยของเวลา ในการคุมสอบ อาจให้กรรมการ 1 คน ช่วยเด็กประมาณ 3 - 5 คน แตเ่ ดก็ บางคนอาจให้กรรมการคมุ สอบเปน็ ผูอ้ า่ นข้อสอบให้ฟงั โดยใชข้ ้อสอบปกติ ให้กรรมการคุมสอบ แยกการสอบออกมาเฉพาะ เพือ่ ไมเ่ ปน็ การรบกวน สมาธผิ ้อู ืน่ ครูอา่ นขอ้ สอบให้ฟงั และเด็กจะทำมอื แสด สัญลักษณ์คำตอบแลว้ ให้กรรมการคมุ สอบช่วยระบาย คำตอบในกระดาษคำตอบท่ีได้ โดยให้เวลาเพม่ิ ขึน้ รอ้ ยละ 30 จากเวลาท่ีกำหนด 1.1.2) สายตาเลอื นลาง หมายถึง คนกลุ่มนยี้ ังสามารถใชก้ ารมองเห็นจากประสาทตา ที่หลงเหลือได้ เด็กกลุ่มน้ีอาจจะตอ้ งการให้จดั ทำข้อสอบที่มีอักษรขนาดขยายเพ่ิมกว่าปกติ ฟอนด์ขนาด 20 พอยด์ (โดยประมาณ) เพื่อสามารถอ่านข้อสอบด้วยตนเองได้ และอาจจะมคี วามยากสำบากในการระบายกระตาษคำตอบ เนือ่ งจากมีพน้ื ท่กี ำหนดใหร้ ะบายกระตาษคำตอบแต่ละข้อขนาดเลก็ มาก อาจตอ้ งให้ กรรมการคุมสอบช่วยระบาย คำตอบให้ โดยเด็กทำคำตอบไว้ก่อนระหว่างทำขอ้ สอบ แล้วค่อยอ่านใหก้ รรมการคุมสอบช่วยระบายคำตอบหรอื เขียนคำตอบให้ภายหลัง หรือเด็กอาจให้กรรมการคุมสอบอำนขอสอบใหฟ้ ัง และช่วยระบายคำตอบใหเ้ ดก็ คนนน้ั ตามทเ่ี ด็กบอกคำตอบกไ็ ด้ หรือกรรมการคุมสอบ 1 คน ต่อเดก็ 3 – 5 คน โดยให้เวลาในการทำข้อสอบเพ่ิมขึน้ ร้อยละ 30 จากเวลาที่กำหนด 1.2) เดก็ ท่ีมีความบกพองทางการได้ยนิ หมายถึง คนทีส่ ญู เสยี การได้ยินต้งั แตร่ ะดับ รนุ แรงถึงระดบั นอ้ ย แบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1.2.1) หูตึง คนกลุ่มนี้สามารถรับรู้การได้ยินผ่านระบบประสาทหไู ด้ แต่มรี ะดบั การไดย้ ินน้อย กว่าปกติทว่ั ไป และอาจพูดสื่อสารได้ไมช่ ัดเจน มักจะใสเ่ ครือ่ งชว่ ยฟังเพอ่ื ช่วยในการไดย้ ินให้ตขี ้ึน เดก็ กลุ่มนี้ สามารถทำแบบทดสอบได้ด้วยตนเอง โดยอาจไมต่ ้องการความชว่ ยเหลือใด ๆ เปน็ กรณีพเิ ศษ
2323 1.2.2) หหู นวก คนกลมุ่ นี้ไม่สามารถรับร้กู ารไดย้ ินผ่านทางประสาทหไู ด้แมจ้ ะใส่ เคร่ืองชว่ ยฟงั ช่วยการไดย้ ินแลว้ ก็ตาม และตอ้ งใช้ภาษามอื ในการสอ่ื สารแทนการใช้เสยี งพูด แมเ้ ด็กกล่มุ น้ี มีลกั ษณะภายนอก คลา้ ยเดก็ ท่วั ไป แต่เขาเหล่าน้ีจะมีพฒั นาการหาภาษาดอ้ ยกว่าเด็กทว่ั ไปที่อายุ อยู่ในระดับเดยี วกนั การดำเนินการ สอบ ควรจดั ใหม้ ลี า่ มภาษามือจากโรงเรียนโสตศกึ ษาในจงั หวดั นน้ั ช่วยหรือผ้ทู ่ีมีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ เฉพาะดา้ นในการแปลรายละเอยี ดข้อสอบ เพื่อชว่ ยให้เด็กหหู นวก ทเ่ี ข้าสอบมีความเข้าใจท่ชี ดั เจนและสามารถ แสดงศักยภาพในการทำข้อสอบได้ถูกต้อง และควรให้เวล ในการทำขอ้ สอบเพิ่มขน้ึ ร้อยละ 30 จกเวลาที่กำหนด 1.3) เดก็ ท่ีมีความบกพร่องทางสตปิ ญั ญา หมายถึง คนทีม่ ีพัฒนาการช้ากวา่ คนทว่ั ไป เมื่อวัดระดับ เขาว์ปญั ญา กรณนี ี้เดก็ จะมีความสมารถทางสติปัญญากว่าเกณฑเ์ ฉลย่ี และมขี ้อจำกัด ในการปรบั ตวั แต่หากเป็น เดก็ ทม่ี ีความบกพร่องทางสติปัญญาท่ีเรยี นร่วมกับเดก็ ทั่วไป จะมคี วามสมารถ ในการเรียนไดใ้ นระดับประถมศึกษา อย่แู ลว้ อาจเปิดโกสให้เด็กกลุ่มน้ไี ด้เข้าสอบด้วย โดยอาจเพ่ิมเวลาในการทำข้อสอบได้แตไ่ มเ่ กินรอ้ ยละ 30 ของ เวลาทกี่ ำหนด 1.4) เดก็ ที่มคี วามบกพร่องทางร่างกายหรือสุขภาพ หมายถึง คนทีม่ ีอวัยวะไมส่ มส่วน อวยั วะสว่ นใด ส่วนหน่ึงหรือหลายส่วนขาดหายไป กระดูกและกล้ามเนื้อพิการ เจบ็ ป่วยเรื้อรังรุนแรง มีความพกิ ารของระบบ ประสาท มคี วามสำบากในการเคลอ่ื นไหวซ่ึงเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาในสภาพปกติ แบ่งเป็น 1.4.1) เด็กมีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลอ่ื นไหว เชน่ คนมอี วยั วะไมส่ มส่วน หรอื ขาดหายไปโดยเฉพาะแขนขาดหรือกล้ามเนื้อแขนลีบผิดปกติ ทำใหม้ ีอปุ สรรคในการเขียนคำตอบหรือระบาย คำตอบในกระตาษคำตอบ แต่เด็กกลมุ่ น้ีมีความสมารถทางสมองและสติปญั ญาอย่ใู นระดับปกตใิ นการทำข้อสอบ ใหจ้ ัดให้เดก็ เหล่าน้ีสอบในหอ้ งเฉพาะและให้มีกรรมการอำนวยความสะดวกในการระบายคำตอบหรือเขยี นคำตอบ ให้นกั เรียน โดยใหเ้ ด็กแต่ละคนอนข้อสอบตัวยตนองและบอกคำตอน ให้กรรมการช่วยเขียนคำตอบให้ กรณที ่ีมี เดก็ กลุม่ น้ีมากอาจใช้กรรมการคมุ สอบ 1 คนตอ่ เด็ก 3 - 5 คน และใหเ้ วลาทำขอ้ สอบเพิ่มขนึ้ รอ้ ยละ 30 จากเวลา ท่ีกำหนด แตห่ ากเด็กสามารถทำข้อสอบไดด้ ว้ ยตนเองโดยไม่ตอ้ งการ ความชว่ ยเหลอื ใดเป็นพศิ ษ ให้เด็กคนนน้ั สอบรวมกบั เด็กทวั่ ไป อนึง ควรจัดสนามสอบสำหรับเดก็ กลมุ่ น้ี ให้หมาะสม เชน่ ควรจดั อยู่ช้นั ลง่ ของอาคาร เพือ่ ความสะดวกในการใชเ้ ก้าอ้ีรถเขน็ 1.4.2) เด็กทีม่ ีความบกพร่องทางสุขภาพ ได้แก่ คนทม่ี ีความเจ็บปว่ ยเร้ือรังหรอื มี โรคประจำตวั และตอ้ งไดร้ บั การรกั ษาอย่างตอ่ เนอื่ ง เดก็ เหลา่ นี้หากสมารถทำข้อสอบได้ดว้ ยตนเอง ให้ทำข้อสอบด้วยตนเอง หากไมส่ ามารถทำข้อสอบไดด้ ้วยตนอง ให้กรรมการคุมสอบช่วยเขียนคำตอบให้ โดยเด็กเปน็ ผู้บอกคำตอบ ให้กรรมการเขยี น โดยเพิ่มวันในการทำข้อสอบให้ไดต้ ามความจำเป็นแต่ไมเ่ กิน ร้อยละ 30 จากเวลาทีก่ ำหนด 1.5) เด็กท่ีมีญหาทาการเรยี นรู้ หมายถึง เดก็ ที่มีความบกพรอ่ งอย่างใดอย่างหนึง่ หรอื หลายอย่าง เกี่ยวกบั ความเข้าใจหรือการใชภ้ าษา อาจเป็นภาษาพดู หรือภาษาเขยี น เด็กเหล่าน้สี ่วนใหญ่ กระจายอยู่ใน โรงเรียนท่วั ๆ ไป ในการจดั สอบต้องเปิดโอกาสให้เดก็ เหล่นี้มีโอกาสในการทำข้อสอบร่วมกบั เดก็ ทัว่ ไปด้วย โดย อาจจดั ให้มีกรรมการคุมสอบ เพ่ือช่วยควบคมุ และอำนวยความสะดวกเป็นการเฉพาะ พราะเด็กเหล่านี้ สามารถ บอกคำตอบท่ีถูกตอ้ งได้ แต่อาจไมส่ ามารถแสดงศกั ยภาพของตนเองด้านการเขยี นคำตอบได้ กรรมการคมุ สอบ
2424 ควรเขียนหรือระบายคำตอบใหเ้ ดก็ เหล่านี้ดว้ ย พราะเด็กเหล่าน้สี ามารถ บอกคำตอบได้ อนึ่งหากเด็กสามารถ ทำข้อสอบได้ด้วยตนเอง กใ็ ห้นกั เรยี นคนนัน้ ทำขอ้ สอบดว้ ยตนอง การเพ่มิ เวลาอาจพจิ ารณาตามความหมาะสม แตไ่ มเ่ กินรอ้ ยละ 30 ของเวลาทกี่ ำหนด 1.6) เด็กที่มคี วามบกพร่องทาการพูดและภาษา หมายถงึ คนท่มี ีความบกพร่องในเรื่อง ของการเปลง่ เสยี งพดู เชน่ เสียงผดิ ปกติ อัตราความเรว็ และจังหวะการพูดผดิ ปกติ หรือคนที่มคี วามบกพร่องในเรื่องความเขา้ ใจ หรอื การใช้ภาษาพูด การเขยี น และหรอื ระบบสญั ลักษณ์อื่นที่ใชใ้ นการติดต่อส่ือสาร ซ่ึงอาจเกย่ี วกับรปู แบบของ ภาษา เน้ือหาของภาษาและหนท้ ่ีของภาษา กรณนี ี้ ใหก้ รรมการคมุ สอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพ่ือไมเ่ ปน็ การรบกวนสมาธผิ ้อู น่ื แลเพ่มิ เวลาใการทำข้อสอบให้ตามแตก่ รณีโดยไมเ่ กินร้อยละ 30 ของเวลาท่ีกำหนด 1.7) เด็กที่มีปญั หาทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ หมายถงึ คนท่มี ีพฤติกรรมเบ่ยี งเบนไปจากปกติ เป็น อย่างมาก และปัญหาหาพฤติกรรมนน้ั เปน็ ไปอย่างตอ่ เนื่อง ไม่เป็นทีย่ อมรบั ทางสงั คม กรณีน้ี ใหก้ รรมการคมุ สอบ แยกการสอบออกมาเฉพาะ เพอื่ ไมเ่ ป็นการรบกวนสมาธผิ ู้อื่น และเพิ่มเวลาในการทำขอ้ สอบ ใหต้ ามแต่กรณี โดย ไม่เกินร้อยละ 30 ของเวลาที่กำหนด 1.8) เดก็ ออทิสติก หมายถงึ คนที่มีความบกพร่องทางพฒั นาการด้านสังคม ภาษาและ การสอื่ ความหมาย พฤติกรรม อารมณ์ และจินตนาการ เดก็ เหล่านม้ี ีความผิดปกติของระบบการทำงานของสมองบางสว่ น ทำใหเ้ ด็กเหลน่ มี้ ีความบกพร่องของพฒั นาการดา้ นภาษา ด้านสังคม และการมีปฏิสมั พนั ธ์ทางสงั คม มคี วามสนใจ เฉพาะเรอื่ งใดเรื่องหนึง่ เดก็ เหล่านี้อาจไม่มีสมาธิในการทำข้อสอบไดต้ ลอดการสอบ และหากเด็กสามารถควบคุม สมาธขิ องตนเองให้ทำข้อสอได้ ควรเปิดโอกาสให้เด็กเหล่าน้ีมีไอกาสในการทำขอ้ สอบได้ตามศกั ยภาพที่เขามี โดย ใหก้ รรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพ่ือไม่เป็นการรบกวน สมาธิผอู้ ่ืน และเพมิ่ เวลาในการทำข้อสอบ ให้ตามแต่กรณีโดยเกนิ ร้อยละ 30 ของวลาที่กำหนด หากเด็ก มศี ักยภาพในการทำข้อสอบไดเ้ พียงใด ให้ถือวา่ เปน็ ศักยภาพในการทำข้อสอบของเด็กคนน้ันแลว้ 1.9) บคุ คลพกิ ารซ้อน หมายถึง คนท่มี ีสภาพความบกพร่องหรือความพกิ ารมากกวา่ หน่ึงประเภท ในบคุ คลเดยี วกนั เชน่ คนปัญญาอ่อนท่ีสญู สยี การดย้ นิ เป็นตน้ กรณนี ใ้ี หก้ รรมการคุมสอบ แยกการสอบออกมา เฉพาะ เพื่อไม่เปน็ การรบกวนสมาธผิ ู้อน่ื และเพ่ิมเวลในการทำข้อสอบให้ตมแต่กรณี โดยไม่เกนิ รอ้ ยละ 30 ของ เวลาที่กำหนด (การพจิ รณใหเ้ ด็กท่ีมีความพิการซ้อนเข้าสอบนน้ั ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ จิ ของผู้บรหิ ารโรงเรยี นว่าควร ใหน้ กั เรียนเข้าสอบไดห้ รือไม่) 2. ขอ้ ปฏบิ ัตสิ ำหรบั การจดั สอบเด็กที่มีความต้องการจำเปน็ พเิ ศษ กรณีท่สี นามสอบเด็กท่ีมีความตอ้ งการจำเปน็ พิศษ ไดแ้ ก่ เด็กทีม่ ีความบกพร่องทางการได้ยนิ เด็กท่ี มีความบกพร่องทางการเห็น เดก็ ทมี่ ีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ เดก็ ที่มีความ บกพร่องทางการเรียนรู้ และเดก็ ออทิสติก ให้ดำเนินการ ดังนี้ 2.1 การจัดหอ้ งสอบของเด็กที่มคี วามต้องการจำเปน็ พเิ ศษ ระบบ NT Access จะดำเนินการจัดห้อง สอบ ดงั ตารางต่อไปน้ี
2525 ห้องสอบ ประเภทของเด็กมีความตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษ หอ้ งพเิ ศษ 1 - เด็กทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการได้ยิน (ใชแ้ บบทดสอบปกติ) - เด็กท่มี ีความบกพรอ่ งทางสติปญั ญา - เด็กที่มคี วามบกพร่องทางร่างกายหรอื สขุ ภาพ หอ้ งพเิ ศษ 2 - เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ (ใชแ้ บบทดสอบขยายอกั ษรและ - เดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการพูดและภาษา - เด็กท่มี คี วามบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ อักษรเบรลล)์ - เด็กออทสิ ตกิ - บุคคลพกิ ารซอ้ น - เด็กทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการมองเหน็ 2.2 เดก็ ทมี่ ีความต้องการจำเปน็ พิศษ รายงานตวั ท่ีห้องอำนวยการสอบประจำสนามสอบ เพอ่ื สอบถามข้อมูลเก่ยี วกับห้องสอบ (กรณีไม่ทราบข้อมูล) 2.3 ให้กรรมการคมุ สอบรับรายงานตัวผู้เข้าสอบที่มีความต้องการจำเปน็ พเิ ศษ โดยอำนวยความ สะดวกในการแจ้งห้องสอบและแจง้ รายละเอียดต่าง ๆ เกีย่ วกับการสอบ เชน่ ระเบยี บการเขา้ สอบ ตารางสอบ ให้กับผู้เขา้ สอบ เป็นต้น 2.4 ให้สนามสอบอำนวยความสะดวกให้กบั นกั เรียนกลมุ่ ดังกลำว ตามความเหมาะสม 3. หลกั ฐานทใ่ี ชแ้ นบประกอบสำหรบั เดก็ ท่ีมีความต้องการจำเปน็ พเิ ศษ ใหโ้ รงเรียนแตล่ ะแห่งทมี่ ีนกั เรียเป็นเด็กพเิ ศษ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ที่ต้องการเข้าสอบ แนบ หลกั ฐานยืนยนั สถานภาพของผเู้ รยี นไปยังศูนยส์ อบ ภายในวนั ท่ี 16 - 22 ธนั วาคม 2562 เพือ่ ทำการตรวจสอบ โดยมหี ลักฐาน ดงั ต่อไปนี้ 3.1) ใบรับรองแพทย/์ บตั รประจำตัวคนพิการ หรอื 3.2) หนงั สอื รบั รองที่ออกโดยสถานศกึ ษา ทล่ี งนามโดยผู้บริหารสถานศึกษา หรือ 3.3) รายช่ือนักเรยี นเด็กพิเศษ ช้ันประถศกึ ษาปที ี่ 3 ทีด่ าวนโหลดมาจกระบบบรหิ าร จดั การขอ้ มูล โรงเรียนเรยี นรวม (Special Education Technology : SET) ดังภาพ
2626
27 บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การ รายงานผลการประเมินคุณภาพผูเ้ รยี น (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2562 ของโรงเรียน ในศนู ย์เครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2 ดำเนินการตามลำดับ ดังน้ี 1. กลุ่มเปา้ หมาย 2. เคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมิน 3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 4. การวเิ คราะหข์ ้อมูล 5. สถติ ิทีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู กลมุ่ เป้าหมาย นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ทกุ คนและทุกโรงเรียนในศูนยเ์ ครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลำภู เขต 2 จำนวน 78 คน เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการประเมิน เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการประเมินครง้ั น้ี เปน็ แบบทดสอบปรนัย ชนดิ เลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก และ ชนดิ เขียน ตอบ จำนวน 2 ฉบบั ซ่ึงเป็นเครอื่ งมือมาตรฐานทพ่ี ัฒนาโดยสำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประกอบด้วย 1) แบบประเมนิ ความสามารถดา้ นคณิตศาสตร์ จำนวน 1 ฉบบั 30 ข้อ คะแนนเต็ม 100 คะแนน 2) แบบประเมนิ ความสามารถดา้ นภาษาไทย จำนวน 1 ฉบบั 30 ขอ้ คะแนนเตม็ 100 คะแนน ตวั อยา่ งเคร่อื งมือ 1) แบบทดสอบ เป็นแบบทดสอบท่ีพิมพ์ดว้ ยกระดาษปรู๊ฟ ขนาด 7.5 X 9.85 นว้ิ มีการปิดผนกึ เพ่ือป้องกนั การเปดิ อ่านด้วยกระดาษกาวแบบบาง (สามารถฉีกได้ง่าย) โดยแยกเปน็ 2 วิชา ได้แก่ ความสามารถ ดา้ น คณิตศาสตร์ และความสามารถดา้ นภาษาไทย
2828 2) กระดาษคำตอบ กระดาษคำตอบที่ใซ้ในการประเมินคุณภาพผูเ้ รียน (NT) ขั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีจำนวน 2 แผน่ ดังน้ี แผ่นที่ 1 กระดาษคำตอบวิชาความสามารถด้านคณิตศาสตร์ (สีฟ้า) แผน่ ท่ี 2 กระดาษคำตอบวชิ าความสามารถด้านภาษาไทย (สีเขยี ว) นอกจากน้ี ยังมีกระดาษคำตอบสำรอง (สสี ม้ ) จำนวนร้อยละ 5 ของกระดาษคำตอบทงั้ หมด กระดาษคำตอบประกอบดว้ ย 3 ส่วน ไดแ้ ก่ สว่ นที่ 1 ข้อมลู ผู้เขา้ สอบ (พิมพม์ าจากโรงพิมพ์) สว่ นท่ี 2 การตอบ ข้อสอบแบบเลอื กตอบ ผเู้ ข้าสอบจะเป็นผ้รู ะบายคำตอบ และส่วนท่ี 3 คะแนนแบบเขียนตอบ กรรมการตรวจ ขอ้ สอบเปน็ ผรู้ ะบายคะแนน ขอ้ สอบเลอื กตอบ ข้อมูลผเู้ รยี น ข้อสอบเลอื กตอบ (นักเรยี นเป็นผู้ระบาย) ข้อสอบเขยี นตอบ (ครผู ู้ตรวจข้อสอบเปน็ ผรู้ ะบาย) ผู้ตรวจ 2 คน ตรวจข้อสอบเด็ก 1 คน (ตดั สนิ ใจรว่ มกนั /ฉันทามติ)
2929 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การดำเนนิ การประเมินและการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ในการประเมินคุณภาพผ้เู รียน (NT) ชัน้ ประถมศกึ ษา ปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 มรี ายละเอยี ด ดังต่อไปนี้ 1. ภารกจิ ระดบั ศูนย์สอบ ศนู ย์สอบมีภาระหนา้ ที่และบทบาทท่สี ำคญั ท่ีสดุ ในการบริหารการทดสอบใหเ้ ปน็ ไปตาม มาตรฐาน การบรหิ ารการทดสอบ ซ่ึงได้รบั การกระจายอำนาจการบริหารจดั การมาจากสำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษา ชนั้ พ้ืนฐาน ทง้ั ในเรอื่ งของการวางแผนการจัดสอบ การตัดสินใจ การบริหารจัดการ และความรับผิดชอบ เพ่ือให้ การดำเนินงานการประเมินคุณภาพผเู้ รยี น (NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2562 มปี ระสทิ ธภิ าพและ มาตรฐานเดยี วกนั โดยมีภารกจิ สำคัญ ดังต่อไปน้ี 1.1 บทบาทของคณะกรรมการระดบั ศูนย์สอบ ประธานศนู ย์สอบ ได้แก่ ผูอ้ ำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา หรือ ศกึ ษาธิการ จังหวดั หรือท้องถนิ่ จังหวดั หรือผู้บงั คับบญั ชาของหนว่ ยงานท่ีเป็นศูนยส์ อบ หรอื ผ้ทู ่ไี ดร้ บั มอบหมาย มีหนา้ ที่ ดงั นี้ 1) ดำเนินการ ตามแนวปฏบิ ตั ิ ทสี่ ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานกำหนด โดย บริหารการประเมนิ ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการประเมิน 2) แต่งต้งั คณะกรรมการระดับศูนย์สอบ และคณะกรรมการระดบั สนามสอบ 3) ควบคุม กำกับ ติดตาม ให้การดำเนินการบริหารการจัดสอบระดับศูนย์สอบและสนามสอบ เปน็ ไปด้วยความเรยี บร้อย 4) พจิ ารณาตรวจสอบ ส่งั การ ตดิ ตาม กรณีทเ่ี กดิ ปัญหาในการบริหารการจดั สอบท้งั ระดับ ศูนย์สอบ และระดับสนามสอบ คณะกรรมการดำเนินการทดสอบ มหี น้าที่ ดังนี้ 1) ประสานงานการจัดสอบในดา้ นต่าง ๆ ระหวา่ งสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พ้นื ฐาน ศนู ยส์ อบและสนามสอบ 2) กำกับ และตดิ ตาม ใหส้ ถานศกึ ษาสง่ ข้อมูลห้องสอบ และข้อมูลผ้เู รยี นในระบบ NT Access (http://nt.obec.go.th) ใหค้ รบถ้วนและถูกตอ้ ง ภายในวนั เวลาทสี่ ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพืน้ ฐาน กำหนด 3) ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลหอ้ งสอบ และข้อมลู ผ้เู รยี น 4) ดำเนนิ การจัดสนามสอบในระบบ NT Access 5) ตรวจสอบและแก่ไขข้อมูลผเู้ รยี นที่มีสิทธิ์สอบผา่ นระบบ NT Access 6) ดูแลและประสานงานเร่ืองการนำสง่ ข้อมูลผู้มีสิทธิ์สอบในกรณตี ่าง ๆ 7) แตง่ ต้ังคณะกรรมการระดับศนู ย์สอบ และสนามสอบ 8) จัดประชมุ ชแ้ี จงคณะกรรมการที่เก่ยี วข้องกับการทดสอบท้ังระดบั ศนู ยส์ อบและระดบั สนามสอบ
3030 9) ประสานงานการรบั -สง่ แบบทดสอบจากสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ตามวนั เวลาท่กี ำหนด 10) บริหารการจัดสอบใหเ้ ป็นไปด้วยความเรยี บร้อย 11) รบั กระดาษคำตอบ และเอกสารประกอบการสอบจากสนามสอบ 12) ดำเนนิ การตรวจแบบทดสอบเขยี นตอบ ณ สถานที่ที่ศูนยส์ อบกำหนด 13) รวบรวมกระดาษคำตอบ พร้อมเอกสารประกอบการสอบจัดส่งใหก้ ับสำนกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 14) จัดทำรายงานผลการทดสอบระดับศนู ย์สอบ คณะกรรมการรับ-สง่ แบบทดสอบ เก็บรกั ษาแบบทดสอบ กระดาษคำตอบ และอปุ กรณ์ การสอบ มีหนา้ ท่ี ดังน้ี 1) จัดเตรียมสถานท่ีท่ีมีความปลอดภัย เหมาะสม เพ่ือใชใ้ นการเกบ็ รักษาแบบทดสอบและ กระดาษคำตอบ 2) ดแู ล รกั ษาแบบทดสอบและกระดาษคำตอบท่ีเก็บรกั ษาไวในท่ปี ลอดภัย 3) ควบคมุ ดแู ล กำกบั การขนสง่ แบบทดสอบและกระดาษคำตอบจากศูนยส์ อบไปยังสนาม สอบ 4) ควบคมุ ดูแล กำกบั การสง่ มอบกระดาษคำตอบ พร้อมเอกสารธุรการจากศูนยส์ อบไปยงั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน คณะกรรมการตรวจเยยี่ มสนามสอบ มหี น้าท่ี ดังน้ี มหี นา้ ที่ กำกับ ติดตาม และตรวจเยยี่ ม การดำเนนิ การจดั สอบ ของคณะกรรมการระดบั สนามสอบ ในระหวา่ งวนั ที่ 3-5 มนี าคม 2563 เพอื่ ใหก้ ารดำเนนิ การจัดสอบเป็นไปตามแนวปฏิบตั ิการจัดสอบ และมาตรฐานการทดสอบ คณะกรรมการตรวจเยี่ยมไม่ควรถา่ ยรปู ในห้องสอบและกระทำการใด ๆ ที่เป็น การรบกวนการดำเนินการสอบ คณะกรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบ ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถด้านภาษาไทย และดา้ นคณติ ศาสตร์ หรือเป็นครูผ้สู อนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 โดยกรรมการ 1 คน ต้องตรวจข้อสอบ ทัง้ 2 ด้าน และใช้กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบ 2 คน ตอ่ กระดาษคำตอบ 1 ฉบบั โดยให้คะแนน แบบฉนั ทามติรว่ มกนั ทัง้ นก้ี รรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบต้องมาจากตา่ งสถานศกึ ษาหรือต่างกลุ่มเครือข่าย เท่านัน้ โดยมีหน้าที่ ดงั นี้ 1) ศึกษาเกณฑ์การตรวจให้คะแนนในแต่ละวชิ าอยา่ งละเอียด 2) ตรวจขอ้ สอบเขยี นตอบแล้วระบายคะแนนลงในกระดาษคำตอบของผู้เรยี นแต่ละคน รวบรวมกระดาษคำตอบ และบรรจใุ ส่ซองกระดาษคำตอบพร้อมปิดผนึก ส่งคืนให้ศูนย์สอบ เพ่ือนำส่ง สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐานตอ่ ไป 2. ภารกิจของสนามสอบ ภารกจิ ของสนามสอบมีการดำเนินงานอยา่ งตอ่ เนื่อง ตัง้ แต่กอ่ นการสอบ ระหว่างการสอบ และหลัง การสอบ โดยมีรายละเอยี ด ดังต่อไปนี้
3131 1) ก่อนการสอบ 1.1) ประสานงานกบั ศนู ย์สอบ และดำเนนิ การตามคู่มอื การจดั สอบอย่างเคร่งครัด 1.2) เตรยี มความพร้อมก่อนการจดั สอบในส่วนของสถานที่สอบ ติดประกาศรายช่ือ ผู้เขา้ สอบ และสต๊ิกเกอร์ขอ้ มูลผ้เู ข้าสอบ 1.3) ประสานงานกับศนู ยส์ อบในกรณมี ผี ้เู ข้าสอบกรณีพิเศษ เพอ่ื ให้ศนู ยส์ อบไดเ้ พมิ่ ข้อมูลผู้เข้าสอบในระบบ NT Access 1.4) รบั ข้อสอบและกระดาษคำตอบจากศูนยส์ อบในเชา้ วันที่ 4 มีนาคม 2563 2) ระหวา่ งการสอบ 2.1) ดำเนินการจัดสอบภายในสนามสอบใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ มีความยตุ ธิ รรม โปรง่ ใส และ เปน็ ไปตามแนวปฏิบัติในคู่มือการประเมนิ คุณภาพผูเ้ รียน 2.2) รักษาผลประโยชน์ให้กับผ้เู ข้าสอบ โดยตรวจนบั จำนวนกระดาษคำตอบทุกฉบบั ของผู้เข้า สอบ เรียงตามลำดบั เลขทจี่ ากนอ้ ยไปหามาก และนำส่งศนู ย์สอบใหค้ รบถ้วน 3) หลงั การสอบ 3.1) สนามสอบมอบแบบทดสอบให้กับสถานศึกษาท่ีเข้าร่วมสอบ เพื่อนำไปใชใ้ ห้เกิด ประโยชน์ 3.2) สง่ มอบกระดาษคำตอบแบบเซยี นตอบ และกระดาษคำตอบแบบเลอื กตอบ พร้อมเอกสาร ธรุ การประจำสนามสอบให้ศนู ย์สอบต่อไป คณะกรรมการระดบั สนามสอบ คณะกรรมการระดบั สนามสอบ ประกอบด้วย 1) ประธานสนามสอบ ได้แก่ ประธานกล่มุ เครือข่าย หรอื ผู้อำนวยการสถานศึกษาที่เป็น สนามสอบ หรือผูท้ ่ีศูนยส์ อบพิจารณาแต่งต้งั ตามความเหมาะสม 2) กรรมการกลาง ได้แก่ ขา้ ราชการครู หรอื บคุ ลากรทางการศึกษา ปฏบิ ตั หิ นา้ ทีร่ ว่ มกบั ประธานสนามสอบในการบริหารจดั การสอบ โดยกำหนดให้มี 1 คน ต่อ 3 ห้องสอบ หากมีหอ้ งสอบไม่ถงึ 3 หอ้ งสอบ ไมต่ ้องแต่งตัง้ กรรมการกลาง ให้ประธานสนามสอบเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั หิ น้าท่ีเปน็ กรรมการกลางดว้ ย 3) กรรมการคุมสอบ ได้แก่ ข้าราชการครู หรอื บุคลากรทางการศึกษา หรือครอู ัตราจ้าง หรือพนักงานราชการ ซงึ่ ตอ้ งมาจากตา่ งโรงเรียน โดยกำหนดใหม้ ีกรรมการคุมสอบ 2 คน ตอ่ 1 ห้องสอบ 4) นกั การภารโรง ได้แก่ นกั การภารโรงของโรงเรียนทเี่ ปน็ สนามสอบ หรือโรงเรียน ในกลมุ่ เครอื ข่าย 5) กรรมการอื่น ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการดำเนนิ งานระดบั ศูนย์สอบพจิ ารณาแต่งตั้งกรรมการ เพมิ่ เติมไดต้ ามความเหมาะสม คุณสมบตั ิของกรรมการระดบั สนามสอบ 1) เปน็ ขา้ ราชการครู หรือบคุ ลากรทางการศึกษา หรอื พนกั งานราชการ หรอื ครูอัตราจา้ ง ทป่ี ฏิบัติหน้าทีใ่ นสถานศึกษา 2) มคี วามรับผิดชอบ
3232 3) ตรงต่อเวลา 4) เก็บรักษาความลบั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี 5) ปฏิบัตหิ น้าที่ตามคมู่ ือการประเมิน อย่างเคร่งครัด บทบาทของคณะกรรมการระดับสนามสอบ 1) ประธานสนามสอบ มหี นา้ ท่ี ดงั น้ี 1.1) ประสานงานกับศนู ยส์ อบและดำเนินการจดั สอบตามคู'มอื การประเมนิ ฯ อย่าง เครง่ ครัด 1.2) ประชุมคณะกรรมการระดบั สนามสอบก่อนสอบ เพื่อทำความเข้าใจเกยี่ วกับ กระบวนการจดั สอบ และข้ันตอนการดำเนินงานของกรรมการคมุ สอบ 1.3) เตรยี มความพร้อมของสถานทีส่ อบ กำกับ ติดตามการจดั หอ้ งสอบ การติดรายช่ือ ผู้มสี ิทธ์ิสอบ และเอกสารการสอบอ่นื ๆ ท่ปี ้ายประชาสัมพันธข์ องสนามสอบ และหน้าห้องสอบ 1.4) รับ-สง่ แบบทดสอบ และกระดาษคำตอบ ระหว่างศูนย์สอบ และสนามสอบ (ใน กรณที ่ีไม่สามารถไปด้วยตนเองได้ให้มอบหมายผู้แทนโดยใช้บนั ทึกมอบหมายผแู้ ทนเพื่อให้ศนู ย์สอบ เกบ็ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน) 1.5) เปิดกล่องบรรจแุ บบทดสอบในวนั สอบ ไมเ่ กิน 1 ชั่วโมงกอ่ นเวลาสอบ ต่อหนา้ ตัวแทนกรรมการคุมสอบ 1.6) อนุมัติให้ผูเ้ ขา้ สอบกรณีพเิ ศษ (Walk in) ที่ไมม่ ีเลขท่ีน่ังสอบ แลว้ บันทึกในแบบ รายงาน (สพฐ.5) 1 ฉบับ ต่อผเู้ รียน 1 คน เพ่อื รายงานให้ศูนยส์ อบทราบ 1.7) กำกบั ตดิ ตาม และตรวจสอบการจัดสอบภายในสนามสอบให้เปน็ ไปด้วย ความ เรียบร้อย มปี ระสิทธภิ าพ มคี วามยุติธรรม โปรง่ ใส และเป็นไปตาม แนวปฏิบัตทิ ี่กำหนดไวใ้ น คู่มือการประเมินฯ 1.8) สงั่ พักการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีในกรณีที่คณะกรรมการคุมสอบหรอื เจา้ หน้าที่ในสนามสอบ บกพร่องต่อหน้าทหี่ รือประพฤตปิ ฏบิ ัติตนไม่เหมาะสม และรายงานให้ศนู ยส์ อบทราบ 1.9) ตรวจสอบการบรรจกุ ระดาษคำตอบ ร่วมกับกรรมการกลางและตวั แทนกรรมการ คุมสอบ ให้ถกู ต้อง ครบถ้วน ตามแนวทางปฏบิ ตั ิทก่ี ำหนดไว้ในคู่มือการประเมินฯ 1.10) สรปุ ผลการดำเนินการจัดสอบระดบั สนามสอบ และรวบรวมเอกสารการจดั สอบ ได้แก่ ซองกระดาษคำตอบแบบเลือกตอบ (Package 2) ซองกระดาษคำตอบแบบเซยี นตอบ (Package 3) และ ซองเอกสารธุรการประจำสนามสอบ เพื่อนำส่งศนู ย์สอบต่อไป 2) กรรมการกลาง มหี นา้ ท่ี ดังน้ี 2.1) ปฏิบัติหน้าท่รี ่วมกบั ประธานสนามสอบในการประสานงานกับศนู ย์สอบ และ ดำเนนิ การตามคมู่ ือการประเมินฯ อย่างเครง่ ครัด 2.2) ศกึ ษาคมู่ ือการประเมินฯ สำหรบั สนามสอบ ใหช้ ัดเจน 2.3) จัดเตรียมซองแบบทดสอบและกระดาษคำตอบ (Package 1) และใบลงลายมอื ชื่อ ผู้เขา้ สอบ (สพฐ.2) เพ่ือมอบแก่กรรมการคมุ สอบก่อนเวลาสอบ
3333 2.4) ประสานงานกบั กรรมการคมุ สอบในการรบั -ส่งซองแบบทดสอบและกระดาษ คำตอบ (Package 1) และใบลงลายมือช่ือผู้เข้าสอบ (สพฐ.2) 2.5) หลงั เสร็จส้ินการสอบ ทำหน้าที่ในการตรวจนับจำนวนแบบทดสอบ และกระดาษ คำตอบทงั้ แบบเลือกตอบ และแบบเขียนตอบให้ครบถ้วนตามจำนวนที่ระบุในแบบ สพฐ.2 และ สพฐ..3 2.6) เม่อื ตรวจนับเสรจ็ แล้ว ใหน้ ำกระดาษคำตอบแบบเลอื กตอบบรรจุใส่ในซอง กระดาษคำตอบแบบเลอื กตอบ (Package 2) จำแนกซองละ 1 วชิ า ในการปิดผนกึ มีแนวทาง การดำเนินงาน ดังตอ่ ไปน้ี กรณที ี่ 1 การตรวจกระดาษคำตอบแบบเขียนตอบที่สนามสอบ เมอ่ื สนามสอบตรวจ และบนั ทึกคะแนนแล้ว ให้ปดี ผนกึ ซองกระดาษคำตอบแบบเลอื กตอบ (Package 2) กรณที ่ี 2 การตรวจกระดาษคำตอบแบบเขยี นตอบที่กลุ่มโรงเรียน/ศนู ย์สอบ สนาม สอบ ไมต่ ้องปีดผนึกซองกระดาษคำตอบแบบเลือกตอบ (Package 2) 2.7) บรรจุซองกระดาษคำตอบแบบเลอื กตอบ (Package 2) และกระดาษคำตอบ เขียน ตอบ บรรจุรวมกันไวใ้ นซองกระดาษคำตอบแบบเซียนตอบ (Package 3) ในวิชานน้ั ๆ แล้วให้ ประธานสนามสอบ เป็นผู้ปดิ ผนึกซองกระดาษคำตอบแบบเขียนตอบ (Package 3) พร้อมลงลายมือช่ือ บนรอยปิดผนึกซองให้ เรยี บร้อย ก่อนนำสง่ ศูนยส์ อบ 2.8) ตรวจรบั นบั จำนวนแบบทดสอบของแต่ละห้องสอบ และแต่ละวิชาใหค้ รบถ้วน มอบให้ประธานสนามสอบเก็บรักษาในทปี่ ลอดภัย ก่อนนำไปแจกจ่ายใหก้ ับสถานศกึ ษาทร่ี ่วมสอบ หลงั จาก การสอบเสรจ็ ลิน้ 2.9) รวบรวมเอกสารธรุ การประจำสนามสอบ ได้แก่ แบบ NT1 แบบ NT2 แบบ สพฐ..5 และแบบ สพฐ.6 ส่งมอบให้ประธานสนามสอบ เพ่ือนำส่งศูนยส์ อบตอ่ ไป 2.10) ปฏบิ ัตงิ านอน่ื ๆ ตามที่ประธานสนามสอบมอบหมาย 3) กรรมการคมุ สอบ 3.1) กำกับการดำเนินการสอบใหเ้ ป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย ให้มีความโปร่งใส ยุตธิ รรม มีประสิทธภิ าพ และปฏิบตั ิตามคมู่ ือการประเมนิ ฯ อย่างเคร่งครัด 3.2) ควบคมุ มิให้ผ้เู ขา้ สอบปฏบิ ตั ิผิดระเบียบ หรอื กระทำการทุจริตในระหว่างการสอบ 3.3) รายงานประธานสนามสอบ กรณสี งสัยวา่ จะมีการทุจริต หรือมกี ารทจุ ริตเกิดข้นึ 3.4) หา้ มบคุ คลที่ไม่มีสว่ นเก่ียวขอ้ งกับการคุมสอบเข้าในห้องสอบ 3.5) รักษาความลับของแบบทดสอบ โดยไม่ให้ถ่ายรูปแบบทดสอบเพ่อื เผยแพร่ 3.6) ตรวจสอบชื่อ-สกลุ ผเู้ รยี นใหต้ รงกับสต๊ิกเกอรข์ ้อมลู ผเู้ ข้าสอบ 3.7) ตรวจนับกระดาษคำตอบ และแบบทดสอบให้ถกู ต้องและครบถว้ น 3.8) ตรวจสอบการกรอกข้อมูล และการระบายทสี่ ่วนหวั ของกระดาษคำตอบ ใหถ้ กู ต้อง ครบถ้วน (เฉพาะกรณีเด็กเข้าสอบกรณีพิเศษ)
34 34 3.9) บรรจุกระดาษคำตอบใส่ซอง แล้วนำส่งทป่ี ระธานสนามสอบ โดยดำเนินการ แยกเปน็ 2 ส่วน ดงั น้ี 3.9.1) กระดาษคำตอบแบบเลือกตอบ เมอ่ื สอบเสรจ็ แต่ละวิชา ให้กรรมการ คุมสอบรวบรวมกระดาษคำตอบโดยเรียงลำดับตามเลขที่น้อยไปหามาก บรรจุลงในซองกระดาษคำตอบแบบ เลือกตอบ (Package 2) วชิ าละ 1 ซอง และดำเนินการ ดงั นี้ 1. นำใบเซน็ ช่อื ผเู้ ขา้ สอบ สพฐ.2 (สำหรับสง่ คนื สพฐ..) หมุ้ กระดาษคำตอบ และในกรณีที่มนี ักเรียน walk in ให้นำ สพฐ.ร (สำหรบั ส่งคนื สพฐ..) ใสใ่ นซองนดี้ ้วย 2. บรรจกุ ระดาษคำตอบเลือกตอบลงในซองกระดาษคำตอบเลอื กตอบ (Package 2) โดยไม่ต้องปิดผนึกซอง และนำซองนี้ไปบรรจุในซองกระดาษคำตอบแบบเซียนตอบ (Package 3) 3.9.2) กระดาษคำตอบแบบเขียนตอบ เมื่อสอบเสรจ็ แตล่ ะวิชา ให้กรรมการ คุมสอบ ฉีกตามรอยปรหุ น้าสุดท้ายของแบบทดลอบทกุ ฉบับ แลว้ รวบรวมกระดาษคำตอบแบบเขียนตอบ บรรจุ ในซองกระดาษคำตอบแบบเขียนตอบ (Package 3) โดยเรียงตามลำดบั เลขท่ีน้อยไปหามาก นำใบเซน็ ช่ือ ผูเ้ ข้า สอบ สพฐ.2 (สำหรับเก็บไวท้ ่ีศูนย์สอบ) ใส่ในซองน้ีดว้ ย โดยยังไม่ต้องปิดผนึกซอง และนำไปสง่ กรรมการกลาง 3.10) ใหก้ รรมการคุมสอบกรอกข้อมูลหนา้ ซองข้อสอบแบบเลอื กตอบ (Package 2) และซองกระดาษคำตอบแบบเขียนตอบ (Package 3) ให้ครบถว้ นพร้อมเซ็นชอื่ กรรมการคุมสอบทงั้ 2 คน 3.11) นำซองกระดาษคำตอบแบบเขียนตอบ (Package 3) ทไ่ี ดบ้ รรจุซอง กระดาษคำตอบแบบเลือกตอบ (Package 2) แลว้ ส่งมอบให้ประธานสนามสอบหรือกรรมการกลาง ทนั ทหี ลัง เสรจ็ สน้ิ การสอบในแตล่ ะวชิ า โดยให้มีตัวแทนกรรมการคุมสอบอยา่ งน้อย 1 คน รว่ มอยูเ่ ปน็ สกั ขพี ยาน เพื่อ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ครบถ้วนของกระดาษคำตอบท้ังแบบเลอื กตอบและแบบเขยี นตอบ 4) นกั การภารโรง 4.1) อำนวยความสะดวกแกก่ รรมการคุมสอบ โดยดำเนินการต่าง ๆ ตามทไ่ี ด้รบั การ รอ้ งขอ 4.2) จัดเตรียมสถานท่ีในการจัดการสอบใหเ้ รยี บร้อย ก่อนดำเนนิ การสอบและ จัดเตรยี ม สถานที่ในการติดเอกสารประชาสัมพนั ธ์ เอกสารท่ีเกีย่ วข้องกับการสอบใหเ้ รียบร้อย 4.3) ปฏิบตั งิ านอน่ื ใดตามที่ได้รบั มอบหมายจากประธานสนามสอบ 3. กำหนดการรับ-สง่ แบบทดสอบ กระดาษคำตอบและเฉลย การรบั -สง่ แบบทดสอบ กระดาษคำตอบและเฉลยในการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน (NT) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ดำเนนิ การ ดงั ตอ่ ไปน้ี
3535 ที่ กิจกรรม ช่วงเวลา 1 สพฐ. จัดส่งคมู่ อื การประเมินฯ และของเอกสารธรุ การประจำ 20 – 24 มกราคม 2563 สนามสอบ ไปยังศูนยส์ อบ โดยใหผ้ ู้แทนศูนยส์ อบเซน็ รบั เอกสาร ตามวนั เวลาท่ีนดั หมาย 2 สพฐ.จะสง่ กลอ่ งแบบทดสอบและกระดาษคำตอบ กล่องสง่ กระดาษ 24 - 27 กมุ ภาพันธ์ 2563 คำตอบกลับ โดยให้ผแู้ ทนศูนยส์ อบเซน็ รบั เอกสาร ตามวัน เวลา ท่นี ัดหมาย 3 สนามสอบมารับแบบทดสอบและกระดาษคำตอบท่ีศนู ย์สอบ โดย 4 มนี าคม 2563 (เชา้ ) แบบทดสอบสำรอง และกระดาษคำตอบสำรอง (ร้อยละ 5) จะถูก ส่งไปยังสนามสอบทุกแหง่ ซงึ่ จะถูกบรรจุไวในกล่องแรกของ ทกุ สนามสอบ 4 สพฐ. ส่งเฉลยข้อสอบเขยี นตอบของแตล่ ะวิชาทาง NT Access และ 4 มนี าคม 2563 Line application หลังจากการสอบแตล่ ะวชิ าเสร็จลิ้น 30 นาที (หลงั สอบเสร็จในแตล่ ะวชิ า) 5 สนามสอบเผยแพร่ (แจกจ่าย) แบบสอบใชส้ อบจรงิ แบบสอบสำรอง 4 มนี าคม 2563 เปน็ ตน้ ไป (ทีไ่ มไ่ ด้ใช)้ และกระดาษคำตอบสำรอง (ทีไ่ ม่ได้ใช้) ให้แก่ (หลงั สอบเสร็จ) สถานศึกษาที่เข้ารว่ มสอบในสนามต่าง ๆ 6 ศนู ย์สอบสง่ กระดาษคำตอบเลือกตอบกลับมายงั สำนกั งาน 9 - 13 มนี าคม 2563 คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน โดยผ้แู ทนศูนยส์ อบจะต้อง ส่งมอบกระดาษคำตอบให้กับบริษัทรบั ลง่ กระดาษคำตอบตามวัน และเวลาท่ีนัดหมาย 6 ศูนย์สอบเก็บรักษากระดาษคำตอบเซยี นตอบไว้ในศนู ยส์ อบ 14 มนี าคม 2563 ไมน่ ้อยกว่า 1 ปี 4. สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาหนองบวั ลำภู เขต 2 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนนิ การสอบ ประกอบดว้ ยคณะกรรมการ ดังต่อไปน้ี 1) คณะกรรมการศนู ย์ประสานการสอบ ได้แก่ รองผ้อู ำนวยการ และศึกษานิเทศก์ ประจำศูนย์ เครือข่าย 2) คณะกรรมการสนามสอบ ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน และกรรมการกำกบั ห้องสอบห้องละ 2 คน 3) จัดประชมุ ชแ้ี จงแนวปฏิบตั ิและอำนาจหนา้ ท่ขี องคณะกรรมการดำเนนิ การสอบ ตามแนวทาง การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษช้นั พ้ืนฐานเพื่อการประกน้ คุณภาพผ้เู รยี น ปกี ารศึกษา 2562 และระเบียบ กระทรวงศกึ ษาธิการ ว่าด้วยการปฏบิ ตั ขิ องผกู้ ำการสอบ พุทธศกั ราช 2548 4) ดำเนินการจดั สอบพร้อมกันท้ังเขตพน้ื ท่ีการศึกษา และออกตรวจเย่ียมสนามสอบ เพื่อกำกับ
3366 ติดตามการดำเนนิ การจัดสอบของแตล่ ะสนามสอบ โดยผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา รอง ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา ศึกษานิเทศก์ และเจา้ หน้าท่ีที่ไดร้ บั การแต่งต้ัง 5) ดำเนินการตรวจสอบขอ้ มูล วิเคราะห์ข้อมลู และสรุปผลการประเมินคุณภาพผู้เรยี น ตาม วตั ถปุ ระสงค์ของการประเมนิ การวเิ คราะห์ข้อมลู ในการประมนิ ความสมารถพื้นฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ ชั้นประถศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 คร้งั นี้ ดำเนนิ การวเิ คราะห์อมลู โดยสำนกั งานคณะกรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอรส์ ำเรจ็ รูป (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน, 2562) 1. การตดั สินระดบั คุณภาพในแตล่ ะความสามารถคะแนน NT ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2562 ตามเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ ช่วงคะแนนและคะแนนรอ้ ยละในแต่ละด้าน ระดบั คณุ ภาพ ดา้ นคณิตศาสตร์ ด้านภาษาไทย รวมทั้ง 2 ดา้ น คะแนน รอ้ ยละ คะแนน รอ้ ยละ คะแนน รอ้ ยละ ดมี าก 71 - 100 71 - 100 71 - 100 71 - 100 142 - 200 71 - 100 ดี 50 - 70.99 50 - 70.99 50 - 70.99 50 - 70.99 100 - 141.99 50 - 70.99 พอใช้ 27 - 49.99 27 - 49.99 31 - 49.99 31 - 49.99 58 - 99.99 29 - 49.99 ปรบั ปรงุ 0 - 26.99 0 - 26.99 0 - 30.99 0 - 30.99 0 - 57.99 0 - 28.99 2. การนำผลการวเิ คราะหจ์ ดั กล่มุ คุณภาพตามเกณฑ์ High 1 (H1) หมายถงึ กล่มุ ท่ีมคี ะแนนเฉลี่ยสูงกวา่ ระดบั ประเทศ และมสี ว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานนอ้ ย กว่าระดับประเทศ High 2 (H2) หมายถงึ กลุ่มที่มคี ะแนนเฉลยี่ สงู กว่าระดบั ประเทศ และมสี ว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน มากกว่าระดับประเทศ Low 1 (L1) หมายถงึ กลุม่ ที่มคี ะแนนเฉลีย่ ต่ำกวา่ ระดบั ประเทศ และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน น้อยกวา่ ระดับประเทศ Low 2 (L2) หมายถงึ กลุ่มท่ีมีคะแนนเฉลย่ี ต่ำกวา่ ระดับประเทศ และมสี ่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน มากกว่าระดับประเทศ 3. การกำหนดคะแนนกลมุ่ คุณภาพ และการแปลความหมาย ไดก้ ำหนดคะแนนแตล่ ะกลมุ่ คณุ ภาพ ดงั นี้ กลมุ่ คุณภาพ High 1 (H1) ให้คะแนนเทา่ กบั 4 คะแนน หมายถึง ดี กลุ่มคุณภาพ High 2 (H2) ให้คะแนนเทา่ กับ 3 คะแนน หมายถงึ พอใช้ กลุ่มคณุ ภาพ Low 1 (L1) ให้คะแนนเท่ากับ 2 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
3838 สถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล สถิตทิ ใี่ ชใ้ นการรายงานผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการศึกษา 2562 มีรายละเอยี ด ดงั นี้ 1. สตู รหาคา่ ร้อยละ (Percentage) เพือ่ ใชแ้ ปลความหมายผลการประเมนิ คุณภาพผูเ้ รยี น (NT) ปีการศึกษา 2562 เปน็ รายกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สตู ร P = f×n เม่ือ P n แทน ค่ารอ้ ยละ f แทน ความถท่ี ต่ี ้องการแปลงให้เปน็ ร้อยละ n แทน จำนวนความถท่ี งั้ หมด 2. สตู รค่าเฉล่ยี เลขคณิต (Arithmetic mean) เพื่อใชแ้ ปลความหมายของผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรียน (NT) ปกี ารศึกษา 2562 ในการหาผลรวมคา่ คะแนนรวม แต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เพื่อหาค่าคะแนนเฉล่ยี รวมแต่ ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้ สตู ร x̅ = ∑x เมอ่ื x̅ n แทน ค่าเฉลีย่ ∑ x แทน ผลรวมของข้อมลู ท้ังหมด n แทน จำนวนขอ้ มูล
39 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล รายงานผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน (NT) ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ในปีการศึกษา 2562 ของโรงเรยี น ในศนู ย์เครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลำภู เขต 2 นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น (NT) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ในปกี ารศึกษา 2562 ของโรงเรียน ในศนู ย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกตามความสามารถรายดา้ น ตอนที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 ในปีการศึกษา 2562 ของโรงเรยี น ในศูนย์เครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 จำแนกตามความสามารถรายมาตรฐานและรายตัวชว้ี ัด ตอนที่ 3 เปรยี บเทียบผลประเมินคุณภาพผ้เู รยี น (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ในปีการศึกษา 2562 ของ โรงเรียน ในศูนย์เครือขา่ ยพัฒนาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกตามกลมุ่ คุณภาพ ตอนที่ 1 ผลการประเมินคุณภาพผเู้ รยี น (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศกึ ษา 2562 ของโรงเรียน ในศนู ย์เครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกตามความสามารถรายด้าน ตารางที่ 1 วเิ คราะห์ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ในปีการศึกษา 2562 ค่ารอ้ ยละ และระดบั คุณภาพของโรงเรียน ในศูนย์เครอื ขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกตาม ความสามารถรายดา้ น โรงเรยี น ด้านคณติ ศาสตร์ ด้านภาษาไทย ความสามารถ รวม 2 ด้าน รอ้ ยละ ระดับคณุ ภาพ รอ้ ยละ ระดับคุณภาพ รอ้ ยละ ระดบั คุณภาพ บ้านฝั่งแดง 49.20 พอใช้ 40.53 พอใช้ 44.86 พอใช้ บา้ นแสงดาวโนนธาตุ 42.75 พอใช้ 36.70 พอใช้ 39.72 พอใช้ บ้านกา่ น 48.00 พอใช้ 39.65 พอใช้ 43.82 พอใช้ บา้ นเออ้ื งโนนไร่ฯ 50.77 ดี 50.11 ดี 50.44 ดี บา้ นซำเสี้ยว 62.66 ดี 47.33 พอใช้ 55.00 ดี บา้ นโนนงาม 49.66 พอใช้ 38.41 พอใช้ 44.04 พอใช้ บา้ นโนนตาล 27.00 พอใช้ 23.20 ปรับปรุง 25.10 ปรบั ปรงุ บา้ นนาหนองทุ่ม 62.00 ดี 53.33 ดี 57.66 ดี
4040 จากตารางที่ 1 ผลการประเมินคณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ในปีการศึกษา 2562 ค่ารอ้ ยละและระดับคุณภาพของโรงเรยี น ในศูนย์เครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 เมื่อพิจารณา ภาพรวมศนู ย์เครือข่ายพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานากลาง 4 พบว่า อยใู่ นระดับคุณภาพ ดี จำนวน 3 โรงเรียน ได้แก่ บา้ นเอื้องโนนไร่โนนสาวิทยา โรงเรียนบ้านโนนงาม และโรงเรยี นบา้ นนาหนองทุ่ม คิดเป็นร้อยละ 37.50 อยู่ในระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ จำนวน 1 โรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรียนบา้ นโนนตาล คดิ เปน็ ร้อยละ 12.50 นอกน้นั อยใู่ นระดับคณุ ภาพ พอใช้ จำนวน 4 โรงเรียน คดิ เป็นร้อยละ 50 เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายโรงเรียน เปน็ ดังน้ี โรงเรียนบ้านฝง่ั แดง มีความสามารถรวม 2 ดา้ น อยู่ในระดับคุณภาพ พอใช้ (รอ้ ยละ 44.86) เมื่อ พิจารณาเปน็ รายดา้ น พบวา่ ดา้ นคณติ ศาสตร์ (ร้อยละ 49.20) ด้านภาษาไทย (ร้อยละ 40.53) ตามลำดบั และทุกดา้ น อยู่ในระดับคณุ ภาพ พอใช้ โรงเรยี นบา้ นแสงดาวโนนธาตุ มีความสามารถรวม 2 ด้าน อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพ พอใช้ (ร้อยละ 39.72) เมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบว่า ด้านคณติ ศาสตร์ (ร้อยละ 42.75) ด้านภาษาไทย (ร้อยละ 36.70) ตามลำดับ และทกุ ด้าน อยู่ในระดับคณุ ภาพ พอใช้ โรงเรยี นบา้ นกา่ น มคี วามสามารถรวม 2 ด้าน อย่ใู นระดบั คุณภาพ พอใช้ (ร้อยละ 43.82) เมือ่ พิจารณา เป็นรายด้าน พบว่า ด้านคณิตศาสตร์ (ร้อยละ 48.00) ด้านภาษาไทย (ร้อยละ 39.69) ตามลำดับ และทุกดา้ น อยู่ในระดับคณุ ภาพ พอใช้ โรงเรียนบ้านเอื้องโนนไร่โนนสาวทิ ยา มคี วามสามารถรวม 2 ด้าน อยู่ในระดบั คุณภาพ ดี (รอ้ ยละ 50.44) เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบวา่ ด้านคณติ ศาสตร์ (ร้อยละ 50.77) ดา้ นภาษาไทย (ร้อยละ 50.11) ตามลำดบั และทกุ ด้าน อยู่ในระดับคุณภาพ ดี โรงเรยี นบา้ นซำเสี้ยว มคี วามสามารถรวม 2 ดา้ น อยู่ในระดบั คุณภาพ ดี (ร้อยละ 55.00) เมอ่ื พิจารณา เป็นรายด้าน พบว่า ด้านคณิตศาสตร์ (ร้อยละ 62.66) อยู่ในระดบั คุณภาพ ดี ดา้ นภาษาไทย (ร้อยละ 47.33) อยใู่ นระดับคณุ ภาพ พอใช้ ตามลำดบั โรงเรียนบา้ นโนนงาม มีความสามารถรวม 2 ด้าน อยู่ในระดบั คุณภาพ พอใช้ (รอ้ ยละ 44.04) เมื่อ พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบว่า ดา้ นคณิตศาสตร์ (รอ้ ยละ 49.66) ดา้ นภาษาไทย (ร้อยละ 38.41) ตามลำดบั และทุกด้าน อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ พอใช้ โรงเรยี นบ้านโนนตาล มคี วามสามารถรวม 2 ด้าน อยู่ในระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง (รอ้ ยละ 25.10) เมื่อ พิจารณาเปน็ รายด้าน พบว่า ดา้ นคณิตศาสตร์ (รอ้ ยละ 27.00) อยู่ในระดบั คุณภาพ พอใช้ และดา้ นภาษาไทย (รอ้ ยละ 23.20) อยู่ในระดับคุณภาพปรับปรุง ตามลำดับ โรงเรียนบ้านนาหนองทุ่ม มีความสามารถรวม 2 ด้าน อยู่ในระดับคุณภาพ ดี (ร้อยละ 57.66) เมื่อ พจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบวา่ ดา้ นคณติ ศาสตร์ (รอ้ ยละ 62.00) ด้านภาษาไทย (ร้อยละ 53.33) ตามลำดบั และทกุ ดา้ น อยู่ในระดับคณุ ภาพ ดี
4141 ตารางท่ี 2 จำนวนและร้อยละผลการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2562 ของโรงเรียน ในศนู ยเ์ ครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 จำแนกตามระดับคุณภาพ (รวมความสามารถ 2 ดา้ น) จำนวนและรอ้ ยละนกั เรยี น จำแนกตามระดบั คุณภาพ โรงเรยี น ดมี าก (ยกเวน้ เด็กพเิ ศษ และ Walk-in) ปรับปรุง ดี พอใช้ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ บ้านฝัง่ แดง 0 0.00 4 26.66 11 73.33 0 0.00 บ้านแสงดาวโนนธาตุ 1 4.16 4 16.66 14 58.33 5 20.83 บ้านก่าน 0 0.00 3 30.00 6 60.00 1 10.00 บา้ นเอื้องโนนไร่ฯ 1 11.11 4 44.44 2 22.22 2 22.22 บา้ นโนนงาม 0 0.00 5 83.33 1 16.66 0 0.00 บ้านซำเส้ยี ว 0 0.00 1 16.66 4 66.66 1 16.66 บ้านโนนตาล 0 0.00 0 0.00 1 20.00 4 80.00 บ้านนาหนองทุ่ม 0 0.00 3 100.00 0 0.00 0 0.00 จากตารางที่ 2 ผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี น (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ในปีการศึกษา 2562 ค่ารอ้ ยละและระดบั คุณภาพของโรงเรียน ในศนู ย์เครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 จำแนกตามระดบั คุณภาพ รวมความสามารถ 2 ด้าน เมอื่ พจิ ารณารายโรงเรียน เปน็ ดังน้ี โรงเรียนบา้ นฝ่ังแดง มีนกั เรียนอยู่ในระดับคณุ ภาพ พอใช้ จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 73.33 อยู่ใน ระดบั คุณภาพ ดมี าก จำนวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 20 และอยู่ในระดับคุณภาพ ดี จำนวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 6.66 ตามลำดับ โรงเรียนบา้ นแสงดาวโนนธาตุ มีนักเรยี นอย่ใู นระดบั คณุ ภาพ พอใช้ จำนวน 11 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 45.83 อย่ใู นระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง จำนวน 6 คน คดิ เป็นร้อยละ 25 อยู่ในระดับคุณภาพดมี าก จำนวน 4 คน คดิ เป็น ร้อยละ 16.66 และอยู่ในระดับคุณภาพ ดี จำนวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.50 ตามลำดับ โรงเรียนบ้านก่าน มนี ักเรียนอยใู่ นระดับคุณภาพ พอใช้ จำนวน 5 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 50.00 อยู่ในระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ จำนวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 30 และอยใู่ นระดับคุณภาพ ดี จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 20.00 ตามลำดับ โรงเรยี นบา้ นเออื้ งโนนไร่โนนสาวทิ ยา มีนกั เรียนอยู่ในระดับคุณภาพ ดี จำนวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33 อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ปรับปรงุ จำนวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 33.33 อย่ใู นระดบั คุณภาพดีมาก จำนวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 22.22 และอยู่ในระดับคุณภาพ พอใช้ จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 11.11 ตามลำดับ
4242 โรงเรียนบา้ นโนนงาม มีนกั เรียนอย่ใู นระดบั คุณภาพ ดี จำนวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 83.33 อยใู่ นระดับ คณุ ภาพ พอใช้ จำนวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16.66 ตามลำดบั โรงเรียนบ้านซำเสีย้ ว มนี ักเรยี นอยใู่ นระดับคุณภาพ พอใช้ จำนวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.66 อยูใ่ น ระดบั คุณภาพดี จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.66 อยู่ในระดบั คุณภาพ ปรับปรุง จำนวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 16.66 ตามลำดบั โรงเรยี นบ้านโนนตาล มนี ักเรยี นอยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรงุ จำนวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80 และ อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพพอใช้ จำนวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20 ตามลำดับ โรงเรยี นบ้านนาหนองทุ่ม มนี ักเรียนอยูใ่ นระดบั คุณภาพ ดี จำนวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละผลการประเมนิ คณุ ภาพผูเ้ รยี น (NT) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 ในปกี ารศึกษา 2562 ของโรงเรยี น ในศนู ยเ์ ครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 จำแนกตามระดบั คุณภาพ (ความสามารถดา้ นคณติ ศาสตร)์ โรงเรียน จำนวนและรอ้ ยละนักเรยี น จำแนกตามระดับคณุ ภาพ (ยกเวน้ เดก็ พเิ ศษ และ Walk-in) ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ บ้านฝั่งแดง 3 20.00 1 6.66 11 73.33 0 0.00 บ้านแสงดาวโนนธาตุ 4 16.66 3 12.5 11 45.83 6 25 บ้านกา่ น 1 10.00 4 40.00 3 30.00 2 20.00 บา้ นเอื้องโนนไร่ฯ 1 11.11 6 66.66 0 0.00 2 22.22 บา้ นโนนงาม 3 50.00 2 33.33 1 16.66 0 0.00 บ้านซำเส้ียว 0 0.00 4 66.66 2 33.33 0 0.00 บ้านโนนตาล 0 0 0 0 3 60 2 40 บา้ นนาหนองทุ่ม 1 33.33 2 66.66 0 0.00 0 0.00 จากตารางที่ 3 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ในปีการศึกษา 2562 ค่าร้อยละและระดบั คุณภาพของโรงเรยี น ในศูนย์เครอื ข่ายพัฒนาคุณภาพการศกึ ษานากลาง 4 จำแนกตามระดับ คุณภาพ ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ เม่ือพิจารณารายโรงเรียน เป็นดังน้ี โรงเรียนบา้ นฝ่ังแดง มีนกั เรยี นอยใู่ นระดบั คณุ ภาพ พอใช้ จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 73.33 อยู่ใน ระดบั คุณภาพ และอยู่ในระดับคุณภาพ ดี จำนวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 26.66 ตามลำดับ โรงเรียนบ้านแสงดาวโนนธาตุ มีนกั เรียนอยใู่ นระดบั คุณภาพ พอใช้ จำนวน 14 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 58.33 อยู่ในระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง จำนวน 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 20.83 อยใู่ นระดับคุณภาพ ดี จำนวน 4 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 16.66 และอยใู่ นระดับคณุ ภาพดีมาก จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.16 ตามลำดับ
4343 โรงเรยี นบา้ นก่าน มีนักเรียนอยู่ในระดับคุณภาพ พอใช้ จำนวน 6 คน คดิ เป็นร้อยละ 60.00 อยูใ่ นระดับ คุณภาพ ดี จำนวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 30.00 และอยู่ในระดบั คุณภาพ ปรับปรุง จำนวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 10 ตามลำดบั โรงเรียนบา้ นเออื้ งโนนไร่โนนสาวิทยา มนี ักเรยี นอยู่ในระดับคุณภาพ ดี จำนวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 44.44 อยใู่ นระดับคุณภาพ พอใช้ จำนวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 22.22 อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ปรับปรงุ จำนวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 22.22 และอยใู่ นระดบั คณุ ภาพดมี าก จำนวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 11.11 ตามลำดบั โรงเรยี นบ้านโนนงาม มนี กั เรียนอยูใ่ นระดบั คณุ ภาพ พอใช้ จำนวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 83.33 อยู่ใน ระดบั คุณภาพ ดี จำนวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16.66 ตามลำดับ โรงเรยี นบ้านซำเสีย้ ว มนี กั เรียนอยูใ่ นระดับคุณภาพดี จำนวน 4 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 66.66 อยู่ในระดบั คณุ ภาพ พอใช้ จำนวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.33 อยู่ในระดับคุณภาพ ดี จำนวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 16.66 ตามลำดบั โรงเรยี นบา้ นโนนตาล มีนักเรยี นอยู่ในระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 80 และ อยใู่ นระดบั คุณภาพพอใช้ จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 20 ตามลำดับ โรงเรียนบา้ นนาหนองทุ่ม มนี ักเรยี นอย่ใู นระดับคณุ ภาพดีมาก จำนวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.66 อยู่ใน ระดับคุณภาพ ดมี าก จำนวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 66.66 ตามลำดับ ตารางท่ี 4 จำนวนและร้อยละผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ในปีการศึกษา 2562 ของโรงเรยี น ในศนู ย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกตามระดบั คุณภาพ (ความสามารถดา้ นภาษาไทย) จำนวนและรอ้ ยละนักเรียน จำแนกตามระดับคุณภาพ โรงเรยี น ดมี าก (ยกเว้นเดก็ พิเศษ และ Walk-in) ปรบั ปรุง ดี พอใช้ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ บา้ นฝัง่ แดง 0 0.00 4 26.66 6 40.00 5 33.33 บา้ นแสงดาวโนนธาตุ 0 0 6 25 8 33.33 10 41.66 บ้านก่าน 0 0.00 2 20.00 5 50.00 3 30.00 บา้ นเอ้อื งโนนไรฯ่ 2 22.22 3 33.33 1 11.11 3 33.33 บ้านโนนงาม 0 0.00 1 16.66 5 83.33 0 0.00 บ้านซำเสี้ยว 0 0.00 1 16.66 3 50.00 2 33.33 บา้ นโนนตาล 0 0 0 0 1 20 4 80 บ้านนาหนองทุ่ม 0 0.00 3 100.00 0 0.00 0 0.00
444 จากตารางที่ 4 ผลการประเมินคณุ ภาพผ้เู รียน (NT) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ในปีการศึกษา 2562 ค่าร้อยละและระดับคุณภาพของโรงเรียน ในศนู ยเ์ ครอื ข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 จำแนกตามระดบั คุณภาพ ความสามารถด้านภาษาไทย เมอ่ื พิจารณารายโรงเรียน เป็นดังน้ี โรงเรยี นบ้านฝงั่ แดง มนี ักเรยี นอยใู่ นระดับคณุ ภาพ พอใช้ จำนวน 6 คน คดิ เป็นร้อยละ 40 อยู่ในระดบั คุณภาพ ปรับปรุง จำนวน 5 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33 และอยูใ่ นระดับคณุ ภาพ ดี จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 26.66 ตามลำดบั โรงเรยี นบ้านแสงดาวโนนธาตุ มนี กั เรยี นอยู่ในระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง จำนวน 10 คน คิดเปน็ ร้อยละ 41.66 อยู่ในระดบั คุณภาพ พอใช้ จำนวน 8 คน คิดเปน็ ร้อยละ 33.33 อยู่ในระดับคุณภาพดมี าก จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 ตามลำดับ โรงเรียนบ้านกา่ น มีนกั เรียนอยู่ในระดบั คุณภาพ ดี จำนวน 4 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 40.00 อยู่ในระดบั คณุ ภาพ พอใช้ จำนวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 30.00 อยู่ในระดบั คุณภาพ ปรับปรุง จำนวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20 และอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00 ตามลำดับ โรงเรยี นบ้านเอ้ืองโนนไรโ่ นนสาวทิ ยา มีนักเรียนอยู่ในระดับคณุ ภาพ ดี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 66.66 อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ปรับปรงุ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 22.22 และอยู่ในระดับคณุ ภาพดีมาก จำนวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 11.11 ตามลำดบั โรงเรยี นบา้ นโนนงาม มนี ักเรียนอยใู่ นระดบั คณุ ภาพดีมาก จำนวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50.00 อยู่ใน ระดับคุณภาพ ดี จำนวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33 จำนวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 16.66 ตามลำดบั โรงเรยี นบา้ นซำเส้ยี ว มนี ักเรียนอยใู่ นระดับคุณภาพดี จำนวน 4 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 66.66 อย่ใู นระดับ คุณภาพ พอใช้ จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 33.33 ตามลำดบั โรงเรยี นบา้ นโนนตาล มนี ักเรียนอยใู่ นระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง จำนวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 80 และอยู่ ในระดบั คุณภาพพอใช้ จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 20 ตามลำดบั โรงเรียนบ้านนาหนองทุ่ม มนี ักเรยี นอย่ใู นระดับคณุ ภาพดี จำนวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100
ตอนที่ 2 เปรียบเทียบผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รียน (NT) ชั้นประถมศึกษ การศกึ ษานากลาง 4 จำแนกตามความสามารถรายมาตรฐานและรายตัวชี้วดั ตารางที่ 5 เปรยี บเทียบผลการประเมินคุณภาพผเู้ รยี น (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ใน คะแนนรอ้ ยละและระดบั คุณภาพ จำแนกตามความสามารถรายมาตรฐาน มฐ./ตัวชีว้ ดั ฝ่ังแดง แสงดาวฯ ก่าน มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจถึง รอ้ ยละ ระดบั ร้อยละ ระดบั ร้อยละ ระดบั รอ้ ย คุณภาพ คณุ ภาพ คุณภาพ ความหลากหลายของการแสดง 66. จำนวนและการใช้จำนวนในชีวติ จรงิ 53.33 ดี 45.83 พอใช้ 60 ดี 44. ป.3/1 เขียนและอา่ นตัวเลขฮินดูอารบิก 60 ดี 45.83 พอใช้ 50 ดี 77. 50 ดี 45.83 พอใช้ 65 ดี ตวั เลขไทย และตัวหนงั สอื แสดงปรมิ าณของ สง่ิ ของหรอื จำนวนนบั ทไ่ี ม่เกินหนง่ึ แสนและ ศนู ย์ ป.3/2 เปรยี บเทยี บและเรยี ง ลำดบั จำนวนนับไม่,เกนิ หนงึ่ แสนและศนู ย์ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึง ผลทีเ่ กิดขึ้นจากการดำเนินการของ 37.86 พอใช้ 32 พอใช้ 38.4 พอใช้ 37. จำนวนและความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง การ 33.33 พอใช้ 26.38 ปรับปรงุ 36.66 พอใช้ 29. ดำเนินการตา่ ง ๆ และใชก้ ารดำเนินการ 40.41 พอใช้ 35.15 พอใช้ 39.37 พอใช้ 41. ในการแกป้ ัญหา ป.3/1 บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คณู หารระคนของจำนวนนับไม่เกนิ หนึ่งแสน และศูนย์ พรอ้ มทั้งตระหนกั ถงึ ความ สมเหตุสมผลของคำตอบ ป.3/2 วิเคราะห์และแสดงวธิ ีหาคำตอบ ของโจทยป์ ัญหาและโจทยป์ ัญหาระคนของ จำนวนนับไมเ่ กนิ หน่ึง แสนและศูนยพ์ ร้อมทง้ั ตระหนักถงึ ความ สมเหตุสมผลของคำตอบ และสรา้ งโจทย์ได้
ษาปีท่ี 3 ในปกี ารศึกษา 2562 ของโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพฒั นาคณุ ภาพ นปีการศึกษา 2562 ของโรงเรียน ในศูนย์เครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง 4 (ด้านคณิตศาสตร)์ เอ้อื งฯ โนนงาม ซำเสยี้ ว โนนตาล นาหนองทุ่ม ยละ ระดับ รอ้ ยละ ระดับ รอ้ ยละ ระดบั ร้อยละ ระดับ รอ้ ยละ ระดบั คณุ ภาพ คุณภาพ คุณภาพ คณุ ภาพ คณุ ภาพ .66 ดี 83.33 ดีมาก 72.22 ดีมาก 53.33 ดี 66.66 ดี .44 พอใช้ 83.33 ดมี าก 50 ดี 40 พอใช้ 100 ดีมาก .77 ดมี าก 83.33 ดีมาก 83.33 ดมี าก 60 ดี 50 ดี .33 พอใช้ 45.33 พอใช้ 48 พอใช้ 26.4 ปรับปรุง 37.33 พอใช้ .62 พอใช้ 38.88 พอใช้ 50 ดี 20 ปรับปรุง 22.22 ปรบั ปรงุ .66 พอใช้ 48.95 พอใช้ 46.87 พอใช้ 30 พอใช้ 45.83 พอใช้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277