หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ยว์ ทิ ยาคาร พุทธศกั ราช 256๕ ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 โรงเรยี นชุมชนประชาธปิ ัตย์วิทยาคาร สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา ปทมุ ธานี เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
คำนำ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ได้จัดทำหลักสตู รกลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ฉบับนี้ ซึ่งเป็นเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อเป็นเป้าหมายในการ พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน และกระบวนการจัดการเรยี นรู้ เพอื่ เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอน ให้ ตรง ตามมาตรฐานตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้ ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม โดย พจิ ารณา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) หลักสูตร สถานศึกษา โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร พทุ ธศักราช 2563 ซง่ึ มอี งคป์ ระกอบดังน้ี - วสิ ยั ทศั น์ หลักการ จุดหมาย - สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน - คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - คุณภาพผเู้ รยี น - ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง - รายวิชาที่เปิด - คำอธบิ ายรายวชิ า - สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้ - การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ คณะผจู้ ัดทำขอขอบคุณผู้ทม่ี ีส่วนร่วมในการพัฒนาและจดั ทำหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ฉบบั น้ี จนสำเรจ็ ลุล่วงเปน็ อยา่ งดี และหวังเป็นอยา่ งย่ิงว่าจะเกดิ ประโยชน์ต่อการจดั การ เรยี นรู้ใหก้ ับผู้เรยี นต่อไป กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม คณะผูจ้ ัดทำ
สารบญั หน้า คำนำ คำส่ังกระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ี สพฐ. 1239/2560 ลงวนั ท่ี 7 สิงหาคม 2560 เรือ่ ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวดั กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภมู ิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทำไมตอ้ งเรยี นสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1 เรยี นรู้อะไรในสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1 ลกั ษณะเฉพาะวิชา 2 วิสัยทัศน์ 2 สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น 3 คณุ ลักษณะสำคัญของผ้เู รยี น 4 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี นตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 5 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 6 คุณภาพผูเ้ รียน 7 ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง 9 สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 11 สาระที่ 2 หนา้ ทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการนำเนินชีวิตในสังคม 44 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ 62 สาระท่ี 3 ประวัตศิ าสตร์ 79 สาระท่ี 3 ภมู ศิ าสตร์ 108 โครงสร้างรายวชิ าและคำอธิบายรายวิชาระดับชั้นประถมศึกษา 111 โครงสรา้ งรายวิชาและคำอธิบายรายวิชาระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้น 124
โครงสร้างรายวิชาและคำอธิบายรายวิชาระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 143 การจัดการเรยี นรู้ 160 สอ่ื การเรียนรู้ 162 การวดั ผลและประเมินผล 163 อภธิ านศพั ท์ 168 คณะผู้จดั ทำ 193 บรรณานุกรม 194
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทำไมต้องเรยี นสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นมีความรู้ความเข้าใจ การดำรงชวี ิตของมนษุ ย์ ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คม การปรบั ตวั ตามสภาพแวดลอ้ ม การ จัดการทรัพยากรท่มี อี ย่อู ย่างจำกดั เข้าใจถึงการพฒั นาเปลีย่ นแปลงตามยคุ สมยั กาลเวลา ตามเหตปุ จั จยั ต่างๆ เกดิ ความเข้าใจในตนเองและผู้อน่ื มีความอดทน อดกลั้น ยอมรบั ในความแตกต่างและมี คุณธรรม สามารถนำความรู้ไป ปรบั ใช้ในการดำเนินชวี ติ เป็นพลเมืองดขี องประเทศและสงั คมโลก เรยี นร้อู ะไรในสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม กล่มุ สาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่รว่ มกนั ในสังคม ทม่ี คี วาม เชื่อม สัมพนั ธ์กนั และมีความแตกต่างกนั อยา่ งหลากหลาย เพ่อื ชว่ ยให้สามารถปรับตนเองกับบริบท สภาพแวดล้อม เป็น พลเมืองดี มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม โดยได้ ก าหนดสาระตา่ งๆไว้ ดงั น้ี • ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคดิ พน้ื ฐานเกีย่ วกับศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม หลักธรรม ของ พระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนบั ถือ การนำหลักธรรมคำสอนไปปฏบิ ตั ิในการพัฒนาตนเอง และการอยู่ ร่วมกัน อย่างสันตสิ ขุ เปน็ ผกู้ ระทำความดี มคี า่ นิยมท่ีดงี าม พฒั นาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบำเพญ็ ประโยชนต์ อ่ สังคมและ สว่ นรวม • หน้าท่ีพลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนินชีวติ ระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปัจจบุ ัน การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ ลกั ษณะและความสำคญั การเปน็ พลเมืองดี ความ แตกต่างและความหลากหลายทางวฒั นธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านยิ มดา้ น ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หนา้ ที่ เสรีภาพการดำเนินชวี ติ อย่างสนั ติสุขใน สงั คมไทยและสังคมโลก • เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจา่ ย และการบรโิ ภคสินค้าและบรกิ าร การบริหารจัดการ ทรัพยากรทม่ี ีอยู่ อย่างจำกดั อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ การดำรงชวี ิตอยา่ งมีดลุ ยภาพ และการนำหลกั เศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ้ น ชวี ิตประจำวัน • ประวัติศาสตร์ เวลาและยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ วิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ พัฒนาการของมนุษยชาตจิ าก อดตี ถงึ ปจั จบุ ัน ความสัมพันธแ์ ละเปลย่ี นแปลงของเหตุการณ์ตา่ งๆ ผลกระทบท่ีเกิดจาก เหตุการณ์สำคญั ในอดีต บุคคลสำคญั ทมี่ อี ิทธพิ ลตอ่ การเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดตี ความเป็นมาของชาตไิ ทย วฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาไทย แหลง่ อารยธรรมทส่ี ำคญั ของโลก • ภูมศิ าสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพ แหลง่ ทรพั ยากร และภมู อิ ากาศ ของ ประเทศไทย และภมู ิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนท่ีและเครอื่ งมือทางภูมิศาสตร์ ความสมั พนั ธก์ ันของ สิ่งต่างๆ ใน
ระบบธรรมชาติ การเช่ือมโยงระหว่างกัน ความสัมพนั ธข์ องมนษุ ย์กบั สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ และสิ่งท่มี นุษย์ สรา้ งขึ้น การนำเสนอข้อมลู ภมู สิ ารสนเทศ การอนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ มเพ่ือการพัฒนาท่ยี ั่งยนื ลกั ษณะเฉพาะ / ธรรมชาตวิ ิชา สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม เปน็ วชิ าทเ่ี ก่ยี วกบั ความสัมพันธร์ ะหวา่ งมนุษยก์ ับ ส่งิ แวดลอ้ ม ประกอบด้วยเรอ่ื ง ราวเกีย่ วกบั ภมู ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หน้าทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม การ ดำเนนิ ชวี ติ รวมถึงศาสนา ศีลธรรม และจรยิ ธรรม วิชาสงั คมศึกษาจึงช่วยให้ผเู้ รยี นมคี วามรู้ความเข้าใจวา่ มนษุ ย์ ดำรงชีวิตอยา่ งไร และเข้าใจถงึ การพฒั นา การเปล่ยี นแปลงตามยุคสมยั ตามกาลเวลา ตามเหตปุ ัจจยั ตา่ งๆ ทำใหเ้ กิด ความเข้าใจในตนเองและเข้าใจผู้อ่นื ยอมรบั ในความแตกต่าง มีคุณธรรม มีความอดทน อดกลัน้ สามารถนำความรู้ไป ปรบั ใช้ในการดำเนินชวี ิต มคี ุณภาพชีวติ ท่ีดี อยใู่ นสังคมอย่างเป็นสุข เป็นพลเมอื งดีของประเทศชาติและสังคมโลก อนั เป็นเปา้ หมายทแ่ี ท้จริงของการเรียนวิชาสังคมศึกษา ความสำเร็จของการเรยี นสาระสังคมศกึ ษา ศาสนา และ วฒั นธรรม คือ การท่ผี ู้เรียนเข้าใจ และนำมาใช้ในการดำเนนิ ชวี ิต ประจำวันได้ ให้เปน็ ชวี ติ ที่ดงี ามและชว่ ยสร้างสรรค์ สงั คม ดังนั้น การจดั การเรยี นการสอนสงั คมจงึ เชื่อมโยงให้เดก็ เรยี นรู้การใชช้ วี ติ ท่ีถกู ต้อง อยอู่ ยา่ งมคี วามสุข โดยเรยี น ผา่ นสถานการณ์จรงิ ที่เกดิ ข้นึ ในหอ้ งหรอื ในโรงเรยี น หรอื วิเคราะหจ์ ากตัวอย่างสถานการณ์ทีเ่ ปน็ จริงในสงั คม เพอื่ ให้ เดก็ ฝกึ คิดวิเคราะห์ รู้ทนั การเปลี่ยนแปลง รู้จกั ตวั เอง สามารถจัดการชวี ิตของตวั เอง และมีวถิ ชี วี ติ รว่ มกบั ผ้อู ่ืนได้อยา่ ง มีความสุข วิสัยทัศน์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษาศาสนา และวฒั นธรรม ชว่ ยให้ผ้เู รียนมีความรู้ ความเข้าใจ การ ดำรงชวี ติ ของมนษุ ย์ ทัง้ ในฐานะปจั เจกบุคคล การอยู่รว่ มกันในสงั คม การปรบั ตวั ตามสภาพแวดลอ้ มการ จัดการ ทรัพยากรที่มอี ยู่อย่างจำกัด เข้าใจถึงการพฒั นา เปล่ียนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปจั จัย ต่างๆ เกดิ ความ เขา้ ใจในตนเองและผอู้ น่ื มีความอดทน อดกลน้ั ยอมรบั ในความแตกต่างและมคี ุณธรรม สามารถนำความรไู้ ปปรับใช้ ในการดำเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
สมรรถะสำคญั ของผ้เู รียน และคุณลกั ษณะอันพึง่ ประสงค์ สมรรถะสำคญั ของผู้เรยี น กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม่งุ พฒั นาผเู้ รียนตามหลักสตู รแกนกลาง การศึกษา ขน้ั พน้ื ฐานม่งุ เนน้ พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานท่กี ำหนด ซึ่งจะช่วยให้ผูเ้ รยี นเกดิ สมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการส่อื สาร เป็นความสามารถในการรบั และส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอด ความคดิ ความรู้ความเขา้ ใจ ความร้สู กึ และทัศนะของตนเองเพ่อื แลกเปลยี่ นขอ้ มลู ข่าวสาร และประสบการณอ์ ันจะ เปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเองและสังคม รวมทัง้ การเจรจาต่อรองเพอื่ ขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การ เลอื กรบั หรือไม่รับขอ้ มูลข่าวสารด้วยหลกั เหตุผลและความ ถูกต้อง ตลอดจนการเลอื กใช้วธิ กี ารสอื่ สารที่มี ประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่มี ีตอ่ ตนเองและ สังคม 2. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคดิ อย่าง สรา้ งสรรค์ การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพอ่ื นำไปสู่การสร้างองคค์ วามรหู้ รือ สารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจ เกย่ี วกบั ตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่เี ผชิญได้อย่าง ถกู ต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลักเหตุผล คณุ ธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เขา้ ใจ ความสัมพันธแ์ ละการเปลย่ี นแปลง ของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรูม้ า ใช้ในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหา และมกี าร ตัดสินใจทีม่ ีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ตอ่ ตนเอง สงั คมและส่งิ แวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต เป็นความสามารถในการน ากระบวนการตา่ ง ๆ ไปใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนร้อู ย่างตอ่ เนอ่ื งการทำงาน และการอยู่ร่วมกนั ในสังคมดว้ ยการสร้าง เสริมความสัมพันธอ์ ันดีระหว่างบคุ คล การจดั การปญั หาและความขดั แย้งตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กับ การเปลีย่ นแปลงของสังคมและความขดั แยง้ ต่าง ๆ อยา่ ง เหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กบั การเปล่ยี นแปลงของสังคม และสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลยี่ ง พฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ท่ีส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพฒั นาตนเองและสงั คมในดา้ นการเรียนรู้ การสอื่ สาร การทำงาน การ แก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมีคุณธรรม
คุณลักษณะอันพง่ึ ประสงค์ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม มุ่งพฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี ณุ ลกั ษณะอันพึง ประสงค์ เพือ่ ใหส้ ามารถอย่รู ว่ มกบั ผอู้ ่นื ในสังคมได้อยา่ งมคี วามสขุ ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทย และพลโลก ตามหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ตัวชว้ี ัด 1.1 เปน็ พลเมืองดีของชาติ 1.2 ธำรงไวซ้ ึ่งความเปน็ ชาตไิ ทย 1.3 ศรัทธา ยดึ ม่นั และปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ของศาสนา 1.4 เคารพเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษัตริย์ 2. ซอ่ื สัตย์สจุ รติ ตวั ชี้วัด 2.1 ประพฤตติ รงตามความเป็นจรงิ ต่อตนเองท้ังทางกาย วาจา ใจ 2.2 ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงตอ่ ผูอ้ นื่ ท้ังทางกาย วาจา ใจ 3. มีวนิ ยั ตวั ชว้ี ัด 3.1 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคบั ของครอบครัว โรงเรยี น และสงั คม 4. ใฝเ่ รยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด 4.1 ตง้ั ใจ เพยี รพยายามในการเรยี น และเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนร้ตู ่างๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ดว้ ยการเลอื ก ใช้สื่ออยา่ งเหมาะสม บนั ทกึ ความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองคค์ วามรู้ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ และนำไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ 5. อยอู่ ย่างพอเพียง ตวั ชี้วดั 5.1 ดำเนินชีวติ อย่างพอประมาณ มเี หตผุ ล รอบคอบ มคี ุณธรรม 5.2 มภี มู ิคุม้ กนั ในตัวท่ีดี ปรบั ตัวเพอื่ อยู่ในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข 6. มุ่งมัน่ ในการทำงาน ตัวชว้ี ดั 6.1 ตง้ั ใจและรบั ผิดชอบในการปฏิบตั ิหนา้ ที่การงาน 6.2 ทำงานดว้ ยความเพยี รพยายาม และอดทนเพือ่ ใหง้ านสำเรจ็ ตามเปา้ หมาย 7. รกั ความเป็นไทย ตัวชว้ี ดั 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรมไทย และมีความกตญั ญู กตเวที 7.2 เหน็ คุณค่าและใชภ้ าษาไทยในการสือ่ สารได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม 7.3 อนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาไทย 8. มีจิตสาธารณะ ตวั ชี้วัด 8.1 ชว่ ยเหลือผู้อน่ื ดว้ ยความเต็มใจและพงึ พอใจโดยไมห่ วงั ผลตอบแทน 8.2 เข้ารว่ มกจิ กรรมทีเ่ ป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรียน ชุมชน และสงั คม
คณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องผูเ้ รียนตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง การจดั การศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ บทบาทหน้าท่ีทตี่ ้องร่วมมือกนั ระหว่างหนว่ ยงาน ทางการศึกษา สงั คม ชมุ ชน และครอบครวั เพื่อเสรมิ สรา้ งแลพัฒนาพรอ้ มรบั กระแสโลกาภิวตั นแ์ ละเป็นแบบอยา่ งทีด่ ี สเู่ ปา้ หมายที่สำคัญ คอื คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ “อย่อู ย่างพอเพียง” ดงั ต่อไปนี้ 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและตระหนักในความสำคญั ของการดำเนินชวี ิตตาม แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ดงั นี้ 1.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการดำเนินชีวิตตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 1.2 มีความรู้ ความเข้าใจปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเช่อื มโยงกบั ระบบเศรษฐกจิ ได้ 1.3 เห็นประโยชน์และตระหนกั ในความสำคญั ของการดำเนินชวี ิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพฒั นาตนเอง บคุ คลอนื่ สถานศึกษา ชมุ ชน และสงั คม โดยรวม 2. มีความร้แู ละทักษะพ้ืนฐานในการดำเนนิ ชีวติ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.1 มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิตและพฒั นาอาชพี ทเี่ หมาะสมกบั ศกั ยภาพของแต่ ละบุคคล สอดคล้องกับภมู ิสงั คมตา่ งๆ เชน่ การผลติ จำหนา่ ยสนิ คา้ การใหบ้ รกิ าร การดำเนนิ ธุรกิจขนาดตา่ งๆ การใช้จา่ ย การออม และการเกษตร เป็นต้น เพ่อื ให้สามารถหาเลยี้ งตนเองและครอบครัวได้ 2.2 มีทักษะ ค่านิยม และจริยธรรมเบื้องต้นท่ีจำเป็นในการอยู่รวมกบั ผอู้ ืน่ ในสงั คมอย่างเอ้ือเฟอื้ เพื่อแผ่เก้อื กลู ไม่เบียดเบียน นำไปสู่ความสันติสุข และรู้รกั สามัคคี 2.3 ใช้และพฒั นาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สดุ และมีความสขุ ที่ยัง่ ยืน 3. ปฏิบตั ิตนและดำเนินชวี ิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดังนี้ 3.1 ปฏิบัติตนให้มีความพอประมาณ รู้จักประมาณตน ร้ศู ักยภาพของตน และรจู้ ักรักษา สภาพแวดล้อม ของชมุ ชน/สังคมทีอ่ าศยั อยู่ 3.2 ปฏบิ ัติตน อยา่ งมเี หตุผล บนพื้นฐานของความถูกต้อง โดยใช้สตปิ ญั ญาในการคดิ ก่อนพดู และ ทำโดยยดึ ทางสายกลางในการปฏิบัติ 3.3 มีภมู ิคมุ้ กันในตัวทด่ี ี พรอ้ มรับผลกระทบท่เี กิดจากการเปล่ียนแปลงท้งั ภายนอกและภายใน 3.4 มคี วามรอบรใู้ นเร่ืองทีเ่ กย่ี วข้อง สามารถคดิ วิเคราะห์และปฏบิ ัติดว้ ยความรอบครอบและ ระมดั ระวงั 3.5 ปฏบิ ตั ติ นและดำเนนิ ชวี ิต ดว้ ยความซอ่ื สัตย์ สุจรติ อดทน ขยนั หมั่นเพยี ร แบง่ ปนั มสี ติ ปัญญา วินัย พง่ึ ตนเอง เออื้ เฟอ้ื เผื่อแผ่ เกื้อกูล รับผดิ ชอบ และอยู่รวมกบั ผ้อู ่นื ได้อยา่ งมคี วามสขุ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รูแ้ ละเข้าใจประวตั ิ ความสำคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาทต่ี น นบั ถอื และศาสนาอ่ืน มีศรทั ธาที่ถูกต้อง ยดึ มน่ั และปฏิบัตติ ามหลักธรรม เพอื่ อยรู่ ่วมกันอย่างสนั ตสิ ขุ มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนกิ ชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนบั ถอื สาระท่ี 2 หน้าทพี่ ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวติ ในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ทข่ี องการเปน็ พลเมอื งดี มีคา่ นิยมท่ีดงี าม และ ธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่รว่ มกนั ในสงั คมไทย และ สงั คมโลกอย่างสนั ตสิ ุข มาตรฐาน ส 2.2 เขา้ ใจระบบการเมอื งการปกครองในสงั คมปัจจุบัน ยึดมนั่ ศรัทธา และธำรงรกั ษาไว้ซึ่ง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ทรพั ยากรที่ มอี ยูจ่ ำกัดได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและค้มุ คา่ รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อการดำรงชีวติ อย่างมี ดลุ ยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เขา้ ใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ ความสมั พันธ์ทางเศรษฐกจิ และความ จำเป็นของการรว่ มมือกนั ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ ๔ ประวัตศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วธิ ีการ ทางประวัตศิ าสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณต์ ่างๆ อยา่ งเปน็ ระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาตจิ ากอดีตจนถงึ ปจั จุบัน ในด้านความสัมพนั ธแ์ ละการ เปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณอ์ ยา่ งต่อเน่อื ง ตระหนกั ถงึ ความสำคญั และสามารถ วเิ คราะห์ผลกระทบทเ่ี กดิ ข้นึ มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาตไิ ทย วัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาไทย มีความรกั ความภมู ใิ จและ ธำรงความเปน็ ไทย สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เขา้ ใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พันธ์ของสรรพสิง่ ซง่ึ มผี ลต่อกนั ใชแ้ ผนที่ และเครอื่ งมอื ทางภูมิศาสตร์ในการค้นหาวเิ คราะห์และสรปุ ข้อมูลตาม กระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิ สารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งมนุษย์กับสงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพทก่ี ่อให้เกิด การสรา้ งสรรค์วถิ ี การดำเนินชวี ิต มีจิตสำนกึ และมีส่วนรว่ มในการจัดการทรัพยากร และส่งิ แวดล้อมเพือ่ การพฒั นาที่ยง่ั ยนื
คุณภาพผเู้ รยี น รายวิชาพืน้ ฐาน จบช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ⦁ มีความรเู้ รื่องเกี่ยวกับตนเองและผู้ที่อยู่รอบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถ่ินที่อย่อู าศัย และเชื่อมโยงประสบการณไ์ ปสู่โลกกว้าง ⦁ มีทักษะกระบวนการและมีข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาให้เป็นผู้มีคุณธรรจริยธรรมประพฤติ ปฏิบัติตามหลกั คำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็นพลเมอื งดี มีความรับผิดชอบการอยู่ร่วมกันและการทำงาน กับผู้อ่ืน มีส่วนร่วมในกิจกรรมของห้องเรียน และได้ฝึกหัดในการตัดสินใจ ⦁ มีความรู้เรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนในลักษณะการบูรณาการ ผู้เรียน ได้เข้าใจ แนวคิดเก่ียวกับปัจจุบันและอดีต มีความรู้พื้นฐานทางเศรษฐกิจได้ขอ้ คิดเก่ียวกับรายรับ- รายจ่ายของครอบครัว เข้าใจ ถึงการเป็นผู้ผลิต ผู้บริโภค รู้จักการออมขั้นต้นและวิธีการเศรษฐกิจ พอเพยี ง ⦁ รู้และเข้าใจในแนวคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าท่พี ลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภมู ิศาสตร์ เพือ่ เป็นพ้ืนฐานในการทำความเข้าใจในขั้นสูงต่อไป จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ⦁ มีความรเู้ ร่ืองของจงั หวัด ภาคและประเทศของตนเอง ทั้งเชิงประวัติศาสตร์ ลักษณะทาง กายภาพ สงั คม ประเพณีและวัฒนธรรม รวมทั้งการเมืองการปกครอง และสภาพเศรษฐกิจโดย เน้นความเป็นประเทศไทย ⦁ มีความรู้แลความเข้าใจในเรื่องศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามหลักคำสอนของศาสนาที่ ตนนับ ถือ รวมทั้งมีส่วนรว่ มศาสนพธิ ีและพิธีกรรมทางศาสนามากย่ิงข้ึน ⦁ ปฏิบัตติ นตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ หน้าทใ่ี นฐานะพลเมืองดีของท้องถ่ิน จังหวัด ภาค และ ประเทศ รวมท้ังได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมของทอ้ งถิ่น ตนเองมากยิ่งขึ้น จบชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ⦁ มีความรูเ้ ก่ียวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศในภมู ิภาค ต่าง ๆ ในโลก เพอ่ื พัฒนาแนวคิดเร่ืองการอยูร่ ่วมกันอย่างสันติสุข ⦁ มีทักษะท่ีจำเป็นต่อการเป็นนักคิดอย่างมวี ิจารณญาณ ได้รับการพัฒนาแนวคิดและขยาย ประสบการณ์ เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชีย โอเชยี เนยี แอฟริกา ยุโรป อเมรกิ า เหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมือง การปกครอง ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์และสังคมศาสตร์ ⦁ รู้และเข้าใจแนวคิดและวเิ คราะหเ์ หตุการณใ์ นอนาคตสามารถนำมาใชเ้ ป็นประโยชน์ในการดำเนินชีวิต และ วางแผนการดำเนินงานได้อย่างเหมาะสม จบชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ⦁ มีความรู้เกี่ยวกับความเป็นไปของโลกอย่างกว้างขวางและลึกซ้ึงยิง่ ข้ึน ⦁ เป็นพลเมืองท่ีดี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ มีค่านิยมอัน พงึ ประสงค์ สามารถอยูร่ ่วมกับผู้อ่ืนและอยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุข รวมทั้งมีศักยภาพเพื่อ การศึกษาต่อในชั้นสูงตาม ความประสงค์ได้ ⦁ มีความรเู้ ร่ืองภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาตไิ ทย ยึดมั่นในวิถีชีวติ และ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยเ์ ป็นประมุข ⦁ มีนิสัยที่ดีในการบริโภค เลอื กและตัดสินใจบริโภคได้อย่างเหมาะสม มีจิตสำนึกและมีส่วนรว่ มใน การ อนรุ ักษ์ประเพณวี ัฒนธรรมไทยและส่งิ แวดล้อม มีความรักท้องถ่ินและประเทศชาติมุ่งทำ ประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดงี าม ใหก้ ับสังคมมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ชี้นำตนเองได้ และสามารถแสวงหาความรู้ จาก แหลง่ การเรียนรู้ต่างๆ ในสังคมได้ตลอดชวี ิต
ตัวชวี้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวตั ิ ความสำคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนับ ถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดม่ัน และปฏบิ ัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.1 1. บอกพุทธประวตั ิ หรือประวตั ขิ องศาสดาท่ี พทุ ธประวตั โิ ดยยอ่ ตนนบั ถือโดยสังเขป - ประสูติ - ตรสั รู้ - ปรินิพพาน 2. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชวี ิต พุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เร่อื งเล่า - สามเณรบณั ฑิต และศาสนิกชนตัวอย่างตามทกี่ ำหนด ชาดก - วณั ณุปถชาดก - สวุ รรณสามชาดก ศาสนกิ ชนตัวอย่าง - พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ภมู ิพลอดุลยเดช - เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนพู รอ้ ม) 3. บอกความหมาย ความสำคัญและเคารพ พระรัตนตรัย พระรัตนตรยั ปฏบิ ตั ิตามหลกั ธรรมโอวาท 3 - ศรทั ธาพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ในพระพุทธศาสนาหรือหลกั ธรรมของศาสนา โอวาท 3 ทีต่ นนบั ถือตามทีก่ ำหนด - ไมท่ ำชวั่ : เบญจศีล - ทำความดี : เบญจธรรม : สงั คหวตั ถุ 4 - กตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่และ ครอบครัว - มงคล 38 : ทำตวั ดี : วา่ งา่ ย : รบั ใชพ้ ่อแม่ - ทำจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจติ และ เจรญิ ปญั ญา)
ชนั้ ตัวช้วี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง พุทธสุภาษติ - อตฺตา หิ อตฺตาโน นาโถ ตนแลเป็นทีพ่ ึง่ ของตน - มาตา มิตตฺ สเก ฆเร มารดา เป็นมิตรในเรอื นของตน 4. เห็นคณุ ค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา ฝึกสวดมนตแ์ ละแผเ่ มตตา มสี ติที่เปน็ พน้ื ฐานของสมาธิในพระพุทธ - รคู้ วามหมายและประโยชนข์ องสติ ศาสนาหรือการพฒั นาจติ ตามแนวทางของ - ฟังเพลงและรอ้ งเพลงอยา่ งมีสติ ศาสนาที่ตนนับถือตามทีก่ ำหนด - เล่นและทำงานอย่างมสี ติ - ฝึกให้มีสติในการฟงั การอา่ น การคดิ การถาม และการเขยี น ป.2 1. บอกความสำคญั ของพระพุทธศาสนาหรือ พระพุทธศาสนาเปน็ อกลกั ษณ์ ศาสนาที่ตนนับถือ ของชาตไิ ทย 2. สรุปพุทธประวตั ิต้ังแตป่ ระสตู ิจนถึงการ สรุปพุทธประวัติ ออกผนวช หรอื ประวตั ิศาสดาทตี่ นนบั ถือ ประสูติ ตรสั รู้ ปรินพิ พาน ตามที่กำหนด - เหตกุ ารณ์หลังประสตู ิ - แรกนาขวัญ - การศึกษา - การอภิเษกสมรส - เทวทูต 4 - การออกผนวช 3. ชนื่ ชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิต พทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา และขอ้ คิดจากประวัติสาวก ชาดก เร่ืองเล่า - สามเณรราหลุ และศาสนิกชนตวั อย่างตามท่กี ำหนด ชาดก -วรณุ ชาดก -วานรินทชาดก ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง - สมเดจ็ พระญาณสงั วร (ศขุ ไกเ่ ถอื่ น) - สมเด็จพระสงั ฆราช (เจริญ สุวฑฒฺ โน) 4. บอกความหมาย ความสำคญั และเคารพ พระรตั นตรยั พระรัตนตรัย ปฏบิ ตั ติ ามหลกั ธรรมโอวาท 3 - ศรัทธา ในพระพุทธศาสนา หรอื หลกั ธรรมของศาสนา โอวาท 3 ทตี่ นนับถือตามท่กี ำหนด - ไม่ทำช่วั : เบญจศีล
ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - ทำความดี : เบญจธรรม : หิริ-โอตตปั ปะ : สังคหวตั ถุ 4 : ฆราวาสธรรม 4 : กตญั ญูกตเวทตี ่อครู อาจารย์ และโรงเรยี น : มงคล 38 - กตัญญู - สงเคราะห์ญาตพิ นี่ อ้ ง - ทำจติ ให้บริสทุ ธ์ิ (บริหารจติ และเจริญปัญญา) พทุ ธศาสนสภุ าษิต - นิมติ ตฺ สาธรุ ปู าน กตญฺญู กตเวทติ า ความกตัญญกู ตเวที เป็นเครอื่ งหมายของคนดี - พรฺ หฺมาติ มาตาปิตโร มารดาบดิ าเป็นพรหมของบุตร 5. ช่ืนชมการทำความดขี องตนเอง บคุ คลใน ตัวอยา่ งการกระทำความดีของตนเอง ครอบครวั และในโรงเรียน ตามหลักศาสนา และบุคคลในครอบครัว และในโรงเรยี น (ตามสาระในขอ้ 4) 6. เหน็ คณุ ค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มสี ติที่ ฝกึ สวดมนต์ไหวพ้ ระและแผ่เมตตา เปน็ พน้ื ฐานของสมาธใิ นพระพทุ ธศาสนาหรอื - รู้ความหมายและประโยชน์ การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตน ของสติและสมาธิ นบั ถอื ตามทกี่ ำหนด - ฝกึ สมาธเิ บือ้ งตน้ - ฝึกสติเบื้องต้นด้วยกิจกรรม การเคล่ือนไหวอยา่ งมสี ติ - ฝกึ ให้มีสมาธใิ นการฟงั การอา่ น การคิด การถาม และการเขยี น 7. บอกชื่อศาสนา ศาสดา และความสำคญั ชอื่ ศาสนา ศาสดา และคัมภรี ์ ของคัมภรี ข์ องศาสนาทตี่ นนับถือและศาสนา ของศาสนาตา่ ง ๆ อ่ืน ๆ - พระพุทธศาสนา o ศาสดา : พระพุทธเจ้า o คัมภรี ์ : พระไตรปฎิ ก - ศาสนาอิสลาม o ศาสดา : มุฮัมมัด o คมั ภีร์ : อัลกุรอาน
ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ครสิ ต์ศาสนา o ศาสดา : พระเยซู o คัมภีร์ : ไบเบิล - ศาสนาฮินดู o ศาสดา : ไมม่ ีศาสดา o คมั ภรี ์ : พระเวท พราหมณะ อุปนิษทั อารัณยกะ ป.3 1.อธิบายความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา ความสำคญั ของพระพุทธศาสนากบั หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือในฐานะทเ่ี ป็นรากฐาน การดำเนินชีวติ ประจำวัน เช่น การสวด สำคัญของวฒั นธรรมไทย มนต์ การทำบุญใส่บาตร การแสดงความ เคารพ การใชภ้ าษา พระพทุ ธศาสนามีอทิ ธพิ ลตอ่ การ สร้างสรรค์ผลงานทางวัฒนธรรมไทยอัน เกดิ จากความศรทั ธา เชน่ วดั ภาพวาด พระพุทธรปู วรรณคดี สถาปัตยกรรม ไทย 2. สรุปพุทธประวัติตง้ั แต่การบำเพ็ญเพยี ร สรปุ พทุ ธประวตั ิโดยย่อ (ทบทวน) จนถงึ ปรินพิ พาน หรอื ประวตั ขิ องศาสดาที่ตน - การบำเพญ็ เพียร นบั ถือตามท่กี ำหนด - ผจญมาร - ตรัสรู้ - ปฐมเทศนา - ปรนิ ิพพาน 3. ช่นื ชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิต พุทธสาวก พุทธสาวกิ า และขอ้ คิดจากประวัติสาวก ชาดก เรอ่ื งเล่า - สามเณรสงั กิจจะ และศาสนกิ ชนตัวอย่างตามที่กำหนด ชาดก - อารามทูสกชาดก - มหาวาณชิ ชาดก ศาสนิกชนตัวอยา่ ง - สมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ (โต พรฺ หมฺ ร ส)ี - สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราช 4. บอกความหมาย ความสำคญั ของ ความสำคญั ของพระไตรปฎิ ก พระไตรปฎิ ก หรือคมั ภรี ข์ องศาสนาทีต่ นนับ เช่น เปน็ แหล่งอา้ งองิ ของหลักธรรมคำ ถือ สอน 5. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และปฏิบัติ พระรัตนตรัย ตามหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา - ศรัทธา หรือหลักธรรมของศาสนาท่ตี นนับถอื ตามที่ โอวาท 3
ช้นั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง กำหนด - ไมท่ ำความช่วั : เบญจศีล - ทำความดี : เบญจธรรม : สติ-สัมปชัญญะ : สงั คหวตั ถุ 4 : ฆราวาสธรรม 4 : อัตถะ 3 (อัตตัตถะ ปรัตถะ อุภยัตถะ) : กตญั ญูกตเวทีต่อชุมชนและ สงิ่ แวดลอ้ ม : มงคล 38 o รจู้ กั ให้ o พูดไพเราะ o อยใู่ นสิ่งแวดล้อมที่ดี - ทำจิตให้บรสิ ทุ ธิ์ (บริหารจติ และ เจรญิ ปัญญา) พุทธศาสนสุภาษิต - ททมาโน ปิโย โหติ ผ้ใู ห้ยอ่ มเปน็ ทีร่ ัก - โมกฺโข กลยฺ าณิยา สาธุ เปล่งวาจาไพเราะใหส้ ำเร็จ ประโยชน์ 6. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา ฝกึ สวดมนต์ ไหว้พระ สรรเสรญิ มสี ตทิ ่ีเป็นพ้ืนฐานของสมาธใิ น คุณพระรัตนตรัยและแผเ่ มตตา พระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิต - รู้ความหมายและประโยชน์ ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนบั ถอื ของสตแิ ละสมาธิ ตามที่กำหนด - รปู้ ระโยชน์ของการฝึกสติ - ฝึกสมาธเิ บ้ืองต้นดว้ ยการนบั ลมหายใจ - ฝกึ การยนื การเดิน การน่งั และ การนอนอยา่ งมสี ติ - ฝึกให้มีสมาธใิ นการฟัง การอา่ น การคดิ การถาม และการเขยี น 7. บอกช่ือ ความสำคัญและปฏิบัติตน ได้ ชอ่ื และความสำคัญของศาสนวตั ถุ อย่างเหมาะสมต่อศาสนวัตถุศาสนสถาน ศาสนสถาน และศาสนบุคคล และศาสนบุคคลของศาสนาอื่น ๆ ในพระพุทธศาสนา ศาสนา อิสลาม
ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง คริสตศ์ าสนา ป.4 1. อธิบายความสำคญั ของพระพุทธศาสนา ความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถอื ในฐานะเป็นศนู ยร์ วม - พระพุทธศาสนา ในฐานะท่ีเปน็ จิตใจของศาสนกิ ชน เครื่องยดึ เหนย่ี วจิตใจ - เป็นศูนย์รวมการทำความดี และพัฒนาจติ ใจ เชน่ ฝกึ สมาธิ สวดมนต์ ศกึ ษาหลกั ธรรม - เปน็ ทีป่ ระกอบศาสนพธิ ี (การทอดกฐนิ การทอดผา้ ปา่ การเวยี นเทียน การทำบญุ ) - เปน็ แหลง่ ทำกจิ กรรมทางสังคม เชน่ การจดั ประเพณที อ้ งถิน่ การเผยแพร่ ขอ้ มูลขา่ วสารชมุ ชน และการ สง่ เสริมพัฒนาชมุ ชน 2. สรปุ พทุ ธประวัติตงั้ แตบ่ รรลธุ รรม สรุปพทุ ธประวัติ (ทบทวน) จนถงึ ประกาศธรรม หรือประวัตศิ าสดาทีต่ น • ตรสั รู้ นับถือตามที่กำหนด • ประกาศธรรม ไดแ้ ก่ o โปรดชฎิล o โปรดพระเจา้ พิมพสิ าร o พระอคั รสาวก 3. เหน็ คณุ ค่า และปฏบิ ตั ติ นตามแบบอย่าง o แสดงโอวาทปาฏโิ มกข์ การดำเนินชีวิตและขอ้ คิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรอ่ื งเลา่ และศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง ตามท่ี พุทธสาวก พุทธสาวิกา กำหนด - พระอุรเุ วลกัสสปะ ชาดก - กฏุ ิทสู กชาดก - มหาอุกกุสชาดก ศาสนนิกชนตัวอย่าง - สมเดจ็ พระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดช วกิ รม พระบรมราชชนก - สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรม ราชชนนี 4. แสดงความเคารพ พระรัตนตรยั ปฏิบตั ิ ตาม พระรัตนตรัย ไตรสิกขาและหลกั ธรรมโอวาท 3 ใน : ศรัทธา 4 พระพุทธศาสนา หรอื หลกั ธรรมของศาสนาที่ ตนนับถอื ตามท่ีกำหนด - พระพทุ ธ : พทุ ธคณุ 3 - พระธรรม : หลกั กรรม
ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - พระสงฆ์ ไตรสิกขา - ศีล สมาธิ ปญั ญา โอวาท 3 - ไม่ท าชวั่ : เบญจศีล : ทจุ ริต 3 - ทำความดี : เบญจธรรม : สุจรติ 3 : พรหมวิหาร 4 : กตัญญูกตเวทตี อ่ ประเทศชาติ : มงคล 38 - เคารพ - ถ่อมคน - ทำความดใี ห้พรอ้ มไว้ก่อน - ทำจิตให้บริสุทธ์ิ (บริหารจติ และเจรญิ ปัญญา) พุทธศาสนสภุ าษติ - สุขา สังฆฺ ัสส สามัคฺคี ความพรอ้ มเพรียงของหม่ใู หเ้ กิดสุข - โลโกปตฺถมฺภกิ า เมตฺตา เมตตาธรรม ค้ำจนุ โลก 5. ช่นื ชมการทำความดขี องตนเอง บคุ คลใน ตวั อยา่ งการกระทำความดขี อง ครอบครวั โรงเรียนและชมุ ชนตามหลกั ตนเองและบุคคลในครอบครัว ใน ศาสนา พรอ้ มทั้งบอกแนวปฏิบัติในการ โรงเรียน และในชุมชน ดำเนินชีวิต 6. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา สวดมนตไ์ หวพ้ ระ สรรเสริญ มีสตทิ เี่ ปน็ พื้นฐานของสมาธใิ น คุณพระรตั นตรัยและแผ่เมตตา พระพุทธศาสนา หรอื การพัฒนาจติ - รู้ความหมายของสติสัมปชญั ญะ ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถือ สมาธแิ ละปัญญา ตามท่ีกำหนด - รูว้ ธิ ปี ฏบิ ัตขิ องการบรหิ ารจิตและ
ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง เจรญิ ปญั ญา • ฝกึ การยืน การเดนิ การนัง่ และการ นอน อยา่ งมีสติ • ฝึกการกำหนดรู้ความรสู้ ึก เม่อื ตา เห็นรูป หฟู ังเสยี ง จมกู ดมกล่ิน ลน้ิ ลิ้มรส กายสัมผัสสิง่ ทมี่ ากระทบใจรับรู้ ธรรมมารมณ์ • ฝกึ ให้มสี มาธใิ นการฟงั การอา่ น การ คดิ การถาม การเขียน 7. ปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมของศาสนาที่ตน ◆ หลักธรรมเพ่ือการอยู่ร่วมกันอยา่ ง นบั ถือ เพื่อการอยรู่ ว่ มกันเป็นชาตไิ ดอ้ ยา่ ง สมานฉันท์ สมานฉันท์ o เบญจศีล – เบญจธรรม o ทุจริต 3 – สจุ รติ 3 o พรหมวหิ าร 4 o มงคล 38 - เคารพ - ถอ่ มตน - ทำความดีให้พร้อมไว้ก่อน o พุทธศาสนสภุ าษิต : ความพรอ้ มเพรยี งของหม่ใู ห้ เกดิ สขุ 8. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ : เมตตาธรรมค้ำจนุ โลก โดยสงั เขป : กตญั ญกู ตเวทตี อ่ ประเทศชาติ ประวตั ศิ าสดา o พระพุทธเจา้ o มฮุ มั มัด o พระเยซู
ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป.5 1. วเิ คราะหค์ วามสำคญั ของ ➢ มรดกทางวัฒนธรรมทไ่ี ด้รับจาก พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือ ใน พระพุทธศาสนา ฐานะทเ่ี ป็นมรดกทางวฒั นธรรมและหลกั ใน o มรดกทางด้านรปู ธรรม เช่น การพัฒนาชาตไิ ทย ศาสนสถาน โบราณวัตถุ สถาปัตยกรรม o มรดกทางด้านจิตใจ เชน่ หลกั ธรรมคำสั่งสอน ความเชือ่ และคณุ ธรรมตา่ ง ๆ การนำพระพทุ ธศาสนาไปใช้เป็น แนวทางในการพฒั นาชาตไิ ทย o พัฒนาด้านกายภาพ และ สงิ่ แวดล้อม เช่น ภาวนา 4 (กาย ศีล จิต ปญั ญา) ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) และอรยิ สัจส่ี o พัฒนาจิตใจ เช่น หลกั โอวาท 3 (ละความช่วั ทำดี ทำจิตใจให้ บรสิ ุทธ์ิ) และการบริหารจติ และ เจรญิ ปญั ญา 2. สรปุ พุทธประวัติตั้งแตเ่ สด็จ สรปุ พทุ ธประวัติ (ทบทวน) โปรดพระพุทธบิดา (เสดจ็ กรุง กรุงกบลิ พัสดจ์ุ นถงึ พทุ ธกิจสำคัญ หรือประวัติศาสดาท่ีตนนับถือตามท่ีกำหนด กบิลพัสด์)ุ พุทธกิจสำคญั ไดแ้ ก่ โลกัตถจรยิ า ญาตตั ถจรยิ า และพุทธตั ถจรยิ า 3. เหน็ คณุ ค่า และประพฤตติ นตาม พุทธสาวก พุทธสาวกิ า แบบอยา่ งการด าเนินชีวิตและข้อคดิ จาก - พระโสณโกฬวิ ิสะ ชาดก ประวัตสิ าวก ชาดก/เรอ่ื งเลา่ และ ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามทกี่ ำหนด - จฬู เสฏฐิชาดก - วัณณาโรหชาดก ศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง - สมเดจ็ พระสังฆราช (สา) - อาจารยเ์ สถยี ร โพธนิ ันทะ
ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 4. อธิบายองค์ประกอบ และความสำคญั ➢ องค์ประกอบของพระไตรปฎิ ก ของพระไตรปิฎก หรือคมั ภรี ์ของศาสนาที่ พระสุตตนั ตปิฎก ตนนบั ถอื พระวนิ ัยปฎิ ก พระอภิธรรมปิฎก ➢ ความสำคญั ของพระไตรปฎิ ก 5. แสดงความเคารพพระรตั นตรัย ➢ พระรัตนตรยั และปฏิบัตติ ามไตรสิกขาและหลกั ธรรม oศรทั ธา 4 พระพุทธ โอวาท 3 ในพระพุทธศาสนาหรอื หลกั ธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ oพทุ ธจริยา 3 ตามท่ีกำหนด พระธรรม oอรยิ สัจ 4 oหลักกรรม พระสงฆ์ ➢ ไตรสิกขา ศีล สมาธิ ปญั ญา ➢ โอวาท 3 ไม่ทำช่วั o เบญจศีล o อบายมุข 4 ทำความดี oเบญจธรรม oบุญกิรยิ าวัตถุ 3 oอคติ 4 oอิทธิบาท 4 oกตญั ญกู ตเวทีต่อ พระพทุ ธศาสนา o มงคล 38 - ใฝร่ ู้ ใฝ่เรยี น - การงานไมอ่ ากลู - อดทน ท าจิตให้บริสทุ ธ์ิ (บรหิ ารจิตและ เจรญิ ปญั ญา) ➢ พุทธศาสนสุภาษติ วิริเยน ทุกฺขมจเฺ จติ คนจะลว่ งทกุ ขไ์ ดเ้ พราะความเพยี ร ปัญฺญา โลกสั ฺมิ ปัชโฺ ชโต ปัญญา คือ แสงสวา่ งในโลก
ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 6. เหน็ คณุ ค่าและสวดมนต์แผเ่ มตตา ➢ สวดมนต์ไหวพ้ ระ สรรเสรญิ มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธใิ น คณุ พระรัตนตรยั และแผเ่ มตตา รู้ความหมายของสติสมั ปชญั ญะ พระพทุ ธศาสนา หรอื การพัฒนาจิตตาม แนวทางของศาสนาทต่ี นนับถือตามที่ สมาธแิ ละปัญญา กำหนด รู้วิธีปฏบิ ัตแิ ละประโยชนข์ อง การบริหารจติ และเจริญปญั ญา ฝึกการยนื การเดิน การนงั่ และ การนอน อย่างมสี ติ ฝกึ การกำหนดรูค้ วามร้สู ึก เมอื่ ตาเห็นรปู หูฟงั เสียง จมูกดม กล่ิน ล้ินล้ิมรส กายสมั ผัสสงิ่ ที่มา กระทบใจรบั รู้ธรรมารมณ์ ฝกึ ใหม้ ีสมาธใิ นการฟัง การอ่าน การคดิ การถามและการเขยี น ◆ โอวาท 3 7. ปฏบิ ัตติ นตามหลักธรรมของศาสนาท่ี ตนนับถือ เพ่ือการพัฒนาตนเองและ (ตามสาระการเรยี นรขู้ ้อ 5) สง่ิ แวดลอ้ ม ป.6 1. วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธ- ◆ พระพุทธศาสนาในฐานะเปน็ ศาสนาในฐานะเปน็ ศาสนาประจ าชาติ ศาสนาประจำชาติ เช่น เป็น หรือความสำคญั ของศาสนาท่ีตนนับถือ เอกลักษณ์ของชาติไทย เป็น รากฐานทางวัฒนธรรมไทย เป็น ศนู ยร์ วมจิตใจ เป็นมรดกทาง วฒั นธรรมไทย และเป็นหลกั ในการพัฒนาชาตไิ ทย 2. สรุปพุทธประวัติต้ังแตป่ ลงอายุสงั ขาร สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน) จนถึงสังเวชนียสถาน หรือประวตั ศิ าสดาท่ี - ปลงอายุสงั ขาร ตนนับถือตามทก่ี ำหนด - ปัจฉิมสาวก - ปรินพิ พาน 3. เห็นคุณค่าและประพฤติตนตาม - การถวายพระเพลงิ แบบอยา่ งการดำเนนิ ชวี ิตและข้อคดิ จาก - แจกพระบรมสารีรกิ ธาตุ ประวัติสาวก ชาดก/เรอ่ื งเล่า และ - สงั เวชนียสถาน 4 ศาสนิกชนตัวอย่างตามทีก่ ำหนด พทุ ธสาวก พุทธสาวิกา - พระราธะ ชาดก - ทฆี ตี ิโกสลชาดก - สัพพทาฐชิ าดก
ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ศาสนกิ ชนตวั อย่าง - พอ่ ขุนรามคำแหงมหาราช - สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรม- พระปรมานชุ ิตชโิ นรส ➢ พระรตั นตรยั 4. วิเคราะห์ความสำคัญและเคารพ O ศรัทธา 4 พระรตั นตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขาและ หลักธรรมโอวาท 3 ในพระพทุ ธศาสนา พระพุทธ หรือหลักธรรมของศาสนาท่ตี น O พุทธกิจ 5 นบั ถอื ตามทก่ี ำหนด พระธรรม O อริยสจั 4 O ลกั กรรม พระสงฆ์ O ไตรสิกขา ศีล สมาธิ ปญั ญา O โอวาท 3 ไมท่ ำช่วั o เบญจศลี o อบายมขุ 6 o อกศุ ลมูล 3 ทำความดี oเบญจธรรม o กุศลมลู 3 o พละ 4 o คารวะ 6 o กตัญญูกตเวทีตอ่ พระมหากษตั ริย์ o มงคล 38 - มวี ินัย - การงานไมม่ โี ทษ - ไม่ประมาทในธรรม ทาจิตใหบ้ ริสทุ ธ์ิ (บรหิ ารจิตและ เจริญปัญญา) ➢ พทุ ธศาสนสภุ าษติ -สจเฺ จน กิตตฺ ึ ปปโฺ ปติ คนจะได้เกียรติด้วย สัจจะ - ยถาวาที ตถาการี พูดเช่นไร ทำเช่นน้ัน 5. ชนื่ ชมการทำความดขี องบคุ คลใน ตัวอย่างการกระทำความดขี องบคุ คล ประเทศตามหลกั ศาสนา พรอ้ มทงั้ บอก ในประเทศ แนวปฏิบัตใิ นการดำเนินชวี ิต
ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 6. เห็นคณุ ค่าและสวดมนตแ์ ผ่เมตตา และ สวดมนตไ์ หว้พระ สรรเสรญิ บริหารจติ เจริญปญั ญา มีสติท่เี ปน็ พืน้ ฐาน คุณพระรตั นตรัยและแผเ่ มตตา ของสมาธใิ นพระพทุ ธศาสนา หรอื การ - รูค้ วามหมายของสตสิ มั ปชญั ญะ พฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนา สมาธแิ ละปญั ญา ทต่ี นนับถอื ตามท่กี ำหนด - รวู้ ธิ ปี ฏิบตั ิและประโยชนข์ อง การบรหิ ารจติ และเจริญปญั ญา - ฝึกการยนื การเดิน การนงั่ และ การนอนอยา่ งมีสติ - ฝึกการกำหนดรู้ความรู้สกึ เม่ือตา เห็นรปู หูฟังเสยี ง จมูกดมกลิน่ ลิ้นล้ิมรส กายสมั ผัสสิ่งท่ีมากระทบ ใจรบั รูธ้ รรมารมณ์ - ฝกึ ใหม้ ีสมาธใิ นการฟัง การอ่าน การคดิ การถาม และการเขียน 7. ปฏิบัติตนตามหลกั ธรรมของศาสนา ◆ หลักธรรม : อรยิ สัจ 4 หลักกรรม ทต่ี นนบั ถือ เพื่อแก้ปญั หาอบายมุขและ ◆ โอวาท 3 : เบญจศีล – เบญจ สง่ิ เสพตดิ ธรรม อบายมขุ 6 อกุศลมูล 3 กุศลมลู 3 8. อธิบายหลกั ธรรมสำคญั ของศาสนา ➢ หลกั ธรรมสำคญั ของศาสนาตา่ ง ๆ อ่นื ๆ โดยสังเขป ◆ พระพุทธศาสนา : อรยิ สจั 4 โอวาท 3 ฯลฯ ◆ ศาสนาอิสลาม : หลกั ศรัทธา หลกั ปฏบิ ตั ิ หลกั จริยธรรม ◆ คริสต์ศาสนา : บญั ญตั ิ 10 ประการ 9. อธบิ ายลกั ษณะสำคญั ของศาสนพธิ ี o ศาสนพธิ ีของศาสนาต่าง พธิ กี รรมของศาสนาอนื่ ๆ และปฏบิ ัตติ นได้ o พระพุทธศาสนา อยา่ งเหมาะสมเม่อื ต้องเขา้ รว่ มพธิ ี : ศาสนพิธที ่ีเปน็ พุทธบัญญตั ิ เช่น บรรพชา อุปสมบท : ศาสนพธิ ีท่เี ก่ยี วเนื่องกบั พระพทุ ธศาสนา เชน่ ทำบญุ พิธี เนอ่ื งในวันสำคญั ทางศาสนา o ศาสนาอิสลาม เช่น การละหมาด การถือศีลอด การบำเพ็ญฮัจญ์ ฯลฯ
ชนั้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง o ครสิ ต์ศาสนา เชน่ ศลี ลา้ งบาป ศลี อภยั บาป ศีลกำลัง ศีลมหา สนิท ฯลฯ o ศาสนาฮินดู เช่น พธิ ีศราทธ์ พธิ ี บชู าเทวดา ม.1 1. อธิบายการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา หรอื การสังคายนา การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเข้าสู่ ศาสนาที่ตนนับถือสปู่ ระเทศไทย ประเทศไทย 2. วเิ คราะห์ความสำคัญของ ➢ ความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อ พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถอื ท่ี สงั คมไทยในฐานะเป็น ศาสนาประจำชาติ มตี ่อสภาพแวดลอ้ มในสังคมไทย รวมท้ัง การพฒั นาตนและครอบครวั สถาบันหลักของสังคมไทย สภาพแวดล้อมท่กี ว้างขวาง และ ครอบคลมุ สังคมไทย การพัฒนาตนและครอบครวั 3. วิเคราะหพ์ ทุ ธประวตั ติ งั้ แตป่ ระสตู ิ สรุปและวเิ คราะห์ พุทธประวัติ จนถึงบำเพญ็ ทกุ รกิรยิ า หรือประวัติ ประสตู ิ ศาสดาทตี่ นนับถอื ตามทกี่ ำหนด เทวทูต 4 การแสวงหาความรู้ การบำเพญ็ ทกุ รกิริยา 4. วเิ คราะห์และประพฤติตนตาม ➢ พุทธสาวก พุทธสาวิกา พระมหากัสสปะ แบบอยา่ งการดำเนนิ ชวี ิตและข้อคดิ จาก ประวัติสาวก ชาดก/เรือ่ งเลา่ และศาสนกิ พระอบุ าลี ชนตัวอยา่ งตามทก่ี ำหนด อนาถบิณฑิกะ นางวสิ าขา ➢ ชาดก อัมพชาดก ติตตริ ชาดก 5. อธิบายพุทธคณุ และขอ้ ธรรมสำคญั ใน ➢ พระรตั นตรัย กรอบอรยิ สจั 4 หรอื หลกั ธรรมของ พทุ ธคุณ 9 ศาสนาที่ตนนับถอื ตามทีก่ ำหนด เหน็ ➢ อรยิ สจั 4 คณุ ค่าและนำไปพฒั นาแก้ปัญหาของ ทุกข์ (ธรรมท่ีควรรู้) ตนเองและครอบครัว o ขนั ธ์ 5 o ธาตุ 4 สมุทัย (ธรรมท่คี วรละ) o หลักกรรม o ความหมายและคุณค่า o อบายมุข
ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง นิโรธ (ธรรมทคี่ วรบรรล)ุ o สุข 2 (กายิก, เจตสิก) o คหิ สิ ุข มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) o ไตรสิกขา o กรรมฐาน 2 o ปธาน 4 o โกศล 3 o มงคล 38 -ไม่คบคนพาล - คบบัณฑติ - บชู าผู้ควรบูชา ➢ พทุ ธศาสนสภุ าษติ ย เว เสวติ ตาทิโส คบคนเช่นใดเป็นคนเช่นน้ัน อตตฺ นา โจทยตตฺ าน จงเตอื นตน ด้วยตน นสิ มฺม กรณ เสยฺโย ใคร่ครวญกอ่ นท าจึงดี ทุราวาสา ฆรา ทุกขฺ า เรอื นท่ีครองไมด่ ีนำทกุ ข์มาให้ 6. เหน็ คุณค่าของการพฒั นาจิต เพือ่ การ ➢ โยนิโสมนสิการ เรยี นรแู้ ละการดำเนนิ ชีวติ ดว้ ยวิธีคิดแบบ วิธคี ิดแบบคุณค่าแท้ – คุณคา่ โยนโิ สมนสกิ ารคอื วธิ คี ดิ แบบคณุ คา่ แท้ – เทยี ม วธิ ีคดิ แบบคุณ – โทษและ คุณค่าเทยี ม และวิธคี ิดแบบคุณ – โทษ และทางออก หรือการพัฒนาจิตตาม ทางออก แนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถือ 7. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและ สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา เจรญิ ปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตาม - วิธปี ฏิบัตแิ ละประโยชน์ของการ บรหิ าร แนวทางของศาสนาทีต่ นับถือตามที่ จติ และเจริญปัญญา การ ฝึกบรหิ ารจิตและ กำหนด เจรญิ ปัญญาตาม หลกั สติปัฎฐานเน้นอานาปานสติ - นำวิธีการบริหารจติ และเจริญ ปญั ญาไปใช้ในชีวติ ประจำวนั
ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง หลักธรรม (ตามสาระการเรยี นรู้ 8. วิเคราะห์และปฏบิ ัติตนตามหลักธรรม ขอ้ 5) ทางศาสนาท่ตี นนบั ถอื ในการดำรงชีวิต แบบพอเพียง และดูแลรักษาสง่ิ แวดลอ้ ม เพ่ือการอย่รู ่วมกนั ไดอ้ ย่างสนั ติสุข 9. วิเคราะห์เหตุผลความจำเป็นทที่ กุ คน ◆ ศาสนกิ ชนของศาสนาตา่ ง ๆ มีการ ตอ้ งศึกษาเรียนรศู้ าสนาอื่นๆ ประพฤติปฏิบตั ติ นและวิถกี ารดำเนนิ ชวี ติ แตกต่างกนั ตามหลักความเช่ือ และคำสอน ของศาสนาท่ีตนนบั ถอื 10. ปฏิบัตติ นตอ่ ศาสนกิ ชนอืน่ ใน ◆ การปฏบิ ัตอิ ยา่ งเหมาะสมต่อศาสนิก สถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม ชนอนื่ ในสถานการณต์ า่ งๆ 11. วิเคราะห์การกระทำของบคุ คลที่เป็น ◆ ตัวอยา่ งบุคคลในท้องถิ่นหรือประเทศ แบบอยา่ งด้านศาสนสัมพนั ธ์ และนำเสนอ ทปี่ ฏบิ ัติตนเป็นแบบอยา่ งด้านศาสน แนวทางการปฏิบตั ิของตนเอง สัมพันธ์หรือมีผลงานด้านศาสน สัมพนั ธ์ ม.2 1. อธบิ ายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือ การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ ศาสนาที่ตนนบั ถือสู่ประเทศเพือ่ นบ้าน ประเทศเพ่ือนบา้ นและการนับถือพระ พทุ ธ -ศาสนาของประเทศเพอ่ื นบ้าน ในปัจจบุ ัน 2. วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธ- ความสำคัญของพระพทุ ธศาสนาที่ ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถอื ทีช่ ่วย ช่วยเสริมสรา้ งความเข้าใจอนั ดกี ับ เสรมิ สรา้ งความเข้าใจอันดกี บั ประเทศ ประเทศเพอ่ื นบา้ น เพื่อนบา้ น 3. วเิ คราะหค์ วามสำคญั ของ ➢ ความสำคัญของพระพทุ ธศาสนาต่อ พระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนบั ถอื สังคมไทยในฐานะเปน็ ในฐานะท่เี ปน็ รากฐานของวัฒนธรรม เอกลกั ษณ์ของชาตแิ ละมรดกของชาติ รากฐานของวฒั นธรรม เอกลกั ษณแ์ ละ มรดกของชาติ 4. อภปิ รายความสำคญั ของพระพทุ ธ - ศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับถอื กับ ความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนากับ การพัฒนาชมุ ชนและการจัดระเบียบสังคม การพฒั นาชมุ ชนและการจดั ระเบยี บ สังคม 5. วิเคราะห์พทุ ธประวัตหิ รอื ประวตั ิ ศาสดาของศาสนาท่ตี นนับถอื ตามท่ี สรุปและวเิ คราะห์ พุทธประวัติ กำหนด การผจญมาร การตรสั รู้ การสัง่ สอน
ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 6. วเิ คราะหแ์ ละประพฤตติ นตามแบบอยา่ ง พทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า การดำเนินชวี ติ และขอ้ คิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรอื่ งเลา่ และ ศาสนกิ ชนตวั อย่างตามที่ - พระสารีบุตร กำหนด - พระโมคคลั ลานะ - นางขชุ ชุตตรา - พระเจ้าพิมพิสาร ชาดก - มติ ตวนิ ทุกชาดก - ราโชวาทชาดก ศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง - พระมหาธรรมราชาลไิ ท - สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้ากรม พระยาวชริ ญาณวโรรส 7. อธบิ ายโครงสรา้ ง และสาระสงั เขปของ โครงสร้าง และสาระสังเขปของ พระไตรปิฎก หรือคัมภรี ์ของศาสนาที่ตน พระวนิ ยั ปฎิ ก พระสตุ ตันตปฎิ ก นับถอื และพระอภธิ รรมปฎิ ก 8. อธิบายธรรมคุณ และข้อธรรมสำคัญใน ➢ พระรัตนตรัย กรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนาท่ี ธรรมคณุ 6 ตนนับถือ ตามท่กี ำหนด เหน็ คุณค่าและ นำไปพัฒนาแกป้ ญั หาของชุมชนและสังคม ➢ อรยิ สจั 4 ทกุ ข์ (ธรรมที่ควรรู้) oขนั ธ์ 5 -อายตนะ สมทุ ัย (ธรรมทคี่ วรละ) oหลกั กรรม -สมบัติ 4 -วิบตั ิ 4 oอกศุ ลกรรมบถ 10 oอบายมุข 6 นิโรธ (ธรรมท่ีควรบรรล)ุ oสุข 2 (สามิส, นริ ามิส) มรรค (ธรรมทค่ี วรเจรญิ ) oบพุ พนมิ ติ ของ มชั ฌิมาปฏิปทา oดรณุ ธรรม 6 oกลุ จริ ัฏฐติ ิธรรม 4 oกุศลกรรมบถ 10 oสติปัฏฐาน 4 oมงคล 38
ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง - ประพฤตธิ รรม - เวน้ จากความชว่ั - เวน้ จากการด่ืมน้ำเมา ➢ พทุ ธศาสนสุภาษิต กมฺมุนา วตตฺ ตี โลโก สตั วโ์ ลกย่อมเปน็ ไปตามกรรม กลฺยาณการี กลฺยาณปาปการี จ ปาปก ทำดีได้ดี ท าช่ัว ไดช้ ั่ว สุโข ปญุ ฺญสฺส อุจฺจโย การสง่ั สมบญุ น าสุขมาให้ ปูชโก ลภเต ปูช วนทฺ โก ปฏิวนทฺ น ผูบ้ ชู าเขา ยอ่ มได้รบั การ บูชาตอบ ผไู้ หว้เขาย่อมได้รบั การ ไหวต้ อบ 9.เหน็ คุณคา่ ของการพัฒนาจิตเพอ่ื การ ➢ พัฒนาการเรยี นรู้ด้วยวธิ ีคดิ แบบ เรียนร้แู ละดำเนินชีวิต ด้วยวธิ คิดแบบโยนโิ ส โยนโิ ส-มนสิการ 2 วธิ ี คอื วิธีคิด มนสกิ ารคือ วธิ คี ดิ แบบอุบายปลุกเร้า แบบอบุ ายปลุกเรา้ คุณธรรม และวิธี คณุ ธรรม และวธิ ีคดิ แบบอรรถธรรมสมั พันธ์ คดิ แบบอรรถธรรมสมั พันธ์ หรอื การพัฒนาจติ ตามแนวทางของศาสนาท่ี ตนนับถอื 10. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและ สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา เจรญิ ปญั ญาด้วยอานาปานสติ หรอื ตาม - รู้และเขา้ ใจวธิ ปี ฏบิ ัติและประโยชน์ แนวทางของศาสนาทีต่ นนับถอื ของการบรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญา - ฝึกการบริหารจิตและเจริญปญั ญา ตามหลกั สตปิ ฎั ฐาน เน้นอานาปาน สติ - นำวิธีการบรหิ ารจิตและเจรญิ ปญั ญา ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน 11.วิเคราะห์การปฏบิ ัตติ นตามหลกั ธรรมทาง ➢ การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรม ศาสนาท่ีตนนับถือ เพ่ือการดำรงตนอย่าง (ตามสาระการเรียนรู้ ข้อ 8.) เหมาะสมในกระแสความเปลีย่ นแปลงของโลก และการอยู่ร่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข
ชนั้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม. 3 1. อธบิ ายการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรอื การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเข้าสู่ ศาสนาที่ตนนบั ถือสปู่ ระเทศต่างๆ ทวั่ โลก ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก และการนับถอื พระพทุ ธศาสนาของประเทศเหล่านน้ั ในปัจจบุ นั 2. วิเคราะห์ความสำคัญของ ความสำคัญของพระพุทธศาสนาใน พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนบั ถือใน ฐานะท่ีช่วยสรา้ งสรรค์อารยธรรมและ ฐานะท่ีช่วยสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรม และ ความสงบสขุ ใหแ้ กโ่ ลก ความสงบสขุ แก่โลก 3. อภิปรายความสำคัญของพระพุทธศาสนา สัมมนาพระพทุ ธศาสนากบั ปรัชญา หรอื ศาสนาที่ตนนับถอื กบั ปรัชญาของ ของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนา เศรษฐกจิ พอเพยี งและ การพัฒนาอยา่ ง อย่างย่งั ยืน (ท่สี อดคลอ้ งกบั หลกั ธรรม ย่งั ยนื ในสาระการเรยี นรู้ ข้อ 6 ) 4. วิเคราะห์พุทธประวัตจิ ากพระพทุ ธรูป ศึกษาพุทธประวัตจิ ากพระพุทธรูปปาง ปางต่างๆ หรอื ประวตั ิศาสดาทต่ี นนบั ถอื ตา่ ง ๆ เชน่ ตามที่กำหนด o ปางมารวิชัย 5. วเิ คราะหแ์ ละประพฤตติ นตามแบบอยา่ ง o ปางปฐมเทศนา การดำเนินชวี ติ และข้อคิดจากประวตั ิสาวก o ปางลีลา ชาดก/เรอื่ งเล่าและศาสนกิ ชนตวั อย่าง o ปางประจ าวนั เกดิ ตามที่กำหนด สรุปและวิเคราะหพ์ ทุ ธประวตั ิ 6. อธิบายสังฆคุณ และขอ้ ธรรมสำคัญใน ปฐมเทศนา กรอบอริยสัจ 4 หรือหลกั ธรรมของศาสนา โอวาทปาฏโิ มกข์ ทีต่ นนบั ถือตามที่กำหนด พุทธสาวก พุทธสาวิกา - พระอญั ญาโกณฑญั ญะ - พระมหาปชาบดเี ถรี - พระเขมาเถรี - พระเจ้าปเสนทิโกศล ชาดก - นันทวิ ิสาลชาดก - สุวณั ณหงั สชาดก ศาสนิกชนตัวอยา่ ง - หม่อมเจ้าพนู พิสมยั ดิสกุล - ศาสตราจารย์ สัญญาธรรมศักดิ์ ➢ พระรัตนตรยั สงั ฆคุณ 9 ➢ อริยสัจ 4 ทุกข์ (ธรรมที่ควรร้)ู oขันธ์ 5
ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง -ไตรลกั ษณ์ สมทุ ัย (ธรรมท่ีควรละ) oหลกั กรรม -วฏั ฏะ 3 -ปปญั จธรรม 3 (ตัณหา มานะ ทิฎฐิ) นิโรธ (ธรรมท่คี วรบรรล)ุ oอัตถะ 3 มรรค (ธรรมที่ควรเจรญิ ) oมรรคมอี งค์ 8 oปัญญา 3 oสปั ปรุ สิ ธรรม 7 oบญุ กิรยิ าวตั ถุ 10 oอุบาสกธรรม 7 oมงคล 38 - มีศลิ ปวิทยา - พบสมณะ - ฟังธรรมตามกาล - สนทนาธรรมตามกาล ➢ พทุ ธศาสนสภุ าษิต อตฺตา หเว ชติ เสยฺโย ชนะตนน่นั แลดกี วา่ ธมฺมจารี สุข เสติ ผูป้ ระพฤติ ธรรมย่อมอยเู่ ป็นสุข ปมาโท มจฺจโุ น ปท ความ ประมาทเป็นทางแห่ง ความ ตาย สุสฺสูส ลภเต ปญญฺ ผู้ฟังดว้ ยดีย่อมไดป้ ัญญา เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก : พุทธ ปณิธาน 4 ในมหาปรินพิ พานสตู ร 7. เหน็ คุณค่า และวเิ คราะห์การปฏบิ ัติตน การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรม ตามหลักธรรมในการพฒั นาตน เพื่อ (ตามสาระการเรียนรู้ ขอ้ เตรียมพร้อมสำหรบั การทำงาน 6.) และการมีครอบครวั
ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม.4-ม.6 พัฒนาการเรียนรู้ดว้ ยวิธคี ิดแบบ 8. เหน็ คณุ ค่าของการพัฒนาจิตเพอ่ื การเรยี นรู้ โยนโิ สมนสิการ 2 วธิ ี คือ วิธคิดแบบ และดำเนินชวี ติ ด้วยวธิ คี ดิ แบบโยนโิ ส อริยสัจ และวธิ คี ิดแบบสืบสาวเหตุ มนสิการคือ วิธีคิดแบบอรยิ สัจ และวธิ คี ดิ ปจั จัย แบบสบื สาวเหตุปัจจัย หรือการพฒั นาจิตตาม แนวทางของศาสนาทตี่ นนับถอื 9. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บริหารจิตและเจรญิ สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา ปญั ญาดว้ ยอานาปานสติ หรอื ตามแนวทาง - รแู้ ละเข้าใจวิธีปฏิบตั ิและประโยชน์ ของศาสนาท่ีตนนบั ถือ ของการบริหารจิตและเจริญปญั ญา - ฝึกการบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญา ตามหลักสติปฎั ฐานเน้นอานาปานสติ - นำวิธกี ารบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญา ไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน 10. วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถี วิถีการดำเนนิ ชวี ติ ของศาสนกิ ชน การดำเนนิ ชวี ติ ของศาสนิกชนในศาสนาอนื่ ๆ ศาสนาอืน่ ๆ 1.วิเคราะห์สงั คมชมพูทวปี และคติความเช่อื ลกั ษณะของสังคมชมพทู วีป และคติ ทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้า หรอื สังคม ความเชอื่ ทางศาสนาสมัยก่อน สมัยของศาสดาที่ตนนบั ถือ พระพทุ ธเจ้า พระพุทธเจา้ ในฐานะเป็นมนษุ ย์ ผูฝ้ ึก 2. วิเคราะห์ พระพทุ ธเจา้ ในฐานะเปน็ มนุษย์ ผฝู้ กึ ตนไดอ้ ย่างสูงสดุ ในการตรสั รู้ การ ตนไดอ้ ย่างสูงสุด (การตรสั รู้) กอ่ ตงั้ วธิ กี ารสอนและการเผยแผ่ การก่อต้ังพระพทุ ธศาสนา วิธีการ พระพุทธศาสนา หรือวเิ คราะห์ประวตั ศิ าสดา สอน และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ตาม ท่ตี นนับถอื ตามท่ีกำหนด แนวพุทธจริยา 3.วเิ คราะหพ์ ทุ ธประวัตดิ ้านการบรหิ าร และ พุทธประวัติด้านการบรหิ ารและการ การธ ารงรักษาศาสนา หรือ วเิ คราะห์ประวัติ ธำรงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา ศาสดาท่ีตนนับถือ ตามทีก่ ำหนด 4. วเิ คราะหข์ ้อปฏบิ ัติทางสายกลางใน พระพทุ ธศาสนามที ฤษฎีและวธิ กี ารท่ี พระพุทธศาสนา หรอื แนวคิดของศาสนาทต่ี น เป็นสากลและมีข้อปฏิบัติทีย่ ึดทางสาย นับถือ ตามท่ีกำหนด กลาง 5. วิเคราะห์การพัฒนาศรัทธา และปัญญาท่ี พระพุทธศาสนาเนน้ การพฒั นา ถูกต้องในพระพทุ ธศาสนา หรอื แนวคิดของ ศรทั ธาและปัญญาท่ีถกู ตอ้ ง ศาสนาท่ีตนนบั ถอื ตามที่กำหนด ลักษณะประชาธปิ ไตยในพระพุทธ- 6. วเิ คราะห์ลกั ษณะประชาธิปไตยใน ศาสนา พระพุทธศาสนา หรือแนวคดิ ของศาสนาท่ตี น นบั ถือตามท่กี ำหนด
ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 7. วิเคราะห์หลักการของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั การของพระพุทธศาสนากบั หลัก หลักวทิ ยาศาสตร์ หรือแนวคดิ ของศาสนาท่ี วิทยาศาสตร์ ตนนับถือ ตามทกี่ ำหนด การคิดตามนัยแหง่ พระพทุ ธศาสนา และการคิดแบบวิทยาศาสตร์ 8. วิเคราะห์การฝึกฝนและพัฒนาตนเอง การ พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหดั อบรม พง่ึ ตนเอง และการมุง่ อสิ รภาพในพระพุทธ ตนการพ่ึงตนเองและการมงุ่ อสิ รภาพ ศาสนา หรอื แนวคิดของศาสนาทตี่ นนบั ถือ ตามท่ีกำหนด 9. วิเคราะห์พระพทุ ธศาสนาวา่ เป็นศาสตร์ พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสตร์แห่ง แห่งการศึกษาซ่งึ เน้นความสัมพันธข์ องเหตุ การศกึ ษา ปัจจัยกบั วิธีการแกป้ ญั หา หรอื แนวคิดของ พระพทุ ธศาสนาเน้นความสมั พันธ์ ศาสนาท่ีตนนบั ถือตามท่กี ำหนด ของเหตุปจั จัยและวธิ ีการแกป้ ัญหา 10. วเิ คราะหพ์ ระพทุ ธศาสนาในการฝึกตน พระพุทธศาสนาฝกึ ตนไมใ่ ห้ประมาท ไมใ่ หป้ ระมาท มุง่ ประโยชนแ์ ละสนั ติภาพ พระพุทธศาสนามุง่ ประโยชนส์ ุขและ บคุ คล สังคมและโลก หรอื แนวคิดของศาสนา สันติภาพแก่บุคคล สงั คมและโลก ท่ีตนนับถอื ตามท่กี ำหนด 11. วเิ คราะห์พระพุทธศาสนากับปรัชญาของ พระพุทธศาสนากับปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศ เศรษฐกิจพอเพยี งและการพัฒนาแบบ แบบยงั่ ยนื หรอื แนวคดิ ของศาสนาที่ตนนับ ยั่งยืน ถือตามท่กี ำหนด 12. วเิ คราะหค์ วามสำคญั ขอพระพุทธศาสนา ความสำคัญของพระพทุ ธศาสนากบั เกย่ี วกับการศกึ ษาท่ีสมบูรณ์ การเมอื งและ การศกึ ษาที่สมบรู ณ์ สนั ติภาพ หรือแนวคดิ ของศาสนาทต่ี นนบั ถอื ตามทก่ี ำหนด ความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนากับ การเมือง 13. วเิ คราะหห์ ลกั ธรรมในกรอบอริยสัจ 4 ความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนากบั หรอื หลกั คำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ สันตภิ าพ ➢ พระรตั นตรัย วเิ คราะหค์ วามหมายและคุณค่า ของพทุ ธะ ธรรมะ สังฆะ ➢ อริยสัจ 4 ทุกข์ (ธรรมที่ควรร้)ู oขันธ์ 5 - นามรูป
ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง - โลกธรรม 8 - จติ , เจตสิก สมทุ ัย (ธรรมที่ควรละ) O หลกั กรรม - นิยาม 5 - กรรมนิยาม ( กรรม 12) - ธรรมนยิ าม(ปฏิจจสมุปบาท) oวติ ก 3 oมิจฉาวณชิ ชา 5 oนวิ รณ์ 5 oอุปาทาน 4 นโิ รธ (ธรรมทคี่ วรบรรลุ) oภาวนา 4 oวิมุตติ 5 oนิพพาน มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) oพระสัทธรรม 3 oปัญญาวุฒิธรรม 4 oพละ 5 oอุบาสกธรรม 5 oอปริหานยิ ธรรม 7 oปาปณกิ ธรรม 3 oทฏิ ฐธัมมกิ ัตถสังวตั ตนิก ธรรม 4 oโภคอาทยิ ะ 5 oอริยวฑั ฒิ 5 oอธปิ ไตย 3 oสาราณียธรรม 6 oทศพิธราชธรรม 10 oวปิ ัสสนาญาณ 9 oมงคล 38 - สงเคราะห์บุตร
ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง - สงเคราะห์ภรรยา - สนั โดษ - ถูกโลกธรรมจิตไมห่ ว่ันไหว - จติ ไม่เศรา้ โศก - จิตไม่มวั หมอง - จิตเกษม - ความเพียรเผากเิ ลส - ประพฤติพรหมจรรย์ - เหน็ อรยิ สัจ - บรรลนุ พิ พาน ➢ พุทธศาสนสภุ าษิต จิตตฺ ทนฺต สุขาวห จิตท่ีฝึกดแี ล้วน าสุขมาให้ นอุจฺจาวจ ปณฑฺ ิตาทสสฺ ยนฺติ บัณฑิตย่อมไม่แสดงอาการข้ึน ๆ ลง ๆ นตถฺ ิ โลเก อนนิ ทฺ ิโต คนทไี่ มถ่ กู นินทา ไมม่ ใี นโลก โกธ ฆตวฺ า สุข เสติ ฆา่ ความโกรธได้ยอ่ มอยู่เป็นสขุ ปฏิรูปการี ธุรวา อุฎฺฐาตา วินฺทเต ธน คนขยันเอาการเอางาน กระท า เหมาะสม ยอ่ มหาทรพั ย์ได้ วายเมถว ปรุ โิ ส ยาว อตฺถสฺส นปิ ปฺ ทา เกิดเป็นคนควรจะพยายามจนกวา่ จะประสบความสำเร็จ สนตฺ ฎฐฺ ี ปรม ธน ความสันโดษเป็นทรัพยอ์ ยา่ งยิง่ อณิ าทาน ทุกขฺ โลเก การเปน็ หนีเ้ ป็นทุกขใ์ นโลก
ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ราชา มุข มนุสฺสาน พระราชาเปน็ ประมขุ ของ ประชาชน สติ โลกสฺมิ ชาคโร สตเิ ปน็ เครื่องต่ืนในโลก นตฺถิ สนตฺ ิปร สขุ สุขอนยิง่ กว่าความสงบไม่มี นิพฺพาน ปรม สุข นิพพานเปน็ สุข อย่างย่งิ 14. วิเคราะห์ข้อคดิ และแบบอย่าง ➢ พุทธสาวก พุทธสาวกิ การดำเนินชีวติ จากประวตั ิสาวก ชาดก พระอัสสชิ เร่ืองเลา่ และศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง ตามท่ี กำหนด พระกีสาโคตมเี ถรี พระนางมัลลิกา หมอชีวก โกมารภัจ พระอนรุ ทุ ธะ พระองคลุ ิมาล พระธัมมทินนาเถรี จติ ตคหบดี พระอานนท์ พระปฏาจาราเถรี จูฬสุภัททา สมุ นมาลาการ ➢ ชาดก เวสสนั ดรชาดก มโหสธชาดก มหาชนกชาดก ➢ ศาสนกิ ชนตัวอย่าง พระนาคเสน - พระยามิลินท์ สมเดจ็ พระวันรตั (เฮง เขมจารี) พระอาจารยม์ ่นั ภรู ทิ ตโฺ ต สุชพี ปุญญานุภาพ สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกข)ุ
ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง พระพรหมมงั คลาจารย์ (ปญั ญา นนั ทภิกข)ุ ดร.เอ็มเบดการ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจา้ อยหู่ ัว พระโพธญิ าณเถร (ชา สภุ ทฺโท) พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โต) อนาคาริก ธรรมปาละ 15. วเิ คราะหค์ ณุ ค่าและความสำคัญของการ วธิ ีการศึกษาและค้นคว้าพระไตรปิฏก สังคายนา พระไตรปฎิ ก หรอื คัมภรี ข์ อง และคัมภีรข์ องศาสนาอนื่ ๆ การ ศาสนาที่ตนนับถอื และการเผยแผ่ สงั คายนาและการเผยแผ่พระไตรปิฏก ความสำคญั และคุณคา่ ของพระ ไตรปฏิ ก 16. เชือ่ มั่นตอ่ ผลของการทำความดี ความชว่ั ตัวอย่างผลทเี่ กิดจากการทำความดี สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ท่ีต้องเผชิญ ความชว่ั และตดั สินใจเลือกดำเนนิ การหรอื ปฏบิ ัติตนได้ โยนโิ สมนสิการด้วยวิธคี ดิ แบบอริยสัจ อย่างมเี หตผุ ลถกู ตอ้ งตามหลักธรรม หลกั ธรรมตามสาระการเรียนรู้ข้อ 13 จรยิ ธรรม และกำหนดเป้าหมาย บทบาทการ ดำเนนิ ชีวิตเพ่อื การอยูร่ ่วมกนั อยา่ งสนั ตสิ ุข และอยู่ร่วมกนั เปน็ ชาตอิ ยา่ งสมานฉนั ท์ 17. อธบิ ายประวตั ิศาสดาของศาสนาอนื่ ๆ ◆ ประวตั ิพระพทุ ธเจา้ มุฮมั มัด พระ โดยสังเขป เยซู 18.ตระหนักในคุณคา่ และความสำคัญของ ◆ คุณค่าและความสำคญั ของคา่ นยิ ม คา่ นยิ ม จรยิ ธรรมท่เี ปน็ ตวั กำหนดความเชอ่ื และจรยิ ธรรม และพฤติกรรมทีแ่ ตกตา่ งกนั ของศาสนิกชน ◆ การขจัดความขัดแย้งเพ่ืออยู่ร่วมกัน ศาสนาต่างๆ เพ่อื ขจดั ความขัดแยง้ และอยู่ อยา่ งสนั ตสิ ุข รว่ มกันในสงั คมอยา่ งสนั ตสิ ุข 19. เห็นคุณค่า เชอ่ื มน่ั และมุ่งมั่นพัฒนาชวี ิต พฒั นาการเรียนรูด้ ้วยวธิ ีคดิ แบบ ดว้ ยการพัฒนาจติ และพฒั นาการเรยี นรูด้ ว้ ย โยนโิ สมนสิการ 10 วธิ ี (เนน้ วิธีคดิ วธิ คี ดิ แบบโยนโิ สมนสิการ แบบแยกแยะสว่ นประกอบ แบบ หรอื การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ สามญั ญลักษณะ แบบเป็นอย่ใู นขณะ ตนนบั ถือ ปจั จบุ นั และแบบ วิภชั ชวาท ) 1) วธิ คี ดิ แบบสบื สาวเหตุปัจจยั 2) วธิ คี ิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ 3) วิธคี ดิ แบบสามญั ลกั ษณะ
ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 4) วธิ ีคดิ แบบอริยสจั 5) วิธคี ิดแบบอรรถธรรมสมั พันธ์ 6) วิธีคดิ แบบคณุ ค่าแท้- คณุ ค่า เทยี ม 7) วธิ คี ิดแบบคุณ-โทษ และทางออก 8) วธิ ีคดิ แบบอุบาย ปลุกเรา้ คณุ ธรรม 9) วิธคี ิดแบบเป็นอยใู่ นขณะปจั จุบนั 10) วธิ คี ดิ แบบวิภัชชวาท 20. สวดมนต์ แผ่เมตตา และบริหารจติ และ ➢ สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา ร้แู ละ เจริญปญั ญาตามหลักสติปัฏฐาน หรือตาม เขา้ ใจวิธีปฏิบตั ิและประโยชน์ ของ แนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถอื การบริหารจิตและเจรญิ ปัญญา ฝึกการบริหารจติ และเจรญิ ปญั ญา ตามหลักสติปัฎฐาน นำ วิธีการบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญาไปใชใ้ นการพัฒนาการ เรียนรู้ คณุ ภาพชวี ติ และสงั คม 21. วเิ คราะหห์ ลักธรรมสำคัญในการอยู่ ◆ หลักธรรมสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ร่วมกันอย่างสันติสขุ ของศาสนาอื่นๆ และ อยา่ งสันตสิ ขุ ชกั ชวน สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้บคุ คลอน่ื เหน็ ความสำคัญของการทำความดีต่อกัน o หลักธรรมในพระพุทธศาสนา เชน่ สาราณีย 22. เสนอแนวทางการจัดกจิ กรรม ความ ธรรม 6 ร่วมมอื ของทุกศาสนาในการแก้ปัญหาและ พฒั นาสังคม อธิปไตย 3 มิจฉาวณิชชา 5 อรยิ วัฑฆิ 5 โภคอาทิยะ 5 ◆ ครสิ ต์ศาสนา ไดแ้ ก่ บัญญัติ 10 ประการ (เฉพาะท่ี เก่ียวข้อง) ◆ ศาสนาอิสลาม ได้แก่ หลัก จริยธรรม (เฉพาะที่เกี่ยวข้อง) ◆ สภาพปัญหาในชมุ ชน และสงั คม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.2 เขา้ ใจ ตระหนักและปฏบิ ัติตนเป็นศาสนกิ ชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนา ทต่ี นนบั ถือ ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.1 1. บำเพญ็ ประโยชน์ต่อวดั หรอื ศาสนสถาน ➢ การบ าเพ็ญประโยชนต์ ่อวดั หรอื ศาสน ของศาสนาทีต่ นนบั ถือ สถาน การพัฒนาทำความสะอาด การบริจาค การร่วมกจิ กรรมทางศาสนา 2. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตน ➢ การแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ เปน็ ศาสนกิ ชนของศาสนาที่ตนนบั ถอื ขนั้ เตรียมการ ข้ันพิธกี าร 3. ปฏบิ ัตติ นในศาสนพธิ ี พิธกี รรม และวนั ➢ ประวัตโิ ดยสงั เขปของวนั สำคัญทาง สำคญั ทางศาสนา ตามท่ีกำหนดได้ถกู ตอ้ ง พระพุทธศาสนา วันมาฆบชู า วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วนั อัฏฐมบี ูชา ➢ การบชู าพระรตั นตรัย ป.2 1. ปฏบิ ัติตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ สาวกของ ➢ การฝกึ ปฏบิ ัติมรรยาทชาวพทุ ธ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามทก่ี ำหนดได้ถกู ต้อง การพนมมือ การไหว้ การกราบ การนง่ั การยนื การเดนิ 2. ปฏบิ ตั ิตนในศาสนพิธี พธิ ีกรรม และวัน การเข้าร่วมกิจกรรมและพิธีกรรม ท่ี สำคญั ทางศาสนา ตามที่กาหนดไดถ้ กู ต้อง เกย่ี วเนื่องกบั วนั สำคญั ทางพุทธศาสนา ระเบยี บพธิ กี ารบชู าพระรตั นตรยั การทำบญุ ตักบาตร ป.3 1. ปฏิบตั ิตนอย่างเหมาะสมตอ่ สาวก ศาสน ➢ ฝึกปฏิบตั มิ รรยาทชาวพุทธ สถาน ศาสนวตั ถขุ องศาสนาท่ีตนนบั ถือ การลุกขึน้ ยืนรับ ตามท่ีกำหนดได้ถูกต้อง การตอ้ นรับ การรับ – ส่งส่งิ ของแกพ่ ระภกิ ษุ มรรยาทในการสนทนา การสำรวมกิริยามารยาท
ชัน้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 2. เหน็ คุณค่า และปฏิบัตติ นในศาสนพิธี การแตง่ กายที่เหมาะสมเม่ือ พิธกี รรม และวันสำคัญทางศาสนา ตามที่ อยูใ่ นวดั และพทุ ธสถาน การดูแลรกั ษาศาสนวตั ถแุ ละ กำหนดได้ถูกตอ้ ง ศาสนสถาน การอาราธนาศีล การสมาทานศีล เครอ่ื งประกอบโต๊ะหม่บู ชู า การจัดโต๊ะ หมูบ่ ชู า 3. แสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ หรอื แสดงตน ➢ ความเป็นมาของการแสดงตนเป็น เป็นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนบั ถอื พทุ ธมามกะ ➢ การแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ ข้นั เตรียมการ ข้นั พิธีการ ป.4 1. อภิปรายความสำคัญ และมสี ่วนร่วมในการ ความรเู้ บื้องตน้ และความสำคญั ของ บำรงุ รกั ษาศาสนสถานของศาสนาท่ีตนนับถอื ศาสนสถาน การแสดงความเคารพตอ่ ศาสนสถาน การบำรงุ รกั ษาศาสนสถาน 2. มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนทด่ี ี การปฏบิ ตั ติ นท่ีเหมาะสมต่อพระภิกษุ ตามที่กำหนด การยืน การเดนิ และการน่ังที่เหมาะสม ในโอกาสต่าง ๆ 3. ปฏิบัตติ นในศาสนพิธี พธิ ีกรรมและวนั การอาราธนาศลี สำคญั ทางศาสนา ตามที่กาหนดได้ถกู ต้อง การอาราธนาธรรม การอาราธนาพระปรติ ร ระเบยี บพิธแี ละการปฏิบัตติ นในวันธรรม สวนะ ป.5 1. จดั พิธกี รรมตามศาสนาทต่ี นนบั ถอื อยา่ ง การจดั พิธกี รรมที่เรยี บงา่ ย ประหยดั เรยี บงา่ ย มีประโยชน์ และปฏบิ ตั ิตนถูกต้อง มปี ระโยชน์ และถกู ต้องตามหลักทาง ศาสนาที่ตนนับถอื 2. ปฏบิ ตั ิตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวนั การมีส่วนร่วมในการจดั เตรยี มสถานที่ สำคญั ทางศาสนา ตามที่ก าหนด และ ประกอบศาสนพิธี พธิ กี รรมทางศาสนา อภิปรายประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับจากการเขา้ ร่วม พธิ ีถวายสังฆทาน เครอ่ื งสังฆทาน กิจกรรม ระเบียบพิธใี นการท าบญุ งานมงคล ประโยชน์ของ การเขา้ ร่วมศาสนพิธี
ชนั้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง พิธีกรรมทางศาสนา หรือกิจกรรม ในวันสำคญั ทางศาสนา 3. มมี รรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี การกราบพระรัตนตรัย ตามท่ีกำหนด การไหว้บดิ า มารดา คร/ู อาจารย์ ผู้ทีเ่ คารพนับถือ การกราบศพ ป.6 1. อธิบายความร้เู กีย่ วกบั สถานทต่ี า่ งๆใน ความรเู้ บอื้ งตน้ เกีย่ วกับสถานทต่ี ่าง ๆ ศาสนสถาน และปฏิบัติตนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ภายในวัด เชน่ เขตพุทธาวาส สงั ฆาวาส การปฏิบัตติ นทเ่ี หมาะสมภายในวัด 2. มมี รรยาทของความเป็นศาสนกิ ชนที่ดี การถวายของแกพ่ ระภิกษุ ตามที่กำหนด การปฏิบัติตนในขณะฟงั ธรรม การปฏบิ ัตติ นตามแนวทางของ พุทธศาสนกิ ชน เพื่อประโยชนต์ ่อ ศาสนา 3. อธิบายประโยชน์ของการเขา้ ร่วมใน ทบทวนการอาราธนาศีล อาราธนาธรรม ศาสนพิธี พิธีกรรม และกิจกรรมใน และอาราธนาพระปรติ ร วนั สำคัญทางศาสนา ตามท่กี ำหนด และ พิธีทอดผ้าปา่ ปฏิบตั ิตนไดถ้ ูกต้อง พิธีทอดกฐิน ระเบยี บพิธีในการท าบุญงานอวมงคล การปฏบิ ตั ิตนทีถ่ ูกตอ้ งในศาสนพธิ ี พธิ กี รรม และวนั สำคญั ทางศาสนา เช่น วันมาฆบชู า วนั วสิ าขบูชา วนอัฐมบี ูชา วันอาสาฬหบูชา วนั ธรรมสวนะ ประโยชนข์ องการเข้ารว่ มในศาสนพิธ/ี พิธีกรรม และวนั สำคัญทางศาสนา 4. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตน ➢ การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ เปน็ ศาสนิกชนของศาสนาท่ตี นนบั ถอื - ขั้นเตรยี มการ - ข้ันพิธกี าร ม.1 1. บ าเพ็ญประโยชนต์ ่อศาสนสถานของ การบำเพ็ญประโยชน์ และ ศาสนาท่ีตนนบั ถือ การบำรงุ รกั ษาวดั
ชน้ั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 2. อธิบายจรยิ วตั รของสาวกเพือ่ เปน็ วถิ ีชวี ิตของพระภิกษุ แบบอยา่ งในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ และปฏิบัติ บทบาทของพระภิกษุในการเผยแผ่ ตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของศาสนาท่ีตน พระพทุ ธศาสนา เช่น การแสดงธรรม นบั ถอื ปาฐกถาธรรม การประพฤติตนให้เปน็ แบบอย่าง การเข้าพบพระภกิ ษุ การแสดงความเคารพ การประนมมือ การไหว้ การกราบ การเคารพ พระรตั นตรยั การฟงั เจรญิ พระพทุ ธมนต์ การฟงั สวด พระอภิธรรม การฟงั พระธรรมเทศนา 3. ปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมต่อบคุ คลต่างๆ ปฏบิ ตั ติ นอยา่ งเหมาะสมต่อเพือ่ นตาม ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ ตามท่ีกำหนด หลักพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตน นบั ถอื 4. จัดพิธกี รรม และปฏบิ ตั ติ นใน ศาสนพิธี การจัดโตะ๊ หมู่บชู า แบบ หม4ู่ หมู่ 5 พิธีกรรมได้ถูกต้อง หมู่ 7 หมู่ 9 การจุดธปู เทยี น การจดั เคร่อื งประกอบ โต๊ะหม่บู ูชา คำอาราธนาต่างๆ 5. อธบิ ายประวัติ ความสำคัญ และ ปฏบิ ตั ิตน ประวตั ิและความสำคัญของวันธรรม ในวันสำคญั ทางศาสนา ทีต่ นนับถอื ตามที่ สวนะ วันเขา้ พรรษา วันออกพรรษา กำหนดได้ถูกต้อง วนั เทโวโรหณะ ระเบียบพิธี พิธเี วียนเทยี น การปฏิบัติตน ในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมี บูชา วันอาสาฬหบูชา วันธรรมสวนะ และเทศกาลสำคญั ม.2 1. ปฏิบัตติ นอยา่ งเหมาะสมต่อบุคคล ตา่ ง ๆ การเปน็ ลูกท่ีดี ตามหลกั ทิศเบ้อื งหนา้ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ ตามทก่ี ำหนด ในทศิ 6 2. มีมรรยาทของความเป็นศาสนกิ ชนทด่ี ี การตอ้ นรับ (ปฏิสนั ถาร) ตามท่ีกำหนด มรรยาทของผูเ้ ป็นแขก ฝกึ ปฏบิ ตั ริ ะเบียบพธิ ี ปฏิบัติต่อพระภกิ ษุ การยนื การให้ทน่ี ง่ั การเดนิ สวน
ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง การสนทนา การรบั สิ่งของ การแตง่ กายไปวัด การแตง่ กายไปงาน มงคล งานอวมงคล 3. วิเคราะห์คณุ คา่ ของศาสนพธิ ี และปฏิบตั ิ การทำบญุ ตักบาตร ตนได้ถกู ตอ้ ง การถวายภัตตาหารส่งิ ของท่ีควรถวาย และสิง่ ของต้องห้ามสำหรับพระภกิ ษุ การถวายสงั ฆทาน เครอื่ งสังฆทาน การถวายผ้าอาบน้ าฝน การจดั เครอ่ื งไทยธรรม เคร่ืองไทยทาน การกรวดนำ้ 4. อธิบายค าสอนทเี่ ก่ยี วเน่อื งกบั การทอดกฐนิ การทอดผ้าป่า วนั สำคญั ทางศาสนา และปฏบิ ัติตน หลกั ธรรมเบอ้ื งต้นท่ีเก่ยี วเนอ่ื งใน ไดถ้ ูกต้อง วันมาฆบูชา วันวสิ าขบูชา วันอัฏฐมบี ชู า วันอาสาฬหบูชา วันธรรมสวนะและเทศกาลสำคญั ระเบียบพิธแี ละการปฏบิ ตั ติ น ในวนั ธรรมสวนะ วนั เขา้ พรรษา 5. อธบิ ายความแตกตา่ งของศาสนพิธี วันออกพรรษา วนั เทโวโรหณะ พธิ ีกรรม ตาม แนวปฏิบตั ขิ องศาสนาอืน่ ๆ ศาสนพิธ/ี พธิ กี รรม แนวปฏบิ ตั ิของ เพอื่ นำไปส่กู ารยอมรับ และความเข้าใจซงึ่ กนั ศาสนาอน่ื ๆ และกัน ม.3 1. วิเคราะห์หนา้ ท่แี ละบทบาทของสาวก และ หนา้ ท่ีของพระภกิ ษใุ นการปฏบิ ตั ิ ปฏิบัติตนต่อสาวก ตามทก่ี ำหนดไดถ้ ูกต้อง ตามหลักพระธรรมวินยั และจรยิ วัตร อยา่ งเหมาะสม การปฏบิ ัติตนต่อพระภกิ ษใุ นงาน ศาสนพิธที ี่บา้ น การสนทนา การแต่งกาย มรรยาทการพดู กับพระภิกษุตามฐานะ 2. ปฏิบัติตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ บุคคล ต่าง ๆ การเป็นศิษย์ที่ดี ตามหลักทิศเบ้ืองขวา ตามหลักศาสนา ตามท่ีกำหนด ในทศิ 6 ของพระพุทธศาสนา 3. ปฏิบตั หิ น้าที่ของศาสนกิ ชนทดี่ ี การปฏิบัตหิ น้าท่ีชาวพุทธตามพทุ ธ ปณธิ าน 4 ในมหาปรนิ ิพพานสูตร 4. ปฏิบัติตนในศาสนพธิ ีพิธกี รรมได้ถูกต้อง พธิ ีทำบุญ งานมงคล งานอวมงคล
ชน้ั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.4-ม.6 การนิมนต์พระภิกษุ การเตรยี มทีต่ ้ัง พระพุทธรูปและเครื่องบูชา การวงดา้ ย สายสิญจน์ การปูลาดอาสนะ การเตรยี ม เครื่องรับรอง การจุดธปู เทียน ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นวันเล้ยี งพระ การถวายข้าว พระพุทธ การถวายไทยธรรม การกรวดน้ำ 5. อธิบายประวัติวนั สำคญั ทางศาสนาตามท่ี ➢ ประวัติวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาใน กำ หนดและปฏบิ ัติตนได้ถกู ต้อง ประเทศไทย วนั วิสาขบูชา (วนั สำคัญสากล) วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสำคญั ➢ หลักปฏิบตั ิตน : การฟงั พระธรรม เทศนา การแตง่ กายในการประกอบ ศาสนพิธที ่ีวัด การงดเวน้ อบายมขุ ➢ การประพฤติปฏบิ ตั ิในวันธรรมสวนะ และเทศกาลสำคัญ 6. แสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ หรอื แสดงตน ➢ การแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ เป็นศาสนกิ ชนของศาสนา ท่ตี นนับถือ ข้ันเตรยี มการ ขั้นพิธีการ 7. นำเสนอแนวทางในการธำรงรักษาศาสนาที่ ตน การศึกษาเรียนร้เู ร่ืององค์ประกอบของ นบั ถือ พระพทุ ธศาสนา นำไปปฏิบตั ิและเผย แผต่ ามโอกาส การศกึ ษาการรวมตัวขององคก์ ร ชาวพุทธ การปลกู จิตสำนึกในด้านการบำรงุ รกั ษา วัดและพุทธสถานให้เกดิ ประโยชน์ 1. ปฏบิ ัตติ นเป็นศาสนกิ ชนทด่ี ีต่อสาวก ➢ ปฏิบัติตนเป็นชาวพทุ ธท่ีดีต่อพระภิกษุ สมาชกิ ในครอบครัว และคนรอบข้าง การเขา้ ใจในกิจของพระภิกษุ เช่น การศกึ ษา การปฏิบัติธรรม และ การเปน็ นกั บวชที่ดี คุณสมบตั ทิ ายกและปฏิคาหก หน้าทแ่ี ละบทบาทของพระภิกษุ ใน ฐานะพระนกั เทศก์ พระธรรมทูต พระธรรมจารกิ พระ
ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง วิทยากร พระวปิ ัสสนาจารย์ และ พระนกั พฒั นา การปกป้องค้มุ ครอง พระพุทธศาสนาของพุทธบริษทั ใน สงั คมไทย การปฏบิ ตั ติ นต่อพระภิกษุทางกาย วาจา และใจ ท่ปี ระกอบดว้ ย เมตตา การปฏสิ ันถารท่เี หมาะสมตอ่ พระภิกษุ ในโอกาสต่าง ๆ ➢ ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครวั และสังคม การรักษาศีล 8 การเข้ารว่ มกิจกรรมและเป็นสมาชิก ขององค์กรชาวพทุ ธ การเป็นชาวพุทธที่ดี ตามหลกั ทิศ เบ้อื งบน ในทิศ 6 การปฏบิ ตั ิตนท่ีเหมาะสมในฐานะ ผปู้ กครองและ ผ้อู ยู่ในปกครอง ตามหลกั ทิศเบ้ืองล่าง ในทศิ 6 การปฏิสันถารตามหลัก ปฏสิ ันถาร 2 หนา้ ทีแ่ ละบทบาทของอบุ าสก อุบาสิกาทม่ี ีต่อสงั คมไทยในปัจจบุ ัน การปฏิบัติตนเป็นสมาชกิ ที่ดีของ ครอบครัว ตามหลักทิศเบื้องหลัง ในทิศ 6 การบำเพ็ญตนใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ครอบครวั ชุมชน ประเทศชาติ และโลก 2. ปฏิบตั ิตนถูกต้องตามศาสนพิธีพิธกี รรม ตาม ➢ ประเภทของศาสนพธิ ใี นพระพุทธศาสนา หลักศาสนาทีต่ นนบั ถือ ศาสนพธิ เี น่อื งดว้ ยพทุ ธบัญญตั ิ เชน่ พธิ ีแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ
ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง พิธีเวยี นเทียน ถวายสงั ฆทาน ถวายผ้าอาบน้ำฝน พิธที อดกฐนิ พิธปี วารณา เป็นต้น ศาสนพธิ ที ่นี าพระพทุ ธศาสนา เขา้ ไปเกี่ยวเนอ่ื ง เชน่ การทำบุญ เล้ยี งพระในโอกาสตา่ งๆ ➢ ความหมาย ความสำคญั คติธรรม ในพธิ ีกรรม บทสวดมนตข์ องนกั เรยี น งานพิธี คุณค่าและประโยชน์ ➢ พิธบี รรพชาอุปสมบท คณุ สมบตั ขิ อง ผู้ขอบรรพชาอุปสมบท เคร่อื ง อฏั ฐบริขาร ประโยชน์ของการ บรรพชาอุปสมบท ➢ บุญพิธี ทานพิธี กศุ ลพิธี ➢ คณุ ค่าและประโยชน์ของศาสนพิธี 3. แสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะหรอื แสดงตน ➢ การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ เป็นศาสนิกชนของศาสนาทีต่ นนับถอื ขน้ั เตรยี มการ ข้ันพิธีการ 4. วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรมที่เก่ยี วเนอื่ ง กบั วันสำคญั ทางศาสนา และเทศกาลท่ีสำคัญ หลักธรรม/คตธิ รรมทเี่ ก่ยี วเน่ืองกบั ของศาสนาทต่ี นนับถือ และปฏิบตั ิตนได้ วันสำคญั และเทศกาลทีส่ ำคญั ใน ถกู ต้อง พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาอน่ื การปฏิบัติตนทถี่ กู ตอ้ งในวนั สำคญั 5. สัมมนาและเสนอแนะแนวทางในการธำรง รกั ษาศาสนาท่ีตนนับถือ อนั สง่ ผลถงึ การ และเทศกาลทีส่ ำคัญในพระพทุ ธศาสนา พัฒนาตน พฒั นาชาติและโลก หรือศาสนาอ่ืน การปกปอ้ ง คุ้มครอง ธำรงรักษา พระพทุ ธศาสนาของพุทธบรษิ ัท ในสงั คมไทย การปลูกจติ สำนึก และการมสี ่วนรว่ ม ในสังคมพุทธ
สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศ หลักธรรม เพ่ืออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตวั ชี้วัด ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 1. บอกพุทธ 1. บอก 1.อธิบายความ 1. อธิบายความ 1. วิเคราะห์ 1. ว ประวัติ หรือ ความสำคัญของ สำคัญของ สำคัญของพระ ความสำคัญของ ควา ประวัติของ พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา พุทธศาสนาหรือ พระพุทธศาสนา พระ ศาสดาท่ี หรือศาสนาท่ีตน หรือศาสนาที่ตน ศาสนาท่ีตนนับ หรือศาสนาที่ตน ศาส ตนนับถือ นับถือ นับถือในฐานะท่ี ถือ ในฐานะเป็น นับถือ ในฐานะ เป็น โดยสังเขป 2. สรุปพทุ ธ เป็นรากฐาน ศูนย์รวมจิตใจ ทเี่ ป็นมรดกทาง ประ 2. ชื่นชมและ ประวัติตง้ั แต่ สำคัญของ ของศาสนิกชน วฒั นธรรมและ หรือ บอกแบบอย่าง ประสูติจนถงึ วฒั นธรรมไทย 2. สรุปพทุ ธ หลักในการ ของ การดำเนินชวี ิต การออกผนวช 2. สรุปพุทธ ประวัติต้งั แต่ พัฒนาชาติไทย นับถ และข้อคิดจาก หรือประวัติ ประวัติตง้ั แต่ บรรลธุ รรมจน 2. สรุปพทุ ธ 2. ส ประวัตสิ าวก ศาสดาท่ีตนนับ การบำเพญ็ ถึงประกาศธรรม ประวัติตง้ั แต่ ประ ชาดก เรื่องเล่า ถือตามที่กำหนด เพียรจนถงึ หรือประวัติ เสด็จกรุงกบิล ปลง และศาสนิกชน 3. ช่ืนชมและ ปรินิพพาน หรือ ศาสดาที่ตน พัสด์ุจนถงึ พุทธ จนถ ตัวอย่างตามท่ี บอกแบบอย่าง ประวัติของ นับถือตามที่ กิจสำคัญหรือ สถา กำหนด การดำเนินชีวิต ศาสดาที่ตน กำหนด ประวัติศาสดาท่ี ประ 3. บอก และข้อคิดจาก นับถือตามที่ 3. เห็นคุณค่า ตนนับถือตามท่ี ตนน ความหมาย ประวัตสิ าวก กำหนด และปฏิบัติตน กำหนด กำห ความสำคัญและ ชาดก เร่ืองเล่า ตามแบบอย่าง 3. เห็นคุณค่า 3. เ เคารพ และศาสนิกชน การดำเนินชวี ิต และประพฤติตน และ พระรัตนตรัย ตวั อย่างตามท่ี และข้อคิดจาก ตามแบบอย่าง ตาม ปฏิบัติตาม กำหนด ประวัตสิ าวก การด าเนินชีวิต การ และข้อคิดจาก และ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222