Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลตามแผนปฎิบัติการ 2564 สมบูรณ์

รายงานผลตามแผนปฎิบัติการ 2564 สมบูรณ์

Published by rangsunrangsun9325, 2021-05-18 07:50:30

Description: รายงานผลตามแผนปฎิบัติการ 2564 สมบูรณ์

Search

Read the Text Version

บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจนั ท่ี ศธ 0210.7904/503 วันที่ 21 เมษายน 2564 เรอื่ ง การตรวจคณุ ภาพสรุปผลการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส 1 – 2) เรียน ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางระจนั ดว้ ย แผนงานและโครงการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจนั ได้จดั ทาสรปุ ผลการดาเนินงานประจาปงี บประมาณ 2564 (ไตรมาส 1 – 2) เรียบรอ้ ยแล้ว จงึ ขอเสนอ สรุปผลการดาเนินงานประจาปงี บประมาณ 2564 เพอ่ื ตรวจคุณภาพกอ่ นนาไปเผยแพร่ รายละเอยี ดดังแนบ มาพร้อมนี้ จงึ เรียนมาเพอื่ โปรดพจิ ารณา (นางนชุ จรนิ กนั อ่า) ครูอาสาสมคั รฯ (นางสาวปรญิ ญารตั น์ แสงสวา่ ง) (นางสาววจิ ิตรา กองแก้ว) ผ้ชู ว่ ยหัวหนา้ งานวชิ าการ หัวหนา้ งานวชิ าการ ผลการตรวจสอบ  การจดั กจิ กรรมสอดคล้องกบั นโยบายจุดเนน้  การจดั กจิ กรรมสอดคลอ้ งกับมาตราฐานการศึกษา  การจดั กจิ กรรมสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย  ความถูกตอ้ งตามหลักภาษาไทย  ผา่ น  ไม่ผา่ น ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (นางสาวปรารถนา ชีโพธิ์) ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางระจนั วนั ท่ี 21 เดือน เมษายน พ.ศ. 2564

ก คานา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจนั ได้จดั ทาสรุปผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส 1 – 2 ) ซง่ึ เปน็ ผลจากการขับเคลือ่ นนโยบายของรฐั บาลภายใตก้ ารนา ของ พลเอกประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี นโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร และ นโยบายของสานักงาน กศน. โดยไดร้ ับความรว่ มมอื จากรายงานผลการดาเนินงานในพน้ื ที่ กศน.ตาบลทงั้ 8 ตาบล งานแผนงานและโครงการ งานตดิ ตามผลประเมินผล และคณะทางานทกุ ทา่ น รว่ มกันวิเคราะห์ และสรปุ ผลการดาเนินงานในแต่ละโครงการ / กจิ กรรม และได้รวมรวมจัดทาเปน็ เอกสารรปู เลม่ สรุปผลการ ดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส 1 – 2 ) ฉบบั นี้ การตดิ ตามและประเมนิ ผลเป็นขั้นตอนหน่งึ ของการวางแผนทม่ี ีความสาคญั เพราะการติดตามและ ประเมนิ ผลจะเป็นตัวช้ีวัด และบอกให้ผู้วางแผน ผู้ปฏิบัตติ าม ผู้บริหาร และผูท้ ี่เกยี่ วข้องทุกฝ่ายได้ทราบว่า แผนงาน / โครงการที่กาหนดไวน้ นั้ คุ้มค่าตอ่ เวลา กาลังแรงงาน และงบประมาณหรอื ไม่ เมื่อดาเนินการ เสรจ็ แลว้ และไดผ้ ลออกมาเป็นอย่างไร บรรลุตามเปา้ หมายหรือวตั ถุประสงคท์ ่ีวางไวม้ ากน้อยเพียงใด สามารถนาผลการประเมินมาตดั สินใจว่าควรจะดาเนนิ งานตามแผน / โครงการน้ตี ่อไปหรอื ไม่ อีกทัง้ ยงั เปน็ ขอ้ มลู ประกอบการตดั สินใจของผบู้ ริหารตอ่ การปรบั เปล่ียนนโยบาย และกลยทุ ธก์ ารดาเนินงานให้เหมาะสม และเป็นทศิ ทางให้กับหน่วยงานนาไปเป็นขอ้ มลู ประกอบการจัดทาแผนปฏบิ ัติงานประจาปใี ห้สอดคล้องกบั ความต้องการของกลุม่ เปา้ หมายและบริบทต่อไป ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจนั หวงั วา่ สรุปผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ 2564 (ไตรมาส 1 – 2 ) ฉบับนี้ จะสามารถตอบโจทย์การบริหารงานตามยุทธศาสตร์ และพนั ธกจิ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพได้อยา่ งชดั เจน กศน.อาเภอบางระจนั เมษายน 2564

ข สารบัญ ก ข คานา สารบญั 1 ตอนที่ 1 บทนา 3  ขอ้ มลู พนื้ ฐานศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจนั 6  ขอ้ มลู ทว่ั ไปและขอ้ มูลพ้ืนฐานอาเภอบางระจนั 6 ตอนที่ 2 ทศิ ทางการดาเนินงาน 9  ทศิ ทางการดาเนินงานของสถานศกึ ษา 14  ปรัชญา / วสิ ัยทัศน์ / อตั ลกั ษณ์ / เอกลักษณ์ / พันธกิจ / เป้าประสงค์ / ตัวชี้วัด 24  แผนผังการบริหารองคก์ รบทบาทหน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบของกลุ่ม/ฝา่ ยภายในองคก์ ร 26  นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานกั งาน กศน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564  มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2562 28  การศกึ ษาสถานภาพของ กศน.อาเภอบางระจนั 30 ตอนท่ี 3 สรุปผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564  บทบาทภารกิจ กศน.อาเภอบางระจัน 33  สรุปผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รายละเอยี ด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม กศน. ตอนท่ี 4 สรุปผลการดาเนนิ งานตามโครงการ/กจิ กรรมประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564  สรปุ ผลการดาเนนิ งานตามโครงการ/กจิ กรรมประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตอนท่ี 5 สรปุ ผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง  รายงานสรุปผลการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (เสนอผบู้ รหิ าร)  รายงานสรุปผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (เสนอประธานกรรมการสถานศึกษา)  รายงานสรปุ ผลการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (เสนอผบู้ รหิ ารระดับจังหวัด)  ภาพกิจกรรม  คาสง่ั

1 ตอนที่ 1 ข้อมลู พนื้ ฐาน ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจนั ช่ือสถานศกึ ษา ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจัน ทตี่ ง้ั อยู่ หม่ทู ่ี 7 ตาบลไมด้ ดั อาเภอบางระจนั จังหวดั สิงห์บรุ ี รหัสไปรษณยี ์ 16130 โทรศัพท์ - สงั กัด สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดสิงห์บุรี สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ  สภาพทว่ั ไปของสถานศกึ ษา ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางระจนั ตง้ั อยู่ หมทู่ ี่ 7 ตาบลไม้ดัด อาเภอบางระจัน จงั หวดั สงิ หบ์ ุรี รหัส16130 โทรศพั ท์ โทรสาร 0-3659-2136 สงั กดั สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั สงิ หบ์ รุ ี สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร  ประวตั ิความเปน็ มาของสถานศึกษา 1. ช่อื สถานศึกษาศนู ย์การศึกษานอกระบบการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจนั 2. ท่ตี ัง้ /การตดิ ต่อ หมู่ที่ 7 ตาบลไมด้ ัด อาเภอบางระจัน จังหวดั สิงห์บรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ 16130 โทรศพั ท์ 036 – 592136 โทรสาร 036 – 592136 3. สงั กัด สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดสงิ ห์บุรี 4. ประวตั ิความเป็นมาของสถานศกึ ษา ประวตั ิสถานศกึ ษาปีพทุ ธศักราช 2536 กระทรวงศกึ ษาธิการไดป้ ระกาศจดั ต้งั ศูนยบ์ รกิ ารการศึกษา นอกโรงเรยี นอาเภอบางระจัน เปน็ สถานศกึ ษาสงั กดั กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธกิ าร เม่ือวนั ที่ 27 สงิ หาคม 2536 โดยใช้ห้องสมุดประชาชนเป็นสานกั งานใหบ้ ริการประชาชน กรมการศึกษานอก โรงเรียนได้จัดสรรงบประมาณ 644,000 บาท (หกแสนสห่ี ม่ืนส่ีพันบาทถ้วน) สถานทีก่ อ่ สร้างได้รับการ สนบั สนุนจากโรงเรียนชมุ ชนบ้านไมด้ ดั ไดม้ อบทด่ี ิน จานวน 300 ตารางวา ให้ก่อสร้างห้องสมุดประชาชน อาเภอบางระจนั โดยเร่ิมกอ่ สร้างวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2537 แลว้ เสรจ็ ในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2538

2 กรมการศึกษานอกโรงเรยี น จดั สรรงบประมาณกอ่ สรา้ งห้องสมุด เฉพาะตวั อาคารส่วนช้ันวางหนังสอื ประตูเหลก็ พดั ลม เครื่องปรบั อากาศไม่ได้จดั สรรงบประมาณมาให้ ในปพี .ศ. 2538 ถงึ 2539 ศนู ย์บริการ การศกึ ษานอกโรงเรียนอาเภอบางระจัน ได้รบั บริจาคจากผ้มู จี ิตศรัทธา บริจาคเงินสร้างชน้ั วางหนงั สอื เปน็ แบบ ไม้ จานวน 5 ชนั้ ๆละ 6,000 บาท ตลอดจนเครอื่ งปรบั อากาศ พดั ลม และครภุ ัณฑอ์ ่ืนๆ เปน็ จานวนเงินที่ ไดร้ ับบรจิ าคทัง้ สนิ้ 81,300 บาท (แปดหม่ืนหนึง่ พนั สามรอ้ ยบาทถว้ น) และไดท้ าพิธเี ปดิ เม่ือวันท่ี 26 มกราคม พ.ศ. 2539 ศนู ยบ์ ริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอบางระจนั ได้เปลยี่ นชอื่ สถานศกึ ษาตามพระราชบญั ญตั ิ สง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ประกาศเม่อื วันที่ 3 มีนาคม 2551 ตาม พระราชกจิ จานุเบกษา เล่มท่ี 125 ตอนท่ี 41 ก โดยใช้ชอื่ วา่ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั อาเภอบางระจัน ต่อมาในปพี ุทธศักราช 2558 ทา่ นเจา้ อาวาสวดั มว่ งชุม ท่าน ดร.พม.จินตวฒั น์ จารุวทฺฒโย และผอู้ านวยการสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาจงั หวัดสงิ ห์บุรี ได้อนุญาตให้ใชอ้ าคารสานกั งาน ประถมศึกษาอาเภอบางระจัน (อาคารหลวงป่บู ุดดาถาวโร) ใหใ้ ช้ประโยชน์เปน็ สถานทตี่ ั้งศนู ย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจัน ซ่งึ อยภู่ ายในบรเิ วณวัดมว่ งชุม หมูท่ ่ี 7 ตาบลไมด้ ดั อาเภอ บางระจนั จงั หวัดสงิ หบ์ รุ ี ตง้ั แตว่ ันที่ 1 มถิ นุ ายน 2557 เป็นตน้ มา ทาเนยี บผบู้ รหิ าร กศน.อาเภอบางระจัน ลาดบั รายช่ือผู้บรหิ าร ระยะเวลาทีด่ ารงตาแหน่ง ท่ี ปี พ.ศ. 2537 – ปี พ.ศ. 2545 1 นายทศพล ทพิ ย์ไพฑรู ย์ ปี พ.ศ. 2545 – ปี พ.ศ. 2552 (หัวหน้าศูนย์ กศน.อาเภอบางระจนั ) ปี พ.ศ. 2552 – ปี พ.ศ. 2554 2 นายสาธติ ทองสุพรรณ์ 10 ตุลาคม 2554 – 9 มีนาคม 2555 (หัวหน้าศูนย์/ผอู้ านวยการสถานศึกษา) 10 มีนาคม 2555 – 27 กันยายน 2555 3 นายทศพล ทิพย์ไพฑรู ย์ (ผู้อานวยการสถานศกึ ษา) 28 กนั ยายน 2555 – 14 สงิ หาคม 2556 4 นางอาพรศลิ ป์ ลิมาภริ กั ษ์ (ผู้อานวยการสถานศึกษา) 5 นางกลอยใจ พฒุ นาค (ครชู านาญการพเิ ศษ รักษาการในตาแหนง่ ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอบางระจนั ) 6 นายสุรพล อ่าจาปา (ผู้อานวยการสถานศึกษา)

ลาดบั รายช่ือผู้บรหิ าร 3 ท่ี ระยะเวลาที่ดารงตาแหนง่ 8 นายชนะ เปรมปรี 1 ตลุ าคม 2558 – 22 พฤศจิกายน 2559 (รองผูอ้ านวยการสานักงาน กศน.จงั หวดั สงิ หบ์ ุรี) รกั ษาการในตาแหนง่ ผอ.กศน.อาเภอบางระจัน) 23 พฤศจิกายน 2558 – 10 มกราคม 2560 9 นางปุณนภา เชิดเพชรรตั น์ 10 มกราคม 2560 - 30 กนั ยายน 2560 (ผู้อานวยการสถานศึกษา) 10 นางกลอยใจ พุฒนาค 1 ตุลาคม 2560 – 4 กุมภาพันธ์ 2562 (ครูชานาญการพิเศษรกั ษาการในตาแหนง่ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบางระจนั ) 5 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2562 - 22 พฤศจิกายน 11 นางสาวปภินดา วรรณวฒั นเมธา 2563 (ครูชานาญการพิเศษ รักษาการในตาแหน่ง 23 พฤศจิกายน 2563 - ปัจจบุ นั ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางระจัน) 12 นางสมฤทัย ด้ามทอง (ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางระจนั ) 13 นางสาวปรารถนา ชีโพธิ์ (ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอบางระจัน) ขอ้ มลู ทวั่ ไปและข้อมลู พ้ืนฐานอาเภอบางระจัน สภาพของชมุ ชน (สภาพทวั่ ไปและสภาพทางเศรษฐกจิ และสังคม) 1. สภาพทัว่ ไป 1.1 เนอ้ื ที่และลักษณะภูมปิ ระเทศสภาพพนื้ ที่เปน็ ท่ีราบลุ่ม ไมม่ ภี เู ขาและป่าไม้/เปน็ ท่ีนา เกษตรกรรม มแี ม่น้าน้อยไหลผา่ นกลาง ตวั อาเภอและมรี ะบบชลประทานทว่ั ถึงทั้งอาเภอ 1.2 การปกครอง แบ่งเขตการปกครอง ตามพระราชบญั ญตั ิลกั ษณะปกครองทอ้ งที่ พ.ศ. 2457 เปน็ 8 ตาบล 77 หม่บู า้ น ประกอบดว้ ย 1. ตาบลไม้ดัด จานวน 14 หมู่บา้ น 2. ตาบลสิงห์ จานวน 9 หมูบ่ ้าน 3. ตาบลแม่ลา จานวน 6 หมูบ่ ้าน 4. ตาบลโพชนไก่ จานวน 11 หมบู่ ้าน 5. ตาบลเชิงกลดั จานวน 13 หมู่บา้ น

4 6. ตาบลพกั ทนั จานวน 10 หมบู่ ้าน 7. ตาบลสระแจง จานวน 6 หมบู่ ้าน 8. ตาบลบา้ นจ่า จานวน 8 หมบู่ ้าน 2. สภาพทางเศรษฐกิจ อาชพี หลกั ได้แก่ อาชพี เกษตรกรรม 1. ทานา ประมาณ รอ้ ยละ 78.97 2. ทาสวน ทาไร่ ประมาณ รอ้ ยละ 21.03 พืชเศรษฐกิจ คอื ขา้ ว อ้อย สัตวเ์ ศรษฐกจิ คอื โค สกุ ร ไก่ เป็ด 3. สภาพทางสังคม 3.1 การศึกษา สถานศกึ ษาของรัฐ 1. ระดับประถม จานวน 22 แหง่ 2. ระดับมธั ยม จานวน 2 แหง่ 3. ระดับอดุ มศึกษา จานวน 1 แหง่ 3.2 การศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี มีวัด จานวน 34 แหง่ 3.3 การสาธารณสุข 1. โรงพยาบาลชมุ ชนขนาด 30 เตยี ง จานวน 1 แหง่ 2. โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล จานวน 7 แห่ง 3. คลินกิ เอกชน จานวน 7 แห่ง 4. ร้านขายยา จานวน 14 แห่ง 5. อาสาสมัครสาธารณสขุ จานวน 829 คน 3. สภาพทางทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม แหลง่ น้าธรรมชาติ แมน่ ้านอ้ ย คลองชลประทานส่งนา้ คลอง 4 คลอง 5 คลอง 6

5 ขอ้ มูลด้านบริหารจดั การ 1. ระบบสาธารณปู โภค - การประปา - การไฟฟ้า - โทรศพั ท์ - อนิ เทอรเ์ น็ตความเรว็ สูง 2. สอ่ื อุปกรณ์ ครุภณั ฑ์ และส่งิ อานวยความสะดวกในการส่งเสรมิ สนับสนนุ การจดั การเรียนรู้ ลาดบั ที่ รายการ จานวน สภาพการใชง้ าน 9 เครื่อง ใช้งานได้ดี 1 คอมพิวเตอร์ตัง้ โต๊ะ 9 เครอ่ื ง ใช้งานได้ดี 2 เครอ่ื ง ใช้งานไดด้ ี 2 เครือ่ งพมิ พ์ 2 เคร่ือง ใชง้ านไดด้ ี 1 เครอ่ื ง ใช้งานไดด้ ี 3 โทรศัพท์ 1 เครอ่ื ง ใช้งานได้ดี 1 ชดุ ใชง้ านไดด้ ี 4 เครอื่ งแฟกซ์ 5 เครื่องฉาย 6 โทรทัศน์ 7 จานดาวเทยี ม

6 ตอนท่ี 2 ทิศทางการดาเนินงานของสถานศึกษา  ปรัชญา เรียนรู้ตลอดชวี ติ ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง  วสิ ยั ทัศน์ กศน.อาเภอบางระจัน ผู้เรยี น ผรู้ บั บรกิ าร เปน็ คนดี มคี วามรมู้ ีทักษะในการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต และ ใชช้ วี ติ พอเพียง  เอกลักษณ์ ศูนย์สง่ เสรมิ การเรยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียง  อัตลกั ษณ์ ผูเ้ รียนผรู้ บั บรกิ าร กศน.อาเภอบางระจนั “ใชช้ ีวิตพอเพียง”  พันธกิจ 1. จดั กจิ กรรมส่งเสริมการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 2. จัดกจิ กรรมส่งเสริมการศกึ ษาต่อเนอื่ ง 3. จดั กจิ กรรมส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั 4. จดั กิจกรรมส่งเสรมิ การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทกั ษะชีวติ 5. จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การศกึ ษาตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 6. จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพในการจดั การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 7. ส่งเสรมิ สนบั สนุน และประสานภาคเี ครอื ข่ายมีส่วนร่วมในการจดั กจิ กรรมการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 8. พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั งิ าน 9. จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหเ้ ป็นไปตามนโยบาย

 เปา้ ประสงค์และตวั ช้วี ัดความสาเร็จ 7 เป้าประสงค์ ตวั ชว้ี ัดความสาเร็จ 1) ผเู้ รียนมีความรู้และทักษะที่จาเปน็ ตามหลักสูตร 1) รอ้ ยละของผเู้ รยี นมคี วามรูแ้ ละทกั ษะทจี่ าเป็น และความต้องการของผเู้ รยี น ตามหลักสูตรและความตอ้ งการของผูเ้ รยี น 2) ผู้รับบริการมคี วามรู้และทกั ษะด้านอาชพี ตาม 2) รอ้ ยละของผรู้ ับบรกิ ารมคี วามรแู้ ละทักษะด้าน หลักสตู รและความต้องการของผู้รับบรกิ าร อาชพี ตามหลกั สูตรและตามความตอ้ งการของ ผรู้ บั บริการ 3) ผู้รบั บรกิ ารมีทกั ษะการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง 3) ร้อยละของผู้รบั บริการมีทักษะการแสวงหาความรู้ อย่างต่อเนอื่ ง ดว้ ยตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง 4) ผรู้ ับบริการไดร้ บั โอกาสในการแสวงหาความรู้ 4) รอ้ ยละของผรู้ ับบริการไดร้ บั โอกาสในการแสวงหา จากแหล่งเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย ความรู้จากแหล่งเรยี นรทู้ ่หี ลากหลาย 5) ผู้เรยี น/ผู้รับบรกิ ารมีความรู้และสามารถนาความรู้ 5) ร้อยละของผู้เรยี น/ผรู้ บั บรกิ ารมีความร้แู ละ ไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชวี ติ สามารถนาความร้ไู ปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต 6) ผูเ้ รียน/ผ้รู บั บรกิ ารมคี วามรดู้ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง 6) รอ้ ยละของผเู้ รียน/ผู้รับบริการมีความร้ดู า้ น และมีทกั ษะในการดาเนินชีวติ อย่างพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียงและมที กั ษะในการดาเนินชีวติ อย่าง พอเพยี ง 7) ผู้เรยี น/ผรู้ ับบรกิ ารมีความรู้ และสามารถ 7) ร้อยละของผู้เรียน/ผรู้ ับบรกิ ารมคี วามรู้ และ นาเทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใช้ในการเรียนรู้ สามารถนาเทคโนโลยดี ิจทิ ัลมาใช้ในการเรียนรู้ 8) ภาคีเครือขา่ ยทกุ ภาคสว่ นมีส่วนรว่ มในการจัด 8) จานวนของภาคเี ครือขา่ ยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใน กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา การจัดกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ตามอัธยาศยั 9) ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามคี วามรู้ทักษะ 9) รอ้ ยละครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามีความรู้ ในการปฏบิ ัติงานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ทกั ษะในการปฏบิ ัตงิ านอย่างมีประสทิ ธิภาพ  กลยุทธ์ 1. พัฒนาหลกั สูตรให้เหมาะสมหลากหลาย สอดคล้องกับความตอ้ งการของผ้เู รียน 2. ส่งเสริมและพัฒนาการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง 3. สง่ เสริมการเรียนรดู้ ้านเศรษฐกจิ พอเพียงเพ่ือประชาชนสามารถนามาประยุกต์ใชใ้ น ชวี ิตประจาวนั 4. สง่ เสริม การใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้ในการเรยี นรู้ 5. ส่งเสริม สนับสนนุ ประสานความร่วมมอื กับภาคีเครอื ข่ายจัดการศึกษา 6. พฒั นาคุณภาพครูและบุคลากร

8  เป้าหมายหลักของการบรหิ ารและจัดการศึกษาของสถานศึกษา 1. ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐาน เพือ่ การศึกษาต่อ พฒั นาอาชีพ พัฒนาคณุ ภาพชีวิต 2. ผเู้ รยี นมีทกั ษะกระบวนการคิด ทกั ษะการแสวงหาความรู้ เรยี นรูอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง และสามารถ นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดารงชีวิต 3. ผูเ้ รยี นมีสมรรถนะและทกั ษะในการดารงชีวิตทีเ่ หมาะสมกับชว่ งวัย สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง และพรอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 4. ผูเ้ รียนหรอื ผู้เข้ารบั การอบรมมคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชพี สามารถ นาความรู้ไปใชใ้ นการลดรายจ่าย หรอื เพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรอื พฒั นาต่อยอดอาชีพ หรอื เพ่ิมมูลคา่ ของสนิ ค้าหรือบริการ

9 แผนผังการบรหิ ารองค์กรบทบาทหน้าท่คี วามรบั ผิดชอบของกลมุ่ /ฝ่ายภายในองค์กร ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจัน แบ่งโครงสรา้ งการบริหาร ออกเป็น 3 กลุ่มงาน ดังแผนภูมิ โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน กศน.อาเภอบางระจนั ผู้อานวยการสถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศกึ ษา กลมุ่ อานวยการ กลมุ่ ส่งเสรมิ ปฏิบตั กิ าร กลมุ่ ภาคีเครอื ขา่ ยและกจิ การพิเศษ - งานธรุ การและงานสารบรรณ - งานส่งเสริมการรู้หนังสือ - งานสง่ เสรมิ สนับสนุนภาคี - งานบุคลากร - งานการศกึ ษานอกระบบขั้นพ้ืนฐาน เครอื ข่าย - งานการเงินและบัญชี - งานทะเบยี นและวัดผล - งานกิจการพเิ ศษ - งานพสั ดุ - งานการศึกษาต่อเนือ่ ง - งานส่งเสรมิ กจิ กรรม - งานอาคารสถานที่ - งานการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาอาชีพ ประชาธิปไตย - งานประชาสมั พนั ธ์ - งานการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวติ - งานป้องกัน แกป้ ญั หา - งานแผนงานและโครงการ - งานการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสงั คม ยาเสพตดิ - งานขอ้ มลู สารสนเทศและ และชมุ ชน - งานสนับสนุนโครงการ รายงาน - งานการศึกษาตามแนวปรชั ญาของ อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ - งานประกนั คุณภาพภายใน เศรษฐกจิ พอเพยี ง - งานสนบั สนนุ สง่ เสริมนโยบาย สถานศกึ ษา - งานบา้ นหนงั สืออัจฉรยิ ะ จังหวัด/อาเภอ - งานเลขานุการคณะกรรมการ - งานการศกึ ษาตามอัธยาศัย - งานกิจการพิเศษอื่นๆ สถานศึกษา - งานหอ้ งสมุดประชาชน - งานกิจการลูกเสือ - งานนิเทศภายใน ติดตามและ -งานแหล่งเรยี นร้แู ละภมู ปิ ญั ญา และยุวกาชาด ประเมนิ ผล ทอ้ งถิ่น - งานพัฒนาหลกั สตู ร สอื่ นวัตกรรม

10 ขอ้ มลู บุคลากรศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจัน ท่ี ช่ือ-สกลุ ระดับ จบการศึกษา ตาแหนง่ ปรญิ ญาโท สาขา 1 นางสาวปรารถนา ชโี พธ์ิ ปริญญาตรี ผู้อานวยการ 2 นางสาวปภินดา วรรณวฒั น บรหิ ารการศึกษา ครูชานาญการพิเศษ ปริญญาตรี บรรณรกั ษศ์ าสตร์ เมธา เจ้าพนกั งานห้องสมุด 3 นายทวีชัย มีลกั ษณี ปรญิ ญาตรี พลศึกษา ชานาญงาน ครูผู้ชว่ ย 4 นางสาววิจติ รา กองแกว้ ปริญญาตรี การจดั การ - การจดั การ ปริญญาตรี อุตสาหกรรม ครอู าสาสมัครฯ 5 นางนชุ จริน กันอา่ ปรญิ ญาตรี การตลาด ครอู าสาสมัครฯ 6 นางชตุ มิ า เจรญิ สอน ปรญิ ญาตรี โสตทัศนศกึ ษา ครูกศน.ตาบล 7 นายรงั สรรค์ บุญมาแคน ปรญิ ญาตรี คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ ครูกศน.ตาบล 8 นายสทุ ศั น์ โกสุมา ปรญิ ญาตรี การไฟฟ้า ครูกศน.ตาบล 9 นางสวุ พร วรรณทอง ปริญญาตรี บัญชี ครูกศน.ตาบล 10 นางชญั ญา โคกฤทธิ์ ปรญิ ญาตรี คหกรรม ครกู ศน.ตาบล 11 นายสยุมพร เอี่ยมสะอาด ปริญญาตรี การจัดการ ครูกศน.ตาบล 12 นางสาวสมฤดี สังขาว ม.6 ครุ ุศาสตร์ บรรณรักษอ์ ัตราจ้าง 13 นางสาวโชติมา มณีนารถ ศิลปศาสตร์ พนกั งานบรกิ าร 14 นายกาหลง ไผ่กอ กศน.

11 นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 วิสยั ทัศน์ คนไทยทุกช่วงวยั ได้รับโอกาสทางการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิตอย่างมคี ุณภาพ มีทกั ษะท่จี าเป็น และสมรรถนะทีส่ อดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดารงชีวิตไดอ้ ยา่ งเหมาะสมบนรากฐานของหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง พนั ธกิจ 1. จดั และสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยท่มี คี ุณภาพ สอดคล้อง กับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพ่ือยกระดับการศึกษา และ พฒั นาสมรรถนะ ทกั ษะการเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมในแต่ละชว่ งวัย ให้พรอ้ มรบั การเปล่ยี นแปลงและการปรับตัวในการดารงชีวิตได้อย่างเหมาะสม ก้าวส่กู ารเป็นสงั คมแห่งการเรียนร้ตู ลอด ชีวติ อย่างยัง่ ยนื 2. พัฒนาหลักสูตร รปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ สือ่ และนวัตกรรมเทคโนโลยที างการศึกษา การวดั และประเมนิ ผลในทุกรูปแบบให้มคี ุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกบั รูปแบบการจดั การเรียนรแู้ ละ บรบิ ท ในปัจจบุ ัน 3. ส่งเสรมิ และพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนาเทคโนโลยีมาพฒั นาเพือ่ เพิ่มช่องทางและ โอกาส การเรียนรู้ รวมถงึ การเพม่ิ ประสิทธิภาพในการจัดและให้บรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ให้กับประชาชนกล่มุ เป้าหมายอยา่ งทว่ั ถึง 4. สง่ เสริมสนับสนนุ แสวงหา และประสานความรว่ มมือเชิงรกุ กบั ภาคเี ครอื ข่าย ใหเ้ ข้ามามสี ่วนร่วม ในการสนบั สนุนและจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ในรูปแบบ ต่าง ๆ ใหก้ บั ประชาชน 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองคก์ รให้มีเอกภาพ เพ่อื การบรหิ ารราชการท่ีดี บนหลัก ของธรรมาภบิ าล มปี ระสทิ ธภิ าพ ประสิทธิผล และคลอ่ งตวั มากยิ่งขึน้ 6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และ จรยิ ธรรมท่ีดี เพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพของการใหบ้ ริการทางการศกึ ษาและการเรยี นรู้ทม่ี คี ณุ ภาพมากยิ่งข้ึน เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมท้ังประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส ทาง การศกึ ษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน การศกึ ษาต่อเน่ือง และการศึกษา ตามอัธยาศัยท่ีมีคณุ ภาพอย่างเท่าเทยี มและทัว่ ถึง เป็นไปตามบรบิ ท สภาพปัญหาและความตอ้ งการของแตล่ ะ กลมุ่ เป้าหมาย

12 2. ประชาชนได้รบั การยกระดับการศกึ ษา สรา้ งเสรมิ และปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม หน้าท่ีความเป็น พลเมืองท่ดี ีภายใตก้ ารปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์เปน็ ประมขุ ที่สอดคลอ้ งกบั หลัก ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง อนั นาไปสกู่ ารยกระดับคณุ ภาพชีวิตและเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ใหช้ ุมชน เพอื่ พัฒนา ไปส่คู วามม่นั คงและยัง่ ยนื ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร์ และสง่ิ แวดล้อม 3. ประชาชนได้รับการพฒั นาทักษะการเรยี นรู้และแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองผา่ นแหล่งเรียนรู้ ชอ่ งทางการเรยี นรู้ และกิจกรรมการเรยี นรรู้ ปู แบบตา่ ง ๆ รวมท้งั มเี จตคตทิ างสงั คม การเมือง วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สามารถคดิ วิเคราะห์ แยกแยะอย่างมีเหตผุ ล และนาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั รวมถึงการแก้ปญั หาและพฒั นาคุณภาพชวี ิตไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ 4. หน่วยงานและสถานศกึ ษา กศน. มหี ลักสูตร สื่อ นวัตกรรม ชอ่ งทางการเรียนรู้ และกระบวนการ เรียนรใู้ นรูปแบบท่หี ลากหลาย ทันสมัย และรองรบั กบั สภาวะการเรียนรู้ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ เพอ่ื แก้ปัญหา และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตตามความต้องการของประชาชนและชมุ ชน รวมทงั้ ตอบสนองกบั การเปล่ียนแปลง บรบิ ท ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และสง่ิ แวดลอ้ ม 5. หนว่ ยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนาเทคโนโลยีทางการศกึ ษา และเทคโนโลยดี ิจิทัล มา พัฒนาเพอื่ เพิ่มชอ่ งทางการเรยี นรู้ และนามาใช้ในการยกระดับคณุ ภาพในการจดั การเรียนรูแ้ ละโอกาสการ เรียนรู้ ใหก้ ับประชาชน 6. ชุมชนและภาคีเครือขา่ ยทกุ ภาคสว่ น มีส่วนร่วมในการจดั ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมท้งั การขบั เคล่ือนกิจกรรมการเรียนรขู้ องชมุ ชน 7. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการองค์กรท่ีทันสมยั มีประสิทธิภาพ และเป็นไป ตามหลักธรรมาภิบาล 8. บคุ ลากร กศน. ทุกประเภททกุ ระดับไดร้ บั การพัฒนาเพ่ือเพ่ิมทักษะและสมรรถนะในการ ปฏบิ ัตงิ าน และการให้บริการทางการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมถงึ การปฏิบัติงาน ตามสายงานอย่างมี ประสิทธภิ าพ ตวั ช้ีวัด รายละเอียตวั ชวี้ ัด ค่าเป้าหมาย 1. ตวั ชี้วัดเชงิ ปริมาณ 1.1 รอ้ ยละของผ้เู รียนท่ีได้รบั การสนับสนุนค่าใช้จ่ายการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม รอ้ ละ 80 อัธยาศัยข้นั พื้นฐานตามสิทธิท่ีกาหนดไว้ (เทยี บกับเป้าหมายตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่าย ประจาป)ี 1.2 จานวนของผลู้ งทะเบียนเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ / ได้รบั บริการกิจกรรมการศกึ ษา 756,675 คน ตอ่ เนอื่ ง ทสี่ อดคล้องกับสภาพ ปัญหา และความต้องการ 1.3 จานวนผูร้ บั บริการ / เขา้ ร่วมกิจกรรมตามศึกษาตามอธั ยาศยั 9,800,000 คน 1.4 จานวนบนั ทกึ ข้อตกลงความรว่ มมอื (MOU) ร่วมกับภาคีเครือข่าย ไมน่ ้อยกว่า 3,000 ฉบบั

รายละเอียตัวชี้วดั 13 1.5 จานวนแหลง่ เรยี นรใู้ นระดบั ตาบลท่มี คี วามพรอ้ มในการใช้บริการ / การจัดกิจกรรม ค่าเปา้ หมาย การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 1.6 จานวนประชาชนที่เข้ารบั การพัฒนาทักษะอาชพี เพ่ือสรา้ งรายไดแ้ ละการมงี านทา 1,787 แหง่ 1.7 จานวน ครู ตาบล ที่ได้รับการพฒั นาศกั ยภาพด้านการจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ เพือ่ การสื่อสาร 424,500 คน 1.8 จานวนประชาชนที่ไดร้ ับการฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพอ่ื การส่อื สารดา้ นอาชพี 100 คน 1.9 จานวนผ้ผู ่านการอบรมหลกั สตู รการดูแลผสู้ ูงอายุ 1.10 จานวนประชาชนทผ่ี า่ นการอบรมจากศนู ยด์ ิจิทลั ชุมชน 22,272 คน 1.11 จานวนส่ือการเรียนออนไลน์ หลักสูตรการพฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ พอ่ื งานอาชพี 6,800 คน 1.12 จานวนบุคลากรสงั กดั สานกั งาน กศน. ทีไ่ ดร้ บั การพฒั นาศักยภาพและความกา้ วหนา้ 185,600 คน ตามสายงานอาชีพ ไมน่ ้อยกว่า 30 วิชรา 1.13 จานวนบุคลากรสังกดั สานกั งาน กศน. ที่เขา้ รับการอบรมด้านการป้องกนั และเชิดชู 2,807 คน สถาบนั หลกั ของชาติ ดา้ นความปรองดองสมานฉันท์ ด้านการมจี ติ อาสาธารณะ และด้าน ทกั ษะในการปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น 10,000 คน 1.14 จานวนบทความเพอ่ื การเรยี นรู้ตลอดชีวิตในระดับตาบล ในหวั ข้อตา่ ง ๆ อาทิ อาชพี ชุมชน วัฒนธรรมท้องถิน่ ภมู ิปัญญา 8,000 บทความ 1.15 จานวนศนู ยก์ ารเรยี นรู้ต้นแบบ (CO-Learning Space) 2. ตัวช้วี ัดเชงิ คุณภาพ 77 แหง่ 2.1 ร้อยละของนักศึกษาทีค่ าดว่าจะจบทุกระดบั ท่ีสาเร็จการศกึ ษาในแต่ละ ภาคเรยี น ร้อยละ 75 2.2 รอ้ ยละของผ้จู บหลกั สูตร / กิจกรรมการศกึ ษาต่อเนือ่ ง ท่ีสามารถนาความรูค้ วามเขา้ ใจไป ใช้พฒั นาตนเองได้ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร / กิจกรรม รอ้ ยละ 80 2.3 รอ้ ยละของผผู้ ่านการพฒั นาทักษะอาชีพ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชพี หรือพฒั นาตนเองได้ รอ้ ยละ 80 2.4 รอ้ ยละร้อยละของผเู้ รียนในเขตพ้ืนท่ีจงั หวัดชายแดนภาคใตท้ ไ่ี ด้รับการพัฒนาศักยภาพ หรอื ทักษะด้านอาชพี สามารถมีงานทาหรอื นาไปประกอบอาชีพได้ ร้อยละ 80 2.5 รอ้ ยละของประเทศที่ได้รับบรกิ าร / เขา้ รว่ มกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มีความรู้ความ เขา้ ใจ / เจตคติ / ทกั ษะ ตามจุดพมุง่ หมายของกิจกรรมทกี่ าหนด รอ้ ยละ 80 2.6 รอ้ ยละของผสู้ งู อายทุ ่เี ป็นกลุม่ เป้าหมาย มโี อกาสมาเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวติ 2.7 รอ้ ยละของบคุ ลากรท่ีได้รบั การพฒั นา ทมี่ กี ารพัฒนาตนเองในด้านพฤติกรรม บคุ ลกิ ภาพ ร้อยละ 80 ทศั นคติ คา่ นิยมทพ่ี งึ ประสงค์ ภาวะผนู้ า และมีจรรยาบรรณวชิ าชีพที่เหมาะสมย่ิงข้ึน รอ้ ยละ 90

14 จุดเนน้ การดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. นอ้ มนาพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาสู่การปฏบิ ัติ 1.1 สบื สานศาสตรพ์ ระราชา โดยการสรา้ งและพัฒนาศูนย์สาธิตและเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือเปน็ แนวทางในการจัดการบริหารทรพั ยากรรูปแบบต่าง ๆ ท้ังดิน น้า ลม แดด รวมถึงพืชพันธุ์ต่าง ๆ และ สง่ เสริม การใช้พลงั งานทดแทนอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 1.2 จดั ให้มี “หนง่ึ ชุมชน หน่งึ นวัตกรรมการพัฒนาชมุ ชน” เพื่อความกินดี อยูด่ ี มีงานทา 1.3 การสร้างกลุ่มจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม มีทัศนคติท่ีดีต่อบา้ นเมอื ง และเปน็ ผมู้ ีความพอเพยี ง ระเบยี บวนิ ัย สุจริต จิตอาสา ผ่านกิจกรรมการ พัฒนา ผ้เู รยี นโดยการใช้กระบวนการลูกเสือและยวุ กาชาด 2. สง่ สรมิ การจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชวี ติ สาหรบั ประชาชนท่ีเหมาะสมกบั ทุกช่วงวยั 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ทม่ี ีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน ผ้รู บั บรกิ าร และสามารถออกใบรบั รองความรู้ความสามารถเพ่ือนาไปใชใ้ นการพฒั นาอาชพี ได้ 2.2 สง่ เสริมและยกระดบั ทกั ษะภาษาองั กฤษให้กับประชาชน (English for ALL) 2.3 ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสาหรับผู้ท่ีเข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ การฝึกอบรมอาชีพ ท่ีเหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมสมรรถนะผู้สูงวัย และหลั กสูตร การดูแลผสู้ ูงวยั โดยเน้นการมีสว่ นร่วมกบั ภาคเี ครือข่ายทกุ ภาคสว่ นในการเตรียมความพรอ้ มเขา้ สู่สงั คมสูงวยั 3. พัฒนาหลกั สูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศกึ ษา แหลง่ เรยี นรู้ และรปู แบบ การจดั การศึกษา และการเรียนรู้ ในทกุ ระดับ ทกุ ประเภท เพอ่ื ประโยชน์ตอ่ การจดั การศกึ ษาทเ่ี หมาะสม กบั ทุกกลุ่มเปา้ หมาย มคี วามทนั สมัย สอดคลอ้ งและพร้อมรองรับกบั บรบิ ทสภาวะสงั คมปัจจบุ ัน ความต้องการ ของผู้เรยี น และ สภาวะการเรยี นรใู้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ ที่จะเกิดข้ึนในอนาคต 3.1 พัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Leaming Platform ท่ีรองรับ DEEP ของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และชอ่ งทางเรียนรรู้ ูปแบบอ่นื ๆ ท้ัง Online On-site และ On-air 3.2 พฒั นาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพ่ือให้ สามารถ “เรยี นรู้ได้อยา่ งทั่วถงึ ทกุ ท่ี ทกุ เวลา” 3.3 พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้ ระบบสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-exam)

15 4. บูรณาการความรว่ มมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจดั การศกึ ษาและการเรยี นรูใ้ หก้ บั ประชาชนอย่าง มคี ณุ ภาพ 4.1 ร่วมมอื กับภาคเี ครือขา่ ยทงั้ ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมทั้ง ส่งเสริมและสนบั สนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน อาทิ การส่งเสริมการฝึกอาชีพที่เป็นอัตลักษณ์และบริบทของ ชมุ ชน สง่ เสรมิ การตลาดและขยายช่องทางการจาหนา่ ยเพ่อื ยกระดบั ผลติ ภัณฑ์/สนิ ค้า กศน. 4.2 บรู ณาการความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งในส่วนกลาง และ ภมู ภิ าค 5. พฒั นาศักยภาพและประสทิ ธภิ าพในการทางานของบคุ ลากร กศน. 5.1 พัฒนาศกั ยภาพและทกั ษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills) ใหก้ บั บุคลากรทกุ ประเภททกุ ระดับ รองรบั ความเป็นรฐั บาลดิจิทัลอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทงั้ พฒั นา ครูให้มที กั ษะ ความรู้ และความชานาญในการใช้ภาษาอังกฤษ การผลิตสอื่ การเรียนรูแ้ ละการจดั การเรยี น การสอนเพอ่ื ฝึกทักษะ การคดิ วิเคราะหอ์ ย่างเป็นระบบและมีเหตุผล เป็นขั้นตอน 5.2 จัดกิจกรรมเสรมิ สร้างความสัมพนั ธ์ ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพ่ิมประสทิ ธิภาพ ในการ ทางานร่วมกันในรปู แบบต่าง ๆ อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพฒั นาประสทิ ธิภาพ ในการ ทางาน 6. ปรบั ปรงุ และพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารจดั การองค์กร ปจั จัยพื้นฐานในการจัดการศึกษา และ การประชาสมั พนั ธ์สร้างการรบั รูต้ ่อสาธารณะชน 6.1 เร่งผลักดันร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. ... ให้สาเร็จ และปรับโครงสร้าง การ บริหารและอัตรากาลงั ให้สอดคล้องกับบรบิ ทการเปล่ียนแปลง เรง่ การสรรหา บรรจุ แต่งตง้ั ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ 6.2 นานวตั กรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทางานและข้อมูล สารสนเทศด้านการศึกษาท่ีทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใช้งานทันที โดยจัดตั้งศูนย์ข้อมูลกลาง กศน. เพ่ือ จัดทา ข้อมูล กศน. ท้งั ระบบ (ONE ONIE) 6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม ฟ้ืนฟูอาคารสถานท่ี และสภาพแวดล้อมโดยรอบของหน่วยงาน สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ทกุ แห่ง ใหส้ ะอาด ปลอดภยั พรอ้ มใหบ้ ริการ 6.4 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับร้ใู หก้ ับประชาชนทวั่ ไปเกี่ยวกับการบริการทางวิชาการ/กจิ กรรม ด้าน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการ ของ หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อรูปแบบต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ/ มหกรรม วิชาการ กศน.

16 การจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ของสานกั งาน กศน. จากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เมอ่ื เดือนธนั วาคม 2562 ส่งผลกระทบตอ่ ระบบการจดั การเรยี นการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึง่ รฐั บาลและกระทรวงศกึ ษาธิการ ได้ ออกประกาศและมมี าตรการเฝ้าระวังเพือ่ ปอ้ งกนั การแพร่กระจายของเช้ือไวรัสดงั กล่าว อาทิ กาหนดให้มี การเว้นระยะหา่ งทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานท่ีของโรงเรยี นและสถาบนั การศึกษา ทุกประเภท เพ่ือจดั การเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรอื การทากิจกรรมใด ๆ ทมี่ ีผเู้ ขา้ ร่วมเป็นจานวน มาก การปิดสถานศกึ ษาดว้ ยเหตุพิเศษ การกาหนดใหใ้ ชว้ ิธกี ารจดั การเรียนการสอนรูปแบบใหม่ อาทิ การ จดั การเรียนรู้ แบบออนไลน์ การจดั การเรยี นรผู้ า่ นระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วิทยุ และโซเซยี ลมเี ดีย ต่าง ๆ รวมถงึ การส่อื สารแบบทางไกลหรือด้วยวิธอี เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ในสว่ นของสานักงาน กศน. ได้มีการพฒั นา ปรับรปู แบบ กระบวนการ และวธิ กี ารดาเนินงานใน ภารกจิ ต่อเนื่องตา่ ง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวิตประจาวัน และการจดั การเรียนรเู้ พ่ือรองรับการชวี ติ แบบปกติ วิถีใหม่ (New Normal) ซ่ึงกิจกรรมการเรยี นร้ตู ่าง ๆ ไดใ้ หค้ วามสาคัญกบั การดาเนนิ งานตามมาตรการการ ปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ กุ ประเภท หากมคี วามจาเป็นตอ้ งมาพบกล่มุ หรืออบรมสมั มนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกนั ที่เข้มงวด มเี จล แอลกอฮอลล้างมือ ผู้รบั บรกิ ารต้องใส่หนา้ กากอนามยั หรือหน้ากากผ้า ต้องมกี ารเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คล เนน้ การใชส้ อื่ ดิจิทัลและเทคโนโลยอี อนไลนใ์ นการจดั การเรียนการสอน ภารกจิ ตอ่ เน่อื ง 1. ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 1) สนบั สนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้งั แต่ปฐมวยั จนจบการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานโดยดาเนินการ ให้ผเู้ รียนไดร้ ับการสนับสนุนค่าจัดซ้อื หนงั สือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น และค่าจัดการเรียน การสอนอย่างท่ัวถงึ และเพียงพอเพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารทางการศึกษาท่ีมคี ุณภาพโดยไมเ่ สีย คา่ ใช้จา่ ย 2) จดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานให้กับกล่มุ เปา้ หมายผูด้ ้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา ผา่ นการเรยี นแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกล่มุ การเรียนแบบช้ันเรยี น และการจดั การศกึ ษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษา ขั้นพน้ื ฐาน ท้ังดา้ นหลกั สตู รรูปแบบ/กระบวนการเรยี นการสอน ส่อื และนวัตกรรม ระบบการวัดและ ประเมนิ ผล การเรียน และระบบการใหบ้ รกิ ารนกั ศกึ ษาในรปู แบบอื่น ๆ

17 4) จัดใหม้ กี ารประเมนิ เพื่อเทยี บระดบั การศึกษา และการเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์ ที่มีความโปรง่ ใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มมี าตรฐานตามท่ีกาหนด และสามารถตอบสนองความตอ้ งการ ของกลุม่ เปา้ หมายได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 5) จัดใหม้ ีกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนที่มีคุณภาพทผ่ี เู้ รยี นตอ้ งเรียนรู้และเขา้ ร่วมปฏิบตั ิ กจิ กรรม เพื่อเปน็ สว่ นหนงึ่ ของการจบหลกั สูตร อาทิ กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งความสามคั คี กจิ กรรมเก่ยี วกบั การป้องกนั และ แก้ไขปญั หายาเสพตดิ การแข่งขนั กฬี า การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์อยา่ งต่อเนอ่ื ง การส่งเสรมิ การปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จติ อาสา และการจัดต้งั ชมรม/ชุมนมุ พร้อมทั้งเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนนากจิ กรรมการบาเพญ็ ประโยชน์ อน่ื ๆ นอกหลักสูตรมาใชเ้ พิม่ ช่ัวโมงกจิ กรรมให้ผเู้ รยี นจบตามหลกั สูตรได้ 1.2 การส่งเสริมการร้หู นงั สือ 1) พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลผไู้ ม่ร้หู นงั สอื ใหม้ ีความครบถ้วน ถกู ต้อง ทันสมัยและเป็นระบบเดยี วกนั ทั้งส่วนกลางและส่วนภมู ภิ าค 2) พฒั นาและปรบั ปรงุ หลักสตู ร ส่ือ แบบเรยี นเครอ่ื งมือวดั ผลและเคร่อื งมอื การดาเนินงานการ ส่งเสริมการรหู้ นังสือทีส่ อดคลอ้ งกับสภาพและบริบทของแต่ละกลุม่ เป้าหมาย 3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครอื ข่ายทร่ี ่วมจัดการศึกษา ใหม้ ีความรคู้ วามสามารถ และทักษะการ จดั กระบวนการเรียนรใู้ หก้ บั ผ้ไู มร่ ู้หนงั สืออย่างมปี ระสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัครส่งเสรมิ การร้หู นังสือ ใน พื้นท่ที มี่ คี วามต้องการจาเป็นเปน็ พเิ ศษ 4) สง่ เสรมิ สนับสนุนใหส้ ถานศึกษาจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การรูห้ นังสือ การคงสภาพการรู้หนงั สอื การ พัฒนาทักษะการรู้หนงั สือให้กบั ประชาชนเพ่ือเป็นเครื่องมือในการศกึ ษาและเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ ของประชาชน 1.3 การศึกษาตอ่ เนื่อง 1) จดั การศกึ ษาอาชพี เพือ่ การมงี านทาอย่างย่ังยืน โดยใหค้ วามสาคัญกับการจดั การศึกษาอาชพี เพื่อ การมงี านทาในกลุม่ อาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรอื การ บรกิ าร รวมถึงการเนน้ อาชพี ชา่ งพื้นฐาน ทีส่ อดคล้องกบั ศกั ยภาพของผ้เู รยี น ความตอ้ งการและศกั ยภาพของ แตล่ ะพ้ืนท่ี มคี ณุ ภาพได้มาตรฐานเปน็ ที่ยอมรับ สอดรบั กับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และการพฒั นา ประเทศ ตลอดจน สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน โดยจดั ให้มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชน การพัฒนา หนง่ึ ตาบลหน่งึ อาชีพเดน่ การประกวดสินคา้ ดีพรีเมี่ยม การสร้างแบรนดข์ อง กศน. รวมถึง การส่งเสริมและจัดหาชอ่ งทางการจาหนา่ ยสนิ คา้ และผลิตภัณฑ์ และให้มกี ารกากบั ติดตาม และรายงานผล การจดั การศึกษาอาชีพ เพื่อการมงี านทาอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนอ่ื ง

18 2) จดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทกั ษะชวี ิตใหก้ ับทกุ กลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพกิ าร ผู้สงู อายุ ทีส่ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการจาเป็นของแต่ละบคุ คล และมงุ่ เนน้ ให้ทกุ กลมุ่ เป้าหมายมีทกั ษะการดารงชวี ิต ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพ่งึ พาตนเองได้มคี วามรคู้ วามสามารถในการบรหิ ารจัดการชีวติ ของตนเอง ให้อย่ใู นสังคม ได้อยา่ งมีความสขุ สามารถเผชญิ สถานการณ์ตา่ ง ๆ ทเ่ี กิดขึน้ ในชวี ติ ประจาวันได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ และเตรียมพรอ้ มสาหรบั การปรบั ตัวให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของขา่ วสารข้อมูลและเทคโนโลยี สมัยใหมใ่ นอนาคต โดยจัดกิจกรรมท่มี เี นือ้ หาสาคัญต่าง ๆ เชน่ การอบรมจติ อาสา การให้ความรูเ้ พ่ือการปอ้ ง การการแพรร่ ะบาด ของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) การอบรมพฒั นาสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การป้องกนั ภยั ยาเสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการสร้างคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรพั ยส์ ิน ผ่านการอบรมเรยี นรใู้ นรปู แบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะ ชีวติ การจดั ตั้งชมรม/ชมุ นมุ การอบรมส่งเสรมิ ความสามารถพิเศษต่าง ๆ เปน็ ตน้ 3) จดั การศึกษาเพอื่ พฒั นาสังคมและชุมชน โดยใช้หลกั สูตรและการจดั กระบวนการเรยี นรู้ แบบ บรู ณาการในรปู แบบของการฝึกอบรมการประชมุ สมั มนา การจดั เวทีแลกเปล่ยี นเรยี นรกู้ ารจดั กิจกรรม จติ อาสา การสร้างชมุ ชนนกั ปฏบิ ตั ิ และรูปแบบอื่นๆ ทเี่ หมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย และบรบิ ทของชุมชน แตล่ ะ พนื้ ท่ี เคารพความคิดของผู้อืน่ ยอมรบั ความแตกต่างและหลากหลายทางความคดิ และอุดมการณ์ รวมท้ังสงั คม พหวุ ัฒนธรรม โดยจดั กระบวนการใหบ้ คุ คลรวมกล่มุ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูร้ ว่ มกนั สรา้ งกระบวนการจติ สาธารณะ การสรา้ งจติ สานึกความเป็นประชาธปิ ไตย การเคารพในสิทธแิ ละเสรีภาพ และรบั ผิดชอบตอ่ หน้าท่ี ความเปน็ พลเมือง ที่ดีภายใตก้ ารปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยเ์ ป็นประมุข การสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม การเป็นจติ อาสา การบาเพญ็ ประโยชน์ในชมุ ชนการ บรหิ ารจัดการน้า การรับมือกับ สาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม การชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกันในการ พฒั นาสงั คมและชมุ ชนอย่างยัง่ ยนื 4) การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งผา่ นกระบวนการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ในรูปแบบต่าง ๆ ใหก้ บั ประชาชน เพือ่ เสริมสรา้ งภูมิคมุ้ กนั สามารถยนื หยัดอยไู่ ดอ้ ยา่ งมัน่ คง และมีการบริหาร จดั การ ความเสีย่ งอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสคู่ วามสมดุลและยงั่ ยนื 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 1) พัฒนาแหลง่ การเรียนรู้ท่มี ีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทีเ่ ออ้ื ต่อการอา่ นและพฒั นาศักยภาพ การเรยี นรใู้ ห้เกิดข้ึนในสงั คมไทย ใหเ้ กิดข้นึ อย่างกวา้ งขวางและทั่วถงึ เช่น การพัฒนา กศน. ตาบล หอ้ งสมดุ ประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการที่ทนั สมัย สง่ เสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสง่ เสรมิ การอ่าน การสรา้ ง เครือข่าย ส่งเสรมิ การอ่าน จัดหนว่ ยบรกิ ารหอ้ งสมุดเคล่ือนที่ หอ้ งสมดุ ชาวตลาด พร้อมหนังสือและอปุ กรณ์ เพ่ือจดั กิจกรรม สง่ เสริมการอา่ นและการเรียนรูท้ ่ีหลากหลายใหบ้ ริการกบั ประชาชนในพื้นทต่ี า่ ง ๆ อย่างท่วั ถึง สมา่ เสมอ รวมทง้ั เสรมิ สรา้ งความพร้อมในด้านบคุ ลากร สอ่ื อุปกรณเ์ พอื่ สนบั สนนุ การอา่ น และการจดั กิจกรรมเพอ่ื ส่งเสรมิ การอา่ น อยา่ งหลากหลายรปู แบบ

19 2) จัดสร้างและพฒั นาศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษา ให้เปน็ แหล่งเรียนรู้วทิ ยาศาสตรต์ ลอดชีวิต ของประชาชน เป็นแหล่งสรา้ งนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชิงศิลปะวิทยาการประจา ท้องถิ่น โดยจดั ทาและพฒั นานทิ รรศการสอื่ และกจิ กรรมการศกึ ษาที่เน้นการเสริมสรา้ งความรู้และสร้างแรง บนั ดาลใจ ด้านวิทยาศาสตร์สอดแทรกวธิ กี ารคดิ เชงิ วิเคราะห์ การคิดเชงิ สร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทาง วิทยาศาสตร์ ผ่านการกระบวนการเรยี นร้ทู บี่ ูรณาการความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ ควบคู่กบั เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ รวมทง้ั สอดคล้องกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง บรบิ ทของชุมชน และประเทศ รวมท้งั ระดับภูมิภาค และระดบั โลกเพ่อื ให้ประชาชนมคี วามร้แู ละสามารถนาความรู้และทักษะไป ประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชีวติ การพัฒนา อาชีพ การรักษาสง่ิ แวดลอ้ ม การบรรเทาและป้องกนั ภยั พิบัติทาง ธรรมชาติ รวมท้ังมคี วามสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของโลกทเี่ ปน็ ไปอยา่ ง รวดเรว็ และรนุ แรง (Disruptive Changes) ไดอ้ ย่าง มีประสทิ ธภิ าพ 3) ประสานความร่วมมือหนว่ ยงาน องคก์ ร หรอื ภาคส่วนต่าง ๆ ทม่ี แี หล่งเรยี นรอู้ นื่ ๆ เพ่อื ส่งเสริม การจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั ใหม้ ีรูปแบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน เช่น พพิ ิธภัณฑ์ ศูนย์เรียนรู้ แหลง่ โบราณคดี วดั ศาสนาสถาน ห้องสมุด รวมถึงภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน เปน็ ต้น 2. ด้านหลักสูตร ส่ือรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลงานบริการ ทางวิชาการ และการประกันคุณภาพการศึกษา 2.1 สง่ เสริมการพัฒนาหลกั สตู ร รูปแบบการจดั กระบวนการเรยี นรแู้ ละกิจกรรมเพ่ือสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยท่ีหลากหลาย ทนั สมยั รวมถึงการพัฒนาหลกั สตู รฐาน สมรรถนะ และ หลักสูตรท้องถน่ิ ที่สอดคล้องกับสภาพบรบิ ทของพนื้ ที่และความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย และชุมชน 2.2 สง่ เสรมิ การพัฒนาสอ่ื แบบเรยี น สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์และส่ืออืน่ ๆ ทเี่ ออื้ ต่อการเรียนรขู้ องผูเ้ รยี น กลุ่มเป้าหมายทวั่ ไปและกล่มุ เปา้ หมายพิเศษ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนสามารถเรียนรูไ้ ด้ทกุ ที่ ทกุ เวลา 2.3 พฒั นารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมยั หลากหลายชอ่ งทางการเรยี นรู้ ด้วย ระบบหอ้ งเรียนและการควบคมุ การสอบรูปแบบออนไลน์ 2.4 พัฒนาระบบการประเมนิ เพ่ือเทยี บระดบั การศกึ ษา และการเทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณ์ เพอื่ ใหม้ ีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ รวมทัง้ มีการประชาสัมพันธใ์ ห้สาธารณชนได้รบั รูแ้ ละสามารถเข้าถึงระบบการประเมนิ ได้ 2.5 พัฒนาระบบการวดั และประเมินผลการศกึ ษานอกระบบทกุ หลกั สูตร โดยเฉพาะหลกั สูตร ใน ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานใหไ้ ดม้ าตรฐานโดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Exam) มาใช้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

20 2.6 ส่งเสริมและสนบั สนุนการศกึ ษาวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาหลกั สูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การ วัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การจัดการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษา ตามอัธยาศยั รวมท้งั ให้มกี ารนาไปสกู่ ารปฏบิ ัตอิ ยา่ งกวา้ งขวางและมกี ารพฒั นาให้เหมาะสม กับบริบทอยา่ งต่อเนือ่ ง 2.7 พฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาใหไ้ ดม้ าตรฐาน มีการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพภายในท่สี อดคล้องกับบรบิ ทและภารกจิ ของ กศน. มากข้นึ เพ่ือพรอ้ มรับการประเมินคณุ ภาพภายนอก โดยพฒั นาบคุ ลากรใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนักถึงความสาคญั ของระบบการประกนั คุณภาพ และ สามารถ ดาเนินการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาได้อย่างต่อเนอื่ งโดยใช้การประเมินภายในดว้ ย ตนเอง และจัดใหม้ ี ระบบสถานศึกษาพเ่ี ลย้ี งเขา้ ไปสนบั สนุนอยา่ งใกล้ชิด สาหรบั สถานศึกษาท่ยี งั ไมไ่ ด้เขา้ รับ การประเมนิ คุณภาพ ภายนอก ให้พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาให้ได้คณุ ภาพตามมาตรฐานท่กี าหนด 3. ด้านเทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษา 3.1 ผลิตและพฒั นารายการวิทยุและรายการโทรทัศนเ์ พือ่ การศึกษาเพ่อื ให้เชือ่ มโยงและตอบสนอง ตอ่ การจัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศกึ ษาเพ่อื กระจายโอกาสทาง การศกึ ษา สาหรบั กล่มุ เป้าหมายต่าง ๆ ใหม้ ีทางเลอื กในการเรยี นรทู้ ่หี ลากหลายและมคี ุณภาพ สามารถพัฒนา ตนเองให้ร้เู ท่าทัน สอ่ื และเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสือ่ สาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทา รายการตวิ เข้มเตมิ เตม็ ความรู้ รายการ รายการทากนิ ก็ได้ ทาขายก็ดี ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานวี ิทยุศกึ ษา สถานี วทิ ยุโทรทัศนเ์ พ่ือการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) และทางอินเทอร์เน็ต 3.2 พฒั นาการเผยแพรก่ ารจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยโดยผ่านระบบ เทคโนโลยีดิจทิ ัล และชอ่ งทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อื่น ๆ เพอื่ ส่งเสริม ให้ครู กศน. นาเทคโนโลยีดิจทิ ลั มาใช้ในการสรา้ งกระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พฒั นาสถานีวิทยุศกึ ษาและสถานโี ทรทัศนเ์ พื่อการศึกษาเพือ่ เพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลติ และการ ออกอากาศใหก้ ลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เปน็ ช่องทางการเรยี นรู้ทม่ี ีคณุ ภาพไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ิต โดยขยาย เครอื ขา่ ยการรับฟงั ใหส้ ามารถรบั ฟังไดท้ กุ ท่ี ทกุ เวลา ครอบคลุมพ้นื ที่ทั่วประเทศและเพม่ิ ช่องทาง ให้สามารถ รับชมรายการโทรทัศนไ์ ดท้ ้ังระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอรเ์ นต็ พรอ้ มท่ีจะ รองรับ การพัฒนาเป็นสถานวี ิทยโุ ทรทศั นเ์ พ่อื การศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการใหบ้ ริการส่ือเทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษาเพื่อใหไ้ ดห้ ลายช่องทางท้ังทาง อนิ เทอร์เน็ต และรปู แบบอนื่ ๆ อาทิ Application บนโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่ และ Tablet รวมทั้งสื่อ Offline ในรูปแบบ ต่าง ๆ เพอื่ ใหก้ ล่มุ เป้าหมายสามารถเลอื กใช้บริการเพือ่ เข้าถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรไู้ ดต้ ามความตอ้ งการ 3.5 สารวจ วิจยั ติดตามประเมินผลด้านการใช้สือ่ เทคโนโลยีเพอื่ การศึกษาอย่างตอ่ เนือ่ งเพื่อนาผล มา ใชใ้ นการพฒั นางานใหม้ คี วามถูกต้อง ทนั สมัยและสามารถส่งเสรมิ การศึกษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต ของ ประชาชนไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง

21 4. ดา้ นโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอันเก่ยี วเนื่องจากราชวงศ์ 4.1 ส่งเสรมิ และสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดารหิ รอื โครงการ อนั เกย่ี วเน่ืองจากราชวงศ์ 4.2 จัดทาฐานข้อมูลโครงการและกจิ กรรมของ กศน.ทสี่ นองงานโครงการอนั เน่ืองมาจาก พระราชดาริ หรอื โครงการอนั เกี่ยวเน่อื งจากราชวงศเ์ พ่ือนาไปใช้ในการวางแผน การตดิ ตามประเมินผลและการ พฒั นางาน ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.3 ส่งเสรมิ การสรา้ งเครอื ข่ายการดาเนนิ งานเพอ่ื สนับสนนุ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ เพ่ือให้เกิดความเข้มแขง็ ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 4.4 พัฒนาศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง”เพื่อให้มีความพรอ้ มในการจดั การศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ตามบทบาทหนา้ ท่ีทีก่ าหนดไวอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 4.5 จดั และส่งเสริมการเรียนรตู้ ลอดชีวิตให้สอดคลอ้ งกับวถิ ีชวี ิตของประชาชนบนพ้นื ท่ีสงู ถนิ่ ทุรกนั ดาร และพน้ื ทช่ี ายขอบ 6. ด้านบคุ ลากรระบบการบรหิ ารจดั การ และการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคส่วน 6.1 การพฒั นาบุคลากร 1) พฒั นาบุคลากรทกุ ระดับทกุ ประเภทใหม้ สี มรรถนะสงู ขึ้นอย่างตอ่ เน่ือง ทั้งก่อนและระหว่าง การ ดารงตาแหน่งเพ่ือใหม้ เี จตคติท่ีดีในการปฏบิ ตั ิงานให้มคี วามร้แู ละทกั ษะตามมาตรฐานตาแหน่ง ให้ตรงกับ สายงาน ความชานาญ และความตอ้ งการของบคุ ลากรสามารถปฏิบัติงานและบรหิ ารจัดการการดาเนนิ งาน ของหนว่ ยงานและ สถานศึกษาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพรวมท้งั ส่งเสริมใหข้ า้ ราชการในสงั กดั พฒั นาตนเอง เพอื่ เลื่อนตาแหน่ง หรอื เลอ่ื นวทิ ยฐานะโดยเน้นการประเมินวิทยฐานะเชิงประจักษ์ 2) พัฒนาศึกษานเิ ทศก์ กศน. ใหม้ ีสมรรถนะที่จาเปน็ ครบถว้ น มีความเป็นมอื อาชพี สามารถ ปฏบิ ตั กิ ารนิเทศไดอ้ ย่างมีศกั ยภาพ เพอ่ื รว่ มยกระดับคุณภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ในสถานศึกษา 3) พัฒนาหวั หนา้ กศน.ตาบล/แขวงให้มสี มรรถนะสูงขน้ึ เพ่อื การบริหารจดั การ กศน.ตาบล/แขวง และการปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทภารกจิ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ โดยเนน้ การเป็นนกั จดั การความรู้ และ ผู้อานวย ความสะดวกในการเรยี นรู้เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรูท้ ม่ี ปี ระสิทธภิ าพอยา่ งแทจ้ รงิ 4) พัฒนาครู กศน. และบคุ ลากรทีเ่ ก่ียวข้องกบั การจัดการศึกษาให้สามารถจดั รปู แบบการเรยี นรู้ ได้อย่างมคี ุณภาพโดยสง่ เสริมใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถในการจดั ทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล และการวิจยั เบอ้ื งตน้ 5) พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร ท่รี ับผิดชอบการบริการการศกึ ษาและการเรียนรู้ ให้มคี วามรู้ ความสามารถและมคี วามเปน็ มอื อาชีพในการจัดบรกิ ารส่งเสรมิ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ ของประชาชน

22 6) ส่งเสรมิ ให้คณะกรรมการ กศน. ทกุ ระดบั และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการ บริหาร การดาเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน.อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 7) พฒั นาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาหนา้ ที่สนับสนุนการจัดการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษา ตามอธั ยาศัยไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 8) พฒั นาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ ลากรรวมท้งั ภาคีเครอื ข่ายท้งั ใน และ ต่างประเทศในทกุ ระดบั โดยจดั ให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมั พันธภาพและเพิ่มประสทิ ธิภาพในการทางาน ร่วมกันในรปู แบบท่หี ลากหลายอย่างต่อเนือ่ งอาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา ประสทิ ธภิ าพ ในการทางาน 6.2 การพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐานและอัตรากาลัง 1) จัดทาแผนการพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและดาเนนิ การปรบั ปรุงสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ ให้มี ความพร้อมในการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ 2) สรรหา บรรจุ แตง่ ตงั้ และบริหารอตั รากาลังท่ีมีอยทู่ ้งั ในส่วนท่ีเปน็ ขา้ ราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ใหเ้ ปน็ ไปตามโครงสรา้ งการบรหิ ารและกรอบอัตรากาลัง รวมทัง้ รองรับกบั บทบาทภารกิจ ตามทก่ี าหนดไว้ ให้เกิดประสิทธภิ าพสูงสุดในการปฏิบัตงิ าน 3) แสวงหาความร่วมมอื จากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพือ่ นามาใช้ ในการ ปรบั ปรงุ โครงสร้างพื้นฐานให้มคี วามพรอ้ มสาหรบั ดาเนินกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย และการส่งเสริมการเรยี นรู้สาหรบั ประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบริหารจดั การ 1) พฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ให้มีความครบถว้ น ถูกต้อง ทันสมยั และเชอ่ื มโยงกนั ท่ัวประเทศ อยา่ งเปน็ ระบบเพื่อให้หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาในสังกัดสามารถนาไปใชเ้ ปน็ เครือ่ งมอื สาคญั ในการบริหาร การวางแผน การปฏบิ ตั งิ าน การตดิ ตามประเมนิ ผล รวมทัง้ จัดบรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย อย่าง มีประสทิ ธภิ าพ 2) เพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การงบประมาณ โดยพฒั นาระบบการกากับ ควบคุม และเรง่ รัด การเบิกจา่ ยงบประมาณให้เป็นตามเปา้ หมายทก่ี าหนดไว้ 3) พฒั นาระบบฐานข้อมลู รวมของนกั ศกึ ษา กศน. ใหม้ คี วามครบถ้วน ถกู ต้อง ทันสมยั และ เชือ่ มโยง กนั ทั่วประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานไดท้ ันความต้องการเพอื่ ประโยชนใ์ นการจดั การศึกษาให้กบั ผเู้ รียน และการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธภิ าพ 4) ส่งเสริมใหม้ กี ารจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทกุ ระดับ รวมท้ังการศกึ ษาวจิ ยั เพ่อื สามารถนามาใชใ้ นการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนนิ งานทสี่ อดคลอ้ งกับความต้องการของประชาชน และ ชมุ ชนพร้อมทัง้ พัฒนาขดี ความสามารถเชิงการแข่งขันของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา

23 5) สร้างความรว่ มมือของภาคเี ครอื ข่ายทุกภาคสว่ น ทัง้ ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งในประเทศ และตา่ งประเทศ รวมทง้ั สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การมีส่วนรว่ มของชุมชนเพือ่ สรา้ งความเข้าใจ และใหเ้ กดิ ความ ร่วมมือ ในการสง่ เสริม สนับสนนุ และจัดการศึกษาและการเรียนรใู้ หก้ บั ประชาชนอย่างมีคณุ ภาพ 6) ส่งเสริมการใช้ระบบสานักงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-office) ในการบริหารจดั การ เชน่ ระบบการ ลา ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบการขอใชร้ ถราชการ ระบบการขอใช้หอ้ งประชมุ เปน็ ตน้ 7) พัฒนาและปรับระบบวธิ ีการปฏิบตั ริ าชการให้ทนั สมยั มีความโปร่งใส ปลอดการทุจรติ และ ประพฤตมิ ิชอบ บริหารจัดการบนข้อมลู และหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ มงุ่ ผลสมั ฤทธมิ์ ีความโปร่งใส 6.4 การกากับ นเิ ทศติดตามประเมนิ และรายงานผล 1) สร้างกลไกการกากับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ให้เช่ือมโยงกบั หนว่ ยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครือข่ายทัง้ ระบบ 2) ให้หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาที่เกีย่ วข้องทกุ ระดับ พฒั นาระบบกลไกการกากับ ติดตามและ รายงานผลการนานโยบายส่กู ารปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต่ละเรอ่ื งได้อย่าง มี ประสทิ ธิภาพ 3) สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร และสอื่ อืน่ ๆ ท่ีเหมาะสม เพอ่ื การกากบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏบิ ตั ิราชการประจาปี ของหนว่ ยงาน สถานศกึ ษา เพือ่ การรายงานผลตามตวั ช้วี ัดในคารับรองการปฏิบตั ิราชการประจาปี ของ สานักงาน กศน.ให้ดาเนนิ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เปน็ ไปตามเกณฑ์ วิธกี าร และระยะเวลาที่กาหนด 5) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทกุ ระดับ ทั้งหนว่ ยงานภายในและภายนอกองค์กร ตงั้ แต่ ส่วนกลาง ภูมิภาค กล่มุ จงั หวัด จังหวดั อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพ่อื ความเปน็ เอกภาพในการใชข้ ้อมูล และการพัฒนางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

24 มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2562 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี นการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 1.1 ผูเ้ รียนการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทดี่ ีสอดคล้องกบั หลักสูตรสถานศึกษา 1.2 ผเู้ รียนการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ มและคณุ ลักษณะท่ีดีตามที่สถานศกึ ษา กาหนด 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขนั้ พื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ และ แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ร่วมกับผู้อน่ื 1.4 ผู้เรยี นการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานมีความสามารถในการสร้างสรรค์งานช้นิ งาน หรือนวตั กรรม 1.5 ผูเ้ รียนการศึกษาขั้นพืน้ ฐานมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทลั 1.6 ผู้เรยี นการศึกษาขั้นพื้นฐานมสี ุขภาวะทางกายและสุนทรยี ภาพ 1.7 ผูเ้ รียนการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมคี วามสามารถในการอ่านการเขียน 1.8 ผจู้ บการศึกษาข้ันพื้นฐานนาความรู้ทกั ษะพนื้ ฐานท่ไี ด้รบั ไปใช้ หรอื ประยกุ ต์ใช้ มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั 2.1 การพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาทส่ี อดคล้องกับบริบทและความต้องการของผูเ้ รียนชุมชน ทอ้ งถ่ิน 2.2 สือ่ ทเี่ อื้อตอ่ การเรียนรู้ 2.3 ครมู ีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรยี นร้ทู ่ีเนน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ 2.4 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูข้ องผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รียนการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง 1.1 ผเู้ รียนการศกึ ษาตอ่ เน่อื งมีความรู้ ความสามารถ และหรอื ทักษะ และหรอื คณุ ธรรมเปน็ ไปตาม เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร 1.2 ผูจ้ บหลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนือ่ งสามารถนาความรูท้ ่ไี ดไ้ ปใช้หรือประยุกต์ใช้ บนฐานคา่ นยิ มรว่ ม ของสงั คม 1.3 ผู้จบหลักสูตรการศกึ ษาต่อเน่ืองทนี่ าความร้ไู ปใช้จนเห็นเป็นประจกั ษห์ รือตวั อยา่ งทด่ี ี มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการเรยี นรู้การศึกษาต่อเนอื่ ง 2.1 หลักสูตรการศึกษาตอ่ เนอ่ื งมีคณุ ภาพ 2.2 วิทยากรการศกึ ษาต่อเนือ่ ง มคี วามรู้ ความสามารถหรอื ประสบการณ์ตรงตามหลักสตู รการศกึ ษา ตอ่ เน่ือง 2.3 สื่อที่เอ้อื ต่อการเรียนรู้ 2.4 การวัดและประเมินผลผเู้ รียนการศึกษาต่อเนือ่ ง 2.5 การจัดกระบวนการเรยี นรู้การศึกษาตอ่ เน่ืองทมี่ ีคุณภาพ

25 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผรู้ บั บรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศยั 1.1 ผรู้ บั บรกิ ารมีความร้หู รอื ทกั ษะ หรือประสบการณส์ อดคลอ้ งกบั วัตถุประสงคข์ องโครงการหรอื กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรกู้ ารศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2.1 การกาหนดโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.2 ผ้จู ัดกิจกรรมมีความรคู้ วามสามารถในการจัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2.3 สื่อ หรอื นวัตกรรม และสภาพแวดล้อมทเ่ี ออ้ื ต่อการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2.4 ผู้รับบรกิ ารมีความพงึ พอใจต่อการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา 3.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษาท่เี น้นการมีสว่ นรว่ ม 3.2 ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัลเพ่อื สนบั สนนุ การบริหารจัดการ 3.5 การกากับ นเิ ทศ ติดตามประเมนิ ผลการดาเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การปฏิบตั ิหนา้ ที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาทีเ่ ปน็ ไปตามบทบาทที่กาหนด 3.7 การส่งเสรมิ สนบั สนุนภาคเี ครอื ขา่ ยให้มีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา 3.8 การสง่ เสรมิ สนับสนุนการสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ 3.9 การวจิ ัยเพอ่ื การบรหิ ารจดั การศกึ ษาสถานศกึ ษา

26 การศึกษาสถานภาพของ กศน.อาเภอบางระจนั กศน.อาเภอบางระจัน มภี ารกิจในการจัดการศึกษา ไดแ้ ก่ การจดั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน การจดั การศกึ ษาต่อเนือ่ ง และการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย จากการศึกษาถึงปจั จัยท่สี ่งผลกระทบ ต่อการพัฒนาการศึกษา ด้วยการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอกและสภาพแวดลอ้ มภายใน โดยใชเ้ ทคนิค SWOT ( SWOT Analysis ) ผลการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม/ประเมินสถานภาพของสถานศึกษา สรุปได้ดงั น้ี ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ ม ปจั จยั ภายนอก ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกของ กศน.อาเภอบางระจนั นน้ั ปรากฏว่าสภาพแวดลอ้ ม ภายนอกมีอปุ สรรค และโอกาส ดังนี้ ปจั จัยภายนอกสถานศึกษา โอกาส (Opportunities : O) อุปสรรค ( Threats : T) 1. มคี วามหลากหลายทางการทอ่ งเทีย่ ว เช่น การ 1. ระเบยี บการปฏิบัตงิ านการศกึ ษาต่อเนื่อง/การจดั ทอ่ งเทย่ี วเชิงประวัตศิ าสตร์ ศนู ย์วสิ าหกจิ ชุมชน กิจกรรมมขี อ้ จากัด สง่ ผลให้ปฏบิ ัติงานไม่สามารถทา แหล่งท่องเทย่ี วเชงิ เกษตร และศนู ยเ์ รียนรู้เศรษฐกจิ ไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี พอเพยี ง 2. นักศกึ ษา ประชาชนบางสว่ นยงั ไม่เหน็ ความสาคัญ 2. มแี หลง่ เรียนรู้ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น/แหลง่ กับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนอ่ื ง และ ประวตั ศิ าสตร์ท่หี ลากหลาย ท่ีสามารถใช้ประโยชน์ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพ่ือสนบั สนนุ การจัดการเรียนรู้ของนกั ศกึ ษาได้อยา่ ง 3. กศน. ตาบลบางแห่งยงั ไม่เป็นเอกเทศ หลากหลายและทว่ั ถึง 3. ความกา้ วหน้าของสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศท่ี ทันสมยั ชว่ ยสนบั สนุนใหค้ รู บุคลากร นักศึกษา และ ประชาชนมีโอกาสใชเ้ ป็นเครอื่ งมอื ในการแสวงหา ความรู้ไดอ้ ย่างกว้างขวางส่งผลตอ่ การพัฒนา ประสิทธภิ าพและคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา 4. ภาคีเครอื ขา่ ยพร้อมใหค้ วามร่วมมอื ในการจัดและ ส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการศึกษาอยา่ งตอ่ เนื่อง

27 ปัจจยั ภายใน ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในของ กศน.อาเภอบางระจัน ปรากฏว่ามี จดุ ออ่ น และแขง็ ดงั นี้ ปจั จัยภายในสถานศึกษา จดุ แขง็ (Strengths : S) จดุ อ่อน (Weaknesses : W) 1. มี กศน.ตาบลและบุคลากรครบทุกพืน้ ท่ี สง่ ผลให้ 1. ครมู วี ุฒิการศกึ ษาไมต่ รงตามวิชาท่สี อน ผรู้ ับบริการมโี อกาสไดร้ บั การศกึ ษาอย่างทว่ั ถงึ ทกุ (โดยเฉพาะวชิ าบงั คบั ) กล่มุ เป้าหมาย 2. ครแู ละบคุ ลากรไดร้ ับการพัฒนาอย่างตอ่ เนอ่ื ง แต่ 2. ใหบ้ รกิ ารการศกึ ษาในรูปแบบทห่ี ลากหลายทง้ั บางคนขาดการนาไปใช้ให้เกิดประสิทธิภาพและ การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษา ประสิทธิผล ตามอัธยาศัย ตรงตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 3. ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อใช้ในการบรหิ าร อย่างท่ัวถงึ การศึกษาของหน่วยงาน บางสว่ นยงั ขาดความ 3. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาได้รับการส่งเสริม เชือ่ มโยงต่อเนือ่ งกัน สนับสนุนใหพ้ ฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง 4. สถานศกึ ษาใชเ้ กณฑม์ าตรฐานการศกึ ษาเปน็ กรอบ แนวทางในการพฒั นาการบริหารจดั การได้อยา่ งเป็น ระบบ 5. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือจัดการ เรียนรใู้ นด้านการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน 6. สถานศึกษามีหลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนื่อง และ การศึกษาตามอัธยาศยั

28 ตอนที่ 3 สรุปผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (ไตรมาส 1 – 2) รายละเอยี ด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม กศน. ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจัน บทบาทภารกจิ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางระจัน 1. การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน โดยดาเนินการ ใหผ้ ู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซือ้ ตาราเรยี น ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น และคา่ เลา่ เรียน อยา่ งท่วั ถงึ และเพียงพอเพอื่ เพม่ิ โอกาสในการรับการศกึ ษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสยี ค่าใช้จ่าย ใหก้ บั กลุ่มเปา้ หมาย ผดู้ อ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา ท้ังระบบการให้บริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี น ผา่ นการเรียนแบบเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การพบกลุ่ม การเรยี นแบบชั้นเรยี น และการจัด การศกึ ษาทางไกล จดั ให้มกี ารประเมินเพ่ือเทียบระดบั การศึกษา และการเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์ ท่มี ีความโปร่งใส ยตุ ธิ รรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามท่กี าหนด และสามารถตอบสนองความต้องการ ของกลมุ่ เปา้ หมายได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนต้องเรียนรู้และปฏิบัติกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต เพื่อดาเนนิ กิจกรรมเสรมิ สร้างความสามัคคี บาเพญ็ สาธารณะประโยชน์อยา่ งตอ่ เนอื่ ง และสง่ เสรมิ การปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข เช่น กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจติ อาสา การจดั ตั้งชมรม/ชุมนมุ และเปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนนากจิ กรรมการบาเพ็ญประโยชนอ์ ่ืน ๆ นอกหลกั สตู ร มาใชเ้ พิ่มชว่ั โมงกิจกรรมใหผ้ ู้เรยี นจบตามหลักสตู รได้ และจัดต้ังศูนยแ์ นะแนวและประสาน การศึกษาพเิ ศษอาเภอ/เขต ใหค้ รบทกุ อาเภอทว่ั ประเทศ 2. การจัดการศึกษาเพื่อพฒั นาอาชพี เปน็ การจัดการศึกษาทม่ี ุ่งเนน้ ใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ เจตคติ และมีทกั ษะ ในอาชีพ ตามวัตถุประสงค์ ของหลักสตู ร ประกอบดว้ ย ทักษะเก่ยี วกบั การปฏิบัติงาน การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศพ้ืนฐาน การคิด แกป้ ัญหา การสื่อสาร และทักษะเกีย่ วกับความปลอดภยั ในอาชพี มีคณุ ลกั ษณะท่ีสาคัญในเรอื่ งความซื่อสัตย์ สจุ รติ ความคิดเชิงบวก ความม่งุ ม่นั ในการทางาน การทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื การรักษาสิง่ แวดลอ้ ม และการ คานงึ ถึงประโยชนส์ ่วนรวมมากกว่าสว่ นตน การจัดกระบวนการเรียนรูเ้ นน้ การปฏบิ ตั ิจริง และการเรยี นรูจ้ าก วทิ ยากรหรือผ้รู ู้ทป่ี ระกอบอาชพี นนั้ ๆ การจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาอาชพี แบง่ เป็น 2 ระดับ คอื ระดบั การ พัฒนาอาชีพเพื่อการทามาหากิน และระดับการพฒั นาต่อยอดอาชพี เดิม

29 3. การจัดการศึกษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวติ เป็นการจัดการเรยี นรูท้ ่ีใหค้ วามสาคญั กับการพฒั นาคนทกุ ช่วงวยั ให้มคี วามรู้ เจตคติ และทักษะ ทจ่ี าเป็นสาหรบั การดารงชวี ิตในสงั คมปจั จุบัน สามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกดิ ขึ้นในชวี ิตประจาวนั ได้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสาหรบั การปรับตวั ใหท้ นั ต่อการเปลยี่ นแปลงของข่าวสารข้อมูลและ เทคโนโลยีสมยั ใหม่ในอนาคต โดยเนน้ การฝึกปฏบิ ตั ิให้ผูเ้ รียนเกิดทกั ษะชีวิต 10 ประการ คอื (1) ทักษะการ ตัดสินใจ (2) ทกั ษะการแก้ปัญหา (3) ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ (4) ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์ (5) ทักษะการ สอ่ื สารที่มีประสิทธภิ าพ (6) ทกั ษะการสรา้ งสัมพนั ธภาพ (7) ทกั ษะการตระหนักรู้และเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง (8) ทักษะความเหน็ ใจผูอ้ น่ื (9) ทักษะการจดั การกับอารมณต์ ่าง ๆ และ (10) ทักษะการจดั การกบั ความเครียด สว่ นเน้อื หาท่สี ถานศึกษานาไปจัดกจิ กรรมพฒั นาทักษะชวี ติ เนน้ ใน 7 เรอ่ื ง คอื (1) สขุ ภาพกาย - จิต (2) ยาเสพตดิ (3) เพศศึกษา (4) คุณธรรมและคา่ นิยมทีพ่ งึ ประสงค์ (5) ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส์ นิ (6) ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และ (7) ประชาธปิ ไตยในวถิ ชี วี ติ 7. การจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาสังคมและชุมชน เป็นการจดั กระบวนการให้บคุ คลรวมกลุ่มเพอื่ แลกเปลีย่ นเรยี นรู้รว่ มกัน สรา้ งกระบวนการจิต สาธารณะ ชว่ ยเหลือซึ่งกันและกนั ในการพฒั นาสังคมและชมุ ชนอยา่ งยั่งยืน โดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นแนวปฏบิ ัติ ตลอดจนการเรียนรกู้ ารใชเ้ ทคโนโลยีท่เี หมาะสม โดยเนน้ การจดั การเรยี นรู้ ผา่ นกิจกรรม การส่งเสริมการดาเนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ได้แก่ หมบู่ า้ นเรยี นรตู้ ามรอย พระยคุ ลบาท การเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเกษตรทฤษฎีใหม่ การทาบญั ชีครวั เรอื น วสิ าหกิจชุมชน/สหกรณ์ 8. การจดั กิจกรรมสง่ เสริมการดาเนนิ ชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ การฝกึ อบรมประชาชน ทนี่ ากรอบแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาเปน็ แนวทางในการ ดาเนนิ ชวี ิตให้แกป่ ระชาชนในทุกระดบั ต้งั แต่ระดบั บคุ คล ครอบครวั ชุมชน ใหด้ ารงอยู่ และปฏบิ ตั ิตนในทาง ที่ควรจะเป็น บนพน้ื ฐานของทางสายกลาง และไม่ประมาท โดยคานงึ ถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรา้ งความค้มุ กนั ที่ดใี นตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคณุ ธรรม ประกอบการวางแผนการ ตัดสินใจ ในการดาเนนิ ชีวติ และมคี วามจงรกั ภกั ดี ต่อสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ เช่น การเรยี นรตู้ ามรอย พระยคุ ลบาท การเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ การทาบญั ชีครวั เรอื น วสิ าหกจิ ชุมชน/สหกรณ์ การประหยัดพลงั งาน เป็นตน้ 9. งานการศึกษาตามอธั ยาศยั จัดกิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้เพ่ือปลกู ฝังนสิ ยั รักการอ่านในหอ้ งสมุดประชาชน กศน.ตาบล และหมู่บ้านเป้าหมาย เพ่อื พฒั นาความสามารถในการอ่าน ศกั ยภาพการเรียนร้ขู องประชาชน ทุกกลมุ่ เปา้ หมายให้ไดร้ ะดบั อ่านคล่องอ่านเขา้ ใจความเขียนคลอ่ ง อ่านเชิงคดิ วเิ คราะห์พืน้ ฐาน ให้ประชาชน สามารถรับร้ขู ้อมลู ข่าวสารทีถ่ กู ตอ้ ง และทันเหตุการณ์ เพ่อื สามารถนาความรู้ทไี่ ดร้ ับไปใชป้ ระโยชน์ ในการปฏิบัติจรงิ

30 สรปุ ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ไตรมาส 1 – 2) รายละเอยี ด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม กศน. สรุปผลการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ไตรมาส 1 – 2 ) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจนั ไดก้ าหนดดาเนินงานตาม แผนงาน/ โครงการ/กจิ กรรม โดยสรปุ ดังน้ี โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย ผล คดิ เป็น งบประมาณ ผล คิดเปน็ (คน) (คน) ร้อยละ (บาท) (บาท) ร้อยละ 1. โครงการจดั การศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน - คา่ จดั การเรยี นการสอน 355 355 100 302,025 155,318.47 51.43 - คา่ กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน 355 355 100 102,200 68,286 66.82 - คา่ หนงั สอื เรียน 355 355 100 81,960 81,949 99.99 2. โครงการการศกึ ษาเพือ่ ส่งเสริมการ รหู้ นงั สอื 8 11 100 2,200 -- 3. โครงการขับเคลือ่ นการพฒั นา การศกึ ษาท่ียง่ั ยืน (โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน) - กิจกรรม 1 อาเภอ 1 อาชีพ 72 - - 32,400 -- - กจิ กรรมช้นั เรยี นวิชาชพี (31 ชม.ขึน้ ไป) 97 78 80.41 87,300 57,300 65.64 - กจิ กรรมพฒั นาอาชีพ (ไมเ่ กนิ 30 ชม.) 108 119 100 75,600 63,000 83.33 4. โครงการจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นา ทกั ษะชีวติ 176 102 57.95 20,240 10,120 50.00 5. โครงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา สังคมและชุมชน 104 147 100 41,600 21,500 51.68 6. โครงการการศึกษาเพอื่ เรยี นรูห้ ลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 112 - - 22,400 --

โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย ผล คิดเปน็ งบประมาณ 31 ร้อยละ (บาท) ผล คดิ เปน็ (คน) (คน) (บาท) ร้อยละ 12,750 7. โครงการพัฒนาและเสรมิ สร้าง 12,750 3,000 ศักยภาพคนโดยการส่งเสริมการอ่าน 1,825 4,250 ในห้องสมดุ ประชาชนอาเภอบางระจัน 3,200 3,649 9,520 12,748 99.98 กศน.ตาบล และหมู่บ้านเปา้ หมาย 10,000 งบบรหิ ารในหอ้ งสมุด 10,000 5,070 39.76 3,000 2,853.33 95.11 - คา่ หนังสือ/สอ่ื 100 - 1,500 82.19 บริหารท่ัวไป 100 - 780 18.35 100 - - งบบริหาร 9,520 100 - คา่ สาธารณปู โภค 100 - 10,000 100.00 จดั ซือ้ - หนงั สอื พมิ พ์ 5,000 50.00 - วารสาร 1,999.14 66.64 คา่ ตอบแทนใชส้ อย (หนังสือพิมพ์ตาบล) - ค่าหนังสือ (กศน.ตาบล สรา้ งใหม่) - ค่าจัดกิจกรรม (กศน.ตาบล สร้างใหม่) - ค่าสาธารณูปโภค (กศน.ตาบล สร้างใหม)่ 8. โครงการพฒั นาหอ้ งสมุดประชาชน กศน.ตาบล และแหล่งเรียนร้ใู นชมุ ชน ให้เป็นศูนย์กลางการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต - ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอ บางระจัน 1 แหง่ 1 แห่ง - - 24,500 - - กศน.ตาบล 8 แหง่ 8 แหง่ - - - แหลง่ เรยี นรู้ 8 แหง่ 8 แหง่ 9. โครงการพฒั นาบคุ ลากรดา้ น คุณภาพและมาตรฐานการจัด การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั 13 13 -

โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ผล คดิ เปน็ งบประมาณ 32 (คน) (คน) ร้อยละ (บาท) ผล คิดเปน็ 10. โครงการนเิ ทศ ติดตาม การ (บาท) ร้อยละ ดาเนินงานกิจกรรม กศน.อาเภอ 16 แห่ง 16 แห่ง 100 - บางระจนั -- 11. โครงการพัฒนา สง่ เสรมิ 10 แหง่ 10 แห่ง 100 - สนบั สนุนภาคเี ครือข่าย และ 24 คน 24 คน 100 - -- อาสาสมัคร กศน. -- 12. โครงการพฒั นาการทางกาย จิต 120 คน 130 คน 100 8,400 และสมอง ของผ้สู ูงอายุ 8,400 100

33 ตอนท่ี 4 สรุปผลการดาเนนิ งานตามโครงการ/กิจกรรมประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. สรุปผลการดาเนินงานตามโครงการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน 1. ช่ือโครงการ โครงการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 2. สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดเน้นสานักงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั นโยบายเรง่ ด่วนเพื่อรว่ มขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 1. ยทุ ธศาสตร์ด้านความมั่นคง 1. สง่ เสริมการจัดการเรียนร้ตู ามพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของ รชั กาลท่ี 10 1.1 เสรมิ สรา้ งความร้คู วามเข้าใจท่ีถกู ตอ้ งในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข มคี วามเปน็ พลเมอื งดี เคารพความคิดของผูอ้ ื่น ยอมรบั ความแตกต่าง ที่หลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมท้ังสังคมพหุวฒั นธรรม 1.2 สง่ เสริมการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีปลูกฝงั คุณธรรม สรา้ งวินัย จติ สาธารณะ และ อุดมการณค์ วามยึดม่นั ในสถาบนั หลักของชาติ รวมท้งั การมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกจิ กรรม อ่ืนๆ ตลอดจนสนบั สนุนให้มกี ารจัดกิจกรรมเพื่อปลกู ฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรมให้กับบุคลากรในองคก์ ร 3. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคนให้มคี ุณภาพ 3. ส่งเสริมให้มีการจัดการเรยี นการสอนแบบ “สะเตม็ ศึกษา” (STEM Education) สาหรับนกั ศกึ ษา และประชาชน โดยบรู ณาการความรู้ด้านวทิ ยาศาสตร์ ควบคูก่ บั เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพื่อประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั พฒั นาทกั ษะชีวติ สกู่ ารประกอบอาชพี 5. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นสง่ เสรมิ และจัดการศึกษาเพ่อื เสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดล้อม 1. สง่ เสริมให้มกี ารใหค้ วามรู้กบั ประชาชนเกยี่ วกับการปอ้ งกันผลกระทบและปรับตวั ตอ่ การ เปล่ียนแปลง สภาพภูมิอากาศและภยั พบิ ัติธรรมชาติ 2. สร้างความตระหนักถึงความสาคญั ของการสร้างสงั คมสเี ขยี ว การกาจัดขยะและมลพษิ ในเขตชุมชน 3. สง่ เสริมใหห้ น่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานท่เี ปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม รวมทั้งลดการใช้ ทรัพยากร ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม 6. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาประสทิ ธภิ าพระบบบริหารจัดการ ภารกิจตอ่ เนอ่ื ง 1. ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ 1.1 การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 1) สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวยั จนจบการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน โดยดาเนนิ การใหผ้ ู้เรยี นไดร้ ับการสนับสนนุ คา่ จัดซื้อหนังสือเรียน คา่ จดั กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน และ ค่าจัดการเรียนการสอนอย่างท่วั ถงึ และเพยี งพอ เพือ่ เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบรกิ ารทางการศกึ ษา ที่มคี ณุ ภาพโดยไมเ่ สียค่าใช้จ่าย

34 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานให้กบั กลุ่มเป้าหมายผูด้ ้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศกึ ษา ทง้ั ระบบการให้บรกิ าร ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและ ประเมินผลการเรียน ผา่ น การเรยี นแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกล่มุ การเรียนแบบช้ันเรียน และการจดั การศกึ ษาทางไกล 3) จดั ใหม้ กี ารประเมินเพอื่ เทียบระดับการศกึ ษา และการเทียบโอนความร้แู ละ ประสบการณ์ ท่มี คี วามโปรง่ ใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กาหนด และสามารถตอบสนอง ความต้องการของกลุม่ เป้าหมายไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 4) ส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นต้องเรียนรู้และปฏบิ ัติกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต เพ่อื ดาเนิน กจิ กรรมเสรมิ สร้างความสามัคคี ป้องกัน และแกไ้ ขปัญหายาเสพติด บาเพญ็ สาธารณประโยชน์อย่างต่อเนือ่ ง และสง่ เสรมิ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข เชน่ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยวุ กาชาด กิจกรรมจิตอาสา การจัดตัง้ ชมรม / ชมุ นุม และเปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นนากจิ กรรมการ บาเพ็ญประโยชน์อ่นื ๆ นอกหลกั สตู ร มาใช้เพิ่มชั่วโมงกจิ กรรมให้ผู้เรยี นจบตามหลกั สตู รได้ 2. ด้านหลักสูตร ส่ือ รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล งานบริการทาง วชิ าการ และการประกันคุณภาพการศกึ ษา 2.1 สง่ เสรมิ การพฒั นาหลกั สูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนร้แู ละกจิ กรรมเพื่อส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมท้งั หลกั สูตรท้องถิ่นท่สี อดคล้องกบั สภาพบริบทของพื้นที่ และความต้องการของกลุ่มเปา้ หมายและชุมชน 2.2 พฒั นารูปแบบการจดั การศกึ ษาทางไกลให้มีความทนั สมัยดว้ ยระบบหอ้ งเรยี นและการ ควบคุม การสอบออนไลน์ 2.3 พฒั นาระบบการประเมนิ เพอ่ื เทียบระดบั การศึกษา และการเทยี บโอนความรแู้ ละ ประสบการณ์ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเปา้ หมายไดอ้ ย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 2.4 สง่ เสรมิ การพัฒนาสือ่ แบบเรยี น สอื่ อิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละสือ่ อนื่ ๆ ทีเ่ ออ้ื ต่อการเรียนรู้ ของผ้เู รยี นกลุม่ เป้าหมายท่วั ไปและกลมุ่ เป้าหมายพเิ ศษ 2.5 พฒั นาระบบการวดั และประเมนิ ผลการศึกษานอกระบบทกุ หลักสูตร โดยเฉพาะหลักสตู ร ในระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานให้ไดม้ าตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มาใชอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศกึ ษาวิจัย พัฒนาหลกั สตู ร รูปแบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล และเผยแพรร่ ูปแบบการจัด สง่ เสริม และสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย เพ่อื ใหม้ กี ารนาไปสู่การปฏิบัติอยา่ งกวา้ งขวางและมกี ารพฒั นาใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ท อยา่ งตอ่ เน่ือง

35 2.7 พัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาใหไ้ ด้มาตรฐาน เพ่ือพร้อมรบั การ ประเมนิ คุณภาพภายนอก โดยพฒั นาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั ถึงความสาคัญของระบบ การประกนั คณุ ภาพ และสามารถดาเนนิ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื งโดยใช้การ ประเมนิ ภายใน ด้วยตนเอง และจดั ใหม้ รี ะบบสถานศกึ ษาพ่เี ล้ยี งเขา้ ไปสนับสนนุ อย่างใกล้ชดิ สาหรับ สถานศึกษาที่ยังไมไ่ ดเ้ ขา้ รับ การประเมินคณุ ภาพภายนอก ใหพ้ ัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาให้ได้คณุ ภาพ ตามมาตรฐานที่กาหนด สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผ้เู รียนการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน 1.1 ผู้เรยี นการศึกษาข้ันพน้ื ฐานมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นทดี่ สี อดคลอ้ งกับหลกั สตู รสถานศึกษา 1.2 ผู้เรยี นการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานมีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมและคุณลกั ษณะที่ดีตามที่สถานศกึ ษา กาหนด 1.3 ผเู้ รยี นการศึกษาข้นั พื้นฐานมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และ แลกเปล่ียนความคิดเห็นรว่ มกบั ผูอ้ ืน่ 1.4 ผู้เรียนการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานมคี วามสามารถในการสร้างสรรค์งานช้ินงาน หรอื นวัตกรรม 1.5 ผเู้ รียนการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั 1.6 ผู้เรยี นการศึกษาข้นั พ้นื ฐานมสี ขุ ภาวะทางกายและสุนทรยี ภาพ 1.7 ผเู้ รยี นการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานมีความสามารถในการอ่านการเขียน 1.8 ผู้จบการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานนาความรูท้ กั ษะพนื้ ฐานทไ่ี ด้รับไปใช้ หรือประยกุ ตใ์ ช้ 3. หลกั การและเหตผุ ล สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย มุง่ เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถนาสาระ การเรยี นรู้ และวิธกี ารเรียนรไู้ ปใช้ประโยชน์ได้จรงิ ในการพฒั นาคุณภาพชีวิต และสรา้ งเสริมสมรรถนะการ ประกอบอาชพี ท่สี ามารถสร้างรายได้อย่างมนั่ คง ดาเนนิ การให้ผเู้ รียนการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษา ข้ันพนื้ ฐาน ได้รบั การสนบั สนุนค่าจัดซื้อตาราเรียน ค่าจดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน และคา่ เล่าเรยี น อยา่ งทว่ั ถงึ และเพยี งพอ เพ่อื เพมิ่ โอกาสในการรับการศึกษาทมี่ คี ุณภาพโดยไมเ่ สียคา่ ใช้จา่ ย พร้อมจัดหา ตาราเรียนการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานทมี่ คี ุณภาพตามที่ สานกั งาน กศน. ใหก้ ารรับรอง คุณภาพให้ทันต่อความตอ้ งการของผูเ้ รยี น พร้อมทั้งจัดให้มีระบบหมุนเวยี นตาราเรยี น เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ทุกคนสามารถเข้าถึงการใช้บริการตาราเรยี นอย่างเท่าเทียมกัน จะขยายการจดั การศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานท่ีมีคณุ ภาพใหก้ ับประชากรวัยแรงงานท่ไี มจ่ บการศึกษาภาคบังคับ และไม่อยใู่ นระบบ โรงเรยี น โดยเฉพาะผ้ดู อ้ ยโอกาสกล่มุ ต่าง ๆ ดว้ ยวธิ ีเรยี นที่หลากหลาย และการใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร ส่งเสรมิ สนับสนนุ และเร่งรัดให้ กศน.อาเภอทุกแห่งดาเนินการเทยี บโอนความรู้ และประสบการณ์ รวมทง้ั ผลการเรยี นอยา่ งเปน็ ระบบไดม้ าตรฐาน สอดคล้องกบั หลักสตู รเพอ่ื ขยายโอกาส ทางการศึกษาให้กบั ประชาชนอยา่ งกวา้ งขวาง พัฒนาระบบฐานข้อมลู รวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความ

36 ครบถว้ น ถูกต้องทันสมัย และเชือ่ มโยงกันท่วั ประเทศ สามารถสบื ค้นและสอบทานได้ทนั ความต้องการ เพ่อื ประโยชน์ในการจดั การศึกษาให้กับผ้เู รียนและการบรหิ ารจดั การอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ จดั ใหม้ ีวิธกี าร เรียนรู้ท่หี ลากหลาย เนน้ การฝกึ ปฏบิ ัติจรงิ โดยกาหนดใหผ้ ูเ้ รียนทุกระดับการศกึ ษาต้องเรยี นรู้และปฏิบตั ิ กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตลอดหลักสูตร ไม่นอ้ ยกว่า 200 ชว่ั โมง (เฉลย่ี ภาคเรยี นละ ไม่น้อยกว่า 50 ชั่วโมง) และให้ผู้เรียนมเี วลาเรยี นสัปดาห์ละไม่น้อยกว่า 9 ชวั่ โมง โดยใหเ้ รียนกบั ครหู รอื วทิ ยากรสอนเสริม อยา่ งน้อย 6 ชัว่ โมง และศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเองตามทีค่ รูมอบหมาย 3 ชั่วโมง ท้ังน้เี พอื่ ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจและเจตคตทิ ีด่ ีตอ่ การเรยี นรู้ รวมท้ังสามารถพัฒนาทักษะการเรยี นรูท้ ่สี ามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ จริงอย่างมปี ระสิทธิภาพ และพฒั นาระบบการประเมินเพ่ือเทียบระดบั การศกึ ษาที่มคี วามโปรง่ ใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามท่ีกาหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของกล่มุ เปา้ หมายได้อย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ เพื่อตอบสนองนโยบายดงั กล่าวขา้ งต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจัน จึงไดจ้ ดั ทาโครงการจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐานขึ้น เพ่ือรองรับ งบประมาณปี พ.ศ. 2564 กิจกรรมที่ดาเนินการ การจัดหาสือ่ การเรียนการสอน กจิ กรรมการเรียนการสอน และกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น 4. วตั ถุประสงค์ 4.1 เพอื่ ให้นกั ศกึ ษาระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จบการศึกษาตามเกณฑ์ท่กี าหนดไว้ 4.2 เพอื่ ให้นักศึกษามคี ุณธรรม จริยธรรม มสี ติปัญญา มคี ณุ ภาพชีวิตท่ีดี มศี ักยภาพในการประกอบ อาชพี และเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเน่อื ง สามารถนาความรู้ที่ได้รบั ไปยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตของตนเองได้ 5. เปา้ หมาย เชิงปริมาณ - นกั ศึกษาระดบั ประถมศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนท่ี 2/2563 และภาคเรยี นที่ 1/2564 จานวน 710 คน เชิงคณุ ภาพ - นักศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ระดับมธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย จบการศกึ ษาตามเกณฑ์ทีก่ าหนดไว้ และนักศกึ ษามีคณุ ธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มคี ุณภาพชวี ติ ท่ีดี มีศักยภาพในการประกอบอาชพี และเรยี นร้อู ย่างตอ่ เนอื่ ง สามารถนาความรู้ ที่ไดร้ ับไปยกระดับคุณภาพชวี ิตของตนเองได้ 6. วธิ ดี าเนนิ งาน 6.1 ประชาสัมพันธร์ ับสมคั รนกั ศึกษา 6.2 ลงทะเบียนนกั ศกึ ษา 6.3 ปฐมนิเทศนักศกึ ษาเพ่ือแนะแนวการเรยี นการสอนตามโครงสร้างหลักสูตร

37 6.3 จดั หาส่ือแบบเรยี น เคร่ืองมือวัดผล และเครอ่ื งมือดาเนนิ งาน 6.4 จัดกจิ กรรมการเรียนการสอน/กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 6.5 พัฒนาหลกั สตู ร และการจดั การเรียนการสอน 6.6 ดาเนนิ การวัดผลประเมนิ ผล 6.7 ดาเนินการกากับ นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการดาเนินงาน 6.8 สรปุ ผล และรายงานผล 7. วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ เบกิ จา่ ยงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 แผนงาน : ยุทธศาสตร์สรา้ งความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการ : สนบั สนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้งั แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน งบเงนิ อดุ หนนุ ภาคเรียนท่ี 2/2563 .และภาคเรียน ที่1/2564 รหัส 2000243016500409 - ค่าจัดการเรยี นการสอน จานวนเงิน 604,050 บาท รหสั 2000243016500398 - ค่ากจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น จานวนเงิน 204,400 บาท รหสั 2000243016500269 - ค่าหนงั สอื เรยี น จานวนเงิน 163,920 บาท 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กจิ กรรม ต.ค. – ธ.ค. 63 ม.ค. – ม.ี ค. 64 เม.ย. – มิ.ย. 64 ก.ค. – ก.ย.64 กจิ กรรมการจัดการเรยี นการสอน - จดั หาวัสดอุ ปุ กรณ์ และส่ิงอาอวย ความสะดวกในการส่งเสริมและสนับสนุน การเรยี นการสอน - พัฒนาบคุ ลากรใหม้ ีความรูค้ วามเขา้ ใจ ในการจัด สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การการ จัดการเรยี นรู้ให้กับนักศกึ ษา กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน - จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นใหม้ คี ุณธรรม จริยธรรม มีสตปิ ญั ญา มีคณุ ภาพชีวิตท่ดี ี มศี กั ยภาพในการประกอบอาชพี และ

38 กจิ กรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ต.ค. – ธ.ค. 63 ม.ค. – มี.ค. 64 เม.ย. – มิ.ย. 64 ก.ค. – ก.ย.64 เรยี นรอู้ ย่างต่อเน่อื ง สามารถนาความรู้ท่ี ไดร้ ับไปยกระดับคุณภาพชวี ิตของตนเอง หนงั สอื เรียน - จดั หาหนงั สอื แบบเรยี นให้กบั นกั ศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษา ข้นั พื้นฐาน ระดบั ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ และมธั ยมศึกษา ตอนปลาย ใหเ้ พยี งพอต่อความต้องการ 9. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ - นางสาววิจิตรา กองแกว้ ครผู ชู้ ว่ ย 10. เครอื ข่าย - องคก์ รภาครัฐและเอกชน 11. โครงการที่เกี่ยวขอ้ ง - โครงการสนบั สนุนคา่ ใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 12. ผลลัพธ์ - นกั ศึกษาระดบั ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายจบการศึกษา ตามเกณฑ์ทีก่ าหนดไว้ และนกั ศกึ ษามคี ุณธรรม จริยธรรม มีสตปิ ญั ญา มคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี มีศกั ยภาพในการ ประกอบอาชพี และเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เนอื่ ง สามารถนาความรู้ท่ีได้รบั ไปยกระดับคุณภาพชีวิตของตนเองได้ 13. ดชั นชี ้ีวดั ความสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวช้ีวดั ผลผลิต (Output) - นักศึกษาระดบั ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2/2563 และภาคเรียนท่ี 1/2564 จานวน 710 คน 13.2 ตัวชี้วดั ผลลพั ธ์ (Outcome) - ร้อยละของนักศึกษาระดบั ประถมศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนปลายจบการศึกษาตามเกณฑท์ ก่ี าหนดไว้ และนักศกึ ษามคี ุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตทด่ี ี มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนือ่ ง สามารถนาความรู้ ที่ไดร้ บั ไปยกระดบั คุณภาพชวี ิตของตนเองได้

39 14. ผลการดาเนนิ งานตามโครงการ จานวนผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 ตาบล จานวนผลู้ งทะเบียน รอ้ ยละผู้ จานวนผจู้ บ ร้อยละ รวม ผูจ้ บ กศน.ตาบลไมด้ ัด ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย รวม เข้าสอบ ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย 7 50.00 กศน.ตาบลสงิ ห์ - 17 23 40 95.00 1 1 5 3 16.66 กศน.ตาบลแม่ลา 6 50.00 กศน.ตาบลโพชนไก่ - 19 22 41 75.61 - 2 1 3 16.66 กศน.ตาบลเชิงกลดั 2 8.33 กศน.ตาบลสระแจง 2 18 21 41 70.73 - 2 4 9 50.00 กศน.ตาบลพักทัน 7 33.00 กศน.ตาบลบ้านจ่า - 5 13 18 55.56 - 1 2 2 22.22 9 83.33 รวม - 17 24 41 75.61 - 2 - 48 36.73 3 14 30 47 89.36 - 2 7 - 14 31 45 88.89 - 4 3 - 19 22 41 70.73 1 1 1 - 10 30 40 70.00 - 1 8 5 133 217 355 76.83 1 16 31

ผลการดาเนนิ งาน (ค่าจดั การเรยี นการสอน) กจิ กรรม วตั ถุประสงค์ แผน ผล - จดั กจิ กรรม 1. เพอ่ื ให้นักศึกษาระดบั จานวน 355 คน จานวน 355 คน การเรียน ประถมศึกษา ระดับ การสอน มัธยมศึกษาตอนต้น และ ส่งเสรมิ และ ระดับมัธยมศกึ ษาตอน สนบั สนุน ปลายจบการศกึ ษาตาม การเรยี นรู้ เกณฑท์ ี่กาหนดไว้ ของผเู้ รยี น 2. เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษา การศึกษา มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ข้ันพ้นื ฐาน มีสตปิ ญั ญา มคี ณุ ภาพชีวิต ระดบั ทด่ี ี มศี ักยภาพในการ ประถมศึกษา ประกอบอาชพี และเรียนรู้ มัธยมศึกษา อย่างต่อเนอื่ ง สามารถนา ตอนตน้ และ ความรู้ทีไ่ ดร้ บั ไปยกระดับ มัธยมศกึ ษา คุณภาพชวี ติ ของตนเองได้ ตอนปลาย

40 พื้นท่ีดาเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ ผลการประเมนิ กศน. 155,318.47 บาท 1 พฤศจกิ ายน 63 - ร้อยละผู้เข้าสอบ - ตาบลไมด้ ัด - 76.83 - ตาบลสิงห์ - ร้อยละผจู้ บ - ตาบลเชิงกลัด 31 มนี าคม 2564 36.72 - ตาบลโพชนได้ - ตาบลสระแจง - ตาบลแม่ลา - ตาบลพักทนั - ตาบลบา้ นจ่า

ผลการดาเนินงานโครงการ (คา่ กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น) โครงการ วัตถุประสงค์ แผน ผล 1. โครงการเรียนรู้ - เพ่อื เปดิ โอกาสให้ จานวน 15 คน จานวน 17 คน อาชพี เพ่ือการสรา้ ง นักศึกษา กศน. จานวน 20 คน จานวน 20 คน รายได้ กศน.ตาบล มคี วามรูส้ ามารถ จานวน 23 คน จานวน 23 คน สระแจง กศน. ประกอบอาชีพ ตาบลบ้านจ่า กศน. สร้างรายได้ให้กบั ตาบลเชิงกลัด ตนเองและ ครอบครวั 2. โครงการ 1. เพ่ือให้นกั ศกึ ษา จานวน 15 คน จานวน 15 คน สง่ เสรมิ การเรียนรู้ กศน.ตาบลพกั ทนั เพ่อื พัฒนาทกั ษะ มคี วามรู้ดา้ นการ อาชีพ พัฒนาอาชีพ เพื่อการมงี านทา 2. เพอ่ื ให้นกั ศึษา กศน.ตาบลพักพนั มีความรู้ดา้ นการ พฒั นาอาชีพผ่าน ช่องทางออนไลน์

41 พนื้ ที่ดาเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ ผลการประเมิน - กศน.ตาบลสระแจง 13 ม.ี ค. 64 - กศน.ตาบลบ้านจ่า 10,620 บาท - นกั ศกึ ษาที่เขา้ รว่ ม - กศน.ตาบลเชิงกลัด โครงการมีความพงึ พอใจ คดิ เปน็ ร้อยละ 90.00 - กศน.ตาบลพักทนั 16 ม.ี ค. 64 1,500 บาท - นกั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ ร่วม โครงการมีความพงึ พอใจ คิดเปน็ ร้อยละ 92.00

โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ แผน ผล 3. โครงการอา่ น 1. เพื่อให้นักศกึ ษา จานวน 30 คน จานวน 30 คน จากตาราส่กู ารทา กศน.ตาบลไม้ดดั มาหากนิ กศน. มีทกั ษะการอา่ น ตาบลไม้ดดั การเรยี นรู้ เสริมสรา้ ง สร้างนิสัยรกั การอ่าน เพ่ือนาไปใช้ในการ พฒั นาตนเอง ครอบครัว 2. เพ่ือให้นักศกึ ษา กศน.ตาบลไมด้ ัด มที ักษะการอา่ น การเรยี นรู้ พฒั นา ทกั ษะการเรยี นรู้จาก ตาราไปสูก่ ารปฏฺบัติ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชวี ิตประจาวนั อันจะ นาไปสสู่ ังคมแห่ง การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต

42 พนื้ ท่ดี าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ ผลการประเมิน - กศน.ตาบลไม้ดัด 16 ม.ี ค. 64 4,700 บาท - นกั ศึกษาทเ่ี ข้าร่วม โครงการมคี วามพงึ พอใจ คดิ เปน็ ร้อยละ 93.73

โครงการ วตั ถุประสงค์ แผน ผล 4. โครงการ 1. เพอ่ื ให้นักศึกษา จานวน 15 คน จานวน 16 คน ส่งเสริมการอ่าน มกี ารอ่านอยา่ ง จานวน 10 คน จานวน 10 คน และพัฒนาทักษะ ตอ่ เน่อื งจนเป็นนสิ ัย การเรียนรู้ กศน. และมนี ิสยั รกั การอา่ น จานวน 15 คน จานวน 15 คน ตาบลสงิ ห์ กศน. 2. เพอื่ ให้นักศกึ ษา ตาบลแม่ลา สามารถนาความรู้ทไี่ ด้ จากการอา่ นไป 5. โครงการ ประยุกต์ใชใ้ น กิจกรรมที่ ชีวิตประจาวันได้ แสดงออกถึงความ เพอ่ื เสรมิ สร้าง จงรัภักดีต่อสถาบัน อดุ มการณ์รกั ชาติ ชาติ ศาสนา และ ศาสนา และสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ พระมหากษตั รยิ ไ์ ทย ของนกั ศึกษา กศน. ตาบลพกั ทัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook