Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book นางสาวสุทธิดา แก้วระยับ เลขที่ 49 รหัส 6117701001093 ห้อง 2

E-book นางสาวสุทธิดา แก้วระยับ เลขที่ 49 รหัส 6117701001093 ห้อง 2

Published by suttida220142, 2020-06-07 04:14:54

Description: E-book นางสาวสุทธิดา แก้วระยับ เลขที่ 49 รหัส 6117701001093 ห้อง 2

Search

Read the Text Version

Adult Nursing 0

สารบัญ หน้า เรื่อง 1 9 แนวคิด ทฤษฎี หลักการพยาบาลในวัยผู้ใหญ่ที่มภี าวะการเจ็บป่ วยเฉียบพลนั วิกฤต 17 การพยาบาลผ้ปู ่ วยระยะท้ายของชีวติ ในภาวะวกิ ฤต(End of life care in ICU) 45 การพยาบาลผ้ปู ่ วยทม่ี ีภาวะวกิ ฤตระบบหายใจ 63 การพยาบาลผ้ปู ่ วยทมี่ ภี าวะวกิ ฤตจากปัญหาปอดทาหน้าทผ่ี ิดปกตแิ ละการฟื้ นฟูสภาพปอด 96 การจัดการเกี่ยวกบั ทางเดนิ หายใจและการพยาบาลผู้ป่ วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ 159 การพยาบาลผู้ป่ วยระบบหัวใจและหลอดเลือด 182 การพยาบาลผ้ปู ่ วยโรคลนิ้ หัวใจ 195 การพยาบาลผ้ปู ่ วยภาวะหัวใจเต้นผดิ จังหวะ 198 การพยาบาลผ้ปู ่ วยท่ีมคี วามผดิ ปกติของระบบประสาทและไขสันหลงั 224 การพยาบาลผู้ป่ วยระบบทางเดนิ ปัสสาวะในระยะวกิ ฤติ 229 การพยาบาลผู้ป่ วยทีม่ ภี าวะช็อกและอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ ห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิต (Chain of surviva)

 ความหมาย ภาวะการเจบ็ ป่ วยเฉียบพลนั วกิ ฤต การพยาบาลผปู้ ่ วยที่มีการเจ็บป่ วยเกิดข้นึ กะทนั หนั จนถึงข้นั อนั ตรายตอ่ ชีวิต เพ่อื ใหผ้ ปู้ ่ วยปลอดภยั และไม่มีภาวะแทรกซอ้ น  ภาวะ (condition or status) หมายถึง สภาพ เง่อื นไข ภาวะ สถานการณ์ 1

 การเจบ็ ป่ วย ( illness )  เฉียบพลนั ( acute) หมายถึง กะทนั หัน เช่น ปวดหัวเฉียบพลนั ไสต้ ง่ิ อกั เสบเฉียบพลนั กลา้ มเน้ือหวั ใจตาย เฉียบพลนั  วกิ ฤต ( critical ) หมายถึง เวลา หรือเหตกุ ารณอ์ นั ตราย ถึงข้นั อนั ตราย ในระยะหัวเล้ียวหัวตอ่ ข้นั แตกหกั เก่ียวกบั ความเป็ นความตาย  การพยาบาลผ้ปู ่ วยวิกฤต หมายถึง การดูแลผปู้ ่ วยทมี่ ีอาการหนกั หรือถูกคุกคามชีวติ การเฝ้าระวงั อาการเปลี่ยนแปลงอยา่ งใกลช้ ิด ประคบั ประคองท้งั ดา้ นร่างกาย จิตสังคม ใหพ้ น้ ขีดอนั ตราย  ววิ ัฒนาการของการดูแลผู้ป่ วยภาวะ เฉียบพลัน วิกฤต  ในอดีต มีการนาเอาอุปกรณ์ข้นั สูงมาใช้ ในการเฝ้าระวงั อาการ และรักษา มีการใชย้ านอนหลบั ยาแกป้ วด ทา ให้มีผลกระทบ หรือภาวะแทรกซ้อน ผรู้ ับบริการมีความประทบั ใจคอ่ นขา้ งนอ้ ย  ในปัจจุบนั เป็นการดูแลแบบค่อยเป็นค่อยไป โดยให้มีความปลอดภยั และใหม้ ีอนั ตรายนอ้ ยท่ีสุด มีพฒั นาการ ติดตอ่ ส่ือสารกบั ผูป้ ่ วยและญาติ เนน้ การทางานเป็นทมี กบั สหสาขาวชิ าชีพ 2

หลกั การสาคญั ของพยาบาลผู้ป่ วย  คานึงถึงชีวติ ความเจบ็ ปวดดา้ นร่างกาย จิตใจ จิตวญิ ญาณของผูป้ ่ วยและครอบครัว  ยอมรับความเป็นบุคคลท้งั คนของผูป้ ่ วย ยอมรับเกียรติศกั ด์ิศรี ความมีคุณค่าของคนท้งั คน ขอบเขตของการพยาบาลผ้ปู ่ วยทม่ี ภี าวะเจบ็ ป่ วยวกิ ฤต  ผปู้ ่ วยท่มี ีภาวะเจบ็ ป่ วยวกิ ฤต จะถูกจดั ให้รักษาในหออภบิ าลผปู้ ่ วยวกิ ฤตอายรุ กรรมและศลั ยกรรม  การพยาบาลผปู้ ่ วยวกิ ฤตมีการพฒั นาเป็นการพยาบาลเฉพาะทาง เพ่อื ใหพ้ ยาบาลมีโอกาสศกึ ษาหาความรู้ และ ฝึกทกั ษะการดูแลผปู้ ่ วยไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ  องค์ประกอบของการพยาบาลผ้ปู ่ วยทมี่ กี ารเจบ็ ป่ วยวกิ ฤตมี 3 องค์ประกอบ คือ 1. ผปู้ ่ วยท่ีมีภาวะเจบ็ ป่ วยวกิ ฤต (Critical ill patient) 2. พยาบาลใหก้ ารพยาบาลผปู้ ่ วยระยะวกิ ฤต (Critical care nurse) 3. ส่ิงแวดลอ้ มภายในหอผปู้ ่ วย (Critical care environment)  ส่ิงเร้าทที่ าให้เกิดความเครียดทีม่ ีผลต่อผ้ปู ่ วยและครอบครัว  สิ่งแวดลอ้ มท่ีไม่คุน้ เคย ระดบั ของแสงสวา่ ง  เสียง จากเคร่ืองมือ การพดู คุย ของ เจา้ หนา้ ท่ี ผปู้ ่ วย ญาติ 3

 ระดบั ของแสงสวา่ ง  การตอบสนองของผู้ป่ วยทม่ี ีภาวะเจ็บป่ วย เฉียบพลนั วกิ ฤต  ความกลวั และความวติ กกงั วล การนอนหลบั ไม่เพยี งพอ ภาวะซึมเศร้า ภาวะสูญเสียอานาจภาวะบีบค้นั ดา้ นจติ วญิ ญาณ ความเจ็บปวด ICU Delirium  ลักษณะทางคลนิ ิกของผ้ปู ่ วยในภาวะเฉียบพลัน วิกฤต  ภาวะแทรกซอ้ นหลงั ผา่ ตดั เช่น เลือดออกมาก ภาวะไตวายเฉียบพลนั  ภาวะวกิ ฤตจากโรคเร้ือรังท่ีมีการกาเริบของโรค  อุบตั ิเหตหิ รือเกิดภยนั ตราย เช่นไฟไหม้ บาดเจบ็ ที่สมอง ทไ่ี ขสันหลงั  การแพย้ า สารเคมีหรือไดร้ ับสารพษิ  โรคมะเร็งลุกลามไปอวยั วะสาคญั หัวใจ สมอง ปอด ไต  ความต้องการของผู้ป่ วยทมี่ ีภาวะเจ็บป่ วยวกิ ฤต  ความตอ้ งการดา้ นร่างกาย คอื ความตอ้ งการที่จะมีชีวติ อยู่ (survival)  ตอ้ งการท่ีจะไดร้ ับการฟ้ื นฟูสภาพให้เร็วที่สุด (quick recovery)  ตอ้ งการมีความทกุ ขท์ รมานนอ้ ยทส่ี ุด (minimal suffering) 4

 ความตอ้ งการดา้ นส่วนบุคคล (personal needsผปู้ ่ วยอยากใหพ้ ยาบาลหรือทีมสุขภาพมองผปู้ ่ วยเป็นบุคคล มีชีวติ จิตใจ  มีความตอ้ งการรับขอ้ มูลขา่ วสาร  ความตอ้ งการไดร้ ับความเคารพ  มีความตอ้ งการสนบั สนุนดา้ นอารมณ์  ผลกระทบของการเจ็บป่ วยในภาวะวกิ ฤตต่อแบบแผนสุขภาพ  ผลกระทบดา้ นร่างกาย เช่น การนอนไม่หลบั จากส่ิงรบกวนต่างๆ ภายในหอผปู้ ่ วย ความเจ็บปวดจากพยาธิ สภาพ  ผลกระทบดา้ นจิตใจ เช่น ทาให้เกิดความไม่เป็ นส่วนตวั ถูกแยก การไดร้ ับส่ิงกระตุน้ มากหรือนอ้ ยเกินไป การ นอนหลบั ไม่เพยี งพอ  การเจบ็ ป่ วยของคนในครอบครัว ทาให้เกิดความเครียดในครอบครัว  การช่วยเหลือของครอบครัวของผปู้ ่ วยท่มี ีภาวะเจบ็ ป่ วยภาวะวกิ ฤต ทาให้ผปู้ ่ วยมีกาลงั ใจในการต่อสู้กบั การ เจบ็ ป่ วยไดด้ ีข้ึน 5

 พยาบาลควรช่วยเหลือสมาชิกในครอบครัวเป็ นสิ่งสาคญั และจาเป็ นทาให้ผปู้ ่ วยมีกาลงั ใจในการต่อสู้กบั การ เจบ็ ป่ วยไดด้ ีข้ึน  ประเดน็ ปัญหาที่เก่ียวข้องกบั การดูแลผ้ปู ่ วยภาวะการเจ็บป่ วยเฉียบพลัน วกิ ฤต  มีปัญหาซับซอ้ น มีโรคตดิ เช้ืออุบตั ซิ ้า และตดิ เช้ืออุบตั ใิ หม่ มีการระบาดโรคไวรัสสายพนั ธุใ์ หม่ 2009 รุนแรง กวา้ งขวางข้ึน ผสู้ ูงอายเุ พ่ิมข้ึน มีการบาดเจบ็ เพ่มิ ข้นึ  การดูแลผ้ปู ่ วยที่มภี าวะการเจ็บป่ วยเฉียบพลนั วิกฤตในปัจจุบัน  ลดการใช้การแพทย์ทเี่ ส่ียงอันตรายในอดีต ลดความเขม้ งวดในการเยย่ี มของญาติและครอบครัว การตดิ เช้ือด้ือยาเพ่มิ มากข้นึ โรงพยาบาลใหญ่ ๆ มีการทางาน ร่วมกนั ของสหสาขาวชิ าชีพ  สมรรถนะ (Competency) หมายถึง ลกั ษณะ พฤตกิ รรมท่แี สดงออกของบคุ คลทีส่ ะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความรู้ ความสามารถ เจตคติ ของพยาบาล วชิ าชีพ มีความรับผดิ ชอบ เป็นผรู้ ่วมงานท่มี ีประสิทธิภาพ สมรรถนะของพยาบาลในการดูแลผปู้ ่ วยภาวะเจบ็ ป่ วย เฉียบพลนั วกิ ฤต  การประเมินสภาพ และวนิ ิจฉัยการพยาบาล ประเมินผลการพยาบาล 6

 วางแผนให้การพยาบาลร่วมกบั สหสาขาวชิ าชีพ ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีในการทางานเป็นทีม  ปฏิบตั กิ ารพยาบาล ดูแลผปู้ ่ วยทางดา้ นร่างกาย จติ สังคม ใหก้ ารดูแลอยา่ งเท่าเทยี ม  รายงานอุบตั กิ ารณ์ ทเ่ี กิดข้นึ ในการพยาบาลผูป้ ่ วย เช่นการแพย้ า  มีทกั ษะในการสื่อสาร ทีมงาน ผปู้ ่ วย และญาติ  การใช้กระบวนการพยาบาลผู้ป่ วยภาวะการเจ็บป่ วย เฉียบพลนั วกิ ฤต ไดแ้ ก่ การประเมนิ สภาพ (Assessment) เป็นข้นั ตอนแรก ท่สี าคญั ของกระบวนการพยาบาล ต้งั แต่แรกรับและทกุ ช่วงเวลา ท่ีนิยมใชม้ าก คอื กรอบ แนวคิดทางการพยาบาล FANCAS F : Fluid balance = ความสมดุลของน้า A : Aeration = การหายใจ N : Nutrition = โภชนาการ C : Communication = การติดต่อส่ือสาร A : Activity = การทากิจกรรม S : Stimulation = การกระตุน้  การใชท้ ฤษฎีการปรับตวั ของรอย (Roy’ s adaptation model)  การประเมินภาวะสุขภาพ เช่น การหายใจ การไหลเวยี นโลหิต ความเจบ็ ปวด  เครื่องมือที่ วดั ประเมินและเฝ้าระวงั เพือ่ ให้การรักษาพยาบาลมีประสิทธิภาพ 7

 ทนี่ ิยมใชแ้ พร่หลาย คอื Acute Physiology and Critical Health Evaluation II : APACHE II Score เป็น เครื่องมือท่ีใชใ้ นการประเมินและจดั แบ่งกลุ่มผูป้ ่ วยตามความรุนแรงของโรค และใชใ้ นการประเมิน โอกาสทีจ่ ะเสียชีวติ และเพ่ือดูวา่ จาเป็ นตอ้ งไดร้ ับการดูแลใกลช้ ิดมากนอ้ ยเพียงใด  กรอบแนวคดิ ในการดูแลผ้ปู ่ วย FASTHUG and BANDAIDS คิดคน้ โดย ดร.วนิ เซนต์ (Vincent JL) ประกอบดว้ ย 7 องคป์ ระกอบ สามารถเป็ น ประโยชนใ์ นการระบแุ ละแกไ้ ขปัญหาในผปู้ ่ วยหลงั ผา่ ตดั ในห้องไอซียไู ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 8

คอื ผปู้ ่ วยทไ่ี ดร้ ับการวนิ ิจฉยั แลว้ วา่ สภาพการป่ วยไขเ้ ป็นระยะลุกลาม เร้ือรัง หรือเขา้ สู่ระยะทา้ ยๆของโรค ซ่ึงไม่มี ทางรักษาให้หายได้ เช่น ผูป้ ่ วยมะเร็งระยะสุดทา้ ย ผปู้ ่ วยโรคไต กินยา คุมอาหารมาตลอด แต่เม่ือผา่ นมาระยะหน่ึงกินยากไ็ ม่ ดีข้ึนแลว้ ตอ้ งลา้ งไตแต่กไ็ ม่หายแลว้ เป็นตน้ 9

คอื วธี ีการดูแลผปู้ ่ วยที่ป่ วยเป็ นระยะสุดทา้ ยของโรคและครอบครัว โดยใหก้ ารป้องกนั และบรรเทาอาการตลอดจน ความทกุ ขท์ รมานดา้ นตา่ งๆทอี่ าจจะเกิดข้ึน การดูแลจะเนน้ การดูแลทเ่ี ป็นองคร์ วมครอบคลุมทกุ มิตขิ องสุขภาพอนั ไดแ้ ก่ กาย ใจ สังคม และจิตวญิ ญาณของผปู้ ่ วย  ใหบ้ ริการแก่ผปู้ ่ วยที่มีภาวะวกิ ฤตเจบ็ ป่ วยรุนแรงมีภาวะคุกคาม ใชเ้ ทคโนโลยที ่ีทนั สมยั ในการพยาบาล  รับเฉพาะผปู้ ่ วยหนกั ทม่ี ีโอกาสหายสูง 10

 มีความยากในการระบุวา่ ผูป้ ่ วยวกิ ฤตรายใดเป็ นผปู้ ่ วยระยะสุดทา้ ย  มีการรักษาดว้ ยวธิ ีทีซ่ ับซ้อนดว้ ยเครื่องมือหลายชนิด เพอื่ ช่วยใหป้ ลอดภยั มีภาวะแทรกซอ้ นนอ้ ยท่สี ุด  เกิดจากอวยั วะทางานลม้ เหลว จากโรคหรืออนั ตรายต่างๆ  ผปู้ ่ วยมีโอกาสรอดนอ้ ย อาการแยล่ ง และมีแนวโนม้ วา่ ไม่สามารถช่วยชีวติ ได้  ดูแลแบบองคร์ วมและตามมาตรฐานวชิ าชีพครอบคลุม 4 มิติ และเนน้ ดา้ นจิตวญิ ญาณ  ดูแลญาติผปู้ ่ วยโดยสอดคลอ้ งกบั เร่ืองความเช่ือ สาสนา สงั คมของผปู้ ่ วยและญาติ  ดูแลจิตใจตนเองให้พร้อม เพ่อื ทีจ่ ะใหก้ ารพยาบาลผปู้ ่ วยและญาติอยา่ งเตม็ ท่ี การพยาบาลผปู้ ่ วยระยะทา้ ยของชีวติ ในผปู้ ่ วยเร้ือรัง  มีปัญหาทซ่ี ับซอ้ น อาการแยล่ ง ยากต่อการควบคุม  ความสามารถในการทาหนา้ ทข่ี องร่างกายลดลง ทาใหท้ กุ ขท์ รมาน 11

 วติ กกงั วล ทอ้ แท้ ซึมเศร้า ส้ินหวงั กลวั ตายอยา่ งโดดเด่ียว ยงั มีสิ่งท่คี า้ งคาใจและทาไม่เสร็จก่อนตาย  ดูแลใหค้ าแนะนากบั ผปู้ ่ วยและญาตโิ ดยตอบสนองความตอ้ งการดา้ นร่างกาย ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม  ดูแลดา้ นจติ ใจและอารมณ์สร้างสมั พนั ธภาพท่ีดีกบั ผปู้ ่ วยและญาติ เขา้ ใจความเจบ็ ป่ วยและความตาย  เป็นผฟู้ ังทดี่ ี อดทน และประเมินความเจบ็ ปวด และใหย้ าแกป้ วดตามแผนการรักษา  เปิ ดโอกาสและไดร้ ่วมมือกบั ผปู้ ่ วยและครอบครัวในการดูแลผูป้ ่ วย เตรียมความพร้อมก่อนของญาตใิ นการเขา้ หา ผปู้ ่ วยวาระสุดทา้ ย และใหญ้ าติทาใจพร้อมกบั ให้กาลงั ใจในความสูญเสีย  ให้ญาติคอยใหก้ าลงั ใจ เห็นอกเห็นใจผปู้ ่ วย จะช่วยให้ผปู้ ่ วยลดความกลวั และจิตใจมน่ั คงมากข้นึ  ช่วยปลดเปล้ืองส่ิงท่ีคา้ งคาใจของผูป้ ่ วย เพื่อช่วยให้ผปู้ ่ วยจากไปอยา่ งสงบและช่วยให้ผปู้ ่ วยนอ้ มจิตขอขมาในกรรม ใดๆที่เคยล่วงเกินไว้ การพยาบาลผปู้ ่ วยดว้ ยหวั ใจความเป็ นมนุษย์ ( SPIRITUALITL IN PALLIATIVE CARE)  จิตวิญญาณ (Spirituality)มีความซบั ซ้อน อยบู่ นพ้ืนฐานความเช่ือทเ่ี ก่ียวกบั ศาสนา  ตระหนกั รู้ของบุคคลต่อประสบการณช์ ีวติ ท่ีผา่ นมา มองโลกในแง่บวก 12

 มีความสามารถในการตระหนกั รู้และจิตศรัทธา  การยอมรับ และเห็นอกเห็นใจต่อเพื่อนมนุษย์  พฤตกิ รรมการพยาบาลที่มีจิตวญิ ญาณ  ปฏิบตั ิกบั ผปู้ ่ วยดว้ ยความเมตตาควบคูก่ บั การพยาบาลดว้ ยความรัก  ดูแลให้สอดคลอ้ งกบั บริบทของชีวติ เน้นใหค้ ุณค่ากบั บุคคล  คานึงสิทธิและความแตกต่างทางวฒั นธรรม  มีจิตบริการที่เมตตา กรุณา เอ้ืออาทร ใหบ้ ริการเหมือนญาตมิ ิตรและเทา่ เทียม  ดูแลท้งั ทางร่างกายและจิตใจ และให้ผปู้ ่ วยมีส่วนร่วมในการดูแล 13

 มีความเมตตา สงสาร เห็นอกเห็นใจผปู้ ่ วย มีจิตใจอยากช่วยเหลือ ใหอ้ ภยั และอดกล้นั ได้  การรู้เขารู้เรา คือ การรู้จกั ผปู้ ่ วยและรู้จกั ความสามารถและจิตใจของตนเอง  ตระหนกั เห็นและเห็นเขา้ ใจในธรรมชาติบุคคลท้งั ร่างกาย จิตสงั คม และจติ วญิ ญาณ  เคารพในความเป็นบุคคลของผปู้ ่ วย และปฏบิ ตั ิทดี่ ีต่อผปู้ ่ วย  มีทกั ษะในการส่ือสารที่ดี ฟังและสังเกตผรู้ ับบริการอยา่ งระมดั ระวงั  มีการทางานเป็ นทมี ให้ความร่วมมือกนั โดยยดึ ผปู้ ่ วยเป็นศูนยก์ ลาง การพยาบาลแบบประคบั ประคอง  ดูแลผูป้ ่ วยระยะทา้ ยโดยครอบคลุมท้งั ทางดา้ นร่างกาย จิตใจ สงั คม และจิตวญิ ญาณ  ดูแลโดยเนน้ ป้องกนั และบรรเทาความทกุ ขท์ รมานใหก้ บั ผปู้ ่ วย  เพิ่มคุณภาพชีวติ ให้กบั ผปู้ ่ วยและครอบครัว ทาใหผ้ ปู้ ่ วยมีความสุขและจากไปอยา่ งสงบ 14

 รักษาตามอาการของโรค ใชร้ ูปแบบการทางานแบบพหุวชิ าชีพ  ดูแลให้ครอบคุมท้งั 4 ดา้ นและบรรเทาความทุกขท์ รมานใหก้ บั ผปู้ ่ วย  ดา้ นการจดั สิ่งแวดลอ้ ม  ดา้ นการจดั ทีมสหวชิ าชีพ  ดา้ นการดูแลผปู้ ่ วยแบบองคร์ วม สอดคลอ้ งกบั วฒั นธรรมของผปู้ ่ วยและครอบครัว  ดา้ นการจดั การความปวดดว้ ยการใชย้ าและไม่ใชย้ า  ดา้ นการวางแผนจาหน่ายและการส่งตอ่ ผปู้ ่ วย  ดา้ นการติดต่อสื่อสาร และการประสานงานกบั ทมี สหวชิ าชีพ  ดา้ นกฎหมายและจริยธรรมในการดูแลผปู้ ่ วย  ดา้ นการเพิ่มสมรรถนะให้แก่บุคลากรและผูบ้ ริบาล 15

 ดา้ นการจดั การคา่ ใชจ้ า่ ย  ทศั นคตขิ องตนเองท่มี ีตอ่ ชีวติ และความตาย  ทาใจใหเ้ ขม้ แขง็ พร้อมรับสภาพทางกายและอารมณ์ของผปู้ ่ วย  มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั สิ่งที่จะเกิดกบั การร่างกายและจิตใจผปู้ ่ วย  เคารพความเห็น ความปราถนา และสิทธิของผทู้ ก่ี าลงั จะจากไป  อยเู่ ป็นเพื่อน  แบ่งปันความรู้สึกกนั  รักและใหอ้ ภยั อยา่ งไม่มีเงื่อนไข  ใชน้ ้าเสียงและการสมั ผสั ทอี่ ่อนโยน  มีความหวงั แต่อยา่ คาดหวงั  ดูแลตนเองให้ร่างกายและจิตใจแขง็ แรง 16

สาเหตุทที่ าให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ  การสูบบุหร่ี  มลภาวะทางอากาศ  การติดเชื้อทางเดินหายใจ การแพ้ การประเมินภาวะสุขภาพ 1. การซักประวตั ิHistorical Assessment อาการแสดงที่สาคญั เช่น อาการไอ เจบ็ หนา้ อก หายใจลาบาก หายใจมีเสียงCyanosis Clubbing of the finger and toes 2. การตรวจร่างกาย  การดู Inspection() • ดูขนาดรูปร่างทรวงอก ท่าทาง สีผิวหนงั ลกั ษณะการหายใจ ดูรูปร่างของทรวงอก ที่ผดิ ปกติ เช่น • อกนูนหรืออกไก(PigeonChest) 17

• อกบ๋มุ (Funnel) • อกถงั เบ้ยี ร์(Barral chest) • หลงั โกง(Kyphosis) • หลงั แอ่น(Lordosis) • หลงั คด(Scoliosis) 3. การคลา (Palpation) • คลาตรวจสอบท่กี ดเจบ็ คลาหากอ้ นน้าเหลือง คลาหาลมใตผ้ วิ หนงั คลาเสียงสะเทอื นของทรวงอก 4. การเคาะ(Percussion) • ทาใหเ้ กิดการสัน่ สะเทอื นของผนังอกทาใหเ้ กิดเสียงทแ่ี ตกตา่ ง 5. การฟัง(Auscultion) 1.เสียงลมผา่ นหลอดลมใหญ่ Bronchial, Tracheal หรือTubular Breath Sound เสียงน้ี เกิดจากขณะหายใจมีลมผา่ นเกิด ส่ันสะเทือนทส่ี ายเสียงและเสียงประกอบต่างๆในช่องคอส่วนจมูกและหลอดลมคอ 2.เสียงลมผา่ นหลอดลมใหญ่Broncho( Uesicular Sound) ฟังไดท้ บ่ี ริเวณช่องซี่โครงทสี่ องดา้ นหนา้ หรือบริเวณกระดูกไห ปลาร้าดา้ นขวาหรือรอยต่อกระดูกหนา้ อกส่วนตน้ 3.เสียงลมผา่ นหลอดลมเลก็ Vesicular( Breath Sound) 18

เสียงน้ีเกิดจากขณะหายใจลมจะผา่ นทอ่ หลอกลมฝอยและวนเวยี นอยใู่ นถุงลมปอดฟังไดท้ วั ไปที่บริเวณปอดท้งั 2 ขา้ ง ลักษณะเสียงที่ผดิ ปกติ 1.เสียงทดี่ งั ต่อเนื่อง -เสียงลมผา่ นหลอดลมใหญเ่ ป็ นเสียงทมุ้ เรียกวา่ Rhonchi -เสียงผา่ นหลอดลมเลก็ หรือหลอดลมตบี แคบ เรียกวา่ Wheezing/Musical sound -เสียงเสียดสีของเยอ่ื หุ้มปอดทอ่ี กั เสบ เหมือนนิวมือถูกขา้ งหูเ้ รียกวา่ Pleural friction -เสียงเกิดจากการอุดตนั ของหลอดลมใหญข่ ณะหายใจเขา้ เรียกวา่ Stridor 2.เสียงดงั ไม่ต่อเน่ืองกนั -เสียงคลา้ ยฟองอากาศแตก ไดย้ นิ ตอนหายใจเขา้ Coarse( crepitation) -เสียงลมหายใจผา่ นน้ามูกในหลอดลมฝอย ไดย้ นิ สิ้นสุดระยะหายใจเขา้ (Fine crepitation) 19

ตดิ ต่อ Air bone droplet สาเหตุ Coryza Viruses ในผใู้ หญ่(Rhinovirus) ลักษณะทางคลินิกและพยาธิสรีรวิทยาของหวดั มีอาการหลายอยา่ งเร่ิมดว้ ยคดั จมูกจามคอแหง้ มีน้ามูกใส ๆ ไหลออกมามีน้าตาคลอกลวั แสงรู้สึกไม่สบายปวดมึนศรี ษะความรู้สึกในการรับกลิ่นเสื่อมลงบางรายมีอาการปวดหูไอและอาจมี อาการอ่อนเพลีย โรคมกั ไม่เป็ นนานเกิน 2-5 วนั แตอ่ าจมีอาการอยถู่ ึง5-14วนั ถา้ > 14 วนั และมีไข้ เป็น Acute Upper Respiratory Infection URI) การประเมนิ ภาวะสุขภาพ ประวตั อิ าการ การตรวจร่างกาย การตรวจห้องปฏิบตั ิการ การรักษา รักษาให้ยาตามอาการ ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1. ผปู้ ่ วยขาดความสุขสบายเน่ืองจากคดั จมูก น้ ามูกไหล ปวดศรี ษะ คร่ันเน้ือครั่นตวั 2. มีการตดิ เช้ือซ้ าเติมไดง้ ่ายเนื่องจากภูมิ ตา้ นทานของร่างกายลดลง 20

สาเหตุ ตดิ เช้ือแบคทีเรีย ไวรัสไมโคพลาสมา พยาธิ การะคายเคือง พยาธิสรีรวิทยา เช้ือโรคทาให้เยอ่ื บุหลอดลมอกั เสบ ขนกวกั ทางานไดไ้ ม่เตม็ ทจ่ี นเกิดเสมหะ การประเมนิ ภาวะสุขภาพประวตั ิอาการ การตรวจร่างกาย การตรวจห้องปฏิบตั ิกา การรักษา รักษาประคบั ประคองไม่ใหล้ ุกลาม ป้องกนั การตดิ เช้ือซ้ัา ใหย้ าตามอาการ ยาปฏชิ ีวนะ ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1.การหายใจไม่เพียงพอเนื่องจากหลอดลมหด เกร็งตวั 2. มีความบกพร่องในการแลกเปล่ียนแก๊ส เน่ืองจากอตั ราส่วนของการระบายอากาศกบั การซึมซาบไม่สมดุลกนั 3. อ่อนเพลียเน่ืองจากขาดออกซิเจนและการ หายใจลาบาก 21

สาเหตุ 1. จากการอุดตนั ของหลอดลม 2. จากการตดิ เช้ือแบคทเี รีย 3. เกิดตอ่ มาจากหลอดโลหิตในปอดอุดตนั 4. สาลกั น้ามูก น้าลาย หรือสิ่งแปลกปลอมเขา้ ไปใน ปอด 5. มาจากฝีในตบั แตกเขา้ ไปในปอด 6. หนา้ อกไดร้ ับอนั ตราย ท าใหก้ ระดูกหักและมีการฉีก ขาดของหลอดโลหิต การประเมินภาวะสุขภาพ -ในรายทม่ี ีฝีในปอด หนองอาจลุกลามเขา้ ไปใน เยอ่ื หุม้ ปอด - ถา้ ฝีแตกเช้ือจะลุกลามเขา้ ไปตามกระแสเลือด ท าให้เกิดการตดิ เช้ือในกระแสเลือด (Septicemia) - ถา้ เช้ือหลุดลอยไปทีส่ มอง อาจเกิดฝีของสมอง (Brain abscess) ได้ การประเมนิ ภาวะสุขภาพ 1.ประวตั ิอาการและอาการแสดง -ประวตั ิส าลกั อาหาร - มีอาการแสดงของปอดอกั เสบ 22

- ไอมีเสมหะเป็นหนอง หรือ สีน้ าตาลด า - มีอาการหายใจเร็วหรือหอบ 2. การตรวจร่างกาย จะพบการขยายตวั ของปอดท้งั สองขา้ งไม่ เท่ากนั ขา้ งทเ่ี ป็นจะขยายไดน้ อ้ ย เกิดโพรงหนอง เยอ่ื หุม้ ปอด จะหนาเคาะปอดไดย้ นิ เสียงทบึ ฟังเสียงหายใจเบา ชนิด Bronchial breath sound 3.การตรวจพิเศษ การถ่ายภาพรังสี เอกซเรย์ การรักษา 1.การรักษาทางยา ประกอบดว้ ย - การให้ยาปฏชิ ีวนะตามผลการเพาะเช้ือและ การทดสอบความไวต่อยา - ก า ร รั ก ษ า ต า ม อ า ก า ร แ ล ะ แ บ บ ประคบั ประคอง คอื ยาขบั เสมหะ ยาขยาย หลอดลม 2. การรักษาโดยวธิ ีผา่ ตดั ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1.ไม่สามารถท าให้ทางเดินหายใจสะอาดโล่ง เน่ืองจากมีการ อกั เสบและมีหนองอยภู่ ายในปอดมาก 2. การหายใจไม่พอ เน่ืองจากเน้ือปอดบางส่วนถูกท าลาย และอาการเจบ็ หนา้ อกหรือมี/ 3. มีความบกพร่องในการแลกเปลี่ยนแกส๊ เนื่องจากทางเดิน หายใจถูกอุดตนั และเน้ือท่ีปอดลดลง 4.การดูแลตนเองบกพร่องเน่ืองจากผปู้ ่ วยมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย 23

สาเหตุ เป็นผลจากการหดตวั หรือตีบตนั ของกลา้ มเน้ือรอบหลอดลม - เกสรตน้ ไมแ้ ละหญา้ ขนสตั ว์ -กล่ิน(อบั , ฉุน, น้าหอม) -ควนั จากการเผาไหม้ -ควนั บุหร่ี การประเมินภาวะสุขภาพ  ประวตั อิ าการการแพ้  การตรวจร่างกาย เช่น -Tachycadia 24

- Lung wheezing - Cyanosis - ใชก้ ลา้ มเน้ือช่วยหายใจ - การตรวจพเิ ศษ - ตรวจเลือดดูคา่ PaO2 -การทดสอบสมรรถภาพปอด - การทดสอบการแพ้ การรักษา 1.หลีกเล่ียงสารที่แพ้ 2.ยาสูดรักษาโรคหืดท่ีจาเป็ นมี 2 ประเภทคือ 2.1. ยาสูดขยายหลอดลม 25

2.2. ยาสูดลดการอกั เสบ 3. การรักษาโดยฉีดสารภมู ิแพ้ ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1.มีความบกพร่องในการแลกเปลี่ยนออกซิเจน เนื่องจาก อตั ราการระบายอากาศและการซึมซาบไม่มสมดุล 2.ไม่สามารถทาให้ทางเดินหายใจสะอาดโล่ง เนื่องจากมีการ อุดก้นั ของหลอดลม 3.วติ กกงั วลเนื่องจากอยใู่ นภาวะวกิ ฤต 4.อ่อนเพลียเนื่องจากเสียน้าเกลือแร่และพลงั งานจาก การหอบ 26

สาเหตุของCOPD การสูบบุหร่ี,มลภาวะทางอากาศ,การขาดแอลฟา 1 แอนตทิ ริพซิน,การตดิ เช้ือ ,อายุ พยาธิสรีรวิทยา การระคายเคืองต่อหลอดลมจากการสูบบุหรี่ทาใหห้ ลอดลมหดเกร็งขนกวกั นอ้ ยลงทาใหเ้ สมหะคง่ั คา้ งจน เกิดการอุดกินของทางเดินหายใจ การประเมินภาวะสุขภาพ  ประวตั อิ าการและอาการแสดง การสูบบหุ รี่ การหายใจลม้ เหลว การเบื่ออาหาร การใชย้ าเก่ียวกบั ทางเดินหายใจ  การตรวจร่างกายจะพบ - ผวิ กายเขียวคล้า - การหายใจเกินมีลกั ษณะหายใจแรง /การหายใจนอ้ ยกวา่ ปกติมีลกั ษณะหายใจแผ่ว -ลูกกระเดือกเคลื่อนทม่ี ากกวา่ ปกติ -อกถงั เบียร์ หลอดเลือดดาทค่ี อโป่ งนูน การเคาะทรวงอกจะไดเ้ สียงกอ้ งท่ี การฟังจะไดเ้ สียงwheezing 27

การตรวจพเิ ศษ -ตรวจเลือดดูค่าPaO2 PaCO2,การทดสอบสมรรถภาพปอด,การทดสอบการแพ้ การรักษา รักษาดว้ ยยา,รักษาดว้ ยออกซิเจนขนาดต่างๆ2-3 LMP ,การใส่ทอ่ ช่วยหายใจ ข้อวนิ ิจฉัยทางการพยาบาล 1.มีความบกพร่องในการแลกเปล่ียนออกซิเจน เนื่องจาก อากาศผา่ นเขา้ ออกจากปอด ลดลง 2.ไม่สามารถทาใหท้ างเดินหายใจสะอาดโล่ง เนื่องจาก ทางเดินหายใจมีการอุดก้นั อยา่ งถาวร และมีเสมหะคง่ั คา้ ง 3.วติ กกงั วลเน่ืองจากอยใู่ นภาวะวกิ ฤต 4. อ่อนเพลียเน่ืองจากเสียน้าเกลือแร่และพลงั งานจาก การหายใจ 5. อารมณห์ งุดหงิดง่ายเนื่องจากการเจบ็ ป่ วยเร้ือรัง 28

การตดิ ต่อ การหายใจรดกนั การจาม พูดของผูป้ ่ วยวณั โรค สาเหตุ เช้ือแบคทีเรีย คือไมโครแบคทเี รียมทูเบอร์คูโลซิส เช้ือ AFB อาการ -ไอเร้ือรัง 3 สปั ดาห์ข้ึนไป หรือไอมีเลือดออก -มีไขต้ อนบ่ายๆ เหง่ือออกมากตอนกลางคืน -น้าหนกั ลด อ่อนเพลีย เบือ่ อาหาร -เจบ็ หนา้ อกและเหนื่อยหอบกรณีลุกลามไปมาก การป้องกันไม่ให้ป่ วยเป็ นวัณโรค -รักษาสุขภาพให้แขง็ แรงโดยการออกกาลงั กายกินอาหารที่มีประโยชน์ครบ5หมู่ -หลีกเล่ียงการคลุกคลีใกลช้ ิดกบั ผปู้ ่ วยวณั โรค -ถา้ มีผปู้ ่ วยวณั โรคอยใู่ นบา้ นควรเอาใจใส่ดูแลให้กินยาครบถว้ นสม่าเสมอทกุ วนั 29

-ควรตรวจร่างกายโดยการเอกซเรยป์ อดอยา่ งนอ้ ยปี ละคร้ัง -พาบตุ รหลานไปรับการฉีดวคั ซีนบซี ีจี -หากมีอาการผดิ ปกตนิ ่าสงสัยวา่ จะเป็ นวณั โรคควรรีบไปพบแพทยเ์ พื่อรับการตรวจโดย การเอกซเรยป์ อดและตรวจเสมหะ การประเมนิ ภาวะสุขภาพ 1.การประเมินสภาพผปู้ ่ วย -การฟังปอดจะพบcapitation ขา้ งที่มีพยาธิสภาพปอดขยายตวั ไม่ดีฟังเสียงbreathSound ลดลง -เสมหะเป็นสีเหลืองยอ้ มเสหะพบAcid Fast Bacilli lwnlosa tu Mycobacterium Tuberculosis แน่น -ตรวจเลือดจะพบเมด็ เลือดขาวสูงกวา่ ปกติ -การทดสอบทเู บอร์คูลิน การรักษา ท้งั ทางยาและการผา่ ตดั ดงั น้้ี 1.1 Frist line Drug Bulan INH (Isoniazid), Ethambutol, Rifampin las Streptomycin 30

1.2 Secondary Line Drug laun Viomycin, Capreomycin, Kanamycin, Ethionamide, pyrazinamine, Para-Aminosalicylate Sodium (PAS) uas Cycloserine 1.3 วธิ ีรักษาแบบใหย้ าเตม็ ทใ่ี นระยะแรก 1.4 วธิ ีรักษาแบบใชย้ าระยะสันเน้นให้INH 300 มก. ร่วมกบั streptomycin 1 กรัมร่วมกบั Rifampicin 600 มก. ทกุ วนั ติดต่อกนั เป็ นเวลา 6 เดือน 2.การรักษาวณั โรคปอดในรายทีเ่ คยได้รับการรักษามาแล้ว 2.1ผทู้ เ่ี คยไดร้ ับการรักษามาเตม็ ทไี่ ม่นอ้ ยกวา่ 6 เดือนและประเมินแลว้ วา่ รักษาไม่ไดผ้ ลควรเปล มาใชย้ าขนานใหม่ทีไ่ ม่เคย ใชม้ าก่อน 2.2ถา้ เคยไดร้ ับการรักษามาครบแลว้ โรคสงบไประยะหน่ึงแลว้ เกดขิ้นึ ใหม่จะใหก้ ารรักษาแบบเดิมก่อนแลว้ ทดสอยวา่ เช้ือ ตา้ นยาชนิดใดแลว้ เปลี่ยนยาตวั ใหม่แทนหรือให้INHร่วมกบยาอ่ืนอีก-3 2 ตวั ท่ีผูป้ ่ วยไม่เคยไดร้ ับมาก่อน 3. วธิ ีการรักษาโดยการผา่ ตดั แพทยอ์ าจผา่ ตดั เอากลีบปอดออกบางส่วน Secmentectomy ,Lobectomy หรือท้งั ปอด (Pneumoectomy) 31

การปฏิบัติตน -ไปพบแพทยต์ ามนัดและเกบเสมหะส่งตรวจทุกครั้ง็ ตามแพทยส์ ง่ั -กินอาหารท่มี ีประโยชน์เช่นเน้ือสัตวไ์ ขผ่ กั ผลไมเ้ พอื่ บารุงร่างกายให้แขง็ แรง -ปิ ดปากจมูกเวลาไอหรือจามทุกคร้ังเพื่อป้องกนั การแพร่เช้ือไปสู่ผอู้ ่ืน -ให้บุคคลในบา้ นไปรับการตรวจถา้ พบวา่ ป่ วยเป็ นวณั โรคแพทยจ์ ะไดใ้ หก้ ารักษาทนั -กินยาให้ครบถว้ นทกุ ชนิดตามท่แี พทยส์ ง่ั และก่นติดตอ่ กินสม่าเสมอทกุ วนั จนครบตามกาหนด ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1.ไม่สามารถทาให้ทางเดินหายใจสะอาดโล่ง เนื่องจาก ทางเดินหายใจมีการอุดก้นั จากสมหะ 2. วติ กกงั วลเน่ืองจากถูกแยกออกจากผปู้ ่ วยรายอื่น 3.อ่อนเพลียเนื่องจากเสียน้ าเกลือแร่และพลงั งานจาก การหายใจ 4.อารมณ์หงุดหงิดง่ายเนื่องจากการเจบ็ ป่ วยเร้ือรัง 5.เฝ้าระวงั ป้องกนั การแพร่กระจายของเช้ือโรค 32

1. ภาวะการหายใจลม้ เหลวเร้ือรัง (Chronic respiratory failure) 2. ภาวะการหายใจลม้ เหลวอยา่ งเฉียบพลนั (Acute respiratory failure) สาเหตขุ องภาวะการหายใจล้มเหลว  โรคของระบบประสาท -หลอดเลือดสมองแตก ตีบ ตนั (CVA) - สมองบาดเจบ็ - ไขสันหลงั บาดเจบ็ - ยาสลบ ยาพษิ ยาฆ่าแมลง มอร์ฟี น - มายแอสทีเนีย(myasthenia) - เช้ือบาดทะยกั 33

- โปลิโอ - เกอร์แรงคเ์ บอเรย)์ Guillian-Barre syndrome)  โรคของปอด/ทางเดนิ หายใจ -ปอดไดร้ ับบาดเจบ็ อกรวนFlail( chest) -ทางเดินหายใจอุดตนั หอบหืดรุนแรง -ปอดอุดก้นั เร้ือรัง -Massive transfusion -จมน้า -สูดกา๊ ซพิษและคาร์บอนไดออกไซด์ ****แตส่ าเหตหุ ลกั เกิดจากภาวะการ หายใจถูกกดอยา่ งเฉียบพลนั (ARDS) 34

ประกอบด้วยองค์ประกอบส้าคัญ 2 ประการคือ 1. Failure of oxygenation - ภาวะแรงดนั ออกซิเจนในเลือดแดงPaO2()ลดลงต่ากวา่ 60 mmHg - การหายใจขดั ขอ้ งหรือหายใจลดลง(Hypoventilation) - การไหลเวยี นของเลือดลดั ไปโดยไม่ผา่ นถุงลม(intrapulmonary shunting)  ventilation-perfution mismatch (VA/Q) หรือ V/Q หรือ V/Q mismatch) คือ การกซาบ (perfusion) หรือกระบวนการกระจายของอากาศผา่ นถุงลมไปทห่ี ลอดเลือด แดงทไี่ หลผา่ นปอดไม่ไดห้ รือ ผดิ สดั ส่วน ** ทงั น้ีข้้นึ อยกู่ บั การไหลเวียนของเลือดไปที่ปอดและการกระจายของอากาศทถ่ี ุงลมผดิ สดั ส่วน** V = Ventilation = Alaeolar ventilation คือ ปริมาตรอากาศทห่ี ายใจ-เขา้ ออก 1 นาที ประมาณ 4 ลิตร Q = Perfusion = Pulmonary perfusion คือ เลือดท่ีไหลผา่ นปอด1 นาที ประมาณ 5 ลิตร V/Q = 4/5 = 0.8 35

คา่ ปกติของV/Q = 0.8 แตถ่ า้ V/Q = 0 (V/Q = 0) เรียกวา่ มี ventilation-perfusion mismatch(V/Q mismath ภาวะที่มีการลดลงของความดนั ก๊าซออกซิเจนในเลือดแดง (PaO2) PaO2 < 80 mmHg mild hypoxemia PaO2 < 60 mmHg moderate hypoxemia PaO2 < 40 mmHg severe hypoxemia 2.failure of ventilation or perfusion คอื การระบายอากาศลดลง hypoventilation ทาให้มีการคง่ั คาร์บอนไดออกไซด์ (hypercapnia) เกิดภาวะร่างกายเป็ นก รดrespiratory acidosis การกาซาบออกซิเจนในเลือดลดลง จึงเกิดภาวะพร่องของออกซิเจน และมีกาคงั่ ของคาร์บอนไดออกไซดอ์ ยา่ งรุนแรง CO2 narcosis เกิดภาวการณ์หายใจลม้ เหลว 36

อาการหรือลักษณะทางคลนิ ิกของภาวะหายใจล้มเหลว  ทางสมอง: กระสับกระส่าย แขนขาอ่อนแรงเวียนศีรษะ ม่านตาขยาย หยดุ หายใจ  ระบบหัวใจและหลอดเลือด: ระยะแรกชีพจรเตน้ เร็ว ความดนั โลหิตสูงต่อมาหวั ใจเตน้ ชา้ หรือ เตน้ ผดิ จงั หวะ ความดนั โลหิตตหยดุ หายใจา่  ระบบหายใจ: หายใจเร็วต้ืน ถา้ เกิดร่วมกบั สมองขาดออกซิเจนผูป้ ่ วยจะหายใจแบบChyne-Stoke  ระบบเลือดและผิวหนงั : ผวิ หนงั คล้าเขียวcyonosis การประเมินภาวะสุขภาพ  การซักประวตั ิ  ภาวะการติดเช้ือ เกี่ยวกบั ประวตั ิการไอมีเสมหะ ลกั ษณะสี กลิ่น  ประวตั กิ ารเป็ นโรคปอด เช่น โรคหืด ถุงลมโป่ งพอง และประวตั ิการสูบบุหรี่  ประวตั กิ ารเป็ นโรคหวั ใจและหลอดเลือด เช่น ภาวะความดนั โลหิตสูง ภาวะหวั ใจลม้ เหลวหรือกลา้ มเน้ือ หัวใจตาย  ประวตั กิ ารไดร้ ับบาดเจบ็ ทเ่ี ป็ นสาเหตุของการเปล่ียนแปลงของการระบายอากาศ  ประวตั ิการดื่มสุรา ยาเสพตดิ หรือยาอ่ืนๆ ท่อี าจเป็ นสาเหตุให้เกิดการหดเกร็งของถุงลมปอด และหลอดลม  ประวตั ิการแพย้ า หรืออาหาร 37

 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจหาระดบั อิเลก็ โตรไลท์ hyponatremia (ปกติ 135-145 mEq) จะทาใหอ้ ่อนเพลียกลา้ มเน้ืออ่อนแรง เป็ นตะคริว และ คลื่นไส้อาเจียน hypokalemia (ตา่ กวา่ 2.5 mEq ปกติ 3.5-5.5 mEq) จะทาให้อ่อนเพลีย ซึม สบั สน กลา้ มเน้ือ อ่อนแรง  การถ่ ายภาพรังสีทรวงอก ช่วยบอกสาเหตุของการเกิดภาวะหายใจลม้ เหลววา่ มาจากโรคทางระบบหายใจหรือไม่ เช่น ปอดอกั เสบ ปอดแฟบ  การวัดความสามารถในการระบายอากาศ ใชs้ pirometer เพอื่ ดูกลา้ มเน้ือเก่ียวกบั การหายใจมีความสามารถพอในการช่วยระบายอากาศ ซ่ึงปกติจะมีค่า 5-8มิลลิลิตรต่อน้าาหนกั 1 กิโลกรัม  การตรวจร่างกาย C = conciousness ประเมินระดบั ความรู้สติ O = oxygenation ประเมินการหายใจวา่ ไดร้ ับออกซิเจนเพียงพอหรือไม่รวมทงั การม้ี คาร์บอนไดออกไซดค์ งั หรือไม่ ดว้ ย่ M=motor function ประเมินการเคลื่อนไหวภายในอ นาจจิตใจ และความแข็งแรงของ กลา้ มเน้ือแขน ขา ในแตล่ ะซีก ของร่างกาย เปรียบเทยี บ 38

P = pupils ตรวจดูปฏิกริยาตอ่ แสงของรูม่านตาทงัิ สองขา้ งรวมกน้ สังเกตดูวา่ มีหนงั ตาัั ตกหรือไม่ O = ocular movement ประเมินการกลอกตา S = signs ตรวจวดั สัญญาณชีพเพ่ือประเมินวา่ มีการเปลี่ยนแปลงทางระบบหัวใจและ หลอดเลือด U = urinary output บนั ทึกวา่ มีปัสสาวะมากผดิ ปกติหรือไม่เพอ่ื ประเมินการควบคุม ความสมดุลของน้าและเกลือแร่ ตา่ งๆ โดยเฉพาะโซเดียม R = reflexes ตรวจดูวา่ มีรีเฟลก็ ซ์ผดิ ปกติอยา่ งใดหรือไม่โดยเฉพาะ babinski reflex และ รีเฟล็กซ์การกลืน E = emergency เป็นการวนิ ิจฉัยสภาพของผูป้ ่ วยหลงั จากการประเมินดงั กล่าวขา้ งตน้ แลว้ วา่ มีปัญหาท่ีจา้ เป็ นตอ้ ง ช่วยเหลืออยา่ ง เร่งด่วน 39

เกิดจากล่ิมเลือดหลุดไปอุดกนั หลอดเลือดปอด ทาให้ผปู้ ่ วยมกั หายใจหอบเหน่ือย ไอ และเจบ็ หนา้ อก อาการ 1.หายใจลาบากหรือหายใจไม่ออก 2.ไอแลว้ มีเลือดปน 40

3.มีไข้ วงิ เวียนศีรษะ เหง่ือออกมาก กระสับกระส่าย หวั ใจเตน้ เร็วผิดปกติ ชีพจรเตน้ อ่อน 4.ผวิ มีสีเขียวคลา้ 5.ปวดขาหรือขาบวม 6.หนา้ มืดเป็นลมหรือหมดสติ ปัจจัยเสี่ยง อายุ พนั ธุกรรม อุบตั เิ หตุ อาชีพ การเจบ็ ป่ วย การสูบบหุ ร่ี อว้ น ต้งั ครรภ์ การใชฮ้ อร์โมน การวนิ ิจฉัย -การตรวจเลือด เพอ่ื หาค่าดีไดเมอร์D-Dimer -การเอ็กซเรยท์ รวงอกCXR() -การเอ็กซเรยค์ อมพิวเตอร์CT(-Scan) -การตรวจดว้ ยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - การอลั ตราซาวด์ -การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 41

-การตรวจคลื่นสะทอ้ นหวั ใจ การฉีดสีดูหลอดเลือด แนวทางการรักษา -การใชย้ าตา้ นการแขง็ ตวั ของเลือด -การสอดทอ่ เขา้ ทางหลอดเลือดเพือ่ กาจดั ลิมเลือดทอี่ ุดตนั -การผา่ ตดั ภาวะแทรกซ้อน ความดนั เลือดในปอดหรือหัวใจห้องซ้ายสูง ซ่ึงจะส่งผลใหห้ ัวใจอ่อนกาลงั ลงได้ และเมื่อเวลาผา่ นไปก็อาจทา ให้ผปู้ ่ วยเกิด ภาวะความดนั ในปอดสูงเร้ือรัง 42

43

สาเหตขุ องโรค เกิดจาก 1.เช้ือแบคทเี รีย ทีพ่ บบ่อยไดแ้ ก่ เช้ือ Pneumococcus และทพ่ี บ นอ้ ย แต่ร้ายแรง ไดแ้ ก่ Staphylococcus และ Klebsiella 2.เช้ือไวรัส เช่น ไขห้ วดั ใหญ่ หัด สุกใส เช้ือไวรัสซาร์ส(SARS virus) 3.เช้ือไมโคพลาสมา ทาให้เกิดปอดอกั เสบชนิดท่เี รียกวา่ Atypical pneumonia เพราะมกั จะไม่มีอาการหอบชดั นกั 4.อื่นๆ เช่น สารเคมี, เช้ือ Pneumocystis carinii ซ่ึงเป็นสาเหตุ ของ โรคปอดอกั เสบในผปู้ ่ วยเอดส์ , เช้ือรา พบนอ้ ย แต่รุนแรง เป็ นตน้ พยาธิสภาพ ระยะท่ี 1 ระยะเลือดคงั่ พบใน 12-24 ชวั่ โมงแรก ระยะท่ี 2 ระยะปอดแขง็ ตวั (Hepatization) ระยะท่ี 3 ระยะฟ้ื นตวั (Resolution) ในวนั ท่ี 7-10 ของโรค 44

การประเมนิ ภาวะสุขภาพ 1.ประวตั อิ าการ และอาการแสดง 2.การตรวจร่างกาย 3.การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ 4.ถ่ายภาพรังสีปอด โรคแทรกซ้อน ปอดแฟบ, ฝีในปอด, เยอ่ื หุ้มสมองอกั เสบ, เยอ่ื หุ้มหวั ใจอกั เสบ, ขอ้ อกั เสบเฉียบพลนั , โลหิต เป็นพิษ ท่ีสาคญั คอื ภาวะขาด ออกซิเจนและ ภาวะขาดน้า ซ่ึงพบในเดก็ เล็ก และผสู้ ูงอายุ การรักษา - ยาบรรเทาอาการไอ - ยาขยายหลอดลม - ยาปฏิชีวนะ - ยาแกป้ วดลดไข้ 45

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1.การหายใจไม่เพยี งพอเน่ืองจากปอดถูกจากดั จากการอกั เสบ 2.มีความบกพร่องในการแลกเปล่ียนแกส๊ เนื่องจากผนงั ถุงลมปอดไม่ดี 3.ไม่สามารถท าใหท้ างเดินหายใจสะอาดโล่ง เน่ืองจากเสมหะมาก และเหนียว 4. มีแนวโนม้ ขาดอาหารและน้ าเนื่องจาก รับประทานอาหารไดน้ อ้ ย และสูญเสียพลงั งาน จากไขส้ ูง 46

สาเหตุ 1. Obstructive atelectasis: เป็นสาเหตุทพี่ บไดบ้ อ่ ยทส่ี ุด -Endobronchial obstruction: เป็นการอุด ก้นั ของหลอดลมจากสาเหตุ แบบ intraluminal - Intraluminal obstruction: เกิดจากความผดิ ปกติ หรือโรคที่ อยภู่ ายในผนงั ของหลอดลมเอง -Extraluminal obstruction: เกิด จากการกดเบียดของหลอดลมจาก โรคทีอ่ ยนู่ อกหลอดลม 47

2. Compressive atelectasis: เกิดข้นึ จากการมีรอยโรคอยภู่ ายใน ทรวงอก )intrapulmonary และ/ หรือ intrapleural) ซ่ึงมี ผลทา้ ใหเ้ กิด แรงดนั กดเบียดเน้ือปอดส่วนท่ีอยู่ ขา้ งเคียงให้แฟบลง 3. Passive atelectasis: เกิดจากรอย โรคภายใน pleural cavity ซ่ึงมีผล ทา้ ใหเ้ ดิมภายใน pleural space มี แรงตนั เป็นลบ มี ความเป็นลบลดลง หรือเป็นศูนย์ ทา้ ให้แรงดึงท่ีตามปกติ ช่วยดึงเน้ือปอดให้คงรูปขยายตวั อยู่ หายไป เน้ือปอดซ่ึงมี elastic recoil อยู่ กจ็ ะไม่มีแรงตา้ น และทา้ ให้ปอดยบุ ตวั ลงเอง 4. Adhesive atelectasis: บางคร้ังถูกเรียกวา่ Discoid หรือ Platelike atelectasis ภาวะปอดแฟบชนิดน้ีเกิดจากภาวะ alveolar hypoventilation (หายใจต้นื ซ่ึงมีผลทา้ ใหห้ ลอดลมส่วนปลาย ๆ ซ่ึง ( จะขยายออกพร้อม ๆ กบั ถุงลม ไม่สามารถขยายออก ได้ จึงยบุ ตวั ลง การประเมินสภาวะสุขภาพ 1. ประวตั อิ าการและอาการแสดง - ประวตั กิ ารสูบบหุ รี่ - ประวตั ิการหายใจลม้ เหลว - ประวตั ิการเบอ่ื อาหาร 48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook