Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์

หน่วยที่ 2 ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์

Published by kingmanee2614, 2021-02-04 04:19:33

Description: หน่วยที่ 2 ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ปรากฏการณ์ทางภูมศิ าสตร์ แบ่งเป็น 5 เร่ือง ลกั ษณะภมู ิ กระบวนการสาํ คัญ ปั ญหาทางกายภาพ ประเทศของโลก ทส่ี ่งผลใหเ้ กิด ของประเทศไทย ลักษณะภูมปิ ระเทศ และของโลก ของโลก ลกั ษณะ ปรากฏการณ์ ภยั พบิ ัตทิ าง โครงสร้างโลก ทาง ธรรมชาตขิ อง ประเทศไทยและ ภมู ิศาสตร์ ของโลก 1



หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ปรากฏการณท์ างภมู ิศาสตร์ 3

ลกั ษณะโครงสรา้ งของโลก โครงสรา้ งของโลก โลกมีโครงสรา้ งและสว่ นประกอบแบง่ ได้ 3 ชน้ั ไดแ้ ก่ ชนั้ เปลือกโลก ชนั้ เน้อื โลก และชนั้ แก่นโลก เปลอื กโลก เนือ้ โลก แก่นโลกชัน้ นอก แก่นโลกชัน้ ใน 4

ลกั ษณะโครงสรางของโลก ช้ันนอ้ี ยนู อกสดุ ของโลก เปน แผนพิภพ ชั้นเปลอื กโลก หรือพื้นโลกมีความหนาประมาณ 35 กโิ ลเมตรแบงออกเปน 2 สวน คือ ช้ันไซอลั เปน ชนั้ ผวิ ของโลก มีแรซ ิลิกาเปนสว นใหญ และมอี ะลูมินาเปน สว นประกอบ หินชัน้ น้ีมีความ หนาแนน นอ ยกวาหินช้ันไซมา ไซอลั มเี ฉพาะเปลือกโลก สว นท่ีเปนทวปี ไดแ ก หินแกรนิตชนดิ ตาง ๆ 5

ลกั ษณะโครงสรา้ งของโลก ชนั้ เปลอื กโลก เป ืลอกโลก ชนั้ ไซมา เป็น ชน้ั ทอ่ี ยูถ่ ดั จากชน้ั ไซอลั ชัน้ ไซอัล ลงไป มลี กั ษณะเป็นชน้ั หนิ หนืด ทะเหลนิ ตะกอน ชนั้ ไซมา ประกอบดว้ ยซลิ ิกาและแมกนีเซยี ม ชนั้ น้ี อยตู่ ดิ กบั ชน้ั หนิ เหลวตอนกลางทเ่ี ป็น ธรณีภาคชัน้ นอก ชนั้ เน้ือโลก และสว่ นของไซมาจะมีชนั้ แนวเขตมอฮอ-รอวชิ ชี กน้ั อยู่ เปลอื ก ธรณีภาคชัน้ กลาง โลกชนั้ ไซมาเป็นพ้ืนมหาสมุทรและรอง อยใู่ ตช้ นั้ ไซอลั บนทวปี ไดแ้ ก่ หนิ บะ เ ืน้อโลก ซอลต์ ธรณีภาคชัน้ ใน 6

ลกั ษณะโครงสรา้ งของโลก ชน้ั เน้อื โลก อยถู่ ดั จากชน้ั เปลอื กโลกลงไป มคี วามหนา ประมาณ 2,900 กิโลเมตร เป็ นชน้ั ทห่ี นิ เยน็ ตวั แลว้ มลี กั ษณะเป็นหนิ แข็งบางสว่ นอาจมี รอยแตก สนั นิษฐานวา่ ชน้ั เน้ือโลกน้ี ประกอบดว้ ยหนิ ชนิดเดยี วกนั ตลอดชนั้ เป็นโครงสรา้ งชน้ั ในสุดของเน้ือโลก หรอื แกน่ โลก แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ชนั้ ยอ่ ย ไดแ้ ก่ 7

ลกั ษณะโครงสรา้ งของโลก ชน้ั แก่นโลก แก่นโลกชนั้ นอก ประกอบดว้ ยหนิ หนืด เป็นหนิ หลอมละลาย มีความหนาประมาณ 2,200 กิโลเมตร มีอุณหภมู ิสงู ประกอบดว้ ยแรห่ ลาย ชนิดปะปนกนั และมีกา๊ ซกาํ มะถนั ละลายรวมอยู่ ดว้ ย 8

ลกั ษณะโครงสรา้ งของโลก ชนั้ แก่นโลก แก่นโลกชนั้ ใน เป็ นของแข็ง ซงึ่ เชอื่ วา่ เป็น โลหะเหล็กและนิกเกลิ ทอ่ี ดั ตวั แนน่ ภายใตค้ วาม กดดนั สูง แกน่ โลกชน้ั ในมลี กั ษณะเป็นทรงกลม มีความหนาประมาณ 2,500 กโิ ลเมตร มีความ เปลือกโลก หนาแน่นมากกวา่ โครงสรา้ งอนื่ ของโลก มแี รง เนื้อโลก ดงึ ดดู มวลวตั ถุอนื่ ๆ เขา้ สศู่ ูนยก์ ลางของโลก มากดว้ ย แก่นโลก 9 ชั้นนอก แกน่ โลก ชน้ั ใน

ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก การเปล่ยี นแปลงลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเป็นผลสบื เนื่องจาก ปัจจยั พ้ืนฐานเบ้ืองตน้ ทส่ี าํ คญั 2 ประการ คอื ปัจจยั ทีส่ บื เนือ่ งมา จากพลงั งานทีเ่ กิดข้ึนภายในโลก และปัจจยั ทีส่ บื เนือ่ งมาจากภาย นอกโลกแรงดนั ตวั ของหนิ หนืดทอ่ี ยใู่ นแกนกลางของโลก เป็น ตวั การสาํ คญั ทกี่ อ่ ใหเ้ กิดพลงั งานภายในโลก ทส่ี ง่ ผลใหเ้ ปลือก โลกมีการเคลื่อนตวั สว่ นพลงั งานจากแสงอาทติ ยถ์ ือเป็นจดุ เรม่ิ ตน้ ของพลงั งานภายนอกโลกทกี่ ระทาํ ตอ่ เปลือกโลกดว้ ยอุณหภมู ิ ทแี่ ตกตา่ งกนั 10

ลกั ษณะภูมปิ ระเทศของโลก ลกั ษณะภูมิประเทศของแตล่ ะพ้ืนทมี่ ีความสมั พนั ธ์ ตอ่ วถิ ชี วี ติ ของมนุษยแ์ ละสภาพแวดลอ้ ม ดงั น้ี ความสมั พนั ธต์ อ่ วิถชี ีวิตของมนุษย์ ลกั ษณะภูมิ ประเทศบางรูปแบบเป็นปัจจยั ทสี่ ง่ เสรมิ หรอื เป็ นอปุ สรรคขดั ขวางตอ่ การดาํ รงชวี ติ ของมนุษย์ พลงั านภายในโลกและพลงั งานจากแสงอาทติ ย์ เชน่ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทเ่ี ป็นทร่ี าบเป็ นปัจจยั เป็นปัจจยั เร่มิ ตน้ ทสี่ าํ คญั ทสี่ ง่ ผลให้ สง่ เสรมิ มนุษยท์ างดา้ นการเกษตร การสรา้ งทอี่ ยู่ เปลอื กโลกเกดิ การเปลยี่ นแปลง อาศยั สว่ นลกั ษณะภมู ิประเทศทแี่ หง้ แลง้ แบบ ทะเลทราย เป็นอุปสรรคตอ่ การดาํ รงชวี ติ ของมนุษย์ 11

ลกั ษณะภูมปิ ระเทศของโลก 12 ความสมั พนั ธต์ ่อสภาพสง่ิ แวดลอ้ ม สภาพแวดลอ้ มในพ้ืนทข่ี อง ลกั ษณะภูมิศาสตรม์ ี 2 ลกั ษณะ คอื ความสมั พนั ธข์ องภาพแวดลอ้ มท่ี เก่ียวขอ้ งกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ เชน่ ภมู ปิ ระเทศแบบภูเขาหรอื เนิน เขาในเขตรอ้ นและอบอุน่ มกั เป็น แหลง่ ทรพั ยากรแร่ สตั วป์ ่ า กาํ เนิดของแมน่ าํ้

ลกั ษณะภูมปิ ระเทศของโลก ความสมั พนั ธข์ องสภาพแวดลอ้ มที่ เกีย่ วขอ้ งกบั ภมู อิ ากาศ ลกั ษณะภูมิประเทศมกั จะมีความสมั พนั ธ์ กบั ทศิ ทางลม ปรมิ าณฝน และอณุ หภมู ิ ซง่ึ แตล่ ะพ้ืนทม่ี คี วามแตกตา่ งกนั เชน่ ภมู ิ ประเทศแบบเทอื กเขาสงู มกั ขวางกน้ั ทศิ ทางลมสง่ ผลตอ่ ปรมิ าณฝนของพ้ืนที่ หลงั เทอื กเขา และบรเิ วณยอดเขามี อุณหภูมติ าํ่ กวา่ บรเิ วณเชงิ เขา 13

บอกโครงสรา้ งของโลกจากภาพทกี่ ําหนดให้ เปลอื กโลก เนอ้ื โลก แกน่ โลกชน้ั นอก แกน่ โลกชน้ั ใน ชนั้ ไซอลั ชน้ั ไซมา ชน้ั หนิ สจี าง มีแรซ่ ลิ ิกาเป็ นสว่ นใหญ่ และมีอะลูมิ ชน้ั หนิ หนืด ประกอบดว้ ยซิลิกาและ นาเป็ นสว่ นประกอบ มีเฉพาะเปลอื กโลกทีเ่ ป็ น แมกนีเซยี ม อยูต่ ิดกบั ชน้ั หินเหลวตอน ทวปี กลางซง่ึ เป็ นชนั้ เน้ือโลก 14

เรอ่ื งน่ารู้ “ภเู ขาไฟในอนิ โดนีเซยี ” ประเทศอนิ โดนีเซยี มีภเู ขาไฟทยี่ งั ไมด่ บั มากทสี่ ุดในโลก คอื มากถึง 129 ลกู แคเ่ กาะชวาเกาะเดยี วก็มีภเู ขาไฟทย่ี งั คกุ รุน่ อยมู่ ากถึง 30 ลูก ภเู ขาไฟ 15

เรอ่ื งนา่ รู้ “พนุ ํ้ารอ้ นสเี ลอื ด” พนุ ํา� รอ้ นรอ้ นสเี ลอื ด (Chinoike Jigoku) เป็ นหนงึ่ ในบอ่ น้ําพรุ อ้ น ชอื่ ดงั ของเมอื งเบ็ปปุ ในจังหวดั โออติ ะ บนเกาะควิ ชู ประเทศญป่ี ่ นุ สาเหตทุ นี่ ํ้าพมุ สี เี ลอื ดเนอื่ งจากมธี าตเุ หล็กอยเู่ ป็ นปรมิ าณมาก จงึ ทําใหพ้ นุ ํ้ารอ้ นมสี เี หมอื นเลอื ด 16

เรอื่ งนา่ รู้ “ถํ้าครสิ ตลั ” ถ้ําครสิ ตลั เป็ น 1 ใน 240 ถ้ํา (ทถ่ี กู คน้ พบ) ภายในอทุ ยานแหง่ ชาติ ซคี วายา (Sequoia) ในรฐั แคลฟิ อรเ์ นยี ถ้ําดงั กลา่ วเป็ นถ้ํา \"หนิ ออ่ น\" ธรรมชาติ ภายในมอี ณุ หภมู คิ งทป่ี ระมาณ 9 องศาเซลเซยี ส ซงึ่ การจะ เขา้ ไปชมภายในถํ้า ตอ้ งอาศยั ผนู ้ ําทางเทา่ นัน้ 17

เรอื่ งนา่ รู้ “นํา้ ตกรอ้ น” นํ้าตกรอ้ น หรอื นํ้าตกรอ้ นคลองทอ่ ม จ.กระบี่ มอี ณุ หภมู เิ ฉลย่ี 42 องศาเซลเซยี ส นํ้าตกรอ้ นคลองทอ่ มเกดิ จากแหลง่ แร่ น้ํารอ้ นใตด้ นิ ทซ่ี มึ ขน้ึ มาจากผวิ ดนิ ลักษณะ คลา้ ยพนุ ้ํารอ้ น ซง่ึ บางชว่ งของสายน้ําจะมี ควนั ลอยกรนุ่ บรเิ วณทธ่ี ารน้ํารอ้ นไหลลดระดบั ลงสคู่ ลองทอ่ มจะมลี ักษณะคลา้ ยชนั้ น้ําตกเล็ก ๆ มแี อง่ น้ําอนุ่ อยขู่ า้ งลา่ ง ในขณะทดี่ า้ นบนมแี อง่ น้ําเล็ก ๆ ดคู ลา้ ย อา่ งอาบนํ้าหลาย ๆ แอง่ ใหน้ ักทอ่ งเทย่ี วลงไปนอนแชน่ ้ําแรอ่ นุ่ ๆ ซงึ่ เชอ่ื วา่ ดี ตอ่ สขุ ภาพ ปัจจบุ นั นํ้าตกรอ้ นคลองทอ่ มเป็ นแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว \"อนั ซนี ไทยแลนด\"์ ทมี่ นี ักทอ่ งเทย่ี วนยิ มเดนิ ทางไปเทย่ี วชมเป็ นจํานวนมาก 18

สรปุ ลกั ษณะโครงสรา้ งของโลก ชน้ั เปลอื กโลก อยูน่ อกสุดของโลก แบง่ เป็น 2 สว่ น คอื ชนั้ ไซอลั เป็นชน้ั ผิวของโลก มแี รซ่ ลิ ิกาเป็ นสว่ นใหญม่ อี ะลมู นิ าเป็ นสว่ นประกอบ ไดแ้ ก่ หนิ แกรนิตชนิดตา่ ง ๆ ชนั้ ไซมา อยถู่ ดั จากชนั้ ไซอลั ลงไป มีลกั ษณะเป็ นชน้ั หนิ หนืด ประกอบดว้ ยซลิ กิ าและแมกนีเซยี ม ไดแ้ ก่ หนิ บะ-ซอลต์ ชนั้ เน้อื โลก อยูถ่ ดั จากชนั้ เปลือกโลกลงไป เป็ นชน้ั ทหี่ นิ เย็นตวั แลว้ เป็ นหนิ แข็งบางสว่ นอาจมรี อย แตก ชน้ั แก่นโลก เป็นโครงสรา้ งชนั้ ในสุดของเน้ือโลก หรอื แกนโลก แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ชน้ั ยอ่ ย แก่นโลกชนั้ นอก ประกอบดว้ ยหนิ หนืด เป็นหนิ หลอมละลาย มีอณุ หภมู ิสงู ประกอบดว้ ยแรห่ ลาย ชนิดปะปนกนั และมกี า๊ ซกาํ มะถนั ละลายรวมอยูด่ ว้ ย แก่นโลกชนั้ ใน เป็นของแข็ง ซง่ึ เชอ่ื วา่ เป็ นโลหะเหล็กและนิกเกลิ ทอี่ ดั ตวั แนน่ ภายใตค้ วามกดดนั สงู แกน่ โลกชนั้ ในมีลกั ษณะเป็นทรงกลม มีความหนาแน่นมากกวา่ โครงสรา้ งอน่ื ของโลก 19

สรปุ ลกั ษณะภูมิประเทศของโลก การเปลี่ยนแปลงลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเป็ นผลมาจากปัจจยั พ้ืนฐานทสี่ าํ คญั 2 ประการ คอื ปัจจยั ที่ สบื เนือ่ งมาจากพลงั งานทเี่ กิดข้ึนภายในโลก เชน่ แรงดนั ตวั ของหนิ หนืดทอี่ ยูใ่ นแกนกลางของโลก เป็ นตวั การสาํ คญั ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ พลงั งานภายในโลก ทส่ี ง่ ผลใหเ้ ปลอื กโลกมีการเคลื่อนตวั และ ปัจจยั ทีส่ บื เนือ่ งมาจากภายนอกโลก เชน่ พลงั งานจากแสงอาทติ ย์ ถือเป็นจดุ เรม่ิ ตน้ ของพลงั งาน ภายนอกโลกทกี่ ระทาํ ตอ่ เปลอื กโลกดว้ ยอุณหภูมิทแี่ ตกตา่ งกนั ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของแตล่ ะพ้ืนทมี่ ีความสมั พนั ธต์ อ่ วถิ ีชวี ติ ของมนุษยแ์ ละสภาพแวดลอ้ ม ดงั น้ี ความสมั พนั ธต์ อ่ วิถชี วี ิตของมนุษย์ ลกั ษณะภูมิประเทศบางรูปแบบเป็ นปัจจยั ทสี่ ง่ เสรมิ หรอื เป็น อปุ สรรคขดั ขวางตอ่ การดาํ รงชวี ติ ของมนุษย์ ความสมั พนั ธต์ อ่ สภาพสงิ่ แวดลอ้ ม มี 2 ลกั ษณะ ความสมั พนั ธข์ องสภาพแวดลอ้ มทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ และความสมั พนั ธข์ อง สภาพแวดลอ้ มทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ภมู ิอากาศ 20

กระบวนการสาํ คญั ทีส่ ง่ ผล ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก กระบวนการท่เี ป็ นตวั การท่สี าํ คญั ที่ทาํ ใหพ้ ้นื ผวิ โลกและ เปลอื กโลกเปลย่ี นแปลง ประกอบดว้ ย กระบวนการแปรสณั ฐานกระบวนการปรบั ระดบั ผวิ แผ่นดนิ และกระบวนการจากนอกโลก 21

กระบวนการแปรสณั ฐาน เป็ นกระบวนการการเคลอื่ นที่ของเปลอื กโลกทงั้ ท่ีเป็ นไปอย่างชา้ และอย่างรวดเรว็ เป็ นผลต่อเนอื่ งมาจากแรงที่มากระทาํ ต่อเปลอื ก โลก ทาํ ใหโ้ ครงสรา้ งของหินท่ีประกอบตวั เป็ นเปลอื กโลกแปรสภาพ ไปจากเดมิ ก่อใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศแบบต่าง ๆ รอยคดโคง้ เกิดข้ึนภายในบรเิ วณทเ่ี ปลือกโลกมีความออ่ นตวั ไม่ มนั่ คง มีแรงดนั เกิดข้ึนภายในโลก ทาํ ใหเ้ กิดการบบี อดั กนั ของ เปลอื กโลกโคง้ งอข้ึนทาํ ใหเ้ กิดเป็นภเู ขา 22

กระบวนการสาํ คญั ที่สง่ ผล กระบวนการแปรสณั ฐาน ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก รอยคดโคง้ ทเี่ กดิ ข้นึ มี 2 ลกั ษณะ น้อยทสี่ ุด ไดแ้ ก่ อา ุย ้ัชนหิน มากทสี่ ุด ช้ันหนิ โค้ง ช้ันหนิ โค้ง รูปประทนุ รูปประทนุ หงาย ชนั้ หนิ โคง้ รูปประทนุ มีลกั ษณะโคง้ ตวั เหมอื นรูปประทนุ เรอื ชนั้ หนิ ทอี่ ยใู่ จกลางของชน้ั หนิ โคง้ รูปประทนุ จะมอี ายุแก่ มากทสี่ ุด 23

กระบวนการสาํ คญั ที่สง่ ผล กระบวนการแปรสณั ฐาน ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก ชน้ั หินโคง้ รูปประทุนหงาย มีลกั ษณะโคง้ ตวั เหมือนรูป ประทนุ เรอื หรอื ระฆงั มาวางหงาย ชนั้ หนิ ทอ่ี ยใู่ จกลางของหนิ โคง้ รูปประทนุ จะมีอายุออ่ นทส่ี ุด ภเู ขาทเี่ กิดจากการคดโคง้ ของหนิ เชน่ เทอื กเขารอ็ กกี เทอื กเขาแอนดสี เทอื กเขาแอลป์ เทอื กเขาหมิ าลยั ลกั ษณะภูมปิ ระเทศบรเิ วณเทอื กเขาแอลป์ ชายแดนประเทศเยอรมนี 24

กระบวนการสาํ คญั ท่ีสง่ ผล กระบวนการแปรสณั ฐาน ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก รอยเลอ่ื น มกั เกิดข้ึนบรเิ วณเปลอื กโลกทเี่ ป็นหนิ เกา่ มีความออ่ น ตวั เปราะและแตกงา่ ยสบื เนื่องมาจากเปลอื กโลกบรเิ วณดงั กลา่ วเกิด ความเคน้ และความเครยี ด ทาํ ใหเ้ กิดการเคล่อื นไหวของเปลอื กโลก การเกิดรอยเลอ่ื นโดยทว่ั ไปมี 2 ทศิ ทาง ไดแ้ ก่ รอยเลอ่ื นในแนวดง่ิ คอื ลกั ษณะการเกิดรอยเล่อื นในทศิ ทาง แนวตง้ั มี 2 แบบ ดงั น้ี 25

กระบวนการสาํ คญั ที่ส่งผล กระบวนการแปรสณั ฐาน ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก รอยเลอ่ื นปกติ เป็นรอยเลือ่ นท่ี 26 เกิดข้นึ ในแนวดงิ่ หรอื แนวตงั้ เกิดข้นึ จากแรงดงึ ออกจากกนั ของหนิ 2 ฟาก รอยเลื่อนแบบน้ี จะทาํ ใหเ้ กิดหนา้ ผารอยเล่อื น ทมี่ ี ความสงู ชนั

กระบวนการสาํ คญั ที่สง่ ผล กระบวนการแปรสณั ฐาน ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก รอยเลอ่ื นยอ้ น เป็ นรอยเล่อื นทเ่ี กิดข้ึนในแนวดงิ่ หรอื แนวตงั้ เชน่ เดยี วกบั รอยเลอ่ื นปกติ แตเ่ กิดข้ึนจากแรงดนั เขา้ หากนั ของหนิ 2 ฟากทาํ ใหเ้ กิดหนา้ ผา แตห่ นา้ ผาท่ี เกดิ ข้ึนลกั ษณะน้ีมกั เกิดการถลม่ ไดง้ า่ ย 27

รอยเลื่อนปกติ รอยเล่ือนยอ้ น รอยเลื่อนตามแนวระนาบ ภาพการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกที่ทาํ ใหเ้ กดิ รอยเล่ือน และมีผลทาํ ใหเ้ กดิ ปรากฏการณแ์ ผน่ ดินไหว

กระบวนการสาํ คญั ที่สง่ ผล กระบวนการแปรสณั ฐาน ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก กราเบนิ ลกั ษณะภูมิประเทศทเี่ กดิ จากรอยเล่อื น โดยเฉพาะรอยเลอ่ื นปกตจิ ะทาํ ใหเ้ กิด ลกั ษณะภูมปิ ระเทศทสี่ าํ คญั 2 แบบ คอื หบุ เขาทรุดหรอื กราเบนิ ซงึ่ มีลกั ษณะ เป็ นแอง่ ทรี่ าบทเ่ี กิดจากการทรุดตวั ตามแนวเลอ่ื น ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศแบบ หุบเขาทรุดทปี่ รากฏบนพ้ืนผิวโลก เชน่ แอง่ ทะเลแดง–อา่ วเอเดน

กระบวนการสาํ คญั ที่สง่ ผลใหเ้ กดิ กระบวนการแปรสณั ฐาน ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก สว่ นบรเิ วณพ้ืนทท่ี ยี่ กตวั ข้ึนตามแนวรอยเลอ่ื น ซง่ึ มีลกั ษณะเป็ นภูเขาสงู ท่ี ขนาบดว้ ยหนา้ ผารอยเลื่อน เรยี กวา่ ฮอสต์ หรอื ภูเขาบลอ็ ก เชน่ เทอื กเขา เซยี รร์ าเนบาดาในสเปนภูเขาแบล็กฟอเรสตใ์ นเยอรมนี เทอื กเขาโวชใน ฝรงั่ เศส ฮอสต์ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศทเี่ กดิ จากรอยเลอื่ นปกติ 30

กระบวนการสาํ คญั ท่ีส่งผล กระบวนการแปรสณั ฐาน ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก เทอื กเขาเซยี ร์ราเนบาดาทางตอนใตข้ อง ประเทศสเปน ท่รี าบสงู โคลมั เบยี ในประเทศสหรฐั อเมริกา 31

กระบวนการสาํ คญั ที่สง่ ผล กระบวนการแปรสณั ฐาน ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก การเกิดรอยเลอ่ื นในแนวนอน หรือรอยเลื่อนในแนวระดบั เกิดจากการการเคลื่อนตวั ไปทางดา้ นหนา้ ขนานกบั แนวระดบั ของชนั้ หนิ ท่เี ลือ่ นไป รอยเลื่อน ลกั ษณะน้ีไม่ปรากฏเป็นแนวหนา้ ผา ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศที่เกิดจากรอยเลื่อนแนวระดบั เชน่ รอยเลื่อนแซนแอนเดรียส์ ลกั ษณะการเกิดรอยเลื่อนในแนวระดบั รอยเลือ่ นแซนแอนเดรียส์ พงุ่ ขา้ มทีร่ าบคาร์ริโซ ใน รฐั แคลิฟอรเ์ นีย ประเทศสหรฐั อเมริกา 32

กระบวนการสาํ คญั ที่สง่ ผล กระบวนการแปรสณั ฐาน ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก ภเู ขาไฟปะทุ คอื การเปล่ยี นแปลงของ เปลือกโลกทเี่ กิดจากการทหี่ นิ หนืดทอ่ี ยู่ ภายใตเ้ ปลือกโลก ซงึ่ เรยี กวา่ แมกมา ถกู แรงผลกั ดนั มหาศาลผลกั ดนั ใหแ้ ทรกรอยแตกของชน้ั หนิ ข้ึนสผู่ วิ โลกดา้ นบน ความรุนแรงของการปะทุของภูเขาไฟข้ึนอยูก่ บั แรงดนั ท่ี ปลอ่ ยออกมาและความรอ้ นของหนิ หนืด ถา้ มแี รงดนั และอณุ หภมู สิ งู จะทาํ ใหเ้ กิดการปะทุอยา่ งรุนแรง หนิ หนืดทพ่ี ุ่งออกมาจากการปะทุ ของภเู ขาไฟเรยี กวา่ ลาวา 33

กระบวนการสาํ คญั ที่ส่งผล กระบวนการแปรสณั ฐาน ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก นกั ธรณีวิทยาจดั แบ่งภเู ขาไฟที่มอี ยทู่ วั่ โลกตามลกั ษณะรูปร่างและการเกิดไดเ้ ป็ น 3 แบบ ดงั น้ี ภเู ขาไฟแบบกรวยกรวดภเู ขาไฟ มรี ูปรา่ งลกั ษณะกรวยสงู ทคี่ วาํ่ อยู่ จดั เป็น ภเู ขาไฟทมี่ ีขนาดเล็กทสี่ ุด เกดิ จากการประทุ ของหนิ หนืดภายใตผ้ ิวโลกถกู ดนั ประทมุ าทาง ปลอ่ งอยา่ งรุนแรง แลว้ เยน็ ตวั ลงอยา่ ง รวดเรว็ กลายเป็นกรวดภูเขาไฟ มลี กั ษณะ เป็ นผลึกแข็งเหมือนแกว้ เหมือนถา่ น และ ข้ีเถา้ กองทบั เป็นแนวลาดเป็นชนั้ สูงเรอื่ ย ๆ ภูเขาไฟแบบกรวยกรวดภูเขาไฟ 34

กระบวนการสาํ คญั ที่ส่งผล กระบวนการแปรสณั ฐาน ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก ภูเขาไฟแบบกรวยกรวดภูเขาไฟ ภเู ขาไฟแบบกรวยภเู ขาไฟสลบั ชนั้ มลี กั ษณะคลา้ ยแบบแรก แตม่ รี ากฐานแผข่ ยาย ใหญแ่ ละมีความลาดจากปากปลอ่ งมาทฐี่ าน มากกวา่ แบบแรก ทง้ั น้ีเพราะเมื่อเกดิ การระเบดิ นอกจากหนิ หนืดจะถกู ดนั ประทขุ ้ึนไปในอากาศ ทางปากปลอ่ งโดยตรงแลว้ หนิ หนืดยงั ถูกดนั ออกมาทางดา้ นขา้ งปลอ่ งอกี ดว้ ย แตห่ นิ หนืดที่ ไหลออกมามีความหนืดสงู จงึ ทาํ ใหไ้ หลไปไมไ่ กล นกั เชน่ ภูเขาไฟฟจู ิ

กระบวนการสาํ คญั ที่ส่งผล กระบวนการแปรสณั ฐาน ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก ภูเขาไฟรูปโล่ 36 ภเู ขาไฟรูปโล่ มีรูปรา่ งลกั ษณะ กวา้ งเต้ยี คลา้ ยรูปโลค่ วาํ่ เกิดจากหนิ หนืดทไ่ี หลออกมาจากปลอ่ งมี อณุ หภมู สิ งู มากและมีอตั ราการไหล เรว็ มากจงึ ไหลไปไดร้ ะยะทางไกลจาก ปลอ่ งมาก ทาํ ใหเ้ กิดการทบั ถมของ เถา้ ถ่านขยายแผก่ วา้ งออกไป จงึ เป็น ภูเขาไฟทม่ี รี ูปรา่ งกวา้ งใหญส่ ดุ

ภาพตดั ขวางกระบวนการเกิดภเู ขาไฟ ปลอ่ งภเู ขาไฟ แกส๊ และฝ่ ุนละออง ช้นั ของลาวา ปากปล่องภูเขาไฟ และเถา้ ถ่านจาก การปะทุคร้งั ก่อน รอยแตก ท่ีเกดิ จากปลอ่ งดา้ นขา้ ง การไหลของลาวา แรงดนั ข้ นึ แมกมา





40

41

การปะทแุ บบฮาวาย ภเู ขาไฟคิลาเว (Kilauea) อทุ ยานาแห่งชาติภเู ขาไฟฮาวาย พ.ศ. 2526 (ท่ีมา : USGS) 42

เหตกุ ารณภ์ เู ขาไฟปะทใุ นประเทศต่างๆ ภเู ขาไฟกรากะตวั ปะทุ ทอี่ ินโดนีเซีย ค.ศ. 1883 ภูเขาไฟมาโยนปะทุ ท่ฟี ิ ลิปปิ นส์ ค.ศ. 2013

กระบวนการสาํ คญั ทส่ี ง่ ผล กระบวนการแปรสณั ฐาน ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของโลก แผ่นดนิ ไหว เป็นการสนั่ สะเทอื นของแผน่ ดนิ ทร่ี ูส้ กึ ไดจ้ ากจดุ ใดจดุ หน่ึงบนพ้ืนผวิ โลก สว่ นใหญเ่ กิดจากการคลายตวั อยา่ งรวดเรว็ ของเปลอื กโลกทมี่ กี ารสะสมพลงั งาน ความเคน้ และความเครยี ด ซงึ่ เกิดข้ึนไดจ้ ากหลายสาเหตุ เชน่ เกิดจากการเคลื่อนที่ บรเิ วณรอยตอ่ ของเปลอื กโลก เกดิ จากกระบวนการแปรสณั ฐานบรเิ วณเปลอื กโลก หรอื ภูเขาไฟระเบดิ แผน่ ดนิ ไหวมกั สง่ ผลทาํ ใหเ้ กิดปรากฏการณต์ า่ ง ๆ เชน่ การถลม่ ของแผน่ ดนิ ทมี่ คี วามออ่ นตวั การเกิดรอยแตกแยกบรเิ วณเปลือกโลก 44

แนวแผน่ ดินไหวของโลก ( ภาพจาก สถาบนั สาํ รวจธรณีสหรฐั อเมริกา USGS)

กระบวนการสาํ คญั ที่ส่งผล กระบวนการปรบั ระดบั ผวิ แผ่นดนิ ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก กระบวนการปรบั ระดบั ผิวแผน่ ดนิ เป็ นกระบวนการทเี่ ปลอื กโลกทเ่ี กิดการ เปล่ยี นแปลงอยา่ งชา้ ๆ ทาํ ใหร้ ะดบั พ้ืนผวิ โลกเกดิ การเพิ่มระดบั ข้นึ หรอื ลด ระดบั แผน่ ดนิ ลง อนั เนื่องมาจากตวั การทางธรรมชาตทิ สี่ าํ คญั เชน่ นาํ้ ลม คลื่น ธารนาํ้ แข็ง กระแสนาํ้ เป็ นตน้ กระบวนการท่ที าํ ใหเ้ กิดการปรบั ระดบั ผวิ แผ่นดนิ การผุพงั อยกู่ บั ท่ี เป็นกระบวนการทเี่ กดิ จากกระบวนการทางเคมขี องลมฟ้ า อากาศและฝน รวมทง้ั การกระทาํ ของตน้ ไมแ้ ละแบคทเี รยี การเพ่ิมและการ ลดลงของอุณหภมู กิ ารผุพงั อยกู่ บั ทีเ่ กิดข้นึ ได้ 3 ประเภท คอื 46

กระบวนการสาํ คญั ที่ส่งผล กระบวนการปรบั ระดบั ผวิ แผ่นดนิ ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก การผุพงั ทางกายภาพ เป็ นกระบวนการทเี่ กดิ จากการ เปล่ยี นแปลงของสมบตั ทิ างเคมขี องหนิ เชน่ เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของอณุ หภมู ิ อุณหภมู ใิ นเวลากลางวนั และ กลางคนื ทาํ ใหห้ นิ ขยายตวั และหดตวั เมอื่ เป็นระยะเวลา ยาวนานทาํ ใหห้ นิ เกิดรอยรา้ วและแตกแยกออกจากกนั 47

กระบวนการสาํ คญั ที่สง่ ผล กระบวนการปรบั ระดบั ผวิ แผ่นดนิ ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก การผุพงั ทางเคมี เป็นการเปลีย่ นแปลงโครงสรา้ งแรป่ ระกอบหนิ ท่ี เกิดจากปฏิกิรยิ าเคมที าํ ใหเ้ กิดการเกลีย่ ผิวดนิ การผุพงั ทางเคมีเกิด ไดห้ ลายแบบ เชน่ การละลาย เน่ืองจากแรธ่ าตุหลายอยา่ งสามารถ ละลายนาํ้ ได้ มกั เกิดจากการละลายโดยนาํ้ ฝน หรอื นาํ้ ใตด้ นิ ทม่ี ีกรด คารบ์ อนิก การผพุ งั ทางชวี ะ เป็นการกระทาํ ทเี่ กิดข้นึ จากสงิ่ มีชวี ติ เชน่ บรเิ วณ แยกของหนิ มพี ืชเจรญิ เตบิ โตแลว้ รากของพืชเขา้ ไปซอกซอนทาํ ใหห้ นิ แตกออกมา 48

กระบวนการสาํ คญั ทีส่ ง่ ผล กระบวนการปรบั ระดบั ผวิ แผ่นดนิ ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศของโลก การกร่อน เป็นการสกึ กรอ่ นทเ่ี กดิ จากการ กระทาํ ของตวั การธรรมชาตทิ เ่ี คล่อื นทไ่ี ด้ เชน่ นาํ้ ลม ธารนาํ้ แข็ง คลื่น การพดั พา เกิดจากตวั การธรรมชาติ ไดแ้ ก่ นาํ้ ลม ธารนาํ้ แข็ง คลืน่ พดั พาวตั ถุไปทตี่ า่ ง ๆ การทบั ถม เป็ นการเคล่อื นทข่ี องวตั ถุทเี่ ป็น 49 เศษตะกอนทถี่ กู พดั พาไปตกตะกอนทบั ถม บรเิ วณอน่ื ทาํ ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศใหม่ บรเิ วณนนั้

กระบวนการสาํ คญั ทส่ี ง่ ผล ใหเ้ กดิ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของโลก ลกั ษณะภมู ิประเทศท่ีเกดิ จากการปรบั ระดบั ผวิ แผ่นดิน ลกั ษณะภมู ิประเทศทเี่ กิดจากการกระทาํ ของเเมน่ าํ้ วิลเลยี ม เอม็ . เดวิส นกั ธรณีวิทยาชาวอเมริกาไดอ้ ธิบายการ เปลีย่ นแปลงของลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทีเ่ กิดจากการกระทาํ ของแมน่ า้ํ โดยแสดงการวิวฒั นาการของแมน่ า้ํ ในระยะตา่ ง ๆดงั น้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook