Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบสรุปเนื่อหาติวสังคมม.6ใหม่

แบบสรุปเนื่อหาติวสังคมม.6ใหม่

Published by kingmanee2614, 2021-01-29 09:33:40

Description: แบบสรุปเนื่อหาติวสังคมม.6ใหม่

Search

Read the Text Version

ความรเู บื้องตนเกี่ยวกบั กฎหมายทั่วไป กฎหมาย คือ กฎหรือขอบังคับของ รฐั บาลซึ่งกาํ หนดความประพฤติของ มนุษย ถาฝาฝน จะไดรบั การลงโทษ

ลักษณะของกฎหมาย ประกอบดวย 1.ตองใชไดท่วั ไป กับทกุ คนภายในประเทศ 2.ตองใชไดตลอดไป ตลอดเวลาจนกวาจะ ยกเลิก 3.ตองตราหรือบัญญตั ิโดยผูมีอาํ นาจสงู สุด ของประเทศ(รฏั ฐาธิปตย) 4.ตองควบคุมการกระทาํ ของมนษุ ย

5.ตองมีสภาพบังคับทางกฎหมายในกรณีทีม่ ี คนฝาฝน ซึ่งจะแตตางกนั คือ 1) ทางอาญา สภาพบงั คับ คือโทษ 2) ทางแพง สภาพบังคบั คือ การชดใช คาเสียหาย

ประเภทของกฎหมาย 1.แบงตามองคกรผูมอี ํานาจตรากฎหมาย แบง ได 4 ประเภท คือ 1) กฎหมายทต่ี ราโดยประชาชน ดวยการลง ประชามติ มปี ระเภทเดยี ว คือรฐั ธรรมนูญ 2) กฎหมายทีต่ ราโดยฝา ยนิติบญั ญตั ิ(รฐั สภา) คือพระราชบัญญตั ิ(+ประมวลกฎหมาย)

3.กฎหมายทต่ี ราโดยฝา ยบรหิ าร (รฐั บาล)คือ พระราชกาํ หนด พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง 4.กฎหมายทตี่ ราโดยฝายปกครองทองถิน่ คือ ขอบญั ญัติ กทม. ขอบญั ญัติเมืองพทั ยา ขอ บญั ญัติ อบจ. ขอบญั ญัติ อบต.และเทศบญั ญัติ

2.แบง ตามลกั ษณะความสมั พันธระหวาง คูกรณี แบง ได 3 ประเภท คือ 1) กฎหมายมหาชน: ความสัมพันธรัฐกับ เอกชน เชน รฐั ธรรมนญู กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญากฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา กฎหมายวธิ พี ิจารณาความแพงและพาณิชย

2)กฎหมายเอกชน: ความสัมพนั ธเ อกชนกับ เอกชนเชน กฎหมายครอบครัว กฎหมายมรดก กฎหมายแพงและกฎหมายพาณิชย 3) กฎหมายระหวา งประเทศ: สนธสิ ัญญา ทางการทตู สนธสิ ญั ญาสงผูรายขา มแดน

3.แบงตามเนื้อหาและวิธใี ชก ฎหมาย แบง ได 2 ประเภท คือ 1) กฎหมายสารบัญญตั ิ : กฎหมายอาญาและ กฎหมายแพง และพาณชิ ย 2) กฎหมายวธิ สี บญั ญตั ิ : กฎหมายวิธี พิจารณาความอาญา (ว.ิ อาญา)และกฎหมายวธิ ี พจิ ารณาความแพง และพาณชิ ย (ว.ิ แพง )

หนว ยงานที่จดั ทํากฎหมาย *ฝายนิติบญั ญัติ พระราชบญั ญตั ิประกอบ รัฐธรรมนญู พระราชบัญญตั ิ ประมวล กฎหมาย *ฝายบริหาร พระราชกําหนด พระราช กฤษฎีกา กฎกระทรวง

*องคก รทอ งถิ่น เชนขอบญั ญตั ิ เทศบญั ญัติ *องคก รพิเศษ เชนสภารางรัฐธรรมนญู / กรรมาธิการรฐั ธรรมนูญ *คณะรฐั ประหาร เชนประกาศ/คาํ ส่ัง

กฎหมายเกี่ยวกบั ตนเองและครอบครวั 1.ผูเยาว : บคุ คลทย่ี ังไมบรรลนุ ิติภาวะ โดยการ เปนผูเยาวเ ร่ิมตัง้ แตเกิดมามสี ภาพเปน ทารกจน บรรลนุ ิติภาวะ(อายุครบ 20 ปบริบูรณ) หรือมีการ จดทะเบียนสมรสถูกตองตามกฎหมายแตต อ ง ไดรับความยินยอมจาก “ผูแทนโดยชอบธรรม”

บคุ คลจะบรรลุนติ ิภาวะ (พนจากการเปนผเู ยาว) ดว ย 2 กรณี * เมือ่ อายุครบ 20 ปบริบูรณ * เมือ่ ชายหญงิ อายุ 17 ปบ ริบูรณท าํ การสมรส โดยชอบดว ยกฎหมาย (ไดรบั ความยนิ ยอมจาก ผูปกครอง)

2.คนไรค วามสามารถ (วิตกจริต +ศาลสั่ง) : ผอู นบุ าล เปนผูทาํ นิติกรรมแทนหากทาํ นิติกรรม เองจะตกเปน โมฆยี ะ 3.คนเสมือนไรค วามสามารถ (กายพิการ/จิต ฟน เฟอ น/สรุ ยุ สุรา ยเสเพล/ตดิ ยา+ศาลสง่ั ) ทํานิติ กรรมไดเ องยกเวนนติ ิกรรมบางประเภท ตอ งไดรบั ความยนิ ยอมจาก ผูพ ทิ กั ษ

การหมั้นคอื การท่ฝี า ยชายและฝา ยหญิงสัญญา วาจะสมรสกัน เงือ่ นไข * ชายหญิงมอี ายุ 17 ป บรบิ รู ณ * ผเู ยาวตอ งไดรบั ความยนิ ยอมจากบดิ ามารดา ผรู ับบตุ รบญุ ธรรมหรือผปู กครองแลวแตก รณี *การหมัน้ สมบรู ณเพือ่ สง มอบหรือโอนของหมั้น แกหญิงเพื่อเปนหลกั ฐานวา จะสมรสกบั หญิงนัน้

การสมรส คือ ชายหญิงตกลงใจท่ีจะเปน สามี ภรรยากันโดยจดทะเบียนสมรสกบั เจา หนาท่ี เง่อื นไข * ชายหญงิ มอี ายุ 17 ป บรบิ ูรณ * ผเู ยาวตองไดรับความยินยอมจากบดิ ามารดา ผรู บั บตุ รบุญธรรมหรือผูปกครองแลว แตกรณี * การสมรสจะสมบรู ณเ มือ่ มกี ารจดทะเบยี นตอ เจา หนา ท่ี

*กรณมี ีสนิ สอดตกเปนของผูปกครองของฝายหญงิ การสิ้นสุดการสมรส เกดิ ขึ้นในกรณดี งั ตอไปน้ี 1.การจดทะเบียนหยาหรือฟองหยา 2.ศาลพพิ ากษาใหส มรสเปน โฆษะ 3.การตาย การหยา มี 2 แบบ 1.จดทะเบียนหยา 2.ฟองหยา

การรบั บตุ รบญุ ธรรม เงือ่ นไข * ผรู ับบตุ รบญุ ธรรม ตอ งอายไุ มต ่ํากวา 25 ป บรบิ รู ณและอายุมากวาบุตรบุญธรรมที่จะรับ 15 ป * กรณีบุตรบญุ ธรรมอายไุ มถ ึง 20 ปบ ริบูรณ ตองไดรบั ความยนิ ยอมจากผปู กครอง

* บตุ รบญุ ธรรมท่อี ายุ 15 ปบ รบิ รู ณขน้ึ ไปยอมมี สิทธใิ หค วามยินยอมดว ย * บุตรบุญธรรม มฐี านะเดยี วกับบุตรท่ชี อบดวย กฎหมายและจะไมเสียสทิ ธิในครอบครวั ทใี่ ห กําเนิดมา

มรดก มรดก ทรพั ยส ินทกุ ชนิดของผูตายตลอดท้ังสิทธิ หนา ท่ี และความรับผิดชอบตา งๆทีม่ ีกอนเสียชีวิต ทายาท ทายาทผูมีสทิ ธริ บั มรดกของผตู ายตามกฎหมาย แบงออกเปนสองประเภท คือ “ผูรบั พนิ ัย กรรม” และ “ทายาทโดยธรรม”

ทายาทโดยธรรมมี 6 ลาํ ดบั การแบง ทรพั ย มรดกระหวา งทายาทโดยธรรมนัน้ ตอ งแบง ตาม ลาํ ดับชนั้ ดังตอ ไปน้ี 1. ผูส ืบสนั ดาน คือ บุตรโดยชอบดว ยกฎหมาย, บตุ รนอกกฎหมายทบี่ ิดารับรองแลว และบุตรบญุ ธรรม 2. บดิ ามารดา ในกรณีของบิดา เฉพาะบดิ าทีช่ อบ ดวยกฎหมายเทา นน้ั ทมี่ ีสิทธริ ับมรดก

3. พี่นอ งรว มบดิ ามารดาเดยี วกนั 4. พนี่ องรว มแตบ ิดาหรอื มารดาเดียวกนั หรือทเ่ี รามกั เรียกกันวา “พนี่ อ งตา งพอหรือตาง แม” น่นั แหละ 5. ปู ยา ตา ยาย 6. ลงุ ปา นา อา

สญั ญาประเภทตา งๆ *สญั ญาซื้อขาย เปน สญั ญาที่ตกลงโอน กรรมสิทธิท์ ันทีเมื่อตกลงซื้อขายกัน แมน วา จะไม ไดจ ายเงินกต็ ามถา ทาํ สัญญาซือ้ ขายอสังหาริม ทรพั ยห รือสังหารมิ ทรพั ยต องทาํ เปน หนังสือและ จดทะเบียนตอเจา หนาทเ่ี ทา นน้ั

*สัญญาเชา ทรัพย เชา ทรพั ยส ินชวั่ คราวเชน เชาหอพัก เชา บาน กรรมสิทธิใ์ นตัวของยงั เปน ของ ผเู ชา เสมอ ถาจะเชา อสงั หารมิ ทรัพยตาม กฎหมายหามเชน 30 ป * สญั ญาเชา ซื้อ เปนลูกครึง่ ระหวา งสญั ญาเชา ทรพั ย+ สัญญาซื้อขายคือจา ยเปน คา เชา แตถาตก ลงกนั วาจายครบตามจํานวนเราก็จะกลายเปน เจา ของทรัพยนน้ั เชนสัญญาเชา ซื้อรถยนต

*สัญญาขายฝาก เปนสญั ญาซื้อขายแบบ หนึง่ แตพิเศษที่วาผูขายอาจไถคืนทรพั ยสิน น้ันไดแตตองมีระยะเวลาไวดวยคือ ถาเปน อสงั หาริมทรพั ยมีกําหนดไถคืนไมเกิน 10 ป และสงั หาริมทรพั ยหามเกิน 3 ป

*สญั ญากูยืมเงิน การกูยืมเงนิ ต้ังแต 2,000บาท ตอ งทําสญั ญากันและเกบ็ ดอกเบี้ยไดไ มเ กิดรอ ย ละ 15 ตอ ปถ าเรียกดอกเบย้ี มากวาน้ันถือวา สว น ดอกเบย้ี ตกเปน โมฆะ *สญั ญาจาํ นาํ เปนการนําสังหารมิ ทรัพย ตั้งแต สรอ ยคอทองคํา เตารีดอืน่ ไปประกันชําระหน้ี

*สญั ญาจํานอง เปนการนํา อสงั หารมิ ทรัพย และ สังหาริมทรัพยป ระเภทพเิ ศษ ไปประกันชําระหนี้ และมกี ารจดทะเบยี นตอเจา หนา ที

กฎหมายอาญา เปนกฎหมายทีบ่ ัญญตั ิเกยี่ วกับ ความสมั พันธระหวา งรัฐกบั ประชาชนโดยมีการ กําหนดลักษณะความผดิ และบทลงโทษไวอยา ง ชัดเจนเพื่อรกั ษาความสงบเรยี บรอยภายในสงั คม ลักษณะสําคญั ของกฎหมายอาญา *เปน กฎหมายมหาชนทว่ี า ดว ย “ลกั ษณะ ความผิด”และ “ลกั ษณะโทษ” *บัญญัติไวเปน ลายลกั ษณอกั ษรโดยชดั เจน แนน อน

* ตองตีความเครงครดั ตามตัวอกั ษร และ ตองสนั นิษฐานไวกอนวาตองหาไมมีความผิด * ไมมีผลยอนหลัง(ยอนหลงั ใหผลรายมิได เชนเพิม่ โทษไมได แตยอนหลังเปนผลดีกับ ผูกระทําความผิดได)

หลกั เกณฑการพจิ ารณาการรบั โทษทางอาญา *ตองมกี ารกระทํา(เพียงแตค ิด ตัดสินใจ ตระเตรียมการ ยงั ไมเ ปน ความผิด ยกเวน ความผดิ ฐานทกี่ ารตระเตรยี มการถือเปน ความผิดแลว เชน วางเพลงิ กบฏ) *การกระทาํ มีกฎหมายบัญญัติวาเปนความผดิ และกําหนดโทษไว *การกระทาํ ไมมเี หตุทก่ี ฎหมายยกเวน ความผดิ หรือยกเวน โทษให

ความผิดทางอาญา 1.ความผิดอาญาแผนดนิ : เชน ฆาคนตาย ชิง ทรพั ย กบฏ ยอมความไมไ ด 2.ความผิดที่ยอมความกันได : หม่ินประมาท ฉอ โกง (ท่ีไมฉ อโกงประชาชน) 3.ความผดิ ลหโุ ทษ : เปน ความผดิ ทางอาญาทมี่ ี โทษเบา จําคุกไมเ กิน 1 เดือนหรือปรบั ไมเ กนิ 10,000 บาทหรือทง้ั จําทัง้ ปรบั เชน เปลือยกาย ทํา ลามก สง เสียงดัง ยิงปนในชุมชน

ความผิดที่สําคัญเกี่ยวกับทรัพย *ลักทรัพย เอาสงั หาริมทรัพยข องผูอืน่ ไปโดย ทจุ รติ *วง่ิ ราวทรัพย ลกั ทรัพย โดยฉกฉวยซง่ึ หนา *ชิงทรัพย ลักทรัพยโ ดยใชหรือขวู าจะใชก าํ ลงั ประทุษรา ย *กรรโชกทรัพย ขม ข(ู ทํารา ยจติ ใจ)เพือ่ ใหไ ด ทรพั ย

*รีดเอาทรพั ย ขมขู (เอาความลบั มาเปด เผย) เพื่อใหไดทรพั ย *ปลนทรัพย รวมกนั ชิงทรพั ยต้ังแต 3 คนขึ้นไป *ยกั ยอกทรพั ย เบียดบงั เอาทรพั ยผูอืน่ ที่ตนครอบครองมาเปน ของตน

*รับของโจร รับซ้ือ รบั จํานาํ หรือชวย จาํ หนาย โดยผูกระทําผิดรูวาเปน ทรัพยที่ ไดมาโดยกระทาํ ความผิดทาํ ใหเสียทรพั ย การกระทาํ ใหทรพั ยของผูอื่นไดรับความ เสียหาย

โทษทางอาญา มี 5 สถาน 1.ประหารชวี ิต การเอาฉีดยาหรือสารพิษใหตาย 2.จําคกุ การเอาตวั ไปขงั ไวท ่ีเรือนจํา 3.กักขงั การเอาตวั ไปกกั ขงั ไวใ นสถานที่กกั ขงั ซ่งึ กาํ หนดไวอ ันมใิ ชเรือนจาํ 4.ปรบั การทีจ่ ะตอ งชําระเงนิ ใหแ กร ฐั ตาม จํานวนทีก่ ําหนดไวในคําพพิ ากษาตอ ศาล 5.ริบทรัพย การริบทรพั ยข องผูก ระทําผดิ มาเปน ของรฐั

สรุป สาระเศรษฐศาสตร

เศรษฐศาสตร( Economics) เปนวิชาทาง สังคมศาสตรซึ่งศกึ ษาเก่ยี วกบั การจดั สรร ทรัพยากรทีม่ ีอยูอ ยา งจาํ กัดมาใชใ นการผลิตเพือ่ ใหเพยี งพอ และตอบสนองความตอ งการของ มนษุ ยท ี่มีอยูอ ยางไมจํากัด ท้งั นเี้ มือ่ ความตอ ง การทรพั ยากรไมเ พียงพอกบั ความตองการจึง นํามาซึง่ “ปญ หาความขาดแคลน”

เศรษฐศาสตร แบง ออกเปน 2 สาขา 1.เศรษฐศาสตรจุลภาค หรือเศรษฐศาสตรภาค ทฤษฎกี ลไกลราคา(Micro economics) เนน ศกึ ษา กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ในหนวยเลก็ หรือหนว ยยอย 2.เศรษฐศาสตรม หภาคหรือเศรษฐศาสตร ภาคทฤษฎีรายไดป ระชาชาติ(Macro economics) เนนศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจในหนวยใหญ ระดับประเทศหรือระดบั โลก

ระบบเศรษฐกิจ ที่สาํ คญั ของโลก คือ 1.ระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม ลักษณะเดน *เอกชนเปน ผูดาํ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกจิ *เอกชนเปน เจา ของปจ จยั การผลิต *มีการแขง ขนั ทางดา นคณุ ภาพประสิทธิภาพ ราคาและการบริการโดยมีกาํ ไรเปนแรงจงู ใจ *ราคาสนิ คา ถูกกาํ หนดโดยกลไกแหง ราคา

ขอดี *เอกชนมีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ *สินคาและบริการมีมากคุณภาพดีราคา ถกู *รัฐบาลไมตองจดั สรรงบประมาณมาทํา ธรุ กิจ

ขอ เสีย *การกระจายรายไดไมดีเพราะรายได สวนใหญตกแกนายทุน *ประชาชนอาจมีปญ หาจากราคาสินคา และสินคาขาดแคลนเนื่องจากนายทุนรวมตวั กนั *การใชทรพั ยากรฟุมเฟอ ย

2.ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ มประชาธปิ ไตย ลกั ษณะเดน *รฐั บาลเปน เจา ของปจจัยการผลติ ทส่ี าํ คญั *รัฐบาลทํากจิ กรรมทางเศรษฐกิจท่ีมขี นาดใหญ รายไดส งู เก่ียวกับประชาชนมากๆ *เอกชนมสี ิทธิทําธุรกจิ ตางๆทรี่ ฐั บาลไมท ํา (ธรุ กจิ ขนาดเล็ก) *รัฐบาลจัดสวัสดิการใหแกประชาชน

ขอดี *การกระจายรายไดดีเพราะรายไดสวน ใหญเปน ของรฐั บาลประชาชนจะมีรายไดไม แตกตางกนั มาก *ประชาชนไดรับการคุมครองผลประโยชน จากรรัฐบาลในรูปของสวสั ดิการและสินคา บริการที่รฐั บาลทาํ

ขอ เสีย *เอกชนถูกจาํ กดั สิทธิเสรีภาพบางสวน *รัฐบาลตองจดั สรรงบประมาณมาทําธรุ กิจ และมกั จะขาดทนุ กิจกรรมตางๆมีคุณภาพตํา่

3.ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนยิ มคอมมิวนิสต ลกั ษณะเดน *รัฐบาลเปน เจาของปจ จยั การผลติ อยางส้นิ เชงิ *รฐั บาลเปน ผทู าํ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจท้งั สิน้ *เอกชนไมม สี ิทธทิ ํากจิ กรรมเศรษฐกิจใดๆ ขอดี *เอกชนไมต องรับผดิ ชอบทางดานเศรษฐกจิ *ทรัพยากรถูกควบคุมการใชจากรัฐบาลทาํ ใหไ ม ถูกทาํ ลาย

ขอ เสีย *ประชาชนไมม ีสิทธิเสรีภาพทางเศรษฐกิจ (รฐั บาลทาํ ทง้ั หมด) *สินคาและบรกิ ารมีนอ ยและดอยคุณภาพ เพราะไมม ีการแขง ขัน *ผลผลติ ต่ําเพราะประชาชนไมม ีแรงจูงใจ

4.ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ลักษณะเดน *เปน การผสมของระบบทนุ นยิ มกบั สังคม *กจิ กรรมทางเศรษฐกิจสวนใหญเปนของเอกชน เหมือนทนุ นยิ ม *รฐั บาลเขา มาทาํ ธุรกจิ เพื่อคมุ ครองผลประโยชน ใหแกประชาชน *ปญ หาทางเศรษฐกจิ ไดรับการแกไขจากรฐั บาล *รฐั บาลจัดสวสั ดกิ ารใหแ กป ระชาชน

ขอดี *ประชาชนมเี สรภี าพทางเศรษฐกิจ *สนิ คา และบรกิ ารมมี ากคณุ ภาพดีและราคาถกู *ประชาชนไดร บั การคุมครองผลประโยชนจ าก รฐั บาลในรูปสวสั ดิการ ธรุ กิจทีจ่ าํ เปนแกก ารครอง ชีพ *เอกชนมีกําลังใจในการทาํ ธุรกจิ เพราะมกี ําไร เปน แรงจูงใจ

ขอ เสีย *รฐั บาลจัดสรรงบประมาณมาทําธรุ กิจ มกั จะขาดทุน

กจิ กรรมทางเศรษฐกิจมี 4 ประเภท 1.การผลิตคือ การนําปจ จยั การผลิตมาผา น กระบวนการผลติ จนไดเ ปน ตัวสนิ คา และบริการ ปจจัยการผลติ ลกั ษณะสําคญั ผลตอบแทน 1.ทดี่ นิ ทรัพยากรธรรมชาตทิ ง้ั หมด คา เชา 2.ทุน สง่ิ ทีน่ ํามาใชในการผลิตสนิ คา ดอกเบย้ี และบรกิ าร(เงินไมใชท นุ ที่ แทจริง)

ปจ จยั การผลิต ลกั ษณะสาํ คญั ผลตอบแทน 3.แรงงาน แรงงานจากมนษุ ยเ ทา นน้ั คาจาง (ไมใ ชแรงงานจากสตั วหรือ เครื่องจกั ร) กําไร 4.ผูประกอบ ผูทน่ี าํ เอาปจ จัยการผลติ มา การ ผลิตเปน สนิ คา และบริการ ตางๆ 2.การบริโภค คือ การกินหรือใชสินคา -บริการทไ่ี ด จากการผลติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook