249 คำอธบิ าย รายวิชาเพ่มิ เติม ความเปน็ เลิศดา้ นงานประดษิ ฐ์ 5 รหัสวิชา ง20265 กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ จำนวน 1 หนว่ ยกติ ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ศึกษาอธิบายความหมาย ความสำคัญ และคุณค่าของงานประดิษฐ์ หลักการเลือกใช้และวิธีการดูแล รักษาอุปกรณ์เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ในงานประดิษฐ์ การใช้ทักษะในการทำงานร่วมกันอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เก่ียวกับงานประดิษฐ์ การวางแผนจัดการผลงานการประดิษฐ์ รู้จักการนำผลงานประดิษฐ์มาใช้ประโยชน์ มี ทักษะในการดัดแปลงแบบและจำหน่ายผลงานประดิษฐ์ตลอดจนนำหลักการเบ้ืองต้นเกี่ยวกับงานประดิษฐ์ไป ใช้ในการสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ประเภทของใช้ ของประดับตกแต่ง และของเล่น ซึ่งเป็นพื้นฐานของงาน ประดษิ ฐไ์ ด้ โดยใช้ทักษะกระบวนการทำงานร่วมกัน ทักษะการจัดการในการทำงาน ทักษะการแก้ไขปัญหาใน การทำงาน ทกั ษะในการแสวงหาความรเู้ พ่ือการดำรงชวี ติ ทกั ษะการคิดอยา่ งสรา้ งสรรค์ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในวิธีการทำงาน และสร้างสรรค์ผลงาน สามารถนำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีประสบการณ์ในอาชีพที่ถนัดและสนใจ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ ต่อสังคม มีลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงานและมีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ใช้ทรัพยากรในการทำงานอย่าง ค้มุ ค่าเพื่อการอนรุ ักษส์ ิง่ แวดล้อม ผลการเรียนรู้ 1. บอกความหมาย ความสำคญั และคุณคา่ ของงานประดษิ ฐ์ได้ 2. จำแนกประเภทของงานประดิษฐพ์ อสงั เขปได้ 3. อธิบายหลกั การการออกแบบ และดัดแปลงแบบงานประดษิ ฐ์ได้ 4. เลือกใช้อปุ กรณ์ เครือ่ งมอื เครอ่ื งใชใ้ นงานประดิษฐไ์ ด้ถูกต้อง 5. อธิบายความสำคัญและประโยชน์ของอุปกรณเ์ คร่ืองมือเครอื่ งใช้ในงานประดิษฐไ์ ด้ 6. ดแู ลรักษาอุปกรณ์เครื่องมอื เครอ่ื งใชใ้ นงานประดิษฐไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง 7. อธิบายหลักการจดั การกบั ผลงานประดิษฐ์และหลักการจัดจำหน่ายผลงานประดษิ ฐ์ 8. นำหลักการเบ้ืองต้นไปใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานประดิษฐ์ประเภทของใช้ ของประดับตกแต่ง และของเลน่ ไดถ้ ูกวธิ กี าร 9. มีเจตคติที่ดีต่อการประดิษฐ์ของใช้ ของประดับตกแต่ง และของเล่นเพ่ือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน หรือเพื่อการจำหนา่ ย รวม 9 ผลการเรียนรู้
250 คำอธบิ าย รายวิชาเพิ่มเติม ความเป็นเลศิ ดา้ นงานประดษิ ฐ์ 6 รหัสวิชา ง20266 กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี จำนวน 1 หนว่ ยกติ ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ช่ัวโมง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ศึกษาอธิบายความหมาย ความสำคัญ และคุณค่าของงานประดิษฐ์ หลักการเลือกใช้และวิธีการดูแล รักษาอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในงานประดิษฐ์ การใช้ทักษะในการทำงานร่วมกันอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เกี่ยวกับงานประดิษฐ์ การวางแผนจัดการผลงานการประดิษฐ์ รู้จักการนำผลงานประดิษฐ์มาใช้ประโยชน์ มี ทักษะในการดัดแปลงแบบและจำหน่ายผลงานประดิษฐ์ตลอดจนนำหลักการเบ้ืองต้นเก่ียวกับงานประดิษฐ์ไป ใช้ในการสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ประเภทของใช้ ของประดับตกแต่ง และของเล่น ซ่ึงเป็นพื้นฐานของงาน ประดษิ ฐ์ได้ โดยใช้ทักษะกระบวนการทำงานร่วมกัน ทักษะการจัดการในการทำงาน ทักษะการแก้ไขปัญหาใน การทำงาน ทักษะในการแสวงหาความรเู้ พ่ือการดำรงชีวติ ทักษะการคดิ อยา่ งสร้างสรรค์ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในวิธีการทำงาน และสร้างสรรค์ผลงาน สามารถนำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีประสบการณ์ในอาชีพที่ถนัดและสนใจ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ ต่อสังคม มีลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงานและมีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ใช้ทรัพยากรในการทำงานอย่าง คุ้มคา่ เพื่อการอนุรกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม ผลการเรียนรู้ 1. บอกความหมาย ความสำคญั และคุณค่าของงานประดิษฐ์ได้ 2. จำแนกประเภทของงานประดิษฐพ์ อสังเขปได้ 3. อธบิ ายหลกั การการออกแบบ และดัดแปลงแบบงานประดิษฐ์ได้ 4. เลือกใชอ้ ปุ กรณ์ เครือ่ งมือเครอ่ื งใช้ในงานประดิษฐไ์ ด้ถูกตอ้ ง 5. อธบิ ายความสำคัญและประโยชน์ของอุปกรณเ์ คร่อื งมอื เครอื่ งใชใ้ นงานประดษิ ฐ์ได้ 6. ดูแลรักษาอุปกรณ์เครื่องมือเครือ่ งใชใ้ นงานประดษิ ฐไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง 7. อธิบายหลักการจดั การกับผลงานประดิษฐ์และหลักการจดั จำหนา่ ยผลงานประดิษฐ์ 8. นำหลักการเบื้องต้นไปใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานประดิษฐ์ประเภทของใช้ ของประดับตกแต่ง และของเลน่ ไดถ้ กู วธิ กี าร 9. มีเจตคติที่ดีต่อการประดิษฐ์ของใช้ ของประดับตกแต่ง และของเล่นเพ่ือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน หรอื เพื่อการจำหน่าย รวม 9 ผลการเรียนรู้
251 คำอธบิ ายรายวิชา วชิ าความเป็นเลิศด้านอาหารไทย ๑ รหัส ง20267 เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑ หนว่ ยกติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ศึกษาเกี่ยวกบั ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมาของอาหารไทย ขนมไทย ในแต่ละภาคตง้ั แต่ อดตี จนถึงปัจจุบัน ประเภทของเคร่อื งใช้ในครัว ชนิดและประเภทของอาหารไทย ความปลอดภัยในการใช้ อปุ กรณ์และเคร่ืองใช้ในครัว การจดั อาหารสำหรบั ครอบครวั รวมทง้ั คำศัพทภ์ าษาตา่ งประเทศทเี่ กยี่ วข้อง เรยี นรู้การจัดเตรยี มและเลือกวตั ถุดบิ เพือ่ การประกอบอาหารแต่ละประเภท วเิ คราะห์และเลือกใชภ้ าชนะ เครอ่ื งใช้ วสั ดุอุปกรณ์ในการประกอบอาหารไทย การเก็บรักษาภาชนะ เคร่อื งใช้ และวัสดอุ ุปกรณไ์ ดอ้ ย่าง เหมาะสมและปลอดภัย เพื่อใหเ้ กดิ สขุ ลักษณะในการประกอบอาหาร รวมทัง้ แนวทางการวางแผนจัดการ อาหารทม่ี ีประโยชน์ โดยใชก้ ระบวนการฝึกปฏบิ ัติการเลอื กและใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์และเครอ่ื งใช้แตล่ ะประเภทในการประกอบ อาหารได้ถกู ต้องเหมาะสม ปลอดภยั ปฏบิ ัตกิ ารเตรยี มและประกอบอาหารไทยแตล่ ะประเภทให้นา่ รบั ประทาน มีรสชาตอิ รอ่ ย ใช้ทักษะแสวงหาความรู้ แก้ไขปัญหาทีเ่ กดิ ข้ึนในกระบวนการประกอบอาหารไทย ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับอาหารไทยและประเภทของเครอื่ งใชใ้ นการประกอบ อาหารได้อย่างถูกตอ้ งและปลอดภยั มคี วามรู้เก่ยี วกบั ศพั ทภ์ าษาตา่ งประเทศทส่ี ำคัญ สามารถวิเคราะห์ วาง แผนการจัดอาหาร แสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั การเตรียมและการประกอบอาหารแตล่ ะประเภท การดแู ล เครื่องใชไ้ ดอ้ ย่างถูกสุขลกั ษณะ เลือกวัตถดุ บิ ในการประกอบอาหารไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง สามารถปฏิบัติจนเกิด ทักษะในการเตรียมและประกอบอาหาร ภมู ิใจในอาหารประจำชาติ ใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี น มีความสามคั คี ผ่าน กระบวนการเรยี นรู้แบบรว่ มมือ มคี ณุ ธรรม ทำงานดว้ ยความรับผดิ ชอบ ขยนั ซอ่ื สตั ย์ ม่งุ มน่ั อดทน ใช้ พลงั งานและทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มอย่างคมุ้ ค่าและถกู วิธี ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมาย ความสำคญั และวธิ ีการใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ และเครื่องใช้แตล่ ะประเภทได้อยา่ ง ถกู ตอ้ งปลอดภัย 2. อธิบายสขุ ลักษณะในการประกอบอาหารแบะวธิ ีการเก็บรกั ษาอุปกรณ์และเครื่องใชต้ า่ ง ๆ อย่าง ถกู ต้อง 3. อธิบายลกั ษณะสำคัญของอาหารไทยแตล่ ะชนิดและแต่ละประเภท พรอ้ มท้งั ข้ันตอนในการเตรยี ม และประกอบอาหารไทยแตล่ ะประเภทได้อย่างถูกตอ้ ง ด้วยความภมู ใิ จในเอกลกั ษณอ์ าหารประจำชาติ 4.มักทักษะในการเลอื กใช้วัสดุ อปุ กรณ์ ใหก้ ารประกอบอาหารไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสมและปลอดภัย รวมทงั้ เตรียมและดูแลรกั ษาสถานที่ วัสดุ อปุ กรณเ์ พอ่ื การประกอบอาหารไดอ้ ยา่ งถูกสุขลกั ษณะ 5. มที กั ษะในการเตรยี มและประกอบอาหารแตล่ ะชนดิ แต่ละประเภทไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ นา่ รับประทาน มีรสชาติอร่อย
252 6. มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ วางแผนเลือกและปฏิบัตกิ ารประกอบอาหารไทยทม่ี ี ประโยชนแ์ ละสรา้ งความพึงพอใจใหแ้ กส่ มาชิกในครอบครวั อย่างเหมาะสม 7. มีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ และจติ สำนกึ แห่งความรับผดิ ชอบต่อผู้บริโภค เหน็ คณุ ค่า มีความ ภูมใิ จในอาหารประจำชาติ รวม 7 ผลการเรียนรู้
253 คำอธิบายรายวชิ า วชิ าความเปน็ เลศิ ดา้ นอาหารไทย 2 รหสั ง20268 เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑ หนว่ ยกิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ศึกษาเกีย่ วกับหลักและเทคนิคการประกอบอาหารไทยแต่ละประเภท และจากวัตถุดิบทีแ่ ตกตา่ ง เช่น เนือ้ สัตว์ สตั วน์ ำ้ ไข่ ผกั เปน็ ต้น ศกึ ษาเทคนิคการสงวนคุณคา่ อาหารและสีสนั ของอาหาร การจดั โต๊ะอาหาร ศึกษาศัพท์ภาษาต่างประเทศที่เกย่ี วขอ้ ง วิเคราะห์ปฏกิ ริ ยิ าทางเคมีทม่ี ผี ลตอ่ การประกอบอาหาร มี วจิ ารณญาณในการวิเคราะห์ สรุปสาเหตุ และแก้ไขสถานการณ์ต่าง ๆ ทเี่ กิดขึ้นในกระบวนการเตรยี มและ การประกอบอาหารไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง โดยใช้กระบวนการฝึกปฏิบตั ิการเลือกวัตถดุ ิบ ไดถ้ ูกต้องเหมาะสม มที กั ษะในการเตรยี มและประกอบ อาหารไทยแต่ละประเภทจากวตั ถดุ ิบท่แี ตกตา่ งกันได้ เพอ่ื คงคุณคา่ ทางโภชนาการ และใหอ้ าหารมีสสี นั น่า รับประทาน มีรสชาติอรอ่ ย ใชท้ ักษะกระบวนการกลุ่มเพ่อื วิเคราะห์ แก้ไขปญั หาทเ่ี กิดขึน้ ในกระบวนการ ประกอบอาหารไทยได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับเทคนิคการประกอบอาหารจากวตั ถดุ บิ ท่ีแตกต่างกนั เทคนคิ การสงวนคณุ ค่าและสีสันของอาหารให้สวยงามและน่ารบั ประทาน มีความรเู้ กี่ยวกบั ศพั ท์ภาษา ต่างประเทศท่ีสำคัญ สามารถวเิ คราะห์ วางแผนการจดั อาหาร แสดงความคิดเห็น เปรียบเทยี บผลที่เกดิ ขึ้น เกย่ี วกบั การประกอบอาหารด้วยวตั ถุดบิ ท่ีแตกตา่ งกนั ประยกุ ต์ใชค้ วามรแู้ ละฝึกปฏบิ ัตจิ นเกดิ ทกั ษะในการ ประกอบอาหาร เหน็ คณุ คา่ มีเจตคติที่ดดี ้วยจิตสำนกึ รักศิลปวัฒนธรรมท้องถนิ่ และวัฒนธรรมไทย มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น มคี ณุ ธรรม ทำงานดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ ขยัน ซือ่ สัตย์ มงุ่ ม่ัน อดทน คดิ วเิ คราะหส์ าเหตุของปญั หา และออกแบบแนวทางในการแกป้ ญั หาทเ่ี กิดขึน้ ในการเตรียมและประกอบอาหาร ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายเก่ยี วกับเทคนิคการเลือกซอื้ วตั ถุดบิ ประเภทตา่ ง ๆ ได้อย่างถกู ต้อง 2. อธบิ ายเทคนิคการเตรียมและการประกอบอาหารจากวตั ถดุ ิบท่แี ตกตา่ งกนั รวมท้ังวิเคราะหห์ า สาเหตขุ องปญั หาในกระบวนการประกอบอาหาร และนำเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขนึ้ ได้อยา่ ง สรา้ งสรรค์ 3. มที กั ษะในการประยุกตใ์ ช้เทคนิคการเลอื กซอื้ วตั ถดุ ิบประเภทต่าง ๆ ได้อย่างมืออาชพี 4. มีทักษะในการประยกุ ต์ใชเ้ ทคนิคการเตรยี ม และการประกอบอาหารไทยทีม่ วี ตั ถดุ บิ แตกต่างกัน เพอ่ื ให้ได้อาหารท่สี วยงามนา่ รับประทาน และมรี สชาตทิ ่อี ร่อย 5. มีคุณลักษณะอนั พึงประสงคแ์ ละมเี จตคตทิ ่ดี ตี อ่ การประกอบอาหารไทย ด้วยจิตสำนึกและ ภาคภูมใิ จในประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ และวฒั นธรรมไทย รวม 5 ผลการเรียนรู้
254 คำอธิบายรายวิชา วิชาความเปน็ เลศิ ดา้ นอาหารไทย 3 รหสั ง20269 เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑ หนว่ ยกติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ศึกษาเกีย่ วกบั ความเปน็ มาของขนมไทย ความรู้เบือ้ งตน้ ในการประกอบขนมไทย เช่น การชงั่ ตวง ประเภทของวัตถุดิบ การเลอื กวัตถดุ บิ และอุปกรณท์ ่ใี ช้ในการเตรยี มและประกอบขนมไทยแต่ละประเภท เปน็ ตน้ เรยี นรเู้ ทคนิคในการประกอบขนมไทยจากวัตถดุ บิ ทแ่ี ตกตา่ งกนั และศึกษาขนมไทยในงานพธิ ีต่าง ๆ โดยใชก้ ระบวนการฝึกปฏิบัติการเลือกและใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์และเครอื่ งใช้ในการประกอบขนมไทยได้ อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม เลอื กใชว้ ัตถดุ บิ เคร่อื งปรงุ รส สี และกลน่ิ เพื่อการประกอบขนมไทยแตล่ ะ ประเภท เพื่อให้ขนมไทยมีสสี ันนา่ รับประทาน และมีรสชาติอร่อย ประยกุ ต์ใช้เทคนิคในการประกอบขนม ไทยเพือ่ พธิ มี งคลของไทยได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เพื่อแสดงเอกลกั ษณข์ องขนมไทย มีทักษะแบะกระบวนการ กลุ่มในการแสวงหาความรู้ วางแผน และดำเนนิ การทำขนมไทยได้อยา่ งสร้างสรรค์ ตลอดจนแกป้ ญั หาที่ เกดิ ข้ึนในการทำงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับขนมไทย คดิ วเิ คราะห์ และตดั สนิ ใจเลอื กใช้วัตถดุ บิ และ อปุ กรณใ์ นการประกอบขนมไทยแต่ละประเภท สามารถวางแผนและปฏบิ ตั ิการทำขนมไทยจนเกดิ ทกั ษะและ ความเชย่ี วชาญ เหน็ คณุ ค่า และความสำคญั ของประเพณี วฒั นธรรมของไทยที่ตอ่ ขนมไทย มเี จตคตทิ ด่ี ี มี ความภาคภูมใิ จในภูมปิ ญั ญาไทยในการประกอบขนมไทย มีความในใจใฝ่รใู้ ฝเ่ รยี น มคี วามสามคั คจี ากการ เรียนร้แู บบร่วมมอื มีคณุ ธรรม ทำงานด้วยความรบั ผดิ ชอบ ขยัน ซือ่ สัตย์ ม่งุ มน่ั อดทน นำความรไู้ ปใช้ให้ เกดิ ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ผลการเรียนรู้ 1. ผูเ้ รียนอธิบายความเป็นมา หลักการและกระบวนการเลอื กและใช้วัตถดุ ิบขนมไทยแตล่ ะประเภท และอุปกรณต์ า่ ง ๆ ในการทำขนมไทยได้อย่างถกู ตอ้ ง 2. ผู้เรยี นมีทักษะการเลอื กและใชว้ ัตถุดิบสำคัญในการประกอบขนมไทยแตล่ ะประเภท และการใช้ อปุ กรณต์ ่าง ๆ ในการทำขนมไทยได้อย่างชำนาญ 3. ผู้เรียนมีทักษะประยุกต์ใชค้ วามรเู้ ก่ียวกับเทคนิคการทำขนมไทยทีมวี ตั ถุดบิ ทต่ี า่ งกนั ด้วยกรรมวิธี ทีห่ ลากหลาย เพอื่ ให้มีความโดดเดน่ ในรสชาตแิ ละลักษณะสำคัญของขนมไทยแตล่ ะประเภท 4. ผู้เรียนสามารถปฏิบัตกิ ารประกอบขนมไทยแตล่ ะประเภท และขนมไทยในพิธีมงคลต่าง ๆ ได้ 5. ผูเ้ รยี นอธิบายความสัมพนั ธร์ ะหว่างประเพณแี ละวฒั นธรรมไทยกับขนมไทย ด้วยจิตสำนึกและ ความภาคภมู ิใจในประเพณแี ละศลิ ปวฒั นธรรมไทย 6. ผู้เรยี นมที กั ษะประยุกต์ใชค้ วามรเู้ กย่ี วกบั ขนมไทยเพ่ือวางแผนและออกแบบขนมไทยไดอ้ ยา่ ง สรา้ งสรรค์ผา่ นกระบวนการกล่มุ 7. ผเู้ รียนมีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และมีเจตคตทิ ่ดี ีต่อการประกอบขนมไทย ดว้ ยจติ สำนึกรกั และภมู ใิ จในประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมท้องถิ่นและวัฒนธรรมไทย รวม 7 ผลการเรียนรู้
255 คำอธบิ ายรายวชิ า วิชาความเปน็ เลศิ ด้านอาหารไทย 4 รหสั ง20270 เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑ หนว่ ยกิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ศึกษาเกี่ยวกบั ประวตั ิ ความเป็นมา และปจั จัยทางวฒั นธรรมที่ส่งผลต่อเอกลักษณข์ องอาหารไทยใน แตล่ ะภาค อาหารไทยในวรรณคดี และประวัติศาสตรค์ รัวไทยตง้ั แต่สมัยสุโขทยั จนถึงสมยั รตั นโกสินทร์ หลักการเตรยี มและการประกอบอาหารไทยท่ีมีความโดดเดน่ ในแต่ละภาค สว่ นประกอบของอาหาร และการ ปรงุ รสชาตทิ ่แี ตกต่างกนั ในแตล่ ะภาค ความรเู้ กยี่ วกบั ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งอาหารไทยแตล่ ะภาคกบั สงั คม ประเพณีและวัฒนธรรม ความสมั พันธ์ระหว่างวฒั นธรรมไทยกบั อาหารไทยต้นตารบั ในวรรณคดี คำศพั ท์ ภาษาต่างประเทศทเ่ี ก่ียวขอ้ ง เพ่อื พัฒนาความสามารถในการประกอบอาหารไทยอยา่ งมืออาชีพ โดยใชก้ ระบวนการกล่มุ เพอ่ื ฝึกการวิเคราะห์ เปรยี บเทียบความเหมือนและความต่างระหวา่ งอาหาร ไทยแตล่ ะภาคและแตล่ ะสมยั ของชาติไทย พรอ้ มทง้ั รว่ มอภิปรายความโดดเดน่ และเอกลักษณ์ของอาหารไทย แตล่ ะภาคและแต่ละยคุ สมยั ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ เพอื่ นาความรปู้ ระยุกตใ์ ชใ้ นการฝึกปฏิบัติการประกอบอาหาร ไทยแตล่ ะภาคและแต่ละยุคสมัยไดอ้ ย่างมืออาชีพ ใชก้ ระบวนการกล่มุ ในการแสวงหาความรู้ วางแผน ออกแบบ และดำเนนิ การทาโครงงานอาหารไทยในวรรณคดไี ด้อย่างสรา้ งสรรค์ ตลอดจนตดั สนิ ใจแกป้ ัญหาท่ี เกิดขน้ึ ในกระบวนการทางานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ือใหผ้ ้เู รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับอาหารไทยแตล่ ะภาคและแต่ละสมัยของชาตไิ ทย มคี วามรู้ คำศัพท์ภาษาต่างประเทศที่สำคัญทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การประกอบอาหารไทยที่โดดเดน่ ในแตล่ ะภาคและในแตล่ ะ ยคุ สมยั สามารถวิเคราะห์ เปรยี บเทียบและแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั อาหารไทยแตล่ ะภาคและแตล่ ะยุคสมัย สามารถคดิ สร้างสรรค์ ออกแบบอาหารตามลกั ษณะความโดดเดน่ ของอาหารแตล่ ะภาคและแตล่ ะยคุ สมัย ฝกึ ปฏิบตั จิ นเกิดทกั ษะในการประกอบอาหารไทยแตล่ ะภาคและแตล่ ะยคุ สมัย เห็นคณุ ค่า และมีเจตคตทิ ่ีดตี อ่ ประเพณี วฒั นธรรมของไทยและของแต่ละภาค รู้ เขา้ ใจ และยอมรบั ในความแตกตา่ งระหว่างวฒั นธรรมในแต่ ละภาค มีความใฝ่รู้ใฝเ่ รยี น มคี วามสามัคคจี ากการเรียนรแู้ บบรว่ มมอื มคี ุณธรรม ทางานดว้ ยความรับผดิ ชอบ ขยัน ซอื่ สตั ย์ มงุ่ มน่ั อดทน นาความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ตนเอง และตอ่ สงั คม ผลการเรยี นรู้ 1. ผูเ้ รยี นอธบิ ายปจั จัยทางภูมศิ าสตร์ สังคม วฒั นธรรมและประเพณที ม่ี ีต่ออาหารไทยแต่ละภาค ตลอดจนอภปิ ราย เปรียบเทยี บความแตกตา่ งของอาหารไทยแต่ละภาค ผา่ นกระบวนการกลมุ่ ในการแสวงหา ความร้ไู ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 2. ผูเ้ รียนมที ักษะปฏิบตั ใิ นการประกอบอาหารไทยให้มีความโดดเดน่ ในเอกลักษณข์ องรสชาติและ รูปลักษณ์ของอาหารไทยแตล่ ะภาคไดอ้ ย่างชำนาญ 3. ผเู้ รียนอธบิ ายประวัติ ความเปน็ มาของอาหารไทยตง้ั แตส่ มัยสโุ ขทัย สมัยอยธุ ยา สมัยธนบรุ ี จนถงึ สมยั รตั นโกสินทร์ ตลอดจนอภิปรายความโดดเด่นของอาหารไทยในแตล่ ะสมัยไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 4. ผู้เรยี นอธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอาหารไทยกบั ภูมปิ ัญญาและประเพณีด้ังเดิมของไทยไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ ดว้ ยจติ สานกึ และความภาคภูมใิ จในความเปน็ ไทย 5. ผ้เู รยี นมที ักษะปฏิบตั ใิ นการประกอบอาหารไทยทถี่ ูกกลา่ วถงึ ในวรรณคดีไดอ้ ย่างมืออาชีพ มีความ โดดเดน่ ในเอกลกั ษณค์ วามเปน็ ไทย มรี สชาติทอ่ี ร่อยและนา่ รบั ประทาน เพื่อการประกอบอาชีพด้านอาหาร ไทยอยา่ งภาคภมู ใิ จ
256 6. ผเู้ รียนมีทักษะคดิ วิเคราะห์ วางแผนออกแบบ และดาเนินการทาโครงงานอาหารไทยในวรรณคดีได้ อย่างสร้างสรรค์ ตลอดจนตดั สินใจแก้ปัญหาที่เกดิ ข้ึนในกระบวนการทางานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ 7. ผู้เรียนมคี ุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ และมีเจตคตทิ ่ดี ตี อ่ การประกอบอาหารไทย ด้วยจติ สานกึ รกั และ ภาคภมู ใิ จในประเพณี ศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน และวัฒนธรรมไทย รวม 7 ผลการเรยี นรู้
257 คำอธิบายรายวิชา วชิ าความเป็นเลิศด้านอาหารไทย 5 รหสั ง20271 เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑ หนว่ ยกติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ศกึ ษาและวิเคราะหภ์ มู ปิ ญั ญาไทยในการใชพ้ ชื ผกั สมุนไพรและเครื่องเทศในการประกอบอาหาร หลกั การนาพืชผักสมุนไพรและเครือ่ งเทศมาใช้ในการปรงุ อาหารไทย ประโยชน์ทีไ่ ด้รับจากพชื ผกั สมนุ ไพรและ เครอ่ื งเทศ สรรพคุณทางยาของสมนุ ไพรไทย คำศัพท์ภาษาต่างประเทศท่เี กี่ยวขอ้ ง การเตรยี มและประกอบ อาหารไทยโดยการใช้พืชผัก สมุนไพรไทยและเคร่อื งเทศเป็นสว่ นประกอบ เรียนรหู้ ลกั โภชนาการของอาหาร วิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทยทมี่ ผี ลต่อการบาบัดและส่งเสรมิ สุขภาพของผบู้ ริโภค คดิ วิเคราะห์ และสร้างสรรคเ์ พือ่ ออกแบบรายการอาหารเพื่อสุขภาพ โดยใช้กระบวนการฝกึ ปฏิบัตกิ ารเลอื กและใชพ้ ชื ผกั สมนุ ไพรและเครือ่ งเทศ และวตั ถดุ บิ อืน่ ๆ ในการ ประกอบอาหารไทยใหค้ งคุณค่าทางโภชนาการ และมีรสชาติท่ีอรอ่ ย เพื่อการบำบัดและส่งเสรมิ สขุ ภาพของ ผบู้ รโิ ภค ใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการแสวงหาความรู้ วางแผนตลอดจนตัดสินใจแก้ปัญหาท่เี กดิ ข้นึ ใน กระบวนการทำงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ เพ่อื ให้ผ้เู รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั พืชผัก สมุนไพรและเคร่ืองเทศ และคณุ ประโยชนข์ อง ภมู ิปญั ญาไทยในการนาพืชผัก สมนุ ไพรและเครื่องเทศมาใช้ในการประกอบอาหาร มคี วามรูค้ าศัพท์ภาษา ตา่ งประเทศทสี่ ำคัญ มที กั ษะในการปฏบิ ตั ิการประกอบอาหารไทยทม่ี สี ว่ นประกอบของพืชผัก สมุนไพรและ เคร่อื งเทศ และวัตถดุ บิ อ่ืนๆ ให้มคี ณุ ค่าทางโภชนาการเพ่อื การบำบัดและส่งเสริมสุขภาพไดอ้ ยา่ งมืออาชีพ มี ทกั ษะการวเิ คราะห์คณุ คา่ ของอาหารไทย มคี วามคดิ ริเรม่ิ สรา้ งสรรคใ์ นการออกแบบอาหารไทยทมี่ ีคณุ คา่ ทาง โภชนาการเพอ่ื การบำบัดและสง่ เสริมสุขภาพ เกดิ ความภาคภูมิใจและมเี จตคตทิ ด่ี ีตอ่ พชื ผกั สมุนไพรและ เครอ่ื งเทศในการประกอบอาหารไทยเพอ่ื สขุ ภาพ มีความสนใจใฝร่ ู้ใฝเ่ รยี น มคี ณุ ธรรม ทำงานดว้ ยความ รบั ผิดชอบ ขยนั ซ่อื สัตย์ มุง่ มน่ั อดทน สามารถเรียนร้แู ละปฏิบัตงิ านรว่ มกับผู้อนื่ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ผลการเรยี นรู้ 1. ผู้เรยี นอธิบายสรรพคณุ และประโยชนข์ องพืชผกั สมุนไพรไทยและเครอ่ื งเทศที่นำมาประกอบ อาหารไทยไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 2. ผู้เรียนมที กั ษะในการเลอื กและใช้พชื ผักสมุนไพรและเคร่ืองเทศ ตลอดจนวตั ถดุ ิบอื่นๆ ในการ ประกอบอาหารไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ใหค้ งคุณคา่ ทางโภชนาการเพื่อการบำบัดและส่งเสริมสุขภาพ และมีรสชาติ ทอ่ี ร่อย 3. ผเู้ รียนมีทกั ษะปฏบิ ัติในการเตรียมและประกอบอาหารไทยทีม่ ีประโยชน์ในการบำบดั และสง่ เสรมิ สุขภาพของผบู้ ริโภคไดอ้ ย่างมอื อาชพี 4. ผู้เรียนมีทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ วางแผนออกแบบ ตลอดจนตัดสินใจแก้ปัญหาท่เี กดิ ขึ้นใน กระบวนการทางานกลุม่ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 5. ผูเ้ รียนมีคณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ และมเี จตคติท่ดี ตี อ่ การประกอบอาหารไทย ดว้ ยจติ สานกึ รัก เหน็ คณุ คา่ และภาคภมู ใิ จในภูมิปัญญาไทย รวม 5 ผลการเรียนรู้
258 คำอธบิ ายรายวชิ า วิชาความเปน็ เลิศดา้ นอาหารไทย 6 รหัส ง20272 เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑ หน่วยกิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ศกึ ษาเก่ยี วกับหลกั การถนอมอาหาร คำศัพทภ์ าษาตา่ งประเทศทีเ่ กย่ี วข้อง วิเคราะหส์ าเหตุของการ บดู เสียของอาหาร ศึกษาและออกแบบวิธีการถนอมอาหารทีห่ ลากหลาย เรียนรู้และออกแบบวธิ ีการดดั แปลง อาหารคาวและหวานอย่างสร้างสรรค์ เพือ่ ใช้ในการบริโภคในครวั เรอื นและเป็นอตุ สาหกรรมในครวั เรือน โดยใช้กระบวนการกลมุ่ เพอ่ื ฝกึ วิเคราะห์ และประยุกต์ใชค้ วามรูแ้ ละเทคนคิ ในการปฏิบตั ิการถนอม อาหารด้วยกรรมวธิ ีที่หลากหลาย และดดั แปลงอาหารเหลือใช้ได้อยา่ งมืออาชพี เพื่อใหเ้ ป็นอาหารท่นี า่ รับประทาน มรี สชาติอรอ่ ย และคงคณุ คา่ ทางโภชนาการ ใชก้ ระบวนการกลุ่มในการแสวงหาความรู้ วางแผน ออกแบบ ตลอดจนตดั สินใจแก้ปญั หาทเ่ี กิดขึน้ ในกระบวนการทางานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื การประกอบ อาชพี ดา้ นอาหารไทยอยา่ งมอื อาชีพ เพือ่ ให้ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจ เหน็ คุณค่า และประโยชน์ของการถนอมอาหาร และการดดั แปลง อาหารเหลือใช้ มคี วามรูค้ าศัพทภ์ าษาตา่ งประเทศทส่ี ำคญั ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับการถนอมอาหาร สามารถวเิ คราะห์ ปัจจัยทก่ี ่อใหเ้ กิดการบูดเสยี ของอาหารและแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับแนวทางป้องกนั และแกไ้ ข มีความคดิ ริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ในการออกแบบอาหารเหลือใช้ ฝกึ ปฏิบตั จิ นเกดิ ทักษะ มีความสนใจใฝ่รูใ้ ฝเ่ รียน มคี ณุ ธรรม ทำงานดว้ ยความรบั ผิดชอบ ขยนั ซ่อื สัตย์ มุ่งม่ัน อดทน เรยี นรู้และปฏิบัตงิ านรว่ มกบั ผอู้ ่นื ได้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพ ใชพ้ ลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมอยา่ งคมุ้ ค่าและถูกวธิ ี ผลการเรียนรู้ 1. ผเู้ รียนอธิบายความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ และข้ันตอนของการถนอมอาหารด้วยกรรมวธิ ี ตา่ งๆ ตลอดจนปจั จยั ทส่ี ง่ ผลต่อคณุ ภาพของอาหารได้อยา่ งถูกตอ้ ง 2. ผ้เู รยี นมที กั ษะปฏิบัตใิ นการถนอมอาหารด้วยกรรมวธิ ที ี่หลากหลายไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม 3. ผ้เู รยี นอธิบายแนวทางการนาอาหารเหลือใชม้ าดัดแปลงเป็นอาหารใหม่ท่สี ามารถรบั ประทานได้ มี รสชาติอรอ่ ย และคงคุณค่าทางโภชนาการ 4. ผเู้ รียนสามารถประยุกต์ใช้ความรเู้ ก่ยี วกับเทคนคิ การดัดแปลงอาหารเหลอื ใช้มาประกอบอาหารได้ อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม 5. ผูเ้ รยี นมีทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ วางแผนออกแบบ ตลอดจนตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาท่เี กดิ ขึน้ ใน กระบวนการทำงานกลุ่มไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 6. ผเู้ รียนมคี ุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ และมเี จตคติท่ีดีตอ่ การประกอบอาหารไทย ดว้ ยจติ สานกึ และ เหน็ คุณคา่ ของทรพั ยากรสิ่งแวดล้อม รวม 6 ผลการเรียนรู้
259 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
260 กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ ความสำคัญของภาษาตา่ งประเทศ ในสังคมโลกปจั จบุ นั การเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศมีความสำคญั และจำเป็นอยา่ งย่งิ ในชีวติ ประจำวนั เนื่องจากเป็นเคร่ืองมอื สำคญั ในการติดต่อสื่อสารการศึกษา การแสวงหาความรู้ การประกอบอาชพี การ สรา้ งความเข้าใจเกย่ี วกับวัฒนธรรมและวสิ ัยทศั น์ของชุมชนโลก และตระหนักถึงความหลากหลายทาง วฒั นธรรมและมมุ มองของสงั คมโลก นำมาซงึ่ มติ รไมตรแี ละความร่วมมอื กับประเทศตา่ ง ๆ ช่วยพฒั นาผูเ้ รยี น ใหม้ คี วามเข้าใจตนเองและผู้อ่ืนดขี ้ึน เรียนรแู้ ละเขา้ ใจความแตกตา่ งของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี การคดิ สังคม เศรษฐกจิ การเมือง การปกครอง มีเจตคติท่ีดีต่อการใช้ภาษาต่างประเทศ และ ใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการส่ือสารได้ รวมทั้งเข้าถึงองค์ความรูต้ า่ ง ๆ ได้งา่ ยและกว้างขน้ึ และมวี สิ ยั ทศั น์ ในการดำเนนิ ชีวติ ภาษาตา่ งประเทศทีเ่ ปน็ สาระการเรียนรูพ้ ้นื ฐานซง่ึ กำหนดให้เรียนตลอดหลกั สตู รการศกึ ษา ขนั้ พื้นฐาน คอื ภาษาองั กฤษ สว่ นภาษาต่างประเทศอืน่ เชน่ ภาษาฝรง่ั เศส เยอรมัน จนี ญปี่ ุน่ อาหรบั บาลี และภาษากลมุ่ ประเทศเพอื่ นบา้ น หรอื ภาษาอ่นื ๆ ให้อย่ใู นดลุ ยพินจิ ของสถานศึกษาทจี่ ะจดั ทำรายวชิ าและ จดั การเรยี นรู้ตามความเหมาะสม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ มงุ่ หวงั ใหผ้ ้เู รยี นมเี จตคตทิ ี่ดีตอ่ ภาษาต่างประเทศ สามารถใช้ ภาษาตา่ งประเทศ ส่ือสารในสถานการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชพี และศึกษาตอ่ ในระดับท่สี ูงขึ้น รวมท้งั มีความรู้ความเข้าใจในเรอ่ื งราวและวฒั นธรรมอนั หลากหลายของประชาคมโลก และสามารถถ่ายทอด ความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ ประกอบด้วยสาระสำคัญ ดงั นี้ - ภาษาเพ่อื การสอื่ สาร การใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการฟงั -พดู -อา่ น-เขยี น แลกเปลี่ยนขอ้ มูล ข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคดิ เห็น ตคี วาม นำเสนอขอ้ มูล ความคิดรวบยอดและความคิดเหน็ ใน เรือ่ งต่างๆ และสรา้ งความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลอยา่ งเหมาะสม - ภาษาและวัฒนธรรม การใชภ้ าษาตา่ งประเทศตามวฒั นธรรมของเจ้าของภาษาความสมั พนั ธ์ ความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งภาษากับวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา ภาษาและวฒั นธรรมของเจา้ ของ ภาษากับวฒั นธรรมไทย และนำไปใชอ้ ย่างเหมาะสม - ภาษากบั ความสมั พันธ์กับกลมุ่ สาระการเรยี นรอู้ ืน่ การใช้ภาษาตา่ งประเทศในการเชอ่ื มโยง ความรู้กับกล่มุ สาระการเรียนรูอ้ น่ื เปน็ พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และ เปิดโลกทัศน์ของตน - ภาษากบั ความสมั พนั ธ์กบั ชุมชนและโลก การใชภ้ าษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ตา่ งๆ ท้ังใน ห้องเรยี นและนอกหอ้ งเรยี น ชมุ ชน และสงั คมโลก เปน็ เครอ่ื งมอื พ้ืนฐานในการศึกษาตอ่ ประกอบอาชพี และแลกเปล่ียนเรียนรู้กบั สงั คมโลก
261 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท1่ี ภาษาเพ่ือการส่ือสาร มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตคี วามเรอื่ งทฟ่ี ังและอา่ นจากสือ่ ประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเหน็ อย่างมี เหตุผล มาตรฐาน ต1 .2 มีทักษะการส่อื สารทางภาษาในการแลกเปลย่ี นข้อมลู ขา่ วสาร แสดงความรสู้ ึก และความ คดิ เหน็ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ต1 .3 นำเสนอข้อมูลขา่ วสาร ความคดิ รวบยอด และความคิดเหน็ ในเรอ่ื งต่างๆ โดยการพดู และ การเขยี น สาระท2่ี ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต2 .1 เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากับวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา และนำไปใช้ ได้อย่าง เหมาะสมกบั กาลเทศะ มาตรฐาน ต2 .2 เขา้ ใจความเหมอื นและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา กบั ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม สาระท3่ี ภาษากับความสมั พันธ์กบั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้อนื่ มาตรฐาน ต3 .1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กบั กลุ่มสาระการเรยี นร้อู ่ืน และเปน็ พ้ืนฐานใน การพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั นข์ องตน สาระท4่ี ภาษากบั ความสมั พนั ธก์ ับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต4 .1 ใชภ้ าษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ท้ังในสถานศกึ ษา ชุมชน และสังคม มาตรฐาน ต4 .2 ใชภ้ าษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพืน้ ฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการ แลกเปล่ียนเรยี นรู้กับสงั คมโลก
262 รายวิชาพน้ื ฐานกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ ระดับชั้นประถมศึกษา จำนวน 160 ชัว่ โมง รายวชิ าพื้นฐาน จำนวน 200 ช่วั โมง จำนวน 200 ชั่วโมง อ11101 ภาษาองั กฤษ อ12101 ภาษาองั กฤษ จำนวน 80 ช่ัวโมง อ13101 ภาษาองั กฤษ จำนวน 80 ชวั่ โมง จำนวน 80 ชวั่ โมง อ14101 ภาษาองั กฤษ อ15101 ภาษาองั กฤษ อ16101 ภาษาอังกฤษ รายวชิ าเพมิ่ เติม ภาษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสาร จำนวน 40 ชวั่ โมง อ11201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร จำนวน 40 ชั่วโมง อ12201 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสือ่ สาร จำนวน 40 ชว่ั โมง อ13201 ระดับช้นั มธั ยมศึกษา จำนวน 60 ชัว่ โมง รายวชิ าพื้นฐาน จำนวน 60 ชว่ั โมง จำนวน 60 ชั่วโมง อ21201 ภาษาอังกฤษ อ21202 ภาษาอังกฤษ จำนวน 60 ช่ัวโมง อ22201 ภาษาอังกฤษ จำนวน 60 ช่ัวโมง จำนวน 60 ชั่วโมง อ22202 ภาษาองั กฤษ อ23201 ภาษาอังกฤษ อ23202 ภาษาอังกฤษ
263 คำอธบิ ายรายวชิ าภาษาองั กฤษ รหสั วิชา อ11101 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 เวลาเรยี น 200 ช่วั โมง ปฏบิ ตั ติ ามคำสงั่ งา่ ยๆ ทฟ่ี ัง ระบตุ วั อกั ษรและเสยี ง อา่ นออกเสียงและสะกดคำง่ายๆ ถูกต้องตาม หลักการอ่าน เลือกภาพตรงตามความหมายของคำ และกลุ่มคำท่ีฟงั ตอบคำถามจากการฟังเรื่องใกล้ตัว พูด โต้ตอบด้วยคำสน้ั ๆ งา่ ยๆ ในการสื่อสารระหว่างบคุ คลตามแบบทฟี่ งั ใช้คำส่งั งา่ ยๆ ตามแบบท่ฟี ัง บอกความ ตอ้ งการงา่ ยๆของตนเองตามแบบที่ฟงั พดู ขอและใหข้ ้อมลู งา่ ยๆ เก่ียวกบั ตนเองตามแบบที่ฟงั พดู ใหข้ อ้ มูล เก่ียวกบั ตนเองและเรื่องใกลต้ วั พูดและทำท่าประกอบตามวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา บอกชือ่ และคำศัพท์ เกย่ี วกับเทศกาลสำคัญของเจ้าของภาษา เข้าร่วมกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรมทีเ่ หมาะกับวัย ระบุ ตัวอักษรและเสียงตวั อกั ษรของภาษาตา่ งประเทศ และภาษาไทยบอกคำศัพทท์ ี่เกี่ยวข้องกบั กล่มุ สาระการ เรียนรูอ้ ่นื ฟงั หรือพูดในสถานการณง์ า่ ยๆทเ่ี กิดข้ึนในหอ้ งเรียน ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเพ่อื รวบรวมคำศพั ท์ท่ี เกย่ี วขอ้ งใกล้ตวั โดยใชท้ กั ษะกระบวนการสื่อสาร ฟงั พดู อ่าน เขียน ผู้เรยี นเกดิ ความสามารถในการคดิ อย่างมเี หตุผล มีความมุ่งมนั่ ในการทำงาน มีความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา และมี ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เพือ่ ใหน้ กั เรยี นมีเจตคตทิ ดี่ ีต่อภาษาอังกฤษ ใฝ่รู้ใฝ่เรยี น ศึกษาดว้ ยตนเอง มวี ินัย มคี วามรับผดิ ชอบ มี ความมุ่งม่นั ในการทำงาน มีความซอื่ สัตย์สุจรติ มีความรกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นไทย และสามารถ นำหลักเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ รหัสตัวชี้วัด ต 1.1 ,ป .1/1 , ป.1/2 , ป.1/3 , ป.1/4 , ต 1.2 ป .1/1 , ป.1/2 , ป.1/3 , ป.1/4 , ต 1.3 ป .1/1 ต 2.1 ป .1/1 , ป.1/2 , ป.1/3 ต 2.2 ป .1/1 ต 3.1 ป .1/1 ต 4.1 ป .1/1 ต 4.2 ป .1/1 รวม 16 ตวั ชีว้ ัด
264 คำอธิบายรายวชิ าภาษาองั กฤษ รหัสวชิ า อ12101 กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลาเรียน 200 ชัว่ โมง ปฏบิ ตั ติ ามคำสั่งและคำขอร้องง่ายๆทีฟ่ ัง ระบุตวั อักษรและเสียง อ่านออกเสยี งคำ สะกดคำ และ อ่านประโยคงา่ ยๆ ถูกต้องตาม หลักการอ่าน เลือกภาพตรงตามความหมายของคำ กลุม่ คำ และประโยคท่ีฟัง ตอบคำถามจากการฟงั ประโยค บทสนทนา หรอื นิทานงา่ ยๆ ทม่ี ภี าพประกอบ พดู โตต้ อบดว้ ยคำสั้นๆ งา่ ยๆ ในการสอ่ื สารระหว่างบคุ คลตามแบบทฟ่ี งั ใช้คำส่งั และคำขอรอ้ งง่ายๆตามแบบทีฟ่ ัง บอกความต้องการ ง่ายๆ ของตนเอง ตามแบบท่ีฟงั พูดขอและใหข้ ้อมูลงา่ ยๆเกย่ี วกับตนเองตามแบบทีฟ่ งั พดู ใหข้ อ้ มูล เกยี่ วกับตนเองและเรื่องใกลต้ วั พูดและทำท่าประกอบ ตามวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา บอกชอ่ื และคำศพั ท์ เก่ียวกบั เทศกาลสำคัญของเจา้ ของภาษา เขา้ รว่ มกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมทเ่ี หมาะกบั วยั ระบุ ตวั อักษรและเสียงตัวอกั ษรของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย บอกคำศัพท์ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั กลุ่มสาระการ เรยี นรู้อื่น ฟังหรือพูดในสถานการณง์ า่ ยๆ ที่เกดิ ขน้ึ ในหอ้ งเรยี นใชภ้ าษาตา่ งประเทศ เพือ่ รวบรวมคำศพั ท์ที่ เก่ยี วข้องใกลต้ วั โดยใชท้ ักษะกระบวนการส่อื สาร ฟงั พูด อ่าน เขียน ผู้เรียนเกดิ ความสามารถในการคิดอย่างมีเหตผุ ล มคี วามมุ่งมัน่ ในการทำงาน มคี วามสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต มคี วามสามารถในการแกป้ ัญหา และมี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เพื่อให้นกั เรยี นเป็นผู้ ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน มวี ินัย มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีความมุง่ มน่ั ในการทำงาน มีความ พากเพยี ร รัก ศรทั ธาและเทดิ ทูนในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ มีความซื่อสตั ย์ กตญั ญกู ตเวทตี อ่ ผมู้ ี พระคุณ ดำเนนิ ชีวติ ตามวิถีไทย โดยยดึ หลักเศรษฐกิจพอเพยี งควบคู่ไปกบั ความเป็นสากล รหสั ตัวชี้วดั ต 1.1 ,ป .2/1 , ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4 , ต 1.2 ป2/1 , ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4 , ต 1.3 ป 2/1 , ต 2.1 ป .2/1 , ป 2/2 , ป.2/3 ต 2.2 ป .2/1 ต 3.1 ป .2/1 ต 4.1 ป .2/1 ต 4.2 ป 2/1 รวม 16 ตัวชี้วดั
265 คำอธิบายรายวชิ าภาษาองั กฤษ รหสั วิชา อ 13101-อ13102 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 จำนวน 5.0 หน่วยกิต คำอธิบายรายวิชา (ภาคเรยี นท่ี 1-2) เวลาเรยี น 200 ชั่วโมง เขา้ ใจ คำสง่ั คำขอรอ้ งท่ีใช้ในหอ้ งเรยี น อ่านออกเสียงสะกดคำ กลุม่ คำ ประโยคและบทพูดเข้า จังหวะ(chant)ง่ายๆ ถกู ต้องตามหลกั การอ่าน พัฒนาทกั ษะการใชพ้ จนานุกรม เลือก/ระบุ ภาพหรอื สญั ลักษณ์ ตรงตามความหมายของกล่มุ คำและประโยคทฟี่ ัง ตอบคำถามจากการฟัง/การอา่ นประโยค บทสนทนาหรือ นิทานงา่ ยๆ ใช้ทักษะภาษาองั กฤษเพื่อสื่อความเกีย่ วกบั ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สง่ิ แวดลอ้ มใกล้ตัว อาหารเครือ่ งด่ืม และนนั ทนาการ ในวงคำศัพทส์ ะสมประมาณ 350-450คำ (คำศัพทท์ ี่เปน็ รูปธรรม) พูดโต้ตอบดว้ ยคำสนั้ ๆ งา่ ยๆในการแนะนำตนเอง ทกั ทาย กลา่ วลา ขอบคณุ ขอโทษ ในการสอื่ สารระหวา่ งบุคคล บอกความต้องการ งา่ ยๆ พดู ใหข้ ้อมูลเกีย่ วกบั ตนเองและเรอ่ื งใกลต้ ัว ระบุหมวดหมู่คำตามประเภทของบคุ คล สตั ว์ และสง่ิ ของ ตามท่ฟี งั หรอื อ่าน ใชก้ รยิ าท่าทางประกอบการพดู /สนทนาตามมรรยาทสงั คม/วฒั นธรรม ของเจา้ ของภาษา บอกชือ่ และคำศัพท์งา่ ยๆเก่ยี วกับเทศกาล/วันสำคญั /งานฉลอง และชวี ติ ความเปน็ อยู่ของเจา้ ของภาษา รว่ มกจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรมท่ีเหมาะสมกบั วยั บอกความแตกต่างของเสียง ตัวอักษร คำ กล่มุ คำ และ ประโยคงา่ ยๆของภาษาอังกฤษและภาษาไทย เข้าใจคำ กลมุ่ คำท่เี กีย่ วขอ้ งกบั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้อ่ืน ใช้ ภาษาองั กฤษในสถานการณ์งา่ ย ๆ ที่เกิดข้นึ ในห้องเรยี น รวบรวมคำศัพทท์ ี่เกี่ยวขอ้ งใกลต้ วั จากส่ือตา่ งๆ แสวงหาความรู้ความเพลดิ เพลินจากภาษาอังกฤษ มเี จตคตทิ ีด่ ี เหน็ ประโยชน์ และ คณุ ค่าในการเรยี นรู้ ภาษาองั กฤษ ตลอดจนสามารถนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ รหัสตวั ชว้ี ดั ต 1.1 ป.3/1, ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4 ต 1.2 ป.3/1, ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4 , ป.3/5 ต 1.3 ป.3/1, ป.3/2 ต 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ต 2.2 ป.3/1 ต 3.1 ป.3/1 ต 4.1 ป.3/1 ต 4.2 ป.3/1 รวมตัวชว้ี ดั 18 ตวั ชี้วดั
266 คำอธิบายรายวชิ า รหัสวิชา อ14101 กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 เวลาเรียน 80 ช่วั โมง ปฏบิ ัตติ ามคำส่งั คำขอร้อง และคำแนะนำ งา่ ยๆ ทฟ่ี งั หรอื อ่าน อ่านออกเสียงคำ สะกดคำ อ่าน กลมุ่ คำประโยค ข้อความงา่ ยๆ และบทพูดเข้าจงั หวะ ถกู ต้องตาม หลกั การอา่ น เลือก/ระบุภาพ หรือ สญั ลกั ษณ์ หรอื เครอื่ งหมาย ตรงตามความหมายของประโยคและ ขอ้ ความสัน้ ๆ ท่ีฟังหรืออ่านตอบคำถามจาก การฟังและอา่ นประโยคบทสนทนา และนทิ านง่ายๆ พดู /เขยี นโต้ตอบในการสือ่ สารระหวา่ งบคุ คล ใชค้ ำสั่ง คำ ขอรอ้ ง และคำขออนญุ าตงา่ ยๆ พดู /เขียนแสดงความต้องการของตนเองและขอความชว่ ยเหลือในสถานการณ์ งา่ ยๆ พูด/เขียนเพ่ือขอและใหข้ อ้ มลู เกีย่ วกับตนเองเพ่อื นและครอบครัว พดู แสดงความรู้สึกของตนเอง เกีย่ วกบั เรือ่ งต่างๆใกลต้ วั และกจิ กรรมต่างๆตามแบบท่ีฟงั พูด/เขียนให้ขอ้ มูลเกย่ี วกับตนเองและเรอื่ งใกลต้ วั พูด/วาดภาพแสดงความสมั พนั ธข์ องสิง่ ตา่ งๆใกลต้ วั ตามท่ฟี งั หรอื อ่านพดู แสดงความคดิ เหน็ งา่ ยๆ เก่ยี วกบั เรอ่ื ง ต่างๆ ใกลต้ ัว พูดและทำทา่ ประกอบ อยา่ งสุภาพ ตามมารยาทสังคม และวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ตอบคำถามเก่ยี วกบั เทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลองและชวี ติ ความเปน็ อยู่ งา่ ยๆ ของเจา้ ของภาษา เข้าร่วม กจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรมทีเ่ หมาะกบั วยั บอกความแตกตา่ งของของเสยี งตัวอกั ษรคำ กลุม่ คำ ประโยค และข้อความของภาษา ตา่ งประเทศและภาษาไทยบอกความเหมือน/ความแตกตา่ งระหว่างเทศกาลและงาน ฉลอง ตามวฒั นธรรมของ เจ้าของภาษากบั ของไทย ค้นคว้า รวบรวมคำศัพท์ทเ่ี กี่ยวข้องกบั กลุ่มสาระการ เรยี นร้อู ื่นและนำเสนอด้วยการพดู /การเขยี น ฟังและพูด/อา่ น ในสถานการณ์ท่ีเกิดขน้ึ ในหอ้ งเรยี นและ สถานศกึ ษา ใชภ้ าษา ต่างประเทศในการสบื คน้ และรวบรวมขอ้ มูลตา่ งๆ โดยกระบวนการใช้ภาษาตา่ งประเทศในการเช่ือมโยงความรู้ กบั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้อนื่ และเป็น พ้ืนฐานในการพฒั นาแสวงหาความรู้ และเปดิ โลกทัศนข์ องตน คน้ คว้า รวบรวมคำศพั ทท์ ีเ่ ก่ยี วข้องกบั กลุ่ม สาระการเรียนรู้อืน่ และนำเสนอด้วยการพดู เขยี น ฟัง และอา่ น เพื่อใหเ้ กดิ ความรคู้ วามเข้าใจในสถานการณท์ ี่เกิดข้นึ ในหอ้ งเรียนและสถานศกึ ษา ใช้ ภาษาต่างประเทศในการสบื ค้น และรวบรวมขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เห็นคณุ ค่าของการนำความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ น ชวี ิตประจำวัน มเี จตคติทด่ี ีตอ่ การใชภ้ าษาต่างประเทศ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมท่เี หมาะสม รหัสตวั ช้ีวดั ต 1.1 ,ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4 , ต 1.2 ป 4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4 , ป.4/5 ต 1.3 ป.4/1 ป 4/2 ป.4/3 ต 2.1 ป .4/1 , ป 4/2 , ป.4/3 ต 2.2 ป .4/1 ป.4/2 ต 3.1 ป.4/1 ต 4.1 ป.4/1 ต 4.2 ป.4/1 รวม 20 ตวั ช้ีวดั
267 คำอธบิ ายรายวชิ า รหัสวชิ า อ15101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรยี น 80 ช่วั โมง ปฏิบตั ติ ามคำสง่ั คำขอรอ้ ง และคำแนะนำงา่ ยๆ ทฟ่ี ังและอา่ น อ่านออกเสยี งประโยค ขอ้ ความ และบทกลอนสนั้ ๆ ถกู ต้องตาม หลกั การอ่าน ระบุ/วาดภาพสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายตรงตามความหมาย ของประโยคและขอ้ ความส้ันๆ ทฟี่ งั หรอื อา่ น บอกใจความสำคญั และตอบคำถามจากการฟังและอา่ น บทสนทนาและนิทานงา่ ยๆ หรือเรอ่ื งสน้ั ๆ พูด/เขียนโตต้ อบในการส่อื สารระหว่างบคุ คลใชค้ ำสั่ง คำขอรอ้ ง คำขออนุญาต และใหค้ ำแนะนำง่ายๆ พูด/เขียนแสดงความต้องการขอความช่วยเหลือ ตอบรบั และ ปฏิเสธการใหค้ วามช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ พดู /เขียนเพ่อื ขอและให้ข้อมลู เก่ยี วกบั ตนเองเพอ่ื น ครอบครัวและเร่อื งใกล้ตวั พูด/เขยี นแสดความรสู้ ึก ของตนเองเกย่ี วกับเร่ืองต่างๆ ใกล้ตัวและกจิ กรรมต่างๆ พร้อมทัง้ ให้เหตุผลส้ันๆประกอบ พดู /เขยี นใหข้ อ้ มูลเกยี่ วกับตนเองและเร่อื งใกลต้ ัว เขียนภาพ แผนผัง และ แผนภมู แิ สดงขอ้ มลู ตา่ งๆ ตามที่ฟังหรืออา่ น พูดแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกบั เรือ่ งต่างๆ ใกล้ตัว ใช้ถ้อยคำ นำ้ เสียงและกิริยาท่าทางอยา่ งสุภาพ ตามมารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา ตอบคำถาม/บอก ความสำคัญของเทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลองและชีวติ ความ เป็นอยู่ง่ายๆ ของเจ้าของภาษา เขา้ รว่ ม กจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรมตามความสนใจ บอกความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างการออกเสยี ง ประโยคชนิดตา่ งๆ การใช้เครือ่ งหมายวรรคตอน และ การลำดับคำตามโครงสร้างประโยค ของ ภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย บอกความเหมอื น/ความแตกตา่ งระหวา่ งเทศกาลและงานฉลองของเจ้าของ ภาษากับของไทยคน้ คว้า รวบรวมคำศพั ท์ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั กลุม่ สาระการเรียนรูอ้ นื่ และนำเสนอด้วยการพูด/การ เขียนฟงั พดู และอ่าน/เขียน ในสถานการณ์ตา่ งๆ ที่เกดิ ขึน้ ในห้องเรียนและสถานศึกษา ใช้ภาษา ต่างประเทศ ในการสืบค้นและรวบรวมข้อมลู ต่างๆ โดยใชท้ ักษะกระบวนการส่ือสาร ฟงั พูด อ่าน เขียน ผเู้ รยี นเกิดความสามารถในการคิดอยา่ งมเี หตผุ ล มคี วามมุ่งมน่ั ในการทำงาน มีความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ มคี วามสามารถในการแกป้ ัญหา และมี ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เพอ่ื ใหน้ กั เรียนมีเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ ภาษาอังกฤษ ใฝ่ร้ใู ฝ่เรียน ศึกษาด้วยตนเอง มีวินัย มคี วามรับผดิ ชอบ มี ความม่งุ มัน่ ในการทำงาน มีความซอื่ สตั ยส์ ุจริต มีความรกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ และรักความเปน็ ไทย รหัสตัวชี้วัด ต 1.1 ,ป .5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4 , ต 1.2 ป 5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4 , ป.5/5 ต 1.3 ป 5/1 ป 5/2 ป. 5/3 ต 2.1 ป .5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 ต 2.2 ป.5/1 ป.5/2 ต 3.1 ป.5/1 ต 4.1 ป.5/1 ต 4.2 ป.5/1 รวม 20 ตวั ช้วี ัด
268 คำอธบิ ายรายวชิ า รหัสวิชา อ 16101 กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 เวลาเรยี น 80 ชวั่ โมง ปฏิบัติตามคำสงั่ คำขอรอ้ ง และคำแนะนำ ทฟ่ี งั และอ่าน อ่านออกเสียงขอ้ ความ นทิ านและบทกลอนสั้นๆ ถูกต้องตามหลักการอา่ น เลือก/ระบปุ ระโยคหรอื ขอ้ ความสัน้ ๆ ตรงตามภาพสญั ลักษณ์หรอื เครอ่ื งหมายทอ่ี า่ น บอกใจความสำคญั และตอบคำถามจากการฟังและอา่ นบทสนทนานิทานงา่ ยๆและเรอื่ งเล่า พดู /เขยี นโต้ตอบ ในการส่อื สารระหวา่ งบุคคล ใชค้ ำส่งั คำขอร้อง และใหค้ ำแนะนำ พูด/เขยี นแสดงความต้องการขอความ ช่วยเหลอื ตอบรับและปฏเิ สธการให้ ความชว่ ยเหลือ ในสถานการณ์งา่ ยๆ พดู และเขยี นเพอื่ ขอและให้ ขอ้ มูลเก่ียวกบั ตนเอง เพ่อื นครอบครัว และเรอ่ื งใกลต้ ัว พดู /เขียนแสดงความรู้สกึ ของตนเองเกี่ยวกบั เรอื่ ง ต่างๆ ใกลต้ ัว กจิ กรรมต่างๆพร้อมทงั้ ให้เหตุผลสั้นๆประกอบ พดู /เขียนใหข้ อ้ มลู เกี่ยวกบั ตนเองเพ่อื นและ สิง่ แวดล้อมใกลต้ ัว เขียนภาพแผนผงั แผนภูมิและตารางแสดงข้อมลู ตา่ งๆ ตามทฟี่ งั หรอื อา่ น พูด/เขียน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรอ่ื งต่างๆ ใกลต้ วั ใช้ถ้อยคำนำ้ เสยี งและกิรยิ าทา่ ทางอยา่ งสุภาพ เหมาะสมตาม มารยาทสงั คม และวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ใหข้ อ้ มลู เกีย่ วกับเทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลอง/ชีวิตความ เป็นอยู่ของเจ้าของภาษา เขา้ ร่วมกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมตามความสนใจ บอกความเหมอื น/ความ แตกตา่ งระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดตา่ งๆ การใชเ้ ครอื่ งหมายวรรคตอน และการลำดับคำ ตาม โครงสรา้ งประโยค ของภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทยเปรยี บเทยี บความเหมอื น/ความแตกต่าง ระหว่าง เทศกาล งานฉลองและประเพณีของ เจา้ ของภาษากับของไทย คน้ ควา้ รวบรวมคำศพั ทท์ ่เี ก่ยี วข้องกับกลมุ่ สาระการเรียนรูอ้ ่นื จากแหลง่ เรียนร้แู ละนำเสนอด้วยการพดู /การเขียน ใช้ภาษาส่อื สาร ในสถานการณต์ ่างๆ ทเ่ี กิดข้ึนในห้องเรยี นและสถานศกึ ษา ใชภ้ าษา ต่างประเทศในการสบื ค้นและรวบรวมขอ้ มูลตา่ งๆ โดยใชท้ ักษะกระบวนการสื่อสาร ฟัง พูด อา่ น เขยี น ผ้เู รียนเกดิ ความสามารถในการคดิ อยา่ งมเี หตผุ ล มคี วามมุ่งมน่ั ในการทำงาน มคี วามสามารถในการใช้ทักษะชีวิต มีความสามารถในการแก้ปัญหา และมี ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เพ่อื ให้นกั เรยี นมีเจตคตทิ ่ีดีต่อภาษาองั กฤษ ใฝ่รใู้ ฝเ่ รยี น มีวินัย มีความรับผิดชอบ มีความมงุ่ มั่นในการ ทำงาน มีความซอ่ื สตั ย์สุจรติ มคี วามรกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ สามารถดำเนินชีวิตประจำวัน ได้อยา่ งมีจรยิ ธรรม คณุ ธรรมและมีค่านิยมท่เี หมาะสม รหสั ตวั ชว้ี ัด ต 1.1 ป .6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ต 1.2 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป.6/5 ต 1.3 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ต 2.1 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 ต 2.2 ป.6/1 ป.6/2 ต 3.1 ป.6/1 ต 4.1 ป.6/1 ต 4.2 ป.6/1 รวม 20 ตัวช้วี ัด
269 คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน รหสั วิชา อ๒๑๑๐๑ (รายวชิ าภาษาอังกฤษ ๑) กลม8ุ สาระการเรียนร?ภู าษาต8างประเทศ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปGที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หน8วยกิต ศึกษาและฝRกทักษะเก่ียวกับการปฏิบัติตามคำส่ัง คำขอร?องคำแนะนำและคำช้ีแจงง8ายๆ อ8านออก เสียงข?อความ ได?ถูกต?องตามหลักการอ8าน อ8านนิทานและบทร?อยกรองส้ันๆ เลือกระบุประโยคและข?อ ความสัมพันธ\\กับส่ือที่ไม8ใช8ความเรียงจับใจความสำคัญจากเรื่องท่ีฟ`งและอ8านสนทนา แลกเปล่ียนข?อมูลเก่ียว ข?อมูลเกี่ยวกับตนเองกิจกรรมและสถานการณ\\ ต8างๆพูดและเขียนแสดงความต?องการขอความช8วยเหลือ ตอบ รับและแสดงความปฏิเสธกิจกรรมต8างๆใกล?ตัวพูดบรรยาย เก่ียวกับตนเองกิจวัตรประจำวัน ประสบการณ\\ สิ่งแวดล?อม ใกล?ตัว สรุป วิเคราะห\\เรื่องท่ีอย8ูในความสนใจของสังคม ใช? ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท8าทางตาม มารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ?าของภาษา เข?าร8วมหรือจัดกิจกรรมทางภาษา และวัฒนธรรมเก่ียวกับ เทศกาลวันสำคัญชีวิตความเปcนอยู8ประเพณีของเจ?าของภาษา บอกความเหมือนและความแตกต8าง เร่ืองการ ออกเสียง ประโยคชนิดต8างๆ การใช?เครื่องหมายวรรคตอน การลำดับคำตามโครงสร?างประโยคของเจ?าของ ภาษา อังกฤษกับภาษาไทยและเปรียบเทียบเทศกาลวันสำคัญและชีวิตความเปcนอยู8ของเจ?าของภาษากับของ ไทยค?นคว?ารวบรวม สรุปข?อมูลข?อเท็จจริงท่ีเก่ียวข?องกับกลุ8มสาระการเรียนรู?อ่ืน จากแหล8งเรียนรู?และนำเสนอ ด?วยการพูด การเขียน ใช?ภาษา สื่อสารในสถานการณ\\จริง สถานการณ\\จำลองท่ีเกิดข้ึนในห?องเรียนและ สถานศึกษา โดยใช?กระบวนการทางภาษา การสื่อสารการสืบเสาะหาความร?ูการสืบค?นข?อมูลการฝRกปฏิบัติตาม สถานการณ\\ ตา8 งๆ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีความตระหนักและรัก ท้องถิ่น ประเทศ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เห็นคุณค่าของภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลโดยใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์ สามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ รหัสตัวช้วี ดั ต ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ต ๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ต ๑.๓ ม.๑/๓ ต ๒.๑ ม.๑/๑ ต ๒.๒ ม.๑/๑ ต ๓.๑ ม.๑/๑ ต ๔.๒ ม.๑/๑ รวมทง้ั หมด 9 ตัวช้วี ดั
270 คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน รหัสวิชา อ๒๑๑๐๒ (รายวชิ าภาษาองั กฤษ ๒) กล8ุมสาระการเรยี นรภู? าษาตา8 งประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปทG ี่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หน8วยกติ ศึกษาการอ8านออกเสียงข?อความ นิทาน บทร?อยกรอง ถูกต?องตามหลักการอ8านออกเสียง บอกการ ลำดับคำตามโครงสร?างประโยคของภาษาต8างประทศและภาษาไทย ปฏิบัติตามและใช?คำสั่ง คำขอร?อง คำแนะนำ คำช้ีแจง การขอและให?ความช8วยเหลือ พูดและเขียนบรรยาย สรุปใจความสำคัญที่ได?จากการ วิเคราะห\\ แสดงความรู?สึกและความคิดเห็นเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ\\ เทศกาล วันสำคัญ ชีวิตความเปcนอยู8 และประเพณีที่อยู8ในความสนใจพร?อมทั้งให?เหตุผลประกอบ ระบุและเลือกข?อมูล ประโยค ข?อความ บท สนทนา นิทาน เร่ืองสั้นและตอบคำถามเก่ียวกับเร่ืองท่ีฟ`งหรืออ8าน ค?นคว?า รวบรวม สรุปข?อมูลจากส่ือและ แหล8งเรียนรู?ต8างๆ เพื่อใช?ในการศึกษาต8อและประกอบอาชีพ เปรียบเทียบประเพณี งานเทศกาล งานฉลอง วนั สำคัญ ชวี ติ ความเปนc อย8ู และวัฒนธรรมของเจา? ของภาษา เข?าร8วมและจดั กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม โดยใช?กระบวนการอ8าน การเขียน การฟ`ง การพูด การบรรยาย การสืบค?นข?อมูล การวิเคราะห\\ สามารถสื่อสารด?วยภาษา น้ำเสียง และกิริยาท8าทางสุภาพเหมาะสม ถูกต?องตามกาลเทศะ มีความใฝkเรียนร?ู ม8งุ มน่ั ในการทำงาน รักชาติ ศาสน\\ กษัตรยิ \\ และรกั ความเปcนไทย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีความตระหนักและรัก ท้องถ่ิน ประเทศ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เห็นคุณค่าของภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลโดยใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์ สามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน ชวี ติ ประจำวันได้ รหัสตวั ชี้วัด ต ๑.๑ ม.๑/๓, ม.๑/๔ ต ๑.๒ ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕ ต ๑.๓ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ต ๒.๑ ม.๑/๒, ม.๑/๓ ต ๒.๒ ม.๑/๒ ต ๔.๑ ม.๑/๑ รวมท้ังหมด 11 ตัวชว้ี ดั
271 คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน รหสั วชิ า อ๒๒๑๐๑ (รายวิชาภาษาองั กฤษ ๓) กลม8ุ สาระการเรียนรภู? าษาตา8 งประเทศ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปทG ี่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หน8วยกิต ศึกษาและปฏิบัติตามคำขอร?อง คำแนะนำ คำชี้แจง และคำอธิบายง8ายๆ ตามสถานการณ\\ต8างๆ สรุป ใจความสำคัญ และรายละเอียดสนับสนุน พร?อมทั้งแสดงความคิดเห็น ให?เหตุผล และยกตัวอย8างประกอบจาก การอ8านเรื่อง ข8าว เหตุการณ\\ ประกาศ กิจกรรม บทร?อยกรองส้ันๆ เรื่องใกล?ตัว ข?อมูลเก่ียวกับกิจวัตร ประจำวันของตนเอง เหตุการณ\\ท่ีอยู8ในความสนใจของสังคม สภาพอากาศ การเฉลิมฉลอง เทศกาล อาหาร งานเทศกาล วันสำคัญ ชีวิตความเปcนอย8ู วัฒนธรรม ประเพณีของเจ?าของภาษา ข?อมูล/ข?อเท็จจริงท่ีเก่ียวข?อง กับกล8ุมสาระการเรียนรู?อ่ืน ตำนานเร่ืองเล8า ภาพยนตร\\ ระบุ เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต8าง ระหว8างการออกเสียงประโยคชนิดต8าง ๆ และการลำดับคำตามโครงสร?างประโยคของภาษาอังกฤษและ ภาษาไทย พร?อมท้ังประชาสัมพันธ\\ข?อมูล ข8าวสารของโรงเรียนเปcนภาษาอังกฤษ ขอและให?ข?อมูล ใช?ทักษะใน การส่ือสารเพ่ือแสดงความต?องการ ความรู?สึก ความคิดเห็น ความช8วยเหลือเก่ียวกับตัวเอง กิจวัตรประจำวัน ประสบการณ\\ สถานการณต\\ า8 งๆ ในชีวติ ประจำวนั เชน8 ในห?องเรียน สถานศกึ ษา ชมุ ชน โดยการอ8านออกเสียง เขียน อธิบาย สืบค?น รวบรวม และสรุปข?อมูล หรือข?อเท็จจริง สรุป ใจความสำคัญ และนำเสนอ ประชาสัมพันธ\\ข?อมูล ข8าวสารของโรงเรียน ใช?ทักษะในการสื่อสาร ภาษา น้ำเสียงกิริยาท8าทางอย8างเหมาะสม ถูกต?องตามกาลเทศะ เข?าร8วมหรือจัดกิจกรรมทางภาษา และวัฒนธรรม ตามความสนใจให?เหมาะสมกบั บุคคล โอกาส และมารยาทสังคม และวฒั นธรรมของเจา? ของภาษา เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักและรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ สามารถนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ รหัสตัวช้ีวดั ต ๑.๑ ม. ๒/๓, ม. ๒/๔ ต ๑.๒ ม. ๒/๑, ม. ๒/๒, ม. ๒/๓ ต ๑.๓ ม. ๒/๑ ต 2.1 ม. 2/1 ต 2.2 ม. 2/2 ต ๓.๑ ม. ๒/๑ ต ๔.๑ ม. ๒/๑ ต ๔.๒ ม. ๒/๒ รวมท้งั หมด 11 ตัวชีว้ ัด
272 คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน รหัสวิชา อ๒๒๑๐๒ (รายวิชาภาษาอังกฤษ ๔) กลมุ8 สาระการเรยี นร?ภู าษาต8างประเทศ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปGท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน8วยกิต ศึกษาข?อมูลเก่ียวกับการบรรยาย กิจกรรม และสถานการณ\\ต8างๆ ในชีวิต ประจำวัน ประสบการณ\\ เช8น การไปพัก ผ8อนวันหยุด การเปรียบเทียบข8าวและเหตุการณ\\ที่อย8ูในความสนใจของสังคม ข?อมูลข8าวสาร ส่ือท่ีไม8ใช8ความเรียงรูปแบบต8างๆ และสถานการณ\\ต8างๆ ในชีวิตประจำวัน ความเจ็บปkวย สุขภาพ และการ ออกกำลังกาย ส8วนต8างๆ ของร8างกาย การสนทนาในสถานการณ\\ต8างๆ เก่ียวกับการซ้ือขายสินค?า ข?อมูล ส8วนตัว รายการโทรทัศน\\ ความบันเทิงต8างๆ ประเภทของดนตรี เครื่องดนตรีพ้ืนเมือง การแสดงความคิดเห็น กฎระเบียบของโรงเรียน ความร?ูด?านวิทยาศาสตร\\ เสียงและการได?ยิน ตลอดจนการจัดตารางนัดหมาย พร?อม ทั้งแสดงความคิดเห็น ให?เหตุผล และยกตัวอย8างประกอบจากการอ8านเร่ือง ข8าว เหตุการณ\\ ประกาศ กิจกรรม การลำดับคำตามโครงสร?างประโยคของภาษาอังกฤษและภาษาไทย รวมท้ังขอและให?ข?อมูล ใช?ทักษะในการ ส่ือสารเพื่อแสดงความต?องการ ความร?ูสึก ความคิดเห็น ความช8วยเหลือเก่ียวกับตัวเอง กิจวัตรประจำวัน ประสบการณ\\ สถานการณ\\ต8างๆ โดยการอ8านออกเสียง เขียน อธิบาย สืบค?น รวบรวม และสรุปข?อมูล หรือข?อเท็จจริง สรุป ใจความสำคัญ และนำเสนอ ประชาสัมพันธ\\ข?อมูล ข8าวสารของโรงเรียน ใช?ทักษะในการส่ือสาร ภาษา น้ำเสียงกิริยาท8าทางอย8างเหมาะสม ถูกต?องตามกาลเทศะ เข?าร8วมหรือจัดกิจกรรมทางภาษา และวัฒนธรรม ตามความสนใจใหเ? หมาะสมกับบคุ คล โอกาส และมารยาทสงั คม และวฒั นธรรมของเจ?าของภาษา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักและรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งม่ันในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ สามารถนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ รหสั ตวั ชี้วดั ต ๑.๑ ม. ๒/๑, ม. ๒/๒ ต ๑.๒ ม. ๒/๔, ม. ๒/๕ ต ๑.๓ ม. ๒/๒, ม. ๒/๓ ต ๒.๑ ม. ๒/๒, ม.2/3 ต ๒.๒ ม. ๒/๑ ต ๔.๒ ม. ๒/๑ รวมทัง้ หมด 10 ตัวชวี้ ัด
273 คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน รหัสวิชา อ๒๓๑๐๑ (รายวิชาภาษาอังกฤษ ๕) กล8ุมสาระการเรยี นรู?ภาษาตา8 งประเทศ ช้ันมัธยมศกึ ษาปทG ่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๕ หน8วยกิต ศึกษาการใช?คำขอร?อง ให?คำแนะนำ คำช้ีแจง คำอธิบายอย8างถูกต?องเหมาะสมตามกาลเทศะ อ8าน ออกเสียงคำศัพท\\ สำนวน ประโยค ข?อความ ข8าว โฆษณา และบทร?อยกรองสั้นๆ ได?ถูกต?องตามหลักการอ8าน เลือกระบุและเขียนหัวข?อเรื่อง ใจความสำคัญ และสื่อท่ีไม8ใช8ความเรียง รูปแบบต8างๆ แสดงความคิดเห็นจาก เร่ืองท่ีฟ`งและอ8าน พร?อมให?เหตุผลและยกตัวอย8างประกอบ พูดสนทนาและเขียนบรรยายข?อมูลเก่ียวกับ ตนเอง เรื่องต8างๆ ใกล?ตัว สถานการณ\\ ข8าว เรื่องท่ีอย8ูในความสนใจของสังคมได?อย8างถูกต?องเหมาะสมตาม กาลเทศะ เลือกใช?ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท8าทาง อธิบายเปรียบเทียบเกี่ยวกับชีวิตความเปcนอยู8 ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมของเจ?าของภาษากับวัฒนธรรมของไทย เข?าร8วมกิจกรรมทางภาษาและ วัฒนธรรมตามความสนใจ ค?นคว?า รวบรวม และสรุปข?อมูล ข?อเท็จจริง แล?วนำเสนอด?วยการพูดและการเขียน ท่ีเก่ียวข?องกับกล8ุมสาระการเรียนรู?อ่ืน จากแหล8งเรียนรู?และส่ือสารในสถานการณ\\ท่ีเกิดข้ึนในห?องเรียน สถานศกึ ษา ชุมชน และสงั คม อยา8 งถกู ต?องเหมาะสมตามกาลเทศะ โดยการอ8านออกเสียง เขียน อธิบาย สืบค?น รวบรวม และสรุปข?อมูล หรือข?อเท็จจริง สรุป ใจความสำคัญ และนำเสนอ ประชาสัมพันธ\\ข?อมูล ข8าวสารของโรงเรียน ใช?ทักษะในการส่ือสาร ภาษา น้ำเสียงกิริยาท8าทางอย8างเหมาะสม ถูกต?องตามกาลเทศะ เข?าร8วมหรือจัดกิจกรรมทางภาษา และวัฒนธรรม ตามความสนใจให?เหมาะสมกับบุคคล โอกาส และมารยาทสงั คม และวฒั นธรรมของเจ?าของภาษา เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักและรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ สามารถนำหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ รหัสตัวชีว้ ดั ต ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒ ต ๑.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒ ต ๑.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒ ต ๒.๑ ม.๓/๑ ต ๒.๒ ม.๓/๒ ต ๓.๑ ม.๓/๑ ต ๔.๑ ม.๓/๑ รวมทั้งหมด 10 ตวั ชว้ี ัด
274 คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน รหสั วิชา อ๒๓๑๐๒ (รายวิชาภาษาองั กฤษ ๖) กลม8ุ สาระการเรยี นรูภ? าษาตา8 งประเทศ ชนั้ มธั ยมศึกษาปทG ่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๕ หน8วยกติ ศึกษาความรู?เก่ียวกับคำขอร?อง คำแนะนำ คำช้ีแจง คำอธิบาย หลักการอ8านออกเสียงสื่อท่ีไม8ใช8ความ เสี่ยง การจับใจความสำคัญ การแสดงความคิดเห็น การให?เหตุผลและยกตัวอย8างประกอบ ข?อมูลเกี่ยวกับ ตนเอง เรื่องต8างๆ ใกล?ตัว ความต?องการ การเสนอการตอบรับและปฏิเสธการให?ความช8วยเหลือ การขอและให? ข?อมูล การอธิบาย เปรียบเทียบ การแสดงความรู?สึก การบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ\\ การจับ ใจความสำคัญ การวิเคราะห\\เรื่องเหตุการณ\\และสถานที่อยู8ในความสนใจ ศึกษาเปรียบเทียบเก่ียวกับภาษา น้ํา เสียง กิริยาท8าทาง ชีวิตความเปcนอยู8 ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม ของเจ?าของภาษา ความเหมือน ความแตกต8าง การออกเสียงประโยค ลำดับคำถามโครงสร?างประโยคของภาษาต8างประเทศและภาษาไทย ศึกษาการใช?ภาษาสื่อสารในสถานการณ\\จริง สถานการณ\\จำลอง การค?นคว?า การเผยแพร8ประชาสัมพันธ\\ ขา8 วสารของโรงเรยี น ชุมชนและสังคม โดยใช?กระบวนการทางภาษา คือ ฟ`ง พูด อ8านและเขียน การส่ือสาร การสืบเสาะความร?ู การสืบค?น ขอ? มลู การฝกR ปฏบิ ตั ติ ามสถานการณ\\ต8างๆ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักและรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ สามารถนำหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ รหัสตวั ช้ีวัด ต ๑.๑ ม.๓/๓, ม.๓/๔ ต ๑.๒ ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕ ต ๑.๓ ม.๓/๓ ต ๒.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๓ ต ๒.๒ ม.๓/๑ ต ๔.๒ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ รวมทงั้ หมด 11 ตัวชวี้ ดั
275 คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร รหสั วิชา อ11201 กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 เวลาเรยี น 40 ชวั่ โมง ฝก# ทกั ษะการฟ,งคำศพั ท2และบทสนทนาสน้ั ๆ งา: ยๆ ฝ#กการสนทนาโตต> อบโดยเนน> การใชน> ำ้ เสียง กริ ยิ า ทา: ทางทเี่ หมาะสมตามวฒั นธรรมเจา> ของภาษา ใช>เพลงทีม่ ีทำนองสนกุ สนานประกอบการเรียนการสอนเพือ่ ฝก# ความ กลา> แสดงออกในการใชภ> าษา โดยการสร>างสถานการณส2 มมุตทิ ่พี บเจอในชวี ติ ประจำวัน เช:น ตนื่ นอน (Getting up) อาบน้ำ (Taking a bath) แตง: ตัว (Getting dressed) และไปโรงเรียน (going to school) โดยใชก> ระบวนการทางภาษาทเี่ นน> การฟ,ง การสาธิต การเลียนแบบ การพูด และทำซำ้ จนเกดิ ทักษะ โดยเนน> แนวคิด “พ:อแมส: อนลูกพูดองั กฤษในชีวิตประจำวัน” เพือ่ ใหเ> กิดความเปนo ธรรมชาติในการใช>ภาษา โดยเนน> การฟ,งและพูด อนั จะเปนo การสรา> งพ้ืนฐานท่ีดใี นการ สือ่ สารภาษาอังกฤษ ส:งผลให>เกดิ ความกลา> และม่ันใจในการใชภ> าษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร Practice listening skills, vocabulary and short conversation. Emphasize the tone and acting. Create a situation that is found in everyday life, such as Getting up, Taking a bath, Getting dressed and going to school. The concept \"Parents teach English to children in everyday life\" To be natural for use second language.The result is courage and confidence in using English conversation. ผลการเรยี นรู้ 1. ใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร (การฟัง / การพูด)โดยเน้นคำศพั ทแ์ ละการสนทนาโตต้ อบเร่ืองตืน่ นอน (Getting up) อาบน้ำ (Taking a bath) แต่งตัว (Getting dressed) และไปโรงเรียน (going to school) ได้ 2. เกิดทักษะเบ้ืองตน้ ในการสอ่ื สาร มีความมนั่ ใจ และกล้าใช้ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สาร 3. เหน็ คุณค่าและความสำคัญในการใช้ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สารในชีวิตประจำวนั รวม 3 ผลการเรียนรู้
276 คำอธิบายรายวชิ าภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร อ 12201 conversation กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 เวลา 40 ชัว่ โมง จำนวน 1 หน่วยกติ ฝึกทกั ษะการฟงั คำศพั ท์และบทสนทนาสัน้ ๆ ง่ายๆ ฝึกการสนทนาโต้ตอบโดยเนน้ การใช้น้ำเสียง กิริยาทา่ ทางที่เหมาะสมตามวฒั นธรรมเจ้าของภาษา ใช้เพลงทม่ี ีทำนองสนุกสนานประกอบการเรยี นการสอน เพ่ือฝึกความกลา้ แสดงออกในการใชภ้ าษา โดยการสร้างสถานการณส์ มมุติทพี่ บเจอในชวี ิตประจำวนั เช่น ไป ซอ้ื ของ (Going Shopping) ไปทำบญุ (Making Merit) ไปเทย่ี วทะเล (Going to the sea) ไปเที่ยวสวน สัตว์ (Going to the zoo) โดยใชก้ ระบวนการทางภาษาท่ีเนน้ การฟงั การสาธติ การเลยี นแบบ การพูด และทำซำ้ จนเกิดทกั ษะ โดยเน้นแนวคดิ “พ่อแมส่ อนลกู พดู อังกฤษในชีวิตประจำวนั ” เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเป็นธรรมชาตใิ นการใช้ภาษา โดยเน้นการฟังและพดู อันจะเปน็ การสร้างพ้นื ฐานท่ีดีใน การสอื่ สารภาษาอังกฤษ ส่งผลใหเ้ กดิ ความกลา้ และมัน่ ใจในการใช้ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร Practice listening skills, vocabulary and short conversation. Emphasize the tone and acting. Create a situation that is found in everyday life, such as Going Shopping, Making Merit, Going to the sea ,Going to the zoo. The concept \"Parents teach English to children in everyday life\" To be natural for use second language.The result is courage and confidence in using English conversation. ผลการเรยี นรู้ 1. ใช้ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร (การฟงั / การพูด)โดยเนน้ คำศัพทแ์ ละการสนทนาโตต้ อบเร่อื ง (Going Shopping) ไปทำบญุ (Making Merit) ไปเท่ียวทะเล (Going to the sea) ไปเทยี่ วสวนสตั ว์ (Going to the zoo)ได้ 2. เกิดทักษะเบอื้ งต้นในการสอื่ สาร มคี วามม่ันใจ และกล้าใชภ้ าษาองั กฤษเพ่ือการสือ่ สาร 3. เห็นคุณค่าและความสำคัญในการใช้ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสารในชวี ิตประจำวนั รวม 3 ผลการเรียนรู้
277 คำอธบิ ายรายวิชาภาษาอังกฤษเพอื่ การสือ่ สาร อ 13201 conversation กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1 หน่วยกติ ฝกึ ทักษะการฟงั คำศพั ท์และบทสนทนาส้นั ๆ งา่ ยๆ ฝกึ การสนทนาโตต้ อบโดยเนน้ การใช้นำ้ เสยี ง กิรยิ า ท่าทางทเี่ หมาะสมตามวฒั นธรรมเจา้ ของภาษา ใช้เพลงทมี่ ีทำนองสนุกสนานประกอบการเรียนการสอนเพ่ือฝึกความ กล้าแสดงออกในการใช้ภาษา โดยการสรา้ งสถานการณ์สมมุติท่พี บเจอในชีวิตประจำวัน เช่น สขุ สนั ต์วนั เกดิ (Happy birthday) วนั สงกรานต์ (Songkran Day) วันลอยกระทง (Loy Krathong Day) วันคริสต์มาส (Chrismas Day) โดยใช้กระบวนการทางภาษาท่เี นน้ การฟงั การสาธิต การเลียนแบบ การพูด และทำซำ้ จนเกดิ ทักษะ โดยเนน้ แนวคิด “พอ่ แม่สอนลกู พดู องั กฤษในชวี ติ ประจำวนั ” เพอ่ื ให้เกดิ ความเป็นธรรมชาติในการใชภ้ าษา โดยเนน้ การฟงั และพูด อนั จะเปน็ การสรา้ งพน้ื ฐานทีด่ ีในการ สอ่ื สารภาษาอังกฤษ สง่ ผลให้เกิดความกล้าและมัน่ ใจในการใชภ้ าษาอังกฤษเพอื่ การส่ือสาร Practice listening skills, vocabulary and short conversation. Emphasize the tone and acting. Create a situation that is found in everyday life, such as Happy birthday, Songkran Day, Loy Krathong Day and Chrismas Day. The concept \"Parents teach English to children in everyday life\" To be natural for use second language.The result is courage and confidence in using English conversation. ผลการเรียนรู้ 1. ใชภ้ าษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร (การฟัง / การพดู )โดยเน้นคำศัพทแ์ ละการสนทนาโต้ตอบเรอื่ งสุขสันต์ วันเกิด (Happy birthday) วนั สงกรานต์ (Songkran Day) วันลอยกระทง (Loy Krathong Day) วันคริสต์มาส (Chrismas Day)ได้ 2. เกิดทกั ษะเบือ้ งตน้ ในการสอ่ื สาร มีความม่นั ใจ และกลา้ ใชภ้ าษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร 3. เหน็ คณุ ค่าและความสำคัญในการใช้ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสารในชวี ติ ประจำวัน
268 กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
269 กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน โรงเรยี นเทศบาลบ้านหนองบัวจดั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน โดยมุ่งใหผ้ เู้ รียนพฒั นาตนเองตาม ศกั ยภาพ พฒั นาอยา่ งรอบดา้ นเพ่อื ความเปน็ มนษุ ย์ท่สี มบรู ณ์ ทงั้ รา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และ สงั คม เสริมสรา้ งใหเ้ ปน็ ผูม้ ศี ีลธรรม จริยธรรม มรี ะเบยี บวินยั ปลกู ฝงั และสร้างจิตสำนึกของการทำ ประโยชนเ์ พือ่ สังคม สามารถจดั การตนเองได้ และอยู่รว่ มกบั ผ้อู นื่ อย่างมคี วามสขุ โรงเรียนเทศบาลบา้ นหนองบัว ไดจ้ ัดกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน โดยแบง่ ออกเปน็ 3 ลกั ษณะ ดังน้ี 1. กิจกรรมแนะแนว เปน็ กิจกรรมทส่ี ่งเสรมิ และพฒั นานักเรียนให้เรยี นรู้ ร้จู ัก เข้าใจรกั และ เหน็ คณุ คา่ ของตนเองและผอู้ ื่น สามารถวางแผนการเรียน อาชีพ การดำเนินชวี ิตและปรบั ตัวให้เข้ากบั สงั คมและอย่รู ่วมกบั ผ้อู ื่นไดอ้ ยา่ งมีความสขุ จัดให้มคี ณะกรรมการแนะแนว และครปู ระจำช้นั เปน็ ครใู หค้ ำปรึกษา โรงเรยี นเทศบาลบา้ น หนองบัว ไดจ้ ดั กิจกรรมแนะแนวเพอื่ ช่วยเหลือและพฒั นาผเู้ รียน โดยใช้กระบวนการจติ วิทยา การ จัดบรกิ ารสนเทศ จัดเอกสารสำรวจเพ่ือใชส้ ำรวจขอ้ มูลเกยี่ วกับตัวผ้เู รียน ด้วยการสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การเขยี นประวัติ การพบผู้ปกครองระหว่างการเรยี น การเย่ียมบ้าน การจดั ทำ ระเบยี นสะสม สมดุ รายงานประจำตัวนักเรียน การทำแบบทดสอบเพือ่ รจู้ กั และเข้าใจตนเอง มที กั ษะ ในการตัดสนิ ใจ การวางแผนเพอ่ื เลอื กศกึ ษาต่อ จัดหาทุนการศกึ ษาให้กับนกั เรียน ตดิ ตามเก็บข้อมลู ของผูเ้ รียนท่สี ำเร็จการศึกษา นกั เรยี นทุกคนต้องเข้ารว่ มกจิ กรรมแนะแนว 40 ชัว่ โมงต่อปีการศึกษาในระดับประถมศกึ ษา และ 20 ชัว่ โมงต่อภาคเรยี นในระดับมัธยมศึกษา แนวการจดั กจิ กรรมแนะแนว 1. จัดสอนสปั ดาหล์ ะ 1 ชัว่ โมงโดยมคี รูแนะแนวเปน็ ผสู้ อน 2. จัดกจิ กรรมโฮมรมู เวลา 08.15 – 08.30 โดยครูประจำชน้ั เปน็ ผ้จู ัดกิจกรรม 3. กำหนดสัดส่วนสาระของกจิ กรรมในแต่ละด้านใหเ้ หมาะสมกบั วฒุ ภิ าวะของผู้เรยี น 4. จดั ทำโครงสร้างของแตล่ ะกิจกรรม 5. ปฏิบตั ติ ามแผน วัดและประเมนิ ผล สรุปรายงาน แนวทางการประเมนิ ผลกิจกรรมแนะแนว 1. เวลาเขา้ ร่วมกจิ กรรมไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 2. การเข้าร่วมปฏิบตั ิกจิ กรรม 3. ผลงาน / ชน้ิ งาน /คุณลักษณะของผู้เรียน อยใู่ นระดับ “ผ่าน” 2. กิจกรรมนกั เรียน เป็นกจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ และพฒั นานกั เรียนให้ ผูเ้ รยี นได้เขา้ รว่ มกิจกรรม ตามความถนดั ความสนใจ โดยเน้นเร่อื งคุณธรรมจริยธรรม ไมเ่ ห็นแก่ตัว มรี ะเบยี บวินัย มีความเปน็ ผนู้ ำ ผ้ตู ามที่ดี มคี วามรบั ผิดชอบการทำงานร่วมกนั รจู้ กั การแกป้ ัญหา การตัดสินใจ ความมีเหตุผล การชว่ ยเหลอื แบ่งปัน เอื้ออาทรและสมานฉันท์ กจิ กรรมนกั เรยี นประกอบดว้ ย 2.1 กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี นกั เรียนทกุ คนตอ้ งเขา้ รว่ มกิจกรรมลูกเสอื – เนตร นารี 30 ชวั่ โมงตอ่ ปีการศึกษาระดับประถมศึกษา 10 ช่วั โมงต่อภาคเรียนระดับมัธยมศึกษาปที ี่ 1- 2 และ 15 ช่ัวโมงตอ่ ภาคเรยี นในระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ในภาคเรียนท่ี 1 ผ้เู รียนทกุ คนได้ฝกึ อบรม
270 ลกู เสือ เนตรนารี เพือ่ ส่งเสรมิ หลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย สง่ เสริมความสามคั คี มวี นิ ัย และบำเพญ็ ประโยชน์ต่อสงั คม แนวการจดั กิจกรรม ลูกเสอื - เนตรนารี 1. จัดสอนสปั ดาหล์ ะ 1 ชว่ั โมง ในวันพฤหสั บดพี ร้อมกนั ทัง้ โรงเรยี น 2. นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3 เป็นลูกเสอื – เนตรนารี สำรอง นักเรียน ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 – 6 เปน็ ลูกเสือ – เนตรนารี สามญั และระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ เปน็ ลูกเสอื – เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่ 3. การจัดกจิ กรรมลกู เสือ – เนตรนารี จดั กิจกรรมตามพระราชบญั ญัติลกู เสอื พ.ศ. 2551 มาตรา 8 4. การสอบวชิ าชาวค่าย ลกู เสอื สำรองเขา้ คา่ ยกลางวนั เป็นเวลา 1 วัน ลกู เสือสามญั และลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่เข้าคา่ ยแรมคืนเปน็ เวลา 3 วัน 2 คนื 2.2 กจิ กรรมชุมนมุ นกั เรียนทกุ คนตอ้ งเข้าร่วมกจิ กรรมชมุ นุม 40 ชวั่ โมงตอ่ ปีระดับ ประถมศกึ ษา 20 ช่ัวโมงต่อภาคเรียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ผเู้ รยี นจะรว่ มกิจกรรมอย่างหลากหลายประกอบด้วยกิจกรรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ศีลธรรม การเข้าคา่ ยคุณธรรม กจิ กรรมดา้ นวัฒนธรรม ประเพณี การอนุรกั ษ์ สง่ิ แวดลอ้ ม ส่งเสริมประชาธิปไตย ส่งเสริมการเรยี นรู้ สง่ เสรมิ ด้านศลิ ปะ หตั ถกรรม ค่ายวชิ าการ การศกึ ษาดงู าน การฝึกปฏิบตั ิ กิจกรรมแขง่ ขันกรฑี าสี แนวการจัดกจิ กรรมชมุ นุม 1. การจัดกิจกรรมชุมนุมสัปดาห์ละ 1 ชวั่ โมง ทั้งในและนอกโรงเรียน 2. การจดั ต้ังชุมนมุ จากความสนใจของผูเ้ รยี นในการเข้าเลอื กชมุ นมุ 3. ผูเ้ รยี นร่วมกันจดั ตง้ั ชุมนุมและเชญิ ครูเป็นที่ปรกึ ษา โดยร่วมกนั ดำเนนิ กจิ กรรมชุมนุม ตามระเบียบปฏบิ ตั ทิ โ่ี รงเรยี นกำหนด 4. ถอดประสบการณ์แลกเปล่ยี นเรียนรแู้ ละเผยแพร่กจิ กรรม 5. ครูท่ปี รึกษากิจกรรมประเมินตามหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล กิจกรรมชมุ นุมทส่ี ถานศึกษาดำเนนิ การ 1. พชื ผักสวนครัว 2. สวยหล่อเลอื กได้ 3. งานประดิษฐส์ รา้ งสรรค์ 4. ปยุ๋ อนิ ทรีย์ 5. อาหารท้องถนิ่ ไทย 6. การจัดการขยะ ฯ 7. เอกลักษณ์ดนตรแี ละนาฏศิลป์ไทย 8. ดุรยิ างค์ 9. เกษตรพอเพียง 10. กฬี า
271 แนวทางการประเมินผลกิจกรรมนักเรียน 1.ทดสอบความสามารถและพัฒนาการด้านตา่ ง ๆ ประเมนิ ตามสภาพจรงิ 2. กำหนดเกณฑก์ ารประเมิน “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” ผา่ น หมายถึง ผู้เรยี นมเี วลาเข้าร่วมกจิ กรรมไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 ปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงาน / ชนิ้ งาน/ คณุ ลักษณะตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากำหนด ไมผ่ ่าน หมายถึง ผเู้ รยี นมเี วลาเข้าร่วมกิจกรรมน้อยกว่าร้อยละ 80 ไมผ่ ่านปฏิบัติ กิจกรรม มผี ลงาน/ ชิน้ งาน/ คณุ ลกั ษณะไม่เปน็ ตามเกณฑท์ สี่ ถานศกึ ษากำหนด 3. กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่สี ง่ เสรมิ และพฒั นานักเรียนให้ ผูเ้ รียนไดท้ ำประโยชน์ตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมคั ร เพือ่ แสดงถึง ความรบั ผดิ ชอบ ความดีงาม ความเสยี สละตอ่ สงั คม มจี ิตใจมงุ่ ทำประโยชนต์ ่อครอบครวั ชุมชนและ สังคม นกั เรียนทุกคนต้องเขา้ รว่ มกิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ระดบั ประถมศกึ ษาปีที่ 1-6 จำนวน 10 ชั่วโมงต่อปกี ารศกึ ษา ระดบั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1-3 จำนวน 15 ช่วั โมงต่อปกี ารศึกษา แนวการจัดกจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ 1.จัดกิจกรรมอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในเวลาเรยี นและนอกเวลาเรียนโดยการบรู ณาการในกลุม่ สาระ หรอื กิจกรรมแนะแนว ลูกเสือ – เนตรนารี ชมุ นมุ ในลักษณะเพื่อสงั คมหรือสาธารณประโยชน์ 2. มคี รูท่ปี รึกษากจิ กรรมทุกกจิ กรรม 3. เนน้ ผเู้ รยี นเป็นผู้จัดกจิ กรรม / รายงานตนเอง / ช้ินงาน 4. จดั กิจกรรมเวลาใดก็ได้โดยไมจ่ ำกัดเวลา สถานที่ / รูปแบบ / กจิ กรรม ผเู้ รยี นจะรว่ มกจิ กรรมตามวฒุ ภิ าวะอย่างหลากหลาย เหมาะสมกบั เพศ วยั ประกอบดว้ ย 1. กจิ กรรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ทำความสะอาดวดั ทอ่ี ยูใ่ นตำบล ร่วมกิจกรรม งานวัดในวันสำคญั ทางศาสนา 2. กจิ กรรมดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม อนุรกั ษล์ ำน้ำแม่สา ลอกคูคลองในระดับมัธยมศกึ ษา ปลกู ตน้ ไม้ทางเขา้ หมู่บ้าน วดั โรงเรียน 3. กิจกรรมรณรงค์ การเผาขยะ การรณรงคไ์ ปใช้สทิ ธิเลือกต้งั การร่วมกิจกรรม ในวันสำคัญต่างๆ การอนรุ กั ษ์ศิลปวฒั นธรรม แนวทางการประเมินผลกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ มี 2 ระดบั คือ “ผา่ น” หมายถงึ ผู้เรยี นมเี วลาเข้าร่วมกิจกรรมตงั้ แต่ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป และผ่านจดุ ประสงค์ ทส่ี ำคัญของแตล่ ะกิจกรรม “ไมผ่ ่าน” หมายถึง ผ้เู รียนมเี วลาเข้าร่วมกิจกรรมต่ำกว่าร้อยละ 80 หรือไม่ผา่ น จดุ ประสงค์ทีส่ ำคญั ของแตล่ ะกิจกรรม ผู้เรียนตอ้ งได้รบั การตัดสนิ การเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียนครบทกุ กิจกรรมตามโรงเรียนกำหนด ในระดบั “ผา่ น” ในแตล่ ะชนั้
272 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ก า ร วั ด แ ล ะ ป ร ะ เมิ น ผ ล ก า ร เรี ย น รู้ ข อ ง ผู้ เรี ย น ต้ อ ง อ ยู่ บ น ห ลั ก ก า ร พ้ื น ฐ า น ส อ ง ป ร ะ ก า ร คื อ การประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลสำเร็จน้ัน ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการ เรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซ่ึงเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และ ระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็น ข้อมูลและสารสนเทศท่ีแสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจน ข้อมูลท่เี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การส่งเสริมให้ผู้เรยี นเกิดการพฒั นาและเรียนรู้อย่างเตม็ ตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอียด ดงั น้ี ๑. การประเมินระดับช้ันเรียน เป็นการวัดและประเมินผลท่ีอยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน ดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพ่ือนประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมนิ ในกรณที ่ไี มผ่ า่ นตวั ชี้วัดใหม้ ีการสอนซอ่ มเสริม การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าใน การเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งท่ีจะต้องได้รับ ก ารพั ฒ น าป รับ ป รุงแ ล ะ ส่ งเส ริม ใน ด้ าน ใด น อ ก จ าก นี้ ยั งเป็ น ข้ อ มู ล ให้ ผู้ ส อ น ใช้ ป รับ ป รุง การเรยี นการสอนของตนดว้ ย ท้ังน้ีโดยสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด ๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนินการเพ่ือตัดสินผลการเรียน ของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพ่ือให้ได้ข้อมูลเก่ียวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อ การเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของ ผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและ สารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพ่ือการ จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการ รายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผูป้ กครองและชมุ ชน ๓. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณ ภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐาน การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนใน
273 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เข้ารับ การประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพ่ือนำไปใช้ ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจในระดับนโยบายของ ประเทศ เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการเรียน ๑. การตัดสนิ การให้ระดบั และการรายงานผลการเรียน ๑.๑ การตัดสินผลการเรยี น ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้การอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องคำนึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และต้อง เก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมท้ังสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนา จนเตม็ ตามศกั ยภาพ ระดับประถมศึกษา (๑) ผเู้ รียนตอ้ งมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทง้ั หมด (๒) ผเู้ รยี นต้องไดร้ ับการประเมนิ ทุกตวั ช้ีวัดและผ่านตามเกณฑท์ ่สี ถานศึกษากำหนด (๓) ผู้เรยี นต้องได้รับการตดั สินผลการเรียนทกุ รายวชิ า (๔) ผู้เรียนตอ้ งได้รับการประเมนิ และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษา กำหนด ในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขยี น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน ระดบั มัธยมศึกษา (๑) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผเู้ รียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่นอ้ ย กวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทงั้ หมดในรายวิชาน้ัน ๆ (๒) ผูเ้ รยี นตอ้ งได้รบั การประเมนิ ทุกตวั ชวี้ ดั และผ่านตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากำหนด (๓) ผูเ้ รยี นต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทกุ รายวชิ า (๔) ผูเ้ รียนตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ และมผี ลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา กำหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน การพิจารณาเล่ือนช้ันทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียง เล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาท่ี จะผ่อนผัน ให้เลื่อนช้ันได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียน ในระดับช้ันท่ีสูงขึ้นสถานศึกษาอาจต้ังคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ท้ังนี้ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและ ความรู้ความสามารถของผ้เู รยี นเป็นสำคัญ
274 ๑.๒ การให้ระดบั ผลการเรยี น ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพ่ือให้ระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถให้ ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ และระบบที่ใช้คำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน เช่น ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น ๘ ระดับ ๐ , ๑ , ๑.๕ , ๒ , ๒.๕ , ๓ , ๓.๕ , ๔ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับ ผลการประเมินเป็น ดีเยย่ี ม ดี และผา่ น การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาท้ังเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ กจิ กรรมและผลงานของผเู้ รียน ตามเกณฑ์ท่สี ถานศกึ ษากำหนด และให้ผลการเขา้ ร่วมกจิ กรรมเป็นผา่ น และไม่ผ่าน ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสินเพ่ือให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับ ผลการเรียนเป็น ๘ ระดบั ๐ , ๑ , ๑.๕ , ๒ , ๒.๕ , ๓ , ๓.๕ , ๔ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผลการ ประเมนิ เป็น ดเี ยยี่ ม ดี และผา่ น การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ กิจกรรมและผลงานของผ้เู รยี น ตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากำหนด และใหผ้ ลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และไมผ่ ่าน ๑.๓ การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะ ๆ หรืออยา่ งนอ้ ยภาคเรยี นละ ๑ ครัง้ การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อน มาตรฐานการเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒. เกณฑก์ ารจบการศึกษา โรงเรยี น.เทศบาลบา้ นหนองบัว กำหนดเกณฑ์สำหรับการจบการศึกษาเป็น 2 ระดับ คือ ระดับประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ๒.๑ เกณฑ์การจบระดบั ประถมศกึ ษา (๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐานตาม โครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกำหนด และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามท่ี สถานศกึ ษากำหนด (๒) ผู้เรยี นต้องมีผลการประเมนิ รายวชิ าพื้นฐาน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
275 (๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามทสี่ ถานศึกษากำหนด (๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศกึ ษากำหนด (๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศึกษากำหนด ๒.๒ เกณฑ์การจบระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม (ไม่น้อยกว่า ๘๑ หน่วยกิต) โดยเป็นรายวิชา พื้นฐาน ๖๖ หนว่ ยกติ และรายวิชาเพิม่ เติมตามทส่ี ถานศึกษากำหนด (๒) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา พื้นฐาน ๖๖ หนว่ ยกิต และรายวิชาเพม่ิ เติมไม่น้อยกว่า ๑๑ หน่วยกิต (๓) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด (๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศกึ ษากำหนด (๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศกึ ษากำหนด ๓. เอกสารหลักฐานการศึกษา โรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัวได้กำหนดเอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสำคัญท่ีบันทึกผลการ เรียน ข้อมูลและสารสนเทศ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับพัฒนาการของผเู้ รียนในด้านตา่ ง ๆ แบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท ดังนี้ ๑. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด ๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของ ผู้เรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและออกเอกสารน้ี ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เม่ือผู้เรียนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖) จบการศึกษา ภาคบังคับ (ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓) จบการศึกษาข้ันพื้นฐาน(ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖) หรือเมื่อลาออกจาก สถานศึกษาในทกุ กรณี ๑.๒ ประกาศนียบัตร เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพ่ือรับรองศักดิ์และสิทธิ์ของผู้จบ การศึกษา ที่สถานศึกษาให้ไว้แก่ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ และผู้จบการศึกษาข้ันพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑
276 ๑.๓ แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายชื่อ และข้อมูลของผู้จบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖) ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ (ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓) และผ้จู บการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖) ๒. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาทส่ี ถานศึกษากำหนด เป็นเอกสารท่ีสำคัญของนักเรียนท่ีสถานศึกษาจัดทำข้ึนเพ่ือบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสำคัญ เกี่ยวกับผู้เรียน ซ่ึงกำหนดเป้าหมายหรือคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของนักเรียนแต่ละคน สำหรับเอกสารการวดั ผลและประเมินผลการเรียนควรมี ดังนี้ ๑. เอกสารแสดงผลการเรยี นร้ขู องผู้เรียน ๒. แบบบนั ทึกผลการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนในรายวชิ าต่าง ๆ ๓. แบบรายงานการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นเปน็ รายบุคคล ๔. ระเบียนสะสมแสดงพัฒนาการดา้ นต่าง ๆ ๕ แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ การเทียบโอนผลการเรยี น การเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียน ในกรณีต่างๆได้แก่ การย้ายโรงเรียน การเปล่ียนรูปแบบ การศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคัน และการขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อการศึกษาจากต่างประเทศ และการขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ โรงเรียนจะดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก ที่โรงเรียนรับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ท้ังน้ี ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่อง ในโรงเรียนท่ีรับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยโรงเรียนที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควรกำหนด รายวิชา/จำนวนหนว่ ยกติ ทจี่ ะรบั เทียบโอนตามความเหมาะสม การพจิ ารณาการเทยี บโอน มีกระบวนการดงั นี้ ๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอืน่ ๆ ท่ใี ห้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของผู้เรียน ๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้ง ภาคความรู้ และภาคปฏบิ ตั ิ ๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏิบตั ิในสภาพจรงิ การเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามประกาศ หรือแนวปฏิบตั ิของกระทรวงศึกษาธิการ
277 แนวทางการวัดและประเมินผลในชนั้ เรียน ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน จากแนวคิดที่ว่า “การเรียนรู้ของนักเรียนทุกคนจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและเท่าเทียมกัน เพราะ การ เรียนรู้นำการศึกษา โรงเรียนอาจหยุดได้ แต่การเรียนรู้หยุดไม่ได้และการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุก เวลา การ เรียนรู้ของผู้เรียนไม่ได้จำกัดเฉพาะในช้ันเรียนเท่าน้ัน” ประกอบ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีนโยบายให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายรูปแบบ ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติด เช้ือไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) โดยให้สถานศึกษาพิจารณารูปแบบการจัดการศึกษาท่ีข้ึนอยู่กับสภาพ บริบท ความเหมาะสม และความปลอดภัยของพ้ืนที่แต่ละแห่ง จากแนวคิดและแนวปฏิบัติเชิงนโยบายดังกล่าว ข้างต้น จะเห็นได้ว่าเมื่อการเรียนรู้ของนักเรียน เกิดข้ึนอย่างต่อเน่ือง ไม่หยุดนิ่ง ท้ังสถานที่จัดการเรียนรู้ และ เวลาท่ีเรียนรู้ โดยท่ีการวัดและประเมินผล ผู้เรียนก็ควบคู่ไปพร้อมกับการจัดการเรียนรู้ของครูเช่นเดียวกัน ดังน้ัน เพื่อให้การวัดและประเมินผล สามารถสะท้อนคุณภาพของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พ.ศ.2551 2561 และ สามารถนำผลไปใช้พัฒนาผู้เรียนได้อย่างแท้จริง สอดคล้องกับบริบทแต่ละ พ้ืนฐาน สำนักทดสอบทาง การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงได้จัดทำแนวปฏิบัติการ วัดและประเมินผลใน ช้ันเรียน ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) โดย ให้คำนึงถึง มาตรการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) สำหรับให้ สถานศกึ ษาและ ครผู สู้ อนนำไปใช้วางแผนและเปน็ กรอบในการดำเนินงาน ดังน้ี 1.การวัดและประเมินผลผู้เรียน แต่ละระดับการศึกษาเน่ืองจากผู้เรียนแต่ละระดับการศึกษา มี ธรรมชาติและความซับซ้อนของพฤติกรรมการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน ดังนั้น การวัดและประเมินผลผู้เรียน จึงต้อง กำหนดรูปแบบและวิธีการให้เหมาะสมกับธรรมชาติและระดับความรู้ความสามารถของผู้เรียนในแต่ละระดับ การศกึ ษา ดังนี้ ระดับประถมศกึ ษา เป็นการประเมินที่มุ่งเน้นตรวจสอบความรู้ความสามารถ ทักษะ และ คุณลักษณะของผู้เรียน ตาม มาตรฐานและตัวชี้วัดในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนในระดับการศึกษาน้ี จึงมุ่งเน้นให้มีความรู้ความสามารถท้ังด้าน ความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะ เพ่ือให้ ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถทั้งด้านการอ่าน การเขยี น คิดคำนวณ และการส่ือสารด้วยวิธกี ารตา่ ง ๆ สรุป แนวปฏบิ ัตไิ ดด้ ังน้ี 1) ใช้วิธีการและรูปแบบการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมและหลากหลายผสมผสานกันไป เช่น การ สังเกต การสัมภาษณ์ การตรวจผลงาน การประเมินภาคปฏิบัติ การประเมินโดยใช้แฟ้มสะสม ผลงาน และการ ทดสอบ เปน็ ตน้ 2) ครูผู้สอนจัดทำเคร่ืองมือวัดและประเมินผลให้ผู้เรียนเป็นผู้ส่งข้อมูลสารสนเทศผลการ ประเมิน ยอ้ นกลบั ให้ครูผสู้ อน 3) ประสานขอความร่วมมือจากผ้ปู กครองให้เข้ามามีส่วนรว่ มในการประเมินผ้เู รียน 4) สามารถไปตรวจเยี่ยมบ้านของผู้เรียน เพื่อตรวจสอบและประเมินความสามารถของผู้เรียน โดย คำนึงสภาพและความพร้อมของแต่ละพ้ืนที่
278 5) มีการจัดทำตารางนัดหมายผู้เรียนเป็นกลุ่มเพื่อประเมินผลการทำกิจกรรมร่วมกัน 6) มีการใช้ แบบทดสอบรปู แบบตา่ ง ๆ ในการวัดและประเมนิ ผูเ้ รยี นตามความเหมาะในแต่ละ ระดับช้นั ระดับมธั ยมศกึ ษา เป็นการประเมินที่มุ่งเน้นตรวจสอบความรู้ความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะของผู้เรียน ตาม มาตรฐานและตัวช้ีวัดในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 การจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนในระดับการศึกษาน้ี จึงมุ่งเน้นให้มีความรู้ความสามารถทั้งด้าน ความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะ เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถท้ังด้านการอ่าน การเขียน คิดคำนวณ และการสื่อสารด้วยวิธีการต่าง ๆ รวมท้ังผู้เรียนยังมีความสามารถในด้านการใช้ เทคโนโลยเี ปน็ อยา่ งดี สรปุ แนวปฏบิ ัติได้ดงั น้ี 1) ใช้การวัดและประเมนิ ผลผูเ้ รียนด้วยวธิ ีการและรปู แบบท่หี ลากหลายผสมผสานกนั ไป เช่น การ สงั เกต การสัมภาษณ์ การตรวจผลงาน การประเมินภาคปฏิบตั ิ การประเมนิ โดยใชแ้ ฟ้มสะสมผลงาน และ การทดสอบ เปน็ ต้น 2) อาจมีท้ังการทดสอบ โดยใช้ข้อสอบและกระดาษคำตอบผ่านระบบการสอบออนไลน์ การทดสอบ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป เปน็ ตน้ 3) มกี ารใช้เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์สำหรบั การบริหารจัดการทดสอบและประเมินผ้เู รียน ดงั น้นั ใน การวัดและประเมินผล ครูผู้สอนสามารถจัดระบบให้ผู้เรียนสามารถส่งข้อมูลสารสนเทศผลการประเมิน ยอ้ นกลับได้ดว้ ยตนเองไปใหค้ รูผู้สอน โดยใช้จดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Mail) หรือชอ่ งทางการสือ่ สารอ่ืน ๆ 4) ประสานขอความร่วมมอื จากผูป้ กครองให้เขา้ มามสี ่วนรว่ มในการประเมินผู้เรยี น 5) สามารถไปตรวจเยี่ยมบ้านของผู้เรียนเพื่อประเมินและตรวจสอบความรู้ความสามารถของผู้เรียน โดยคำนึงสภาพและความพร้อมของแต่ละพืน้ ท่ี 6) จัดทำตารางนัดหมายผู้เรียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เพื่อทำกิจกรรมการเรียนการสอนควบคู่กับการวัดและ ประเมินผล ท้งั ทสี่ ถานศึกษาและที่บา้ นนกั เรียน 2. การวดั และประเมินผลตามพฤติกรรมของมาตรฐานและตวั ชวี้ ดั เนื่องจากมาตรฐานและตวั ช้ีวดั ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีลักษณะพฤติกรรมที่แสดงออก 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ (Knowledge) ด้านทักษะ กระบวนการ (Process skill) และด้านคุณลักษณะ (Attribute) ดังน้ัน การวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียน จึง จำเปน็ ตอ้ งพิจารณาและกำหนดรปู แบบวธิ กี ารใหเ้ หมาะสมกับลกั ษณะของพฤติกรรมที่ต้องการวดั ดงั นี้ 2.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) การวัดและประเมินผลใช้การทดสอบเปน็ หลกั ข้อสอบท่ใี ช้ในการทดสอบมีท้งั ขอ้ สอบแบบ เลือกตอบและข้อสอบแบบเขียนตอบ ควรใช้วิธีการทดสอบที่หลากหลาย ได้แก่ การใช้โปรแกรม สำเร็จรูปทั้งรูปแบบออนไลน์และรูปแบบท่ีไม่ได้เชื่อมต่อในคอมพิวเตอร์เครือข่าย (ออฟไลน์) โดยให้ผู้เรียน สามารถสอบท่บี ้านได้ยดื หย่นุ ตามสถานการณท์ เี่ กิดขึ้น 2) มกี ารมอบหมายงาน นัดหมายเปน็ กล่มุ สำหรับการใช้ข้อสอบแบบเลือกตอบ ควรจัดทำ ชดุ ข้อสอบตามมาตรฐานและตัวช้ีวัด และมีการนัดหมายช่วงเวลาในการทดสอบกับผู้เรยี นลว่ งหนา้ 3) การทดสอบด้วยข้อสอบแบบเขียนตอบ ควรกำหนดให้ผู้เรียนเขียนคำตอบลงใน กระดาษคำตอบ แลว้ จดั ส่งข้อมลู การทำข้อสอบมาใหค้ รผู สู้ อนผา่ นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศตา่ ง ๆ
279 4) สามารถวัดพฤติกรรมด้านความรู้ของผู้เรียน ผ่านการทำรายงานท่ีสะท้อนถึงพฤติกรรมตาม ตวั ชวี้ ดั แล้วจัดสง่ รายงานยอ้ นกลบั มายังครูผูส้ อน ผา่ นระบบเทคโนโลยตี ่าง ๆ 2.2 ด้านทักษะกระบวนการ (Process skill) 1) การวดั และประเมินผลใชก้ ารประเมนิ ภาคปฏบิ ัติเปน็ หลกั เนน้ การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ท่ีบ้าน ใช้แบบประเมินการปฏิบัติงาน แบบตรวจสอบรายการ แบบบันทึกผลงาน และแบบบรรยากาศ ปฏบิ ตั ิงาน เปน็ ต้น 2) วธิ กี ารจดั สง่ งาน สามารถใชก้ ารถ่ายวดี ทิ ศั น์ การถา่ ยรูปภาพผลงาน การบนั ทกึ เสยี ง โดย ประสานขอความรว่ มมือจากผ้ปู กครองเขา้ มามสี ่วนรว่ มในการประเมินทกั ษะกระบวนการของผเู้ รยี น 3) สามารถไปตรวจเย่ยี มบา้ นของผูเ้ รียน เพื่อประเมินและตรวจสอบความสามารถดา้ นทักษะ และการปฏิบัตงิ านของผเู้ รยี น โดยพิจารณาถงึ สภาพ ความปลอดภยั และมาตรการของแตล่ ะพ้ืนที 4) มกี ารมอบหมายงานเปน็ กลมุ่ เล็ก ๆ ใหป้ ฏิบัติงานทงั้ ท่ีบา้ นหรือสถานศึกษา เพ่ือจะไดท้ ำ การประเมนิ ทักษะการปฏบิ ตั ิงานของผู้เรยี น 2.3 ด้านคุณลกั ษณะ (Attribute) 1) การวดั และประเมนิ ผล ใช้การสงั เกตและตรวจสอบพฤตกิ รรมเปน็ หลกั เคร่ืองมอื วัดและ ประเมนิ ผ้เู รยี นมีหลากหลายประเภท เชน่ แบบสมั ภาษณ์ แบบสังเกต แบบตรวจสอบรายการ และแบบ ประเมินตนเอง เปน็ ตน้ 2) ควรประสานขอความรว่ มมือกับผู้ปกครองในการประเมินพฤติกรรมของผเู้ รยี นผ่านการ ดำเนินชีวิตประจำวนั การทำกจิ กรรมทบี่ า้ น การมอบหมายให้ปฏิบตั งิ าน เปน็ ต้น 3) สามารถไปตรวจเยี่ยมบ้านของผู้เรียนเพือ่ ประเมนิ และตรวจสอบคณุ ลักษณะของผ้เู รียน โดยพิจารณาถงึ สภาพ ความปลอดภยั และมาตรการของแต่ละพ้นื ท่ี 4) มีการมอบหมายงานให้ผเู้ รยี นปฏิบตั งิ าน นัดหมายร่วมกนั เปน็ กลุ่มเลก็ ๆ เพ่อื สังเกต พฤตกิ รรมและตรวจสอบคณุ ลักษณะของผู้เรียน 3. การวัดและประเมินผลแตล่ ะจุดมุ่งหมาย การวัดและประเมินผลผ้เู รยี นมีจุดมุ่งหมายสำคัญ คอื 1) การวัดและประเมินผลเพ่ือปรับปรุงและพัฒนา (Formative Assessment/Assessment For Learning/ Assessment As Learning 2) การวัดและประเมินผลเพ่ือสรุปผลการเรียนรู้ (Summative Assessment/Assessment Of Learningดังนน้ั ครูผ้สู อนควรกำหนดรปู แบบและแนวทางการวดั และประเมนิ ผลในแต่ละจดุ มงุ่ หมาย ดงั นี้ 3.1 การวดั และประเมนิ ผลเพื่อปรบั ปรุงและพฒั นา เป็นการวดั และประเมินคณุ ภาพผเู้ รียนที่ เกิดขนึ้ ระหวา่ งการเรยี นการสอนตลอดปีการศกึ ษา/ภาคเรียน สรุปแนวปฏบิ ัติไดด้ งั นี้ 1) ยึดหลักการประเมนิ และการเรียนร้ขู องผู้เรียนเป็นเร่อื งเดียวกัน ไม่แยกสว่ น เนน้ การ ประเมินเพ่อื พัฒนา และตรวจสอบพัฒนาการเรียนรู้ของผเู้ รยี นอยา่ งตอ่ เน่ือง 2) ออกแบบและวางแผนเก่ียวกบั วิธกี ารและเคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวัดและประเมินผลตาม มาตรฐานและตวั ช้ีวัด ในแตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรขู้ องแต่ละกลุม่ สาระการเรียนรู้ โดยใช้วิธกี ารประเมินผลที่ หลากหลาย เชน่ การทดสอบ การสังเกตพฤติกรรม การสอบปากเปล่า การสัมภาษณห์ รอื การซกั ถาม การ เขยี นสะท้อนการเรียนรู้ การประเมนิ ภาคปฏิบตั ิ การประเมนิ ดว้ ยแฟ้มสะสมงาน การประเมินตนเอง การ ประเมินตามสภาพจริง เปน็ ตน้ 3) วัดและประเมินผลผู้เรียนในแต่ละชว่ งเวลาของการจดั การเรียนรู้ พรอ้ มทง้ั บันทกึ ขอ้ มูล ผลการเรียนรู้ของผูเ้ รียนอย่างต่อเนอ่ื ง และนำขอ้ มลู ที่ไดไ้ ปสกู่ ารวจิ ัยและพัฒนาการเรียนรขู้ องผู้เรียน
280 4) มีการประสานขอความรว่ มมือจากผู้ปกครองให้เข้ามามสี ว่ นรว่ มในการประเมินผลและ สะทอ้ นผลการเรียนรู้ (Feedback) กลับไปยงั ครผู ู้สอนอย่างต่อเนื่อง 5) นำและฝกึ การใช้คำถามประเภทตา่ ง ๆ เพ่อื กระตุ้นคิดให้กับผูเ้ รียน ให้มีการสามารถแสดง ความคิดเหน็ อภิปราย และวิพากษ์เชงิ สรา้ งสรรค์ ทั้งรายบุคคลและรายกล่มุ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292