วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อาํ เภอเมือง จังหวัดภเู กต็ Culture of Yaya Clothing and Stitched Women’s Shoes in Mueng District, Phuket Province อตชิ าติ สมบตั ิ ATICHAT SOMBAT วทิ ยานิพนธ์นีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของการศกึ ษาตามหลักสูตรคหกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 2557
วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อาํ เภอเมือง จังหวัดภเู กต็ Culture of Yaya Clothing and Stitched Women’s Shoes in Mueng District, Phuket Province อตชิ าติ สมบตั ิ ATICHAT SOMBAT วทิ ยานิพนธ์นีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของการศกึ ษาตามหลักสูตรคหกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร 2557 ลิขสิทธ์ิของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร
ช่ือวิทยานิพนธ์ วฒั นธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ช่ือ นามสกุล อตชิ าติ สมบตั ิ ช่ือปริญญา คหกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชา คหกรรมศาสตร์ คณะ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ อาจารย์ท่ปี รึกษา รองศาสตราจารย์นวลแข ปาลวิ นิช คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ได้ให้ความเห็นชอบวทิ ยานิพนธ์ฉบบั นีแ้ ล้ว …………………………………………………………ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย์สมทรง สีตลายนั ) ………………………………………………………… กรรมการ (รองศาสตราจารย์ดวงสดุ า เตโชตริ ส) ………………………………………………………….กรรมการ (รองศาสตราจารย์นวลแข ปาลวิ นิช) คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อนมุ ตั ใิ ห้นบั วทิ ยานพิ นธ์ฉบบั นีเ้ป็นสว่ นหนงึ่ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รคหกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ………………………………….…...……............คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ (ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ชญาภทั ร์ ก่ีอาริโย) วนั ท่ี…………..………….เดือน………………………...….พ.ศ……..………………………..
(ก) ช่ือวทิ ยานิพนธ์ วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ช่ือ นามสกุล อตชิ าติ สมบตั ิ ช่ือปริญญา คหกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ า และคณะ คหกรรมศาสตร์ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ปี การศึกษา 2557 บทคัดย่อ การศึกษาครัง้ นี ้ มีวตั ถุประสงค์เพ่ือศึกษาประวตั ิศาสตร์การตงั้ ถิ่นฐาน ของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต ศกึ ษาวฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี ศกึ ษา รูปแบบลวดลายของชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี จงั หวดั ภเู ก็ต และวิเคราะห์ความเหมาะสม ของสภาพบ้านเมืองกับการแต่งกาย ผู้ศึกษาใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร ภาพถ่าย จากการเก็บ รวบรวมข้อมลู ที่ได้จากการสงั เกตแบบไม่มีสว่ นร่วม (Non-Participant Observation) ของผ้ศู กึ ษาท่ี สงั เกตและเฝ้ าดพู ฤตกิ รรมการแตง่ กายด้วยชดุ ยา่ หยาและการสวมใสร่ องเท้าปักของสตรีท่ีอาศยั อยู่ ในอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต และจากการสมั ภาษณ์เชิงลึกจากผ้ชู ํานาญการภาคสนาม จํานวน 8 ท่าน ใช้วิธีการคดั เลือกผ้ใู ห้ข้อมลู หลกั (Key Informant) โดยวิธีการเลือกตวั อย่างแบบบอกต่อ (Snowball Sampling) จากนนั้ ผ้ศู กึ ษาทําการวิเคราะห์ข้อมลู แบบพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Descriptive) ผลการศกึ ษา พบวา่ ในสมยั รัชกาลที่ 3–5 ชาวจีนได้เดนิ ทางด้วยเรือสําเภา เข้ามาอาศัยอยู่ในจังหวัดภูเก็ต โดยส่วนใหญ่เป็ นชาวฮกเกีย้ นท่ีมาจากทางภาคใต้และภาค ตะวนั ออกของประเทศจีน วิถีชีวิตของคนจีนท่ีภเู ก็ตจะเน้นการทําเหมืองแร่ดีบุกเป็ นอาชีพหลกั มี บางสว่ นท่ีทําการค้า ทําประมงและทําการเกษตร โดยชาวจีนสว่ นใหญ่จะแตง่ งานกบั คนท้องถิ่น ทํา ให้เกิดลกู ผสม ซึ่งชาวภเู ก็ตมีคําใช้เรียกกนั ทวั่ ไปว่าพวก “บาบ๋า” โดยจะเรียกรวมทงั้ ผ้หู ญิงและ ผ้ชู ายไม่แยกเพศ สําหรับวฒั นธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต พบว่า ในอดีตการแต่งกายในชีวิตประจําวนั ของสตรีจะมีลกั ษณะเป็ นเสือ้ คอตงั้ แขน จีบ ใส่กับผ้าปาเต๊ะ แต่ถ้าในโอกาสพิเศษจะสวมใส่ชุดครุยยาว เกล้าผมมวยสูง ต่อมามีการ ดัดแปลงมาเป็ นเสือ้ ครุยสัน้ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อมและเพ่ือให้ คลอ่ งตวั ในการทํางานจึงลดลงมาใสเ่ พียงชนั้ เดียวจึงกลายมาเป็ นเสือ้ ย่าหยา เพราะระบายลมได้ดี
(ข) สว่ นรูปแบบลวดลายของชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี ผ้ตู ดั เย็บจะคิดลวดลายเองสว่ นใหญ่จะ เป็ นลายสตั ว์ ลายพนั ธ์ุพฤกษา ลายธรรมชาติ ส่วนรองเท้าปักเป็ นการนําเอารองเท้ามาปักด้วยดิน้ เงินดิน้ ทองหรือลูกปัด โดยความหมายของลวดลายการปักจะเน้นถึงความโชคดีและความเป็ น มงคล ซงึ่ ผ้ตู ดั เย็บจะตดั เยบ็ เพื่อสวมใสเ่ อง โดยการสบื ทอดวฒั นธรรมจากรุ่นสรู่ ุ่น ผลการวิเคราะห์ ความเหมาะสมของสภาพบ้ านเมืองกับการแต่งกาย พบวา่ ชดุ ย่าหยาเป็ นชดุ ที่มีความสวยงามและมีความเป็ นเอกลกั ษณ์ แตถ่ ้าใส่ในชีวิตประจําวนั ถือ วา่ ไม่เหมาะสม เพราะเสือ้ ย่าหยาเป็ นเสือ้ ที่ค่อนข้างบางทํางานหนกั ไมไ่ ด้ ชดุ อาจจะฉีกขาดได้ง่าย จึงไม่เหมาะสมกบั การทํางานที่เร่งรีบในปัจจบุ นั สว่ นรองเท้าปักในปัจจบุ นั คนภเู ก็ตไม่สามารถปัก รองเป้ าเองได้แล้ว ต้องสงั่ ซือ้ รองเท้ามาจากปี นงั และมะละกาซง่ึ มีราคาสงู มาก ทําให้ไมไ่ ด้รับความ นิยมเช่นกนั เพราะสตรีส่วนใหญ่หนั มาสวมใสร่ องเท้าส้นสงู ตามสมยั นิยมแทน แตใ่ นปัจจบุ นั มีการ อนุรักษ์และฟื น้ ฟูวฒั นธรรมการแต่งกายขึน้ มาใหม่เพื่อแสดงความเป็ นเอกลกั ษณ์และเป็ นจดุ ขาย เชิงท่องเที่ยวของจังหวัด ทําได้รับความสนใจจากเด็กรุ่นใหม่จึงทําให้การแต่งกายในแบบสมัย โบราณกลบั มาอีกครัง้ โดยการประยุกต์การแต่งกายให้คล่องตวั ขึน้ เหมาะสมกลมกลืนกบั สงั คม วฒั นธรรมและสง่ิ แวดล้อมรอบตวั ในปัจจบุ นั มากขนึ ้ คาํ สาํ คญั : วฒั นธรรมการแตง่ กาย ชดุ ยา่ หยา รองเท้าปัก
(ค) Thesis Title Culture of Yaya Clothing and Stitched Women’s Shoes in Mueng District, Phuket Province . Author Atichat Sombat Degree Master of Home Economics Major program Home Economics Academic Year 2014 ABSTRACT The purposes of this research were to 1) investigate the history of Chinese settlement in Phuket, 2) examine the culture of Yaya clothing and stitched women’s shoes, 3) study the pattern of Yaya clothing and stitched women’s shoes and 4) analyze the suitability of the city circumstance and clothing. The researcher studied the document and the pictures and collected the data by using Non-Participant Observation to observe the behavior of Chinese Violet (Yaya) clothing and stitched women’s shoes in Mueng district, Phuket province and conduct in-depth interview with 8 field specialists. Snowball sampling was used to select key informant. Data were analyzed by descriptive analysis. The results were found that during the reign of King Rama III and King Rama V, Hokkien Chinese from Southern and Eastern China migrated to Phuket by the junk boat. Mining is the major source of income of Chinese in Phuket, others are merchandising, fishing and agriculture. Most of Chinese got married with other local Thai people. We call them “Baba” for the people of mixed Thai and Chinese heritage. For the culture of Yaya clothing and stitched women’s shoes in Mueng district, Phuket province, it was found that in the previous days, the daily women clothing was the straight- point collar shirt with pleated sleeves and Pateh skirt. In the auspicious occasions, women wore long evening gowns and made a high hair bun. Later, wearing a long evening gown was adapted to be the short one according to the weather and circumstance and for better movement; Yaya shirt became popular because of its ventilation. Yaya clothing
(ง) and stitched women’s shoes were designed into various patterns such as animals, flowers and plants, and nature. Stitched women’s shoes were made from laces or beads. The stitch pattern meant good luck and propitiousness. Both Yaya clothing and stitched women’s shoes were designed by the owners and inherited from generation to generation. For the result of the study about the suitability of the city circumstance and clothing, it was found that Yaya clothing is beautiful and unique; however, it is not suitable to wear in daily life because it is too thin and easily torn. At present, Phuket people cannot stitch the shoes themselves and they have to import them from Penang and Melaka with high price; consequently, it is not popular whil high heeled shoes are more popular. Anyway, Yaya clothing is conserved and restored to express its uniqueness and it is the strength of Phuket’s tourist attraction. Yaya clothing is back and adapted to changing society, culture and circumstance. Keywords : Clothing culture Yaya clothing Stitched shoes
(จ) กติ ตกิ รรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบบั นีส้ าเร็จลลุ ่วงไปได้ด้วยความช่วยเหลืออย่างดีจาก รองศาสตราจารย์ นวลแข ปาลิวนิช อาจารย์ท่ีปรึกษาการทาวิทยานิพนธ์ ท่ีได้ให้คาแนะนาแก่ข้ าพเจ้าทกุ ขนั้ ตอน ขอขอบคณุ รองศาสตราจารย์สมทรง สีตลายนั และรองศาสตราจารย์ดวงสุดา เตโชติรสท่ีให้ ความกรุณาเป็ นกรรมการสอบการทาวิทยานิพนธ์ และให้ข้อเสนอแนะอนั เป็ นประโยชน์ ทาให้ วิทยานิพนธ์ฉบบั นีม้ ีความสมบรู ณ์ ขอขอบคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.สาวิตร พงศ์วัชร์ คุณสุกัญญา พฤฒิพันธ์ ผู้ช่วย ศาสตราจารย์อภิรัติ โสฬศ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ลกั ขณา จาตกานนท์ และผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ เจทญา กิจเกิดแสง ท่ีได้ให้ความกรุณาเป็ นผู้เช่ียวชาญพิจารณาเครื่องมือศึกษาวิจัย และให้ ข้อเสนอแนะอนั เป็ นประโยชน์ ทาให้งานวจิ ยั นีม้ ีความสมบรู ณ์ ขอขอบคณุ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์อภิรัติ โสฬศ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์พชั รีพรรณ ตรีศกั ด์ศิ รี ท่ี ให้ความกรุณาอบรมสง่ั สอน ทงั้ ด้านการเรียนและการศกึ ษาวิทยานิพนธ์ คอยให้กาลงั ใจท่ีดเี สมอ ทาให้ผ้ศู กึ ษาประสบความสาเร็จ ในการทาวิทยานิพนธ์อยา่ งสมบรู ณ์ ขอขอบคุณคณาจารย์ บุคลากร เพื่อนๆ พ่ี น้อง ในคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนครทุกท่าน ท่ีให้ข้อมลู อนั เป็ นประโยชน์ คอยให้กาลงั ใจ และช่วยเหลือสนบั สนนุ ในการทาวิทยานิพนธ์ฉบบั นี ้ ขอขอบคณุ อาลาภ อ๋ีอ๋ิม พี่แอนบ้านชินประชา ป้ าเฮีย้ ง โกแจ็ค น้าหลิน พ่ีก้งุ นาง เพื่อนๆ และญาติพ่ีน้องทกุ คนท่ีคอยช่วยเหลือและให้กาลงั ใจ จนการทาวิทยานิพนธ์ฉบบั นีเ้ สร็จสมบรู ณ์ ท้ายที่สดุ ของความสาเร็จนี ้ต้องขอขอบคณุ ครอบครัวของข้าพเจ้าเป็ นอย่างยิ่ง ท่ีคอยให้ การอบรมสง่ั สอน สนบั สนนุ ทางการศกึ ษา ให้กาลงั ใจคอยอยเู่ คียงข้างด้วยความรักเสมอมา ผู้ศึกษาขอมอบความสาเร็จนี ้ เพ่ือทดแทนพระคณุ บิดา มารดา ท่านย่า อาม้า และผู้มี พระคุณทุกท่านที่อบรมสงั่ สอน ในการสนับสนุนในทุกๆด้าน ผ้ศู ึกษาขอกราบขอบพระคณุ เป็ น อยา่ งสงู อตชิ าติ สมบตั ิ
สารบัญ (ฉ) บทคดั ยอ่ หน้า Abstract (ก) กิตตกิ รรมประกาศ (ค) สารบญั (จ) สารบญั ตาราง (ฉ) สารบญั ภาพ (ซ) บทท่ี 1 บทนํา (ฎ) 1 1.1 ความเป็ นมาและความสําคญั ของปัญหา 1 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 3 1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา 4 1.4 กรอบแนวคดิ 5 1.5 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รับ 6 1.6 นิยามศพั ท์ 6 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้อง 8 2.1 ประวตั ศิ าสตร์การตงั้ ถิ่นฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 9 2.2 ความเชื่อและแนวคดิ ของชาวไทยเชือ้ สายจีน 25 2.3 วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรีจงั หวดั ภเู ก็ต 27 2.4 รูปแบบลวดลายของชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรีจงั หวดั ภเู ก็ต 39 2.5 ลกั ษณะลวดลายของชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี จงั หวดั ภเู ก็ต 54 2.6 การวิเคราะห์ความเหมาะสมของสภาพบ้านเมืองกบั การแตง่ กาย 66 2.7 ผลงานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้อง 79 บทที่ 3 วธิ ีดําเนินการ 88 3.1 การกําหนดประชากรและเลือกกลมุ่ ตวั อยา่ ง 88 3.2 เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บข้อมลู 90 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมลู 91 3.4 การวเิ คราะห์ข้อมลู 93 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู และอภปิ รายผล 98
สารบัญ (ต่อ) (ช) 4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู หน้า 4.2 การอภิปรายผล 101 บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ 187 5.1 สรุปผล 196 5.2 ข้อเสนอแนะ 196 เอกสารอ้างอิง 198 ภาคผนวก 199 ภาคผนวก ก รายนามผ้เู ชี่ยวชาญในการพจิ ารณาเคร่ืองมือ 203 204 หนงั สอื เชิญเป็ นผ้เู ช่ียวชาญในการพิจารณาเคร่ืองมือ 210 ภาคผนวก ข หนงั สือขอความอนเุ คราะห์เก็บเครื่องมือการทําวิทยานิพนธ์ เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บข้อมลู ประวตั กิ ารศกึ ษาและการทํางาน
สารบญั ตาราง (ซ) ตารางท่ี หน้า 4.1 วเิ คราะห์ข้อมลู การตงั้ ถ่ินฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 102 4.2 วิเคราะห์ข้อมลู เหตผุ ลที่ชาวจีนมาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต 104 4.3 วิเคราะห์ข้อมลู ชาวจีนสว่ นใหญ่ท่ีมาตงั้ ถิ่นฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต 106 4.4 วเิ คราะห์ข้อมลู การเดนิ ทางของชาวจีนเข้าสจู่ งั หวดั ภเู ก็ต 107 4.5 วเิ คราะห์ข้อมลู บริเวณสว่ นใหญ่ท่ีชาวจีนเข้ามาตงั้ ถิ่นฐาน 109 4.6 วิเคราะห์ข้อมลู วถิ ีชีวิต การดาํ รงชีวติ วฒั นธรรม และประเพณี ของชาวจีน 111 ในจงั หวดั ภเู ก็ต 114 4.7 วิเคราะห์ข้อมลู การสร้างครอบครัวของคนจีนที่มาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต 116 4.8 วเิ คราะห์ข้อมลู บทบาทของชาวจีนที่มาตงั้ ถิ่นฐานในจงั หวดั ภเู ก็ตสง่ 118 ผลตอ่ ด้านวฒั นธรรมการแตง่ กายของคนภเู ก็ต 121 4.9 วเิ คราะห์ข้อมลู การตงั้ ถ่ินฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ตทําให้วถิ ีชีวติ ของ 124 คนภเู ก็ตมีความเปล่ยี นแปลง 126 4.10 วิเคราะห์ข้อมลู จากอดตี จนถงึ ปัจจบุ นั มีการเปลย่ี นแปลง 129 4.11 วเิ คราะห์ข้อมลู ลกั ษณะการแตง่ กายในชีวติ ประจําวนั และในโอกาส 131 พเิ ศษ ของสตรีเชือ้ สายจีนในอดีต 133 4.12 วิเคราะห์ข้อมลู ลกั ษณะการแตง่ กายในชีวติ ประจําวนั และในโอกาส 135 พิเศษของสตรีเชือ้ สายจีนในปัจจบุ นั 4.13 วิเคราะห์ข้อมลู ลกั ษณะการแตง่ กายในชีวติ ประจําวนั และในโอกาส พเิ ศษของสตรีเชือ้ สายจีนในอนาคต 4.14 วิเคราะห์ข้อมลู การแตง่ กายของสตรีจงั หวดั ภเู ก็ตมีความแตก ตา่ งหรือมีการเปล่ยี นแปลงเกิดจากอิทธิพล 4.15 วเิ คราะห์ข้อมลู ความคดิ เห็นเก่ียวกบั วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยา และรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมืองจงั หวดั ภเู ก็ต 4.16 วเิ คราะห์ข้อมลู จดุ เดน่ ของวฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยา และรองเท้า ปักของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต
สารบัญตาราง (ต่อ) (ฌ) ตารางท่ี หน้า 4.17 วิเคราะห์ข้อมลู การเปลี่ยนแปลงด้านวฒั นธรรมการแตง่ กายของสตรี 137 จงั หวดั ภเู ก็ต 139 4.18 วเิ คราะห์ข้อมลู แนวทางที่จะอนรุ ักษ์วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยา 141 และรองเท้าปักของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 144 4.19 วิเคราะห์ข้อมลู รูปแบบลวดลายของชดุ ยา่ หยา และรองเท้าปักของ 148 สตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 4.20 วเิ คราะห์ข้อมลู ววิ ฒั นาการของรูปแบบและลวดลายชดุ ยา่ หยาและรองเท้า 152 ปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 4.21 วิเคราะห์ข้อมลู กรรมวิธีเฉพาะการตกแตง่ ลวดลายชดุ ยา่ หยาและรองเท้า 155 ปักของสตรีอําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 4.22 วิเคราะห์ข้อมลู ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในอดตี ที่มีตอ่ 157 วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านภมู ิประเทศ 160 4.23 วิเคราะห์ข้อมลู ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในอดตี ที่มีตอ่ วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง 163 จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านสภาพดนิ ฟ้ าอากาศ 4.24 วเิ คราะห์ข้อมลู ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในอดตี ท่ีมีตอ่ วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านเศรษฐกิจ 4.25 วิเคราะห์ข้อมลู ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในอดีต ท่ีมีตอ่ วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านสงั คม 4.26 วเิ คราะห์ข้อมลู ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในอดีต ท่ีมีตอ่ วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ตในด้านการปกครองและการเมือง
สารบัญตาราง (ต่อ) (ญ) ตารางท่ี หน้า 4.27 วเิ คราะห์ข้อมลู ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในอดตี ท่ีมีตอ่ 165 วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง 168 จงั หวดั ภเู ก็ตในด้านศลิ ปวฒั นธรรม 171 4.28 วิเคราะห์ข้อมลู ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในปัจจบุ นั ท่ีมีตอ่ 174 วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง 177 จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านภมู ิประเทศ 181 4.29 วเิ คราะห์ข้อมลู ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในปัจจบุ นั ท่ีมีตอ่ 184 วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านสภาพดนิ ฟ้ าอากาศ 4.30 วิเคราะห์ข้อมลู ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในปัจจบุ นั ท่ีมีตอ่ วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านเศรษฐกิจ 4.31 วิเคราะห์ข้อมลู ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในปัจจบุ นั ท่ีมีตอ่ วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านสงั คม 4.32 วเิ คราะห์ข้อมลู ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในปัจจบุ นั ท่ีมีตอ่ วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านการปกครองและการเมือง 4.33 วิเคราะห์ข้อมลู ความเหมาะสมกบั สภาพบ้านเมืองในปัจจบุ นั ที่มีตอ่ วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ในด้านศลิ ปวฒั นธรรม
สารบัญภาพ (ฎ) ภาพท่ี หน้า 1.1 กรอบแนวคดิ การวิจยั 5 2.1 เส้นทางเดนิ เรือการอพยพของชาวจีนมายงั ภเู ก็ต 23 2.2 เสือ้ คอตงั้ แขนจีบ 40 2.3 เสือ้ คอตงั้ แขนจีบสีขาวลายดอกไม้ 40 2.4 เสือ้ ครุยคร่ึงทอ่ นหรือเสือ้ ครึ่งท่อน 41 2.5 เสอื ้ ครุยคร่ึงทอ่ นหรือเสือ้ คร่ึงท่อน 41 2.6 เสือ้ เคบายาลนิ ดา 42 2.7 เสือ้ เคบายาบกี ู 43 2.8 เสอื ้ เคบายาซแู ลม 43 2.9 เสอื ้ เคบายาซแู ลม 44 2.10 เสือ้ ผ้าลกู ไม้ตอ่ ดอก 45 2.11 ผ้าปาเต๊ะ 45 2.12 เสือ้ คอตงั้ แขนจีบ 47 2.13 เสือ้ ครุยยาว 48 2.14 ผ้าปาเต๊ะ 49 2.15 รองเท้ากลบี บวั หรือรองเท้าคเู่ ลก็ รองเท้าของผ้หู ญิงที่โดนมดั เท้า 51 2.16 รองเท้าปักดนิ ้ 51 2.17 รองเท้าปักดนิ ้ 52 2.18 รองเท้าปักดนิ ้ 52 2.19 รองเท้าปักลกู ปัด 53 2.20 รองเท้าปักลกู ปัด 53 2.21 รองเท้าปักลกู ปัด 54 2.22 ภาพลายเส้นต้นไผ่ 55 2.23 ภาพลายเส้นต้นไผ่ 56 2.24 ภาพลายเส้นดอกเหมย 56
2.25 ภาพลายเส้นดอกโบตน๋ั (ฏ) สารบญั ภาพ (ต่อ) 57 ภาพท่ี หน้า 2.26 ฝหู รงหรือดอกพดุ ตาน 58 2.27 ภาพลายเส้นหงส์ 59 2.28 ลายหงส์ท่ีปักบนเสอื ้ ครุยยาว 59 2.29 ภาพลวดลายเส้นกิเลน 60 2.30 ภาพลายเส้นสงิ ห์หรือสงิ โต 61 2.31 ภาพลวดลายลายสงิ ห์หรือสงิ โต 62 2.32 ภาพลาดลายผีเสือ้ และแมลงปอ 63 2.33 ภาพลวดลายก้งุ 63 2.34 ภาพลวดลายกวาง 64 2.35 ภาพลวดลายคล่ืน 65
1 บทท่ี 1 บทนํา 1.1 ความเป็ นมาและความสาํ คัญของปัญหา จงั หวดั ภเู ก็ตเป็ นจงั หวดั ทางภาคใต้ของประเทศไทย มีลกั ษณะทางภมู ิศาสตร์เป็ นเกาะมี ขนาดพืน้ ท่ี 339,396 ไร่ ส่วนที่ยาวท่ีสดุ ของเกาะมีระยะทางยาว 48.7 กิโลเมตร และส่วนที่กว้าง ที่สดุ มีระยะทาง 21.3 กิโลเมตร แผน่ ดนิ ล้อมรอบด้วยทะเลอนั ดามนั ซง่ึ เป็ นสว่ นหน่ึงของมหาสมทุ ร อินเดีย จงั หวดั ภเู ก็ตประกอบด้วยส่ิงแวดล้อมและวฒั นธรรมท่ีทรงคณุ ค่ามากมาย จนได้รับคําช่ืน ชมในเรื่องความสวยงาม ดงั คําขวญั ที่ว่า “ไข่มกุ อนั ดามนั สวรรค์เมืองใต้ หาดทรายสีทอง สองวีร สตรี บารมีหลวงพ่อแช่ม” จากคําขวญั ดงั กลา่ วสะท้อนให้เห็นว่า ภเู ก็ตเป็ นเมืองที่มีความเจริญมา หลายช่วงอายคุ น มีวฒั นธรรมท่ีผสมผสานเข้าด้วยกนั จากหลายเชือ้ ชาติ เช่น กล่มุ พืน้ เมืองที่รู้จกั กนั ในนามชาวเลหรือชาวนํา้ มีวฒั นธรรมท่ีเป็ นเอกลกั ษณ์ของตนเอง ได้แก่ การจดั ทําพิธีลอยเรือ ปี ละ 2 ครัง้ คือ ในวนั ขึน้ 15 ค่ํา เดือน 6 และเดือน 11 ของทุกปี นอกจากนีก้ ล่มุ ชนท่ีมีบทบาทใน สงั คมไทยมากท่ีสดุ จากอดีตสปู่ ัจจบุ นั คือ กลมุ่ ชนชาวจีน และกลมุ่ ชนดงั กลา่ วได้อพยพมาจากจีน แผ่นดินใหญ่ ตลอดจน ปี นงั ไทรบุรี และเมืองใกล้เคียงที่ชาวจีนได้เดินทางเข้ามาสู่ประเทศไทย โดยเฉพาะฝั่งอนั ดามนั ตลอดจนภาคใต้ตอนล่าง (อ้างถึงใน สาวิตร, 2551) ประชาชนหรือผ้อู าศยั ส่วนใหญ่เป็ นชาวจีน ซึ่งมีประวตั ิของบรรพบุรุษที่มีการย้ายถิ่นฐานอพยพเข้าส่ปู ระเทศไทยตงั้ แต่ ปลายกรุงศรีอยธุ ยา สมยั กรุงธนบรุ ี และต้นสมยั รัตนโกสนิ ทร์ โดยเป็ นกลมุ่ คนจีน 6 กลมุ่ ได้แก่ จีน แต้จ๋ิว จีนแคะ จีนไหหลํา จีนกวางต้งุ จีนฮกเกีย้ น และจีนที่มาจากพวกอ่ืนๆ (อ้างถึงใน ปิ ยะนนั ท์, 2553) จากการศึกษาพบว่ากล่มุ แรก ๆ ที่เข้ามานนั้ โดยมากมีอาชีพเป็ นข้าราชการ นอกจากนนั้ ชาวจีนในยคุ นนั้ มีความสามารถทางด้านการต่อเรือและเดินเรือ การเดินทางเข้าส่เู มืองต่างๆโดย ส่วนใหญ่มีเป้ าหมายหลกั เพ่ือต้องการแสวงหาโชคลาภในดินแดนใหม่ จุดประสงค์ คือ การทํา เหมืองแร่ดีบกุ (อ้างถึงใน สาวิตร, 2551) การอพยพของกลมุ่ คนจีนที่กลา่ วมาข้างต้นทําให้เกิดการ หล่อหลอมผสมผสานวฒั นธรรมของคนจีนกบั คนพืน้ เมือง เกิดการวิวฒั นาการทางวฒั นธรรม จน กลายเป็ นเอกลกั ษณ์ด้าน ภาษา เคร่ืองแตง่ กาย อาหาร และประเพณีปฏิบตั ขิ องจงั หวดั ภเู ก็ต (อ้าง ถึงใน บรรเจิด, 2549) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเคร่ืองแต่งกายของสตรีจงั หวดั ภเู ก็ตจะมีเอกลกั ษณ์ที่
2 แสดงถึงความสวยงามและมีช่ือเรียกเฉพาะว่า ชดุ ย่าหยา ซง่ึ นิยมสวมใส่ในโอกาสพิเศษ เช่น งาน บญุ งานประเพณีตา่ งๆ อาทิ งานแตง่ งาน งานบวช งานประเพณีกินผกั งานวนั ปี ใหม่ หรืองานตรุษ สงกรานต์ (นิคม, 2548: ออนไลน์) ชดุ ย่าหยาจะมีรูปแบบเฉพาะคือ เป็ นผ้าโปร่ง สีพืน้ ปลายเสือ้ ด้านหน้ายาวลง เป็ นรูปสามเหล่ียมแหลมยาวเกือบถึงตกั แต่ด้านหลงั จะสนั้ ประมาณเอว เข้ารูป เล็กน้อยไม่ถึงกับรัดรูป ชายเสือ้ ปลายแขนเสือ้ ขอบปก และคอเสือ้ ติดลูกไม้ถักดูอ่อนหวาน กระดมุ ติดเสือ้ แบบโบราณ จะใช้กระดมุ ชดุ 3 ตวั มีลกั ษณะเป็ นเข็มกลดั มีสายสร้อยเชื่อมตอ่ กนั ทําด้วยทอง ทองเหลือง หรือนาก สําหรับลายปักของเสือ้ ย่าหยา มกั เป็ นลวดลายของดอกไม้งาม ตามวฒั นธรรมตะวนั ออก ท่ีมกั เปรียบผ้หู ญิงเป็ นดอกไม้ อีกทงั้ ดอกไม้ยงั แทนความเป็ นธรรมชาติ และมีความหมายที่แตกต่างกัน นอกจากนัน้ การแต่งกายชุดย่าหยาจะงดงามสมบูรณ์แบบตาม วฒั นธรรมดงั้ เดิม สตรีจะนิยมสวมใส่กบั รองเท้าปักท่ีมีลกั ษณะเป็ นรองเท้าไม้ส้นเตีย้ ลกั ษณะหวั รองเท้าคล้ายรองเท้าบลั เลต่ ์ของยโุ รป คือ หวั มีลกั ษณะรูปตวั ยู พืน้ ท่ีบริเวณส่วนหวั จะปักด้วยเส้น ไหม ลกู ปัดสีตา่ งๆ ตามลวดลายท่ีต้องการ เช่น ดอกไม้ ใบไม้ สตั ว์มงคล (อ้างถงึ ใน ฤด,ี 2553) ปัจจุบนั การแต่งกายชุดย่าหยาเปล่ียนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวตั น์ กล่าวคือ ลายปัก แตเ่ ดมิ ซง่ึ ใช้วิธีการปักมือ ได้เปลี่ยนมาใช้เครื่องจกั รปักลวดลายแทน เพ่ือความรวดเร็วในการผลิต กระดมุ ทองหรือกระดมุ กิมต้นู ที่ใช้ติดเสือ้ ได้เปลี่ยนมาใช้กระดมุ โลหะหรือกระดมุ แป๊ ะแทน เพราะ กระดมุ กิมต้นู ต้องนําเข้าจากมะละกา ประเทศมาเลเซีย ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสงู จึงทําให้ความสวยงาม ประณีตของชดุ ย่าหยาลดลง นอกจากนนั้ รองเท้าปักของสตรี จงั หวดั ภเู ก็ต ซ่ึงแตเ่ ดิมจะทําขนึ ้ เพ่ือ ใช้เองและเตรียมตวั เป็ นเจ้าสาวได้สญู หายไป เน่ืองจากสตรีในปัจจุบนั ต้องทํางานและประกอบ อาชีพไมไ่ ด้อยบู่ ้านเหมือนเดมิ จงึ นิยมสวมใสร่ องเท้าแตะที่ผลติ และวางจําหน่ายตามห้างร้านทว่ั ไป หรือสงั่ ซอื ้ รองเท้าปักจากตา่ งประเทศ เช่น เมืองปี นงั เมืองมะละกา ประเทศมาเลเซีย ซงึ่ มีลวดลาย ที่แปลกแตกต่างไปจากวฒั นธรรมเดิมของจงั หวดั ภูเก็ต ทําให้เกิดการสญู เสียเอกลกั ษณ์การแต่ง กายท่ีเป็ นมรดกทางวฒั นธรรม สญู เสียเงินตราไปกบั ต่างชาติ ส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศไทย ลดลง และองค์ความรู้เกี่ยวกับการแต่งกายชุดย่าหยา รองเท้าปักสตรีจะสูญหายไป เน่ืองจาก ปราชญ์ท้องถ่ินท่ีมีความรู้ทางด้านวฒั นธรรมการแต่งกายของจงั หวดั ภเู ก็ตจะลดน้อยลง และหมด สิน้ ไปในที่สดุ ซ่ึงสาวิตร (2551) ได้สรุปสาเหตุท่ีคนรุ่นใหม่ไม่นิยมแต่งกายในรูปแบบเดิม เพราะ สงั คมมีการเจริญมากย่ิงขึน้ การจดั พิธีแบบโบราณมีความย่งุ ยากซบั ซ้อน นอกจากนนั้ ชดุ เจ้าสาว เจ้าบ่าวแบบโบราณ พร้ อมเครื่องประดบั ปัจจุบนั หายากมาก เพราะเป็ นเครื่องเพชรราคาแพง ที่ สําคญั เครื่องเพชรดงั กล่าว มีอย่เู ฉพาะในบ้านคหบดี หรือแบบผ้มู ีฐานะท่ีไม่ประสงค์จะออกนาม หรือให้หยิบยืมเคร่ืองเพชรแบบโบราณออกมาให้สวมใส่ รวมถึงเทคนิควิธีการแตง่ กายมีวิธีพิเศษที่
3 แตกต่างไป ที่สําคัญการแต่งกาย เช่น ทรงผมเครื่องประดับ เสือ้ ผ้า มีความโดดเด่นและมี เอกลกั ษณ์เฉพาะ นอกจากนนั้ ผ้รู ู้และผ้ชู ํานาญการด้านการสวมเคร่ืองประดบั การทําผม มีจํานวน น้อยมาก การจดั งานวิวาห์แบบบาบา๋ พิธีแตง่ งานเป็ นประเพณีที่นําความสขุ ความยินดีมาสพู่ อ่ แม่ ผ้ปู กครอง ทงั้ เป็ นการประกาศความเป็ นปึ กแผ่นอนั มนั่ คงทางด้านฐานะส่สู งั คมของพ่อแม่ค่บู ่าว สาว และบรรพชน จากอดีตได้มีความเชื่อในเร่ืองพิธีแต่งงานแบบบาบ๋าด้วย เพราะชาวจีนมี ความสมั พนั ธ์และมีพลงั ทางวฒั นธรรมในสงั คมไทยของคนไทยเชือ้ สายจีน ในปัจจุบันนี ้ การท่องเที่ยวได้เข้ามามีบทบาทท่ีสําคัญโดยเฉพาะ การท่องเท่ียวเชิง วฒั นธรรมได้เข้ามามีบทบาทตอ่ การดําเนินชีวิตของคนในชมุ ชน มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขนึ ้ ทงั้ จาก ภายนอกและภายในชมุ ชน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ กระแสของการท่องเที่ยวที่ทําให้เกิดการแพร่กระจาย ทางวฒั นธรรมจากภายนอกเข้าสชู่ มุ ชน และการพฒั นาภายในชมุ ชนเอง ท่ีปรับตวั รับมือให้เข้ากบั กระแสการท่องเที่ยวท่ีเข้ามา ในสว่ นของวฒั นธรรมประเพณีของชาวไทยเชือ้ สายจีนบาบ๋ายงั คงมี อยู่ แตค่ วามหมายและคณุ คา่ ยงั คงเหมือนเดิม ในสว่ นของวิถีชีวิตทวั่ ไป จากการที่ชมุ ชนถนนถลาง เป็ นชมุ ชนที่มีเอกลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมโดดเดน่ ที่แตกต่างจากท่ีอ่ืน ทําให้ท้องถ่ินและคนในชมุ ชน นําเอาทนุ ทางวฒั นธรรมที่มีอย่มู าดงึ ดดู นกั ท่องเท่ียว โดยการเปิ ดให้เป็ นถนนสายวฒั นธรรมของ จงั หวดั ให้นกั ท่องเที่ยวได้ศกึ ษาวฒั นธรรมชาวไทยเชือ้ สายจีนบาบา๋ ผ่านวิถีชีวิตของคนในชมุ ชน โดยท่ีคนในชมุ ชนสว่ นใหญ่ไม่คิดจะเปลี่ยนตวั เองเพื่อการท่องเท่ียวท่ีเข้ามาในชมุ ชน แต่อยากให้ การท่องเท่ียวที่เข้ามานนั้ เคารพสิทธิของคนในชุมชน เน้นการเผยแพร่และเรียนรู้วฒั นธรรมท่ี แตกตา่ งผา่ นวถิ ีชีวิตของคนในชมุ ชนมากกวา่ (อ้างถงึ ใน อรพรรณ, 2555) ดังนัน้ ผู้ศึกษา ในฐานะคนภูเก็ตที่มีเชือ้ สายบ่าบ๋า รู้สึกเสียดายคุณค่าทางวัฒนธรรม ท้องถิ่นและเห็นความสําคญั ของวฒั นธรรมดงั้ เดิมท่ีมีคณุ ค่า จะเกิดการสญู หายในอีกไม่นาน จึง สนใจศึกษา วฒั นธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต เพ่ือเป็ นข้อมลู ในการศกึ ษาทางด้านวฒั นธรรมการแต่งกาย ซง่ึ เป็ นเอกลกั ษณ์ของจงั หวดั ภเู ก็ต ให้ ดํารงคงอยเู่ ป็ นมรดกสบื ทอดตอ่ ไป 1.2 วตั ถุประสงค์ 1.2.1 ศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์การตงั้ ถิ่นฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 1.2.2 ศกึ ษาวฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรีจงั หวดั ภเู ก็ต 1.2.3 ศกึ ษารูปแบบลวดลายของชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรีจงั หวดั ภเู ก็ต 1.2.4 วิเคราะห์ความเหมาะสมของสภาพบ้านเมืองกบั การแตง่ กาย
4 1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา 1.3.1 ขอบเขตด้านเนือ้ หา ศึกษาวัฒนธรรมการแต่งกาย ชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต โดยเลือกศึกษาเฉพาะเคร่ืองแต่งกายและรองเท้าปัก ความหมายของลวดลายท่ี ปรากฏในเคร่ืองแตง่ กายและรองเท้าปักของสตรีเมืองเก่า อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต เพ่ือเป็ นข้อมลู ในการศกึ ษาให้กบั บคุ คลท่ีสนใจและอนชุ นรุ่นหลงั สบื ทอดดาํ รงไว้ 1.3.2 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 1.3.2.1 ประชากรท่ีใช้ในการเก็บข้อมลู เชิงคณุ ภาพครัง้ นี ้คือ ผ้นู ําชมุ ชน และภมู ิ ปัญญาท้องถิ่น อายตุ งั้ แต่ 35 ปี ขึน้ ไป ซึ่งเป็ นบุคคลท่ีอาศยั อย่ใู น จงั หวดั ภเู ก็ต และเป็ นผ้ทู ี่ได้รับ การยอมรับจากองค์กรภาครัฐและเอกชนในจงั หวดั ภเู ก็ต โดยคลอบคลมุ บคุ ลากรท่ีเกี่ยวข้องที่อยใู่ น ปรากฏการณ์ของพืน้ ท่ีที่ศกึ ษา ได้แก่ ผ้เู ชี่ยวชาญและผ้ชู ํานาญการท่ีมีความรู้ ความสามารถ และมี ประสบการณ์ ทางด้านวัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต เหตทุ ่ีผ้ศู กึ ษากําหนดอายเุ ช่นนี ้ เพราะทางจิตวิทยาวา่ ด้วยพฒั นาการของมนษุ ย์ ว่า วยั ผ้ใู หญ่ตอนกลางหรือวยั กลางคนนนั้ ย่ิงอายุมากขึน้ ความสามารถในการเรียนรู้จะย่ิงลดลง ความจําไม่ดีเท่าวยั รุ่น แตม่ ีสิ่งชดเชย เช่น ประสบการณ์ การใช้เหตผุ ลดีขนึ ้ การควบคมุ อารมณ์ดี ขึน้ (อ้างถึงใน จารุภา, 2551) ทัง้ นีป้ ระชากรดงั กล่าว อาจเป็ นผู้มีส่วนร่วมทําให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง หรือได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรมของชมุ ชน เพื่อจะ สามารถให้ข้อมลู เกี่ยวกบั เหตกุ ารณ์ท่ีเกิดขนึ ้ และนํามาสขู่ ้อสรุปของการศกึ ษาครัง้ นี ้ 3.1.2 กลุ่มตวั อย่าง 1.3.2.2 ผ้ศู กึ ษาใช้วิธีการคดั เลือกผ้ใู ห้ข้อมลู หลกั (Key Informant) โดยเริ่มจาก การสอบถามผ้ทู ่ีมีความรู้ ความเชี่ยวชาญทางด้านวฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปัก ของสตรี อําเภอเมืองในจงั หวดั ภเู ก็ต เพื่อสมั ภาษณ์เก็บข้อมลู และขอข้อมลู เกี่ยวกบั ผ้ใู ห้ข้อมลู ท่าน อื่นๆ ท่ีมีความรู้ความเชี่ยวชาญและเป็ นผู้ที่ได้รับการยอมรับจากองค์กรภาครัฐและเอกชนใน จงั หวดั ภเู ก็ต โดยใช้วิธีการเลือกตวั อยา่ งแบบบอกตอ่ (Snowball Sampling) คือ ผ้ศู กึ ษาเร่ิมด้วย การสมั ภาษณ์และให้กลมุ่ ตวั อย่างแนะนํารายช่ือผ้ใู ห้ข้อมลู ท่านอื่นๆตอ่ ไป ซงึ่ กลมุ่ ตวั อยา่ งทงั้ หมด จะครอบคลมุ กลุ่มอาวุโส กลุ่มผู้นํา ทัง้ ที่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ และตวั แทนหน่วยงาน
5 ท้องถ่ิน ซง่ึ เป็ นผ้ทู ่ีได้รับการยอมรับจากองค์กรภาครัฐและเอกชนในจงั หวดั ภเู ก็ต โดยผ้เู ช่ียวชาญได้ แนะนําจํานวน 8 ทา่ น 1.4 กรอบแนวคดิ การศึกษาวิทยานิพนธ์เรื่อง วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ผู้ศึกษาได้ ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้ องด้ าน ประวตั ิศาสตร์ความเป็ นมาของวฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักสตรี จงั หวดั ภเู ก็ต รูปแบบลวดลายวสั ดุ และเทคนิควิธีการปักชดุ ย่าหยาและรองเท้าปัก เพ่ือนํามากําหนดเป็ นกรอบ แนวคดิ ในการศกึ ษา วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและ ประวตั ศิ าสตร์การตงั้ ถิ่นฐานของ รองเท้าปักของสตรีจงั หวดั ภเู ก็ต ชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต อดีต ปัจจบุ นั อนาคต วฒั นธรรมการแตง่ กาย ชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี รูปแบบลวดลาย ชดุ ยา่ หยา รองเท้าปัก อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต ความเหมาะสมของสภาพบ้านเมืองกบั การแตง่ กาย ด้านภมู ิประเทศ ด้านสภาพดนิ ฟ้ าอากาศ อดตี ด้านเศรษฐกิจ ด้านสงั คม ด้านการปกครองและการเมอื ง ปัจจบุ นั ภาพที่ 1.1ด้ากนรศอลิบปแวนฒัวคนดิ ธกรารมรวิจยั ภาพท่ี 1.1 กรอบแนวคดิ การวจิ ยั
6 1.5 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับ 1.5.1 ได้รับความรู้ประวตั ศิ าสตร์ความเป็ นมาในการตงั้ ถ่ินฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต เพื่อเป็ นข้อมลู ในการศกึ ษาให้กบั บคุ คลที่สนใจ 1.5.2 ได้รู้วฒั นธรรมที่ผสมผสานและพฒั นาเป็ นรูปแบบของวฒั นธรรมจีนและคนพืน้ เมือง มาเป็ นวฒั นธรรมท่ีเป็ นเอกลกั ษณ์ของคนภเู ก็ตเพ่ือให้อนชุ นรุ่นหลงั สบื ทอดดาํ รงไว้ 1.5.3 ได้รู้วฒั นธรรมการแต่งกายที่เป็ นเอกลกั ษณ์ของชดุ ย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี จงั หวดั ภเู ก็ตเพื่ออนรุ ักษ์ให้คงอยสู่ บื ไปเป็ นมรดกทางวฒั นธรรมของคนภเู ก็ต 1.5.4 ได้องค์ความรู้ทางด้านวฒั นธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี จงั หวดั ภูเก็ตเพ่ือเป็ นแนวทางในการเพ่ิมมลู ค่าทางเศรษฐกิจและสร้างสรรค์ภมู ิปัญญาท่ีเกี่ยวกบั มรดกทางวฒั นธรรมของคนภเู ก็ต 1.5.5 เพ่ือเป็ นแนวทางในการจดั การท่องเท่ียวเชิงวฒั นธรรม ด้านการแตง่ กายของจงั หวดั ภเู ก็ต 1.6 นิยามศัพท์ 1.6.1 วัฒนธรรมการแต่งกาย หมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนษุ ย์และโครงสร้างเชิง ลักษณะที่ทําให้กิจกรรมนัน้ เด่นชัดและมีความสําคัญต่อวิถีการดําเนินชีวิตในท่ีนี ้ หมายถึง วฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต 1.6.2 ชุดย่าหยา หมายถึง ชดุ แตง่ กายของชาวพืน้ เมืองของจงั หวดั ภเู ก็ต ที่แสดงถึงความ เป็ นกุลสตรี ถือเป็ นชุดแต่งกายที่งดงามนิยมแต่งในงานสําคญั เช่น งานบุญ งานประเพณีต่าง ๆ อาทิ งานแต่งงาน งานบวช งานประเพณีกินผกั งานวนั ปี ใหม่ หรืองานตรุษสงกรานต์ มีรูปแบบ เฉพาะคอื เป็ นผ้าโปร่ง สีพืน้ ปลายเสือ้ ด้านหน้ายาวลงเป็ นรูปสามเหลี่ยมแหลมยาวเกือบถึงตกั แต่ ด้านหลงั จะสนั้ ประมาณเอว เข้ารูปเลก็ น้อยไม่ถึงกบั รัดรูป ชายเสือ้ ปลายแขนเสือ้ ขอบปก และคอ เสือ้ ติดลกู ไม้ถกั ดอู ่อนหวาน กระดมุ ติดเสือ้ แบบโบราณจะใช้กระดมุ ชดุ 3 ตวั มีลกั ษณะเป็ นเข็ม กลดั มีสายสร้อยเชื่อมต่อกนั ทําด้วยทอง ทองเหลือง หรือนาก สําหรับลวดลายปักของเสือ้ ย่าหยา มกั เป็ นลวดลายของดอกไม้งามตามวัฒนธรรมตะวันออกที่มักเปรียบผู้หญิงเป็ นดอกไม้ อีกทัง้ ดอกไม้ยงั แทนความเป็ นธรรมชาตแิ ละมีความหมายท่ีแตกตา่ งกนั
7 1.6.3 รองเท้าปัก หมายถึง รองเท้าท่ีใส่กบั ชดุ ย่าหยาเป็ นรองเท้าผ้าท่ีทํามาจากผ้าไหม หรือกํามะหย่ี พืน้ รองเท้าทําด้วยไม้รูปทรงเตีย้ รองเท้าเป็ นรูปตวั ยู บริเวณหวั รองเท้าปักลวดลาย ดอกไม้ ใบไม้ รูปสตั ว์มงคล ตกแต่งด้วยการปักดิน้ เงินดิน้ ทอง หรือเส้นเงินเส้นทอง ลกู ปัดสี เลื่อม หรือฝังโลหะเพ่ือให้เกิดความสวยงาม 1.6.4 อําเภอเมือง หมายถึง พืน้ ท่ีในเขตเทศบาลเมืองภเู ก็ต มีพืน้ ท่ีรับผิดชอบรวม 12 ตารางกิโลเมตร หรือ 19,500 ไร่ มีเขตการปกครอง 2 ตําบล คือ ตําบลตลาดเหนือ มีพืน้ ท่ี 4 ตาราง กิโลเมตร และตําบลตลาดใหญ่ มีพืน้ ท่ี 8 ตารางกิโลเมตร 1.6.5 จังหวัดภเู ก็ต หมายถึง จงั หวดั หนง่ึ ที่อยทู่ างภาคใต้ของประเทศไทย มีลกั ษณะเป็ น เกาะขนาดใหญ่อยใู่ นทะเลอนั ดามนั มหาสมทุ รอนิ เดีย มีวฒั นธรรมการแตง่ กายชดุ ยา่ หยาของสตรี ซง่ึ เป็ นเอกลกั ษณ์ท่ีแตกตา่ งจากจงั หวดั อื่นๆในประเทศไทย
8 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวข้อง การศึกษาเรื่อง วฒั นธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรี อําเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต เป็ นการวิจยั เชิงคณุ ภาพ (Qualitative Research) ผ้ศู กึ ษาได้ศกึ ษาค้นคว้าข้อมลู จาก เอกสาร ภาพถ่ายและงานวิจยั และที่เก่ียวข้อง โดยมีรายละเอียด ดงั นี ้ 2.1 ประวตั ศิ าสตร์การตงั้ ถ่ินฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 2.1.1 การตงั้ ถิ่นฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 2.1.2 ปัจจยั ที่ทําให้ชาวจีนอพยพไปตงั้ ถ่ินฐานในภาคใต้ 2.1.3 การตงั้ ถ่ินฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 2.1.4 เส้นทางการเดนิ ทางของชาวจีนเข้าสเู่ มืองภเู ก็ต 2.1.5 ความเป็ นอยขู่ องชาวจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 2.2 ความเช่ือและแนวคดิ ของชาวไทยเชือ้ สายจีน 2.3 วฒั นธรรมการแตง่ กายของชาวไทยเชือ้ สายจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 2.3.1 แนวคดิ และทฤษฏีเก่ียวกบั วฒั นธรรมการแตง่ กาย 2.3.2 ลกั ษณะของวฒั นธรรมการแตง่ กาย 2.3.3 ความสําคญั ของวฒั นธรรมการแตง่ กาย 2.3.4 ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ การแตง่ กายท่ีแตกตา่ งกนั 2.3.5 ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ การแตง่ กายเปลย่ี นแปลงของการแตง่ กาย 2.3.6 การแตง่ กายของชาวไทยเชือ้ สายจีนในจงั หวดั ภเู ก็ต 2.4 รูปแบบลวดลายของชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรีจงั หวดั ภเู ก็ต 2.4.1 รูปแบบการแตง่ กายชดุ ยา่ หยา 2.4.2 รองเท้าปัก 2.5 ลกั ษณะลวดลายของชดุ ยา่ หยาและรองเท้าปักของสตรี จงั หวดั ภเู ก็ต 2.5.1 ลวดลายจากพนั ธ์ุพฤกษา 2.5.2 ลวดลายจากสตั ว์ 2.5.3 ลวดลายจากธรรมชาติ
9 2.6 การวิเคราะห์ความเหมาะสมของสภาพบ้านเมืองกบั การแตง่ กาย 2.6.1 สถานที่ตงั้ รูปร่างและขนาด 2.6.2 ลกั ษณะภมู ิประเทศ 2.6.3 สภาพทางภมู ศิ าสตร์ 2.6.4 สภาพภมู อิ ากาศ 2.6.5 เศรษฐกิจและสงั คม 2.6.6 การปกครองและการเมือง 2.6.7 ศลิ ปวฒั นธรรมของชาวภเู ก็ต 2.7 ผลงานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้อง 2.1 ประวตั ศิ าสตร์การตงั้ ถ่นิ ฐานของชาวจีนในจงั หวดั ภเู กต็ จงั หวดั ภเู ก็ตเป็ นจงั หวดั หนึ่งท่ีอยทู่ างภาคใต้ของประเทศไทย ซงึ่ มีลกั ษณะเป็ นเกาะอย่ใู น ทะเลอนั ดามนั เป็ นส่วนหน่ึงของมหาสมทุ รอินเดีย ท่ีมีความสําคญั ทางด้านประวตั ิศาสตร์และมี ทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ์ ประชากรในจังหวัดภูเก็ตส่วนใหญ่เป็ นชาวไทยเชือ้ สายจีน เพราะในอดีตมีการอพยพของชาวจีนหลากหลายกล่มุ ดงั ท่ี ปิ ยะนนั ท์ (2553) กล่าวว่า ชาวจีนที่ อพยพเข้ามาอย่ใู นประเทศไทย สว่ นใหญ่มาจากมณฑลทางภาคใต้ของประเทศจีน โดยเฉพาะใน เขตมณฑลฮกเกีย้ น และกวางตุ้งจะมากท่ีสุด มีจํานวนร้ อยละ 95 ของคนจีนในประเทศไทย นอกจากนนั้ คณะกรรมการฝ่ ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ (2544) ยงั ได้กลา่ วอีกวา่ สําหรับ ชาวจีนที่อพยพเข้ามายงั เกาะถลาง (ในปัจจบุ นั คือ จงั หวดั ภเู ก็ต) ได้เข้ามาเม่ือใดไม่ปรากฏชดั เจน แต่สันนิษฐานว่าในยุคที่อาณาจักรตามพรลิงค์กําลังรุ่งเรืองนัน้ ดินแดนคาบสุมทรมลายูเป็ น ศนู ย์กลางของการติดต่อค้าขายระหว่างจีนกบั อินเดีย คนจีนอาจคงรู้จกั เกาะถลางตงั้ แต่สมยั นนั้ และยงั คงเดินทางแสวงโชคในการค้าขายกบั ชาวพืน้ เมือง จนตกลงใจตงั้ รกรากอย่ทู ี่เมือง จึงเป็ น ชนวนให้ญาตมิ ติ รทางเมืองจีนคอ่ ยๆเดนิ ทางมาสมทบเพมิ่ ขนึ ้ ตามลําดบั 2.1.1 การอพยพของชาวจนี มายงั ประเทศไทย ในอดีตประเทศไทยมีความอดุ มสมบรู ณ์ทางด้านทรัพยากรอยา่ งมาก และจงั หวดั ภเู ก็ตเป็ นเมืองท่าสาํ คญั อยใู่ นดนิ แดนคาบสมทุ รมาลายู ชาวจีนเป็ นนกั แสวงโชคการค้าขายของจีน จงึ มีอิทธิพลในแถบภาคใต้ของประเทศไทย ประกอบกบั คนไทยมีนิสยั โอบอ้อมอารี ทําให้ชาวจีนมี การอพยพมาตงั้ ถิ่นฐานในประเทศไทยเป็ นจํานวนมาก
10 สทุ ธิวงศ์ และ คณะ (2544) อ้างถึงใน ฤดี (2553) กล่าวว่า ชาวจีนได้อพยพเข้า มายงั ประเทศไทย และได้รู้จกั ภาคใต้ของประเทศไทย ตงั้ แตพ่ ทุ ธศตวรรษที่ 5 เพราะชาวจีนเป็ นนกั แสวงโชค แสวงหาทรัพยากร ประกอบกับภาคใต้เป็ นดินแดนที่อยู่ระหว่างจีนกับอินเดีย จึงเป็ น ดินแดนที่ชาวจีนรู้จกั เป็ นอย่างดี แต่ด้วยความเจริญทางด้านเทคโนโลยียงั มีน้อย ทําให้มีข้อจํากดั เกี่ยวกบั เรือและขนาดของเรือท่ีต้องอาศยั แรงลม มีผลให้เส้นทางการเดินเรือต้องแวะพกั หลบลม มรสมุ บริเวณเมืองชายฝ่ัง จนกระทงั่ ศตวรรษที่ 20 ระหว่างปี พ.ศ.1948-1987 ราชวงศ์หมิงจึงได้ พฒั นาเรือสาํ เภาขนาดใหญ่ สามารถสาํ รวจเส้นทางเดนิ เรือในแถบนีอ้ ยา่ งกว้างขวาง การค้าของจีน จึงมีอิทธิพลมากในแถบภาคใต้ของประเทศไทย และทําให้การเดินทางของคนจีนเข้าส่ภู าคใต้ของ ไทยมีมากยงิ่ ขนึ ้ กลมุ่ ชาวจีนที่เข้ามาตงั้ ถ่ินฐานในประเทศไทยสามารถจําแนกได้ 2 ลกั ษณะ ดงั นี ้ 2.1.1.1 จําแนกตามลกั ษณะอพยพมี 4 กลมุ่ ดงั นี ้ กลมุ่ ที่ 1 เป็ นคนจีนท่ีมงุ่ แสวงหาชีวติ ที่ดกี วา่ มกั อพยพมาด้วยเรือสาํ เภาจีน แบบ ไม่มีจดุ หมายปลายทาง ขนึ ้ ฝ่ังที่ไหนก็พร้อมท่ีจะเผชิญและส้ชู ีวิต ณ ท่ีนนั้ กลมุ่ นีม้ กั เข้ามาตงั้ หลกั แหล่งทํากินในบริเวณภาคใต้ฝ่ังตะวนั ออก ตงั้ แต่บริเวณไชยา รอบอ่าวบ้านดอน ล่มุ นํา้ ปากพนงั สงขลา ตลอดถึงปัตตานี เป็ นคนจีนประเภทท่ีเข้ามาเพื่อมุ่งม่ันประกอบอาชีพโดยสุจริต และ พยายามปรับตวั ให้เข้ากบั วฒั นธรรมไทย ไม่ฝักใฝ่ ในเรื่องการเมือง ไม่มีความม่งุ หมายหาความดี จากรัฐบาลจีน คนจีนกล่มุ นีเ้ ข้ามาส่เู มืองปัตตานีในสมยั กรุงศรีอยธุ ยามากที่สดุ เพราะเป็ นช่วงท่ี ปัตตานีเจริญเป็ นศนู ย์กลางการค้าที่สําคญั และมีความมน่ั คงด้านการปกครอง ส่วนช่วงก่อนและ หลงั จากนีแ้ ละบริเวณภาคใต้ฝ่ังตะวนั ออกแหล่งอ่ืนๆ คนจีนอพยพเข้ามามากบ้างน้อยบ้าง ต่าง โอกาส ตา่ งสาเหตปุ ัจจยั กนั เชน่ จีนไหหลาํ อพยพเข้ามายงั บริเวณเกาะสมยุ และรอบอา่ วบ้านดอน มากในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ จีนฮกเกีย้ นอพยพเข้ามายงั เมืองสงขลาและบริเวณใกล้เคียงในช่วง ปลายสมยั กรุงศรีอยธุ ยาและทวีมากขึน้ ในช่วงรัชกาลที่ 3-5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะอย่าง ย่ิงในช่วงที่เจ้าเมืองสงขลาย้ายเมืองจากฝ่ังหัวเขาแดงไปตัง้ ที่ตําบลบ่อยาง ฝั่งตะวันออกของ ปากนํา้ สงขลาในสมยั รัชกาลที่ 3 และในช่วงที่พระยาสขุ มุ นยั วินิต พฒั นามณฑลภาคใต้ เม่ือ ร.ศ. 115-125 (พ.ศ.2439-2449) ซงึ่ ระยะนนั้ ทงั้ เจ้าเมือง กรมการเมือง และรัฐบาลไม่ได้รังเกียจกีดกนั คนจีนแต่กลับส่งเสริมให้ เข้ ามาอยู่มากๆ เพราะได้ อาศัยแรงงาน ทุนจากการสะสม และ ผลประโยชน์อ่ืนๆ เช่น ส่วย ภาษี จากการดําเนินกิจการบางอย่าง จีนกลุ่มนีส้ ่วนใหญ่เข้ามา ประกอบอาชีพค้าขาย การเกษตร เลีย้ งปศสุ ตั ว์ ทําอาหาร ตดั เย็บเสือ้ ผ้า ทําการประมง ทําสวนผกั รับจ้าง และเป็ นเจ้าภาษี เป็ นต้น
11 กล่มุ ท่ี 2 เป็ นคนจีนอพยพเข้ามาตงั้ หลกั แหล่งในบริเวณมลายูและบริเวณสอง ฟากช่องแคบมะละกา ได้แก่ ดินแดนของชวา มลายู รวมถึงสิงคโปร์ และเกาะปี นงั ส่วนใหญ่เป็ น คนจีนท่ีม่งุ แสวงหาโชคลาภ มีความทะเยอทะยาน รักการทําธุรกิจการค้า การจดั การ หมายจะได้ เป็ นเจ้าสวั แล้วต่อมาจึงโยกย้ายถิ่นฐานส่ภู าคใต้ฝั่งตะวนั ตก และส่วนหนึ่งได้เคลื่อนย้ายเข้ามาสู่ ภาคใต้ฝ่ังตะวนั ออก ตงั้ แตน่ ครศรีธรรมราชลงมามาทางใต้ คนจีนกลมุ่ นีอ้ พยพจากเมืองจีนเข้ามา มากในช่วงพทุ ธศตวรรษที่ 20 ซง่ึ เป็ นช่วงท่ีเมอื งมะละกาเจริญเป็ นศนู ย์กลางการค้าทางเรือท่ีสําคญั ของโลก คนจีนกลมุ่ นีส้ ว่ นหนง่ึ เคยอยใู่ นอํานาจของชาวตะวนั ตก และค้นุ เคยกบั วฒั นธรรมตะวนั ตก ครัน้ เคล่ือนย้ายมาอย่ใู นภาคใต้ตอนล่างแล้ว ส่วนหน่ึงยงั สมคั รใจจะอย่ใู นบงั คบั ของชาวตะวนั ตก โดยยอมตนเป็ นคนในปกครองของกงสลุ ชาติตะวนั ตกท่ีอย่ใู นเมืองไทย เพ่ืออภิสิทธ์ิทางการเมือง และทางเศรษฐกิจบางประการ เป็ นคนจีนกล่มุ ที่ส่วนใหญ่มีความสมั พนั ธ์และผกู พนั กบั คนจีนใน เมืองปี นงั และสิงคโปร์ มากกว่าใกล้ชิดกบั คนจีนและวฒั นธรรมไทยในภาคกลาง ทงั้ ยงั เป็ นกลมุ่ ท่ีมี ความเป็ นจีนผสมผสานกับความเป็ นตะวันตกมากกว่าจีนกลุ่มอ่ืนๆในภาคใต้ ทัง้ ด้านวิถีการ ดํารงชีวติ วถิ ีการสร้างพลงั อํานาจทางสงั คม เศรษฐกิจการเงิน และวิถีคิด เช่น การมีบ้านเรือนแบบ ชิโนโปรตกุ ีส การทําเหมืองแร่แบบเหมืองสบู ตามอย่างท่ีใช้กนั ในเหมืองมลายมู าใช้ในเมืองภเู ก็ต เป็ นแห่งแรก คือ เหมืองสบู ของหลวงอนภุ าษภเู ก็ตการ (จีนหงวนหงส์หยก) หรือท่ีพระอร่ามสาคร เขตต์ (ตนั เพก็ ฮวดตณั ทยั ) ทําเหมืองเรือขดุ เป็ นคนแรกตามอยา่ งท่ีชาวออสเตรเลียนําเข้ามาขดุ เป็ น ครัง้ แรก ที่อา่ วทงุ่ คา เมืองภเู ก็ต รวมทงั้ การแสวงหาแหลง่ ทนุ ผา่ นระบบธนาคาร กลุ่มที่ 3 เป็ นคนจีนท่ีอพยพเข้ามาทางภาคกลางของประเทศไทยก่อนแล้วจึง เคลื่อนย้ายไปตงั้ หลกั แหลง่ ในภาคใต้ ภายหลงั จีนกลมุ่ นีเ้คลื่อนย้ายเข้าตงั้ หลกั แหล่งในภาคใต้เข้า มามากท่ีสุดช่วงสมยั รัชกาลท่ี 3-5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ แล้วค่อยทยอยเข้ามาเร่ือยๆ ในช่วง สงครามโลกครัง้ ที่ 2 และระยะหลงั จากนนั้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในชว่ งกําลงั ก่อสร้างทางรถไฟสายใต้ (พ.ศ.2452-2467) ที่สว่ นใหญ่ต้องอาศยั แรงงานคนจีน ซง่ึ มีทงั้ จีนแคะ จีนแต้จ๋ิว จีนกวางต้งุ เป็ นต้น แรงงานจีนกลมุ่ ท่ีสร้างทางรถไฟสายใต้นี ้เม่ือสร้างเสร็จ จะตงั้ หลกั แหล่งกระจายอย่บู ริเวณสถานี รถไฟและบริเวณใกล้เคียงเกือบทุกสถานี อนึ่งจากการที่องั กฤษได้แสดงท่าทีอย่างเปิ ดเผยที่จะ ขยายอิทธิพลทางการเมืองและเศรษฐกิจ เข้ามาในภาคใต้ของประเทศไทยในระหว่างสงครามโลก ครัง้ ที่ 1 ทําให้รัฐบาลไทยใช้อบุ ายสกดั กนั้ อิทธิพลของทนุ องั กฤษไม่ให้ขยายตวั เข้ามาลงทนุ บกุ เบิก ที่ดนิ สองข้างทางรถไฟสายใต้ โดยวธิ ีให้นายทนุ ชาวจีนแคะที่รับเหมาก่อสร้างทางรถไฟสายใต้ระดม ทนุ ตงั้ บริษัทสวนยางพาราขนาดใหญ่ขึน้ 2 บริษัท และจ้างแรงงานจีนที่เคยเป็ นกลุ ีสร้างทางรถไฟ บกุ เบกิ ทําสวนยางพารา ประมาณ 50,000 ไร่ ตรงบริเวณรอยต่อระหว่างอําเภอหาดใหญ่กบั คลอง
12 ระแงะในเขตอําเภอสะเดา และบริเวณรอยตอ่ ระหว่างตําบลปาดงั เบซาร์ กบั อําเภอสะเดา จงั หวดั สงขลา และให้คนจีนบุกเบิกสร้างสวนยางพารานอกบริเวณจบั จองของบริษัท และราชสํานกั ไทย อนุมตั ิให้มีการแบ่งสวนยางให้แก่ลกู จ้างชาวจีนเข้าครอบครองเป็ นเจ้าของได้ครึ่งหน่ึง ทงั้ ยงั เปิ ด โอกาสให้ ชาวจีนท่ีอยู่ในอาณานิคมของอังกฤษและฮอลันดา ท่ีไม่อ้ างตัวเป็ นคนในบังคับ ชาวตะวนั ตกสามารถจับจองท่ีดินทําสวนยางพาราได้คนละไม่เกิน 100 ไร่ หรือถ้าต้องการพืน้ ที่ มากกว่า 500 ไร่ขนึ ้ ไป ก็ให้เทศาภิบาลมณฑลตา่ งๆ ในภาคใต้อนมุ ตั ใิ ห้ได้ ทําให้ชาวจีนในกลมุ่ ท่ี 2 ซงึ่ เคยรับจ้างทําสวนยางอย่ใู นหวั เมืองมลายู อพยพเข้ามาจบั จองที่ดินเพ่ือบกุ เบกิ สร้างสวนยางใน ปี พ.ศ. 2463 ตามสองฟากเส้นทางรถไฟ ในเขตจงั หวดั ยะลา นราธิวาส ปัตตานี สงขลา โดยเฉพาะ พวกจีนฮกจิว ซง่ึ เคยเป็ นลกู จ้างทําสวนยางในรัฐเปรัคของมลายู อพยพแรงงานและครอบครัวเข้า มาจบั จองท่ีดนิ บริเวณสองข้างทางรถไฟ ตงั้ แตส่ ถานีนาบอนถึงสถานีคลองจนั ดี ในเขตอําเภอท่งุ สง และอําเภอฉวาง จงั หวดั นครศรีธรรมราช เป็ นจํานวนมาก ลกู หลานของชาวจีนแคะ และจีนฮกจิว เหลา่ นีก้ ลายเป็ นกําลงั สําคญั ในการบกุ เบกิ ทําสวนยางพาราทวั่ ภาคใต้ กล่มุ ที่ 4 เป็ นกล่มุ กรรมกรจีนท่ีอพยพเข้ามาเป็ นกลุ ีในเหมืองแร่ดีบกุ ของภาคใต้ ฝ่ังตะวนั ตก อนั เน่ืองจากสภาวะการขาดแรงงานในระหว่าง พ.ศ.2433-2444 ซงึ่ มีทงั้ พวกจีนอพยพ ท่ีโดยสารเรือเดนิ ทางมาเองอยา่ งอิสระและท่ีมาตามข้อเสนอของพระยารัษฎานปุ ระดษิ ฐ์มหิศรภกั ดี (คอมซมิ บ)ี ้ และกรมการเมืองภเู ก็ตท่ีเสนอให้รัฐบาลสนบั สนนุ แก่เรือที่รับกลุ ีเดินตรงจากเมืองจีนมา เมืองภูเก็ต โดยได้รับต๋ัวสินเช่ือ ซ่ึงมีบริษัทจัดหาแรงงานและนายเหมือง ออกค่าโดยสารและ คา่ ใช้จา่ ยให้ก่อน แล้วต้องทํางานชดใช้คา่ ตวั๋ สินเช่ือจนครบถ้วนตามสญั ญา จงึ จะเป็ นอิสระ คนจีน กลมุ่ นีเ้ข้ามาสเู่ มืองภเู ก็ตและบริเวณใกล้เคียงเป็ นจํานวนมากในช่วง พ.ศ. 2449-2464 คนจีนกล่มุ นีป้ ะปนกัน ทัง้ พวกที่มุ่งมั่นประกอบอาชีพโดยสุจริต พวกหนักไม่เอาเบาไม่สู้ บ้างก็เป็ นพวก ประพฤตติ วั เป็ นปฏิปักษ์กบั รัฐบาลแมนจเู ลียของจีน จึงต้องเดือดร้อนหลบออกนอกประเทศ พวกท่ี ฝักใฝ่ ปัญหาทางการเมืองและปฏิบตั ิตนเป็ นเสมือนหนง่ึ สายลบั ของรัฐบาลในขณะนนั้ เพ่ือความดี ความชอบของตนเอง คนจีนกล่มุ นีส้ ่วนหน่ึงก่อให้เกิดขบถองั้ ยี่ บ้างก็ก่อให้เกิดปัญหาการเสพฝิ่ น ติดการพนัน ก่อให้เกิดปัญหาโสเภณี ก่อความไม่สงบเรียบร้ อย รวมถึงการประกอบมิจฉาชีพ ก่อให้เกิดปัญหาทงั้ ด้านเศรษฐกิจ การปกครอง และสงั คม 2.1.1.2 จําแนกตามลกั ษณะท่ีใช้สอ่ื สารได้ 6 กลมุ่ ดงั นี ้ ปิ ยะนนั ท์ (2553) กล่าวว่า ชาวจีนได้เข้ามาอย่ใู นประเทศต่างๆในเอเชีย อาคเนย์แทบจะทกุ ประเทศ ประเทศไทยเป็ นอีกประเทศหนง่ึ ที่ชาวจีนเข้ามาตงั้ ถ่ินฐานเป็ นจํานวน มาก ชาวจีนที่เข้ามาตงั้ ถ่ินฐานในประเทศไทยเป็ นพวกท่ีมาจากบริเวณทางตอนใต้ของประเทศจีน
13 คือ มณฑลฟูเกีย้ น มณฑลกวางตุ้ง และเกาะไหหลํา ชาวจีนเริ่มอพยพเข้ามาตัง้ ถ่ินฐานอยู่ใน ประเทศไทยเป็ นจํานวนมากในปลายศตวรรษท่ี 18 และต้นศตวรรษท่ี 19 ซึ่งตรงกบั ปลายกรุงศรี อยธุ ยา สมยั กรุงธนบรุ ี และต้นสมยั รัตนโกสนิ ทร์ สว่ นใหญ่เป็ นชาวจีนจากมณฑลทางใต้ จําแนกได้ ตามภาษาสอื่ สารได้เป็ น 6 กลมุ่ คอื 1) จีนแต้จ๋ิว (Teachiu) ชาวจีนกลมุ่ นี ้มีภมู ิลําเนาเดิมอยตู่ ามเมืองตา่ งๆ ของซวั เถา และตามท้องถิ่นแมน่ ํา้ ฮน่ั คนจีนร้อยละ 56 ในประเทศไทยเป็ นพวกแต้จ๋ิว 2) จีนแคะ (Hakka) ชาวจีนกลมุ่ นี ้ไม่รวมตวั เป็ นกลมุ่ ก้อนเหมือนชาวจีน กล่มุ อื่นๆ จึงไม่มีเมืองอย่เู ป็ นของตนเองในประเทศจีน แต่อย่กู นั เป็ นหม่ๆู ตามนอกเมืองเป็ นแถว ทางตะวนั ออกและตะวนั ตกจากมณฑลฮกเกีย้ นไปจนถึงกวางสี และในระหว่างช่องเขาท่ีเป็ นแนว ไปจนถึงทางเหนือของมณฑลกวางต้งุ พวกจีนแคะในประเทศไทยมีอย่ปู ระมาณร้อยละ 16 ของคน จีนทงั้ หมดในประเทศไทย 3) จีนไหหลํา (Hainanese) ชาวจีนพวกนีเ้ ป็ นประชากรส่วนใหญ่ของ เกาะไหหลํา แต่ไม่ใช่คนพืน้ เมืองเดิม ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของมณฑลกวางตุ้ง ทางภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือของเกาะไหหลํา ซง่ึ ในประเทศไทยมีชาวจีนพวกนีอ้ ย่รู ้อยละ 12 ของคนจีน ทงั้ หมดในประเทศไทย 4) จีนกวางตุ้ง (Cantonese) จีนกวางตุ้งเป็ นประชากรส่วนใหญ่ของ มณฑลกวางต้งุ และตามภาคตา่ งๆ ตามตะวนั ออกเฉียงใต้ของมณฑลกวางต้งุ พวกกวางต้งุ มีอย่ใู น ประเทศไทยราวร้อยละ 7 ของคนจีนทงั้ หมดในประเทศไทย 5) จีนฮกเกีย้ น (Fukienese) ชาวจีนพวกนีอ้ ยู่ทางตอนใต้ของมณฑล ฮกเกีย้ น โดยมีเมืองเอ้หมงึ เป็ นศนู ย์กลาง ในประเทศไทยมีชาวจีนพวกฮกเกีย้ นอยรู่ าวร้อยละ 7 ของ คนจีนทงั้ หมดในประเทศไทย 6) พวกอ่ืนๆ ท่ีมาจากไต้หวนั เซ่ียงไฮ้ และจากนิงโป รวมกนั มีอยรู่ าวร้อย ละ 2 ของคนจีนทงั้ หมดในประเทศไทย สรุปว่าชาวจีนทงั้ 4 กล่มุ ดงั กล่าวต่างก็อพยพเข้าตงั้ ถ่ินฐานในภาคใต้มากท่ีสดุ ในช่วงรัชกาลที่ 3–5 ในแตล่ ะกลมุ่ ไมร่ ู้จํานวนที่ชดั เจน เนื่องจากการควบคมุ ตรวจตราไมเ่ ข้มงวด มี การอพยพเข้าสู่ภาคใต้โดยตรง และถ่ายเทระหว่างภาคอ่ืนๆก็มาก จากมาเลเซีย สิงคโปร์ และ อินโดนีเซีย มีการหลบเลี่ยงทงั้ โดยชาวจีนเอง และจากการกระทําของเจ้าหน้าที่ของเจ้าเมืองและ กรมการเมือง เพื่อผลประโยชน์บางประการ แหล่งที่ชาวจีนตัง้ ถ่ินฐานอยู่มาก คือ ภาคใต้ฝ่ัง ตะวันตก ภาคใต้ฝั่งตะวนั ออก ตอนกลาง และตอนล่างที่มีกิจการเหมืองแร่ และกิจการทําสวน
14 ยางพารา และมีการกระจายอยทู่ วั่ ไปในท้องที่ๆมีปัจจยั พืน้ ฐาน ในการทําการค้า การประกอบธุรกิจ ประกอบอาชีพอื่นๆ สะดวกและมน่ั คง ชาวจีนทงั้ 4 กล่มุ นนั้ มาจากบริเวณทางตอนใต้ของประเทศ จีน คือ มณฑลฟูเกีย้ น มณฑลกวางตุ้งและเกาะไหหลํา ซ่ึงจําแนกได้ตามภาษาสื่อสารได้เป็ น 6 กล่มุ คือ จีนแต้จ๋ิวร้อยละ 56 ในประเทศไทย จีนแคะร้อยละ 16 จีนไหหลําร้อยละ 12 จีนกวางต้งุ ร้อยละ 7 จีนฮกเกีย้ นร้อยละ 7 และพวกอื่นๆ ท่ีมาจากไต้หวนั เซ่ียงไฮ้ และจากนิงโปร้อยละ 2 ของ คนจีนทงั้ หมดในประเทศไทย 2.1.2 ปัจจัยท่ที าํ ให้ชาวจีนอพยพไปตงั้ ถ่นิ ฐานในภาคใต้ สทุ ธิวงศ์ และ คณะ (2544) กลา่ วว่า ปัจจยั สําคญั ท่ีเอือ้ และจงู ใจให้ชาวจีนอพยพ ไปตงั้ ถิ่นฐานในภาคใต้ของไทย มีอยา่ งน้อย 9 ประการ ได้แก่ 2.1.2.1 ปัจจยั อนั เน่ืองจากภาคใต้อยู่ในเส้นทางการแลกเปล่ียนวฒั นธรรม และ การค้าทางเรือ เน่ืองจากภาคใต้เป็ นคาบสมทุ รอยใู่ นเส้นทางการค้าทางเรือท่ีพวกแขกมวั ร์ (อินเดีย, อาหรับ,เปอร์เซีย) เดินทางไปค้าขายกบั จีน และบางประเทศบริเวณทะเลจีนใต้ มาตงั้ แตป่ ระมาณ พทุ ธศตวรรษที่ 7 แตห่ ้วงเวลานนั้ การเดินเรือต้องอาศยั ลมสินค้าท่ีพดั จากทิศตะวนั ตกเฉียงใต้และ ลมสินค้าท่ีพดั จากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพดั สลบั กันตามฤดูกาลของแต่ละปี ประกอบกับ เทคโนโลยีการเดินเรือและขนาดของเรือยงั มีขีดจํากดั จึงต้องเดินเรือเลียบชายฝั่ง และต้องแวะพกั เพ่ือซ่อมแซมเรือระหว่างทาง จึงต้องจอดแวะตามเมืองริมฝ่ังของภาคใต้ จนกลายเป็ นเมืองท่าขึน้ ครัน้ เม่ือเทคโนโลยีการเดนิ เรือของพวกแขกมวั ร์พฒั นาการสงู ขนึ ้ จนอยใู่ นวิสยั ที่เดินเรือตดั ตรงเข้าสู่ ช่องแคบมะละกาหรืออ้อมคาบสมุทรได้ แต่ก็ประสบปัญหาเร่ืองเขตปลอดลม จึงต้องหลบเขต อนั ตรายขึน้ เหนือแนวเส้นศนู ย์สตู รตดั เข้าส่บู ริเวณคาบสมทุ รฝ่ังตะวนั ตกใกล้ๆ เขตตะก่ัวป่ าแล้ว เลียบเลาะลงใต้ไปยงั อา่ วพงั งา และบริเวณรัฐเกดาห์ของมาเลเซียในปัจจบุ นั แล้วจงึ เข้าช่องแคบมะ ละกาไปสทู่ ะเลจีนใต้ หรือไม่ก็ขนย้ายสินค้าทางบกข้ามคาบสมทุ รภาคใต้ไปยงั ฝั่งตะวนั ออก จึงทํา ให้เกิดเมืองทา่ และชมุ ชนการค้าขนึ ้ ตามบริเวณชายฝั่งตะวนั ออกของภาคใต้หลายเมือง 2.1.2.2 ปัจจยั อนั เนื่องจากภาคใต้อดุ มด้วยทรัพยากรธรรมชาติประเภทของป่ า เคร่ืองเทศ และเคร่ืองหอม เป็ นปัจจยั สําคญั ที่ทําให้ดินแดนบริเวณคาบสมทุ ร และบริเวณใกล้เคียง ได้สมญานามจากนักแสวงโชคว่า “สุวรรณภูมิ” หรือ “สุวรรณทวีป” คือ ความอุดมและความมี คณุ ภาพสงู ของป่ าและเครื่องเทศจากบริเวณนี ้ซง่ึ เป็ นตวั สินค้าท่ีทํากําไรสงู ให้แก่พ่อค้าในระหว่าง พทุ ธศตวรรษท่ี 8-22 เพราะสนิ ค้าเหลา่ นีเ้ป็ นสง่ิ จําเป็ นในการดํารงชีพ ทงั้ ด้านอาหารและยา สนิ ค้า ประเภทของป่ าบางอย่างยังเป็ นเคร่ืองบ่งชีฐ้ านะและอํานาจของคนระดบั กลางและระดบั สูงท่ี บางครัง้ ถือกนั วา่ เป็ นของฟ่ มุ เฟื อยเพื่ออวดฐานะหน้าตาและอํานาจในสงั คม
15 2.1.2.3 ปัจจัยอนั เนื่องจากภาคใต้อุดมด้วยแหล่งแร่และกิจการเหมืองแร่ดีบุก ปัจจยั อยา่ งหนงึ่ ที่จงู ใจให้ชาวจีนเข้าไปตงั้ ภมู ลิ ําเนาอยา่ งถาวร คือ การทําเหมืองและการค้าแร่ดีบกุ เนื่องจากภาคใต้ของไทยตงั้ อย่ใู นแนวสายแร่ดีบกุ สายใหญ่ที่สดุ ของโลก เป็ นแหลง่ ผลิตและตลาด ค้าแร่ดีบกุ ซง่ึ มีอย่เู พียงน้อยแหล่ง จนแร่ดีบุกเป็ นสินค้าผกู ขาดของหลวงมาตงั้ แต่ พ.ศ. 2166 ใน สมยั กรุงศรีอยธุ ยาและชาวจีนได้อพยพเข้ามา เพ่ือตงั้ ถิ่นฐานและแสวงหาโภคทรัพย์จากแร่ดีบกุ ใน ภาคใต้มาตงั้ แต่กลางพุทธศตวรรษท่ี 23 เป็ นต้นมา ในที่สดุ การทําเหมืองแร่ดีบุกมีอิทธิพลเหนือ เศรษฐกิจการเมืองและสงั คมภาคใต้ จนถึงพทุ ธศตวรรษท่ี 25 กิจการเหมืองแร่ดีบุกทุกขัน้ ตอนตกอยู่ในมือของชาวจีน ทัง้ การเป็ น เจ้าของเหมือง ผ้คู วบคมุ ดแู ลกรรมกร การดําเนินการในการสํารวจหาแหล่งแร่ การทําเหมือง การ ถลงุ แร่ และการทําธุรกิจการค้าแร่ดีบกุ ตลอดถึงการอาศยั ลกั ษณะทนุ ของชาวจีน ซง่ึ เป็ นทนุ ท่ีเกิด จากการสะสมภายในประเทศที่ชาวจีนเพ่ือขยายธุรกิจประเภทอ่ืนๆ เหล่านีล้ ้วนต้องพึ่งพาชาวจีน อพยพเพ่ิมขนึ ้ ตามความจําเป็ นในการพฒั นากิจการเหมืองแร่ในภาคใต้ 2.1.2.4 ปัจจยั อนั เน่ืองจากภาคใต้มีสภาพทางภูมิศาสตร์เอือ้ ต่อพืชเกษตร และ พืชเศรษฐกิจ จงู ใจให้คนจีนเข้ามาดําเนินการในเชิงธุรกิจการค้า ชาวจีนซงึ่ เก่งทางด้านธุรกิจการค้า รู้ดีว่า บริเวณใดมีทรัพยากรชนิดใดท่ีเป็ นพืน้ ฐานตอ่ การดําเนินการ/พฒั นาเป็ นธุรกิจการค้าได้ เช่น กรณีบริเวณลมุ่ นํา้ ปากพนงั ซง่ึ เป็ นแหลง่ นาข้าวมีคณุ ภาพของภาคใต้ ชาวจีนจงึ เข้ามาทํากิจการค้า ข้าว โดยตงั้ โรงสีข้าวและค้าข้าวสาร ขยายกิจการจนสามารถสร้ างความม่นั คงและมัง่ คง่ั ให้แก่ ชมุ ชนปากพนงั จนกิจการค้าข้าวและกิจการโรงสขี ้าวในบริเวณนีต้ กอยใู่ นมือของชาวจีนทงั้ หมด ทํา ให้ชมุ ชนปากพนงั กลายเป็ นชมุ ชนชาวจีนที่โดดเดน่ และขยายเครือขา่ ยการค้าข้าวเช่ือมโยงไปทวั่ ทงั้ บริเวณล่มุ นํา้ ปากพนงั และทุ่งระโนด คือ ที่เชียรใหญ่และชะอวด จังหวดั นครศรีธรรมราช ท่ีบ้าน ปากคลอง บ้านลําปํ า และอําเภอเมืองพทั ลงุ และอําเภอปากพะยนู จงั หวดั พทั ลงุ ตลอดถึงอําเภอ เมืองสงขลา อําเภอระโนด จงั หวดั สงขลา กิจการค้าข้าวและโรงสีข้าวตามเครือข่ายนี ้ทําให้ชาวจีน เข้าไปตงั้ ถ่ินฐานกระจายอยู่ทั่วทงั้ ที่เป็ นกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ ทัง้ ในระดบั อําเภอ ตําบล และ หมบู่ ้าน โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในช่วงสมยั รัชกาลที่ 4-6 กรุงรัตนโกสนิ ทร์ 2.1.2.5 ปัจจยั อนั เน่ืองจากการขาดแคลนแรงงานในชาติ และในภาคใต้ในรัชกาล ท่ี 5 พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอย่หู วั ทรงปรับปรุงประเทศและการปกครองหวั เมืองให้ เจริญรุดหน้าเยี่ยงอารยประเทศทัง้ ปวง เช่น การพัฒนากลไกการปกครอง ระบบราชการ และ ปัจจยั พืน้ ฐาน อนั จะนําไปส่คู วามเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และสงั คม มีการพฒั นาด้านเกษตรกรรม เช่น แหลง่ นํา้ การคมนาคม การสร้างถนน สะพาน ทางรถไฟ การไปรษณีย์โทรเลข การขดุ คคู ลอง
16 การมีกิจการโรงสี การประปา การตงั้ โรงไฟฟ้ า โรงเล่ือย ฯลฯ เหล่านีล้ ้วนต้องการแรงงานเพ่ิมขึน้ เป็ นจํานวนมาก แตเ่ นื่องจากคนไทยค้นุ เคยเฉพาะการทํานา ทําไร่ แบบท่ีเคยชินอย่เู ดิม และส่วน หน่ึงหันไปนิยมความเป็ นข้าราชการ จึงเปิ ดโอกาสให้ชาวจีนอพยพเข้ามาสู่ภาคแรงงาน ทัง้ ใน สว่ นกลางและสว่ นท้องถ่ิน 2.1.2.6 ปัจจยั อนั เนื่องจากปัญหาภายในของประเทศจีน ปัจจยั สําคญั อย่างหนึ่ง ที่ผลกั ดนั ให้ชาวจีนอพยพออกจากประเทศจีนไปอย่ใู นต่างแดน คือ ปัญหาจากภายในของจีนเอง ซง่ึ มีหลายลกั ษณะตา่ งกนั ไปในแตล่ ะห้วงเวลาที่สําคญั ได้แก่ ปัญหาจากราชภยั เนื่องจากประเทศ จีนมีการผลดั เปล่ยี นราชวงศ์ ผลดั เปล่ียนแผน่ ดนิ ในแตล่ ะครัง้ มกั เกิดจากการแยง่ ชิงอํานาจระหวา่ ง เผา่ พนั ธ์ุ ปัญหาจากความออ่ นแอและการชิงดชี ิงเดน่ ในราชสาํ นกั จงึ มกั ทําลายล้างฝ่ ายตรงกนั ข้าม หรือฝ่ ายท่ีคิดว่านานไปจะมีอํานาจและล้มล้างอํานาจของพวกตน จงึ มกั มีการกวาดล้างทําลายกนั หรือบีบคนั้ ต่างๆนานา จึงทําให้ชาวจีนกล่มุ ที่สญู เสียอํานาจ หรือที่ถกู มองว่าเป็ นปรปักษ์กบั ฝ่ ายท่ี ปกครอง ต้องอพยพหลบหนีราชภยั หรือหนีออกไปเคลื่อนไหวทางการเมือง เพื่อหาโอกาสกลบั ไป ยึดอํานาจคืน เช่น ในสมยั ต้นราชวงศ์ชิง มีชาวจีนจํานวนหนึ่งท่ียงั จงรักภกั ดีตอ่ ราชวงศ์หมิง และ รังเกียจราชวงศ์ชิงท่ีเป็ นพวกแมนจู (แคว้นแมนจูเรีย) ซ่ึงต่างเผ่าพนั ธ์ุกับคนจีนจึงพากันต่อต้าน และหาทางล้มล้างราชวงศ์ชิงอย่างลบั ๆ ทําให้พวกแมนจู กดข่ี ขบั ดนั และทําการกวาดล้างอย่าง รุนแรง จนต้องอพยพหลบหนีไปดําเนินการในต่างแดน ในลกั ษณะของสมาคมลบั หรือ “องั้ ยี่” จน เกิดกล่มุ องั้ ย่ีขึน้ ในภาคใต้ ท่ีเช่ือมโยงและขยายกล่มุ สคู่ นจีนที่เข้ามาก่อนและหลงั ทงั้ ยงั เชื่อมโยง กบั กลุ่มองั้ ย่ีในสิงคโปร์และมลายู ตลอดจนองั้ ย่ีท่ีดําเนินการอยู่ในประเทศจีน ทําให้จีนอพยพมี ความซบั ซ้อนเพิ่มขึน้ ในจํานวนนีม้ ีส่วนหนึ่งที่เปลี่ยนใจลีภ้ ยั อย่างถาวร จนสามารถสร้ างฐานะ สร้างหลกั ฐานในภาคใต้ มีเกียรตภิ มู ิ มีฐานะ และมียศถาบรรดาศกั ดิ์ เช่น กลมุ่ กลุ ีจีนที่อยใู่ นสงั กดั ของจีนตนั ต๋ํา แซ่ตนั (หลวงอร่ามสาครเขตรฯ) หรือชาวจีนท่ีเข้ามาดําเนินการเพื่อสนบั สนนุ พรรค คอมมวิ นิสต์จีน เป็ นต้น 2.1.2.7 ปัจจัยอันเน่ืองจากชาวต่างชาติแทรกแซงด้านอธิปไตย และการค้าใน ประเทศจีนและเอเชียอาคเนย์ เนื่องจากประเทศมหาอํานาจเข้ามาแทรกแซงด้านอธิปไตยและ การค้าในเอเชียอาคเนย์ในห้วงพทุ ธศตวรรษท่ี 22-25 เป็ นยคุ การลา่ อาณานิคมของประเทศในยโุ รป เพ่ือแยง่ ชิงทรัพยากรและอํานาจทางการค้า รวมทงั้ การแยง่ ดนิ แดน เพื่อเป็ นฐานพลงั อํานาจของตน เช่น กรณีในประเทศจีน ถูกบริษัทอีสต์อินเดียของอังกฤษ นําฝิ่ นซ่ึงเป็ นตัวสินค้ามหาภัยจาก ภายนอกเข้าไปแลกกบั ใบชา จนทําให้จีนถกู บอ่ นทําลายแรงงาน บน่ั ทอนกําลงั ผลิต บนั่ ทอนกําลงั พล บนั่ ทอนคณุ ธรรมของข้าราชการและข้าราชสํานกั จนนําไปสปู่ ัญหาโจรกรรม โสเภณี การพนนั
17 การฉ้อราษฎร์บงั หลวง และการเกิดสงครามฝิ่ น แผน่ ดนิ จีนถกู กลมุ่ ประเทศมหาอํานาจ เชน่ องั กฤษ เยอรมัน ออสเตรีย รัสเซีย ฝร่ังเศส อิตาลี สหรัฐอเมริกา ญี่ป่ ุนบุกรุกยึดครอง จนนําไปสู่การล่ม สลายของราชวงศ์ชิง ปรากฏการณ์ในห้วงเวลานี ้ทําให้ชาวจีนต้องอพยพหลบหนีออกจากประเทศ เป็ นจํานวนมาก จํานวนหนง่ึ อพยพไปสสู่ ยาม และเข้าไปตงั้ ภมู ิลําเนาถาวรอยใู่ นภาคใต้ 2.1.2.8 ปัจจยั อนั เนื่องจากชาวจีนมีญาติและมิตรเข้ามาอย่ใู นภาคใต้ ก่อนที่ตน จะอพยพเข้ามา ชาวจีนที่อพยพมาสู่ภาคใต้ของไทยส่วนใหญ่ไม่ได้เข้ามาในลักษณะของผู้ไร้ ทิศทางและจดุ หมายปลายทางแบบไปตายเอาดาบหน้า แต่มกั หาล่ทู างไว้แล้วว่าจะเข้ามาเริ่มต้น ชีวิตท่ีไหน อย่างน้อยก็รู้ว่ามีชาวจีนกล่มุ ภาษาเดียวกนั จากเมืองเดียวกนั หรือมีญาติมิตรที่พอจะ พ่ึงพิงในเบือ้ งต้นได้ อยู่ท่ีใด มีฐานะและทํามาหากินอยู่อย่างไร และจํานวนหนึ่งเข้ามาตาม คาํ แนะนําชกั ชวนของญาตมิ ิตรท่ีเข้ามาก่อนหรือมาพร้อมกนั วฒั นธรรมการระดมทุนและระดมแรงงานในรูปของ “กงสี” ของชาวจีน เป็ นแรงจงู ใจให้ชาวจีนอพยพเข้ามาสภู่ าคใต้ด้วยการชกั นําของญาติมิตรท่ีเห็นเด่นชดั โดยเริ่มต้น จากเข้ามารับจ้างทํางานให้เจ้าของกิจการ กินอย่กู บั กงสี หกั ลบกบั ค่าแรง แล้วมีบางรายคอ่ ยปรับ ฐานะเป็ นผ้มู ีห้นุ ส่วน จนในท่ีสดุ ก็แยกตวั ไปประกอบการด้วยตนเอง หรือหนั ไปประกอบอาชีพใน ลักษณะอื่น ปรากฏการณ์เช่นนี ้ จะเห็นได้มากในกิจการเหมืองแร่ สวนยางพารา และธุรกิจ เครือข่ายท่ีพัฒนาขึน้ เป็ นรูปบริษัท บริษัทสาขา บริษัทในเครือ บริษัทเฉพาะช่วงตอน เป็ นต้น เหลา่ นีล้ ้วนต้องการกําลงั คนเพ่ิมขนึ ้ และถ้าเป็ นกลมุ่ ญาติมิตรกนั ก็ง่ายแก่การดําเนินการ ยอ่ มเป็ น กําลงั เสริมแก่กิจการ 2.1.2.9 ปัจจยั อนั เน่ืองจากสภาพความแตกตา่ งภายใต้ความคล้ายคลงึ ของคนจีน กบั คนภาคใต้ที่เอือ้ ประโยชน์ตอ่ กนั เนื่องจากลกั ษณะทางชีวภาพและทางกายภาพของประเทศจีน ตอนใต้กบั ภาคใต้ของประเทศไทย มีลกั ษณะคล้ายคลงึ กนั วิถีการดํารงชีวิตหรือคติชนของผ้คู น 2 กลมุ่ นีจ้ งึ ไมแ่ ตกตา่ งกนั มากนกั สะดวกตอ่ การปฏิสมั พนั ธ์ ปรับตวั และสมานลกั ษณ์กนั ปัจจยั อนั นี ้ จงึ จงู ใจให้ชาวจีนตอนใต้อพยพมาตงั้ ภมู ลิ ําเนาอยา่ งถาวรในภาคใต้อยา่ งมีพลงั สรุป ปัจจยั สําคญั ที่เอือ้ และจงู ใจให้ชาวจีนอพยพไปตงั้ ถ่ินฐานในภาคใต้ของไทยมี หลายปัจจยั เน่ืองจากภาคใต้อย่ใู นเส้นทางการแลกเปล่ียนวฒั นธรรม และการค้าทางเรือภาคใต้ เป็ นคาบสมทุ รอย่ใู นเส้นทางการค้าทางเรือท่ีพวกแขกมวั ร์ (อินเดีย,อาหรับ,เปอร์เซีย) เดินทางไป ค้าขายกบั จีนและยงั อดุ มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาตปิ ระเภทของป่ าเครื่องเทศเคร่ืองหอมเป็ นปัจจยั สําคญั ที่ทําให้ดินแดนบริเวณคาบสมทุ ร และบริเวณใกล้เคียงได้สมญานามจากนกั แสวงโชคว่า “สวุ รรณภมู ิ” หรือ “สวุ รรณทวีป” คือ ความอดุ มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ และยงั อดุ มด้วยแหล่ง
18 แร่และกิจการเหมืองแร่ดีบุก เนื่องจากภาคใต้ของไทยตงั้ อย่ใู นแนวสายแร่ดีบกุ สายใหญ่ที่สดุ ของ โลกเป็ นแหลง่ ผลติ และตลาดค้าแร่ดบี กุ กิจการเหมืองแร่ดีบกุ ทกุ ขนั้ ตอนตกอย่ใู นมือของชาวจีน ทงั้ การเป็ นเจ้าของเหมือง ผู้ควบคุมดูแลกรรมกร การดําเนินการในการสํารวจหาแหล่งแร่ การทํา เหมือง การถลงุ แร่และการทําธุรกิจการค้าแร่ดีบุก นอกจากนีภ้ าคใต้ยงั มีสภาพทางภมู ิศาสตร์เอือ้ ต่อการปลกู พืชเกษตรและพืชเศรษฐกิจ และยงั พบว่าการขาดแคลนแรงงานในชาติและในภาคใต้ ในรัชกาลท่ี 5 พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ทรงปรับปรุงประเทศและการปกครองหวั เมืองให้เจริญรุดหน้าเย่ียงอารยประเทศทงั้ ปวง เช่น การพฒั นากลไกการปกครองระบบราชการ และปัจจัยพืน้ ฐานอนั จะนําไปสู่ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และสงั คมจึงเปิ ดโอกาสให้ชาวจีน อพยพเข้ามาสภู่ าคแรงงาน ทงั้ ในสว่ นกลางและสว่ นท้องถิ่น ปัจจยั สําคญั อยา่ งหนงึ่ ท่ีผลกั ดนั ให้ชาว จีนอพยพออกจากประเทศจีนไปอยู่ในต่างแดน คือ ปัญหาจากภายในของจีนเอง ซึ่งมีหลาย ลกั ษณะต่างกันไปในแต่ละห้วงเวลาที่สําคญั ได้แก่ ปัญหาจากราชภยั การผลดั เปลี่ยนราชวงศ์ ผลัดเปลี่ยนแผ่นดินการแย่งชิงอํานาจระหว่างเผ่าพันธ์ุ นอกจากนีป้ ระเทศมหาอํานาจเข้ามา แทรกแซงด้านอธิปไตยและการค้าในเอเชียอาคเนย์ การลา่ อาณานิคมของประเทศในยโุ รป เพื่อแยง่ ชิงทรัพยากรและอํานาจทางการค้า รวมทงั้ การแย่งดินแดนเพื่อเป็ นฐานพลงั อํานาจของตนทําให้ ชาวจีนต้องอพยพหลบหนีออกจากประเทศเป็ นจํานวนมาก จํานวนหนง่ึ อพยพไปสปู่ ระเทศไทยและ เข้าไปตงั้ ภมู ิลําเนาถาวรอย่ใู นภาคใต้ ชาวจีนท่ีอพยพมาส่ภู าคใต้ของไทยส่วนใหญ่ไม่ได้เข้ามาใน ลกั ษณะของผ้ไู ร้ทิศทางและจดุ หมายปลายทางแบบไปตายเอาดาบหน้า แต่มกั หาล่ทู างไว้แล้วว่า จะเข้ามาเริ่มต้นชีวิตท่ีไหน และปัจจัยที่สําคัญอีกอย่าง คือ สภาพความแตกต่างลักษณะทาง ชีวภาพและทางกายภาพของประเทศจีนตอนใต้กบั ภาคใต้ของประเทศไทย มีลกั ษณะคล้ายคลงึ กนั วิถีการดํารงชีวิตหรือคติชนของผ้คู น 2 กล่มุ นี ้จึงไม่แตกต่างกนั มากนกั สะดวกตอ่ การปฏิสมั พนั ธ์ ปรับตวั และสมานลกั ษณ์กนั ปัจจยั อนั นีจ้ ึงจงู ใจให้ชาวจีนตอนใต้อพยพมาตงั้ ภมู ิลําเนาอย่างถาวร ในภาคใต้ของประเทศไทย 2.1.3 การตงั้ ถ่นิ ฐานของชาวจนี ในจังหวัดภเู กต็ ชาวจีนท่ีอพยพมาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั ภเู ก็ตส่วนใหญ่เป็ นชาวฮกเกีย้ นท่ีมาจาก ภาคใต้และภาคตะวนั ออกของประเทศจีน ซงึ่ เป็ นเมืองท่ีติดชายทะเลเป็ นเมืองท่าสามารถเดินทาง ได้ง่าย จึงมีการหลง่ั ไหลของชาวจีนมาเป็ นจํานวนมาก ซึ่งชาวจีนเชื่อว่าเมืองภูเก็ตเป็ นแหล่งที่ดี อุดมสมบูรณ์ในการทํามาหากิน ประชากรพืน้ เมืองไม่หนาแน่น เหมาะแก่การสร้ างฐานะ และ ครอบครัว
19 คณะกรรมการฝ่ ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ (2544) ได้กล่าวถึง การ เดินทางของชาวจีนมายงั ภเู ก็ตวา่ ชาวจีนได้เข้ามายงั เกาะถลางเม่ือใดไม่ปรากฏชดั แตส่ นั นิษฐาน ว่าในยคุ ที่อาณาจกั รตามพรลงิ ค์กําลงั รุ่งเรืองนนั้ ดนิ แดนคาบสมทุ รมลายเู ป็ นศนู ย์กลางการติดตอ่ ค้าขายระหว่างจีนกบั อินเดีย คนจีนจึงรู้จกั เกาะถลางตงั้ แต่สมยั นนั้ และยงั คงเดินทางแสวงโชคใน การค้ากบั ชาวพืน้ เมืองจนตกลงใจตงั้ รกรากอย่ทู ี่เมืองนนั้ เป็ นชนวนให้ญาติมิตรทางเมืองจีนคอ่ ยๆ อพยพเดินทางมาสมทบเพ่ิมมากขึน้ ตามลําดบั และหลงั จากเมืองถลางสดุ สิน้ เจ้าเมืองฝรั่งชาว ยโุ รปลงแล้ว ชาวจีนก็ได้เป็ นเจ้าเมืองขึน้ แทนในช่วง 30 ปี (พ.ศ.2231-พ.ศ.2261) หลงั สมเด็จพระ นารายณ์มหาราชเสดจ็ สวรรคตแล้วเป็ นต้นมา กระทง่ั ถงึ สมยั รัตนโกสนิ ทร์ ก็ปรากฏวา่ คนจีนได้ร่วม ทําการค้าแร่ดีบกุ กบั ท้าวเทพกระษัตรีใน พ.ศ.2329 ตามจดหมายเหตเุ มืองถลาง ซ่งึ เป็ นจดหมาย ของท้าวเทพกระษัตรีมีถึงกบั ตนั ฟรานซสิ ไลท์ ก็ระบถุ ึงชาวจีนท่ีคมุ แร่ดีบกุ จากเมืองถลางไปยงั เกาะ ปี นงั ในปี พ.ศ.2457 เกิดสงครามโลกครัง้ ท่ี 1 ในระยะแรกของสงคราม โรงงานถลงุ แร่ในยโุ รปรวม ไปถึงโรงงานถลงุ แร่และตลาดดีบุกในปี นงั ตลาดจนสิงคโปร์ต้องปิ ดกิจการลง แม้ว่าประเทศไทย ไม่ได้รับประกาศสงครามเข้ากบั ฝ่ ายใด แตเ่ มืองภเู ก็ตก็ได้รับผลกระทบตอ่ การสง่ สินค้าออก คือ แร่ ดีบุก เพราะไม่มีเรือบรรทุกและตลาดรับซือ้ จึงส่งผลให้กิจการเหมืองแร่ดีบุกในเมืองภูเก็ตเป็ น จํานวนมากต้องปิ ดกิจการทําให้กรรมกรต้องว่างงาน บางส่วนต้องอพยพกลบั ประเทศจีน ซ่ึงมี จํานวนถึง 16,000 คน ภายหลงั สงครามโลกครัง้ ท่ี 1 ความต้องการวตั ถุดิบในอุตสาหกรรมทาง ยุโรปและอเมริกามีมากขึน้ ประเทศไทยสามารถส่งแร่ดีบุกเป็ นสินค้าส่งออกถึง 9,000 ตนั ในปี พ.ศ.2463 เม่ือการส่งออกขยายตวั เพิ่มมากขึน้ จึงทําให้กิจการเหมืองแร่ดีบุกมีการขยายตวั และ พฒั นา แตแ่ รงงานของชาวพืน้ เมืองมีจํานวนจํากดั ส่วนแรงงานรุ่นก่อนๆก็ได้แก่ชราบ้างก็เสียชีวิต และบางสว่ นก็อพยพกลบั ประเทศจีนและผลของการออกพระราชกฤษฎีกาห้ามกลุ ีชาวจีนเข้ามายงั ภเู ก็ตชวั่ คราว ดงั นนั้ เม่ือความต้องการแรงงานชาวจีนอพยพมีมามากและแร่งด่วน จึงยกเลิกพระ ราชกฤษฎีกาดงั กล่าว ส่ิงนีเ้ องเป็ นแรงจูงใจส่งผลให้ชาวจีนเริ่มอพยพเข้ามาเป็ นแรงงานในเมือง ภเู ก็ตมากขนึ ้ ฤดี (2553) กลา่ วว่า ชาวจีนที่อพยพเข้ามาอย่ใู นภาคใต้ของไทยสว่ นใหญ่เป็ นชาว จีนที่มาจากภาคใต้และภาคตะวนั ออกของจีน เพราะเมืองเหลา่ นีต้ ดิ กบั ชายทะเล เป็ นเมืองทา่ มีเรือ สินค้าจอดส่งสินค้าและรับสินค้ามากมาย จึงสามารถเดินทางออกนอกประเทศได้ง่าย ฐานะทาง สงั คมของชาวจีนฮกเกีย้ น ที่เข้ามาทํามาหากินในภูเก็ตนนั้ สามารถมองอย่างกว้างๆ จึงมีอยู่สอง พวก คือ พวกท่ีเข้ามาอย่กู ่อน โดยมาประกอบอาชีพท่ีตนถนดั เช่น อาชีพประมง ซ่ึงมกั จะตงั้ ถ่ิน ฐานอย่รู ิมทะเล เช่น ชุมชนบ้านบางเหนียว ชาวประมงหาปลาชายฝั่งจะมีฐานะค่อนข้างยากจน
20 จนถึงปานกลาง กลมุ่ คนจีนกลมุ่ นีบ้ างคนมีความคิดท่ีจะกลบั ประเทศ จงึ สง่ เงินกลบั บ้านท่ีประเทศ จีน หาเงินได้เท่าไรจะสง่ กลบั บ้านหมด อีกพวกหนง่ึ คือ ชาวจีนท่ีต้องการมาตงั้ ถ่ินฐานอยใู่ นแผ่นดิน ใหม่ พวกนีจ้ ะเก็บออมเงินเพื่อมาสร้างฐานะให้แก่ตนเอง ทําให้บางคนเข้ามาเป็ นกลุ ีในเหมือง บาง คนขยนั ขนั แข็ง ก็สามารถพฒั นาตวั เองเป็ นนายเหมืองได้ สว่ นหนึ่งเป็ นชาวจีนที่มาตงั้ ตวั ท่ีปี นงั มะ ละกา มาเลเชีย อินโดนีเซีย ส่วนใหญ่เป็ นคนจีนท่ีมีฐานะจึงอพยพเข้ามาทําธุรกิจการค้าทางทะเล โดยเรือกลไฟ ระหว่างภเู ก็ต-ปี นงั ตอ่ มาเห็นลทู่ างดี จึงอพยพเข้ามาทําเหมืองแร่ดีบกุ และนําวิธีทํา เหมืองแร่ในแหลมมลายูมาใช้ในภูเก็ต กลุ่มคนพวกนีฐ้ านะค่อนข้างปานกลางถึงร่ํารวย ชาว ฮกเกีย้ นที่อยู่ในภูเก็ตท่ีประสบความสําเร็จในอาชีพจะช่วยเหลือและบริจาคเงิน เพื่อสนับสนุน กิจการของบ้านเมือง เชน่ สร้างโรงเรียน สร้างวดั สร้างโรงพยาบาล จงึ ได้รับการยกย่องจากทางการ ให้เป็ นกรรมการเมืองพิเศษ และให้บรรดาศกั ดิ์เป็ น ขนุ หลวง พระ และพระยา เช่น พระยารัษฎานุ ประดษิ ฐ์ เป็ นต้น 2.1.3.1 การอพยพของจีนเก่ากบั จีนใหมเ่ ข้าสเู่ มืองภเู ก็ต จากการศึกษาของนายเครดเนอร์ละนายเฮลเบิร์ก (อ้างถึงใน สาวิตร, 2551) เช่ือว่า ชาวจีนได้อพยพและเข้ามาทําเหมืองแร่ท่ีเกาะภูเก็ตมาก่อน คริสต์ศตรรษที่ 14 ในช่วงระหวา่ งการเดนิ ทางไปค้าขายจากประเทศจีนสปู่ ระเทศอนิ เดียโดยผา่ นทางชอ่ งแคบมะละกา และแวะพกั ที่เกาะภเู ก็ตเพื่อสะสมเสบียงอาหาร และได้ขดุ พบแร่ดีบกุ จงึ ได้ปักหลกั เพ่ือทําการขดุ แร่ ที่เมืองภเู ก็ต ส่วนมากชาวจีนที่อพยพมาจากมณฑลฮกเกีย้ น ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของ ประเทศจีน อพยพหนีความอดอยากว่นุ วายเข้าสเู่ มืองภเู ก็ต เพราะคิดว่าเป็ นแหลง่ ที่ดีท่ีสดุ สําหรับ การทํามาหากิน ส่วนใหญ่แรงงานที่อพยพเข้ามาจะเป็ นชายวัยฉกรรจ์ ท่ีการศึกษาไม่สูงนัก คอ่ นข้างยากจน แตม่ ีบางสว่ นท่ีมาจากปี นงั สงิ ค์โปร์ และมะละกา ซง่ึ เข้ามาลงทนุ ทําเหมืองแร่ โดย ร่วมลงทนุ ร่วมกบั เจ้าเมือง ชาวจีนพวกนีจ้ ะนําเอาครอบครัวไปไว้ที่เมืองปี นงั เพ่ือท่ีจะได้ใช้ธนาคาร ในการแลกเปล่ียนเงินตรา ชาวจีนกลมุ่ นีเ้รียกวา่ “จีนเก่า หรือ ซิน่ แคะ” ชาวจีนที่อพยพมาในสมยั ราชการที่ 5 โดยเรือกลไฟ เรียกว่า “จีนใหม่ หรือ ซ่ินแคะ” และเป็ นผ้ชู ายทงั้ สิน้ เพราะทางการไม่ อนญุ าตใิ ห้หญิงชาวจีนออกนอกประเทศ แตใ่ นปี พ.ศ. 2436 สาวชาวจีนก็ได้มีการเริ่มอพยพเข้ามา ในสยามประเทศเป็ นจํานวนมาก จากการท่ีชาวจีนฮกเกีย้ นได้อพยพออกจากมณฑลฟเู จีย้ น และเข้ามาตงั้ หลักแหล่งบริเวณจังหวัดภูเก็ตนัน้ เน่ืองจากคนจีนเดินทางเข้ามาในลักษณะคนโสดหรือเป็ น เดก็ ชายท่ียงั ไมโ่ ตเตม็ วยั และ เดนิ ทางมากบั พ่ีชาย หรือญาตพิ ่ีน้องเม่ือมาเตบิ โตเป็ นหน่มุ ในดนิ แดน
21 แถบนี ้จงึ มาสร้างครอบครัวใหม่กบั คนท้องถ่ินหรือคนพืน้ เมืองทําให้เกิดคําวา่ ลกู ผสม ซง่ึ ชาวภเู ก็ต มีคําที่ใช้เรียกกนั ทวั่ ไปว่าพวก บาบ๋า แตจ่ ากการศกึ ษาพงศาวดารต่างๆ ของไทยไม่พบคําว่า พวก บาบา๋ ในจดหมายเหตตุ า่ งๆ หากพดู ถึงคําวา่ บาบ๋ าหรือออกเป็ นสําเนียงภเู ก็ตว่า บ๊าบา คนภเู ก็ต สว่ นใหญ่จะนกึ ถึงพวกลกู คนจีน ซง่ึ เป็ นคนจีนท่ีเดินทางมาจากประเทศจีนโดยตรงหรือคนจีนที่เกิด ในเมืองไทยก็ตาม โดยจะเรียกรวมทงั้ ผ้หู ญิงและผ้ชู าย ไมแ่ ยกเพศ (อ้างถงึ ใน ฤดี, 2553) 2.1.4 เส้นทางการเดนิ ทางของชาวจนี เข้าสู่เมืองภเู กต็ เส้นทางการเดนิ ทางเข้าสเู่ มืองภเู ก็ตแบง่ ออกได้ 2 เส้นทาง คือเส้นทางจีนเก่า และ เส้นทางจีนใหม่ (อ้างถึงใน สาวิตร, 2551) 2.1.4.1 เส้นทางจีนเก่า เป็ นเส้นทางท่ีใช้ก่อนปี พ.ศ.2413 ได้แก่ เรือสําเภา และ เรือกําปั่น ชาวจีนอพยพออกจากเมืองท่าท่ีสําคญั ได้แก่ จางโจว และฉวนโจว ส่วนเมืองท่า ไห่ฉิง และถงู อนั อนั เป็ นเมืองทา่ รอง สมู่ ะละกา ซง่ึ เป็ นเมืองท่าสําคญั แห่งหน่งึ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เป็ นศูนย์การค้า และแหล่งท่ีพกั สําคญั ของชาวจีน ตงั้ ชุมชนชาวจีนท่ีเรียกว่า “หมู่บ้านจีน” ในปี พ.ศ.2367 องั กฤษได้ครอบครองมะละกา ดงั นนั้ พ่อค้าจีนชาวมะละกาไม่ได้พอใจเฉพาะการรับซือ้ แร่ดีบุกอย่างเดียว แต่ยังขยายการลงทุนไปยังไปในบริเวณท่ีมีแร่ดีบุก เช่น บริเวณเมืองคินคา ในเปรัค ซงึ่ อย่ใู กล้ปี นงั การท่ีนายทนุ ชาวจีนเข้ามาขยายการลงทนุ ในเขตเหมืองแร่ดีบกุ ในรัฐต่างๆ ของมลายนู นั้ มีการเกณฑ์แรงงานชาวจีนเข้ามาทํางานในเหมอื งแร่ดบี กุ เป็ นจํานวนมากก่อนปี พ.ศ. 2413 ชาวจีนโดยเฉพาะชาวจีนฮกเกีย้ นที่มีอยู่ในมลายูเป็ นจํานวนมาก กล่าวได้ว่า การพฒั นา อตุ สาหกรรมเหมืองแร่ดีบกุ ในเขตมลายขู ององั กฤษ เสตรท เซท็ เทิลเมนท์เกิดขนึ ้ ก่อนในเมืองภเู ก็ต ปลายรัชการท่ี 3 กิจการเหมืองแร่ในเมืองภเู ก็ตเร่ิมเจริญขนึ ้ ทําให้ความต้องการแรงงานในเหมืองแร่ มีมากขึน้ เจ้าเมืองภูเก็ตในขณะนนั้ คือ พระยาภูเก็ตโลหะเกษตรารักษ์ (ทดั รัตนดิลก ณ ภูเก็ต) ต้องเดนิ ทางเข้ากรุงเทพฯ วา่ จ้างแรงงานชาวจีนไปเป็ นกรรมกรเหมืองแร่ และอีกสว่ นหนง่ึ ก็เดนิ ทาง จากปี นังเข้าสู่ภูเก็ต คิดเป็ นระยะทางประมาณ 200 ไมล์ ยงั มีบางส่วนก็เดินทางมาจากมณฑล ฮกเกีย้ น ของประเทศจีนตอนใต้ ภายในพืน้ ท่ีตวั เมืองภูเก็ตหรือตลาดทุ่งคา มีคลองบางใหญ่ไหลผ่านใจ กลางเมือง คลองนีม้ ีต้นกําเนิดมาจากเทือกเขานาคเกิด ซง่ึ อยใู่ นอําเภอกะทู้ ไหลผา่ นท่ีราบหม่บู ้าน ท่งุ ทอง หมบู่ ้านเก็ตโฮ่ หมบู่ ้านสามกอง หมบู่ ้านสะปํ า ไหลออกสทู่ ะเลท่ีอา่ วภเู ก็ตทางทิศตะวนั ออก เรือใบสามหลงั หรือเรือกําป่ันสามารถแลน่ เข้าไปรับส่งสินค้าได้ตงั้ แตป่ ากอ่าวภเู ก็ต ตลอดไปจนถึง หม่บู ้านเก็ตโฮ่ ซง่ึ เป็ นที่ตงั้ ชมุ ชนชาวจีน (เจ๊ก )ซงึ่ เดิมเป็ นท่ีตงั้ ท่ีทําการเจ้าเมืองภเู ก็ต ก่อนย้ายไปท่ี ตลาดท่งุ คา ชาวจีนอพยพที่เดินทางออกจากประเทศจีนหรือปี นงั เม่ือมาถึงด่านปากนํา้ อ่าวเมือง
22 ภเู ก็ตก็เดนิ ทางไปกะทู้ โดยให้ใช้เส้นทางคลองบางใหญ่ ฉะนนั้ หมบู่ ้านเก็ตโฮ่ หม่บู ้านกะทู้ หม่บู ้าน ท่งุ ทอง หม่บู ้านสามกอง หม่บู ้านสะปํ า และหม่บู ้านทุ่งคา ซงึ่ มีชาวจีนอพยพอาศยั อย่เู ป็ นจํานวน มาก แต่มีชาวจีนบางสว่ นอพยพออกจากประเทศจีน โดยผ่านทางพม่า แล้วลงเรือใบบรรทกุ สินค้า ตรงมายงั เมืองภเู ก็ต ขนึ ้ จากเรือที่ป่ าตอง แล้วเดนิ ทางเข้ามาตงั้ หลกั แหลง่ อยทู่ ่ีตาํ บลกะทู้ 2.1.4.2 เส้นทางจีนใหม่ ชาวจีนอพยพเข้ามาในเมืองภเู ก็ตในปลายรัฐกาลท่ี 5 ซง่ึ เป็ นชว่ งที่มีกิจการเหมืองแร่ในเมืองภเู ก็ตรุ่งเรือง ที่เรียกกนั วา่ จีนใหม่ (ช่ินแคะ) ช่งึ แตกตา่ งจากจีน เก่า คือชาวจีนที่อพยพเข้ามาในภูเก็ตนัน้ ส่วนใหญ่อพยพตรงมาจากประเทศจีน โดยผ่านทาง นายหน้าจดั หาแรงงาน หรือติดตอ่ เพื่อนฝงู คนรู้จกั ที่เป็ นต้นแซ่เดียวกนั เพื่อให้แน่ใจวา่ เมื่อเดนิ ทาง มาถึงจุดหมายปลายทางจะมีอาหาร ท่ีอยู่อาศยั และจะได้ทํางานกับใคร ไม่เช่นนนั้ ก็จะเป็ นการ ลําบาก ดงั ปรากฏในหลกั ฐานในเรื่องดงั กล่าวว่า” เม่ือก่อนจะลงเรือมาจากประเทศจีน เขาได้มี หนงั สือบอกมายงั พวกพ้อง หรือมาโดยคําส่งของเถ้าแก่ ซ่ึงมีที่หวงั ว่ามาถึงแล้วจะได้เข้าทํางานท่ี นนั้ หรือแก่ผ้นู นั้ เสมอ ซงึ่ จะมาโดยไมร่ ู้ทิศเหนือทิศใต้ เช่นนนั้ น้อยคนนกั ที่บคุ คลจะกล้าหาญมาได้ ทงั้ เป็ นคนจนก็ย่ิงระวงั ปากท้องมากยิ่งขึน้ ถ้าเป็ นคนมีทรัพย์สนิ จะได้คิดว่าไปถึงที่ไหนให้ทรัพย์เขา ก็คงต้องได้บริโภค” เส้นทางการเดินทางของจีนใหม่ จะใช้เส้นทางทางทะเล เดินทางตรงจาก ประเทศจีน และจะไมม่ ีการจอดขนึ ้ ฝั่งที่ใดเลยจนกวา่ จะถงึ เมืองภเู ก็ต โดยเดนิ ทางออกจากเมืองท่า เอ้หมึงด้วยเรือกลไฟ ค่าโดยสารจากประเทศจีนมายังเมืองไทยนัน้ ค่าระวางคนละ 8 เหรียญ ค่าอาหารในเรือไม่ต้องเสีย สําหรับคา่ โดยสารนนั้ ยงั แตกตา่ งอีกว่า เป็ นเงินสดหรือเงินเชื่อ ถ้าเป็ น เงินสดเสีย 7–8 เหรียญมลายู (ประมาณ 14–16 บาท) หากเป็ นเงินเช่ือเสีย 12 เหรียญ (24 บาท) ถ้าแรงงานคนจีนคนใดไม่มีเงินติดตวั มาเลย นายหน้าจะเป็ นผ้อู อกค่าโดยสารให้ก่อน แล้วจึงจะไป หักค่าแรงงานในที่ทํางาน แต่ก็มีชาวจีนบางส่วนที่เดินทางออกจากปี นังเข้ามาทํางานในภูเก็ต อาศยั เรือกลไฟของบริษัทในบงั คบั ขององั กฤษซง่ึ เป็ นเรือบรรทกุ สนิ ค้าของบริษัท 3 บริษัท คือ 1. บริษัท สเตรท สตมี ชิป 2. บริษัท บริติช อินเดียสตีม นาวิเคช่ัน เดินเรือระหว่างปี นัง กับเมือง ภเู ก็ต พมา่ และอนิ เดีย เร่ิมกิจการตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2429 3. บริษัท อิสเทิร์น ชิปปิ ง อินเดียสตีม นาวิเคชั่น เดินเรือระหว่างปี นัง ภูเก็ต พม่า นอกจากบริษัทเดินเรือของชาวตะวนั ตก ยงั มีบริษัทชาวจีนปี นัง เดินเรือรับส่งสินค้า ระหว่างปี นงั ภูเก็ต เช่นเดียวกนั แต่มีการลงทุนน้อยกว่าบริษัทของชาวตะวนั ตก โกหงวนเดินเรือ สปั ดาห์ละครัง้ (อ้างถึงใน นวลศรี, 2543)
23 ภาพท่ี 2.1 เส้นทางเดนิ เรือการอพยพของชาวจีนมายงั ภเู ก็ต ท่มี า : ฤดี (2553) สรุป ชาวจีนที่อพยพเข้ามาอยใู่ นภาคใต้ของไทยสว่ นใหญ่เป็ นชาวจีนท่ีมา จากภาคใต้และภาคตะวนั ออกของจีน เพราะเมืองเหลา่ นีต้ ิดกบั ชายทะเล เป็ นเมืองท่า มีเรือสินค้า จอดสง่ สนิ ค้าและรับสนิ ค้ามากมาย จงึ สามารถเดนิ ทางออกนอกประเทศได้ง่าย ชาวจีนได้เข้ามายงั เกาะถลาง (คือ จงั หวดั ภเู ก็ตในปัจจุบนั ) เม่ือใดไม่ปรากฏชดั แต่สนั นิษฐานว่าในยคุ ท่ีอาณาจกั ร ตามพรลิงค์กําลงั รุ่งเรืองนนั้ ดินแดนคาบสมทุ รมลายู เป็ นศนู ย์กลางการติดต่อค้าขายระหว่างจีน กบั อินเดีย คนจีนจึงรู้จกั เกาะถลางตงั้ แตส่ มยั นนั้ และยงั คงเดินทางแสวงโชค ในทางการค้ากบั ชาว พืน้ เมือง จนตกลงใจตงั้ รกรากอยทู่ ่ีเมืองนนั้ เป็ นชนวนให้ญาตมิ ิตรทางเมืองจีนคอ่ ยๆอพยพเดนิ ทาง มาสมทบเพิ่มมากขนึ ้ ตามลําดบั ชาวจีนฮกเกีย้ นที่เข้ามาทํามาหากินในภเู ก็ตนนั้ สามารถมองอยา่ ง กว้างๆ ได้สองพวก คือ พวกท่ีเข้ามาอย่กู ่อน โดยมาประกอบอาชีพที่ตนถนดั เช่น อาชีพประมงซ่งึ มกั จะตงั้ ถิ่นฐานอย่รู ิมทะเล สว่ นอีกพวกหนึ่ง คือ ชาวจีนที่ต้องการมาตงั้ ถ่ินฐานอย่ใู นแผ่นดินใหม่
24 พวกนีจ้ ะเก็บออมเงินเพื่อมาสร้างฐานะให้แก่ตนเอง ทําให้บางคนเข้ามาเป็ นกุลีในเหมือง บางคน ขยนั ขนั แขง็ ก็สามารถพฒั นาตวั เองเป็ นนายเหมืองได้ ชาวจีนฮกเกีย้ นท่ีเข้ามาตงั้ หลกั แหลง่ บริเวณ จงั หวดั ภเู ก็ตนนั้ เนื่องจากคนจีนเดนิ ทางเข้ามาในลกั ษณะคนโสด หรือเป็ นเดก็ ชายท่ียงั ไมโ่ ตเต็มวยั และ เดินทางมากับพ่ีชาย หรือญาติพ่ีน้อง เม่ือมาเติบโตเป็ นหนุ่มในดินแดนแถบนี ้ จึงมาสร้ าง ครอบครัวใหมก่ บั คนท้องถิ่น หรือคนพืน้ เมืองทําให้เกิดคําวา่ ลกู ผสม ซงึ่ ชาวภเู ก็ตมีคําที่ใช้เรียกกนั ทั่วไปว่าพวก บาบ๋า คนภูเก็ตส่วนใหญ่จะนึกถึงพวกลูกคนจีน ซึ่งเป็ นคนจีนท่ีเดินทางมาจาก ประเทศจีนโดยตรง หรือคนจีนที่เกิดในเมืองไทยก็ตาม โดยจะเรียกรวมทงั้ ผ้หู ญิงและผ้ชู าย ไม่แยก เพศ 2.1.5 ความเป็ นอย่ขู องชาวจีนในภเู กต็ ความสําเร็จในการดํารงชีพและการค้าขายของชาวจีนในเมืองภูเก็ต ซ่ึงเป็ น ปรากฏการณ์ที่ทราบดีกันอย่แู ล้ว เป็ นเร่ืองที่ไม่ต้องอธิบายหรือด้วยเหตผุ ลอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่ เพียงประการเดียว แต่เป็ นที่แน่นอนว่าส่วนหนึ่งเป็ นความสําเร็จ ก็เนื่องมาจากคณุ สมบตั ิเฉพาะ บคุ คลในการประชมุ ธุรกิจเหลา่ นี ้เป็ นปัจจยั ที่นบั ว่าสําคญั ท่ีสดุ การรวมกําลงั กนั ในด้านเศรษฐกิจ และสงั คมอยา่ งหนาแนน่ เพ่ือความอยรู่ อดของชาวจีน ศนู ย์กลางแห่งชีวติ ของชาวจีนในเมืองภเู ก็ต โดยเฉพาะในบริเวณอําเภอหรือตาํ บล ตา่ งๆ ซงึ่ เมื่อรวมกนั แล้วทงั้ หมดก็อาจกลา่ วได้วา่ มีชาวจีนอย่ปู ระมาณ 32,408 คน (ร.ศ.122–พ.ศ. 2466) เมืองจีนอยา่ งมีเอกลกั ษณ์พิเศษจากความเป็ นอยโู่ ดยทวั่ ไปของอําเภอใหญ่ เชน่ ตาํ บลกระทู้ (ไลทู หรือ ไนท)ู เมืองภเู ก็ตเก่า อําเภอถลาง ตําบลเชิงทะเล และอําเภอเมือง (ท่งุ คา) หรือเมือง ภูเก็ตในปัจจุบัน การรวมตัวกันอย่างหนาแน่นเพื่อทําธุรกิจ การทําเหมืองแร่ดีบุก การค้าปลีก การค้าส่ง ร้านค้า ตลอดจนโรงงาน ซงึ่ มีมากกว่าอําเภอ ตําบลต่าง ๆ ท่ีเต็มไปด้วยชาวจีน เท่ากบั เป็ นศนู ย์กลางในด้านเศรษฐกิจ ซ่ึงตามความเป็ นจริงก็คือ ในเมืองภเู ก็ตนน่ั เอง เป็ นจดุ ศนู ย์กลาง ของชมุ ชนท่ีหนาแน่นของสงั คมชาวจีน ได้กลายเป็ นแหล่งพบปะสงั สรรค์เพ่ือการพกั ผ่อนหย่อนใจ ทางด้านการค้า และความบนั เทิงสาธารณะทงั้ ปวง ณ ที่ตรงนีเ้ อง เป็ นที่ตงั้ ของภตั ตาคารจีนท่ีดี ท่ีสดุ และใหญ่โต ร้านนํา้ ชากาแฟ ร้านค้าต่างๆ สถานเริงรมย์ อนั ได้แก่ โรงงิว้ ห่นุ สถานท่ีเล่นการ พนนั โรงยาฝ่ิ น สถานบริการหญิงโสเภณี ตอ่ มาก็มีโรงภาพยนตร์ นอกจากนีย้ งั เป็ นการรวมกลมุ่ กนั เป็ นคณะของชาวจีน จงึ ทําให้เป็ นท่ีนา่ สนใจของชาวจีนอยไู่ มน่ ้อย (อ้างถึงใน นวลศรี, 2543) จากการศกึ ษาของนายเครดเนอร์ละนายเฮลเบิร์ก (อ้างถึงใน สาวิตร, 2551) เชื่อ วา่ ชาวจีนได้อพยพและเข้ามาทําเหมืองแร่ท่ีเกาะภเู ก็ตมาก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในช่วงระหว่าง
25 การเดนิ ทางไปค้าขายจากประเทศจีนสปู่ ระเทศอินเดีย โดยผา่ นทางช่องแคบมะละกา และแวะพกั ท่ี เกาะภเู ก็ตเพ่ือสะสมเสบียงอาหาร และได้ขดุ พบแร่ดบี กุ จงึ ได้ปักหลกั เพื่อทําการขดุ แร่ที่เมืองภเู ก็ต สว่ นมากชาวจีนท่ีอพยพมาจากมณฑลฮกเกีย้ น ซงึ่ อย่ทู างตอนใต้ของประเทศจีน อพยพหนีความอดอยากวนุ่ วายเข้าสเู่ มืองภเู ก็ต เพราะคิดว่าเป็ นแหลง่ ท่ีดีที่สดุ สําหรับการทํามาหา กิน สว่ นใหญ่แรงงานท่ีอพยพเข้ามาจะเป็ นชายวยั ฉกรรจ์ ท่ีการศกึ ษาไม่สงู นกั คอ่ นข้างยากจน แต่ มีบางส่วนที่มาจากปี นงั สิงค์โปร์ และมะละกา ซง่ึ เข้ามาลงทนุ ทําเหมืองแร่ โดยร่วมลงทนุ ร่วมกบั เจ้าเมือง ชาวจีนพวกนีจ้ ะนําเอาครอบครัวไปไว้ท่ีเมืองปี นงั เพ่ือที่จะได้ใช้ธนาคารในการแลกเปลย่ี น เงินตรา ชาวจีนกลมุ่ นีเ้รียกว่า “จีนเก่า หรือ ซน่ิ แคะ” ชาวจีนท่ีอพยพมาในสมยั ราชการที่ 5 โดยเรือ กลไฟ เรียกวา่ “จีนใหม่ หรือ ซน่ิ แคะ” และเป็ นผ้ชู ายทงั้ สนิ ้ เพราะทางการไมอ่ นญุ าตให้หญิงชาวจีน ออกนอกประเทศ แต่ในปี พ.ศ. 2436 สาวชาวจีนก็ได้มีการเริ่มอพยพเข้ามาในสยามประเทศเป็ น จํานวนมาก 2.2 ความเช่ือของชาวไทยเชือ้ สายจีน ความเช่ือบางอย่างอาจสืบต่อกนั มาเป็ นเวลานาน เป็ นส่ิงท่ีอย่คู ่กู บั มนุษย์ และถือว่าเป็ น วฒั นธรรมของมนษุ ย์อย่างหน่ึง เพราะในสมยั โบราณความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มีน้อย จึงทําให้ เกิดความเชื่อขนึ ้ ไชยยุทธ (2545) กล่าวว่า ชาวไทยเชือ้ สายจีนในจังหวัดภูเก็ตมีสายเลือดของชาวจีนที่ อพยพมาจากดินแดนโพ้นทะเลหรือเรียกว่าแผ่นดินจีน ปัจจุบนั กลุ่มชาวจีนดงั กล่าวได้สืบทอด วฒั นธรรมจากบรรพบรุ ุษเข้ามาผสมผสานกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น ด้วยวิธีการแตง่ งานกบั ชนตา่ งชาติ ตา่ งภาษา จึงทําให้วฒั นธรรมทงั้ สองเกิดการหลอมรวมกลายเป็ นวฒั นธรรมใหม่ ที่แฝงด้วยความ เชื่อท่ีสืบทอดมาดงั นี ้ 1. ความเช่ือเก่ียวกบั เทพเจ้า ชาวจีนนนั้ ไม่ว่าจะอพยพไปตงั้ ถิ่นฐานทํามาหากิน อย่ทู ี่ใดก็ตาม พวกเขาจะนําอปุ นิสยั ประเพณีของตนไปด้วย โดยท่ีพยายามรักษาขนบธรรมเนียม ของตนไม่ว่าพวกเขาจะอย่ใู นประเทศใดก็ตาม วิธีการดําเนินชีวิตและความเชื่อต่างๆก็ไม่แตกต่าง กนั มากนกั ความเช่ือของชาวจีนนัน้ มีอยู่มากซึ่งมีอิทธิพลต่อชีวิตประจําวนั ภายในชุมชนของตน บ้างก็เก่ียวข้องกบั เทพเจ้าหรือความเร้นลบั ของโชคชะตามนษุ ย์บ้างก็เป็ นเร่ืองของโชคลางซง่ึ ไม่มี พืน้ ฐานความจริงเลย 2. ความเชื่อเกี่ยวกบั สี ในสมยั โบราณมีความเช่ือเก่ียวกบั สีอย่มู าก เชื่อกนั ว่าสีมี อิทธิพลตอ่ ชีวิตมนษุ ย์ ถือกนั ว่าใครใช้สีให้ถกู ต้องตามโฉลกก็จะโชคดี เร่ืองสีชาวจีนเขาถือกนั มาก
26 พระเจ้าแผน่ ดนิ จีนหลายพระองค์มีสีประจําพระองค์ ซง่ึ ในสมยั นีก้ ็ยงั นิยมเปลี่ยนสีไปตามวนั แตล่ ด ความแก่อ่อนของสีลงไปเพื่อความสวยงาม สว่ นความเชื่อในเร่ืองมงคลที่เกี่ยวกบั สีนนั้ ไม่ได้ถือกนั มากนกั เพียงแคเ่ ปลี่ยนสไี ปตามวนั เพื่อให้เห็นวา่ ไมไ่ ด้แตง่ กายด้วยผ้าชดุ เดยี วกนั เท่านนั้ เอง 3. ความเชื่อเกี่ยวกบั การไหว้บรรพบรุ ุษและเทพเจ้าซงึ่ สาวิตร (2551) ได้ ให้เหตผุ ลไว้ว่า ชาวจีนมีศาสนาความเช่ือแบบดงั้ เดิม คือ การไหว้บรรพบุรุษและเทพเจ้าต่างๆ ที่ เคารพ โดยชาวจีนนบั ถือศาสนาพทุ ธในนิกายมหายาน ซ่งึ วฒั นธรรมโดดเด่นอย่างเห็นได้ชดั คือ รูปแบบขัน้ ตอนของการแต่งกายในพิธีแต่งงาน ด้วยเพราะภูเก็ตเป็ นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ประเพณีตลอดจนวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะหลากหลาย จึงเป็ นส่ิงดลใจให้ประชาชนใน ภาคใต้จํานวนมาก แตล่ ะชมุ ชนตา่ งมีวฒั นธรรมประเพณีเป็ นของตนเอง และจากความหลากหลาย ของกล่มุ ชนที่เข้ามาตงั้ ถิ่นฐานในจงั หวดั ภเู ก็ต ส่งผลให้เกิดวฒั นธรรมรูปแบบใหม่ ที่มีวฒั นธรรม เดิมท่ีติดตวั มาจากเมืองจีนและวฒั นธรรมพืน้ เมืองอย่รู วมกัน เกิดภมู ิปัญญาตามแบบวฒั นธรรม ร่วมสมยั ท่ีรวมกนั ได้อยา่ งลงตวั ตามสภาพสงั คมท่ีเป็ นอยู่ 4 ความเช่ือเก่ียวกับสัตว์มงคลดังท่ี พรโสภา (2557) กล่าวว่า สัตว์ สญั ลกั ษณ์แห่งสริ ิมงคลจีน การใช้สตั ว์เป็ นสญั ลกั ษณ์แทนคาํ สริ ิมงคล เน่ืองจากความหมายของชื่อ สตั ว์นนั้ ๆ หรือลกั ษณะเฉพาะของสตั ว์ พ้องกบั คําสิริมงคลจีน ชาวจีนจึงนําสตั ว์เหล่านีม้ าใช้เป็ น สญั ลกั ษณ์สริ ิมงคลด้วย สตั ว์เหลา่ นี ้ได้แก่ ค้างคาว ช้าง ม้า และเสือดาว เป็ นต้น ในท่ีนีเ้รียงลําดบั สตั ว์สญั ลกั ษณ์สริ ิมงคลจีนตามลําดบั ตวั อกั ษร เชน่ 4.1) กวาง (ล)ู่ คําว่า “กวาง” ในภาษาจีนออกเสียงว่า “ล”ู่ พ้อง เสียงกบั คําวา่ “ล”ู่ หรือ “ลก” ซง่ึ มีความหมายวา่ ตําแหน่งขนุ นางหรือยศศกั ดิ์ ชาวจีนจงึ นิยมใช้รูป กวางเป็ นสญั ลกั ษณ์สริ ิมงคลแทนคาํ วา่ “ลก” ซงึ่ หมายถึง ตําแหนง่ ขนุ นาง หรือยศศกั ด์ิ 4.2) กิเลน (ฉีหลิน) ตามความเชื่อของชาวจีน กิเลนเป็ นสัตว์ วิเศษหนึง่ ในส่ีชนิด อนั ได้แก่ มงั กร กิเลน หงส์ และเตา่ กินเลนตวั ผ้เู รียกว่า ฉี ตวั เมียเรียกว่า หลิน กล่าวกนั มาว่า กิเลนมีเกล็ดสีเหลืองหางคล้ายววั หวั คล้ายหมปู ่ า มีเขา 1 เขา ขาคล้ายม้า ชาวจีน เช่ือวา่ กิเลนเป็ นสตั ว์วเิ ศษที่สามารถขจดั ภตู ผีปิ ศาจได้ ดงั นนั้ จงึ นํามาใช้เป็ นภาพสริ ิมงคล 4.3) ช้าง (เสีย้ ง) คําวา่ “ช้าง” ในภาษาจีน ออกเสียงตามสําเนียง จีนกลางวา่ “เสีย้ ง” พ้องกบั คาํ่ วา่ “จี๋เสยี ง” ในภาษาจีนที่แปลวา่ “สริ ิมงคล” ดงั นนั้ ชาวจีนจงึ นิยมนํา ช้างมาใช้เป็ นสญั ลกั ษณ์สริ ิมงคลเม่ือต้องการอวยพรถึงเรื่องสริ ิมงคล 4.4) นกกระเรียน (เห้อ) เป็ นเทพพาหนะของเทพซิ่ง (โซ่ว) จึง เรียกกนั วา่ กระเรียนเทพ (เซียนเห้อ) ดงั นนั้ ชาวจีนจึงใช้ภาพนกกระเรียนเป็ นสญั ลกั ษณ์แห่งความ
27 ยง่ั ยืน อายยุ ืน แทนคําว่า “ซิ่ว” ได้ ด้วยเหตนุ ีใ้ นภาพสิริมงคลจึงใช้นกกระเรียนแทนคําอวยพร หมายถึง ยศสงู สดุ ของราชการ และใช้เป็ นสญั ลกั ษณ์แทนเทพซวิ่ ด้วย ดงั นนั้ สรุปได้ว่าชาวไทยเชือ้ สายจีนในจงั หวดั ภเู ก็ตมีสายเลือดของชาวจีนที่อพยพมาจาก ดินแดนโพ้นทะเล หรือเรียกว่าแผ่นดินจีนไม่ว่าพวกเขาจะอพยพไปตงั้ ถ่ินฐานทํามาหากินอย่ทู ่ีได้ก็ ตาม พวกเขาจะนําขนบธรรมเนียมความเชื่อของตนไปด้วย ความเช่ือของชาวจีนนนั้ มีอย่มู ากซง่ึ มี อทิ ธิพลตอ่ ชีวติ ประจําวนั บ้างก็เก่ียวข้องกบั เทพเจ้าหรือความเร้นลบั บ้างก็เช่ือกนั ว่าสีมีอิทธิพลตอ่ ชีวิตมนุษย์ ส่วนความเช่ือดัง้ เดิมของชาวจีนนัน้ คือ การไหว้ บรรพบุรุษและเทพเจ้ าต่างๆ นอกจากนนั้ ยงั มีวฒั นธรรมท่ีโดดเด่นอย่างเห็นได้ชดั อีกอย่างหน่ึง คือ วฒั นธรรมการแต่งกายของ สตรีชาวบาบ๋าในจังหวัดภูเก็ต เพราะภูเก็ตเป็ นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติท่ีสําคัญ ตลอดจน วฒั นธรรมที่เป็ นเอกลกั ษณ์และมีความหลากหลายของชาติพนั ธ์ุ จงึ สงผลให้เกิดวฒั นธรรมรูปแบบ ใหม่ โดยมีวฒั นธรรมเดมิ ท่ีตดิ ตวั มาจากเมืองจีน และวฒั นธรรมพืน้ เมืองอยรู่ วมกนั 2.3 วัฒนธรรมการแต่งกายชุดย่าหยาและรองเท้าปักของสตรีจังหวัดภเู กต็ ชาวจีนได้อพยพเข้ามาอาศยั อยู่ในแผ่นดินไทยมานาน และยงั ยึดมนั่ ในขนบธรรมเนียม ประเพณีทงั้ ความเป็ นอยู่ นอกจากนนั้ กล่มุ ชาวจีนท่ีอย่ใู นจงั หวดั ภเู ก็ตจะมีวิถีชีวิตแบบชาวจีน มี ภาษาพดู ประเพณี และวฒั นธรรมการแตง่ กายเป็ นแบบฉบบั ของตนเอง 2.3.1 แนวคดิ และทฤษฏีเก่ียวกับวัฒนธรรมการแต่งกาย กล่าวได้ ว่าวัฒนธรรม คือ ทุกส่ิง ทุกอย่างที่มนุษย์สร้ างขึน้ มา นับตัง้ แต่ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา ศิลปะ อาจกล่าวได้ว่าวฒั นธรรมเป็ นเครื่องมือที่มนุษย์ คิดค้น ขนึ ้ มาเพ่ือชว่ ยให้มนษุ ย์สามารถดํารงอยตู่ อ่ ไปได้ 2.3.1.1 ความหมายของวฒั นธรรม ดังท่ี พระยาอนุมานราชธน (อ้างถึงใน พวงผกา, 2541) ได้กล่าวว่า วฒั นธรรมเกิดจากมนุษย์ ถ้าไม่มีมนุษย์สร้ างวัฒนธรรมก็ไม่มีมนุษย์ ในท่ีนีห้ มายถึง มนุษย์ใน ส่วนรวม คือ สังคมในทํานองเดียวกัน สังคมจะตัง้ อยู่ได้ก็ด้วยมีวัฒนธรรมเป็ นเคร่ืองคุ้มครอง เพราะฉะนนั้ สงั คมและวฒั นธรรมจงึ เป็ นสง่ิ ควบคกู่ นั ไปไม่วา่ สงั คมใดก็มีวฒั นธรรมเป็ นแบบของตน โดยเอกเทศของสงั คมนนั้ นอกจากนนั้ พวงผกา (2541) ได้กล่าวว่า วฒั นธรรม หมายถึง กิจกรรม ทกุ อยา่ งท่ีมนษุ ย์สร้างขนึ ้ มาจากความรู้ ประสบการณ์ของกลมุ่ ในสงั คมและตา่ งยอมรับวา่ เป็ นสิง่ ที่
28 ดีงาม ยึดมนั่ ในคณุ ธรรม และศีลธรรม เพ่ือแสดงออกถึงความเจริญงอกงามในทุกๆด้าน นําไปสู่ ความสามคั คีรักใคร่เป็ นนํา้ หนึ่งใจเดียวกนั มีการจดั ระเบียบกฎเกณฑ์เดียวกนั สงั คมอย่กู นั อย่าง สงบสขุ ถือวา่ วฒั นธรรมเป็ นมรดกทางสงั คมด้วย ขณะที่ สกุ ญั ญา และคณะ (2543) ได้กลา่ วไว้ว่า วฒั นธรรม หมายถึง ผล ของกิจกรรม หรือการกระทําทกุ อยา่ งที่สงั คมไทยได้สร้างขนึ ้ มาจากความรู้และประสบการณ์ของคน ไทยในสงั คมเดียวกัน และคนไทยส่วนใหญ่ต่างยอมรับว่าเป็ นสิ่งท่ีดีงาม โดยสร้ างเป็ นกฎเกณฑ์ แบบแผน เพื่อนําไปปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามรูปแบบเดียวกัน ทัง้ นีส้ มาชิกในสงั คมไทยต่างยึดมนั่ ใน สงั คมไทย มีความสมคั รสมานสามคั คีกนั และอยู่ด้วยกนั อย่างสงบสขุ มีการสืบทอดต่อกนั ไปจน กลายเป็ นมรดกทางสงั คมของไทย และนอกจากนี ้NGUYEN THI (2549) ยงั กลา่ วว่า วฒั นธรรมเป็ นแบบ แผนในการดําเนินชีวิตในสงั คมแต่ละสงั คมที่มนุษย์สร้างขึน้ เพื่อพฒั นาความเป็ นอย่ใู ห้ดีขึน้ โดย การถ่ายทอดจากคนรุ่นหนงึ่ ไปยงั อีกรุ่นหนึ่ง สามารถเปล่ียนแปลงและสญู สลายไป และวฒั นธรรม เป็ นคําที่มีความหมายเป็ นวงกว้างซง่ึ หมายถึงทกุ สิ่งทกุ อย่างที่มนษุ ย์สร้างขนึ ้ มาจากประสบการณ์ จากการเรียนรู้จากส่ิงแวดล้อมทงั้ ทางธรรมชาติและสงั คม โดยถ่ายทอดออกมาจนกลายเป็ นแบบ แผนในการดําเนินชีวติ ของกลมุ่ คนกลมุ่ หนง่ึ สรุป วัฒนธรรมเกิดจากมนุษย์ ถ้าไม่มีมนุษย์สร้ าง วัฒนธรรมก็ไม่มี วฒั นธรรมเป็ นแบบแผนในการดําเนินชีวิต ในสงั คมแต่ละสงั คมท่ีมนุษย์สร้ างขึน้ มาจากความรู้ ประสบการณ์ของกล่มุ ในสงั คมตา่ งยอมรับว่าเป็ นส่ิงที่ดีงาม ยดึ มนั่ ในคณุ ธรรม และศีลธรรม เพ่ือ แสดงออกถึงความเจริญงอกงามความสามคั คีรักใคร่เป็ นนํา้ หนึ่งใจเดียวกนั โดยการถ่ายทอดจาก คนรุ่นหนึ่งไปยงั อีกรุ่นหนึ่ง จนกลายเป็ นแบบแผนในการดําเนินชีวิต และถือได้ว่าวฒั นธรรมเป็ น มรดกทางสงั คม จึงเป็ นส่ิงท่ีควบค่กู นั ไป ไม่ว่าสงั คมใดก็มีวฒั นธรรมเป็ นแบบของตนโดยเอกเทศ ของสงั คมนนั้ 2.3.1.2 ความหมายของการแตง่ กาย การแตง่ กายก็เป็ นสง่ิ ที่บง่ บอกถึงคา่ นิยมทางวฒั นธรรม ซง่ึ เป็ นเอกลกั ษณ์ ของกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุกลมุ่ ใดกลมุ่ หน่งึ ซง่ึ สะท้อนให้เห็นถึงสภาพของการดํารงชีวิตของมนษุ ย์ในแตล่ ะ สมยั พวงผกา (2540) กลา่ ววา่ การแตง่ กาย หมายถึง ส่ิงที่มนษุ ย์นํามาใช้เป็ น เคร่ืองห่อหุ้มร่างกาย การแต่งกายของมนุษย์แต่ละเผ่าพนั ธ์ุสามารถค้นคว้าได้จากหลกั ฐานทาง วรรณคดีและประวตั ิศาสตร์ เพื่อให้เป็ นเคร่ืองช่วยชีน้ ํา ให้รู้และเข้าใจถึงแนวทางการแต่งกาย ซึ่ง
29 สะท้อนให้เห็นถงึ สภาพของการดาํ รงชีวิตของมนษุ ย์ในยคุ สมยั นนั้ ๆ ขณะที่ ประชิด (2546) ได้กล่าวไว้ว่า การแต่งกาย คือ ความนิยมในการ แต่งกายในแต่ละท้องถิ่นไม่เหมือนกนั ทําให้ลกั ษณะของเครื่องแต่งกายแต่ละท้องถ่ินมีรูปแบบที่ แตกต่างกนั ออกไปทงั้ ในเรื่องรูปแบบและสีสนั ตลอดจนลกั ษณะของเนือ้ ผ้า ซง่ึ บางท้องถิ่นอาจจะ ทอขนึ ้ เอง อยา่ งไรก็ตามรูปแบบของเสอื ้ ผ้าเครื่องแตง่ กายของคนทว่ั ๆ ไป จะเป็ นแบบเรียบง่ายหรือ เม่ือจะไปร่วมงานที่เป็ นพธิ ีก็นิยมแตง่ กายอีกแบบหนงึ่ สําหรับ กระทรวงวฒั นธรรม (2547) ได้กล่าวไว้ว่า การแต่งกายเป็ น มารยาททวั่ ๆ ไปซ่ึงทกุ คนต้องปฏิบตั ิเหมือนกนั ตามแต่โอกาสท่ีเหมาะสม เช่น แต่งกายไปทํางาน ไปวัด ทําบุญ,ไปเล่นกีฬา และงานพิธีต่าง ๆ หรือการแต่งกายท่ีอยู่ในเคร่ืองแบบของนักเรียน นกั ศกึ ษา ทหาร ตํารวจ บริษัทห้างร้านที่กําหนดให้พนกั งานแตง่ กาย เป็ นต้น หากบคุ คลใดสามารถ ปฏบิ ตั ไิ ด้ตามกฎระเบยี บท่ีกําหนดถือวา่ เป็ นผ้มู ีมารยาทในการแตง่ กายท่ีดี นอกจากนัน้ ประทีป (2555) กล่าวไว้ว่า การแต่งกายเป็ นการแสดงถึง เอกลกั ษณ์ประจําชาติอยา่ งหนึ่ง เป็ นการแสดงออกถึงประเพณีวฒั นธรรมทงั้ รวมถึงการแสดงออก ถึงคา่ นิยมที่ดีงาม สรุป การแต่งกาย หมายถึงส่ิงที่มนุษย์นํามาใช้เป็ นเครื่องห่อห้มุ ร่างกาย และบง่ บอกถึงคา่ นิยมในการแตง่ กายของแตล่ ะท้องถ่ิน ทําให้ลกั ษณะการแตง่ กายในแตล่ ะท้องถ่ิน มีรูปแบบที่แตกต่างกนั ออกไปทงั้ ในเร่ืองรูปแบบ สีสนั ตลอดจนลกั ษณะของเนือ้ ผ้า นอกจากนนั้ ยงั สะท้อนให้เห็นถึงเอกลกั ษณ์ประจําชาตอิ ยา่ งหนึ่ง เป็ นการแสดงออกถึงประเพณีวฒั นธรรม รวมถึง สภาพของการดาํ รงชีวติ ของมนษุ ย์ในแตล่ ะยคุ สมยั ดงั นนั้ จึงกล่าวได้ว่า วฒั นธรรมการแต่งกาย เป็ นแบบแผนในการดําเนิน ชีวิตในสงั คมแต่ละสงั คมเป็ นส่ิงท่ีดีงาม ยึดมน่ั ในคณุ ธรรม และศีลธรรม เพ่ือแสดงออกถึงความ เจริญงอกงาม และยงั สะท้อนให้เห็นถึงเอกลกั ษณ์ประจําชาตอิ ยา่ งหนงึ่ โดยการถ่ายทอดจากคนรุ่น หน่ึงไปยงั อีกรุ่นหนึ่ง จนกลายเป็ นแบบแผนในการดําเนินชีวิต รวมถึงสภาพของการดํารงชีวิตของ มนษุ ย์ในแตล่ ะยคุ สมยั 2.3.2 ลักษณะของวัฒนธรรมการแต่งกาย ณรงค์ (2539) กลา่ วว่า ทกุ สงั คมต้องมีวฒั นธรรม และวฒั นธรรมของแตล่ ะสงั คม ยอ่ มมีลกั ษณะเฉพาะท่ีแสดงออกให้ปรากฏ จนทําให้บางคนใช้วฒั นธรรมเป็ นเครื่องแบง่ อาณาเขต ของประเทศชาตไิ ด้ ลกั ษณะเดน่ ของวฒั นธรรมการแตง่ กายจะประกอบด้วย
30 2.3.2.1 เป็ นสิ่งท่ีมนุษย์สร้ างขึน้ เพื่อใช้เป็ นส่ิงช่วยในการดําเนินชีวิต ทุกสิ่งทุก อยา่ งที่มนษุ ย์สร้างขนึ ้ ล้วนเป็ นวฒั นธรรม 2.3.2.2 เป็ นผลรวมของหลายสิ่งหลายอย่าง เช่น ความรู้ ความเชื่อ วิถีในการ ดาํ เนินชีวติ สงิ่ ของเครื่องใช้ตา่ งๆ การแตง่ กาย 2.3.2.3 มีลักษณะเป็ นพฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้ มิใช่เกิดขึน้ เองโดย ปราศจากการเรียนรู้มาก่อน และลักษณะข้อนี ้ ทําให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์ กล่าวคือ พฤตกิ รรมของสตั ว์ ปราศจากการเรียนรู้มาก่อน หรือกลา่ วได้อีกนยั หนง่ึ วา่ พฤติกรรมสว่ นใหญ่ของ สตั ว์เกิดจากการเร้าของสญั ชาตญาณ ส่วนมนุษย์นนั้ มีสมองอนั ทรงคณุ ภาพ จึงสามารถรู้จกั คิด ถ่ายทอด และเรียนรู้ กระบวนการดงั กล่าวเกิดขึน้ จากการที่บุคคลอ่ืนในฐานะที่เป็ นสมาชิกของ สงั คม ดงั นนั้ การเรียนรู้จงึ เป็นองค์ประกอบที่สําคญั ของวฒั นธรรม 2.3.2.4 เป็ นมรดกแห่งสังคม วัฒนธรรมเป็ นผลถ่ายทอดการเรียนรู้ และเป็ น เครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการดงั กลา่ ว ยอ่ มอาศยั การสื่อสารโดยใช้สญั ลกั ษณ์ ได้แก่ การท่ีมนษุ ย์มี ภาษาใช้ที่แน่นอน ซึง่ มีส่วนช่วยให้การถ่ายทอดวฒั นธรรมจากคนรุ่นก่อนๆ ดําเนินสืบต่อเนื่องกนั มามิขาดสาย ดงั นนั้ วฒั นธรรมจงึ มีลกั ษณะเป็ นมรดกแหง่ สงั คม 2.3.2.5 เป็ นวิถีชีวิตหรือแผนดําเนินชีวิตของมนษุ ย์ วฒั นธรรมเป็ นแบบอย่างการ ดาํ รงชีวิตของกลมุ่ ซง่ึ สมาชิกเรียนรู้ถ่ายทอดกนั ไปด้วยการสงั่ สอนทงั้ ทางตรงและทางอ้อม 2.3.2.6 เป็ นผลจากการช่วยกันสร้ างสรรค์ของมนุษย์ และได้มีการปรับปรุง ดดั แปลง สงิ่ ใดท่ีไม่ดีหรือล้าสมยั ก็เลกิ ใช้ไป สิง่ ใดท่ีดีก็ยงั คงเอาไว้ใช้ตอ่ เช่น การเพาะปลกู เดิมใช้ แรงสตั ว์ ตอ่ มาเห็นวา่ เป็ นวธิ ีที่ลา่ ช้าและล้าสมยั จงึ ประดษิ ฐ์ซอื ้ หรือเคร่ืองมือเครื่องจกั รมาใช้ ทําให้ ได้ผลผลิตมากขนึ ้ วฒั นธรรมยอ่ มมีการเปลี่ยนแปลง (Change) และมีการปรับตวั (Adaptive) ได้ 2.3.2.7 เป็ นของส่วนรวม มิใช่เป็ นของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ส่ิงท่ีจะถือเป็ น วฒั นธรรมได้จะต้องเป็ นสิ่งที่สงั คมยอมรับถือปฏิบตั ิ มิใช่เฉพาะคนใดคนหน่ึงยอมรับถือปฏิบตั ิ เทา่ นนั้ 2.3.2.8 เป็ นส่ิงท่ีไมค่ งที่ มนษุ ย์มีการคิดค้นสิ่งใหมๆ่ หรือปรับปรุงของเดิมให้ดีขนึ ้ เหมาะสมกบั สถานการณ์ที่เปล่ียนแปลงไปจึงทําให้ต้องมีการปรับตวั ให้เข้ากบั สภาพของสงั คมนนั้ ให้ได้เพื่อความอยรู่ อดและสงบสขุ นอกจากนนั้ พวงผกา (2541) ได้กลา่ วถึง ลกั ษณะของวฒั นธรรมการแตง่ กายไว้ว่า มนุษย์มีการคิดค้นส่ิงใหม่ๆ หรือปรับปรุงของเดิมให้ดีขึน้ เหมาะสมกับสถานการณ์ท่ี เปลีย่ นแปลงไป จงึ ทําให้ต้องมีการปรับตวั ให้เข้ากบั สภาพของสงั คมนนั้ ให้ได้ เพ่ือความอยรู่ อดและ
31 สงบสขุ เช่น สงั คมไทยสมยั ก่อนมีความคดิ เห็นว่าผ้หู ญิงควรทํางานอยบู่ ้านเป็ นแมบ่ ้าน เรียนรู้เรื่อง การบ้านการเรือนทุกชนิด ผู้ชายต้องออกทํางานนอกบ้าน เพื่อหาเลีย้ งพ่อแม่ ครอบครัว แต่ใน ปัจจบุ นั นีส้ ภาพสงั คมเปลี่ยนแปลงไปมาก ผ้หู ญิงทํางานเคียงบา่ เคียงไหลก่ บั ผ้ชู ายมากขนึ ้ หรือถ้า เป็ นครอบครัว สามี ภรรยาต่างก็ออกทํางานนอกบ้าน เพ่ือเป็ นการช่วยหารายได้มาเพิ่มใน ครอบครัว ช่วยสามีของตน ผู้หญิงจะเป็ นคนเสง่ียมเจียมตวั นิ่มนวลอ่อนช้อยไม่ได้แล้วในสมัย ปัจจุบนั นี ้ต้องมีความกระฉับกระเฉงคล่องตวั ทํางานแข่งกบั เวลา ส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลง ด้านการแต่งกาย ที่ต้องทํางานให้ทนั ต่อสภาพของคนในยุคปัจจุบนั หรือยุคโลกาภิวตั น์ หรือยุค ตอ่ ๆไป สรุป วฒั นธรรมของแตล่ ะสงั คมยอ่ มมีลกั ษณะเฉพาะ ท่ีแสดงปรากฏไมเ่ หมือนกนั จนทําให้บางคนใช้วฒั นธรรมเป็ นเคร่ืองแบ่งอาณาเขตของประเทศชาติ จึงทําให้เห็นรูปลกั ษณ์ของ วฒั นธรรมได้อย่างแจ่มแจ้ง วฒั นธรรมมีลกั ษณะเป็ นมรดกแห่งสงั คม เป็ นผลถ่ายทอดและการ เรียนรู้จากคนรุ่นก่อนๆ ดําเนินสืบตอ่ เน่ืองกนั มาไมข่ าดสาย วฒั นธรรมย่อมมีการเปล่ียนแปลงและ มีการปรับตวั อย่เู สมอวฒั นธรรมมิใช่ของบุคคลใดบุคคลหน่ึง แต่เป็ นของส่วนรวม สิ่งท่ีจะถือเป็ น วฒั นธรรมได้จะต้องเป็ นสง่ิ ที่สงั คมยอมรับปฏิบตั ิ ไมใ่ ช่คนใดคนหนงึ่ ปฏิบตั เิ ทา่ นนั้ 2.3.3 ความสาํ คญั ของวัฒนธรรมการแต่งกาย 2.3.3.1 ความสําคญั ของวฒั นธรรม วิมล และคณะ (2548) ได้กล่าวถึง ความสําคญั ของวฒั นธรรมไว้ ดงั นี ้ 1) เป็ นเสมือนกรอบล้อมให้ชีวิตอยใู่ นขอบเขตท่ีนิยมกนั ว่าดี และถกู ต้อง แม้กฎหมายบ้านเมืองก็ยงั ไม่บงั คบั จิตใจ หรือมีอิทธิพลเหนือจิตใจมนุษย์ได้ เพราะได้ยิน ได้ฟัง ได้รับการอบรมอยกู่ บั วถิ ีชีวติ แบบนนั้ มาตงั้ แตเ่ กิด 2) เป็ นเคร่ืองมือช่วยให้มนษุ ย์เข้าใจสภาพชีวิตโดยทวั่ ไปได้ดีขึน้ เพราะ เป็ นที่ประมวลแห่งความรู้สึกนึกคิด ความเช่ือ ความกลวั ความนิยม ระเบียบแบบแผนและอื่นๆ 3) เป็ นเคร่ืองให้ความบนั เทิงแก่มนุษย์ชาติมาแต่ดงั้ เดิมในทุกวัย ทุก โอกาส 4) มีคณุ คา่ ทงั้ ทางศลิ ปะ และเป็ นศาสตร์ของวทิ ยาการทกุ แขนง 5) ทําให้เกิดความนิยมภาคภมู ใิ จในท้องถิ่นของตน 6) เป็ นมรดกหรือสมบตั ขิ องชาติ ในฐานะที่เป็ นวฒั นธรรมประจําชาตเิ ป็ น พืน้ ฐานเร่ืองเก่ียวกบั ชีวิตของมนุษย์แต่ละชาติแต่ละภาษา มีการจดจําและถือปฏิบตั ิกนั ต่อ ๆ มา 7) ทําให้รู้จกั สภาพชีวิตในท้องถ่ิน
32 นอกจากนี ้ณรงค์ (2539) ได้กลา่ วถึง ความสําคญั ของวฒั นธรรมไว้ ดงั นี ้ 1) วัฒนธรรมช่วยแก้ปัญหาและสนองความต้องการต่างๆ ของมนุษย์ มนษุ ย์พ้นจากอนั ตราย สามารถเอาชนะธรรมชาตไิ ด้เพราะมนษุ ย์สร้างวฒั นธรรมเข้ามาชว่ ย 2) วัฒนธรรมช่วยเหนี่ยวรัง้ สมาชิกในสังคมให้มีความเป็ นอันหน่ึงอัน เดยี วกนั และสงั คมท่ีมีวฒั นธรรมเดียวกนั ก็ยอ่ มจะมีความรู้สกึ ผกู พนั เป็ นพวกเดียวกนั 3) เป็ นเคร่ืองแสดงเอกลกั ษณ์ของชาติ ชาติท่ีมีวฒั นธรรมสงู ย่อมได้รับ การยกยอ่ ง และเป็ นหลกั ประกนั ความมน่ั คงของชาติ 4) เป็ นเคร่ืองกําหนดพฤติกรรมของคนในสงั คม ช่วยให้ผู้คนอยู่ร่วมกัน อยา่ งสนั ตสิ ขุ วฒั นธรรมทางบรรทดั ฐานช่วยจดั ระเบียบความสมั พนั ธ์ของผ้คู นในสงั คม 5) ช่วยให้ประเทศชาติมีความเจริญรุ่งเรืองถาวร โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้า ชาตินนั้ มีวฒั นธรรมที่ดี มีคติในการดําเนินชีวิตท่ีเหมาะสม ยดึ มน่ั ในหลกั แห่งเหตผุ ลในการดําเนิน ชีวิต ขยนั ประหยดั อดทนมีระเบียบวนิ ยั ท่ีดี ฯลฯ สงั คมนนั้ ก็จะเจริญรุ่งเรือง นอกจากนนั้ NGUYEN THI (2549) กลา่ ววา่ วฒั นธรรมมีความสําคญั อยู่ หลายประเด็น เช่น วฒั นธรรมที่ให้มนษุ ย์แตกตา่ งจากสตั ว์ ช่วยยกฐานะความเป็ นอย่ใู ห้ดีขึน้ ช่วย บําบดั ความต้องการของมนษุ ย์ ชว่ ยประสานสงั คมให้เป็ นหนง่ึ เดียว เป็ นแนวทางในการดําเนินชีวิต ช่วยให้สงั คมหรือประเทศชาตมิ ีความเจริญก้าวหน้า สรุป วัฒนธรรมเป็ นแนวทางในการดําเนินชีวิต ช่วยให้ สังคมหรือ ประเทศชาติมีความเจริญก้ าวหน้ า จึงมีอิทธิพลต่อความเป็ นอยู่ของมนุษย์ และต่อความ เจริญก้าวหน้าของประเทศชาติ อีกทงั้ เป็ นเครื่องมือช่วยให้มนษุ ย์เข้าใจสภาพชีวิตโดยทวั่ ไปได้ดีขึน้ เพราะเป็ นท่ีประมวลแห่งความรู้สึกนึกคิด ความเช่ือ ความกลัว ความนิยม ระเบียบแบบแผน นอกจากนนั้ ยงั มีคณุ คา่ ทางศลิ ปะ ทําให้เกิดความภาคภมู ใิ จในท้องถ่ินของตน 2.3.3.1 ความสําคญั ของการแตง่ กาย ณรงค์ (2539) ได้ให้เหตผุ ลความสําคญั ของการแตง่ กายไว้ว่า วฒั นธรรม เป็ นปัจจยั สําคญั ในการดําเนินชีวิตของมนษุ ย์ ช่วยให้มนษุ ย์และสงั คมพฒั นาขนึ ้ โดยลําดบั อยา่ งไม่ มีที่สิน้ สุด แต่ทัง้ นีต้ ้องขึน้ อยู่กับความสามารถของมนุษย์ในการปรับปรุง รับเอา หรือสร้ างสรรค์ วฒั นธรรมที่เหมาะสมขนึ ้ มาใช้ ถ้าวฒั นธรรมมีคณุ คา่ เหมาะสมมากก็ช่วยให้สงั คมเจริญขนึ ้ ได้มาก เป็ นเงาตามตวั และความเหมาะสมของวฒั นธรรมก็คือ การก่อให้เกิดประโยชน์แก่การดํารงชีวิตใน สงั คม
33 ขณะท่ี พวงผกา (2541) กล่าวว่า มนุษย์ต้องแต่งกายในขัน้ แรก เพื่อ ปกปิ ดร่างกาย ต้องการความอบอนุ่ ป้ องกนั สตั ว์และแมลง เพราะมนษุ ย์เป็ นสตั ว์โลกที่ออ่ นแอท่ีสดุ ในทางฟิ สิกส์ เพราะขาดภมู ิต้านทานทางธรรมชาติกว่าสตั ว์อื่น ๆ ผิวหนงั ของมนุษย์บอบบาง จึง ต้องมีสงิ่ ปกปิ ดร่างกาย เพ่ือดาํ รงชีวติ อย่ไู ด้จากความจําเป็ นอนั นีเ้ป็ นแรงกระต้นุ ที่สําคญั ในอนั ท่ีจะ แต่งกาย เพื่อสนองความต้องการของเราเอง สงั คม และอื่นๆ ประกอบกนั และเคร่ืองแต่งกายก็มี แบบที่แตกตา่ งกนั ออกไปตามมลู เหตตุ ่างๆ เช่น สภาพภมู ิอากาศ สภาพกิจการงานและอาชีพท่ีทํา ขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรม ศาสนา สภาพแวดล้อม ฐานะ และเศรษฐกิจ นอกจากนี ้ ฟ้ า (2552) กล่าวว่า การแต่งกายเป็ นหน่ึงในปัจจัย 4 ซ่ึง จําเป็ นในการปกปิ ดร่างกายและปกป้ องร่างกายจากส่ิงอนั ตรายต่างๆ แตล่ ะชาตมิ ีรูปแบบแตกตา่ ง กันตามลักษณะทางวัฒนธรรมและความเช่ือ นอกจากเป็ นส่ิงที่ตอบสนองความจําเป็ นในการ ดํารงชีวิตแล้ว ยังเป็ นส่ิงท่ีมีคุณค่า สร้ างความน่าเชื่อถือแก่ผู้ที่สวมใส่ เป็ นอาภรณ์ท่ีเชิดชู บคุ ลกิ ภาพของผ้สู วมใสใ่ ห้ดสู วยงาม สรุป การแตง่ กายเป็ นหนึง่ ในปัจจยั 4 ซงึ่ จําเป็ นในการปกปิ ดร่างกายและ ปกป้ องร่างกายจากสิ่งอนั ตรายตา่ งๆ เพราะมนุษย์เป็ นสตั ว์โลกท่ีอ่อนแอที่สดุ ในทางฟิ สิกส์ เพราะ ขาดภมู ติ ้านทานทางธรรมชาตกิ วา่ สตั ว์อ่ืนๆ นอกจากนนั้ ยงั เป็ นเคร่ืองตกแตง่ ร่างกายให้ดสู วยงาม ป้ องกนั ความร้อนหนาว และยงั บง่ บอกถึงฐานะศกั ดติ์ ระกลู และตําแหนง่ หน้าท่ีอีกด้วย ดงั นนั้ จึงกลา่ วได้ว่า ความสําคญั ของวฒั นธรรมการแต่งกาย เป็ นเครื่อง กําหนดความเจริญ หรือความเสื่อมของสังคม และมีอิทธิพลต่อความเจริญก้ าวหน้ าของ ประเทศชาติ อีกทัง้ ยังเป็ นเคร่ืองตกแต่งร่างกายให้ดูสวยงาม และยังบ่งบอกถึงฐานะ ตําแหน่ง หน้าท่ี ความน่าเช่ือถือ โดยยงั บอกถึงความรู้สกึ นึกคิด ความเชื่อ ความกลวั คา่ นิยม ระเบียบแบบ แผน และมีคณุ คา่ ทางศลิ ปะ 2.3.4 ปัจจัยท่สี ่งผลต่อการแต่งกายท่แี ตกต่างกัน การแต่งกายเป็ นปัจจยั ที่มีความสําคญั ต่อมนุษย์จึงเป็ นแรงกระตุ้นท่ีสําคญั ท่ีให้ มนษุ ย์ขวนขวายท่ีจะแตง่ กายเพ่ือสนองความต้องการของ ตนเองดงั ท่ี พวงผกา (2541) กลา่ ววา่ สงิ่ นีจ้ ึงเป็ นแรงกระต้นุ ท่ีสําคญั ท่ีให้มนษุ ย์ขวนขวายที่จะแต่งกาย เพ่ือสนองความต้องการของตนเอง สงั คม และอ่ืนๆ มนษุ ย์ในยคุ โบราณต้องแก้ปัญหาพืน้ ฐานในเร่ืองปัจจยั 4 เป็ นอยา่ งมากและเป็ น ความพยายามในการควบคมุ สงิ่ แวดล้อมให้เหมาะสมกบั ตนเอง ดงั นนั้ การแตง่ กายของมนษุ ย์ก็จะ แตกตา่ งกนั ออกไปตามมลู เหตตุ อ่ ไปนี ้
34 2.3.4.1 สภาพภูมิอากาศ ภูมิอากาศของประเทศ เป็ นเหตุใหญ่ท่ีทําให้การแต่ง กายของแต่ละประเทศมีความแตกต่างกัน คนท้องถ่ินอยู่ในประเทศท่ีมีอากาศหนาวมากจะแต่ง กายเพ่ือหอ่ ห้มุ ร่างกายจากสภาพอากาศ พวกท่ีอาศยั อยใู่ นเขตอากาศร้อน ก็จะแตง่ กายด้วยเสอื ้ ผ้า ท่ีทําจากใยฝ้ ายเพ่ือช่วยให้ระบายความร้อนได้ดี หรือไม่ก็จะหาวิธีเพ่ือป้ องกนั ความร้อนจากดวง อาทิตย์ โดยใช้เชือกย้อมด้วยสีเข้มมาพนั ตวั 2.3.4.2 สภาพงานและอาชีพ ในการปฏิบตั งิ านของแตล่ ะอาชีพ ความต้องการเสือ้ ผ้าสวมใส่ในการทํางาน จะมีลกั ษณะท่ีแตกต่างกันในแต่ละอาชีพ มนุษย์จึงคิดประดิษฐ์เส้นใย ตา่ งๆขนึ ้ มา เพื่อให้มีคณุ สมบตั ติ า่ งกนั เพื่อให้เหมาะสมกบั แตล่ ะอาชีพนนั้ ๆ เช่น การทนตอ่ สารเคมี ไมเ่ ป็ นสอ่ื ไฟฟ้ า และไมน่ ําความร้อน 2.3.4.3 ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวฒั นธรรม การที่มนุษย์อยู่ร่วมกันอย่าง เป็ นหมู่ จึงจําเป็ นต้องมี กฎ ระเบียบ เพ่ือให้การเป็ นอย่รู ่วมกนั อย่างสงบสขุ ไม่มีการรุกรานซึ่งกนั และกนั การปฏิบตั ิสืบตอ่ กนั มานีเ้อง จงึ กลายเป็ นขนบธรรมเนียม ประเพณี และวฒั นธรรม มนษุ ย์ เริ่มรู้จักการเข้าสงั คม รู้จักแต่งตวั ซ่ึงมีมาตงั้ แต่ สมัยโบราณแล้ว เช่น การทาสี การสกั การทํา ลวดลายตามสว่ นตา่ งๆ ของร่างกาย 2.3.4.4 ความต้องการดึงดูดเพศตรงข้าม มนุษย์เราเมื่อเริ่มเติบโตเข้าในวัยรุ่น หนุ่มสาว มีความสมบูรณ์ทางเพศ เป็ นธรรมชาติที่ต้องการมีความงดงามขึน้ เพื่อท่ีจะดึงดดู ใจแก่ เพศตรงข้าม ซ่ึงเป็ นสิ่งสําคัญท่ีมนุษย์ต้องการ การยอมรับจากบุคคลอื่นด้วย โดยเฉพาะด้าน ร่างกาย เพื่อสนองความต้องการนี ้จึงได้มีวิวฒั นาการของการออกแบบเครื่องแต่งกายของมนษุ ย์ เพื่อตอบสนองความต้องการของสงั คมท่ีเปล่ียนไปอยู่เสมอ วสั ดุท่ีนํามาใช้ก็มีการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงให้เข้ากบั ความเจริญด้านเทคโนโลยี 2.3.4.5 สถานภาพทางสงั คมและเศรษฐกิจ สภาพของสงั คมและเศรษฐกิจของแต่ ละแห่งแตล่ ะจงั หวดั มีความไมเ่ หมือนกนั และมีบทบาทตอ่ การแตง่ กายท่ีตา่ งไปด้วย สงั คมทว่ั ไปใน ขณะนีม้ ีหลายระดบั ชัน้ และแบ่งกันตามฐานะ ทางเศรษฐกิจอีกด้วย เช่น ชนชัน้ ระดบั เจ้านาย ชาวบ้าน กรรมกร ซ่ึงแต่ละลกั ษณะจะบ่งชดั ว่าผ้แู ต่งนัน้ อย่ใู นฐานะระดบั ใด และยงั บ่งถึงสภาพ สงั คมของเขาด้วย ความเจริญทางด้านวฒั นธรรม และการแต่งกายมีการวิวฒั นาการมาเร่ือย ๆ นอกจากนนั้ เสาวพร (2547) กล่าวว่า การแต่งกายเป็ นปัจจยั ท่ีมีความสําคญั ต่อ มนษุ ย์ เพ่ือใช้สาํ หรับสวมใสป่ กปิ ดร่างกายของมนษุ ย์ ตลอดจนป้ องกนั สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง ไปตามฤดูกาลต่างๆ เช่น ฤดูฝน ฤดูร้ อน และฤดหู นาว ให้มีความเหมาะสมกับสถานที่ โอกาสที่ นําไปใช้ตามประเพณี วฒั นธรรม และโอกาสพิเศษต่างๆ เช่น งานเลีย้ ง งานสงั สรรค์ งานบญุ เป็ น
35 ต้น โดยมีการจดั รูปแบบเสือ้ ผ้าการแต่งกายท่ีมีความทนั สมยั ความสวยงาม ความเหมาะสม และ ความคงทนของเสอื ้ ผ้าการแตง่ กาย สรุป การแต่งกายเป็ นปัจจยั ที่มีความสําคญั ต่อมนษุ ย์ จึงเป็ นแรงกระต้นุ สําคญั ท่ี ให้มนุษย์ขวนขวายที่จะแต่งกาย เพ่ือสนองความต้องการของตนเอง มนุษย์ในยุคโบราณต้อง แก้ปัญหาพืน้ ฐานในเรื่องปัจจยั 4 เป็ น อย่างมาก ดงั นนั้ การแต่งกายของมนษุ ย์ก็จะแตกต่างกนั ออกไปตามมลู เหตตุ ่างๆ เช่น สภาพภูมิอากาศของประเทศ เป็ นเหตผุ ลใหญ่ที่ทําให้การแต่งกาย ของแตล่ ะประเทศมีความแตกตา่ งกนั สภาพงานและอาชีพในการปฏบิ ตั งิ านของแตล่ ะอาชีพ ความ ต้องการเสือ้ ผ้าสวมใส่ในการทํางานจะมีลักษณะท่ีแตกต่างกันในแต่ละอาชีพ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวฒั นธรรม การท่ีมนษุ ย์อย่รู ่วมกนั อย่างเป็ นหมู่ จึงจําเป็ นต้องมี กฎ ระเบียบ เพ่ือให้ การเป็ นอย่รู ่วมกันอย่างสงบสขุ ความต้องการดึงดดู เพศตรงข้าม มนุษย์เราเม่ือเริ่มเติบโตเข้าใน วยั รุ่นหนมุ่ สาว มีความสมบรู ณ์ทางเพศเป็ นธรรมชาตทิ ี่ต้องการมีความงดงามขนึ ้ เพ่ือท่ีจะดงึ ดดู ใจ แก่เพศตรงข้าม สภาพของสงั คมและเศรษฐกิจของแต่ละแห่งไม่เหมือนกนั และมีบทบาทต่อการ แตง่ กายท่ีตา่ งไปด้วย 2.3.5 ปัจจัยท่สี ่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของการแต่งกาย ได้มีผ้ใู ห้ความหมายของปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ การเปล่ียนแปลงของการแตง่ กายไว้ ดงั นี ้ NGUYEN THI (2549) ได้กล่าวถึง ประเด็นต่างๆท่ีมีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงของ การแตง่ กายไว้ 6 ประการ ดงั นี ้ 2.3.5.1 การเมือง การออกกฎหมายห้ามไม่ให้สวมใส่เคร่ืองแต่งกายบางอย่าง หรือบญั ญัติควบคมุ อตุ สาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเคร่ืองนุ่งห่ม หรืออาจกระต้นุ ความอยากขึน้ ในตวั บคุ คล หรือคนบางกลมุ่ ให้ลอกเลยี นความมีเสนห่ ์ของผ้นู ําทางการเมือง ตา่ งก็สง่ ผลตอ่ การแตง่ กาย ไมท่ างใดก็ทางหนงึ่ 2.3.5.2 ความขัดแย้งทางการเมือง เป็ นประเด็นท่ีส่งผลต่อการแต่งกายโดย ทางอ้อม เนื่องจากความขดั แย้งทางการเมือง มกั จะก่อให้เกิดสงคราม ซง่ึ อาจปิ ดกนั้ ช่องทางในการ หาวตั ถมุ าทําผ้า หรือในทางตรงกนั ข้ามก็จะเป็ นการนําวตั ถดุ ิบใหม่และความคิดใหม่เข้ามาใช้ ทํา ให้ช่องทางการทําผ้าขยายตวั ออกไป กรณีนีม้ กั จะเกิดขนึ ้ ในประวตั ิศาสตร์ของประเทศเล็ก ซงึ่ หลงั เลิกสงครามก็จะถกู ครอบงําโดยประเทศมหาอํานาจ ในขณะเดียวกนั ก็จะรับอิทธิพลในด้านต่างๆ จากผ้ปู กครองไมว่ า่ จะเป็ นการเมืองหรือวฒั นธรรมก็ตาม 2.3.5.3 เหตกุ ารณ์ทางเศรษฐกิจ สามารถเปล่ียนแปลงตามลกั ษณะการแต่งกาย หรือนําเข้าวตั ถทุ ําผ้าใหม่ๆ จากต่างประเทศ ฯลฯ เช่น การค้าระหว่างประเทศ โดยเฉพาะเส้นทาง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239