Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จุดนัดพบบนเส้นขนาน

จุดนัดพบบนเส้นขนาน

Description: จุดนัดพบบนเส้นขนาน.

Search

Read the Text Version

กบั องคก์ รหลายๆ องค์กร แต่ละองค์กรมีความต้องการไม่เหมอื นกัน เคร่ืองมอื ท่ีเหมาะสมกับแต่ละองค์กรก็อาจจะเป็นเคร่ืองมือคนละแบบกัน ผลท่ีออกมา อาจจะไมเ่ หมือนกัน พรอ้ มท้งั บอกว่างานของขอนแก่นนิวสปรติ ยังอย่ใู นชว่ งก่อ ตง้ั และทดลอง จะตอ้ งท�ำและเรยี นรเู้ พม่ิ เตมิ จงึ จะสามารถก�ำหนดเปา้ หมายหรอื กิจกรรมใหช้ ัดเจนในแบบทแ่ี นวคิดผปู้ ระกอบการต้องการ “พ่ีรู้สึกเลยว่ามันต้องคุยกันตั้งแต่ต้นมือแล้วว่า ไม่ใช่เราตกลงกันสาม วนั นี้เสรจ็ แลว้ ต้องเอาอนั น้ีมา แลว้ ต้องแบบวัดกนั แบบนแ้ี ล้วแบบโอยพตี่ ายเลย อย่างง้ี (หวั เราะ)” พสี่ ยุ้ บอก ดูเหมือนกังวลท่พี น่ี กพยายามให้พี่ส้ยุ สรปุ ทกุ อยา่ ง อยา่ งชดั เจนในระยะเวลาท�ำกจิ กรรมสามวัน พนี่ กตอบพสี่ ยุ้ วา่ กระบวนการของพน่ี กเปน็ กระบวนการทชี่ ว่ ยตรวจสอบ ว่าส่ิงท่ีเราท�ำน้ันท�ำไปเพื่ออะไรและสร้างความเปลี่ยนแปลงได้จริงหรือไม่ และ เป็นการก�ำหนดกรอบการท�ำงานซึ่งจะต้องมีการลงรายละเอียดในเชิงกิจกรรม อีกที เป็นเหมือนการก�ำหนดปลายทางให้ชัดแต่ไม่ได้หมายความว่าในเชิงราย ละเอยี ดจะไม่สามารถเปลี่ยนอะไรได้ โดยถ้างานมคี วามชดั เจนแลว้ พนี่ กจะช่วย หานวัตกรรมและเครืองมอื ท่หี ลากหลายมาให้พี่สยุ้ เลือกใช้ ทั้งสองคนพูดคุยและพยายามอธิบายความคิดกันไปมาพักหน่ึง พ่ีนก จึงยืนยันว่ามีอย่างน้อยหนึ่งเรื่องที่พ่ีสุ้ยจะต้องตกลงกับพ่ีนกให้ได้ภายในสาม วนั นี้ (เวทีพฒั นาศกั ยภาพคร้ังที่ 1 วันท่ี 10 -12 พฤศจิกายน 2560) และหา้ ม เปลี่ยนแปลงเด็ดขาดก็คือ หน่ึง งานที่พ่ีสุ้ยท�ำจะต้องไม่ใช่การแก้ปัญหาแบบ แจกผา้ หม่ เพราะถา้ ท�ำงานแบบแจกผา้ หม่ พนี่ กจะไมท่ �ำ สอง ขอนแกน่ นวิ สปริ ติ ต้องท�ำงานแบบไม่ต้องไปเรียกหาทุน หมายความว่าคุณภาพงานของขอนแก่น นิวสปิริตจะต้องดีพอจนมีคนอยากให้ขอนแก่นนิวสปิริตไปท�ำงานด้วย ท้ังสอง อยา่ งเปน็ แนวทางทพ่ี ส่ี ยุ้ เหน็ ดว้ ย และแมใ้ นขณะนนั้ ทงั้ สองอาจจะยงั ไมเ่ หน็ พอ้ ง ตอ้ งกนั อยา่ งเต็มทีใ่ นเร่อื งการก�ำหนดตัวช้ีวัดดงั ทถี่ กเถียงกันด้านบน แตท่ ง้ั สอง คนเห็นพ้องกันว่าการวัดผลกระทบจะต้องเป็นการวัดสิ่งที่เป็นผลกระทบจริงๆ การเรยี นรรู้ ่วมกนั และการปะทะสงั สนั ทน์ทางความคิดบนพน้ื ที่ขอนแกน่ นวิ สปิริต 151

ไมใ่ ช่แค่วดั ว่าได้ท�ำกิจกรรมอะไรไปบา้ ง หรือวัดว่าจ�ำนวนกิจกรรมมเี ทา่ ไร เม่ือพี่สุ้ยและพี่นกหาข้อตกลงร่วมได้เช่นน้ีจึงสามารถท�ำงานร่วมกัน ต่อไปได้ แม้ว่าอาจจะยงั มคี วามไม่เขา้ ใจติดคา้ งอยู่ เช่นพน่ี กทย่ี งั คาใจจากการท่ี กระบวนการของตนเองถกู ตงั้ ค�ำถามและวจิ ารณ์ และไดพ้ ยายามชแี้ จงแกผ่ เู้ ขยี น ถึงความส�ำคัญของกระบวนการที่ตนใช้เมื่อผู้เขียนได้สัมภาษณ์พี่นกในภายหลัง ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าเป็นข้อความท่ีแสดงวิธีคิดการท�ำงานและความเป็นตัวตนของ พนี่ กได้เป็นอย่างดี “การแกป้ ญั หาสงั คมเปา้ หมายคอื ทำ� ใหม้ นั หมดไป ถา้ เราไมเ่ ขา้ ใจ รากของมนั วา่ ปญั หาเกดิ จากอะไร และไมเ่ หน็ ความเชอื่ มโยงของ การแก้ไขจากรากของมันว่าส่ิงที่เราท�ำมันแก้แบบเบ็ดเสร็จเด็ด ขาดได้หรอื ไม่ (การแกป้ ญั หาของเรา – ผเู้ ขยี น) มนั creative (สร้างสรรค์) หรือ innovative (ในท่ีนี้แปลว่า มีความเป็น นวัตกรรม – ผ้เู ขียน) เพยี งพอหรือไม่ เรากอ็ าจก�ำลงั เหนอ่ื ยฟรี เหมอื นท่ีพ่สี ุ้ยชอบพดู คำ� วา่ วิ่งวนเป็นลูป ทำ� activity (กิจกรรม) แต่มนั ไม่ไดแ้ ก้ปัญหา” (ธนัน รตั นโชติ. สัมภาษณ์, 13 ธนั วาคม 2560) 152 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผูค้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

“ผมว่าเคร่ืองมือที่มันสากลเนี่ย...อันนี้มันก็เป็นส่ิงที่ผมติดขัด ในใจเหมือนกันว่าคนภาคสังคมจะไม่ค่อยชอบเรื่องนี้กัน ตอน ท่มี าทำ� เวริ ค์ ชอ็ ปในโครงการผู้นำ� ในอนาคตก็ไดย้ นิ พดู วา่ เครือ่ ง มือกระบวนการมันดูแข็งดูเป็นฐานหัวมากเกินไป ซ่ึงผมรู้สึกว่า ตอนเราตอ้ งตง้ั งบทำ� แผนใชเ้ งนิ เนยี่ มนั เปน็ เรอ่ื งใชเ้ หตแุ ละผล ใช้ ตัวเลข ก็เป็นฐานหัวอยู่แล้วไม่ใช่เหรอ ท�ำไมตอนท่ีจะคิดว่าท�ำ แล้วใช้เงินแล้วได้ผลคุ้มรึเปล่าถึงบอกว่าเป็นฐานหัวเกินไป การ คดิ เหลา่ นผี้ มอยากใชค้ ำ� วา่ เปน็ การคดิ เชงิ ปญั ญา ถา้ เราไมห่ าราก วา่ ปญั หาเกดิ จากอะไร วธิ กี ารทเี่ ราทำ� มนั แกป้ ญั หาไดจ้ รงิ ไหม มนั มีแค่ activity (กิจกรรม) แต่ไมม่ ี result (ผลส�ำเร็จ) หรือเปลา่ เราจะกลา้ บอกคนอนื่ ไดย้ งั ไงวา่ เรากำ� ลงั ทำ� งานเพอ่ื แกป้ ญั หาอยู่ ไมใ่ ชเ่ พอ่ื ใหแ้ หลง่ ทนุ หรอื เจา้ ของเงนิ มาประเมนิ เรานะ แตก่ ารที่ เราทำ� งานเองเนย่ี เรากินเวลาของตวั เองและครอบครัว กินเวลา ของชวี ติ ทแ่ี กข่ น้ึ ไปทกุ วนั กนิ resource ของคนนอ้ งๆ ในทมี งาน เราจะตอบไดย้ งั ไงว่า resource เหลา่ น้ันถกู ใช้อยา่ งคุ้มคา่ ถา้ เรา ไมไ่ ดม้ กี ารคดิ เชงิ กระบวนการ เครอ่ื งมอื นใ้ี ชท้ วั่ โลกทงั้ ในประเทศ ทปี่ ระสบความสำ� เรจ็ ในการแกป้ ญั หาเขากใ็ ชเ้ ครอื่ งมอื ลกั ษณะนี้ แหละ จรงิ ๆ มันกอ็ รยิ สจั น่ันแหละจะ Theory of Change จะ impact value chain มนั กท็ กุ ข์ สมทุ ยั นโิ รธ มรรคนนั่ แหละ ถา้ กลัวชอ่ื มนั ดูเปน็ ฝร่งั แล้วดูรู้สึกกดทับ ถอื วา่ มาคุยอรยิ สัจดไู หม” (ธนนั รัตนโชต.ิ สมั ภาษณ์, 13 ธันวาคม 2560) การเรียนรู้ร่วมกนั และการปะทะสงั สนั ทน์ทางความคิดบนพืน้ ที่ขอนแก่นนวิ สปิริต 153

ส่งิ ทีพ่ ่นี กอาจจะไมร่ ้คู ือแมม้ คี วามขดั แยง้ ทางความคดิ และมีหลายอย่างทีพ่ ี่นก และพี่สุ้ยเห็นไม่ตรงกัน แต่พี่นกแสดงให้พ่ีสุ้ยเห็นว่าพ่ีนกเปิดพ้ืนท่ีส�ำหรับการ รบั ฟงั ช่วยให้พ่สี ุย้ วางใจและสามารถรว่ มกระบวนการตอ่ ไป แมว้ ่าจะไมใ่ ชส่ ง่ิ ท่ี พสี่ ุ้ยเห็นด้วยอยา่ งเต็มท่ี “พ่ีนกก็ปรับตัวเยอะตอนท่ีเรางอแงหรือโยนค�ำถามบางอย่าง กลับไปว่าเราไม่เช่ือกระบวนการเครื่องมือเหล่าน้ีก็เห็นว่าแกรับ ฟงั ซ่งึ ตอนแรกกค็ ิดวา่ แกจะพยายามอธบิ ายว่าเครื่องมอื น้ีมันดี ยงั ไง หรอื พยายาม defend (ปกปอ้ ง) วา่ เครอื่ งมอื นมี้ นั สำ� คญั นะ แตแ่ กฟงั ซง่ึ พค่ี ดิ วา่ ทา่ ทที แ่ี กฟงั ทำ� ใหพ้ ค่ี ลายแงท่ ว่ี า่ เรามพี น้ื ทใี่ ห้ โวยวายได้ การท่เี ปดิ พน้ื ทใี่ หเ้ ราได้บ่น ได้ระบาย ไดโ้ วยวายบา้ ง มนั เหมอื นกบั มคี นรับรู้ความอึดอัด ความเหนอ่ื ย ความล้า ความ พยายามทจ่ี ะก้าวผ่านสิ่งท่เี ราไมช่ อบ เร่อื งฐานหัวหรืออะไรของ ภาคี มนั มคี วามพยายามตรงนอี้ ยู่ พอมนั มคี นรบั รมู้ คี นฟงั มนั กไ็ ป ต่อไดอ้ ีกนิดนงึ แทนท่ีจะบอกว่า...กจู ะอว้ กแล้ว พอกนั ที เลกิ !!!... มันก็ไปตอ่ ได”้ (วรรณา จารุสมบูรณ.์ สมั ภาษณ,์ 30 มนี าคม 2561) อย่างไรก็ตามเวลาเข้าร่วมอบรมของ School of Changemakers ครง้ั ตอ่ ๆ มา เมื่อพส่ี ุ้ยมีโอกาสท�ำงานกบั เครื่องมอื impact value chain ของ ขอนแกน่ นวิ สปริ ติ อกี ผเู้ ขยี นสงั เกตวา่ พสี่ ยุ้ เลอื กลงขอ้ มลู เฉพาะกจิ กรรมทวี่ ดั ผล ออกมากเป็นตัวเลขได้ ส่วนกิจกรรมอ่ืนๆ ท่ีต้องการท�ำแต่มีตัวช้ีวัดที่ค่อนข้าง เป็นนามธรรมนั้นพ่ีสุ้ยไม่ได้กล่าวถึงอีก หรืออาจกล่าวถึงในฐานะผลพลอยได้ ของกจิ กรรม แตใ่ นการปฏบิ ตั งิ านจรงิ ผเู้ ขยี นยงั เหน็ พส่ี ยุ้ สอดแทรกกจิ กรรมทไ่ี ม่ สามารถวดั ผลกระทบเปน็ ตวั เลขไดใ้ นงานของขอนแกน่ นวิ สปริ ติ อยา่ งสมำ่� เสมอ 154 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ขอนแก่นนิวสปริตกับแนวคิดผู้ประกอบการ แผนการของพี่สุ้ย ตามข้อเสนอโครงการในเจ็ดเดือนนี้ สิ่งท่ีพ่ีสุ้ยวางแผนไว้คือการจัด กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพ่ือให้ความรู้แนวคิดวิธีการท�ำงานเชิงสังคม และเคร่ืองมือใหม่ๆ แก่เครือข่าย โดยเฉพาะองค์ความรู้เร่ือง “ผู้ประกอบการ ทางสงั คม” พี่สุ้ยเช่ือว่าหากเครือข่ายได้สัมผัสความรู้ชุดน้ีจะท�ำให้เครือข่ายเห็น ความเป็นไปได้ท่ีจะลองใช้วิธีการท�ำงานแบบใหม่ แบ่งการอบรมเป็นสองคร้ัง ครงั้ แรกเปน็ การอบรมเพอ่ื สรา้ งความตระหนกั รตู้ อ่ แนวคดิ ทใี่ ชส้ ะทอ้ นยอ้ นมอง การท�ำงานของตนเองโดยจัดให้ทั้งเครือข่ายมีส่วนร่วม จากนั้นพ่ีสุ้ยจะจัดการ อบรมอีกครั้งโดยมีเน้ือหาเข้มข้นข้ึนส�ำหรับคนที่มีความคิดริเริ่มหรือสนใจการ ท�ำงานดว้ ยวธิ กี ารทไ่ี มเ่ คยท�ำมากอ่ น และอยากลองน�ำความคดิ ทมี่ ไี ปปฏบิ ตั งิ าน จรงิ โดยตัง้ ใจใชก้ ระบวนการท่คี ลา้ ยกับ School of Changemakers จดั ให้กบั พส่ี ยุ้ และผนู้ �ำภาคประชาสงั คมคนอนื่ ๆ เพอ่ื พฒั นาแผนการท�ำงานและสงิ่ ทอี่ ยาก ทดลองท�ำ หลังจากนั้นพ่ีสุ้ยคิดว่าจะลองเลือกกลุ่มคนที่มีแนวคิดที่น่าสนใจมา สองถึงสามกลุ่มเพ่ือใหล้ องน�ำความคดิ มาปฏบิ ตั ิการจรงิ ดู การที่พ่ีสุ้ยเลือกจัดกระบวนการแก่เครือข่ายโดยน�ำเอาแนวคิด ผู้ประกอบการทางสังคมมาสอดแทรกเช่นน้ี เพราะพ่ีสุ้ยเห็นว่าการจัดกิจกรรม เชื่อมโยงเครือข่ายทางใจในแบบท่ีขอนแก่นนิวสปริตท�ำมาก่อนหน้านี้จะได้ผล เพียงแต่การสร้างชุมชน แต่ไม่ช่วยเสริมศักยภาพให้คนในเครือข่ายเห็นวิธีการ ท�ำงานแบบใหม่ๆ หรือตอบตนเองได้ว่างานท่ที �ำอยู่มีผลกระทบอยา่ งไร แคไ่ หน และจุดออ่ นท่อี าจจะปรับปรุงจากกระบวนการท�ำงานแบบเดมิ คืออะไร และไม่ ช่วยให้เครือข่ายเกิดความตระหนักรู้ต่อปัญหาร่วมนอกเหนือจากหน้างานของ การเรียนรู้ร่วมกนั และการปะทะสงั สันทนท์ างความคดิ บนพืน้ ทขี่ อนแกน่ นิวสปริ ติ 155

แต่ละองค์กรทเ่ี ป็นประเด็นใหญ่ตอ้ งการความรว่ มมือขับเคลอ่ื นจากหลายกลมุ่ พี่สุ้ยเช่ือว่าเครื่องมือต่างๆ ของการประกอบการสังคมจะสามารถช่วย สรา้ งการเรยี นรใู้ นประเดน็ เหลา่ นแ้ี กเ่ ครอื ขา่ ยได้ สว่ นการพยายามใหท้ นุ แกเ่ ครอื ขา่ ยนน้ั เปน็ เพราะพส่ี ยุ้ เชอื่ วา่ การมพี น้ื ทท่ี ดลองท�ำงานจรงิ จะเปน็ กระบวนการท่ี ส�ำคญั ทสี่ ดุ ในการท�ำใหเ้ ครอื ขา่ ยเหน็ ทางเลอื กในการท�ำงานรปู แบบใหมๆ่ ทเี่ ปน็ ไปได้ ซึ่งจะช่วยท�ำให้คนในพ้ืนท่ีหลุดกรอบจากวิธีการท�ำงานแบบเดิมที่ท�ำให้ ตนเองเบ่อื หรือหมดไฟ กจิ กรรมอกี ประการหนง่ึ ทพ่ี สี่ ยุ้ พยายามท�ำ คอื การสรา้ งพนื้ ทส่ี �ำหรบั การ สอื่ สารและเรยี นรรู้ ะหวา่ งสมาชกิ โดยพสี่ ยุ้ ตงั้ เปา้ ถงึ ขนั้ มอี งคก์ รทจี่ ดั หาความรใู้ ห้ แก่ภาคประชาสงั คมในขอนแกน่ เลยทเี ดยี ว แต่ในตอนนส้ี ง่ิ ทเี่ กิดขนึ้ ยังเป็นพนื้ ท่ี การส่อื สาร แจ้งขา่ วกิจกรรมทท่ี �ำภายในเครือข่ายอยู่ ในการด�ำเนนิ งานเจด็ เดอื นน้ี แมว้ า่ การจดั กระบวนการเรยี นรใู้ หเ้ ครอื ขา่ ย เหมอื นจะเป็นกิจกรรมหลักของขอนแก่นนวิ สปิริต ผ้เู ขียนสงั เกตว่าในความเปน็ จรงิ พส่ี ยุ้ มบี ทบาทในพน้ื ทมี่ ากกวา่ นน้ั พส่ี ยุ้ ท�ำหนา้ ทตี่ ง้ั แตก่ ารเชอื่ มโยงเครอื ขา่ ย แนะน�ำคนทม่ี คี วามสนใจใกลเ้ คยี งกนั หรอื สามารถสนบั สนนุ กนั ในการท�ำงานได้ ใหร้ จู้ กั กนั หากมคี นในเครอื ขา่ ยตอ้ งการความชว่ ยเหลอื อะไรพส่ี ยุ้ กจ็ ะแนะน�ำคน รจู้ ักทมี่ คี วามสามารถในเรือ่ งน้นั ๆ ให้กบั เครอื ข่าย เชน่ เคยแนะน�ำใหเ้ อ็นจีโอใน เครอื ขา่ ยคนหนงึ่ ไปเรยี นศลิ ปะบ�ำบดั กบั กระบวนกรทพี่ ส่ี ยุ้ รจู้ กั ซง่ึ เขาพอใจมาก และน�ำความรู้ท่ีได้ไปปรับใช้กับงานตนเอง นอกจากน้ันยังเชื่อมโยงทรัพยากร ให้กับเครือข่าย (เช่น ขอให้พ่ีนกช่วยโค้ชให้กับบางองค์กร) ไปจนถึงการเป็น ทป่ี รึกษาเรือ่ งชีวติ และเร่อื งส่วนตวั ผู้เขยี นเคยตดิ ตามพ่ีสยุ้ ไปเยยี่ มคนๆ หนึ่งในเครอื ขา่ ยฯ ซึ่งพี่สยุ้ ใชเ้ วลา เย่ียมและพูดคุยท้ังวัน โดยมีบรรยากาศการพูดคุยแบบไม่เป็นทางการ บนเสื่อ ต่ัง หรือระหว่างมื้ออาหาร เหมือนเพ่ือนแชร์ทุกข์สุขกัน ใช้เวลาตั้งแต่ก่อนกิน ขา้ วกลางวนั จนเกอื บมดื มเี รอื่ งพดู คยุ ตงั้ แตเ่ รอ่ื งสว่ นตวั ปญั หาและความทา้ ทาย 156 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ต่างๆ ทีก่ �ำลงั ประสบ บทบาทและความคาดหวังตอ่ ขอนแก่นนวิ สปริ ติ ไปจนถงึ วิสัยทัศนต์ ่อการท�ำงานในอนาคต ระหวา่ งการคยุ เมอ่ื มคี นทท่ี �ำงานในประเดน็ ทพ่ี สี่ ยุ้ สนใจแวะมาหาเครอื ขา่ ยคนนี้ พส่ี ยุ้ กถ็ อื โอกาสนงั่ จบั เขา่ ชวนตง้ั กลมุ่ ขบั เคลอ่ื นประเดน็ ทค่ี นๆ นนั้ ก�ำลงั ท�ำอยู่ กจิ กรรมเหลา่ นไี้ มไ่ ดป้ รากฏอยใู่ นขอ้ เสนอโครงการ แตเ่ ปน็ กจิ กรรมทพ่ี สี่ ยุ้ ท�ำจรงิ เพอื่ สรา้ งและเรียนรู้เครอื ขา่ ย ตลอดระยะเวลาเจ็ดเดือนของโครงการ ผู้เขียนสังเกตว่าขอนแก่นนิว สปิริตเน้นการเสริมศักยภาพแก่องค์กรในเครือข่าย แต่แทบไม่มีการท�ำงาน ระหว่างพ่ีสุ้ยกับพ่ีนกในเชิงความย่ังยืนของตัวขอนแก่นนิวสปิริตเอง รวมไปถึง การหาเงินทุน เมอื่ ผเู้ ขยี นถามพน่ี กในเรอื่ งน้ี พน่ี กตอบวา่ พส่ี ยุ้ มศี กั ยภาพการหาเงนิ ทนุ ดว้ ยตนเองอยแู่ ลว้ ไมน่ า่ จะเปน็ เรอื่ งทต่ี อ้ งการความชว่ ยเหลอื จากพน่ี ก โดยพน่ี ก เลอื กทจี่ ะสรา้ งความยงั่ ยนื ใหแ้ กข่ อนแกน่ นวิ สปริ ติ ดว้ ยกลยทุ ธแบบอนื่ ดงั ทก่ี ลา่ ว ถงึ ตอ่ ไป สว่ นพสี่ ยุ้ มองวา่ ขอนแกน่ นวิ สปริ ติ ยงั อยใู่ นชว่ งทกี่ �ำลงั คน้ หารปู แบบการ ด�ำเนนิ งานทเี่ หมาะสมทส่ี ดุ หลงั ไดล้ องท�ำกระบวนการและเรียนรจู้ ากเครือขา่ ย มากข้นึ พี่ส้ยุ เห็นวา่ แตล่ ะเครอื ข่ายมีความต้องการเฉพาะทแี่ ตกตา่ งกัน พี่สยุ้ จึง รอใหข้ อนแกน่ นวิ สปริ ติ มแี บบแผนการปฏบิ ตั งิ าน (operation model) ทชี่ ดั เจน กอ่ นทีจ่ ะคิดกลยุทธ์เพื่อความย่งั ยืนอยา่ งจริงจังและออกไปหาทนุ สนับสนุนการ ท�ำงาน อีกส่ิงหน่ึงที่ผู้เขียนคิดว่าน่าสนใจท้ังจากการสัมภาษณ์พี่นก และการ สงั เกตการณข์ องผเู้ ขยี นเอง คอื พสี่ ยุ้ ก�ำหนดบทบาทของตวั แทนจาก School of Changemakers ไวแ้ ตกตา่ งจากพนื้ ทอี่ นื่ ผนู้ �ำในพนื้ ทอี่ น่ื ๆ มกั มสี งิ่ ทตี่ นเองอยาก ท�ำ แตไ่ มแ่ นใ่ จวา่ ควรท�ำอยา่ งไร ผปู้ ระกอบการจาก School of Changemakers ในพน้ื ที่อ่นื จงึ มีบทบาทสูงตั้งแตช่ ว่ ยคดิ เปา้ หมาย กิจกรรม กระบวนการท�ำงาน แต่ส�ำหรับพ้ืนท่ีขอนแก่นพ่ีสุ้ยได้ก�ำหนดรายละเอียดกิจกรรม และเน้ือหามาใน การเรยี นร้รู ว่ มกันและการปะทะสงั สนั ทนท์ างความคดิ บนพนื้ ท่ขี อนแก่นนวิ สปิริต 157

ระดับหนึ่งแล้ว เช่นต้องการท�ำกระบวนการเรียนรู้กี่ครั้ง เร่ืองอะไร มีใครเป็น กระบวนกรบ้าง และให้พี่นกมีบทบาทหน้าท่ีในฐานะของผู้ให้ค�ำปรึกษาอย่าง ชดั เจน หลกั ๆ แลว้ พน่ี กเปน็ โคช้ ใหพ้ สี่ ยุ้ ในการเรยี นรแู้ นวคดิ แบบผปู้ ระกอบการ ช่วยให้พสี่ ยุ้ เหน็ แนวทางการท�ำงานทเี่ ปน็ ไปได้ หรอื ใหค้ �ำแนะน�ำในสงิ่ ทพ่ี ส่ี ยุ้ ควร ค�ำนงึ ถงึ ผเู้ ขยี นเคยถามพส่ี ยุ้ วา่ ท�ำไมจงึ วางบทบาทพนี่ กไวเ้ ชน่ นนั้ และไดค้ �ำตอบ วา่ “มนั ผดิ บทบาทเขา เขาไมไ่ ดม้ ีบทบาทเปน็ player แต่เขาเปน็ โค้ช การเป็น player หมายถงึ มารว่ มเลน่ เปน็ ทมี ท�ำงานกบั ภาคี แตต่ อนนคี้ อื มนั ไมใ่ ช่ เขาเปน็ พ่เี ลีย้ งสนับสนุนพ่ีสยุ้ ให้ลงมาท�ำงานกับภาค”ี อย่างไรก็ตามบางคร้ังพี่สุ้ยได้ใช้ความเป็นคนนอกเครือข่ายของพี่นก มาขับเคลื่อนเครือข่ายเช่นกัน อาทิ มีกิจกรรมบางอย่างท่ีพี่สุ้ยรู้ว่าไม่เหมาะสม ที่ตนเองจะมีบทบาทในฐานะเป็นคนในพื้นท่ี พี่นกก็จะรับบทบาทนั้นไปโดย ธรรมชาติ เช่น การตง้ั ค�ำแนะหรอื ชี้แนะภาคี เปน็ ตน้ เครือข่ายในพื้นที่กับแนวคิดผู้ประกอบการทางสังคม งานแรกท่ีขอนแก่นนิวสปิริตด�ำเนินการในปีน้ีคือการจัดกระบวนการ เรียนรู้ให้กับเครือข่ายโดยร่วมมือกับกระบวนกรภายนอก (เวทีเสริมศักยภาพ เครอื ข่ายขอนแกน่ นวิ สปริ ิตครงั้ ที่ 1, วนั ที่ 6-7 ธันวาคม 2560) น�ำเอาความรู้ เรื่อง impact value chain และ theory of change มาปรบั เป็นกระบวนการ เรยี นรูท้ ีส่ นุก และเข้าใจง่ายมากขน้ึ เพราะจากประสบการณท์ เ่ี ขา้ รว่ มกิจกรรม ของ School of Changemakers พี่สุ้ยเห็นว่ากิจกรรมถูกออกแบบโดยใช้ ฐานคิดค่อนข้างมาก มีกระบวนการท่ีบีบค้ันและจ�ำเป็นต้องล่วงล้�ำไปในพ้ืนท่ี สว่ นตวั ของแตล่ ะองคก์ ร อาจท�ำใหเ้ ครอื ขา่ ยในพนื้ ทที่ ย่ี งั ไมไ่ ดส้ นทิ สนมหรอื ไวใ้ จ ขอนแก่นนวิ สปริ ติ มากพอไมย่ อมรบั หรอื ต่อตา้ น 158 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

“ภาคตี อ้ งมที า่ ทแี นๆ่ เขากค็ งรสู้ กึ วา่ เขาเหนอื่ ยอยแู่ ลว้ จะเอาอะไร กนั หนกั หนา บางครง้ั ไมใ่ ชเ่ ขาไมร่ ู้ แตส่ ถานการณท์ เ่ี ผชญิ อยมู่ นั จะ ตอ้ งคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป เขาอาจจะรสู้ กึ วา่ เรามสี ทิ ธอิ ะไร ขอนแกน่ นวิ สปริ ติ มสี ทิ ธอิ ะไร ถา้ ทำ� อยา่ งนน้ั ปบุ๊ ความเปน็ ชมุ ชนเราลม่ สลาย แนน่ อน ถา้ มที า่ ทแี บบน”้ี (วรรณา จารสุ มบรู ณ.์ สมั ภาษณ,์ 20 ธนั วาคม 2560) ท่ีส�ำคญั พ่สี ุย้ มองวา่ ถึงแมจ้ ะน�ำกระบวนการและการโค้ชของ School of Changemakers มาใช้แล้วประสบความส�ำเร็จ ภาคีสนใจท่ีจะปรับปรุง เปล่ียนแปลงกระบวนการท�ำงาน แตแ่ นวทางทผี่ ูป้ ระกอบการหรือพ่ีนกแนะน�ำ อาจท�ำได้ยากในรายละเอียด หรือกลุ่มคนที่ไม่ได้ท�ำงานธุรกิจอาจจะไม่เข้าใจ กระบวนการทจ่ี ะท�ำใหแ้ นวทางเหลา่ นน้ั เปน็ ไปไดจ้ รงิ เพราะสง่ิ ทถ่ี กู แนะน�ำอาจ ไมใ่ ชท่ ักษะท่ี NGOs มี เชน่ การท่พี ีน่ ุย้ แนะน�ำให้พี่สุ้ยขายฝันท่จี ะไมม่ ีทางเปน็ ไป ได้เลยหากพ่ีสุ้ยไม่เข้าใจและไม่มีข้อมูลเก่ียวกับกระบวนคิด วิธีการท่ีเหมาะสม ส�ำหรบั การขายและความตอ้ งการของแหลง่ ทนุ ใหมๆ่ หรอื การแนะน�ำใหอ้ งคก์ ร ท่ีท�ำงานเชิงกิจกรรมในพ้ืนที่ไปสร้างความร่วมมือในสิ่งที่ไม่ถนัดอย่างงานวิจัย เป็นต้น ดงั นน้ั แทนการใหท้ กุ ทมี นงั่ คดิ theory of change และลงรายละเอียด ในตาราง impact value chain ผ่านการซักไซข้ องโคช้ พสี่ ยุ้ และกระบวนกรใช้ กระบวนการเรยี นรเู้ ชงิ กจิ กรรมออกแบบใหแ้ ตล่ ะองคก์ รทบทวนวา่ เปา้ หมายใน การท�ำงานของตนเองคืออะไร จากน้ันให้ท�ำรายการว่างานท่ีแต่ละองค์กรท�ำมี อะไรบ้าง ทบทวนรายการท่ีตนเองท�ำขน้ึ แลว้ ขดี เส้นเฉพาะงานทต่ี อบเปา้ หมาย และใหเ้ หตผุ ลวา่ สง่ิ นนั้ ตอบเปา้ หมายของการท�ำงานไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง กระบวนการ แบบนนี้ อกจากชว่ ยใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มเขยี นประโยค theory of change ขององคก์ รได้ งา่ ยขน้ึ แลว้ ยงั เปน็ พนื้ ทใี่ หผ้ เู้ ขา้ รว่ มไดท้ บทวนความส�ำคญั และความจ�ำเปน็ ของ การเรยี นรรู้ ว่ มกันและการปะทะสังสนั ทนท์ างความคดิ บนพน้ื ท่ขี อนแก่นนวิ สปริ ติ 159

งานทีท่ �ำดว้ ย หลังจากนั้นได้ให้เครือข่ายน�ำเอาประโยค theory of change ของ ตนเองไปสัมภาษณ์คนที่เครือข่ายคิดว่าเป็นกลุ่มเป้าหมายเพื่อตรวจสอบดูว่า สมมตุ ฐิ านในการท�ำงานทตี่ นเองคดิ ถกู ตอ้ งหรอื ไม่ และสดุ ทา้ ยสรา้ งพนื้ ทใ่ี หเ้ ครอื ขา่ ยไดส้ ะทอ้ นวา่ หลงั จากเขา้ รว่ มกจิ กรรมมาทงั้ วนั เครอื ขา่ ยเหน็ วา่ งานทตี่ นเอง ท�ำมาตลอดไดแ้ ก้ปัญหาหรือจดั กระบวนการท�ำงานอย่างถูกทางหรือไม่ สง่ิ ทน่ี า่ สนใจคอื แมว้ า่ เครอื ขา่ ยเกอื บทง้ั หมดมองวา่ กระบวนการท�ำงาน ของตนเองเปน็ มาในรปู แบบทถ่ี กู ทศิ ถกู ทางแลว้ เพยี งแตอ่ าจจะตอ้ งการเตมิ ความ รหู้ รอื การโคช้ เลก็ นอ้ ย และไมม่ ใี ครเหน็ วา่ ระบบงานทตี่ นเองท�ำอยเู่ ปน็ ไปในทาง ทผ่ี ดิ เลย ทง้ั ทเ่ี มอ่ื พจิ ารณาจากมาตรฐานของแนวคดิ ผปู้ ระกอบการทางสงั คมจะ เห็นไดว้ ่าหลายองค์กรยงั ใสก่ จิ กรรมท่ไี มไ่ ด้ตอบโจทย์ theory of change หรอื impact value chain เพราะเครือขา่ ยสว่ นใหญใ่ ช้เครือ่ งมอื เหลา่ น้อี ธิบายการ ท�ำงานของตนเองมากกว่าน�ำมาใช้ตรวจผลกระทบจากการท�ำงานอันเป็นเป้า หมายทขี่ อนแกน่ นวิ สปิรติ ต้งั ใจให้เกิดขึ้น เมอื่ พิจารณาในรายละเอียดจะเห็นได้ ว่าหลายองค์กรมีกิจกรรมจ�ำนวนมากเม่ือเทียบกับอัตราก�ำลังคน บางกิจกรรม เช่ือมโยงกับเป้าหมายในลักษณะที่เป็นนามธรรมมากกว่าจะเป็นการพิสูจน์เชิง ประจกั ษว์ า่ กจิ กรรมนน้ั ๆ ตอบสนองเปา้ หมายอยา่ งไรในแบบทแี่ นวคดิ ผปู้ ระกอบ การต้องการ การไม่มีองค์กรไหนที่แสดงออกอย่างชัดเจนว่าต้องการปรับเปล่ียนไป ท�ำงานในทศิ ทางใหม่ในกระบวนการอบรมครั้งนท้ี �ำให้พ่ีสยุ้ ปรบั แผนจากการให้ ทุนเพื่อทดลองท�ำงานมาเป็นการเรียนรู้และทดลองค้นหาว่าขอนแก่นนิวสปิริต ควรเป็นชุมชนแบบไหนจงึ จะตอบโจทย์เครอื ข่ายอยา่ งเหมาะสมท่ีสดุ ส�ำหรบั พนี่ กการท่เี ครือขา่ ยมกี ารตอบสนองเช่นนี้ เปน็ เพราะขอนแกน่ นวิ สปริ ติ สร้างการเรียนรเู้ รือ่ ง theory of change และ impact value chain ผ่านการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (active learning) ซึ่งพี่นกมองว่ากระบวนการ 160 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

เรียนรู้เช่นน้ีไม่เข้มข้นมากเพียงพอส�ำหรับเคร่ืองมืออย่าง theory of change และ impact value chain พนี่ กเหน็ ตา่ งจากพส่ี ยุ้ โดยเชอื่ วา่ วธิ กี ารเรยี นรเู้ ครอ่ื ง มอื ทง้ั สองชน้ิ ดว้ ยการซกั ไซไ้ ลเ่ รยี งขอ้ มลู ทแ่ี ตล่ ะองคก์ รใสล่ งไปใน impact value chain อย่างละเอียดในแบบท่ีพี่นกท�ำแก่พ่ีสุ้ยน้ันเป็นวิธีเรียนรู้เป็นวิธีที่เหมาะ สมแลว้ ไมค่ วรตอ้ งปรบั เปล่ยี นหรอื ดัดแปลง เพราะหากท�ำตามกระบวนการท่ี ดังกล่าวอย่างครบถ้วนกระบวนความพ่ีนกเชื่อว่าคนท�ำงานภาคสังคมจะได้เห็น ในเชิงประจักษ์ว่ากิจกรรมท่ีท�ำแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่และอยากปรับเปล่ียนวิธี การท�ำงานมากขึ้น ซึ่งพี่นกยืนยันว่าเป็นกระบวนการที่ถูกพิสูจน์มาหลายคร้ัง แลว้ ว่าน�ำมาใช้แกป้ ัญหาไดจ้ รงิ “มันถูกพิสูจน์ด้วยองค์กรและการท�ำงานเป็นเวลาหลายสิบปี ว่าการใช้กระบวนการคิดลักษณะนี้มันเป็นกระบวนการท่ีท�ำให้ เราเข้าใจปัญหาเข้าใจสิ่งท่ีเราจะท�ำ และเห็นได้ชัดว่ามันส่งผล หรือเปล่า... ผมทำ� กับอโชก้า มาแลว้ 5 รอบ ทำ� กบั NGOs เป็น หลักเลย เหมือนกับการที่เราไปท�ำ โครงการผู้น�ำแห่งอนาคต มันมีการทอนให้ soft (อ่อน) ลง แต่กระบวนการ workshop ที่ อโชกา้ 9 ทำ� คอื การใช้ frame (กรอบ) แบบนน้ั แตเ่ ปน็ การทำ� งาน ทคี่ อ่ นขา้ งเขม้ ขน้ คอื ซกั ถามจนเหน็ timeline (เสน้ เวลา) จดุ แขง็ จดุ ออ่ น ทิศทางกลยุทธ์ว่าน่าจะเป็นอย่างไร” (ธนนั รัตนโชต.ิ สมั ภาษณ์, 13 ธนั วาคม 2560) 9 องคก์ รส่งเสริมการสร้างความเปลีย่ นแปลงทางสงั คมองคก์ รหนงึ่ ผา่ นนวตั กรรมต่างๆ เช่น การสร้างผู้ ประกอบการสังคม การเรียนรู้รว่ มกนั และการปะทะสงั สนั ทนท์ างความคิดบนพ้นื ทีข่ อนแก่นนวิ สปิริต 161

แผนภมู ภิ าพความเปลย่ี นแปลงของขอนแก่นนิวสปริ ติ โดยพ่นี ก แสดงกระบวนการคดิ ของพ่นี กไดเ้ ปน็ อยา่ งดี (ที่มาของแผนภมู ิ: ธนนั รัตนโชต)ิ 162 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนคิดว่าการท่ีแต่ละองค์ไม่สามารถใช้เครื่องมือท้ัง สองชนิดไปส�ำรวจการท�ำงานของตนเองอย่างละเอียดนั้น ส่วนหน่ึงน่าจะเป็น เพราะพื้นฐานวัฒนธรรมการออกแบบการท�ำงานที่แตกต่างกันของคนท�ำงาน ภาคประชาสงั คมและแนวคดิ ผปู้ ระกอบการ เวลาออกแบบกจิ กรรม NGOs และ คนท�ำงานสายทางเลือกหลายๆ คน มักเคยชนิ กบั การเช่ือมโยงวา่ ทกุ กิจกรรมมี ความเก่ียวข้องสัมพันธ์กัน กิจกรรมหนึ่งๆ ไม่ได้เป็นการท�ำเพื่อตอบโจทย์ หรือ เป้าหมายใดเปา้ หมายหนง่ึ เทา่ นั้น มกั จะเชอ่ื มโยงว่ากจิ กรรมท่เี ราสร้างขน้ึ สามารถตอบโจทยใ์ หญข่ องงานทตี่ ง้ั ใจท�ำไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง บางกจิ กรรมอาจจะไมไ่ ด้ สง่ ผลใหเ้ กดิ เปา้ หมายทต่ี ัง้ ไว้ข้อใดโดยตรงอย่างชดั เจนแตเ่ ป็นกจิ กรรมที่ NGOs เลอื กท�ำเพราะเหน็ วา่ ส�ำคญั ตอ่ การท�ำงานในภายภาคหนา้ เกดิ เปน็ วลอี ยา่ ง “ท�ำ หน่งึ ได้สิบ” ลกั ษณะความคดิ แบบนท้ี �ำให้ หลายกิจกรรมที่ NGOs ในประเทศไทย ท�ำจึงมีการประเมินผลกระทบในเชิงคุณภาพเพียงอย่างเดียว เนื่องจากเช่ือว่า สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในพน้ื ทจี่ รงิ หรอื ผลจากการท�ำงานโครงการซบั ซอ้ นเกนิ กวา่ จะน�ำมา ประเมนิ เชงิ ตวั เลขได้ เชน่ หากมกี ารอบรมเพอ่ื เปลย่ี นแปลงทศั นคติ และตอ้ งการ รู้ถึงความเปลี่ยนแปลงในเชิงปฏิบัติของผู้เข้าร่วมอย่างแท้จริง การประเมินเชิง ปริมาณด้วยแบบสอบถาม หรือตัวช้ีวัดท่ีเป็นตัวเลขคงไม่สามารถสะท้อนความ เปลีย่ นแปลงที่แทจ้ รงิ ได้ และมีความเช่อื ว่าไมม่ ตี ัวช้ีวดั ตวั ไหนทจ่ี ะแสดงผลและ ความซบั ซอ้ นทเ่ี กดิ ขน้ึ ไดล้ ะเอยี ดลกึ ซง้ึ เทา่ กนั การอยแู่ ละสมั ผสั สง่ิ ทเี่ กดิ ขนึ้ จรงิ ๆ ในพืน้ ท่ดี ว้ ยตนเอง รวมถึงตวั เลขไม่สามารถสอ่ื สารมิตคิ วามเปน็ มนุษยข์ องงาน เชงิ สงั คมได้ เชน่ การช่วยเหลอื คนๆ หน่งึ ให้มชี วี ติ รอดตอ่ ไปอกี หนง่ึ วัน แม้อาจ จะไมส่ ามารถรบั รองวา่ จะสรา้ งความเปลย่ี นแปลงอยา่ งยงั่ ยนื แตถ่ อื ไดว้ า่ มมี ลู คา่ ทไ่ี มส่ ามารถถกู วัดออกมาเป็นตัวเลขได้ ถ้าจ�ำลองกระบวนการคิดเช่นน้ีออกมาเป็นภาพ ภาพที่ออกมาคงเป็น เหมอื นตาข่ายท่มี คี วามโยงไยกนั ไปหมด ซ่งึ NGOs ในพ้นื ที่รวมถึงพ่สี ยุ้ เองกอ่ น การเรียนรรู้ ่วมกนั และการปะทะสังสันทนท์ างความคดิ บนพ้ืนท่ขี อนแก่นนวิ สปิรติ 163

จะมีท�ำงานกับพ่ีนก อาจจะได้รับอิทธิพลจากแนวคิดเช่นน้ีอยู่บ้าง ในขณะที่ เครอื่ งมืออย่าง impact value chain และ theory of change ในแบบท่พี นี่ ก ใชเ้ ปน็ การแบง่ สว่ นของขอ้ มลู ใหช้ ดั เจนและแยกจากกนั แสดงใหเ้ หน็ วา่ กจิ กรรม ไหนน�ำไปสเู่ ปา้ หมายอะไรอยา่ งชดั เจน และตอ้ งมตี วั ชว้ี ดั เชงิ ตวั เลขทจ่ี ะสามารถ พสิ จู นไ์ ดว้ า่ กจิ กรรมนน้ั ๆ เกดิ ผลจรงิ ๆ เมอ่ื จ�ำลองกระบวนการคดิ แบบนเี้ ปน็ ภาพ คงไดภ้ าพเหมอื นภาพแผนภมู อิ งคก์ รทม่ี รี ะบบระเบยี บเปน็ ขน้ั เปน็ ตอน จงึ ไมน่ า่ แปลกใจท่คี นท�ำงานภาคสังคมบางส่วนถงึ แมจ้ ะเปดิ ใจอยากเรยี นรู้ ตอ้ งใช้เวลา สกั ระยะหน่ึงท่จี ะปรับตวั กับวธิ คี ิดแบบผู้ประกอบการ แมผ้ เู้ ขยี นจะเขา้ ใจพน่ี กทร่ี สู้ กึ เสยี ดายวา่ เครอ่ื งมอื ทเ่ี ปน็ ประโยชนไ์ มถ่ กู ใชอ้ ยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพ แตใ่ นขณะเดยี วกนั นน้ั ผเู้ ขยี นกเ็ ขา้ ใจบรบิ ทการท�ำงาน ในพนื้ ทที่ พี่ สี่ ยุ้ ตอ้ งเผชญิ ถงึ ความคดิ ของพน่ี กจะดเู ปน็ เหตเุ ปน็ ผล มตี รรกะชดั เจน แต่อาจจะเหมาะสมกับองค์กรที่ตั้งใจจะเปล่ียนแปลงแนวทางการท�ำงานของ ตนเอง หรอื ประสบปญั หาความจ�ำเปน็ ท�ำใหต้ อ้ งเปลย่ี นแปลงแนวทางการท�ำงาน ของตนเอง แตก่ ล่มุ คนและองค์กรอน่ื ๆท่ีมาเข้าร่วมเครอื ข่ายขอนแกน่ นิวสปริ ิต ไมใ่ ชอ่ งคก์ รทม่ี ลี กั ษณะเชน่ นน้ั สว่ นใหญย่ งั เปน็ องคก์ รทดี่ �ำรงอยไู่ ดโ้ ดยไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งเปลยี่ นแปลงอยา่ งถอนรากถอนโคน แตเ่ ปน็ กลมุ่ คนทพ่ี สี่ ยุ้ เหน็ ศกั ยภาพและ ความตงั้ ใจในการท�ำงาน มคี วามตอ้ งการพฒั นาเมอื งขอนแกน่ ใหน้ า่ อยยู่ ง่ิ ขน้ึ คน กลุ่มน้ีมาร่วมเครือข่ายขอนแก่นนิวสปิริตเพราะต้องการรู้จักเครือข่ายเพ่ิมเติม หรือตอ้ งการเรยี นรแู้ นวคิดใหม่ๆ ทสี่ ามารถปรบั ใช้ในการท�ำงานของตนเองได้ ในบริบทเช่นนี้พี่สุ้ยจึงเห็นว่าการค่อยๆ เติมความรู้ เปิดมุมมอง หรือ สร้างพื้นท่ีและกระบวนการส�ำหรับการส�ำรวจพิจารณางานที่ตนเองท�ำมาอาจ จะมคี วามเหมาะสมมากกวา่ การใชก้ ระบวนการ “สายแขง็ ” แบบพนี่ ก และหาก มีองค์กรใดต้องการทดลองแนวทางการท�ำงานใหมๆ่ อยา่ งแทจ้ ริง พี่สยุ้ คิดว่าจะ ตอ้ งเกดิ อยา่ งเปน็ ธรรมชาติ ใหอ้ งคก์ รนนั้ มคี วามไวว้ างใจพสี่ ยุ้ แลว้ เขา้ มาปรกึ ษา มากกว่าการเข้าไปเร่งรดั จงึ จะเป็นจรงิ และยัง่ ยืนมากกวา่ เมอ่ื พจิ ารณาผลทเี่ กิด 164 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผ้คู น ชุมชน การประกอบการสงั คม

ขน้ึ จากกจิ กรรมถดั ๆ มา สงิ่ ทพี่ ส่ี ยุ้ คาดการณไ์ วแ้ ตแ่ รกไมไ่ ดผ้ ดิ ไปจากความจรงิ นกั กลยุทธเพื่อความยั่งยืนของพี่นก หลังจากได้ไปร่วมกระบวนการอบรมของขอนแก่นนิวสปิริตคร้ังแรก พนี่ กตง้ั ขอ้ สงั เกตวา่ แมใ้ นขอ้ เสนอโครงการพส่ี ยุ้ จะตง้ั โจทยว์ า่ ตอ้ งการปน้ั กจิ การ เพอื่ สงั คมในขอนแกน่ แตเ่ มอื่ ไดล้ งไปสงั เกตการณใ์ นพนื้ ทพ่ี นี่ กเหน็ วา่ จดุ แขง็ ของ พี่สุ้ยน่าจะเป็นการสร้างชุมชนมากกว่าการสร้างเสริมให้เครือข่ายท�ำงานด้วย แนวคิดกิจการเพื่อสังคม เพราะพ่ีสุ้ยจ�ำเป็นต้องพ่ึงพาความรู้จากกระบวนการ ภายนอก มากกวา่ จะมบี ทบาทเปน็ incubator แกอ่ งคก์ รในเครอื ขา่ ยดว้ ยตนเอง เนอื่ งจากพส่ี ยุ้ ไมต่ อ้ งการท�ำใหเ้ ครอื ขา่ ยรสู้ กึ วา่ พส่ี ยุ้ ซง่ึ เปน็ คนในพน้ื ทท่ี ม่ี บี ทบาท เป็นผ้ปู ระสานงานเครอื ข่ายเขา้ ไปก้าวกา่ ยงานขององค์กรอื่นๆ พี่นกมองว่าการพึ่งพาบุคลากรภายนอกมาเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้เช่นนี้ ไม่ได้ช่วยท�ำให้ความเป็นเครือข่ายของขอนแก่นนิวสปิริตแข็งแรงขึ้นและอาจไม่ ตอบโจทยใ์ นแงข่ องความยงั่ ยนื เพราะการไมม่ คี นในพนื้ ทมี่ ารบั บทเปน็ incubator ทจ่ี ะช่วยหลอ่ เล้ยี งและตอ่ ยอดความร้จู ากอบรมไปสกู่ ารท�ำงานในพื้นท่ี จากการได้ท�ำกระบวนการเรียนรู้ theory of change และ impact value chain กับพ่ีสุ้ย พ่ีนกวิเคราะห์ว่าขอนแก่นนิวสปิริตมีเป้าหมายใหญ่ๆ สองเป้าหมายคือ หนึง่ สร้างเครอื ขา่ ยคนท�ำงานภาคสงั คมในขอนแก่น ซ่งึ พน่ี ก เห็นเหมือนพ่ีสุ้ยว่าหากท�ำได้ส�ำเร็จจะท�ำให้คนท�ำงานภาคประชาสังคมในพื้นท่ี มเี สียงทดี่ งั ขึน้ มีพลังมากข้นึ มปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ จากการแบง่ ปนั ทรพั ยากร และสอง เสริมศักยภาพการท�ำงานให้เครือข่ายสามารถท�ำงานด้วยวิธีการและ วิธีคดิ แบบใหมท่ เี่ ป็นระบบและแกป้ ญั หาไดจ้ ริง แตพ่ นี่ กเหน็ วา่ แผนการท�ำงานดว้ ยการจดั กระบวนการของพส่ี ยุ้ จะเนน้ การเรยี นร้รู ว่ มกันและการปะทะสังสันทนท์ างความคิดบนพนื้ ท่ขี อนแกน่ นิวสปิริต 165

ไปทกี่ ารเสริมศักยภาพแก่เครือขา่ ยเปน็ หลัก (ดว้ ยกระบวนการท่อี าจไม่ได้สร้าง ความยั่งยืนในพ้ืนท่ีดังที่กล่าวไว้ในย่อหน้าที่แล้ว) พ่ีนกจึงเห็นความจ�ำเป็นท่ีจะ ต้องพยายามชักชวนให้พี่สุ้ยสร้างกระบวนการท่ีจะท�ำให้ความเป็นชุมชนของ เครอื ขา่ ยมคี วามเขม้ แขง็ มากยง่ิ ขนึ้ เพราะการเปน็ ชมุ ชนนอกจากจะเปน็ การตอบ เป้าหมายท่ีพี่สุ้ยต้ังไว้ การสร้างชุมชนยังเป็นสิ่งที่พี่นกเห็นว่าน่าจะเป็นจุดแข็ง ของขอนแก่นนิวสปิริตได้และเป็นเคร่ืองมือที่จะสร้างความย่ังยืนในการท�ำงาน แก่ขอนแกน่ นวิ สปริ ติ อีกดว้ ย พนี่ กเหน็ วา่ พนื้ ทขี่ อนแกน่ มบี รบิ ททเี่ หมาะสมส�ำหรบั การสรา้ งชมุ ชนคน ท�ำงานเชงิ สงั คมเนอ่ื งจาก มกี ลมุ่ คนทก่ี ระตอื รอื รน้ ทจ่ี ะท�ำงานเชงิ สงั คม มวี ธิ กี าร พฒั นาใหม่ๆ เกดิ ในขอนแก่นจนกลายเปน็ ตวั อยา่ งของจังหวัดอืน่ ๆ มาอยา่ งต่อ เน่ือง อีกทั้งขอนแก่นยังเป็นตลาดที่มีช่องว่างท่ีจะสร้างเครือข่ายแบบนี้ เพราะ ยงั ไม่เคยมใี ครประสบความส�ำเร็จในการตัง้ เครือขา่ ยการท�ำงานในลักษณะนมี้ า ก่อน ในแง่ความยงั่ ยนื พนี่ กมองวา่ ความเปน็ ชมุ ชนหรือการรวมเครือข่ายเป็นสง่ิ ท่ีไม่ว่าอย่างไรก็เกิดประโยชน์กับทุกองค์กร เช่น ช่วยให้แต่ละองค์กรประหยัด ทรัพยากร หรือท�ำงานท่ีได้อย่างมีพลังมากยิ่งขึ้น พ่ีนกเช่ือว่าเมื่อองค์กรต่างๆ เห็นประโยชน์จะท�ำให้มีคนอยากเข้ามาเป็นสมาชิกขอนแก่นนิวสปิริตเพ่ิมข้ึน เร่ือยๆ ท�ำให้ขอนแกน่ นวิ สปริ ิตด�ำเนนิ การได้อยา่ งยง่ั ยนื เป้าหมายในการท�ำงานของพ่ีนกส�ำหรับเจ็ดเดือนน้ีคือการช่วยให้เครือ ข่ายขอนแก่นนิวสปิริตมีพ้ืนท่ีท�ำงานด้วยกัน และสร้างความชัดเจนว่าควรเป็น ชุมชนในรูปแบบใด ส�ำหรับพ่ีนกการรวมตัวเป็นเครือข่ายมีหลายระดับตั้งแต่ การรวมตัวแบบหลวมๆ ซึ่งในช่วงที่ผู้เขียนเก็บข้อมูลการรวมตัวของขอนแก่น นวิ สปริ ิตยงั อย่ใู นระดับนี้ คือการร้จู ักกนั ร่วมมอื กนั ในบางเร่ือง ใครมีกจิ กรรม อะไรกเ็ ชญิ คนอน่ื ไปเขา้ รว่ มหรอื ไปชว่ ย เชน่ กลมุ่ คนไรบ้ า้ นชวนหมอพานกั ศกึ ษา ไปฝกึ ฝนการตรวจโรคใหแ้ กค่ นในพน้ื ท่ี หรอื อาจารยส์ อนละครพานกั ศกึ ษาละคร ที่ยังไม่มีทักษะในการเข้าใจสังคมมาเรียนรู้เรื่องราวของคนไร้บ้าน แล้วน�ำไป 166 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

ดัดแปลงเป็นสื่อต่อสาธารณะเพื่อช่วยให้คนไร้บ้านได้รับการมองเห็นมากย่ิงขึ้น เป็นต้น แต่ท้ายที่สุดการรวมตัวแบบนี้ยังมีลักษณะแบบต่างคนต่างท�ำอยู่ และ เปน็ การร่วมมือกันระหว่างองค์กรต่อองค์กร การรว่ มมอื ในระดบั สงู ขนึ้ มาพน่ี กเรยี กวา่ “ความรว่ มมอื ระดบั พนั ธมติ ร” คือการท่ีองค์กรต่างๆ วางแผนการท�ำงานร่วมกัน (collaboration) และปรับ จังหวะการท�ำงานให้เข้ากัน (synchronization) เช่น กลุ่มคนท่ีท�ำงานใกล้ เคียงกันไมท่ �ำงานหรือขอทุนซ้ำ� ซอ้ นกัน ไม่จดั กิจกรรมแบบเดียวกนั ในช่วงเวลา เดียวกัน อาจจะมีงานที่มีเป้าหมายร่วมกันแต่ให้องค์กรในเครือข่ายแบ่งกันท�ำ ตามชนิดงานที่ตนถนัด หรือท�ำงานส่งเสริมกันเพ่ือให้ทุกองค์กรสามารถท�ำงาน ไปถงึ เปา้ หมายท่ตี ้องการ และความรว่ มมือในระดับใหญ่ที่สุด คือความรว่ มมอื โดยมีองค์กรกลางที่บริหารจัดการผสานกลยุทธ์และการสนับสนุนเครือข่ายท่ี ช่วยเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการด�ำเนินงานแก่ทุกฝา่ ย “เคสทย่ี กตวั อยา่ งแลว้ ขอนแกน่ นา่ จะเหน็ ภาพชดั คอื เคสของ creative district (ยา่ นความคดิ สร้างสรรค)์ ท่ีเจริญกรงุ ” พี่นกบอกกบั ผู้เขยี นเมื่อถูกถาม วา่ มกี รณศี กึ ษาอะไรทเี่ ปน็ ตวั อยา่ งของการสรา้ งองคก์ รตวั แทนทบ่ี รหิ ารงานเพอื่ ประโยชนข์ องสมาชกิ ทกุ ฝา่ ยหรอื ไม่ พ่นี ก (สมั ภาษณ์, 13 ธันวาคม 2560) เลา่ ว่า พ้นื ที่ creative district ทเี่ จรญิ กรงุ เปน็ ผลจากการรวมตวั กนั ของคนหลายกลมุ่ ไมว่ า่ จะเปน็ เจา้ ของธรุ กจิ โรงแรม สถาปนิก ศิลปนิ เจ้าของหอ้ งแสดงภาพ รวมถงึ คนท�ำงานภาคประชา สังคมในเขตบางรัก ที่มาคุยกันและวางแผนการท�ำงานร่วมกันเพ่ือท�ำให้ย่าน บางรักเป็นย่านสร้างสรรค์ ซ่ึงการมาท�ำงานร่วมกันส่งผลให้ทุกฝ่ายท�ำงานได้ดี ข้ึนและไดป้ ระโยชน์กลับคนื เชน่ หากมีพนื้ ที่ใหน้ ักท่องเทยี่ วได้ท�ำกจิ กรรมมาก ขนึ้ โรงแรมจะไดป้ ระโยชนจ์ ากการมแี ขกเพม่ิ มากยงิ่ ขน้ึ มคี นมาทอ่ งเทยี่ วในพนื้ ท่ี มากขึ้น แมว้ ่าทุกฝา่ ยจะเริม่ ตน้ ด้วยการท�ำงานฟรี แตผ่ ลที่ได้ท�ำให้ทกุ ฝา่ ยไดร้ ับ ผลลพั ธต์ ามวตั ถปุ ระสงคข์ องแตล่ ะองคก์ รทมี่ ากขน้ึ ถอื เปน็ กระบวนการทถี่ อื วา่ การเรียนรรู้ ่วมกนั และการปะทะสงั สนั ทน์ทางความคดิ บนพื้นทขี่ อนแกน่ นิวสปิริต 167

ทุกคนลงทุนร่วมกันตัง้ แตช่ ว่ ยกนั คิด จนถึงประชาสัมพนั ธ์ พน่ี กบอกวา่ สงิ่ ทนี่ า่ เรยี นรจู้ ากกลมุ่ นคี้ อื การเอาทรพั ยากรและจดุ แขง็ ที่ แตล่ ะคนมมี าแชรก์ นั แมว้ า่ แตล่ ะกลมุ่ จะมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ องคก์ รตา่ งกนั เปน็ ผล ใหเ้ กดิ ผลส�ำเรจ็ มากกวา่ การตา่ งคนตา่ งท�ำ ส�ำหรบั พนี่ กการรวมตวั นเ้ี ปน็ รปู แบบ ทเ่ี หมาะสมเปน็ ตวั อยา่ งใหข้ อนแกน่ เพราะมลี กั ษณะการรวมองคก์ รทมี่ เี ปา้ หมาย ต่างกนั พี่นกต้ังเป้าหมายว่าในเจ็ดเดือนของการท�ำงานกับขอนแก่นนิวสปิริต ผลที่ควรได้รับคือการมองเห็นว่ารูปแบบการท�ำงานหรือความเป็นองค์กรของ ขอนแก่นนิวสปริตในอนาคตควรเป็นเช่นไร เป็นองค์กร หรือมีความร่วมมือใน ลกั ษณะไหนจงึ จะเหมาะสม ส่ิงแรกท่ีพี่นกท�ำคือการพยายามสร้าง “collaboration mindsets” (ความคิดเชิงความร่วมมือ) ให้แก่เครือข่าย พ่ีนกบอกว่าการท่ีคนในเครือข่าย จะมี collaboration mindset ได้จะต้องเริ่มจากการเห็นว่าความร่วมมือเป็น สง่ิ ทม่ี ปี ระโยชน์ ซง่ึ เปน็ สง่ิ ทพ่ี นี่ กพยายามท�ำใหเ้ กดิ ขนึ้ ในกจิ กรรมครง้ั ตอ่ มาของ ขอนแกน่ นิวสปิริต ก้าวข้างหน้าสองก้าว ก้าวถอยหลังหนึ่งก้าว เมอ่ื ขอนแกน่ นวิ สปริ ติ จดั กจิ กรรมพบปะระหวา่ งเครอื ขา่ ยเปน็ เวลาครง่ึ วันเพอื่ ส�ำรวจประเดน็ ทเี่ ครอื ข่ายตอ้ งการเรียนรู้ (เวทที ศิ ทางท่ีจะกา้ วต่อไป, 14 มกราคม 2561) และแนวทางการด�ำเนินงานของขอนแกน่ นิวสปิรติ พนี่ กจึงขอ พี่สุ้ยท�ำกิจกรรมสน้ั ๆ เพื่อสร้าง collaboration mindsets พ่ีนกเล่าว่าเม่ือหนึ่งอาทิตย์ก่อนหน้าเวทีการเรียนรู้คร้ังนี้พี่นกได้เข้า ร่วมกจิ กรรมการใช้เกมเพอื่ การเรยี นรู้และไดเ้ จอเกมชอื่ เกม “เรอื ด�ำน�ำ้ (Deep 168 จดุ นัดพบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสังคม

Sea Adventure)” ทีพ่ ีน่ กเหน็ ว่าอาจจะมาปรับใช้สร้างการเรียนรแู้ กข่ อนแกน่ นิวสปริตได้ ด้วยเนื้อที่ท่ีจ�ำกัดผู้เขียนไม่สามารอธิบายกฎเกณฑ์ของเกมนี้ได้อย่าง ละเอียด โดยสรุปเกมน้ีสมมุติว่าผู้เล่นเป็นนักด�ำน้�ำที่ต้องลงไปด�ำล่าสมบัติ มี กติกาว่าผู้ที่ด�ำน้�ำเก็บสมบัติได้มากที่สุดจะเป็นผู้ชนะ แต่ในการด�ำน�้ำจะต้องใช้ ออกซิเจนเพื่อให้อยู่รอดใต้น้�ำและถ้าออกซิเจนหมดก่อนผู้เล่นข้ึนจากน�้ำถือว่าผู้ เล่นคนนั้นตาย โดยออกซเิ จนเปน็ ทรัพยากรร่วมของผู้เล่นทุกคน เกมนถ้ี กู ออกแบบใหก้ ารกระท�ำและการตดั สนิ ใจของคนๆ หนง่ึ มผี ลตอ่ การอยรู่ อดของผเู้ ลน่ คนอนื่ เชน่ ถา้ เกบ็ สะสมสมบตั มิ ากเกนิ ไปจะท�ำใหอ้ อกซเิ จน ของทมี หมดเรว็ ขน้ึ หรอื ถา้ ท�ำงานเปน็ กลมุ่ จะท�ำใหเ้ ดนิ ทางไปเกบ็ สมบตั ไิ ดเ้ รว็ ขน้ึ เป็นตน้ เครือข่ายที่มาเข้าร่วมกิจกรรมต่างชื่นชอบเกมน้ีเป็นอย่างมาก ทุกคน เลน่ เกมอย่างสนกุ สนานมีเสยี งกรี๊ดกรา๊ ดดงั ไปทว่ั ห้องประชุม โดยเฉพาะเวลาที่ ออกซิเจนใกล้หมด สามรอบแรกที่เล่นเกมน้ีไม่มีใครในเครือข่ายขึ้นจากการล่า สมบตั กิ อ่ นออกซเิ จนหมดไดเ้ ลย จนรอบทสี่ ที่ ผี่ เู้ ลน่ เรมิ่ วางแผนรว่ มกนั และสอื่ สาร กนั ระหว่างเล่น ท�ำใหผ้ ลสดุ ท้ายมีจ�ำนวนผู้เล่นรอดชวี ิตมากข้ึน กจิ กรรมสนั้ ๆ นน้ี อกจากจะไดร้ บั การตอบรบั ทดี่ เี พราะความสนกุ แลว้ ยงั ท�ำให้เครอื ข่ายเหน็ มมุ มองใหมๆ่ ตอ่ งานที่ตนเองท�ำ และตอ่ การสรา้ งความรว่ ม มือระหว่างกัน การสะท้อนการเรียนรู้ของเครือข่ายในวันนั้นจึงมีความน่าสนใจ และสร้างความหวังให้แก่พี่สุ้ยและพ่ีนกว่ากิจกรรมที่ท�ำสร้างความเปล่ียนแปลง แก่เครือขา่ ยและสรา้ งชุมชนในพื้นท่ไี ด้จรงิ ผู้เข้าร่วมคนหน่ึงเห็นพฤติกรรมการท�ำงานขององค์กรตัวเอง “ถ้าเรา มองถังออกซิเจนเป็นเวลามันก็เป็นตัวแปรที่ส�ำคัญอย่างนึงในการที่จะท�ำอะไร บางอยา่ ง อย่างโครงการมนั มเี วลา เวลาทเ่ี ราขนึ้ มาเราไมไ่ ดป้ ระเมนิ คอื เราอยาก ไปให้มันสุด (หมายถึงอยากเก็บสมบัติให้มากท่ีสุด เธอเปรียบเทียบเหมือนการ การเรยี นร้รู ว่ มกันและการปะทะสังสันทนท์ างความคดิ บนพนื้ ที่ขอนแก่นนิวสปิริต 169

ท�ำงานหลายหน้างานมากเกินไป - ผเู้ ขียน) แต่วา่ พอขน้ึ มาเราไม่ไดด้ เู ลยว่า เฮ้ย เวลามนั จะหมด เฮย้ เงินเราจะหมด เฮ้ยงบเราจะหมด เรามเี วลาแค่เทา่ เนีย่ ” “เงินเยอะกไ็ ม่มปี ระโยชน์ถ้าคุณไม่เผื่อแผ่ใหค้ นอ่นื ถ้ามองถงึ งานเราที่ เราเปน็ NGO ในทุกวนั นีน้ ะเราจะตายแล้วคะ่ แล้วกจ็ ะตายต่อไปเรอื่ ยๆ เพราะ วา่ เราไมม่ เี งนิ เราท�ำงานได้ เรามศี กั ยภาพแตไ่ มม่ ใี ครมาเหน็ เรา ไมม่ ใี ครมาสอื่ สาร กับเรา บางคนมีเงนิ เยอะใชไ้ มห่ มดท�ำไมไ่ ด้ ไมม่ ีศักยภาพแต่เรามศี ักยภาพ แต่ ไม่มีเงินสุดท้ายขายก๋วยเตี๋ยว ชาไข่มุก เราคิดดูคนที่มีศักยภาพสะสมมาตั้ง 10 ปี 20 ปีแล้วสุดท้ายไปจบที่ตรงน้ันน่ะ มันคือทรัพยากรที่ส�ำคัญ สุดท้ายคิดว่า มันต้องดูแลกัน ต้องโอบอุ้มกันให้ได้ให้รอด อันน้ีในขอนแก่นนะถ้าทั่วประเทศ ล่ะ ถา้ โอบอมุ้ กนั มนั จะดมี าก มันจะไมส่ ูญพนั ธ”์ุ ผเู้ ข้าร่วมอีกคนหนง่ึ พูดอย่างมี อารมณ์รว่ ม ผู้เขียนมาทราบในภายหลังว่าท่ีพี่นกเลือกท�ำกิจกรรมน้ีเพราะต้องการ ใหพ้ นื้ ทมี่ คี วามคนุ้ เคยและยอมรบั พน่ี กมากยง่ิ ขนึ้ ดว้ ย ซงึ่ ดเู หมอื นจะเปน็ สง่ิ ทไ่ี ด้ ผลอยา่ งดี มคี นจ�ำนวนมากแสดงความจ�ำนงตอ้ งการเรียนรู้กระบวนการท�ำงาน แบบ SE และแนวคดิ แบบผู้ประกอบการเพอื่ น�ำไปปรบั ใช้ในการท�ำงาน พ่สี ุ้ยวเิ คราะห์สาเหตุท่พี ่ีนกได้รับเสยี งตอบรบั อยา่ งดีว่า “พ่ีนกเร่ิมเข้ามาชวนเล่นเกม ซึ่งอันนี้ดีตรงท่ีพี่นกเขาเสนอว่า อยากเอาเกมมาเลน่ ซง่ึ การทพี่ น่ี กเขาเปดิ ตวั เองดว้ ยการเลน่ เกม แล้วมันเป็นประเด็นที่เชื่องโยงกับการท�ำงานได้ด้วยมันท�ำให้พ่ี นกค่อยๆ เข้ามาในพื้นที่ของพวกเขาโดยที่ไม่ได้ดูจงใจ พ่ีว่าอัน นก้ี ็ดีทีแ่ กเปิดตัวดว้ ยการชวนเล่นเกมและชวนคดิ นิดๆ หนอ่ ย ๆ คนก็ยังได้ประโยชน์อย่างน้อยเขาก็ยัง happy กับการเล่นเกม พ่ีคิดว่าอันนี้พ่ีนกเขาเข้ามาในจังหวะที่รู้ว่าเม่ือไร คือความเป็น ผ้ใู หญก่ จ็ ะรจู้ ังหวะว่าแค่ไหน เมื่อไรถึงเหมาะสมท่ีจะเขา้ มาแล้ว กจ็ ะดนั แคไ่ หน” (วรรณา จารสุ มบรู ณ์. สมั ภาษณ,์ 30 มีนาคม 2561) 170 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสงั คม

ผเู้ ขยี นสงั เกตวา่ เหตกุ ารณน์ มี้ ผี ลใหพ้ ส่ี ยุ้ และพน่ี กยอมรบั กนั และกนั มาก ขึ้น เพราะพ่ีนกได้แสดงให้เห็นว่าแม้จะมีวิธีคิดเข้มแข็ง หรือยืนยันตนเองอย่าง หนกั แนน่ ในบางเร่อื ง แต่พี่นกยังเปดิ ใจเรยี นรูต้ ่อกระบวนการและวธิ กี ารท�ำงาน ใหมๆ่ และพยายามปรบั ตวั เขา้ หาและท�ำความเขา้ ใจกลมุ่ คนทต่ี นเองท�ำงานดว้ ย เสยี งตอบรบั ทดี่ เี ชน่ นที้ �ำใหพ้ สี่ ยุ้ คดิ วา่ ในการจดั กจิ กรรมครง้ั ตอ่ มา (เวที เสรมิ ศักยภาพเครอื ขา่ ยขอนแกน่ นวิ สปิริตครงั้ ที่ 2, 17 – 18 กมุ ภาพนั ธ์ 2561) นา่ จะลองเรยี นรู้ theory of change และ impact value chain อยา่ งเข้มขน้ ใหก้ บั ทกุ คนในเครอื ขา่ ย พน่ี กเองยงั เสนอวา่ เวลาท�ำกจิ กรรมใหก้ ลมุ่ คนทที่ �ำงาน ในประเดน็ ทค่ี ลา้ ยกนั มาท�ำงาน impact value chain และ theory of change ในกลมุ่ เดยี วกนั เพราะคาดวา่ กระบวนการจะท�ำใหเ้ ครอื ขา่ ยเหน็ วา่ อนั ทจี่ รงิ แลว้ แต่ละองค์กรมเี ปา้ หมายในการท�ำงานคล้ายกัน และนา่ จะร่วมมือกนั ท�ำงานได้ แต่ผลจากการท�ำกิจกรรมคร้ังนัน้ ท�ำให้ท้งั พ่นี กและพสี่ ้ยุ ผดิ หวงั เพราะ ดูเหมือนองค์กรส่วนใหญ่ยังไม่พร้อมเปิดพ้ืนที่ให้เพ่ือใช้แนวคิดผู้ประกอบมา ส�ำรวจการท�ำงาน และเมื่อพ่ีนกเริ่มเข้าไปช่วยโค้ชหรือซักถาม ลงเอยด้วยการ ป้องกันการท�ำงานขององค์กรตัวเอง งานครั้งน้ีท�ำให้พ่ีนกถึงกับบอกว่าอาจจะ เป็นกิจกรรมที่ไม่บรรลุผล ส่วนพ่ีสุ้ยแม้จะเชื่อว่าภายใต้ท่าทีของการป้องกัน ตนเองของเครือข่ายมีการเรยี นร้เู กดิ ข้นึ แตก่ จิ กรรมในคร้งั นีก้ ท็ �ำใหพ้ ีส่ ุย้ ต้องมา ทบทวนจังหวะการท�ำงานกับเครือข่ายว่าตนเองไปเร่งรัดเครือข่ายมากเกินไป หรอื ไม่ และควรผอ่ นจงั หวะให้เป็นไปตามธรรมชาติมากกวา่ นห้ี รอื เปลา่ ด้วยเวลาท่ีกระชั้นชิดใกล้จบโครงการแต่ยังไม่ได้เป้าหมายที่ต้องการ พ่ีนกได้พยายามชวนพี่สุ้ยให้จัดวงคุยเพ่ือชักชวนให้เครือข่ายเห็นประโยชน์ของ ท�ำงานร่วมกนั อยา่ งตรงไปตรงมา โดยไมต่ อ้ งใชก้ ระบวนการเรียนรทู้ ที่ �ำให้เครือ ข่ายตระหนักได้เอง เร่ิมจากการเชิญองคก์ รทีม่ ีหน้างานเก่ยี วพันกบั องค์กรอ่ืนๆ หลายองค์กรก่อนมาคุยกันก่อน เพ่ือให้เครือข่ายได้ลองมีความร่วมมือกันใน ระดบั ทเี่ หนอื กวา่ ระดบั องคก์ รตอ่ องคก์ รซง่ึ เปน็ ความรว่ มมอื ในระดบั ทเ่ี ครอื ขา่ ย การเรยี นรู้ร่วมกันและการปะทะสงั สนั ทน์ทางความคดิ บนพื้นท่ีขอนแกน่ นิวสปิรติ 171

มอี ยแู่ ลว้ ซกั ครง้ั แตเ่ นอ่ื งจากปจั จยั ทางเวลาและการจดั การท�ำใหค้ วามตงั้ ใจนไ้ี ม่ บรรลผุ ล “ยงั มโี อกาสสุดท้ายทีจ่ ะลองท�ำ” พี่นกบอกผเู้ ขยี นตอนเราแยกจากกนั ท่ีสนามบินในช่วงไม่ถึงหน่ึงเดือนก่อนโครงการในปีน้ีจะถูกปิดลง มีความหมาย ว่ายังเหลือบางโอกาสท่ีพี่นกสามารถสอดแทรกประเด็นด้านความร่วมมือแก่ เครือข่ายได้ ผู้เขียนยังจ�ำสีหน้าความกังวลว่างานเจ็ดเดือนนี้จะจบลงโดยไม่เห็นผล เปน็ รูปธรรมของพนี่ กในวนั นัน้ ไดอ้ ย่างแมน่ ย�ำ ส่วนพ่สี ุ้ยแมจ้ ะพอใจต่อผลทเ่ี กิด ขน้ึ จากการท�ำโครงการโดยภาพรวมในระดบั หนงึ่ เพราะเหน็ วา่ ในระยะเวลาเจด็ เดือนโครงการสร้างผลกระทบได้เท่าท่ีเกิดขึ้นพี่สุ้ยก็ถือว่าพอใช้ได้แล้ว แต่ก็ยัง รูส้ กึ วา่ ต้องหากระบวนการมาท�ำงานกบั เครือข่ายอยา่ งต่อเนอื่ งและลกึ ซ้งึ กว่านี้ 172 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสงั คม

ต้นกล้าที่เริ่มงอก เครอื ขา่ ยขอนแกน่ นวิ สปริตท�ำกจิ กรรมรว่ มกัน (ที่มาของภาพ: ศริ ิวรรณ ปากเมย) ในความไมม่ น่ั ใจวา่ ขอนแกน่ นวิ สปริ ติ จะเดนิ หนา้ ตอ่ อยา่ งไรและแนวทาง การท�ำงานของขอนแก่นนิวสปิริตควรเป็นเช่นไร ช่วงหน่ึงเดือนก่อนการจบ โครงการมีเหตุการณ์สามเหตุการณ์ท่ีท�ำให้ท้ังพี่สุ้ยและพี่นกตระหนักว่าเมล็ด พนั ธ์ทถ่ี กู บ่มและหวา่ นไวเ้ ร่มิ เติบโตและงอกงาม ทั้งในด้านความเป็นชุมชนและ ศกั ยภาพ เหตุการณ์แรก พี่สุ้ยเข้าไปเย่ียมเยือนองค์กรองค์กรหน่ึงที่ได้เข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้กับขอนแก่นนิวสปิริตอย่างสม�่ำเสมอ แต่ไม่เคยแสดงความ การเรยี นรู้รว่ มกนั และการปะทะสังสันทน์ทางความคดิ บนพืน้ ท่ีขอนแกน่ นวิ สปริ ติ 173

ต่ืนเต้นอย่างชัดเจนต่อกระบวนการแบบผู้ประกอบการทางสังคมที่พี่นกใช้ แต่ แล้วกลับเปิดใจกับพ่ีสุ้ย เล่าสถานการณ์ความท้าทายที่องค์กรต้องเผชิญอยู่ให้ พส่ี ยุ้ ไดร้ บั รู้ และแสดงความสนใจทจี่ ะเรยี นรกู้ ารท�ำงานในรปู แบบใหมๆ่ จนยนิ ดี เปดิ พน้ื ทใ่ี หพ้ น่ี กเขา้ ไปโคช้ ในเวลาตอ่ มา ซงึ่ เนอื้ งานขององคก์ รนม้ี คี วามเกยี่ วขอ้ ง กบั เนอื้ งานของเครอื ขา่ ยอนื่ ๆ อยา่ งมาก จนพน่ี กมองวา่ นา่ จะสามารถน�ำประเดน็ การท�ำงานขององค์กรนี้มายกระดับมาท�ำงานร่วมกันระหว่างเครือข่ายต่อไปได้ ในอนาคต นอกเหนือจากนั้นในการพูดคุยกับองค์กรนี้ผู้เขียนเห็นว่าพี่สุ้ยน�ำเอา กระบวนการและวธิ คี ิดของ School of Changemakers มาใช้อยา่ งเตม็ ท่ี แต่ น�ำมาผสมผสานกับวิธีการส่ือสารในแบบของตัวเองให้ดูนุ่มนวลมากข้ึน เป็นส่ิง ที่ช้ีให้เห็นว่าพี่สุ้ยที่เคยไม่มั่นใจต่อกระบวนทัศน์และกระบวนการที่พี่นกใช้ ถึง ตอนนี้ยอมรับว่ากระบวนการและวิธีคิดของพี่นกเป็นส่ิงท่ีมีประโยชน์ เพียงแต่ ต้องน�ำมาปรับการส่อื สารใหเ้ หมาะสมกบั บริบทมากย่งิ ข้ึน เหตุการณ์ที่สองเกิดจากการอบรมที่ทีมท�ำส่ือของโครงการผู้น�ำแห่ง อนาคตมาจดั ใหข้ อนแกน่ นวิ สปริ ติ การอบรมครงั้ นแ้ี มว้ า่ จะเปน็ การสอนแนวทาง การสื่อสาร (เวทสี ือ่ สารอยา่ งไรใหโ้ ดนใจ วนั ท่ี 30 มนี าคม – 1 เมษายน 2561) แตไ่ ม่มีการสอนท�ำออกมาเป็นผลผลติ ท่สี �ำเร็จ ท�ำให้เครือข่ายหนงึ่ ทีค่ าดหวังว่า จะไดช้ น้ิ งานจากการเขา้ รว่ มกระบวนการอบรมครงั้ นต้ี อ้ งด�ำเนนิ การผลติ สอ่ื เอา เอง และต้องร้องขอความชว่ ยเหลอื จากเพื่อนๆ ในเครือข่ายขอนแกน่ นวิ สปิริต ให้ช่วยผลิตส่ือเน่ืองจากจ�ำเป็นต้องใช้สื่อก่อนเทศกาลสงกรานต์ ซ่ึงได้รับความ ร่วมมือที่ดีมากๆ จากเพื่อนๆ ในเครือข่าย มีคนยินดีย่ืนมือไปช่วยเหลืออย่าง คบั คง่ั เปน็ การจดุ ประกายใหช้ ว่ ยกนั ท�ำสอื่ ในขอนแกน่ นวิ สปริ ติ แกอ่ งคก์ รอนื่ ใน เวลาต่อมา เปน็ พน้ื ที่ทเ่ี ครือขา่ ยท�ำงานดว้ ยกันชว่ ยเหลอื กนั อย่างแทจ้ ริง แตจ่ ดุ ทแ่ี สดงใหค้ วามความเปน็ ชมุ ชนไดอ้ ยา่ งดที ส่ี ดุ คอื ในกระบวนการ อบรมของขอนแกน่ นวิ สปริ ติ ครงั้ สดุ ทา้ ย (เวทคี รบรอบหนง่ึ ปขี อนแกน่ นวิ สปริ ติ , 174 จดุ นดั พบบนเส้นขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสังคม

8 พฤษภาคม 2561) ทพี่ ่ีสยุ้ จัดขึน้ ระหวา่ งทีผ่ ้เู ขียนเขยี นรายงานฉบับน้ี มคี นใน เครือข่ายเตรียมท�ำคลิปวิดีโอท่ีเก็บเกี่ยวเรื่องราวการเดินทางของขอนแก่น นิวสปิริตมาเซอร์ไพรส์พ่ีสุ้ย ซึ่งการผลิตวิดิโอคลิปนี้เริ่มจากความคิดของคนๆ เดียวโดยมีเวลาท�ำแค่สองวัน เธอจึงรีบส่งข้อความชักชวนให้เพ่ือนๆ ในเครือ ข่ายมาท�ำวิดิโอคลิปน้ี และได้รับความร่วมมือดีมากจากเครือข่าย มีคนมาร่วม ท�ำคลปิ จ�ำนวนมากแมว้ า่ จะตอ้ งทนตากแดดเปน็ เวลานาน หลายคนในขณะทไี่ ด้ รบั ขอ้ ความก�ำลงั อยตู่ า่ งพนื้ ทกี่ ร็ บี ตรี ถมารว่ มกนั ท�ำคลปิ ๆ นี้ จนพสี่ ยุ้ ถงึ กบั นำ�้ ตา ซึมเมอื่ ไดช้ ม พ่นี กบอกว่าสง่ิ ท่เี กดิ ขน้ึ มันเปน็ ยง่ิ กวา่ “community” อกี นี่มนั คือ “spirit” จริงๆ เหตุการณ์ที่สาม ในการจัดกิจกรรมครั้งสุดท้ายพ่ีสุ้ยจัดเวทีเพ่ือพูดคุย ถึงอนาคตของขอนแก่น พยายามน�ำเอาประเด็นเร่ืองแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นกับ ขอนแกน่ มาเปน็ ประเดน็ ขบั เคลอื่ นหลกั โดยมเี ปา้ หมายเพอ่ื ใหเ้ ครอื ขา่ ยขอนแกน่ มีพื้นท่ีร่วมท�ำอะไรกิจกรรมบางอย่างด้วยกัน ในกิจกรรมครั้งน้ีมีการพูดถึง แนวโน้มหนึ่งที่กลายเป็นจุดพลิกให้เครือข่ายเห็นความส�ำคัญของการท�ำงาน ร่วมกัน คอื แนวโนม้ เรือ่ งความเปลี่ยนแปลงในเมืองขอนแก่น ในตอนแรกความเปลี่ยนแปลงของเมืองขอนแก่นเป็นหนึ่งในหลาย แนวโนม้ ทถ่ี กู พดู ถงึ เทา่ นน้ั แตก่ ารมโี อกาสพดู คยุ เรอ่ื งเมอื งกลบั ท�ำใหเ้ ครอื ขา่ ยฯ เกดิ ความตระหนกั รว่ มกนั วา่ นโยบายการพฒั นาเมอื งขอนแกน่ ในอนาคตลว้ นถกู ก�ำหนดโดยพวกเขาไมม่ สี ่วนร่วม การตระหนกั ร่วมกันน้ีท�ำให้ขอนแกน่ นวิ สปิรติ เปน็ ชมุ ชนทีม่ คี ณุ คา่ ร่วม เกิดความรู้สกึ อยากขับเคลอ่ื นประเด็นท่ีอยูน่ อกเหนือ ไปจากหน้างานตนเอง จนมีการแลกเปล่ียนกันถึงความจ�ำเป็นของการท�ำงาน ร่วมกนั และรวมตวั กับเป็นเครอื ข่าย “เราตอ้ งมาแชรต์ น้ ทนุ ทเ่ี รามกี นั จรงิ ๆ เปดิ หนา้ ตกั ไปเลยวา่ ใครท�ำอะไร ท�ำไดแ้ คไ่ หน ตราบใดท่ีเรายงั ปดิ ก้ัน กุมความสามารถของเราไว้ กมุ ตน้ ทนุ ของ เราไว้ คนอ่ืนก็ไม่รู้ว่าเราท�ำอะไรได้” เครอื ข่ายคนนึงกล่าว การเรยี นรู้ร่วมกนั และการปะทะสงั สนั ทนท์ างความคดิ บนพืน้ ทข่ี อนแกน่ นิวสปิริต 175

ผู้เข้าร่วมอีกคนหน่ึงยอมรับว่าตั้งแต่แรกไม่เคยคิดเลยว่าเครือข่ายน้ีจะ เกิดผลสมั ฤทธ์ิ แต่ส่ิงท่เี กิดในกิจกรรมนท้ี �ำใหเ้ ธอเช่ือว่ามนั เปน็ ไปได้ แมห้ ลายคนจะมองวา่ ส่งิ ทเี่ กิดขึ้นท้ังหมดนีเ้ ปน็ ความบงั เอิญ เช่น เครือ ขา่ ยจ�ำเปน็ ตอ้ งท�ำสอ่ื รว่ มกนั เนอื่ งจากไมส่ ามารถท�ำไดท้ นั ในเวทกี ารเรยี นรู้ หรอื ประเดน็ เรอ่ื งอนาคตเมอื งขอนแกน่ อนั เปน็ เพยี งหนง่ึ ในหลากหลายประเดน็ ทถ่ี กู พดู ถงึ ในเวที กลบั กลายเปน็ ประเดน็ ทรี่ วมใจเครอื ขา่ ยเอาไวด้ ว้ ยความไมไ่ ดต้ งั้ ใจ แต่ผู้เขียนเห็นว่าส่ิงที่เกิดข้ึนไม่ใช่ความบังเอิญแต่เป็นผลจากการท�ำงานและ เตรียมพร้อมมาตลอดระยะเวลาเจ็ดเดือนของพ่ีสุ้ยและทีมงาน เปรียบเสมือน การเตรียมดินใหพ้ รอ้ ม เมอื่ มีเมล็ดพันธ์ทุ ีเ่ หมาะสมหล่นลงมาจึงเตบิ โตได้ อนาคตที่ท้าทาย เปา้ หมายของงานวจิ ยั ฉบบั นคี้ อื การถอดบทเรยี นวา่ พลวตั ทเ่ี กดิ ขนึ้ จาก การทภ่ี าคประชาสงั คมเรยี นรแู้ ละปรบั ใชแ้ นวคดิ แบบผปู้ ระกอบการสงั คมในการ ท�ำงานเป็นอย่างไร และส่ิงท่ีเกิดข้ึนจากการท�ำงานร่วมกันระหว่างอาสาสมัคร จากภาคธรุ กจิ และผนู้ �ำภาคประชาสังคมคืออะไร ถ้าให้สรุปอย่างส้ันๆ ผลจากการวิจัยฉบับนี้พบว่า ผู้น�ำในพ้ืนท่ีและ ผู้ประกอบการแม้มีฐานความเห็นอกเห็นใจต้องการช่วยเหลือผู้อ่ืน มีเป้าหมาย ต้องการช่วยเหลือสังคมเช่นเดียวกัน แต่มีความแตกต่างในความคาดหวังที่เกิด จากการมองจังหวะการท�ำงานไม่ตรงกัน และมีความแตกต่างในกระบวนการ คิดเร่ืองงานและวิธกี ารท�ำงาน จนบางครงั้ เกดิ เปน็ ความขัดแย้ง แต่ความขัดแยง้ และการต่อรองน้ันได้สร้างพื้นท่ีการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นท้ังต่อผู้น�ำภาคประสังคม และตัวแทนของแนวคดิ ผปู้ ระกอบการ จนเกดิ เป็นการขยายความรู้ วิธีคดิ มุม มอง การท�ำงานทีแ่ ตกตา่ งไปจากเดมิ อย่างเช่น พ่นี กเองไดล้ องท�ำกิจกรรมดว้ ย 176 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

วิธีการใหม่ๆ จนบอกว่าต้องลองไปบอกให้ School of Changemakers ใช้ กระบวนการเรียนรผู้ า่ นการสัมผัสประสบการณต์ รง (เชน่ การเลน่ เกม) มากขนึ้ ส่วนพี่สุ้ยเห็นประโยชน์และได้น�ำแนวคิดแบบผู้ประกอบการมาปรับใช้กับการ ท�ำงานในพ้ืนทีอ่ ยา่ งจรงิ จงั ส�ำหรับพื้นท่ีขอนแก่นนิวสปิริตบทบาทของอาสาสมัครจากภาคธุรกิจ คือการเป็นผู้ให้ค�ำปรึกษาการท�ำงาน มากกว่าการท�ำงานกับพื้นที่โดยตรง มี ผนู้ �ำภาคประชาสงั คมเปน็ ตวั กลางน�ำเอาแกน่ แนวคดิ แบบผปู้ ระกอบการไปปรบั ใช้สร้างการเรียนรู้แก่พื้นท่ีอย่างเหมาะสมตามบริบท ฉะน้ันผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการท�ำงานของผนู้ �ำภาคประชาสังคมและอาสาสมัครจากภาคธุรกิจในพนื้ ที่ น้ี จงึ เปน็ ผลกระทบเชงิ วธิ คี ดิ กลยทุ ธม์ ากกวา่ การสรา้ งผลผลติ โดยสว่ นหนงึ่ อาจ เปน็ เพราะขอนแกน่ นวิ สปริ ติ เปน็ องคก์ รตงั้ ใหมท่ ย่ี งั ไมม่ รี ปู แบบการด�ำเนนิ งานที่ ตายตัวชดั เจน ในงานวิจัยฉบับน้ีผู้เขียนไม่สามารถสรุปได้อย่างชัดเจนว่าความขัดแย้ง ในช่วงแรกได้ถูกเปล่ียนเป็นพื้นท่ีการเรียนรู้จนลงเอยด้วยการขยายขอบเขต ความรคู้ วามคิดของทง้ั สองฝา่ ยได้อย่างไร เพราะผเู้ ขียนเหน็ วา่ ไม่มเี หตกุ ารณ์ใด เหตกุ ารณห์ นงึ่ หรอื ปจั จยั ใดปจั จยั หนง่ึ ทส่ี รา้ งความเปลยี่ นแปลงใหเ้ กดิ ขนึ้ แตเ่ ปน็ ความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดอยา่ งค่อยเป็นคอ่ ยไปจากการค่อยๆ เรยี นรกู้ นั มากกว่า แต่ถ้าใหผ้ เู้ ขยี นระบวุ ่ามปี ัจจยั ใดบ้างท่ีเกย่ี วข้อง ผเู้ ขยี นมองเห็นว่าการ ยอมรับในความตั้งใจดี การเร่ิมเปิดพื้นท่ีทดลองเรียนรู้วิธีคิดวิธีการท�ำงานของ อีกฝ่ายจนเห็นถึงประโยชน์น่าจะเป็นส่วนหนึ่งท่ีส�ำคัญต่อความเปลี่ยนแปลงที่ เกิดข้นึ การเรียนรูร้ ่วมกนั และการปะทะสังสนั ทนท์ างความคดิ บนพนื้ ที่ขอนแก่นนิวสปริ ติ 177

“มันเหมือนกับมันมีคนช่วยเราคิดซ่ึงบางทีก็เหมือนเรามีค�ำ ตอบอยู่แล้วแต่เราอยากตรวจสอบค�ำตอบของเราว่าคนอื่นคิด เหมอื นหรอื คดิ ตา่ ง พอเราไดย้ นิ คำ� ตอบเขามนั กช็ ว่ ยทำ� ใหเ้ ราคดิ รอบคอบข้ึนมนั กท็ ำ� ให้เรารูส้ กึ เหมือนมีคนช่วย” (วรรณา จารสุ มบูรณ.์ สมั ภาษณ,์ 30 มนี าคม 2561) “การมคี วามเหน็ ทแ่ี ตกตา่ งเปน็ สง่ิ ทดี่ ใี นการทำ� งานเชงิ consult (ใหค้ ำ� ปรกึ ษา) กนั ..การเชอ่ื มทด่ี ที สี่ ดุ เปน็ การเชอื่ มทคี่ วามตา่ ง... การแชรจ์ ดุ แขง็ ทีเ่ รามีจะทำ� ให้ชมุ ชนเข้มแข็ง..” (ธนัน รัตนโชติ. สัมภาษณ์, 13 ธนั วาคม 2560) เป็นค�ำพูดที่พี่นกพูดถึงกระบวนการท�ำงานของตนเอง ท่ีกลายมาเป็น ประโยคอธบิ ายปฏิสัมพนั ธ์ของพน่ี กและพี่สุ้ยไดอ้ ยา่ งดี การทง่ี านวจิ ยั ชน้ิ นใ้ี หค้ วามส�ำคญั กบั การปะทะสงั สนั ทนแ์ ละการท�ำงาน รว่ มกนั ของพส่ี ยุ้ และพน่ี ก ท�ำใหเ้ นอื้ หาสามารถครอบคลมุ เรอื่ งราวการเรยี นรแู้ ละ เปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ จากขอนแกน่ นวิ สปริ ติ ออกมาไดเ้ พยี งในบางแงม่ มุ โดยอาจ จะเนน้ ไปทปี่ ระเดน็ ความแตกตา่ งทางความคดิ ระหวา่ งผนู้ �ำภาคประชาสงั คมและ อาสาสมคั รจากภาคธรุ กจิ คอ่ นขา้ งมาก เนอื่ งจากในสายตาของผเู้ ขยี นประเดน็ น้ี เปน็ ประเดน็ ที่เดน่ ชัดที่สุดจากการท�ำงานในระยะเวลาเจด็ เดอื นท่ีผา่ นมา แต่ใน ความเป็นจริงเรื่องราวการเรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นไม่ได้จ�ำกัดอยู่ที่พ่ีนกและพี่สุ้ยแต่เกิด ขน้ึ ในการปฏสิ งั สรรคใ์ นทกุ รปู แบบบนพน้ื ทกี่ ารปฏบิ ตั กิ ารของขอนแกน่ นวิ สปริ ติ ตง้ั แตม่ ติ ขิ องการเรยี นรเู้ กย่ี วกบั ตวั เอง การเรยี นรจู้ ากเพอื่ น ไดก้ า้ วเขา้ ไปในพนื้ ที่ ใหม่ ไดร้ จู้ กั งานและปญั หาทเ่ี พอ่ื นพยายามแกไ้ ข เรยี นรจู้ ากพนื้ ทขี่ องตนเองเหน็ แงม่ มุ ของขอนแกน่ ทไ่ี มเ่ คยเหน็ มากอ่ น เหน็ ความเปลย่ี นแปลงของเมอื งทตี่ นเอง ไมเ่ คยรบั รู้ และเรยี นรจู้ ากการแลกเปลย่ี นการท�ำงานกบั พนื้ ทอ่ี น่ื ๆ นอกเหนอื ไป 178 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสังคม

จากขอนแกน่ ถือวา่ เปน็ พ้ืนทีท่ ที่ ุกคนมีสว่ นรว่ มสร้างการเรยี นรู้อย่างแท้จริง แมม้ เี รอ่ื งราวมากมายเกิดข้ึนในเจด็ เดือนน้ี ส่ิงทเ่ี กิดขึน้ เปน็ เพียงจดุ เริ่ม ตน้ กา้ วแรกของขอนแกน่ นวิ สปริ ติ เทา่ นนั้ ขอนแกน่ นวิ สปริ ติ ก�ำลงั อยบู่ นทางแยก ของแนวทางหลายแนวทางทเ่ี ปน็ ไปได้ เปน็ สง่ิ ทนี่ า่ สนใจวา่ ทา้ ยทสี่ ดุ แลว้ ขอนแกน่ นิวสปิริตจะเลือกเป็นพื้นที่แบบไหนและจะพัฒนาต่อในรูปแบบไหนในบริบทท่ี มีความท้าทายเป็นอย่างมากต่อการอยู่รอดของ NGOs ไทยที่อยู่ในภาวะกลับ ไม่ได้ไปไม่ถึง เนื่องจากแหล่งทุนแบบเดิมเร่ิมหมดไปท�ำให้มีโอกาสในการได้รับ ทนุ น้อยลง แต่ในขณะเดียวกันกไ็ ม่สามารถปรบั เปล่ยี นไปใชร้ ูปแบบการท�ำงาน แบบใหม่ได้เพราะไม่มีทุนหรือประสบการณ์เพียงพอ หลายองค์กรถูกเรียกร้อง ใหเ้ ปลยี่ นแปลงรปู แบบการปฏบิ ตั กิ ารแตก่ ไ็ มม่ กี ารสง่ เสรมิ อยา่ งเปน็ ระบบ และ ไมไ่ ดถ้ กู ส่งเสริมให้เปลี่ยนแปลงโดยน�ำเอาจุดแขง็ ของตนเองมาเปน็ จุดขาย เชน่ NGOs องค์กรหนึ่งทที่ �ำงานด้านสุขภาพเคยเลา่ ใหผ้ ้เู ขยี นทราบว่า องค์กรน้เี คย ได้รับข้อเสนอแนะให้ปรับเปล่ียนการด�ำเนินงานเป็นกิจการเพ่ือสังคมโดยให้รับ เสื้อผา้ มาขายอนั เป็นเรอ่ื งทพี่ วกเขาไม่มคี วามเชีย่ วชาญแมแ้ ต่น้อย คงมี NGOs เพียงไมก่ ่แี ห่งท่ีสามารถเข้าถึงพน้ื ท่อี ย่าง School of Changemakers ทมี่ กี าร ฝกึ ฝนทกั ษะการประกอบการสงั คมอยา่ งเปน็ ระบบ ดงั นน้ั จงึ มโี อกาสสงู ทอ่ี งคก์ ร NGOs จ�ำนวนมาก (อันรวมไปถึงองค์กรในเครือข่ายขอนแก่นนิวสปิริต) จะไม่ สามารถปรบั ตวั ไดต้ ัวบริบทใหมๆ่ ไดแ้ ละค่อยๆ ทยอยปิดตัวไป ท�ำให้ทุน ความ สามารถ ประสบการณ์ท�ำงานท่ีมีมายาวนานสูญหายไปด้วยอย่างน่าเสียดาย อย่าง NGOs คนหนึ่งบอกกับผู้เขียนว่า “หายไปเลยประสบการณ์ท�ำงานกว่า ย่ีสิบปีของเรา ต้องไปเปดิ รา้ นนำ้� ปัน่ แทน” ปัญหาส�ำคัญเชิงโครงสร้างอีกประการหน่ึงท่ีจะเกิดข้ึนจากจากความ เปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นจากการท่ีองค์กร NGOs ในรูปแบบเดิมต้องปิดตัวลงคือ ช่องว่างและความเหลื่อมล�้ำที่สูงข้ึน ไม่ว่าระบบการด�ำเนินงานของ NGOs ใน รปู แบบเดมิ จะมปี ญั หาอยา่ งไร อยา่ งนอ้ ยทีส่ ดุ ยงั เปน็ รูปแบบการท�ำงานทีม่ ีชอ่ ง การเรยี นรูร้ ่วมกันและการปะทะสังสันทนท์ างความคิดบนพน้ื ที่ขอนแก่นนวิ สปิรติ 179

ว่างให้กล่มุ คนทีไ่ ม่มโี อกาสหรอื ไม่มที รัพยากรเขา้ มามีสว่ นรว่ มได้ แตร่ ะบบการ ท�ำงานเพอ่ื สังคมในรูปแบบใหม่อย่างเช่น SE จะต้องใชท้ กั ษะและทนุ ทางสงั คม วฒั นธรรมอยา่ งมากจงึ จะประสบผลส�ำเรจ็ ท�ำใหผ้ เู้ ขยี นอดเปน็ หว่ งไมไ่ ดว้ า่ พน้ื ท่ี ส�ำหรับคนไม่มีโอกาสเข้าถึงทุนและทรัพยากรจะเหลือน้อยลงทุกทีแม้กระท่ังใน แวดวงของการท�ำงานเพ่ือสงั คม ในบรบิ ททท่ี า้ ทายอยา่ งมากเชน่ น้ี คงไมม่ ใี ครสามารถใหค้ �ำตอบทช่ี ดั เจน ไดว้ ่าทางออกท่จี ะเป็นประโยชน์แกท่ กุ ฝา่ ยคืออะไร และขอนแก่นนวิ สปริ ติ ควร จะเลอื กเดนิ ไปทางไหน ถงึ แมใ้ นตอนน้เี สน้ ทางยงั อาจจะดมู ืดมดิ สิ่งท่ีขอนแก่น นิวสปิริตพยายามท�ำท�ำให้ผู้เขียนนึกถึงค�ำพูดยอดนิยมอย่างค�ำว่า “ช่วยกันจุด เทยี นใหส้ วา่ งดกี วา่ กน่ ดา่ ความมดื ” แตส่ �ำหรบั ผเู้ ขยี นงานของขอนแกน่ นวิ สปริ ติ ไมใ่ ชก่ ารใหแ้ ต่ละคนช่วยกนั จุดเทยี น แม้จะยังอยู่ในช่วงค้นหาทิศทาง งานของ ขอนแก่นนิวสปริตคือจุดเร่ิมต้นของการรวมพลังหาทางพัฒนาระบบไฟฟ้าที่จะ ช่วยตอ่ กรกับความมืดอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและยั่งยนื 180 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

เอกสารอ้างอิง Bryman, A. (2012). Social Research Methods (4th ed.). Oxford, UK: Oxford University Press. Ollerenshaw, J. A., & Creswell, J. W. (2002). Narrative research: A comparison of two restorying data analysis approaches. Qualitative Inquiry, 8(3), 329-347. Given, L. M. (2008). The Sage encyclopedia of qualitative research methods. Los Angeles [i.e. Thousand Oaks, California: SAGE Publications, c2008. Mahoney, D. (2007). Constructing Reflexive Fieldwork Relationships: Narrating My Collaborative Storytelling Methodology. Qualitative Inquiry, 13(4), 573-594. ผาสกุ พงษไ์ พจิตร และ คริส เบเคอร์ (2546) เศรษฐกจิ การเมอื งไทยสมยั กรุงเทพฯ เชียงใหม:่ ซลิ ค์เวอร์ม. การเรียนร้รู ว่ มกันและการปะทะสังสันทน์ทางความคิดบนพน้ื ที่ขอนแกน่ นวิ สปิริต 181

182 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

การเดินทางครงั้ ใหม่ ของชาวไทยเบิง้ บา้ นโคกสลงุ ชลิดา จูงพันธ์ 183

การเดินทางครัง้ ใหม่ ของชาวไทยเบงิ้ บ้านโคกสลุง ชลิดา จูงพนั ธ์ “มนุษย์ลืมความจริงข้อนี้” สุนัขจ้ิงจอกเอ่ย “แต่เธอต้องไม่ลืม มนั เธอตอ้ งรบั ผดิ ชอบตอ่ ทกุ สงิ่ ทเี่ ธอมคี วามสมั พนั ธด์ ว้ ย เธอตอ้ ง รับผดิ ชอบดอกกุหลาบของเธอ...” (บทสนทนาระหว่างสุนขั จิ้งจอกกบั เจา้ ชายนอ้ ย ในเร่ือง เจา้ ชายน้อย) หากใครเคยอา่ นวรรณกรรมเดก็ เรอื่ ง “เจา้ ชายนอ้ ย” คงรไู้ ดท้ นั ทวี า่ บท สนทนาข้างต้นเป็นค�ำกล่าวของสุนัขจ้ิงจอกที่พยายามอธิบายเจ้าชายน้อยเรื่อง ความส�ำคญั ของเพอื่ น และการรับผดิ ชอบต่อสมั พนั ธท์ ่เี กดิ ขนึ้ ระหว่างเพื่อน น่าแปลกท่ีจู่ๆ ผู้เขียนก็นึกถึงประโยคเหล่าน้ีขึ้นในระหว่างท่ีน่ังอยู่บน รถไฟท่ีก�ำลังเคลื่อนท่ีผ่านเวิ้งน้�ำอันกว้างใหญ่ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเขื่อนป่าสัก ชลสทิ ธ์ิ เสยี งลอ้ รถไฟกระทบรางเหลก็ ทยี่ กตวั ทอดยาวไปบนผวิ นำ้� บง่ บอกชดั เจน วา่ ขณะนรี้ ถไฟก�ำลงั เคลอื่ นทเี่ ขา้ ใกลส้ ถานโี คกสลงุ อนั เปน็ จดุ หมายปลายทางของ ผเู้ ขียน แม้ภาพตรงหน้าจะชวนให้ต่ืนเต้น แต่ความระทึกใจของผู้เขียนขณะน้ี ไม่ได้เป็นผลจากภาพทวิ ทัศน์รอบกาย หากแต่เปน็ สิ่งทีอ่ ยูใ่ นใจมากกว่า นไ่ี มใ่ ชค่ ร้ังแรกทผ่ี เู้ ขียนเดนิ ทางมายังสถานีโคกสลงุ สถานรี ถไฟอนั เปน็ 184 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผ้คู น ชุมชน การประกอบการสังคม

สว่ นหนง่ึ ของ “ชมุ ชนโคกสลงุ ” ชมุ ชนทผี่ เู้ ขยี นเดนิ ทางมาเยอื นนบั ครง้ั ไมถ่ ว้ นใน ปที ผ่ี า่ นมาในฐานะนกั วจิ ยั ของโครงการวจิ ยั ถอดบทเรยี นกระบวนการพฒั นาและ สร้างความเข้มแขง็ ของพื้นทีผ่ า่ นภาวะการน�ำร่วม ซึง่ อยู่ภายใต้รม่ ของโครงการ ผู้น�ำแห่งอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การท�ำงานในปีท่ีผ่านมาผู้เขียนถูก มอบหมายใหเ้ ขา้ มาเรยี นรู้ และถา่ ยทอดรอ่ งรอยการเดนิ ทางตอ่ สขู้ องคนท�ำงาน ขบั เคลอื่ นดา้ นวฒั นธรรมไทยเบง้ิ ในชมุ ชนโคกสลงุ จนไดร้ จู้ กั กบั กลมุ่ ชาวบา้ นท่ี คนทวั่ ไปเรียกขานวา่ NGOs หรือ ภาคประชาสังคมซ่งึ หวงแหนวถิ ชี ีวิตอนั ดีงาม ของบรรพบุรุษ และต้องการจะถ่ายทอดภูมิปัญญาอันมีค่าในอดีตให้ยืนยาวต่อ เนอื่ งไปจนถึงคนรนุ่ หลงั ท่ามกลางกระแสความเปล่ยี นแปลงของโลกรอบตวั ปที แ่ี ลว้ ผเู้ ขยี นเรม่ิ ท�ำวจิ ยั ดว้ ยความตน่ื เตน้ ในฐานะนกั วจิ ยั หนา้ ใหม่ แต่ ในปีนี้แทนท่ีความหวาดหว่ันจะลดน้อยลง กลับย่ิงรู้สึกว่างานช้ินน้ีเต็มไปด้วย ความท้าทายมากขึ้นกว่าเดิม เพราะแม้จะยังคงรับหน้าท่ีในการถ่ายทอดเรื่อง ราวการขับเคล่ือนสังคมของคนท�ำงานในพื้นที่เช่นเคย แต่การเดินทางปีน้ีไม่ได้ มีเพียงผู้เขยี นคนเดยี วเท่าน้ัน หากแต่มีผ้รู ว่ มเดินทางเขา้ มาในพืน้ ที่อีกหลายคน ซึ่งเข้ามาในชุมชนด้วยความมุ่งหมายว่าจะช่วยกันต่อยอดให้ภาคประชาสังคม ของโคกสลุงได้ทดลองน�ำแนวคิดผปู้ ระกอบการสังคม (SE หรอื Social Entre- preneurship) และเครอ่ื งมอื สอ่ื สารออนไลนไ์ ปใชห้ นนุ เสรมิ การท�ำงานของพนื้ ที่ โดยมผี เู้ ชยี่ วชาญทมี่ ที กั ษะการท�ำงานของภาคธรุ กจิ และผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นสอ่ื เขา้ มาเปน็ ทีป่ รกึ ษาอย่างจริงจัง ดังนัน้ การเกบ็ ข้อมลู ในปนี ้จี งึ มีท้ัง รายละเอียดของ ปรากฏการณ์ การปะทะสังสันทน์ของแนวคิดท่ีหลากหลาย และมีผ้คู นทเ่ี ขา้ มา เกยี่ วขอ้ งมากมายกว่าเดิมหลายเทา่ ตัว ในฐานะนักวิจัยประจ�ำพ้ืนท่ี นอกจากความท้าทายที่เกิดขึ้นจากองค์ ประกอบของเรอ่ื งราวทมี่ คี วามซบั ซอ้ นมากขนึ้ แลว้ การเขา้ มาท�ำวจิ ยั ในพนื้ ทเ่ี ดมิ เป็นปีที่สองก็นับว่าเป็นอีกความท้าทายหน่ึงท่ีท�ำให้ผู้เขียนต้องท�ำงานกับตัวเอง ให้หนักยงิ่ ข้นึ การเดินทางครง้ั ใหมข่ องชาวไทยเบิ้งบา้ นโคกสลงุ 185

ในโลกของการท�ำงานวิจยั ภาคสนาม ค�ำวา่ คนใน/คนนอก เป็นสงิ่ ท่ีมกั จะถูกหยิบข้ึนมาพูดถึงเสมอ เรามักถูกสอนว่าให้มีความเป็นคนใน คือ ต้องมี ความเขา้ ใจ และเอาใจเขามาใสใ่ จเราราวกบั เราเปน็ คนในพน้ื ท่ี ขณะเดยี วกนั กถ็ กู สอนใหถ้ อยออกมามอง และวเิ คราะหส์ งิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในพนื้ ทร่ี าวกบั เปน็ คนนอก เพอื่ รกั ษามมุ มองของนกั วจิ ยั และรกั ษาความสามารถในการวเิ คราะหป์ รากฏการณ์ ไดอ้ ย่างแหลมคม แต่สิ่งท่ีอยู่นอกเหนือจากบทบาทของนักวิจัยน้ัน ยังมีอีกส่ิงที่เรียกว่า ความสมั พนั ธข์ องมนษุ ยซ์ ง่ึ เปลยี่ นไปตามความผกู พนั อนั เพมิ่ พนู มากขน้ึ ตามกาล เวลา จากคนรจู้ กั ไปสกู่ ารเป็นคนคุ้นเคย และไปสคู่ วามเปน็ เพ่ือนทยี่ ่อมเปน็ ห่วง ทุกขส์ ขุ และมคี วามปรารถนาดีต่อกัน การท�ำงานของผู้เขียนในปีน้ีจึงอยู่ในภาวะท่ีซ้อนทับระหว่างความเป็น นกั วจิ ยั และความเปน็ เพอ่ื น นกั วจิ ยั ทต่ี อ้ งรกั ษามมุ มองในการวจิ ยั และเพอ่ื นซงึ่ ตอ้ งรบั ผดิ ชอบตอ่ ความสมั พนั ธ์ และมติ รภาพทเ่ี กดิ ขน้ึ ดงั เชน่ ทเี่ จา้ ชายนอ้ ยตอ้ ง รับผดิ ชอบต่อดอกกหุ ลาบของตนเอง ความระมดั ระวังเรอ่ื งการเขา้ ไปแทรกแซง หรอื การเป็นตวั กลางในการสอื่ สารท�ำความเข้าใจระหว่างผมู้ าใหม่ และเจ้าของ พื้นที่ผู้เป็นเพ่ือน นับเป็นสมดุลท่ีผู้เขียนต้องรักษาอย่างยากล�ำบากตลอดการ วิจัย เพ่ือให้สามารถถ่ายทอดเร่ืองราวของคนที่ก�ำลังพยายามสร้างหนทางกลับ บ้านใหก้ บั ลูกหลาน ด้วยการเชอื่ มโยงโลกของอดีตเขา้ สโู่ ลกของอนาคตไดอ้ ย่าง ดีทส่ี ดุ พวกเขาจะตอ้ งอาศยั ทัง้ แรงกาย ทกั ษะ เครือ่ งมอื ผู้ช่วย และตอ้ งอาศยั การเปดิ ใจเพอ่ื ปรบั เปลย่ี นวธิ คี ดิ และวธิ กี ารท�ำงานทตี่ นเองยดึ ถอื มาตลอด 20 ปี พวกเขาเรยี นรอู้ ะไรจากการตดั สนิ ใจน้ี และมคี วามทา้ ทายใดบา้ งทพี่ วก เขาตอ้ งเผชิญ ก่อนจะเดินทางบนเส้นทางแบบใหม่ทพี่ วกเขาเลอื ก 186 จดุ นดั พบบนเส้นขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

โคกสลงุ ในความทรงจ�ำ ย้อนกลับไปเมื่อช่วงกลางปี 2559 ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้ามาเป็นส่วน หนึ่งของโครงการผู้น�ำแห่งอนาคต ของคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในฐานะนักวิจัยประจ�ำพ้ืนที่ชุมชนโคกสลุง ชุมชน วัฒนธรรมไทยเบง้ิ ในจงั หวัดลพบุรี การเข้ามาท�ำงานในฐานะนักวิจัยตลอดหลายเดือนท�ำให้ผู้เขียนได้มี โอกาสท�ำความรจู้ กั กบั ชมุ ชนโคกสลงุ ในหลากหลายแงม่ มุ หากนบั เปน็ ระยะเวลา ทใี่ ชท้ �ำความรจู้ กั ใครสกั คนกค็ งตอ้ งนบั วา่ นานพอทจ่ี ะท�ำใหค้ วามสมั พนั ธพ์ ฒั นา จากคนรจู้ กั กลายเปน็ คนทพ่ี อจะรจู้ กั นสิ ยั ใจคอกนั ขนึ้ มาได้ ดงั นนั้ หากถามเรอ่ื ง ราวเกยี่ วกบั โคกสลงุ ผเู้ ขยี นกม็ น่ั ใจวา่ พอจะตอบค�ำถามหลายๆ ขอ้ เกยี่ วกบั ชมุ ชน ได้ทั้งเรือ่ งทางกายภาพ และเรือ่ งวิถชี ีวติ ของผ้คู น โคกสลงุ เมอื่ แรกรู้จกั ในแง่กายภาพ โคกสลุงเป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่มีประชากรอาศัยอยู่ ประมาณหนึ่งหมื่นคน หากเรายืนอยู่บนยอดเขาพญาเดินธง ภูเขาลูกส�ำคัญที่ เป็นแหล่งอาหารของชุมชน เราจะสามารถมองเห็นได้ว่า พื้นท่ีด้านตะวันออก ของหมบู่ า้ นถกู หอ้ มลอ้ มไปดว้ ยพนงั กน้ั นำ้� ทย่ี กตวั ขนึ้ สงู จากตวั ชมุ ชนหลายเมตร พนงั กน้ั นำ้� นบ้ี างสว่ นทอดยาวทางรถเปน็ ไฟทตี่ ดั ผา่ นเขอื่ นปา่ สกั ชลสทิ ธเ์ิ พอื่ เปน็ ทางเชื่อมระหว่างกรุงเทพมหานครกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และท�ำหน้าท่ี เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วแหง่ ส�ำคญั ทผี่ คู้ นทวั่ ไปรจู้ กั กนั ในชอื่ ของ “ทางรถไฟลอยนำ�้ ” ท้ังยังท�ำหน้าที่เป็นก�ำแพงสงู ใหญท่ ข่ี วางก้ันหมู่บ้านจากเขื่อนปา่ สักชลสทิ ธ์ิ ขณะท่ีพื้นที่ด้านทิศตะวันตกของชุมชนเป็นท่ีราบกว้างขวางส�ำหรับตั้ง การเดินทางคร้งั ใหม่ของชาวไทยเบิง้ บา้ นโคกสลงุ 187

บา้ นเรอื นนอ้ ยใหญ่ และสถานท่ีส�ำคัญตา่ งๆ ของชมุ ชน อย่างวดั โรงเรยี น บา้ น ครูภูมิปัญญา ศาลพ่อหลวงเพชร หรือ สถานีอนามัย สลับกับทุ่งนาของคนใน ชมุ ชน ส่วนในแง่ความเป็นอยู่ของผู้คนน้ัน เนื่องจากพ้ืนที่ของต�ำบลโคกสลุง ต้ังอยู่ในอ�ำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ซึ่งเป็นชายแดนรอยต่อระหว่างภาค กลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดังน้ันวัฒนธรรมและความเป็นอยู่หลาย อย่างในพ้ืนท่ีจึงมีการผสมผสานระหว่างภาคกลางและภาคตะวันอกเฉียงเหนือ อย่างพิเศษไม่เหมือนใคร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมในฐานะ พน้ื ทร่ี วบรวมผคู้ นในกลมุ่ วฒั นธรรมไทยเบงิ้ 1 ทม่ี ขี นาดใหญท่ สี่ ดุ ในประเทศไทย2 เช่นเดียวกับกลุ่มชาติพันธ์จ�ำนวนมากในปัจจุบันท่ีกระแสโลกาภิวัตน์ ท�ำให้ความเป็นท้องถ่ินเจือจางจนกลายเป็นวิถีชีวิตท่ีดูเผินๆ เหมือนจะไม่แตก ตา่ งจากพน้ื ทอ่ี น่ื มากนกั กลา่ วคอื เทคโนโลยี และวฒั นธรรมจากฝง่ั ตะวนั ตกเขา้ มามอี ทิ ธพิ ลตอ่ การใชช้ วี ติ อยา่ งคอ่ นขา้ งเขม้ ขน้ ดงั นนั้ จงึ ไมใ่ ชเ่ รอื่ งงา่ ยนกั ทจ่ี ะเรา จะไดเ้ หน็ ความเปน็ คนไทยเบงิ้ ผา่ นเสอื้ ผา้ ทส่ี วมใส่ หรอื จากบา้ นเรอื นทพ่ี กั อาศยั ต่างๆ ในชมุ ชน อย่างไรก็ตาม ถ้าเราลองนั่งรถรอบหมู่บ้านสักรอบ น่ังลงคุยกับ คนในหมู่บ้าน หรือลองกินข้าวเย็นกับคนในชุมชนดูสักคร้ังก็จะรับรู้และเข้าใจ วัฒนธรรมไทยเบิ้งได้ไม่ยากนัก เช่น หากเราลองสังเกตดีๆ เราจะพบว่าคนใน 1 เบิง้ ตรงกบั ค�ำวา่ บ้าง ในภาษาไทยภาคกลาง ดังน้ัน ไทยเบิ้ง อาจหมายถึงเปน็ ไทยอยบู่ า้ ง ในขณะทส่ี ว่ น อ่ืนอาจเป็นลาว เขมร หรอื ยวน ก็ได้ กลุ่มชาตพิ ันธไ์ุ ทยเบ้ิง ไทยเด้งิ หรือไทยโคราช เป็นกลุ่มชนทอ่ี าศยั อยู่ ในแถบลมุ่ แมน่ ้ำ� ปา่ สัก กระจายอยูใ่ นแถบรอยตอ่ ของภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอ เชน่ อ�ำเภอ วังมว่ ง จังหวดั สระบรุ ี อ�ำเภอศรเี ทพ อ�ำเภอวเิ ชียรบรุ ี จงั หวัดเพชรบรู ณ์ อ�ำเภอชยั บาดาล โคกส�ำโรง และ พัฒนานิคม จังหวัดลพบรุ ี (ภธู ร ภมู ะธน, 2541).  2 ประทีป อ่อนสลงุ . สัมภาษณ์, 21 ตุลาคม 2559. 188 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

ชมุ ชนโคกสลงุ จ�ำนวนมากนิยมสะพายย่ามแบบไทยเบงิ้ ท่มี ีลกั ษณะเฉพาะตัวไป ไหนมาไหนเสมอ การสะพายย่ามไม่ได้จ�ำกัดอยู่แต่ในผู้สูงอายุ หรือคนรุ่นเก่า อยา่ งท่ีปรากฏอย่ใู นพน้ื ทอี่ น่ื ๆ แต่วัยรนุ่ หรือเดก็ ๆ จ�ำนวนมากของชุมชนก็นยิ ม สะพายยา่ มเชน่ เดยี วกนั ความนยิ มสะพายยา่ มนอกจากจะสามารถสงั เกตเหน็ ได้ จากจ�ำนวนคนทีใ่ ชย้ า่ มแล้ว ยังสามารถสงั เกตเห็นไดจ้ ากรา้ นค้าเกอื บทุกรา้ นใน หมู่บ้านทย่ี ังคงมียา่ มแบบไทยเบิ้งวางจ�ำหน่ายอยูไ่ มเ่ คยขาด นอกจากเรื่องย่ามท่ีเป็นลักษณะโดดเด่นของคนในชุมชนแล้ว ถ้าเรา ได้ลองสนทนากับคนในชุมชน ภาษาและส�ำเนียงอันเป็นเอกลักษณ์แบบไทย เบงิ้ มากมายจะพรั่งพรูออกมาให้ได้ยิน โดยเฉพาะค�ำวา่ “เบ้ิง” ทมี่ ักเปน็ ค�ำตดิ ท้ายประโยค จนกลายมาเป็นท่มี าของชอ่ื “ไทยเบิ้ง” ยง่ิ ไปกวา่ นน้ั ถา้ ลองถามถงึ ชอื่ เสยี งเรยี งนามของคนในชมุ ชน เรากจ็ ะพบ วา่ นามสกลุ ของคนทน่ี จ่ี ะตอ้ งมคี �ำวา่ “สลงุ ” เปน็ องคป์ ระกอบอยเู่ สมอ เชน่ ออ่ น สลุง สลุงอยู่ ยอดสลงุ และ กลง้ิ สลุง เป็นตน้ ดังนน้ั คนไทยเบ้ิงบา้ นโคกสลุงจงึ มักอธิบายความเป็นไทยเบ้งิ ของตนเองใหค้ นภายนอกฟังว่า “พดู เหน่อ สะพาย ยา่ ม นามสกลุ ขึน้ สลงุ ลงสลุง” สว่ นเรอ่ื งอาหารการกิน อาหารพน้ื บ้านแบบไทยเบง้ิ มคี วามโดดเดน่ ใน แงว่ ัตถุดิบ และวธิ กี ารปรุงหลายอยา่ งทีค่ งไม่อาจเล่าไดใ้ นพนื้ ทีอ่ ันจ�ำกดั น้ี บอก ไดแ้ ตเ่ พยี งวา่ อรอ่ ย และ ไมเ่ หมอื นใครจนอยากจะเชญิ ชวนใหผ้ อู้ า่ นไดล้ องพสิ จู น์ ดว้ ยตัวท่านเอง โคกสลุงเมอื่ รจู้ ักกันมากขึน้ การไปยืนอยู่บนยอดเขาพญาเดินธงนอกจากจะท�ำให้เราได้มองเห็น ภาพรวมของชมุ ชนโคกสลุงแล้ว ถ้าเรามองจากยอดเขาในยามคำ่� คนื ทะเลดาว จากแสงไฟตามบา้ นเรอื นของคนในชมุ ชนโคกสลุงจะค่อยๆ ส่องแสงเรือ่ เรอื งข้นึ การเดินทางครง้ั ใหมข่ องชาวไทยเบ้งิ บา้ นโคกสลงุ 189

เปน็ หยอ่ มนอ้ ยๆ ในขณะทพี่ นื้ ทขี่ องชมุ ชนอนื่ ๆ รอบขา้ ง แสงสวา่ งจา้ จากอาคาร ของฟารม์ ปศสุ ตั วท์ ่ีมเี จา้ ของเปน็ บรษิ ทั ขนาดใหญจ่ �ำนวนหลายตอ่ หลายหลังจะ ปรากฏข้นึ พร้อมๆ กนั ภาพท่ีปรากฏอยู่ตรงหน้าจึงคล้ายกับว่ามีดวงเดือนที่ส่องแสงแรงกล้า หลายร้อยดวง ล้อมรอบดวงดาวที่ส่องแสงกระพริบเพียงเบาบางของโคกสลุง เอาไวจ้ ากชมุ ชนอื่นๆ จนผูเ้ ขียนอยา่ งจะเรียกภาพตรงหน้าว่า “ทะเลเดือนล้อม ดาว” แตภ่ าพของทะเลเดอื นลอ้ มดาวทป่ี รากฏอยนู่ น้ั ไมไ่ ดแ้ คส่ วยงามหากแตย่ งั มีความหมายบางอยา่ งซ่อนอยู่อย่างลกึ ซึ้ง ย้อนกลับไปเมื่อหลายปีก่อน ในช่วงเวลาท่ีกรมโยธาธิการและผังเมือง ได้มีนโยบายก�ำหนดสีผังเมืองของจังหวัดลพบุรีขึ้นมาใหม่เพ่ือให้แต่ละพื้นท่ี ของจังหวัดได้มีทิศทางการพัฒนาอยา่ งเฉพาะเจาะจงมากย่ิงขน้ึ ในตอนแรกน้นั พ้ืนที่ด้านซ้ายบริเวณริมเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกือบทั้งหมดรวมท้ังชุมชนโคกสลุง ถกู ก�ำหนดใหเ้ ปน็ พน้ื ทสี่ มี ว่ ง ซงึ่ หมายถงึ อนญุ าตใหม้ กี ารตง้ั โรงงานอตุ สาหกรรม ได้อย่างเสรี จนกระทั่ง ประทีป อ่อนสลุง (พ่อมืด) และกลุ่มคนท�ำงานด้าน วัฒนธรรมไทยเบง้ิ เพยี งไมก่ คี่ นด�ำเนนิ การตอ่ รองกบั ภาครฐั ดว้ ยกลยทุ ธ์ “ใชเ้ ยน็ ปะทะรอ้ น” กลา่ วคอื ใชว้ ธิ รี วบรวมผลการวจิ ยั และเอกสารทางวชิ าการทแ่ี สดง ใหเ้ หน็ วา่ ชมุ ชนโคกสลงุ เปน็ พน้ื ทที่ างวฒั นธรรมทมี่ คี ณุ คา่ จนท�ำใหใ้ นทสี่ ดุ พนื้ ท่ี ของชุมชนโคกสลุงกลายเป็นพื้นที่เพียงแห่งเดียวที่ถูกก�ำหนดให้เป็นพ้ืนที่สีขาว ทแยงเขยี ว ซงึ่ หมายถงึ พื้นทอี่ นุรกั ษ์ชนบท และเกษตรกรรม ดังน้ันจึงสามารถกล่าวได้ว่า “ทะเลเดือนล้อมดาว” ที่เกิดข้ึนนั้นไม่ใช่ ปรากฏการณป์ กติ หากแตเ่ ปน็ ร่องรอย และเปน็ หลกั ฐานเชิงประจกั ษข์ องการ ท�ำงานอย่างเข้มขน้ ของกล่มุ ผนู้ �ำในพืน้ ทีอ่ ยา่ งแท้จรงิ การท่ีคนเพียงไม่กี่คนสามารถปกป้อง และก�ำหนดทิศทางการพัฒนา ของพน้ื ทช่ี มุ ชนหลายพนั ไรไ่ ดด้ ว้ ยตนเองยอ่ มเปน็ เรอื่ งไมป่ กติ และจะยงิ่ แปลกใจ มากยงิ่ ขน้ึ เมอื่ รวู้ า่ นเ่ี ปน็ ผลจากการท�ำงานเพยี งไมก่ อ่ี ยา่ งจากจ�ำนวนงานมากมาย 190 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสงั คม

ท่ีพวกเขาสร้างข้ึน ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจนักหากจะมีผู้คนจ�ำนวนมากเดินทาง มายงั พ้ืนทโ่ี คกสลุง เพ่อื ร้จู กั กับคนท�ำงานกลุ่มน้ี พิพิธภณั ฑ์พื้นบา้ นไทยเบงิ้ และสถาบนั ไทยเบงิ้ โคกสลงุ เพื่อการพัฒนา จากการสงั เกตผเู้ ขยี นพบวา่ ผคู้ นทไ่ี ปเยอื นชมุ ชนโคกสลงุ สามารถแบง่ ได้ 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ 1) คนทีไ่ ปเพื่อเรียนร้วู ฒั นธรรม ภาษา ตลอดจนวถิ ีชีวติ ของ คนไทยเบ้ิง และ 2) คนท่ีไปเพอ่ื ท�ำความเขา้ ใจวา่ คนในชมุ ชนไทยเบ้ิงท�ำอยา่ งไร จงึ สามารถรกั ษา วฒั นธรรม วถิ ชี วี ติ และถา่ ยทอดภมู ปิ ญั ญาบางอยา่ งของชมุ ชน ลงไปส่คู นร่นุ หลงั ไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ ถา้ หากคณุ เปน็ คนประเภทแรก คณุ สามารถเรยี นรวู้ ฒั นธรรมไทยเบง้ิ ได้ ไมย่ ากจากการเยยี่ มชมพพิ ธิ ภณั ฑพ์ นื้ บา้ นไทยเบง้ิ การเขา้ หอ้ งเรยี นภมู ปิ ญั ญา พกั ในโฮมสเตยข์ องชมุ ชน เลอื กซอื้ สนิ คา้ พนื้ เมอื ง หรอื การเขา้ รว่ มกจิ กรรมลาน วัฒนธรรมท่ชี มุ ชนจดั เป็นประจ�ำทกุ ปี แตถ่ า้ หากคณุ เปน็ คนประเภททสี่ องซง่ึ สนใจกระบวนการสรา้ งจติ ส�ำนกึ ดา้ นวฒั นธรรม และสนใจการขบั เคลอ่ื นสงั คมมากกวา่ สงิ่ ทค่ี ณุ จะควรท�ำคอื การ ลงไปพดู คยุ กบั คนกลมุ่ หนงึ่ ในชมุ ชนทเ่ี รยี กตนเองวา่ สถาบนั ไทยเบง้ิ โคกสลงุ เพอ่ื การพฒั นา องคก์ รภาคประชาสังคมทีร่ วมตัวขน้ึ มาจากคนในชมุ ชนโคกสลงุ เอง เพอื่ ท�ำงานดา้ นการสรา้ งจติ ส�ำนกึ ในการสบื สานวฒั นธรรมไทยเบงิ้ และเปน็ ผอู้ ยู่ เบอื้ งหลงั การเกดิ ขนึ้ พพิ ธิ ภณั ฑพ์ น้ื บา้ นไทยเบงิ้ โคกสลงุ สถานทอ่ี นั เปน็ ตน้ ก�ำเนดิ ของเร่ืองราวทัง้ หมด สุรชยั เสอื สงู เนนิ หรอื “ครเู สอื ” เป็นหนงึ่ ในสมาชิกของสถาบันไทย เบง้ิ โคกสลงุ เพื่อการพฒั นา ทงั้ ยงั เป็นคนโคกสลุงแทๆ้ แม้นามสกุลจะไม่ได้มคี �ำ ว่า “สลุง” เป็นองค์ประกอบเช่นคนโคกสลุงคนอ่ืนๆ ครูเกิด เติบโต และเป็น การเดนิ ทางครัง้ ใหมข่ องชาวไทยเบิง้ บ้านโคกสลุง 191

นักเรียนทุนต�ำบลของโคกสลุง ดังนั้น จึงต้องท�ำงานท่ีหมู่บ้านโคกสลุงมาเกือบ จะตลอดชีวติ ในฐานะครสู อนศิลปะระดับประถมศึกษาของโรงเรยี นวดั โคกสลุง มองผา่ นๆ ครเู สืออาจดูไม่แตกต่างจากครทู วั่ ไป แตเ่ ม่อื ได้ลองนงั่ คยุ อยา่ งจริงจัง โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งน่งั คุยกนั เรื่องงานศลิ ปะ และเรอ่ื งวัฒนธรรมพ้นื บ้าน คณุ จะ พบวา่ ตนเองก�ำลงั นงั่ คยุ กบั ศลิ ปนิ ทห่ี ลงใหลการสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงศิลปะพ้ืนบ้านไทยเบิ้งอย่างจริงจัง ท้ังยังพยายามถ่ายทอดงานศิลป์ดัง กล่าวผ่านงานศลิ ปจ์ �ำนวนมากมาย ในหลากหลายวธิ กี ารน�ำเสนอ ซงึ่ หน่ึงในนนั้ คือ ภาพร่างของเรือนฝาค้อ บ้านแบบดั้งเดิมของคนโคกสลุง ที่ครูเร่ิมท�ำภาพ รา่ งขน้ึ มาจากค�ำบอกเลา่ ของผเู้ ฒา่ ผแู้ กใ่ นชมุ ชน และสรา้ งสรรคจ์ นกลายมาเปน็ อาคารพิพิธภณั ฑพ์ ้นื บา้ นไทยเบ้งิ โคกสลุงในปจั จุบนั จดุ เรม่ิ ตน้ ของการเกดิ เปน็ อาคารพพิ ธิ ภณั ฑพ์ น้ื บา้ นไทยเบง้ิ เรมิ่ มาจาก การท่ีครูเสือได้มีโอกาสเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยของ เร่ือง “มรดก วัฒนธรรมไทยเบ้ิง ลุ่มแม่น้�ำป่าสัก ในเขตท่ีได้รับผลกระทบจากการสร้างเข่ือน ปา่ สัก” โดยอาจารยภ์ ูธร ภมู ะธน ต้ังแต่ช่วงก่อนปี 2540 การไดร้ ว่ มท�ำงานวจิ ยั ท�ำใหค้ รเู สอื ไดม้ องเหน็ ถงึ ศกั ยภาพดา้ นวฒั นธรรม ของชุมชนในด้านต่างๆ ครูเสือจึงชักชวนให้ผู้น�ำชุมชนในขณะนั้น คือ “ผู้ใหญ่ อี๊ด” และ “พอ่ มืด” สมาชกิ องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกสลงุ เริ่มท�ำโครงการ กอ่ ต้งั พพิ ธิ ภณั ฑ์พน้ื บ้านไทยเบิง้ โคกสลุงขึ้น เพอ่ื เก็บรวบรวมข้าวของ เครอ่ื งใช้ ทส่ี อ่ื ถึงวิถชี ีวติ ของผูค้ นในชุมชนเอาไว้ โดยมจี ุดม่งุ หมายว่า พพิ ิธภณั ฑแ์ ห่งน้จี ะ ตอ้ งเป็นพพิ ิธภัณฑ์ทไ่ี ม่ตาย คือเปน็ แหลง่ เรียนรู้ และเปน็ สถานที่จดั กิจกรรมอัน แสดงวถิ ีชีวิตของคนไทยเบงิ้ โคกสลุงอยา่ งสม่ำ� เสมอ เพอ่ื ใหพ้ พิ ธิ ภณั ฑม์ ชี วี ติ ขน้ึ มาไดจ้ รงิ ดงั ทต่ี ง้ั ใจเอาไว้ โครงการทเี่ กย่ี วขอ้ ง กับกจิ กรรมทางด้านวัฒนธรรมของชุมชนจึงเกิดขึ้น โดยมพี อ่ มืดเป็นหัวเรอื ใหญ่ ในการชกั ชวนใหค้ นในชุมชนเขา้ มาท�ำกจิ กรรมด้านวฒั นธรรมอย่างจริงจัง เช่นเดียวกับครูเสือ “พ่อมืด” เกิด เติบโต และอาศัยอยู่ที่โคกสลุงมา 192 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสงั คม

เกือบตลอดชีวิต พ่อมืดเร่ิมเข้ามาท�ำงานด้านวัฒนธรรมของโคกสลุงมาต้ังแต่ พ.ศ. 2540 ในฐานะคณะกรรมการหมบู่ า้ น จนสามารถผลกั ดนั ใหเ้ กดิ พพิ ธิ ภณั ฑ์ พน้ื บ้านไทยเบิ้งข้นึ มาในทสี่ ุด แมจ้ ดุ เรม่ิ ตน้ ของการเขา้ มาท�ำงานดา้ นวฒั นธรรมของพอ่ มดื จะเปน็ การ เขา้ มาท�ำงานตามหนา้ ที่ ในฐานะผนู้ �ำทางการของชมุ ชนทมี่ วี าระสน้ิ สดุ การด�ำรง ต�ำแหนง่ ทแี่ นน่ อน แตก่ ารขบั เคลอ่ื นงานดา้ นวฒั นธรรมนนั้ ไมไ่ ดม้ ที ที า่ หรอื มวี าระ วา่ จะจบลงตามไปดว้ ย ตรงกันข้ามความเป็นอสิ ระยง่ิ ท�ำใหพ้ ่อมดื ขยายขอบเขต ของงานด้านวัฒนธรรมของตนเองข้ึนไปอีก โดยการเข้าไปมีส่วนในการผลักดัน ยทุ ธศาสตรส์ �ำคญั ตา่ งๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั เรอื่ งวฒั นธรรมของจงั หวดั ลพบรุ ใี นฐานะ สมาชิกสภาวัฒนธรรมจังหวดั และยังคงเป็นอย่จู นถงึ ปัจจบุ นั นอกจากงานดา้ นนโยบายทยี่ งั ท�ำอยา่ งตอ่ เนอ่ื งแลว้ ในชว่ งเวลาเดยี วกนั น้ันเอง พ่อมดื และ พยอม อ่อนสลุง (พีม่ ุ่ย) ผู้เปน็ ภรรยา และเปน็ ผนู้ �ำด้าน การสง่ เสรมิ ศกั ยภาพของเยาวชนในชมุ ชนโคกสลงุ อกี ทา่ นหนง่ึ ยงั มโี อกาสไดเ้ ขา้ รว่ มการในโครงการวิจัยและพัฒนาสาธารณะ-ทอ้ งถนิ่ นา่ อยู่ ของสถาบนั ชุมชน ท้องถิ่นพัฒนา (LDI) ซึ่งนับเป็นจุดเปลี่ยนส�ำคัญท่ีท�ำให้พ่อมืดได้รู้จัก อาจารย์ ชัยวฒั น์ ถริ ะพนั ธ์ อาจารยค์ นส�ำคญั ในชีวิตของพ่อมดื ทสี่ ง่ อิทธิพลทางความคดิ ต่อตัวพอ่ มืดมาจนถึงปัจจุบัน การเข้าร่วมโครงการคร้ังน้ัน เป็นก้าวส�ำคัญที่ท�ำให้พ่อมืดได้ก้าวเข้าสู่ โลกของการเป็นกระบวนกร (facilitator) อย่างจริงจัง ผ่านการเรียนรู้เครื่อง มือในการท�ำงานชุมชนอีกหลายชิ้น เช่น การวางยุทธศาสตร์ การคิดเชิงระบบ (systems thinking) การระดมพลงั ทางสงั คม (mobilization) และ การสนทนา อย่างมีสติ (dialogue) และเคร่ืองมอื อน่ื ๆ อกี หลายชนิ้ ทตี่ ่อมากลายเป็นเครอื่ ง มอื ท่มี บี ทบาทส�ำคัญอยา่ งยิง่ ตอ่ งานพัฒนาวัฒนธรรมของชุมชนโคกสลุง องค์ความรู้หรือเครื่องมือที่ใช้ในการท�ำกระบวนการพัฒนาคนถูกเติม เต็มเรอ่ื ยๆ จากนักวชิ าการมากหน้าหลายตาทเี่ ข้ามาท�ำวจิ ยั ในโคกสลงุ พรอ้ มๆ การเดินทางคร้ังใหมข่ องชาวไทยเบง้ิ บ้านโคกสลงุ 193

กับทีมท�ำงานในชุมชนท่เี ริ่มเดินเขา้ มาร่วมกระบวนการมากข้นึ เรื่อยๆ ทั้งกลุม่ ผู้ อาวโุ สในชมุ ชนทเ่ี รยี กวา่ ครภู มู ปิ ญั ญา กลมุ่ เยาวชนอยา่ งเมลด็ ขา้ วเปลอื กไทย เบง้ิ และกลมุ่ อาชพี ทอผา้ โฮมสเตย์ แปรรปู ผา้ ทอ และกลมุ่ ขา้ วซอ้ มมอื ซงึ่ เปน็ ผคู้ นวยั ท�ำงานมากหนา้ หลายตา ดงั นน้ั งานดา้ นการพฒั นาคนบนฐานวฒั นธรรม ของโคกสลงุ จงึ คอ่ ยๆ แขง็ แรงมากขน้ึ ตามล�ำดบั จนสามารถรวบรวมคนกลมุ่ เลก็ ๆ จ�ำนวนหนง่ึ ขนึ้ มาเพอ่ื ท�ำงานดา้ นยทุ ธศาสตร์ และงานดา้ นการจดั การความรขู้ อง ชมุ ชนอยา่ งเปน็ รปู ธรรม เรยี กวา่ สถาบนั ไทยเบง้ิ โคกสลงุ เพอื่ การพฒั นา ขนึ้ มา ในทส่ี ดุ กลยทุ ธ์ และยทุ ธศาสตรก์ ารขับเคลือ่ น “...การทำ� งานกบั ชมุ ชนคงไมใ่ ช่แคก่ ารเอาอะไรมาให้ แตจ่ ะตอ้ ง ถามด้วยว่าชุมชนต้องการอะไร เราต้องมีการวางกรอบในการ เลือกรับ...แม้แต่งานวิจัยหรือองค์ความรู้ใหม่ๆ ท่ีจะน�ำมาใช้ใน การพฒั นาชมุ ชน...” (ประทปี ออ่ นสลงุ . สมั ภาษณ์, 29 พฤศจิกายน 2560) ความน่าสนใจของวัฒนธรรม และการท�ำงานของผู้น�ำในท้องถ่ินที่มี ความโดดเด่น ส่งผลใหม้ หี นว่ ยงานราชการ สถาบนั การศกึ ษา และภาคเอกชน สนใจเข้ามาท�ำโครงการร่วมกับชุมชนโคกสลุงเป็นจ�ำนวนมาก บางปีมีโครงการ เข้ามาท�ำงานร่วมกับชุมชนมากกว่า 40 โครงการ ดังน้ัน ชุมชนโคกสลุงจึงก�ำหนดกรอบการท�ำงานพัฒนาชุมชนร่วมกับ หนว่ ยงานตา่ งๆ ขนึ้ มา ในรปู ของ ยทุ ธศาสตรช์ มุ ชน เพอื่ ใหก้ ารท�ำงานชมุ ชนเปน็ ไปอยา่ งมที ศิ ทางทชี่ ดั เจน ไมไ่ ด้ปรับเปลีย่ นตามนโยบาย หรอื การเปล่ยี นแปลง ทางการเมอื งตลอดเวลา 194 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาชุมชนโคกสลุงสามารถแบ่งออกเป็น 6 ด้าน ได้แก่ 1) การพฒั นาคนและกระบวนการเรยี นรู้ 2) การอนุรักษ์ ฟ้นื ฟู สืบสาน พฒั นา ภมู ปิ ญั ญาวฒั นธรรมประเพณี 3) การสรา้ งสรรคค์ ณุ คา่ ทางวฒั นธรรมเปน็ มลู คา่ ทางเศรษฐกจิ 4) การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งยงั่ ยนื 5) การจดั สวัสดกิ ารชุมชน และ 6) การจดั การความรู้ชุมชนสูก่ ารเปล่ยี นแปลง สงั คม โดยมีเปา้ หมายปลายทางทีส่ �ำคัญคือ การสร้าง “โคกสลงุ น่าอยู่ ผู้คนมี สขุ ภาวะ บนรากเหงา้ ของศิลปวฒั นธรรมไทยเบิ้ง” เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ท่ีจะเข้ามาท�ำงานในพ้ืนท่ีได้เข้าใจยุทธศาสตร์ การพัฒนาโคกสลุงที่ถูกก�ำหนดขึ้น ก่อนที่หน่วยงานต่างๆ จะเข้ามาท�ำงานกับ ชุมชนในแต่ละปี พ่อมืดจะจัดเวทีช้ีแจงยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน และเชิญ ใหห้ นว่ ยงานทกี่ �ำลงั จะเรม่ิ ท�ำโครงการกบั ชมุ ชนไดม้ โี อกาสเขา้ มารบั ฟงั ท�ำความ เขา้ ใจ และพบปะกบั หนว่ ยงานอน่ื ๆ ทจี่ ะเขา้ มาท�ำงานชมุ ชนในชว่ งเวลาเดยี วกนั พ่อมืดเคยเล่าให้ผู้เขียนฟังว่า เวทีชี้แจงยุทธศาสตร์การท�ำงานน้ันมีความส�ำคัญ อยา่ งยงิ่ เนอ่ื งจากเปน็ ชว่ งเวลาทห่ี นว่ ยงานตา่ งๆ และทอ้ งถนิ่ จะไดม้ โี อกาสเขา้ ใจ การท�ำงานของกนั และกนั มากย่งิ ข้นึ โดยพ่อมดื มุ่งหวงั วา่ การจัดเวทีดังกล่าวจะ เปน็ โอกาสทจี่ ะท�ำใหห้ นว่ ยงานแตล่ ะหนว่ ยจะเขา้ ใจภาพของการพฒั นาชมุ ชนท่ี เจ้าของพนื้ ทก่ี �ำหนดเอาไว้มากย่งิ ข้นึ นอกจากนี้ พ่อมืดยังมองเห็นว่า เวทีดังกล่าวเป็นโอกาสส�ำคัญท่ีจะ ท�ำใหห้ นว่ ยงานตา่ งๆ ไดม้ องเหน็ ความเชอ่ื มโยงของงานตนเองกบั งานของหนว่ ย งานอน่ื ๆ ไดช้ ดั เจนยงิ่ ขน้ึ จนอาจพฒั นาใหเ้ กดิ การ บรู ณาการการท�ำงานระหวา่ ง หน่วยงานข้ึน การจัดเวทีช้ีแจ้งยุทธศาสตร์ชุมชนน้ีจึงนับเป็นกลยุทธ์ในการ ท�ำงานท่สี �ำคญั อยา่ งย่งิ ของพน้ื ที่ ส�ำหรับตัวผู้เขียนเองจากการได้มีโอกาสเข้าร่วมเวทีดังกล่าว แม้จะยัง ไมส่ ามารถบรู ณาการโครงการทต่ี นเองรบั ผดิ ชอบเขา้ กบั งานของหนว่ ยงานอน่ื ๆ เน่ืองจากข้อจ�ำกัดของกรอบการวิจัยท่ีถูกก�ำหนดไว้แล้ว แต่เวทีน้ันก็นับเป็น การเดนิ ทางครงั้ ใหมข่ องชาวไทยเบิง้ บา้ นโคกสลุง 195

โอกาสส�ำคญั ทท่ี �ำใหผ้ เู้ ขยี นไดร้ จู้ กั กบั หนว่ ยงานราชการทมี่ บี ทบาทตอ่ การพฒั นา ชมุ ชน และไดร้ จู้ กั นกั วจิ ยั หลายทา่ นทเี่ ขา้ มาท�ำงานวจิ ยั ในชมุ ชนโคกสลงุ ไดแ้ ลก เปล่ียนข้อมูลงานวิจัยกับแต่ละท่านเพ่ิมเติม ท้ังยังได้แลกเปล่ียนแนวคิดท่ีมีต่อ ชุมชน ดังน้ัน จึงนับเป็นพื้นที่ส�ำคัญอย่างย่ิงท่ีท�ำให้ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าใจ ชมุ ชนจากมมุ มองของนกั วชิ าการดา้ นอน่ื ๆ และได้เข้าใจความเชื่อมโยงของงาน วิจัยทต่ี นเองท�ำกบั งานวจิ ยั ของนกั วชิ าการทา่ นอ่นื ๆ อย่างชดั เจนมากยงิ่ ขึน้ จากแนวปฏบิ ตั ดิ งั กลา่ ว ยทุ ธศาสตรท์ งั้ 6 ดา้ นของชมุ ชนจงึ ถกู ขบั เคลอื่ น ไปพร้อมๆ กัน โดยได้รับการสนับสนุนจากท้ังภาครัฐและเอกชน ท้ังในแง่ของ งบประมาณ และองค์ความรู้ โดยมีชุมชนเป็นผู้ก�ำหนดทิศทางในการท�ำงาน พัฒนาใหอ้ ยู่ในกรอบของการพัฒนาตามยทุ ธศาสตร์ทกี่ �ำหนดเอาไว้ รูปแบบการพัฒนาชุมชนตามยุทธศาสตร์แต่ละด้านจะด�ำเนินการใน ลักษณะของโครงการท่ีมีความหลากหลาย เช่น ในแง่ของการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสาน พัฒนา ภูมิปัญญาวัฒนธรรมประเพณีจะด�ำเนินการผ่านกิจกรรมทาง วัฒนธรรม เชน่ การรื้อฟน้ื งานประเพณีแห่ดอกไม้ในช่วงวันสงกรานต์ การเชิญ ชวนใหค้ นในชมุ ชนสวม “เสอ้ื อหี วิ้ ”3 นงุ่ โจงกระเบนในวนั ส�ำคญั ทางประเพณขี อง ชมุ ชน และการเปดิ หอ้ งเรยี นภมู ปิ ญั ญา ใหเ้ ดก็ ในชมุ ชนไดม้ โี อกาสรจู้ กั วฒั นธรรม ตา่ งๆ ของชมุ ชนจากการสอนโดยครภู มู ิปญั ญา ขณะท่ีการสร้างสรรค์คุณค่าทางวัฒนธรรมเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจจะ ท�ำงานผ่านการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบสินค้าพ้ืนเมืองของชุมชนให้สามารถ 3 เสื้ออีหวิ้ คือ เส้อื พื้นเมืองของสาวชาวไทยเบ้งิ มลี ักษณะเปน็ เสื้อไม่มีแขนคล้ายเส้อื คอกระเช้า เสือ้ อหี ว้ิ ใช้ใส่คู่กับโจงกระเบน เวลาไปวัดสาวชาวไทยเบ้ิงจะพาดผ้าขาวม้าทับเป็นสไบไปบนเสื้ออีหิ้วอีกครั้งเพื่อ ความเรียบรอ้ ย  196 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

จ�ำหนา่ ยไดใ้ นวงกวา้ งมากขึน้ ในความเห็นของผู้เขียน เมือ่ ประเมินยุทธศาสตรท์ ัง้ 6 ดา้ น ของชุมชน โดยภาพรวม ผู้เขยี นมองว่า ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาคน และ กระบวนการเรียนรู้ อาจนบั ไดว้ า่ เปน็ จดุ แขง็ ทสี่ ดุ ในการท�ำงานพฒั นาชมุ ชนโคกสลงุ โดยเฉพาะอยา่ ง ยิ่งการใหค้ วามส�ำคัญกับ ครูภมู ปิ ญั ญาของชมุ ชน การพัฒนาเยาวชนในชุมชน ในฐานะกลมุ่ เมลด็ ขา้ วเปลอื กไทยเบงิ้ และการพฒั นากลมุ่ อาชพี ตา่ งๆ ในฐานะ แกนน�ำจิตสาธารณะ ให้มที ักษะในการฟัง และทักษะในการท�ำงานชุมชนด้าน ตา่ งๆ ทีม่ คี วามจ�ำเป็นอย่างเฉพาะเจาะจงของแตล่ ะกลมุ่ การใหค้ วามส�ำคญั กบั การพฒั นาคนทง้ั 3 กลมุ่ แสดงใหเ้ หน็ อยา่ งชดั เจน วา่ ชมุ ชนใหค้ วามส�ำคญั กบั การพฒั นาคนทกุ ชว่ งวยั ซง่ึ นบั วา่ มคี วามส�ำคญั อยา่ ง ยงิ่ ตอ่ การท�ำงานด้านวัฒนธรรมทจี่ �ำเปน็ ตอ้ งอาศยั ภมู ปิ ญั ญาของคนรนุ่ เกา่ การ สืบสานวัฒนธรรมต่อของคนรุ่นใหม่ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ีเก่ียวข้องกับ ภูมิปัญญาให้ยังคงมีการผลิต และการน�ำมาใช้อย่างต่อเน่ืองโดยคนท�ำงานกลุ่ม อาชพี กลมุ่ ตา่ งๆ ย่งิ ไปกวา่ น้ันยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาคน และกระบวนการเรียนรู้ ยังเป็น ยุทธศาสตรท์ ีส่ ามารถด�ำเนินการไดด้ ว้ ยตวั ของพอ่ มดื ซ่งึ เป็นผู้น�ำกลุม่ และเปน็ คนในชมุ ชนเอง การทพ่ี อ่ มดื มคี วามสามารถในการเปน็ กระบวนกร และหมนั่ เตมิ เครอื่ ง มือในการพัฒนาคนจากหน่วยงานต่างๆ อย่างต่อเน่ือง ดังท่ีกล่าวไปข้างต้น ย่ิงท�ำให้การท�ำงานด้านการพัฒนาคนสามารถด�ำเนินการได้ด้วยตนเองอย่าง สมำ่� เสมอ โดยไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งรอความชว่ ยเหลอื จากคนภายนอกดงั เชน่ ยทุ ธศาสตร์ ด้านอืน่ ๆ ท่ยี ังคงจ�ำเป็นต้องอาศยั ความรว่ มมอื จากหนว่ ยงานอื่นร่วมด้วย การเดินทางคร้งั ใหม่ของชาวไทยเบ้งิ บา้ นโคกสลงุ 197

ความท้าทายทยี่ ังก้าวไม่ขา้ ม แม้การท�ำงานพัฒนาชุมชนของโคกสลุงจะมีการวางกลยุทธ์ รวมทั้ง ก�ำหนดกรอบและทิศทางการท�ำงานอย่างชัดเจน จนดูราวกับชุมชนจะประสบ ความส�ำเร็จในการสรา้ งชุมชนเขม้ แขง็ อย่างทห่ี าได้ยากย่ิงในปัจจบุ ัน แต่ภายใต้ ความส�ำเร็จนั้น เม่ือผู้เขียนได้มีโอกาสพูดคุยกับคนท�ำงานในพื้นที่เก่ียวกับการ ท�ำงานในชุมชนหลายต่อหลายคร้ัง เรื่องราวทั้งความส�ำเร็จและปัญหาที่ต้อง เผชิญก็มักจะถกู แบ่งปนั และถา่ ยทอดใหฟ้ งั เสมอในฐานะคนคนุ้ เคยกนั บางปัญหาเชน่ เรอ่ื งของความขดั แยง้ ระหวา่ งคนภายในกล่มุ กส็ ามารถ คลี่คลายได้ในระยะเวลาอันสนั้ บางปัญหากส็ ามารถก้าวขา้ มได้ด้วยการเปลี่ยน มมุ มองของผนู้ �ำเอง แตเ่ มอ่ื ผเู้ ขยี นไดล้ องนง่ั พดู คยุ กบั กลมุ่ ผนู้ �ำในพน้ื ทถี่ งึ อนาคต ของโคกสลุงอย่างจริงจัง ความกังวลบางอย่างก็ปรากฏขึ้นในแววตาของคน ท�ำงานอยา่ งเห็นไดช้ ัด จากการสังเกตกระบวนการท�ำงานของกลุ่มผู้น�ำในชุมชนโคกสลุงใน โครงการพัฒนาแกนน�ำจิตสาธารณะ ท่ีสนับสนุนโดยโครงการผู้น�ำแห่งอนาคต ในปที ผี่ า่ นมา รวมถงึ การพดู คยุ กบั กลมุ่ ผนู้ �ำในพนื้ ทอ่ี ยา่ งจรงิ จงั เรอ่ื งอนาคตของ ชุมชน ผู้เขียนมองเห็นความพยายามในการถ่ายทอดองค์ความรตู้ า่ งๆ ของผ้นู �ำ ให้กับสมาชิกคนอ่ืนๆ ในชุมชน ผ่านการอบรมที่สอดแทรกวิธีการท�ำงาน และ การบริหารจัดการกลุม่ รวมถงึ การถอยออกมาเพือ่ เปิดโอกาสให้สมาชิกในกลมุ่ คนอน่ื ๆ ไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทในการทดลองจดั กระบวนการ หรอื ดแู ลกจิ กรรมบาง อย่างของชมุ ชน เชน่ งานลานวัฒนธรรมที่จดั ขึ้นในช่วงปลายปี 2559 นอกจากนน้ั ผเู้ ขยี นยงั มองเหน็ ความพยายามในการสรา้ งผนู้ �ำในอนาคต ของชมุ ชน เชน่ กลมุ่ เยาวชนเมลด็ ขา้ วเปลอื กไทยเบง้ิ ทน่ี อกจากจะมที กั ษะ และมี องคค์ วามรใู้ นดา้ นภมู ปิ ญั ญาวฒั นธรรมไทยเบง้ิ แลว้ ยงั ไดร้ บั การฝกึ ฝนทกั ษะการ เป็นกระบวนกร และการบริหารจัดการกลุ่มจากกลุ่มผู้น�ำในชุมชนอย่างจริงจัง 198 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ท้ังยังมองเห็นความส�ำคัญของการท�ำงานสืบสานวัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่นได้เป็น อย่างดี ดงั ท่ี “มิ้น” เยาวชนในกลมุ่ เมล็ดข้าวเปลือกไทยเบง้ิ สะทอ้ นถงึ การสาน ตอ่ งานจากผูน้ �ำในรนุ่ ปจั จบุ นั วา่ “...ถ้าในมุมมองของหนู หนูว่าเราต้องสานงานต่อเร่ืองน้อง เพราะถ้ารุ่นเราไม่ท�ำ น้องรุ่นต่อไปก็จะไม่มี เพราะคนท่ีจะมา ทำ� งานตอ่ ในอนาคตไดก้ ค็ อื เดก็ รนุ่ เรา และเดก็ รนุ่ น้ี เพราะถา้ เรา ไมม่ เี ราไมม่ นี อ้ งอนาคตกค็ งจะเหมอื นคา้ งไป เพราะคนทำ� งานรนุ่ ปจั จบุ ันคอื คนแก่พากันตายหมด แลว้ ใครจะทำ� เพราะเขากท็ �ำ กันมาหลายปี สู้กนั มาหลายปกี ว่าจะได้ถึงข้นั นี้...” (มิ้น. สมั ภาษณ,์ 10 มีนาคม 2561) อย่างไรกต็ าม การพยายามถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ในการท�ำงานชมุ ชนให้ กบั สมาชกิ คนอนื่ ๆ และ ใหก้ บั เยาวชนทถี่ กู คาดหวงั เอาไวว้ า่ จะกลายมาเปน็ ผนู้ �ำ ในอนาคตของชมุ ชนนนั้ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งงา่ ยนกั ไมใ่ ชแ่ คเ่ พราะความกงั วลวา่ ตนเองจะไม่ สามารถท�ำไดอ้ ยา่ งทก่ี ลมุ่ ผนู้ �ำในปจั จบุ นั ท�ำอยเู่ ทา่ นน้ั แตน่ อ้ งๆ หลายคนในกลมุ่ เมลด็ ขา้ วเปลอื กไทยเบง้ิ ทยี่ งั คงมคี วามกงั วลในแงข่ องความมนั่ คงดา้ นเศรษฐกจิ และความเข้าใจของครอบครัวท่ีมีต่อการท�ำงานเพื่อชุมชนซึ่งไม่มีค่าตอบแทน และไมม่ ีสวสั ดิการที่มน่ั คง ดังนน้ั เม่อื ผ้เู ขยี นเฝ้าถามน้องๆ ทุกคนถึงโอกาสท่ีจะกลับเข้ามาท�ำงาน พัฒนาชมุ ชนตอ่ จากกล่มุ ผนู้ �ำในพ้ืนที่ ค�ำตอบทไ่ี ด้จึงแทบจะเปน็ ศนู ย์ การเดนิ ทางครั้งใหม่ของชาวไทยเบงิ้ บ้านโคกสลุง 199

“...จบไปถ้าถามว่าจะได้ท�ำงานอย่างที่ตัวเองฝันไหมก็ไม่มีทาง อยแู่ ล้ว จบไปอยา่ งน้อยก็ตอ้ งเขา้ โรงงานกอ่ น เพราะมันเปน็ ค่า นยิ มของพอ่ กบั แมท่ มี่ องวา่ ยงั ไงกต็ อ้ งทำ� งานโรงงาน ตอ้ งทำ� งาน สบายๆ ก่อน...หนูอยากพัฒนาในเร่ืองงานกราฟฟิค งานบรรจุ ภณั ฑ์ งานสอื่ ประชาสมั พนั ธข์ องไทยเบง้ิ เพราะหนเู รยี นมาทางนี้ กเ็ ลยอยากจะใชง้ านทเ่ี รยี นมา มาพฒั นางานทางนเี้ หมอื นกนั …” (วันวิสา. สมั ภาษณ,์ 10 มนี าคม 2561) ถ้อยค�ำข้างต้นเป็นค�ำตอบท่ี “วันวิสา” เยาวชนในกลุ่มเมล็ดข้าว เปลอื กไทยเบงิ้ รนุ่ ที่ 3 มใี หก้ บั ผเู้ ขยี นเมอ่ื ถามถงึ โอกาสในการกลบั มาท�ำงานดา้ น วัฒนธรรมในชุมชนต่อจากกลุ่มผู้น�ำรุ่นปัจจุบัน น่าเสียดายท่ีค�ำตอบเร่ืองของ โอกาสในการกลบั มาพฒั นาชมุ ชนนนั้ ชา่ งขดั แยง้ กบั ความฝนั หรอื ความตอ้ งการ ของน้องๆ กล่มุ เมลด็ ขา้ วเปลือกไทยเบงิ้ ท่ผี เู้ ขียนได้มีโอกาสพูดคยุ ดว้ ย ดังเช่น กรณขี องวันวสิ าทีม่ ีความฝนั อยากจะมาท�ำงานพฒั นาด้านส่ือของชุมชน ให้งาน ด้านวัฒนธรรมสามารถส่ือสารถึงคนภายนอกได้มากกว่าท่ีเป็นอยู่ ตามความ สามารถในสาขาคอมพิวเตอร์ที่ตนเองได้เล่าเรียนมา แต่จ�ำเป็นต้องไปท�ำงาน โรงงานตามความคาดหวังของผู้ปกครอง หรอื ความฝนั ของ “ไก”่ เยาวชนในกลมุ่ เมลด็ ขา้ วเปลอื กไทยเบงิ้ อกี หนงึ่ คนทมี่ คี วามสนใจดา้ นการท�ำอาหาร และมคี วามฝนั เลก็ ๆ สว่ นตวั ทอี่ ยากจะเปดิ รา้ นอาหารพ้นื บา้ นไทยเบ้ิง และ อยากพัฒนาผลติ ภัณฑอ์ าหารพน้ื บา้ นใหเ้ ปน็ ท่ี รจู้ ักในวงกวา้ งมากย่ิงข้นึ “…ผมว่าอาหารรสชาติของที่น่ีมันมีเอกลักษณ์ของมัน คือ มัน สามารถท่ีจะไปได้ไกลกว่าที่จะเป็นอาหารประจ�ำต�ำบล ผม เปน็ คนชอบเรอ่ื งอาหาร ถ้าในสว่ นท่ีอยากจะพัฒนากน็ า่ จะเปน็ อาหารของชุมชน...” (ไก่. สมั ภาษณ,์ 10 มีนาคม 2561) 200 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม