Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จุดนัดพบบนเส้นขนาน

จุดนัดพบบนเส้นขนาน

Description: จุดนัดพบบนเส้นขนาน.

Search

Read the Text Version

ตารางแสดงข้อมลู ชุมชนต�ำบลทุ่งมะพร้าว อ�ำเภอทา้ ยเหมือง สูพ่ งั งาแหง่ ความสุข: เพราะจุดหมายไปถึงได้หลายเสน้ ทาง 301

ตารางแสดงขอ้ มลู ชมุ ชนต�ำบลบางม่วง อ�ำเภอตะกั่วปา่ 302 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ตารางแสดงข้อมูลชมุ ชนต�ำบลเกาะยาวน้อย อ�ำเภอเกาะยาว สพู่ ังงาแห่งความสขุ : เพราะจุดหมายไปถึงไดห้ ลายเสน้ ทาง 303

ตารางแสดงขอ้ มูลชุมชนต�ำบลเกาะปนั หยี อ�ำเภอเมอื ง 304 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ข้อมูลข้างต้นมีที่มาจากบันทึกสนามของทอมซ่ึงบ่งชี้ว่าชุมชนท่ีถูก คัดเลือกจะต้องมีผู้น�ำประสบการณ์ท�ำงานสูง ใช้ชีวิตอยู่ในพ้ืนท่ีจนเกิดความ เข้าใจประวัติศาสตร์หรือล�ำดับขั้นตอนกิจกรรมศึกษาดูงานแตกฉานสามารถ ถ่ายทอดองค์ความรู้ชุมชนได้อย่างละเอียดลึกซึ้ง ข้อสังเกตจากการได้สัมผัสตัว ตนของผู้น�ำทั้ง 7 ต�ำบลระหว่างการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู คอื คณุ สมบตั ิการเป็นผู้ มสี �ำนกึ สาธารณะท�ำงานเพอ่ื สว่ นรวมมายาวนานมากพอทจี่ ะกลายเปน็ ศนู ยร์ วม เจตจ�ำนงร่วมของชาวบ้าน มีพลังพอท่ีจะสามารถสร้างบรรยากาศภาวะการน�ำ รว่ มให้เกิดขน้ึ ในพ้ืนท่ีไดใ้ นวงกวา้ ง หลายคร้งั หลายหนผ้เู ขยี นมีโอกาสพูดคุยกบั ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหรอื ผใู้ หข้ อ้ มลู ชมุ ชนแลว้ พบวา่ พวกเขาเขา้ รว่ มกอ่ ตัง้ สถาบนั พฒั นาการเรยี นรฯู้ ท้ังทย่ี ังไมไ่ ดเ้ ขา้ ใจหลกั การประกอบการสังคมเลย แม้แต่น้อย หน�ำซ้�ำบางท่านกลับมีความคลางแคลงใจเกี่ยวกับการจัดการท่อง เที่ยวเพื่อการเรียนรู้ว่าจะเกิดข้ึนควบคู่กันได้จริงหรือ แต่เหตุผลหลักของการ เข้าร่วมกลับง่ายดายแค่เพียงเพราะเช่ือมั่นในตัวแกนน�ำสภาพลเมืองฯ อย่างพี่ จี้ พ่ีน้อย และพ่ไี มตรี ว่าจะน�ำพาสงิ่ ดๆี มาสู่ชาวบ้านเสมอ เห็นไดจ้ ากหลักฐาน ความมุ่งมั่นทุ่มเทท�ำงานตลอดระยะเวลา 20 ปีท่ีผ่านมาโดยไม่เคยทอดท้ิงกัน เมือ่ เกดิ ปญั หาใดๆ ขน้ึ มา “จริงๆ รู้สึกว่าคนจะเท่ียวเขาก็ต้องการเท่ียว ต้องการพักผ่อน อาจไมไ่ ดค้ าดหวงั จะเรยี นรสู้ งิ่ ใดเลยกไ็ ดเ้ พราะมนั เปน็ คนละเรอื่ ง เดยี วกนั แตก่ อ็ ยากจะลองดเู พราะคดิ วา่ โครงการหรอื กจิ กรรมถา้ พวกไมตรี จี้ น้อย เลอื กมาใหช้ ุมชนได้รจู้ กั และทดลองท�ำ มันจะ ตอ้ งมดี อี ะไรสกั อยา่ ง ไมง่ น้ั คงไมย่ อมลำ� บากมานง่ั จบั เขา่ พดู โนม้ นา้ วใหเ้ สยี เวลา คนพวกนที้ ำ� ใหเ้ ราเชอ่ื ใจเพราะเขาทมุ่ เท ทำ� อะไร ท�ำจริงไมท่ ง้ิ ขว้างกลางทาง” (กัลยา โสภารตั น.์ สัมภาษณ,์ 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2561) สพู่ ังงาแหง่ ความสุข: เพราะจดุ หมายไปถงึ ได้หลายเสน้ ทาง 305

สว่ นกจิ กรรมศกึ ษาดงู านลว้ นเปน็ ประเดน็ ใกลต้ วั ทผ่ี คู้ นใหค้ วามสนใจ ความถี่ของการจัดกิจกรรมสูงและต่อเน่ืองท�ำให้ผู้คนในชุมชนมีความเป็น ธรรมชาติเม่ือพบเจอกับผู้มาเยือนที่ไม่คุ้นเคย สิ่งเหล่านี้ถือเป็นต้นทุนส�ำคัญ ในการจัดการท่องเที่ยวเพ่ือการเรียนรู้ที่ภาคธุรกิจไม่มี (ถึงจะมีก็เป็นเพียงการ ท่องจ�ำแล้วมาเล่าให้ฟัง) สามารถน�ำไปใช้เป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวผู้ต้องการ สัมผัสวิถีชุมชนขนานแท้ได้ไม่ยาก อย่างไรก็ตามส่ิงส�ำคัญที่ขาดหายไปคือการ เช่ือมโยงทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวเข้าไปเป็นเน้ือเดียวกันกับกระบวนการ เรียนรู้ สง่ ผลให้ทุกๆ กจิ กรรมไม่อาจสร้างรายสชู่ มุ ชนได้อยา่ งเต็มเมด็ เต็มหนว่ ย เนอื่ งจากผมู้ าศกึ ษาดงู านไมจ่ บั จา่ ยใชส้ อยขา้ วของเครอ่ื งใชจ้ ากชาวบา้ นโดยตรง ข้อจ�ำกัดอีกประการคือแม้จะมีภูมิรู้อันแสนมีคุณค่าและอยู่ในบรรยากาศการ เรียนรู้ที่เป็นสถานการณ์จริงซ่ึงหาได้ยากตามห้องเรียนในระบบการศึกษาท่ัวไป แต่ผู้ท�ำหน้าที่วิทยากรกลับไม่สามารถดึงข้อได้เปรียบส่วนน้ีมาใช้ประโยชน์ได้ เพราะขาดการจดั ระบบการน�ำเสนอเรอื่ งราว/ คณุ คา่ เปน็ ขน้ั ตอนเขา้ ใจงา่ ย และนี่ คอื โจทยใ์ หญน่ �ำไปสกู่ ารออกแบบหลกั สตู รการทอ่ งเทย่ี วเพอ่ื การเรยี นรทู้ ม่ี คี วาม น่าเช่ือถือเชิงวิชาการมากยิ่งข้ึนโดยเพิ่มเติมทฤษฎีการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ ตรงและยกระดับทักษะการเป็นวิทยากรมืออาชพี หลกั สตู รการท่องเทย่ี วเพ่ือการเรยี นรู้ กิจกรรมศึกษาดูงานที่ถูกจัดข้ึนในพ้ืนต่างๆ มีคุณลักษณะร่วมกันอยู่ ประการหนึ่งคือเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมได้สัมผัสกับปรากฏการณ์จริงเอื้อให้รับรู้ ข้อมูลผ่านการปฏิบัติจนเข้าใจธรรมชาติขององค์ความรู้เหล่าน้ัน ทอมต้องการ สานต่อจุดแข็งจุดน้ีให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นจึงเสนอให้น�ำเอาทฤษฎีวงจรการ เรียนรู้จากประสบการณ์ (experiential learning cycles) มาเป็นแนวคิด ประดิษฐ์หลักสูตรการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ข้ึนมาใหม่หวังสร้างความชัดเจน เชิงกระบวนการและเนอ้ื หาท่ีต้องสงั เคราะห์จดั ประเดน็ ใหแ้ หลมคมข้ึน 306 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ทฤษฎีวงจรการเรียนรู้จากประสบการณ์ของ David Kolb อธิบายว่า กระบวนการเรียนรแู้ ละปรบั ตวั ของบุคคลประกอบดว้ ย 4 ขั้นตอนเป็นวงจรต่อ เน่ืองกันคอื ขนั้ ที่ 1 ประสบการณร์ ูปธรรม (concrete experience) เปน็ ขนั้ ตอนทผ่ี ูเ้ รียนเข้าไปมีส่วนร่วมและรับร้ปู ระสบการณ์ต่างๆ เนน้ การใชค้ วามรสู้ กึ และยึดถือสิ่งท่ีเกิดข้ึนจริงตามท่ีตนประสบในขณะน้ัน ข้ันท่ี 2 การไตร่ตรอง (reflective observation) เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนมุ่งท�ำความเข้าใจความหมาย ของประสบการณ์ทีไ่ ด้รบั ข้ันที่ 3 การสรปุ เปน็ หลกั การนามธรรม (abstract conceptualization) เป็นข้นั ที่ผู้เรยี นใช้เหตผุ ลและใชค้ วามคดิ ในการสรุปรวบ ยอดเปน็ หลกั การตา่ งๆ ข้ันท่ี 4 การทดลองปฏิบตั จิ ริง (active experimen- tation) เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนน�ำเอาความเข้าใจที่สรุปได้ในขั้นที่ 3 ไปทดลอง ปฏิบตั จิ ริงเพอื่ ทดสอบว่าถกู ต้อง (เสาวภา วิชาด,ี 2554) แผนภมู ภิ าพแสดงทฤษฎวี งจรการเรยี นรจู้ ากประสบการณข์ อง David Kolb สู่พงั งาแห่งความสขุ : เพราะจุดหมายไปถงึ ไดห้ ลายเสน้ ทาง 307

หลังผ่านการพูดคุยรายละเอียดทฤษฎีพไ่ี มตรี พี่น้อย และพจ่ี ้ี ตา่ งเห็น ดว้ ยกบั การเชอ่ื มโยงแนวคดิ ดงั กลา่ วเขา้ กบั กจิ กรรมศกึ ษาดงู านเพราะตอ้ งการให้ ผมู้ าเรยี นรสู้ ามารถน�ำเอาประสบการณท์ ไ่ี ดร้ บั ไปทดลองใชก้ บั ชมุ ชนตนเองเปน็ ทุนเดมิ อยแู่ ล้ว การเลือกเอาแนวคิดของ Kolb มาเป็นโมเดลท�ำใหเ้ ห็นวา่ วธิ กี าร จัดอบรมของเครือข่ายสภาพลเมืองฯ ท้ัง 7 แห่งมีการสร้างประสบการณ์ รูปธรรมและการสรุปเป็นหลักการนามธรรมขั้นตอนท่ี 1 และ 3 ของวงจรการ เรียนรู้อยู่แล้ว แต่ยังขาดการสะท้อน/ ทบทวนการเรียนรู้และการประยุกต์ใช้ ความรซู้ งึ่ เปน็ กระบวนการส�ำคญั ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเปลยี่ นผา่ นประสบการณ์ ทไี่ ดร้ บั สกู่ ารทดลองท�ำจรงิ ดว้ ยตวั เอง จงึ เกดิ ความคดิ เปลย่ี นแปลงสถานทจี่ ากใช้ พนื้ ท่แี ห่งเดียวเปน็ การแบง่ ฐานท�ำกจิ กรรมตามวงจรการเรียนรู้แทน ความคดิ ดงั กลา่ วสง่ ผลโดยตรงตอ่ การออกแบบโปรแกรมการทอ่ งเทยี่ ว ทนั ที กลา่ วคอื เกดิ การจดั วางล�ำดบั ขน้ั ตอนกจิ กรรมและคดั เลอื กสถานทที่ เี่ หมาะ สมโดยค�ำนึงถึงวงจรการเรียนรู้เป็นตัวตั้งแล้วผสานเข้ากับช่องทางขยาย โอกาสสรา้ งรายไดส้ ชู่ มุ ชนเสรมิ เขา้ มา ดงั นน้ั ฐานการเรยี นรจู้ งึ ตอ้ งมคี ณุ สมบตั ทิ ่ี เหมาะสมตอ่ การใชเ้ ปน็ พน้ื ทสี่ รา้ งประสบการณต์ รง เชน่ โรงบ�ำบดั ขยะ โรงเรยี น ผสู้ งู วยั แปลงผักปลอดสารพษิ รมิ ชายหาดท่เี คยเกิดภยั พบิ ตั ิสึนามิ เป็นต้น และ มบี รรยากาศเงยี บสงบเพยี บพรอ้ มดว้ ยอปุ กรณส์ �ำหรบั ทบทวนการเรยี นรทู้ ดลอง ประยกุ ตป์ ฏบิ ตั ซิ ง่ึ จะใชแ้ หลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางธรรมชาตใิ นชมุ ชนหรอื โฮมสเตยเ์ ปน็ สนามด�ำเนินการ อยา่ งไรกต็ ามการเขา้ รับการอบรมให้ครบถ้วนวงจรการเรยี นรู้ จ�ำเป็นต้องค�ำนึงถงึ ระยะเวลาทผ่ี ูเ้ รยี นมี กรณีทีม่ าแค่วนั เดยี วกอ็ าจได้รับเฉพาะ ประสบการณร์ ปู ธรรมและบทสรปุ การเรยี นรกู้ ลบั ไป แตห่ ากพกั คา้ งคนื กส็ ามารถ เพม่ิ ขน้ั ตอนการนงั่ ลอ้ มวงอภปิ รายสะทอ้ นคดิ แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ บนั ทกึ ลง สมุดความรู้รายบุคคล ลงมือออกแบบแผนงานทดลองปฏิบัติเองเพื่อพิสูจน์ว่า ความเขา้ ใจทไ่ี ดร้ บั ไปนน้ั ถกู ตอ้ งตรงประเดน็ หรอื ไมอ่ ยา่ งไร เปา้ หมายอกี ประการ ท่ีทีมโต๊ะพังงาวาดหวังไว้คือการสังเคราะห์องค์ความรู้ชุมชนออกมาเป็น 308 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

สื่อการเรียนรู้ เช่น ต�ำราเรียนท่ีลงมือท�ำและขีดเขียนโดยชาวบ้านแต่ยังไม่ได้ เริ่มตน้ ด�ำเนนิ การ ณ ขณะน้ี เมอื่ ไดข้ อ้ สรปุ แนวคดิ เชงิ ทฤษฎขี องหลกั สตู รเปน็ ทเี่ รยี บรอ้ ยการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเรอ่ื งการจดั ท�ำหลกั สตู รตามพนื้ ทแ่ี ละเสน้ ทางการเรยี นรจู้ งึ ถกู จดั ขนึ้ ในวนั ท่ี 24-25 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2561 ณ การยางแหง่ ประเทศไทยสาขาพงั งา และโรงแรมภงู า โดยมี คณุ กมลชาติ นใุ หม่ (จบุ๊ แจง) และ คณุ ชนาภทั ร ไวยซนี (ม้นิ ท)์ นกั ศึกษาช้นั ปที ่ี 2 คณะวิทยาการเรียนรู้และศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ เป็นแกนน�ำออกแบบกิจกรรมร่วมกับคณาจารย์เพื่อระดมข้อมูล ของดีชุมชน จัดท�ำแผนทยี่ ่อยต�ำบลน�ำรอ่ งว่ามีแหล่งท่องเที่ยว ร้านอาหาร จุด จ�ำหน่ายสินค้า ศาสนสถาน สถานท่ีติดต่อราชการ ที่พักพร้อมให้บริการต้ังอยู่ บริเวณใดบ้าง ตอ่ จากนน้ั จงึ ร่วมกันจดั ท�ำปฏทิ ินชมุ ชนแจกแจงสภาพภูมิอากาศ ตลอดทั้งปรี วมท้ังเทศกาลงานส�ำคัญทีท่ �ำใหเ้ กดิ ฤดกู าลทอ่ งเทย่ี วตา่ งๆ กอ่ นจะ เชอื่ มโยงขอ้ มลู สรา้ งเปน็ แผนทใี่ หญแ่ สดงภาพรวมเสน้ ทางการทอ่ งเทย่ี วทง้ั หมด ออกมา สูพ่ ังงาแห่งความสขุ : เพราะจุดหมายไปถึงไดห้ ลายเส้นทาง 309

ตัวอยา่ งภาพแผนที่ยอ่ ยต�ำบลเกาะยาวน้อย อ�ำเภอเกาะยาว จังหวดั พงั งา (ท่มี าของภาพ: ปัณฑิตา จนั ทร์อรา่ ม) อย่างไรก็ตามเม่ือกล่าวถึงการออกแบบหลักสูตรและแผนงานเชิงธุกิจ ผู้น�ำชุมชนหลายท่านรู้สึกว่าเป็นเรื่องเข้าใจยากและมองไม่เห็นกระบวนการ สรา้ งสรรคท์ เ่ี ปน็ ขน้ั ตอนชดั เจน ทมี วทิ ยากรจากคณะวทิ ยาการเรยี นรแู้ ละศกึ ษา ศาสตรจ์ งึ จดั สรรเวลาเพอ่ื เตมิ องคค์ วามรเู้ รอ่ื งทมี่ าและความหมายของหลกั สตู ร แนวทางการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับปรัชญาการเรียนรู้ รวมทั้งน�ำเกม แข่งขันขายปลามาเปล่ียนห้องประชุมให้กลายเป็นตลาดซื้อขายสินค้าก่อนถอด บทเรียนความสัมพันธ์ระหว่างคนหาปลา พอ่ คา้ คนกลาง เทคนคิ วธิ กี ารขายเพอ่ื สรา้ งก�ำไรอยา่ งสมดลุ ปดิ ทา้ ยดว้ ยการแลกเปลยี่ นเรยี นรปู้ ระเดน็ กลไกการตลาด กับการวางแผนธุรกจิ อย่างยัง่ ยนื ท�ำให้ผู้รว่ มอบรมเข้าใจพื้นฐานแนวคดิ สถาบัน พัฒนาการเรียนร้ฯู เพิ่มมากขน้ึ ดว้ ย 310 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ภาพบรรยากาศกิจกรรมคนขายปลา ระหวา่ งอบรมการจดั ท�ำหลกั สูตรตามพ้นื ท่ีและเส้นทางการเรยี นรู้ (ที่มาของภาพ: กมลชาติ นุใหม)่ ประโยชน์ส�ำคัญของการระดมข้อมลู พ้ืนที่น�ำรอ่ ง 7 ต�ำบลครอบคลุม 6 อ�ำเภอในจงั หวดั พงั งารว่ มกนั ของผนู้ �ำชมุ ชนคอื การขยายมมุ มองการจดั การทอ่ ง เท่ียวทีแ่ ต่เดมิ มักมองแยกส่วนเป็นเฉพาะเทศบาลต�ำบล เทศบาลเมือง องคก์ าร บริหารส่วนต�ำบล องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั เป็นต้น ซ่ึงผกู พันกับวิธีแบง่ แยก เขตการปกครองของภาครัฐเพราะมองไม่เห็นรายละเอียดปลีกย่อยที่จะเช่ือม โยงแหลง่ เรยี นรใู้ หส้ อดรบั กบั ทฤษฎกี ารเรยี นรแู้ มจ้ ะอาศยั อยใู่ นพน้ื ทแ่ี ละท�ำงาน ร่วมกันมานานก็ตาม เมื่อได้เห็นแผนที่ภาพรวมซ่ึงสะท้อนข้อมูลระยะเวลาการ เดินทาง จุดแวะพักรับประทานอาหารจบั จ่ายใช้สอย ที่พกั ค้างคืนและกิจกรรม ศกึ ษาดงู านทม่ี ขี อ้ แตกตา่ งแตอ่ าจน�ำมาปรบั ประยกุ ตเ์ สรมิ ประสทิ ธภิ าพการเรยี น รู้งานภาคประชาสังคมดา้ นตา่ งๆ ได้ดีย่ิงขึน้ ชว่ ยให้สามารถเช่ือมโยงพืน้ ที่ ระบุ ส่พู งั งาแห่งความสขุ : เพราะจดุ หมายไปถึงไดห้ ลายเส้นทาง 311

จดุ ประสงค์ เนอ้ื หา กจิ กรรม การประเมนิ ผล และก�ำหนดการอบรมโดยละเอยี ด ทา้ ยทส่ี ดุ หลงั เสรจ็ สิ้นการอบรมเกดิ เป็นโครงร่าง 5 หลกั สตู รการทอ่ งเที่ยวเพื่อ การเรยี นรดู้ ังน้ี 1) หลักสูตรการจดั การเครอื ขา่ ยเพ่อื การพัฒนาภาคประชาสังคม พน้ื ทต่ี น้ แบบการเรยี นร:ู้ ต. เกาะปนั หยี และ อทุ ยานแหง่ ชาตอิ า่ วพงั งา อ. เมือง จ. พงั งา จดุ ประสงคก์ ารเรียนร้:ู 1) เพ่ือใหผ้ ้เู ข้าอบรมเขา้ ใจกระบวนการจัดการเครอื ข่ายพฒั นา ภาคประชาสงั คมจงั หวัดพังงา 2) เพื่อใหผ้ เู้ ข้ารว่ มอบรมสามารถวางแผนปฏบิ ัตงิ านจดั การเครอื ข่าย การพัฒนาภาคประชาสงั คมของตนเองได้ กิจกรรมการเรียนร:ู้ การสร้างเครือขา่ ยการพัฒนาภาคประชาสงั คม กระบวนการท�ำงานรว่ มกนั ของภาคประชาสงั คม การจัดท�ำแผน ยุทธศาสตร์การพฒั นาจงั หวดั โดยภาคประชาชน และการพัฒนา ทรัพยากรบคุ คลเพื่อการท�ำงานอยา่ งย่งั ยืน 2) หลักสตู รการสง่ เสริมสขุ ภาพชมุ ชนและคุณภาพชวี ิตผสู้ งู อายุ พนื้ ทตี่ น้ แบบการเรยี นร:ู้ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ต. โคกเจรญิ และ สปาโคลนรอ้ นรอยเล่อื นคลองมะรยุ่ อ. ทบั ปดุ จ. พงั งา จดุ ประสงค์การเรียนร้:ู 1) เพ่ือให้ผู้เขา้ อบรมเขา้ ใจกระบวนการสง่ เสริมสขุ ภาพของคนใน ชุมชนและการส่งเสริมคณุ ภาพชีวติ ผู้สูงอายุ 2) เพอื่ ให้ผู้เขา้ อบรมสามารถวางแผนปฏบิ ัตงิ านสง่ เสรมิ สุขภาพของ คนในชมุ ชนและการสง่ เสริมคุณภาพชวี ิตผู้สูงอายุ กจิ กรรมการเรียนรู้: การปลูกผกั ปลอดสารพิษในครัวเรือน การจัดท�ำ 312 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

ปน่ิ โตสขุ ภาพตามฤดกู าล การสง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ และการสง่ เสริมคุณภาพคนในชุมชน 3) หลักสตู รการจัดการทนุ ชมุ ชนและสวสั ดกิ ารชมุ ชนเพื่อความยั่งยืน พ้นื ทตี่ น้ แบบการเรยี นร:ู้ สถาบนั การเงินชมุ ชนบ้านรมณยี ์ และ บอ่ นำ้� พรุ ้อนบา้ นรมณยี ์ ต. รมณยี ์ อ. กะปง จ. พงั งา จุดประสงคก์ ารเรียนร:ู้ 1) เพือ่ ใหผ้ ูเ้ ขา้ อบรมเข้าใจกระบวนการจดั การทนุ ชุมชนและสวัสดกิ าร ชุมชน 2) เพอ่ื ให้ผ้เู ข้าอบรมสามารถวางแผนปฏิบตั ิงานการจัดการทุนชมุ ชน และสวสั ดกิ ารชุมชน กิจกรรมการเรยี นร:ู้ การรวมกลุม่ สมาชกิ เครือข่ายการจัดการทุนใน ชมุ ชน การสรา้ งสวสั ดกิ ารในชมุ ชน การบรหิ ารจดั การเงนิ ในชมุ ชน และ การสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ และหารายได้จากทุนในชมุ ชน 4) หลกั สตู รการรับมือภยั พิบัตแิ ละความปลอดภยั ในชมุ ชน พ้ืนท่ีตน้ แบบการเรยี นร:ู้ ต. บา้ นนำ้� เค็ม อ. ตะก่ัวปา่ จ. พงั งา จุดประสงค์การเรยี นร:ู้ 1) เพอ่ื ให้ผเู้ ข้าอบรมเขา้ ใจกระบวนการรับมือภัยพิบัติและแนวทาง สร้างความปลอดภยั ในชมุ ชน 2) เพอ่ื ใหผ้ ู้เขา้ อบรมสามารถวางแผนปฏิบัติงานการรับมือภัยพบิ ัตแิ ละ สร้างความปลอดภยั ในชมุ ชน กิจกรรมการเรยี นร:ู้ บทเรียนจากสึนามิ การจัดการภัยพบิ ตั แิ ละความ ปลอดภยั ในชมุ ชน การพัฒนาอาสาสมัคร ภาวะผู้น�ำและการท�ำงาน เปน็ ทมี 5) หลกั สูตรการจดั การขยะเพื่อสร้างระบบเกษตรอนิ ทรยี ์ พ้ืนทีต่ ้นแบบการเรียนร:ู้ ต. เกาะยาวนอ้ ย อ. เกาะยาว จ. พังงา ส่พู งั งาแห่งความสุข: เพราะจุดหมายไปถึงได้หลายเส้นทาง 313

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้:ู 1) เพื่อให้ผเู้ ข้าอบรมเข้าใจกระบวนการจดั การขยะเพ่ือสร้างระบบ เกษตรอินทรีย์ 2) เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มอบรมสามารถวางแผนปฏบิ ตั งิ านการจดั การขยะเพอื่ สรา้ งระบบเกษตรอินทรีย์ กจิ กรรมการเรยี นร:ู้ การแยกขยะในครวั เรอื น การบ�ำบดั ขยะเพอ่ื น�ำมา ใช้ใหม่ การผลิตปุ๋ยอนิ ทรยี จ์ ากขยะ และการท�ำเกษตรอนิ ทรีย์ ความอึดอดั ใจของอาสาสมัครภาคธรุ กิจกบั จุดยนื ภาคประชาสงั คม ทอม: ผมคิดว่าเราตัง้ ค่าตอบแทนวทิ ยากรต�ำ่ เกนิ ไป อย่างพีไ่ มตรมี ี ประสบการณท์ �ำงานสงู แตก่ ลบั ไดร้ บั คา่ ตอบแทนหลกั รอ้ ยหกั ลบคา่ เดนิ ทางไปบรรยายก็แทบไม่เหลืออะไร พ่ไี มตรี: มนั กใ็ ชน่ ะ แตถ่ ้าชมุ ชนอืน่ เขาได้ประโยชน์จากเรา ชว่ ยเหลอื กนั ไดบ้ า้ ง ก็ยังโอเคอยู่ ทอม: แต่ถึงยงั ไงประสบการณ์ของพกี่ น็ า่ จะตอ้ งตงั้ มลู ค่าให้มากกวา่ ทเ่ี ป็นอยู่ และควรคิดในเรตทแ่ี ตกตา่ งจากคนอื่น พีไ่ มตรี: ไม่นะ เราท�ำแบบนั้นไมไ่ ด้ ถ้าคดิ แบบน้ันทมี แตกทันที เราท�ำอะไรเราก็ ท�ำดว้ ยกันจะมารับผลประโยชน์ตอบแทนมากกว่าทีมงานคนอื่นไม่ได้ เขาจะคดิ อย่างไรถ้าเรามีสทิ ธิพิเศษ แลว้ เราจะรไู้ ด้ยังไงวา่ เขามี ประสบการณ์หรือภมู ริ ู้นอ้ ยกว่าเรา การคดิ แยกแบบนัน้ มนั จะยงิ่ สร้าง ความไม่เปน็ หนงึ่ เดยี วกันขององคก์ ร ทอม: เปน็ แบบนั้นก็ไดค้ รับ แต่ถึงยงั ไงเปา้ หมายสถาบนั พัฒนาการเรยี นรู้ฯ อย่างหนง่ึ คือสรา้ งรายไดใ้ หอ้ งคก์ ร ยงั ไงกค็ วรบวกอัตราคา่ ใชจ้ า่ ยภาพ รวมให้สงู ข้นึ อยา่ งน้อย 25 เปอรเ์ ซนต์ ไม่อยา่ งง้ันที่ท�ำมากส็ ญู เปล่า 314 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสังคม

ไม่ได้อะไรเลย พ่ีไมตร:ี แบบนน้ั กไ็ ดค้ รบั แตท่ กุ คนในทมี ตอ้ งไดร้ บั คา่ ตอบแทนในระดบั เดยี วกนั นะ ทอม: โอเคครบั (บทสนทนาบางสว่ นขณะออกแบบหลกั สตู รการทอ่ งเทย่ี วเพอ่ื การเรยี นรู้ ยรุ นนั ท์ ย้ิมสาระ และ ไมตรี จงไกรจักร์, 3 กมุ ภาพันธ์ 2561) ขั้นตอนส�ำคัญประการหนึ่งของการพัฒนาโปรแกรมการท่องเท่ียวของ สถาบันพัฒนาการเรียนรู้ฯ คือการก�ำหนดค่าใช้จ่ายกิจกรรมท่ีเกิดขึ้นในแต่ละ หลักสูตร มันอาจไม่ใช่เร่ืองใหม่ส�ำหรับทีมงานสภาพลเมืองฯ ที่มีคนมากหน้า หลายตามาศกึ ษาดงู านแลว้ พวกเขาก็คิดคา่ ตอบแทนบา้ งเปน็ คร้งั คราว เพยี งแต่ ตลอดเวลาผา่ นมาไมเ่ คยมกี ารตงั้ ราคาโดยน�ำเอาชว่ั โมงการท�ำงาน (man-hour) มาพิจารณาความคมุ้ ค่าสูงสุดเลย การเขา้ รว่ มประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหวั ขอ้ การคดิ และวางแผนการเงนิ แบบ ผู้ประกอบการสังคมเนอ้ื หาหลักของเวทีพฒั นาศักยภาพฯ ครั้งท่ี 2 ทีช่ กั ชวนคน ท�ำงานภาคประชาสังคมมาค�ำนวณต้นทุนในการสร้างผลกระทบทางสังคมต่อ หนว่ ย (impact unit cost) โดยเร่มิ จากการค�ำนวณคา่ บริหารจดั การรวมท้ังค่า ตอบแทนคนท�ำงานเพอื่ สะทอ้ นตน้ ทนุ จรงิ กอ่ ใหเ้ กดิ การแสดงความคดิ เหน็ ทน่ี า่ สนใจระหวา่ งวธิ คี ดิ เรอ่ื ง “คณุ คา่ และมลู คา่ ” ขนึ้ มา ทมี โตะ๊ พงั งาเขา้ ใจเปน็ อยา่ งดี วา่ การแสดงขอ้ มลู ออกมาไดอ้ ยา่ งชดั เจนเรอื่ งความคมุ้ คา่ ทเี่ กดิ ขนึ้ จากการลงทนุ ลงแรงท�ำงาน เวลาท่ีใช้ไป ค่าตอบแทนที่ได้รับ และผลกระทบทางสังคมท่ีเกิด ขน้ึ ชว่ ยใหอ้ งคก์ รมองเหน็ จดุ ออ่ นการบรหิ ารจดั การดา้ นการเงนิ เฉพาะอยา่ งยงิ่ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรายไดต้ ำ่� เตยี้ เรย่ี ดนิ เมอื่ น�ำมาเทยี บกบั ภาระงานและเวลาท่ี ถูกใช้ไป แตส่ �ำหรับการท�ำงานเพื่อสงั คมของสมาชกิ สภาพลเมืองฯ ความคมุ้ คา่ อาจมิได้ผูกติดกับราคาค่าแรงเพียงอย่างเดียวแต่มิติเร่ืองคุณค่าซึ่งปรากฏผ่าน สพู่ ังงาแหง่ ความสุข: เพราะจุดหมายไปถึงได้หลายเส้นทาง 315

คณุ ภาพชวี ติ ดา้ นกายและใจทอี่ ยดู่ มี สี ขุ ยงิ่ ขนึ้ ของชาวบา้ นตา่ งหากคอื สง่ิ คาดหวงั และองค์ประกอบส่วนนย้ี งั มิได้ถกู น�ำมารวมอย่ใู นวธิ กี ารคดิ impact unit cost แตอ่ ย่างใด บทสนทนาระหว่างทอมและพ่ีไมตรีข้างต้นถือเป็นการต่อรองหาจุด สมดลุ ระหวา่ งมลู คา่ กบั คณุ คา่ ไดอ้ ยา่ งนา่ สนใจ ผเู้ ขยี นมองวา่ ใจความหลกั ของบท สนทนาสะท้อนให้เห็นจุดร่วมระหว่างผู้ประกอบการสังคมกับภาคประชาสังคม คือ “การมีใจท�ำงานเพ่ือส่วนรวม” แม้มีกระบวนทัศน์การท�ำงานต่างแต่ก็ยัง สามารถรวมใจเป็นหน่ึงเดียวเพราะเกิดการเรียนรู้หลักคิดของกันและกันเมื่อ เวลาผา่ นลว่ งเลยไป ในมมุ มองของผเู้ ขยี นทอมเขา้ ใจมติ เิ รอื่ งคณุ คา่ ของการท�ำงาน เพอื่ สงั คมเปน็ ทนุ เดมิ อยแู่ ลว้ ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการทเี่ ขาสมคั รใจเขา้ รว่ มท�ำงานครง้ั นโี้ ดยไม่ตอ้ งมีใครบงั คับ แต่การได้ลงพื้นท่ีสมั ผสั วิถีชีวิตท่แี ตกต่าง ได้เรยี นรู้ตวั ตนคนท�ำงานภาคประชาสงั คมอยา่ งจรงิ จงั ท�ำใหเ้ กดิ การตงั้ ค�ำถามดว้ ยความไม่ เขา้ ใจปนหงดุ หงดิ ใจวา่ ท�ำไมคนท�ำงานภาคประชาสงั คมจงึ ตอ้ งเสยี สละความสขุ สว่ นตวั หลายอยา่ ง บางคนตอ้ งหงุ หาอาหารใสก่ ลอ่ งจากบา้ น ออกเงนิ สว่ นตวั จา่ ย คา่ รถคา่ เรอื มานงั่ ท�ำงานเพอื่ สว่ นรวม มนั จ�ำเปน็ ดว้ ยหรอื ทต่ี อ้ งเสยี สละขนาดนน้ั ทั้งท่ียังมีหนทางอ่ืนช่วยให้พวกเขาสามารถท�ำงานโดยไม่ต้องเบียดเบียนตนเอง และครอบครวั สมดลุ ระหวา่ งความพรอ้ มสว่ นตวั กบั การท�ำงานเพอื่ สว่ นรวมควร เปน็ อยา่ งไร ค�ำถามเหลา่ นไี้ มใ่ ชเ่ รอ่ื งราวใหญโ่ ตทตี่ อ้ งหาค�ำตอบส�ำหรบั เขาอกี ตอ่ ไปเมอื่ ไดส้ มั ผสั มติ คิ ณุ คา่ ทผี่ นู้ �ำชมุ ชนแสดงใหเ้ หน็ วา่ ความพรอ้ มยนื่ มอื ใหค้ วาม ชว่ ยเหลอื แบง่ ปนั สง่ิ ดีๆ แก่ผู้อ่ืนอาจไม่ใช่แคค่ วามพรอ้ มดา้ นหน้าที่การงานหรอื การเงนิ แตเ่ ปน็ ความพรอ้ มทจี่ ะบอกกบั ตวั เองวา่ ความสขุ ของปจั เจกไมอ่ าจแยก ออกจากความสุขของสว่ นรวมได้ ซงึ่ สะทอ้ นผา่ นการกระท�ำและค�ำพูดของผ้นู �ำ แต่ละคนที่มกั กล่าวตรงกนั เสมอว่า “ไมต่ ้องการทิง้ ใครไวข้ ้างหลงั ” 316 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

“ถา้ เรารอทกุ คนพรอ้ มแลว้ จงึ ลกุ ขนึ้ มาทำ� งานเพอ่ื สงั คมเมอ่ื ไหร่ เราถงึ จะลงมอื ทำ� ละ่ พอทำ� แลว้ กห็ ยดุ ไมไ่ ด้ เพราะถา้ หยดุ เรอ่ื งดๆี ที่สร้างขึ้นก็อาจจะล่มสลายตามไปดว้ ย งานแบบนถ้ี งึ จะเหน่อื ย แตก่ ม็ คี วามสขุ ” (วนิดา ชสู วุ รรณ. สัมภาษณ์, 15 ธันวาคม 2560) ยกระดบั คนท�ำงาน ตลอดเสน้ ทางการกอ่ ตง้ั สถาบันพัฒนาการเรยี นรฯู้ ความพยายามผลัก ดันคนในชุมชนให้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมสร้างสรรค์หลักสูตรคือกุศโลบาย เตรยี มคนท�ำงานทพี่ ไ่ี มตรี พน่ี อ้ ย พจี่ ้ี ใหค้ วามส�ำคญั อยา่ งยง่ิ เนอื่ งจากเลง็ เหน็ วา่ จะชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจกลไกการท�ำงานทง้ั ระบบควบคกู่ บั ไดร้ บั องคค์ วามรพู้ รอ้ มสานตอ่ กลยทุ ธก์ ารบรหิ ารองคก์ รอยา่ งยง่ั ยนื ตอ่ ไปไดด้ ว้ ยตวั เอง กระทงั่ เคา้ โครงกระบวน วิธีจัดกิจกรรมศึกษาดูงานชัดเจนขึ้นก็เป็นช่วงเวลาการยกระดับศักยภาพการ ประชาสมั พนั ธ์หลกั สตู รการเรียนรู้ โดยโครงการผนู้ �ำฯ กบั ทีม “คิด คน้ ควา้ ” ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรมอบรมการใช้สื่อแก่สมาชิกสภาพลเมืองฯ ในวันที่ 26-28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมภงู า วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั อบรมคอื พฒั นาทกั ษะผเู้ ขา้ รว่ มใหส้ ามารถดงึ จดุ เด่นของพื้นทตี่ วั เองออกมาน�ำเสนอได้อยา่ งนา่ สนใจ โดยเฉพาะประเด็นเกย่ี ว กับแหล่งเรียนรู้และสถานท่ีท่องเท่ียวทางธรรมชาติของจังหวัดพังงาเพื่อดึงดูด กลมุ่ เปา้ หมายทง้ั หนว่ ยงานภาครฐั และภาคเอกชนหรอื บคุ คลทว่ั ไปผสู้ นใจเขา้ มา ศึกษาดูงานในพื้นท่ี กิจกรรมการอบรมคือร่วมแบ่งปันข้อมูลทิศทางการสื่อสาร ของโลกยคุ ปจั จุบัน ทงั้ รปู แบบ วิธกี ารและชอ่ งทางทหี่ ลากหลาย ฝกึ การใช้ชุด ค�ำถาม “5W1H” (What, Who, When, Where, Why, How) เพือ่ รวบรวม วเิ คราะหแ์ ละน�ำเสนอขอ้ มลู ทซี่ บั ซอ้ นใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย รวมทงั้ ฝกึ เทคนคิ การถา่ ยภาพ การใช้โปรแกรมน�ำเสนอภาพผ่านแอพพลิเคช่ัน Snapseed เผยแพร่ลงบนสื่อ สู่พังงาแห่งความสขุ : เพราะจุดหมายไปถงึ ไดห้ ลายเสน้ ทาง 317

สงั คมออนไลนแ์ บบตา่ งๆ เชน่ facebook line หรอื instragram เปน็ ต้น การเป็นวิทยากรมืออาชีพ (train the professional trainers) คือ การจัดอบรมทักษะการเป็นผู้อ�ำนวยการเรียนรู้แก่ผู้น�ำชุมชน เมื่อวันที่ 28-29 เมษายน พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมภงู า ก่อนหนา้ โครงการพัฒนาศกั ยภาพฯ จะสน้ิ สดุ ลงไมน่ านนกั ทอมตอบสนองความตอ้ งการของทมี สภาพลเมอื งฯ ในการสรา้ ง “นักส่ือสารการเรียนรู้ชุมชน” (ambassador community) ผู้เป็นตัวแทน น�ำเสนอเร่ืองราวพร้อมกับสร้างการเรียนรู้วิถีชุมชนผ่านการปฏิบัติจริง ไม่ใช่ มคั คเุ ทศกบ์ อกเลา่ ขอ้ มลู ประวตั ศิ าสตรเ์ หตกุ ารณต์ า่ งๆ แกก่ ลมุ่ นกั ทอ่ งเทยี่ วเพยี ง อยา่ งเดียว ดังท่พี เี่ ล็กแสดงทศั นะไวว้ ่า “วทิ ยากรท่ีท�ำงานในสถาบนั พฒั นาการ เรียนรู้ฯ จะไม่ใช่ไกด์หรือมัคคุเทศก์เพราะเขาคือคนในชุมชนผู้มีความรู้ในเรื่อง ราวนนั้ ๆ ผ่านการลงมอื ทำ� จรงิ เขาคือผถู้ า่ ยทอดองคค์ วามร้จู ากวถิ ชี วี ติ ไม่ใชแ่ ค่ อ่านหรือท่องจ�ำมาบอกต่อ” เป้าหมายของการอบรมครั้งน้ีจึงเป็นการเพ่ิมเติม เทคนิคการน�ำเสนอให้ทรงพลังควบคู่กับการพัฒนาบุคลิกภาพโดยยึดความ เป็นธรรมชาติของตัวบคุ คลเอาไวเ้ ป็นส�ำคญั อาจารย์พากร อัตตนนท์ วิทยากรเร่ิมต้นบทเรียนโดยอธิบายองค์ ประกอบของการสอนซึ่งประกอบด้วย เนื้อหา (content) เทคนิคการสอน (method) และการถ่ายทอด (delivery) ท้ัง 3 สว่ นลว้ นมีความส�ำคญั พอกนั หากขาดส่งิ หน่งึ ส่งิ ใดไปการสอ่ื สารท่ที รงพลังก็ไม่อาจเกิดขน้ึ ได้ ขอ้ คดิ ทีต่ อ้ งพึง ระลกึ ไวค้ ือต้องท�ำให้ “สาระมาพร้อมสีสนั ” ต่อจากน้ันจงึ ลงรายละเอียดเกีย่ ว กบั การเรมิ่ ตน้ สรา้ งบรรยากาศการเรยี นรโู้ ดยการแนะน�ำตวั อยา่ งไรใหผ้ ฟู้ งั สนใจ หลักการใช้โทนเสียงพูด จดั วางมือ สายตา และเดินเพือ่ สรา้ งการมสี ่วนรว่ มของ ผเู้ รยี น ยกตัวอยา่ งเกมทจี่ ะชว่ ยใหผ้ ้เู รียนรู้สึกผอ่ นคลาย มนั่ ใจ รู้จกั กนั มากข้ึน จนพร้อมเปิดใจรับรู้สิ่งใหม่ๆ เนื้อหาส�ำคัญของการอบรมอีกประการคือการ อธิบายรปู แบบความทรงจ�ำของมนุษย์อนั มีท่มี าจากมดั กล้ามเนื้อ อารมณค์ วาม รู้สึก สถานที่ และตัวอักษร ดังนั้นขณะท�ำหน้าท่ีวิทยากรจึงจ�ำเป็นต้องใช้ส่ือท่ี 318 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ช่วยกระตุ้นผัสสะการเรียนรู้ทุกรูปแบบ ก่อนปิดท้ายการอบรมด้วยการให้ผู้เข้า ร่วมทดลองสอนหลักสูตรการท่องเท่ียวเพ่ือการเรียนรู้ของชุมชนตนเองเพื่อรับ ฟงั ค�ำติชมน�ำไปปรบั ปรุงพัฒนาตอ่ ตลอดระยะเวลา 7 เดอื นของการรว่ มมอื กนั ท�ำโครงการพฒั นาศกั ยภาพ การท�ำงานของภาคประชาสงั คม มีการจดั ประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารในพื้นที่ 3 คร้ัง ผู้เขียนพบว่าอุปสรรคอย่างหน่ึงที่คอยฉุดร้ังให้แผนงานก่อตั้งสถาบันพัฒนาการ เรียนรู้ฯ ก้าวไปได้ไม่ปะติดปะต่อเท่าท่ีควรคือการที่ผู้เข้าร่วมอบรมเปลี่ยนกลุ่ม ไปเรื่อยๆ แม้จะมาจากต�ำบลเดียวกันแต่การเข้าร่วมในลักษณะสับเปล่ียนกัน มาตามโควต้าที่น่ังท�ำให้องคค์ วามรทู้ ไ่ี ด้รบั กลับไปไมส่ มบรู ณ์ สาเหตสุ �ำคัญคอื การตอ้ งสละเวลาในชวี ติ เขา้ รว่ มงานกบั โครงการทต่ี นไมร่ จู้ กั คนุ้ เคย หน�ำซำ�้ ยงั ไม่ แน่ใจวา่ จะได้รับประโยชน์อะไรจากการเข้ารว่ มอบรมแตล่ ะครงั้ ปรากฏการณ์ “หรอ๋ มแหรม๋ ” คนมาร่วมน้อยกวา่ เป้าทวี่ างไว้และบางกรณกี ม็ าสายเพราะตอ้ ง ท�ำภารกิจที่บ้านให้เสร็จเรียบร้อยก่อนสะท้อนให้เห็นว่า แผนพัฒนาองค์กรสู่ ความย่ังยืนด้วยแนวคิดการประกอบการสังคมยังจ�ำเป็นต้องใช้เวลาพิสูจน์ตัว เอง โดยตอ้ งแสดงใหเ้ หน็ วา่ กลยทุ ธก์ ระจายรายไดส้ ชู่ มุ ชนและสรา้ งงานใหแ้ กล่ กู หลานอย่างมั่นคงไม่ใช่แค่เพียงภาพฝัน ซึ่งถือเป็นโจทย์ท่ีท้าทายและต้องอาศัย ความตัง้ ใจจรงิ ไม่ล้มเลิกกลางคันเปน็ แรงขับเคลอ่ื น อย่างไรก็ตามผู้เขียนและทอมรู้สึกอบอุ่นใจเสมอเม่ือพบว่ากลุ่มผู้น�ำ ชมุ ชนมากมายหลายท่านพร้อมให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง บอ่ ยครัง้ ทไ่ี ดเ้ หน็ พี่ จี้ต้องยกหูโทรศัพท์โทรตามคนในชุมชน พี่น้อยและพ่ีไมตรีคอยประชาสัมพันธ์ หางบประมาณสนบั สนนุ ให้สมาชิกสภาพลเมอื งฯ มาร่วมกิจกรรมให้จงได้ จาก ผู้น�ำสามคนความไว้เนื้อเชื่อใจเริ่มแผ่ขยายออกไปทีละน้อย ยิ่งนานวันยิ่งค่อยๆ เกดิ แนวร่วมเพิม่ มากขน้ึ ซึ่งถือเป็นสัญญาณการเปลยี่ นแปลงทน่ี ่าสนใจ ส่พู งั งาแหง่ ความสขุ : เพราะจดุ หมายไปถงึ ได้หลายเส้นทาง 319

“สิ่งที่ผมชื่นชมผู้น�ำชุมชนหลายๆ คนคือเขาไม่เคยรู้สึกกลัวสิ่ง ที่แตกต่าง ถึงเราพยายามต้ังโจทย์ท่ียากแต่เขาก็สู้กับเรา ช่วย กนั ป้นั ช่วยกนั ทำ� ถงึ จะเหน่ือยแตเ่ ขากใ็ ห้ความรว่ มมอื กับเรา” (ยรุ นนั ท์ ยมิ้ สาระ. สมั ภาษณ,์ 28 เมษายน 2561) สรุปบทเรียน โครงการถอดบทเรียนกระบวนการยกระดับการพัฒนาศักยภาพและ การเปล่ียนแปลงของพื้นที่เสร็จสิ้นลงไปพร้อมกับการทดลองใช้หลักสูตรการ จัดการขยะเพื่อสร้างระบบเกษตรอินทรีย์ อ.เกาะยาว จ.พังงา ของสถาบัน พัฒนาการเรยี นรฯู้ เป็นครง้ั แรก เมอ่ื วนั ที่ 12-14 พฤษภาคม พ.ศ.2561 มีผูเ้ ข้า รว่ มเรยี นรหู้ ลากหลายสาขาอาชีพไมว่ า่ จะเป็น ข้าราชการ นักวชิ าการ ผู้บริหาร องค์กร อาจารยม์ หาวิทยาลยั สอ่ื มวลชน รวมกนั กว่า 30 ชวี ิต เสียงตอบรบั เป็น ไปในทศิ ทางทีด่ เี มอื่ ผลประเมินจากแบบสอบถามแสดงขอ้ มูลว่า 90.9% เข้าใจ เน้ือหาการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ 81.8% คิดว่าสามารถน�ำประสบการณ์ และองค์ความรู้ไปปรับใช้ท�ำงานในชีวิตประจ�ำวันได้ ข้อควรปรับปรุงคือต้อง ประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือทุกช่องทางให้มากข้ึน ควรมีเครื่องมือสนับสนุนให้นัก ส่ือสารการเรียนรู้ชุมชนสามารถบรรยายได้ทรงพลังมากกว่าท่ีเป็นอยู่ ซึ่งท�ำให้ ทมี งานเกิดความหวงั ก�ำลงั ใจ เห็นจดุ ออ่ นเพอื่ น�ำไปพฒั นาต่อ และนับเปน็ การ สร้างรายได้ด้วยตัวเองเป็นคร้ังแรกของสถาบันพัฒนาการเรียนรู้ฯ ผ่านแนวคิด การประกอบการสังคมอีกด้วย ถึงแม้ว่าจ�ำนวนเงินอาจไม่มากมายแต่ส่งผล กระทบต่อความเชือ่ ม่นั ของคนในชมุ ชนเป็นอยา่ งมาก นบั ตัง้ แตเ่ ร่ิมต้นท�ำงานโครงการพัฒนาศักยภาพเครือขา่ ยฯ ผลสัมฤทธ์ิ ขา้ งตน้ บง่ ชวี้ า่ แนวคดิ การประกอบการสงั คมซงึ่ ถกู น�ำมาใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ออกแบบ กลยุทธ์ก่อตั้งสถาบันพัฒนาการเรียนรู้ฯ ช่วยให้สภาพลเมืองฯ ระบุสถานะ ปัจจุบัน อนาคตขององค์กรในโลกทุนนิยม และจัดล�ำดับความส�ำคัญแผนงาน 320 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ไดช้ ัดเจนจนสามารถก�ำหนดกลไกสรา้ งความยัง่ ยนื ด้วยการบรหิ ารจัดการ “คน เวลา และ การเงิน” องค์ประกอบส�ำคญั ขององคก์ รไดเ้ ปน็ ระบบมากยิง่ ขน้ึ จุด เด่นที่โครงการผู้น�ำฯ และ SoC ช่วยให้ทีมงานหลายฝ่ายท�ำงานร่วมกันอย่าง สะดวกคือความสามารถในการคัดเลือกเนื้อหาท่ีก่อให้เกิดไอเดียทะลุทะลวง วิธีมองประเด็นปัญหาภายใต้กรอบวิธีคิดเดิม ช่วยดึงคนผู้จมจ่อมอยู่กับปัญหา ใหเ้ งยหนา้ ขนึ้ มาสดู อากาศ ยกตวั ลอยขน้ึ เพอ่ื กม้ ลงไปมองเสน้ ทางทต่ี นก�ำลงั เดนิ ในมมุ ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป ขอ้ ส�ำคญั ทสี่ ดุ คอื แมเ้ นอ้ื หาเหลา่ นน้ั จะมคี วามซบั ซอ้ นแต่ วิทยากรก็สามารถอธบิ ายใหเ้ ข้าใจจนน�ำไปใชง้ านไดจ้ ริง ส�ำหรับตัวแทนสภาพลเมืองฯ ผู้สามารถน�ำแนวคิดการประกอบการ สังคมมาพัฒนาเป็นแผนงานการท่องเท่ียวเพื่อการเรียนรู้เป็นผลส�ำเร็จ ผู้เขียน วิเคราะห์ว่าเป็นเพราะความเข้าใจสถานการณ์ปัญหาที่ตนเองก�ำลังเผชิญอยู่ และไม่เคยจ�ำกัดกระบวนวิธีแก้ไขปัญหาเหล่านั้นด้วยเครื่องมือหรือกระบวน ทัศน์ที่ตายตัว ด้วยประสบการณ์ความเจ็บปวดร่วมน�ำมาสู่การปรับเปล่ียน วสิ ยั ทัศน์การท�ำงานแบบ “น�ำรว่ ม” (collective leadership) ช่วยให้สามารถ ก้าวข้ามการแบ่งแยกฝ่ายรวมทั้งวิถีการท�ำงานแบบปฏิปักษ์จนเกิดการเรียน รู้วิธีพัฒนาชุมชนหลากมิติเป็นเวลายาวนานกระท่ังเล็งเห็นว่า ทางออกสู่การ พัฒนาอย่างย่ังยืนจ�ำเป็นต้องมองเห็นความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภาย ใต้โครงสร้างสังคมท่ีมีบรรทัดฐานคอยก�ำหนดระเบียบการอยู่ร่วมกันของผู้คน เพราะมันคงไม่เกิดประโยชน์ใดๆ หากจะมองสถาบันสังคมแต่ละส่วนเป็นคู่ตรง ข้ามขัดขวางเป้าหมายขององค์กรอยู่ตลอดเวลา การลงมือท�ำงานร่วมกับสภา หอการคา้ จงั หวัดพังงา หน่วยงานภาครัฐ หรอื องค์กรเอกชนอ่ืนๆ คอื สิ่งยืนยัน สายตาแห่งโอกาสที่เฝ้ามองความเป็นไปได้ ค้นหาความเช่ียวชาญ เทคโนโลยี หรือกระแสความคิดของโลกท่ีเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา ประกอบกับทักษะ การประนีประนอมเพ่ือปรับประยุกต์ดึงเอาจุดแข็งแต่ละภาคส่วนมาใช้สานต่อ เป้าหมายชุมชนจัดการตนเองไดเ้ ปน็ อย่างดี สู่พังงาแห่งความสุข: เพราะจดุ หมายไปถงึ ไดห้ ลายเสน้ ทาง 321

“แต่ก่อนเรารวมทีมกันไม่ได้เพราะแย่งกันเป็นผู้น�ำ ระยะหลัง พี่ว่าเราท�ำงานกันได้ดีขึ้นเพราะรู้จักถอยมาอยู่ข้างหลังเป็น บางครงั้ การน�ำทด่ี คี อื ตอ้ งรบู้ ทบาทตวั เองไม่ใช่ออกไปยนื อย่ขู า้ ง หน้าตลอดเวลา เราตอ้ งรวู้ ่าใครถนัดเร่ืองอะไรกต็ อ้ งใหเ้ ขาไดท้ �ำ เรื่องนั้น ส่ิงท่ีเราต้องท�ำจริงๆ คือท�ำให้ทุกคนรวมใจเป็นหนึ่ง เดียวท�ำงานเป็นทีมได้ มองเห็นความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างเพ่ือ ใหร้ วู้ า่ เรายนื อยตู่ รงจดุ ไหนแลว้ ตอ้ งทำ� อะไรตอ่ แผนยทุ ธศาสตร์ ทเ่ี กดิ ขน้ึ กเ็ พราะเราทำ� ความเขา้ ใจปญั หาและพยายามหาทางแก้ ร่วมกนั อยา่ งเปน็ ระบบ” (ไมตรี จงไกรจักร.์ สมั ภาษณ,์ 13 พฤษภาคม 2561) เชน่ เดยี วกบั การน�ำแนวคดิ การประกอบการสงั คมมาจดั การปญั หาดา้ น การเงินขององค์กร ทุกขน้ั ตอนการท�ำงานบ่งชว้ี ่าจิตวิญาณภาคประชาสังคมยงั คงเป็นสิง่ ส�ำคัญท่สี ภาพลเมอื งฯ ไมเ่ คยหลงลืม แมก้ ารสรา้ งรายไดค้ ือจดุ ต้ังต้น แต่ปลายทางคือการผ่องถ่ายผลประโยชน์สู่ประชาชนอย่างทั่วถึง หนุนเสริมให้ วงลอ้ ยทุ ธศาสตร์พงั งาแหง่ ความสุข 10 ประการเคลื่อนไปข้างหนา้ ตามปณธิ าน เดิม กล่าวอีกนัยหนึ่งพวกเขาน�ำเอาเครื่องมือบริหารภาคธุรกิจมาจัดวางเป็น ฟันเฟืองหน่ึงของกลไกขับเคล่ือนงานภาคประชาสังคมได้อย่างเหมาะเจาะ และหากสมั ฤทธผิ์ ลดงั หวงั กลวิธกี ารด�ำเนนิ งานลักษณะนอ้ี าจกลายเป็น “พงั งา โมเดล” พร้อมถ่ายทอดสูเ่ พ่ือนรว่ มอุดมการณอ์ กี ต่อหน่งึ ด้วย 322 จดุ นดั พบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

แผนภูมแิ สดงความสัมพันธร์ ะหว่างสถาบันพัฒนาการเรยี นร้ฯู กับกลไกการขับเคลอื่ นยทุ ศาสตร์พังงาแหง่ ความสุข ทีม่ า: ผลการศึกษา สูพ่ งั งาแหง่ ความสุข: เพราะจดุ หมายไปถึงไดห้ ลายเส้นทาง 323

กลไกการท�ำงานโดยส่งอาสาสมัครภาคธุรกิจลงไปตามติดผลติ งานรว่ ม กับคนท�ำงานภาคประชาสังคมมิได้สร้างความเปล่ียนแปลงให้เกิดขึ้นกับชุมชน เทา่ น้นั แต่ตัวอาสาสมคั รเองกไ็ ดร้ บั บทเรียนชวี ิตหลายอย่างเช่นเดยี วกนั ทอม อาจเร่ิมต้นเข้ามาท�ำงานด้วยคาดหวังว่าจะเดินออกจากพื้นที่ปลอดภัยมาเก็บ เกี่ยวประสบการณใ์ หม่ๆ ดบู ้าง แตต่ อนจบโครงการผูเ้ ขยี นเข้าใจวา่ เขาไมไ่ ด้เดิน ออกจากพนื้ ทีป่ ลอดภยั ไปไหน แตจ่ รงิ ๆ แลว้ เขาก�ำลงั ขยายพนื้ ท่ปี ลอดภยั ของ ตนเองออกไปให้กว้างขวาง ด้วยค้นพบว่าจิตส�ำนึกทางสังคมที่มีเมื่อได้ผนวก กบั ทกั ษะทใ่ี ช่ แมก้ ระบวนทศั นต์ า่ งแตอ่ าจน�ำมาซงึ่ ทางออกของปญั หาใหมๆ่ ได้ นอกจากนั้นผู้เขียนยังเช่ือว่าปัจจุบันมีคนรุ่นใหม่อีกมากมายพร้อมเข้ามา ท�ำงานเพอ่ื สังคม เพยี งแคม่ ีช่องทางใหเ้ ขาได้น�ำเอาศกั ยภาพท่ีมีมาผสานเข้ากบั สถานการณป์ ญั หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสมเท่านัน้ เอง หากจดุ หมายปลายทางของภาคประชาสงั คมคอื การสรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ งพลเมอื ง ภาครฐั และภาคธรุ กจิ ในการแกป้ ญั หาสงั คม ขอ้ คน้ พบจากงาน วิจัยชิน้ นีแ้ สดงให้เห็นว่าทักษะการปรับตวั ตามความเปลย่ี นแปลงของโลกคอื สงิ่ จ�ำเป็นอย่างที่สุดเพื่อให้พลังท่ีสามอยู่อย่างยั่งยืนต่อไปได้ไม่รู้จบ แม้การสร้าง มลู คา่ อาจมใิ ชแ่ กน่ แตห่ ากเปน็ เสน้ ทางหนงึ่ ทจี่ ะสามารถสรา้ งคณุ คา่ และด�ำรงจติ วญิ ญาณเสรขี องประชาชนไวไ้ ด้ เสน้ ทางนก้ี จ็ ะเปน็ ทางเลอื กหนง่ึ ทนี่ า่ ลมิ้ ลองกา้ ว เดินต่อไป 324 จดุ นดั พบบนเส้นขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสังคม

เอกสารอ้างอิง ชาย โพธิสติ า และคณะ. (2553). ฝ่าวิกฤตคิ วามเปน็ ธรรมน�ำสังคมสสู่ ุขภาวะ. กรุงเทพฯ: บริษัท ที คิว พี จ�ำกัด. ธนัย เกตวงกต. (2558). บนทางแพร่งแห่งสภาพลเมอื ง/สมัชชาสภาพลเมือง. รฐั สภาสาร. (น.9-28). กรุงเทพฯ: ส�ำนกั พิมพ์ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภา ผู้แทนราษฎร. ฐิตกิ าญจน์ อศั ตรกุล. (2560). บทสังเคราะห.์ ใน กติ ติ คงตุก, ชลดิ า เหลา่ จมุ พล, วาสนา ศรปี รัชญาอนันต์, และ ฐติ กิ าญจน์ อัศตรกลุ (ผ้เู ขียน), ใจคน ชมุ ชน การเปลี่ยนแปลง: บทเรยี นการนำ� รว่ มจากผขู้ บั เคลอ่ื นสังคม. (น. 230-281). นครปฐม: โครงการผู้น�ำแห่งอนาคต คณะวทิ ยาการเรียนรู้ และศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. พมิ ลพรรณ อศิ รภกั ด.ี (มปป.). สนึ ามิ : การตายและบาดแผลจากพื้นที่. สืบคน้ 1 พฤษภาคม 2561 จากhttp://www.ipsr.mahidol.ac.th/IPSR/Annual Conference/ConferenceII/Article/Article06.htm ไมตรี จงไกรจกั ร.์ (2557). บทน�ำ. ใน รฐั ร่วมราษฎร์ ปี 2 เดินหนา้ พฒั นาสูพ่ ังงาแหง่ ความสุข. (น.8). รศรินทร์ เกรย์ และคณะ. (2556). ความสุขของชาวพังงา ภูเกต็ และชาวบ้าน น้ำ� เค็มหลงั สนึ ามิ. กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทรพ์ ร้นิ ตงิ้ แอนด์พบั ลิชชิ่ง จ�ำกดั (มหาชน). วธิ าน นยั นานนท์. (2552). ทนุ ทางสงั คมกบั กระบวนการสืบทอดผ้นู �ำชุมชนเขม้ แขง็ : กรณีศกึ ษาบา้ นจ�ำรุง ต�ำบลเนนิ ฆอ้ อ�ำเภอแกลง จังหวดั ระยอง. วิทยานิพนธ์ พัฒนาชมุ ชนมหาบัณฑิต, มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. สภาองคก์ รชมุ ชน. (2550). 12 ปญั หาสภาองคก์ รชมุ ชน ทนี่ ม่ี คี ำ� ตอบ. สบื คน้ 16 เมษายน 2560 จาก http://cocesan.blogspot.com/ สฤณี อาชวานันทกลุ . (2553).ทนุ นิยมมีชีวิตธรุ กิจมีหวั ใจ.กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์มติชน. สพู่ งั งาแห่งความสขุ : เพราะจดุ หมายไปถึงได้หลายเส้นทาง 325

เสาวภา วิชาด.ี (2554). รูปแบบการเรยี นของผู้เรียนในมมุ มองของทฤษฎีการเรยี นรู้แบบ ประสบการณ.์ สบื ค้น 16 เมษายน 2560 จากhttp://www.bu.ac.th/knowl edgecenter/executive_journal/jan_mar_11/pdf/aw24.pdf อนุชาติ พวงส�ำลี, เนาวรัตน์ พลายน้อย, และกมลพรรณ พนั พ่งึ . (2545). การตอบสนอง ตอ่ สภาวะวิกฤตเิ ศรษฐกจิ ของภาคประชาสงั คมไทย. กรงุ เทพฯ: หจก. วศนิ การ พมิ พ.์ 326 จดุ นัดพบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

327

328 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

บทสังเคราะห์: จุดนัดพบบนเส้นขนาน ผู้คน ชุมชน การประกอบการสังคม ไอยเรศ บญุ ฤทธิ์ 329

บทสังเคราะห์: จุดนัดพบบนเส้นขนาน ผู้คน ชุมชน การประกอบการสังคม ไอยเรศ บญุ ฤทธิ์ เกริน่ น�ำ “ต้นไม้ใหญ่ในป่า หากจะล้ม ต้องล้มให้เสียงดัง ไม่เช่นนั้น ก็จะเป็นเพยี งแค่เสียงกิ่งไมห้ กั ” เสียงค�ำพูดแสนหนักหน่วงของแกนน�ำชาวบ้านคนหน่ึงจากจังหวัด เชยี งราย ลอยล่องเข้า “หู” ของผมจนสัน่ สะเทือนเขา้ ไปในความรูส้ กึ ค�ำพดู ที่ ทรงพลังมักสะกิดให้ผู้เขียนหยุดน่ิงและตระหนักคิดด้วยความสงสัยว่า เหตุใด คนตัวเล็กๆ คนหน่ึงช่างมีค�ำพูดที่ชวนให้เราใหลหลงในปรัชญาชีวิตบางอย่าง ต้นไม้ใหญ่กลางป่าสูงตระหง่านท้าทายแสงแดด ถึงคราวที่จะต้องล้มลงเพื่อคืน สมดุลแก่ธรรมชาติ แต่กระนั้นก็ยังมี “อัตตา” ที่พอจะทนงตัวว่าถึงแม้จะล้ม ก็ขอลม้ อยา่ งมศี กั ดศิ์ รี มิใชเ่ ปน็ เพียงแค่เสียงกิง่ ไม้หกั อยา่ งเปราะบาง ลม้ ไมไ่ ดแ้ ปลวา่ แพ้ แตห่ มายถงึ การเรม่ิ ตน้ ใหมข่ องกฎธรรมชาติ ต้นไม้ใหญ่ท่ีล้มลง จะกลายเป็นปุ๋ยให้แก่พืชพันธุ์ชนิดอื่นๆ ได้ บำ� รงุ เตบิ โตแตกหน่อออกใบตอ่ ไป เปรียบไดก้ บั การท�ำงาน ถ้า จะลงมือลงแรงทำ� แล้ว กต็ ้องทำ� ใหส้ �ำเรจ็ ใหม้ ีชอ่ื เสียง หากลม้ แล้วเสยี งไม่ดงั แม้วา่ จะกลายเปน็ ปุ๋ยอนั อดุ มสมบูรณก์ ็ตาม น่นั จะต่างอะไรกับเสียงก่ิงไม้หกั 330 จดุ นัดพบบนเส้นขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสังคม

ผู้เขียนสนใจภาวะความคิดที่ท้าทายดังกล่าวด้วยการเข้าไปพูดคุย-รับ ฟังจากเจา้ ของประโยค จงึ ไดม้ ิตคิ วามคดิ ทวี่ ่า “ความทนงตัว” ของผู้น�ำตัวเล็กๆ ท�ำให้ผู้เขียนก้าวถอยออกมาและ ฉกุ คดิ ถงึ “ภาวะของผนู้ �ำ” ควรเปน็ อยา่ งไรกนั แน่ ความทนงตวั ถอื เปน็ ภาวะหนง่ึ ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะทม่ี นษุ ยป์ ถุ ชุ นคนหนงึ่ จะแสดงออกมา ซงึ่ นบั เปน็ ความทา้ ทายเชงิ ปฏสิ มั พนั ธอ์ ยา่ งหนง่ึ ทใ่ี ครหลายคนมกั ตคี วามวา่ นคี่ อื สงิ่ ทจี่ ะท�ำใหเ้ กดิ ปญั หาใน อนาคตส�ำหรบั การท�ำงานรว่ มกนั แตใ่ นขณะเดยี วกนั กเ็ ปน็ ปจั จยั หนงึ่ ทขี่ บั เคลอ่ื น การท�ำงานให้ประสบความส�ำเรจ็ อกี ดว้ ย เสยี งสนทนาพาทจี ากกลมุ่ เครอื ขา่ ยภาคประชาชนของจงั หวดั เชยี งราย ทผ่ี เู้ ขยี นไดไ้ ปสมั ผสั รบั ฟงั ครงั้ นน้ั ท�ำใหผ้ เู้ ขยี นตระหนกั คดิ ถงึ การท�ำงานวจิ ยั ของ “โครงการผู้น�ำแห่งอนาคต” ภายใตโ้ ครงการ “การถอดบทเรียนกระบวนการ พฒั นาและสรา้ งความเขม้ แขง็ ของพนื้ ทผ่ี า่ นภาวะการน�ำรว่ ม” วา่ ทศิ ทางการ ท�ำงานจะหาขอ้ สรปุ ในรปู แบบใด การถอดบทเรยี นจากกระบวนการท�ำงานจาก ผู้คนท่ีถอื วา่ เป็น “ปราชญ”์ “ผ้รู ”ู้ หรอื “ผนู้ �ำ” จะเป็นอยา่ งไร เป็นส่ิงท่ีทา้ ทาย ส�ำหรบั กลมุ่ นักวจิ ยั ในโครงการ ฯ การคน้ หา “สมดลุ ” เพอื่ เสนอภาพของผนู้ �ำแหง่ อนาคตจากการด�ำเนนิ งานในรอบ 7 เดอื นดังท่ไี ดร้ ับรผู้ า่ นพ้ืนท่ตี ่างๆ ในบทกอ่ นหนา้ น้ี เป็นเรื่องราว ที่ควรน�ำมาเชื่อมร้อยให้เกิดภาพรวมเพ่ือสร้างตัวอย่างหรือแบบแผนในการขับ เคลอ่ื นการเปล่ยี นแปลงดว้ ยความชดั เจนของของประเดน็ กระน้นั แล้ว นักวิจยั ตอ้ งท�ำความเขา้ ใจอยา่ งลกึ ซง้ึ ถงึ สถานการณห์ รอื เหตกุ ารณท์ ส่ี ง่ ผลตอ่ การพลวตั ของชุมชนหรอื พืน้ ทใี่ ดพ้นื ทหี่ นง่ึ สิง่ ต่างๆ เหลา่ น้ี น�ำไปสู่การพจิ ารณาภาพของ ความส�ำเรจ็ ท่ใี ฝ่ฝันและมคี ณุ ค่าย่ิงต่อชมุ ชนหรอื สังคม เสยี งไมล้ ม้ ยงั กอ้ งกงั วาลในหู เพราะนคี่ อื บทสงั เคราะหท์ ท่ี า้ ทายส�ำหรบั ผม ...หากลม้ แลว้ เสียงไมด่ งั น่ันจะต่างอะไรกับกิง่ ไมห้ ัก... บทสังเคราะห์: จดุ นดั พบบนเส้นขนาน ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม 331

หน้าบ้าน-หลังบา้ น: วา่ ดว้ ยเรือ่ งของคนท�ำงาน ประเด็นเรือ่ งการล่มสลายของความเปน็ ชุมชน เป็นประเด็นร่วมสมัยที่ ถกู กลา่ วถงึ อยา่ งน่าสนใจในการท�ำวิจัยคร้ังน้ี บางพน้ื ท่ีกลายเปน็ ประเดน็ ส�ำคญั ส�ำหรบั การด�ำรงชวี ติ หรอื ความหมายส�ำหรบั การมชี วี ติ อยู่ ขอ้ สงั เกตดงั กลา่ วอาจ ไมต่ า่ งอะไรกบั ความตระหนกและความสนใจในเรอ่ื งของการสญู สน้ิ หรอื สญู พนั ธ์ุ ของพืชและสตั ว์ในโลกตามมุมมองทางสิง่ แวดล้อมหรือชีววิทยา อาจเป็นเพราะ เม่ือสูญส้ินสิ่งหน่ึงก็ย่อมเกี่ยวสัมพันธ์ไปกับการสูญเสียอีกส่ิงหน่ึงหรืออีกหลาย ส่งิ ปรากฏการณท์ ่เี กดิ ขึน้ กระทบความสัมพนั ธซ์ ่ึงกนั และกนั ของสรรพสิ่งดงั ค�ำ กลา่ วท่ีวา่ “เดด็ ดอกไมส้ ะเทือนถงึ ดวงดาว” ตัวอย่างการด�ำรงอยู่ของความเป็นชุมชนซึ่งมีฐานทางภาษาและ วัฒนธรรม เป็นสิง่ ส�ำคัญท่ี “ประทปี อ่อนสลงุ ” หรอื “พ่อมดื ” มักจะหยบิ ยก มากล่าวถึงอย่างมีความหวัง การเกิดขึ้นและการด�ำรงคงอยู่ของชุมชนบนพื้น ฐานของการมีตัวตนของชาวไทยเบิ้งนับเป็นขุมพลังมหาศาลท่ีส่งผลต่อพละ ก�ำลังในการต่อสู้กับการเปล่ียนแปลงในพื้นท่ีโคกสลุง ภาพความหวังชัดขึ้นที ละนิดด้วยแนวทางการท�ำงานทม่ี เี ป้าหมาย คือ “การสร้างหนทางกลับบา้ นให้ แก่ลูกหลาน” ดังนั้น ภาพสะท้อนจากเป้าหมายของพ่อมืดชี้ให้เห็นเร่ืองราวท่ี เกิดอยู่เบื้องหลังของการท�ำงานชุมชนเพ่ือชุมชน การใช้ฐานความคิดด้วยการ ด�ำเนินงานทางวัฒนธรรมให้ส�ำเร็จลุล่วงตามเป้าประสงค์น้ัน พ่อมืดช้ีให้เห็นว่า กระบวนการท�ำความเข้าใจความหมายหรือความจริงท่ีเกิดขึ้นในชุมชน ล้วนได้ มาจากการเรียนรู้วิธีคิด วิธีการและการลงมือท�ำอย่างจริงจังจึงสามารถเข้าใจ ถงึ โครงสรา้ งและบทบาทหนา้ ทที่ เ่ี กดิ ขน้ึ ในชมุ ชนจนสามารถน�ำมาปรบั ใชใ้ นการ สร้างการมีส่วนร่วมจนประสบความส�ำเรจ็ ในระดับหนึง่ โครงการผู้น�ำแห่งอนาคต ภายใต้โครงการ “การถอดบทเรียน กระบวนการพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งของพ้ืนท่ีผ่านภาวะการน�ำร่วม” 332 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

เป็นการท�ำงานร่วมกับ ผู้น�ำเครือข่ายนักขับเคล่ือนสังคม 4 พ้ืนที่ ได้แก่ นุชนารถ บุญคง หรอื ครูน�ำ้ จากพ้นื ทจ่ี งั หวดั เชยี งราย วรรณา จารุสมบรู ณ์ หรอื พส่ี ุย้ จากพ้นื ที่ขอนแก่น ประทีป อ่อนสลงุ หรอื พอ่ มดื จากพน้ื ทีโ่ คกสลุง และ คณุ ไมตรี จงไกรจกั ร หรอื พไ่ี มตรี จากพนื้ ทพี่ งั งา การท�ำงานของผนู้ �ำพน้ื ที่ ทงั้ 4 นี้มิได้กระท�ำและเตบิ โตอย่างโดดเดียว แต่มคี วามรว่ มมอื จากเครอื ข่ายที่มี ความสมั พนั ธส์ ว่ นตวั กระทงั่ ถงึ ความสมั พนั ธร์ ะดบั องคก์ ร ความสมั พนั ธด์ งั กลา่ ว เปรียบเสมอื น “ขุมพลงั ” บางอย่างท่สี ่งต่อความฝันให้เกิดขนึ้ จริง “คน พน้ื ท่ี ตน้ ทนุ และขมุ พลงั : ปจั เจก ปจั จยั ปจั จบุ นั ” เปน็ ส่วน หนงึ่ ของการท�ำความเขา้ ใจพ้ืนฐานวธิ คี ดิ ในระดบั บุคคล การท�ำงานของนกั วิจยั ได้ “ขุดและค้น” เบอ้ื งหลงั อนั เปน็ อดตี ซง่ึ อธิบายถึงความเป็นตวั ตนในปจั จบุ ัน และ เบอ้ื งลกึ ทต่ี อ้ งคน้ ไปถงึ ระดบั จติ ใจซงึ่ เปน็ ขมุ พลงั อนั ทรงคณุ คา่ ทอี่ าจปรากฏ ออกมาบนใบหนา้ และรอยยม้ิ ในยามท�ำงาน และเบอื้ งหนา้ ทตี่ อ้ งเผชญิ ในปจั จบุ นั บางเรอ่ื งราวอาจบน่ั ทอนจติ ใจแตบ่ างเรอื่ งราวกก็ ลบั เสรมิ แรงทางบวก ซงึ่ เกดิ การ หมุนวนของขมุ พลงั ท่ีเลือ่ นไหลเสรมิ แรงซ่ึงกนั และกัน มูลนธิ บิ ้านครูน้�ำ: เชียงราย “ครนู ำ้� ” หญงิ สาวผมู้ คี วามมนั่ ใจในตวั เอง มคี วามเชอื่ มน่ั ทางจติ วิญญาณเปน็ พนื้ ฐานของการนำ� ทางในการท�ำงาน การตดั สนิ ใจ ในบางส่ิงบางอย่างมักอยู่บนพื้นฐานของความรู้สึกที่สัมผัสได้ถึง พลังของความดที ่ีถือม่ัน “ครูนำ้� ” เติบโตมาในสงั คมการท�ำงาน ศลิ ปะ แตเ่ มอ่ื ถงึ จดุ หนงึ่ ของชวี ติ “ครนู ำ้� ” ตดั สนิ ใจออกมาเผชญิ โลกกวา้ งบคุ ลกิ ภาพทโี่ ลดโผนโจนทะยาน รปู ลกั ษณภ์ ายนอกเปน็ สาวเปรี้ยวเข็ดฟันขับเน้นให้เห็นภาพของผู้หญิงแกร่งท่ามกลาง ความขดั แยง้ ระหวา่ งรัฐได้อยา่ งชดั เจน บทสงั เคราะห:์ จดุ นัดพบบนเส้นขนาน ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสังคม 333

“อดึ ทน ควาย อารต์ ” เปน็ ค�ำทสี่ ะทอ้ นถงึ ผหู้ ญงิ หวั ใจศลิ ปะคนนซ้ี งึ่ เปน็ ค�ำทเี่ ธอนยิ ามบคุ คลกิ ภาพดว้ ยตวั เองเมอื่ ตอ้ งมาชว่ ยกนั ระดมหาตน้ ทนุ ทก่ี ลมุ่ ใน เวทีอบรมการสรา้ งกลยุทธเ์ พื่อการขบั เคล่ือนสังคม (strategy for change) นชุ นารถ บุญคง (ครนู �้ำ) ปจั จบุ ันอายุ 50 ปี แต่บุคลิกและรูปแบบการ ด�ำเนนิ ชวี ติ ประจ�ำวนั เหมอื นคนอายุ 30 ปลายๆ เทา่ นนั้ ดว้ ยทรงผมทยี่ อ้ มสเี ขยี ว วาจาหา้ วหาญ ไมเ่ กรงกลวั อนั ตรายใดๆ บคุ ลกิ อนั นา่ เกรงขาม ซง่ึ สง่ ผลตอ่ การปกปอ้ ง เดก็ ๆ ท่ีเธอดแู ล หากแต่ภายในกลบั แฝงดว้ ยความอ่อนโยนซึ่งสะท้อนผา่ นแวว ตาทค่ี ลอดว้ ยนำ้� ตาครงั้ เมอ่ื เธอเลา่ เรอ่ื งเกยี่ วกบั ชวี ติ อนั นา่ หดหขู่ องเดก็ ทตี่ กเปน็ เหยอ่ื ของความรุนแรงจากสังคม จดุ เรม่ิ ตน้ และอดุ มการณข์ องการท�ำงานเกดิ ขน้ึ เมอ่ื ไดเ้ ขา้ รว่ มเหตกุ ารณ์ พฤษภาทมฬิ เพอ่ื นของเธอไดห้ ยบิ ยมื เงินเธอเพื่อใช้เปน็ ทนุ ทรพั ย์ในการท�ำงาน ศลิ ปะ ปา้ ยประกาศตา่ งๆ ในกลมุ่ ผปู้ ระชมุ ทางการเมอื งครงั้ นน้ั เธอจงึ ตดั สนิ ใจไป หาเพอื่ นเพอ่ื น�ำเงนิ ไปให้ และในชว่ งเวลานน้ั เองทเี่ ธอไดต้ ดิ รา่ งแหถกู จบั ไปทคี่ า่ ย ทหารพรอ้ มนกั ขบั เคลอ่ื นสงั คมคนอนื่ ๆ ซงึ่ ท�ำใหเ้ ธอไดฟ้ งั เรอ่ื งราว ประสบการณ์ การตอ่ สเู้ พอื่ สงั คม และแรงบนั ดาลใจตา่ งๆ จากคนกลมุ่ น้ี หลงั จากเหตกุ ารณค์ รง้ั น้ัน เธอไดร้ ู้จักเพ่อื นใหมท่ ี่ชวนท�ำงานด้านศิลปะบ�ำบัด ซง่ึ เธอมีทักษะทางดา้ น ศิลปะอยู่แล้วเป็นทุนเดิม จึงตกลงร่วมท�ำด้วยและเริ่มต้นเขียนโครงการเพ่ือขอ ทนุ โดยโครงการแรกของพวกเธอคอื ศลิ ปะบ�ำบดั ในกลมุ่ ผสู้ งู อายุ และจากงาน ชิ้นนี้เป็นจุดเปล่ียนด้านมุมมองท่ีมีต่อศิลปะของเธอ ซ่ึงเปรียบดัง “แสงเทียน” จุดประกายในหวั ใจของคนท่ีก�ำลังหมดแรงและความหวงั ใหไ้ ดล้ ุกขน้ึ มาใชช้ ีวิต อย่างมีชวี ิตอกี ครง้ั เมอ่ื เรม่ิ มองเหน็ ถงึ คณุ คา่ และประโยชนข์ องงานศลิ ปะมากขนึ้ เธอจงึ ได้ เรมิ่ ท�ำงานศลิ ปะบ�ำบดั ตอ่ โดยเขา้ ไปท�ำงานรว่ มกบั กลมุ่ ครขู า้ งถนน ซงึ่ เปน็ กลมุ่ ท่ี ท�ำงานชว่ ยเหลอื เดก็ เรร่ อ่ น ทวา่ ในช่วงเวลานนั้ หรอื กวา่ 20 ปีที่ผ่านมา แนวคิด ดา้ นศลิ ปะบ�ำบดั อาจยงั ไมแ่ พรห่ ลายในบรบิ ทของภาคประชาสงั คมทท่ี �ำงานดา้ น 334 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

เดก็ มากนัก จึงมขี ้อค�ำถามตา่ งๆ เกิดขนึ้ ว่าศิลปะมันจะชว่ ยเหลอื หรอื แกป้ ัญหา สงั คมได้อยา่ งไร หรือจะชว้ี ดั ไดอ้ ย่างไรว่าแก้ปัญหาได้จรงิ ค�ำถามเหล่านี้เปรียบ เสมอื นตวั กระตนุ้ ใหอ้ ยากยนื ยนั ความเชอื่ ของตนเองมากขน้ึ วา่ ศลิ ปะมนั สามารถ ช่วยเยียวยาจิตใจมนุษย์ได้ ความคิดดังกล่าวน�ำไปสู่การตัดสินใจออกจากงาน ประจ�ำในขณะนั้นซ่งึ เป็นแหล่งรายไดห้ ลกั ท่ใี ช้หลอ่ เล้ียงชวี ิต ภายหลังจากทใี่ ช้ ศิลปะในการท�ำงานช่วยเหลือเด็กเร่ร่อนต่างๆ ร่วมกับการลงพื้นท่ีของกลุ่มครู ขา้ งถนน เธอสามารถพาเด็กคนแรกกลบั บา้ นไดจ้ ากรปู ภาพท่เี ธอใหเ้ ขาวาด ใน ขณะทก่ี ลมุ่ ครขู ้างถนนเดิมท�ำงานกับเดก็ คนนม้ี าเกือบ 3 ปี พวกเขาแทบไมเ่ คย รู้เลยว่าเด็กคนนีม้ าจากไหน เนื่องจากเดก็ ไม่เปดิ ใจที่จะพูด การคลุกคลีอยู่กับเด็กเร่ร่อนท่ีประสบปัญหาท่ีนั่น ท�ำให้พบว่าต้นตอ ของปญั หาเหลา่ นมี้ าจากจงั หวดั เชยี งรายทมี่ พี นื้ ทต่ี ดิ ชายแดนถงึ 3 ประเทศดว้ ย กัน คือ ไทย ลาว และเมยี นมา เธอจึงตัดสินใจเดินทางมาท่จี งั หวดั เชยี งรายเพอื่ จดั การกบั รากของปญั หาและเปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของศนู ยด์ รอ็ ปอนิ (drop in) และน�ำ ไปสกู่ ารเปดิ มลู นธิ บิ า้ นครนู ำ�้ ในอ�ำเภอเชยี งแสนซงึ่ เปน็ สถานสงเคราะหแ์ บบอยู่ อาศยั ถาวร ขอนแกน่ นวิ สปิรติ : ขอนแกน่ “พ่สี ุ้ย” หญงิ สาวผมสีดอกเลา ผูม้ หี นา้ ตาย้ิมแยม้ แจ่มใส สายตา เธอมุ่งมั่นในการท�ำงาน ผมสัมผสั ถึงความออ่ นโยนท่เี ธอมใี ห้แก่ ผู้ร่วมงานได้ด้วยค�ำส้ันๆ ที่มักเปล่งออกมา “ก็ดีนะ” “พ่ีก็ว่า อย่างนน้ั หละ่ ” แมว้ ่า “ขอนแกน่ ” จะไมใ่ ช่ “บา้ นเกิด” ของพสี่ ยุ้ แตก่ ็ นบั วา่ เปน็ “เมอื งนอน” ทอ่ี า้ แขนรบั เธอไวอ้ ยา่ งอบอนุ่ “ขอนแกน่ นวิ สปรติ ” เปน็ ภาพฝนั อนั สวยงามทร่ี อความสมบรู ณข์ ององคก์ ร NGOs พส่ี ยุ้ ทมุ่ เทแรงกายใจใหเ้ กดิ ขึ้นไดด้ ว้ ยพลังขบั เคลอื่ นจาก เครือขา่ ยภาคประชาชนในจงั หวัดขอนแกน่ บทสังเคราะห:์ จุดนดั พบบนเส้นขนาน ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสังคม 335

ในแวดวง NGOs มกี ารกลา่ วถงึ “พส่ี ยุ้ ” วา่ เปน็ คนท�ำงานเกง่ จรงิ จงั และ ท�ำงานแบบมืออาชีพ ให้ความส�ำคัญกับความมุ่งม่ันท�ำตามเป้าหมายให้ส�ำเร็จ เธอนยิ ามวธิ กี ารและแนวทางการท�ำงานของเธอวา่ เปน็ “กระทงิ ” ซง่ึ เปน็ เครอ่ื ง มอื หนง่ึ ในการจ�ำแนกบคุ คลกิ ภาพของมนษุ ย์ กระทงิ เปน็ ลกั ษณะกลมุ่ คนจรงิ จงั เสยี งดงั โผงผาง ใจรอ้ น ตรงไปตรงมาซงึ่ คอ่ นขา้ งแตกตา่ งไปจากบคุ ลกิ ภายนอก ของพสี่ ยุ้ ทค่ี นสว่ นใหญร่ จู้ กั อาจเพราะพสี่ ยุ้ พดู จาดว้ ยเสยี งออ่ นหวานดว้ ยค�ำศพั ท์ แบบจติ ปญั ญาศกึ ษา รวมถงึ เปน็ คนทที่ �ำงานกระบวนการเรยี นรดู้ า้ นจติ วญิ ญาณ มานานและปฏบิ ตั ิธรรมอยูเ่ ป็นนจิ ผูว้ ิจยั พบว่า ความล�ำบากในวัยเดก็ ของพ่ีสุ้ย เปน็ พนื้ ฐานความคิดและความเช่ือในการท�ำงานภาคสังคม “ถา้ เราสามารถชว่ ยเหลอื พง่ึ พาอาศยั กนั หรอื วา่ อะไรกนั คอื ดแู ล กันมันจะเป็นพื้นท่ีท่ีเราจะได้มีเพ่ือนเกิดมิตรภาพ มิตรภาพมัน ตอ้ งสรา้ ง.. ” ความผดิ หวงั ครงั้ หนงึ่ ในชวี ติ เมอ่ื เธอไมส่ ามารถสอบเขา้ มหาวทิ ยาลยั แต่ กย็ งั ไดโ้ อกาสอกี ครง้ั จากมหาวทิ ยาลยั ใหเ้ ขา้ เรยี นซง่ึ เปน็ จดุ เปลยี่ นส�ำคญั ทที่ �ำให้ เกดิ ส�ำนกึ ของการท�ำงานเพอื่ สงั คมดว้ ยแรงบนั ดาลใจจากสมเดจ็ พระราชบดิ า คอื การชว่ ยเหลอื เพอื่ นมนษุ ยเ์ ปน็ กจิ ทห่ี นงึ่ เกดิ อดุ มการณใ์ นชวี ติ เพอ่ื ประชาชนและ สงั คม 336 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผูค้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

วฒั นธรรมไทยเบงิ้ โคกสลงุ : ลพบรุ ี “พ่อมืด” ชายร่างเล็ก ผู้มีหญิงนาม “พี่มุ่ย” คอยขนาบเคียง ขา้ งอยู่ทกุ เวลา ภาพของการทำ� งานแบบ “ครอบครวั ” สะท้อน การทำ� งานอยา่ งมคี วามสขุ ความสขุ ทล่ี น้ เหลอื ไดเ้ ผอื่ แผส่ ชู่ มุ ชน โคกสลงุ โดยมเี พอ่ื นรว่ มชวี ติ ในชมุ ชนอกี หลายคนคอยชว่ ยเหลอื และให้ก�ำลังใจ พ่อมืดมิได้คิดและท�ำงานอย่างโดดเด่ียว แต่มี พนั ธมติ รทางวชิ าการไหลเวยี นไปมาจนกลายเปน็ มติ รรว่ มทางใน การสรา้ งสรรคช์ มุ ชนไทยเบงิ้ ใหย้ นื หยดั อยา่ งมศี กั ดศ์ิ รที า่ มกลาง ยุคสมัยปจั จบุ ัน ครั้นเม่ือกรมโยธาธิการและผังเมืองมีการก�ำหนดนโยบายสร้างผังเมือง ของจังหวัดลพบุรี พ้ืนท่ีด้านซ้ายบริเวณริมเข่ือนป่าสักชลสิทธิ์เกือบท้ังหมดถูก จดั ให้เปน็ พ้ืนทีส่ มี ่วง ซงึ่ รวมถึงชมุ ชนโคกสลงุ การถกู จดั เป็นพ้นื ที่สมี ่วงหมายถงึ พนื้ ทท่ี อ่ี นญุ าตใหม้ กี ารตงั้ โรงงานอตุ สาหกรรมไดอ้ ยา่ งเสรี การเปลย่ี นแปลงครง้ั นเ้ี อง พอ่ มดื ไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทในการตอ่ รองกบั ภาครัฐดว้ ยกลยทุ ธ์ “เย็นปะทะ ร้อน” น่นั คอื การใช้เรือ่ งราวทางวัฒนธรรมมาเปน็ “เครอื่ งมือ” ในการตอ่ รอง กับความเจริญทีก่ �ำลงั จะกา้ วเข้ามาสู่พ้ืนทโ่ี คกสลงุ ร่องรอยของการต่อสู่ดว้ ยกล ยุทธดังกล่าวปรากฏการเป็นพ้ืนท่ีเพียงแห่งเดียวท่ีถูกก�ำหนดให้เป็นพื้นท่ีสีขาว ซึ่งหมายถงึ พ้นื ทีอ่ นุรักษ์และเกษตรกรรม ความส�ำเร็จจากการเคลื่อนไหวเพื่อต่อสู้กับอ�ำนาจรัฐที่ต้องการเข้ามา จดั การพน้ื ท่ี กลายเปน็ “ภาพความส�ำเรจ็ ” ทด่ี งึ ดดู ใหผ้ คู้ นไปเยอื นชมุ ชนโคกสลงุ ทงั้ ทเ่ี ขา้ ไปเพอ่ื เรยี นรวู้ ฒั นธรรม ภาษา ตลอดจนวถิ ชี วี ติ และเขา้ ไปเพอ่ื เรยี นรวู้ า่ คนในชมุ ชนท�ำอยา่ งไรทส่ี ามารถรกั ษาภาษาและวฒั นธรรมไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบจน มีพลังทีจ่ ะน�ำไปต่อสู้กบั อ�ำนาจรฐั จนส�ำเรจ็ “พพิ ธิ ภณั ฑไ์ ทยเบงิ้ ” เปน็ หลกั ฐานตง้ั ตระหงา่ นชใี้ หเ้ หน็ ถงึ ชยั ชนะของ คนในชุมชน แนวคิดของการสร้างเกิดขึ้นเพื่อเก็บรักษาและรวบรวมข้าวของ บทสังเคราะห์: จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม 337

338

เครอื่ งมอื แกไ้ ขความเดอื นรอ้ นของชาวบา้ น เชน่ การคกุ คามของกลมุ่ นายทนุ รวม ไปถงึ ความไมเ่ ปน็ ธรรมจากพอ่ คา้ คนกลาง ท�ำใหส้ ญู เสยี ผลประโยชนเ์ รอื่ งทด่ี นิ ท�ำ กนิ เปน็ ตน้ ดังน้ัน เครอื ข่ายสภาฯ ดงั กล่าวจงึ ใช้ด�ำเนนิ งานแกไ้ ขปัญหาผา่ นการ “ปลกุ จติ ส�ำนกึ รว่ ม” เพอื่ สรา้ งอาสาสมคั รมาท�ำงานขบั เคลอื่ นแกป้ ญั หาประเดน็ ร้อนเฉพาะหนา้ เหตกุ ารณ์ความสญู เสยี คร้ังยงิ่ ใหญใ่ นมหนั ตภยั “คลนื่ สึนามิถล่ม” ถอื เป็น “ความเจ็บปวดร่วม” ของชาวพังงาและชาวไทย แต่นั่นถอื เป็นจดุ เริ่มต้น การหันหน้าเข้าหากันอย่างจริงจังของแกนน�ำเครือข่ายสภาองค์กรชุมชน หลัง จากน้ัน พ.ศ. 2554 เกิดการประสานการท�ำงานของกลุม่ เครือขา่ ยอยา่ งเขม้ ข้น เป็นท่ีมาของการวางยุทธศาสตร์ระดับจังหวัดอย่างเป็นรูปธรรม ทีมงานภาค ประชาสงั คมกลายเปน็ พลงั ทร่ี ว่ มท�ำงานกบั ภาครฐั และภาคธรุ กจิ มากขนึ้ จนเกดิ เวที “สมชั าพงั งาแห่งความสขุ ” กระทง่ั เกดิ แผน “ยทุ ธศาสตร์พังงาแห่งความ สขุ ” ภายใตค้ วามรว่ มมอื ขององคก์ รภาคีเครอื ข่ายท้ังจงั หวัดพังงา เบื้องหลงั ของความส�ำเรจ็ ของพังงาแห่งความสุขเกิดจาก “คน” หลาย ภาคสว่ นในจังหวดั หากแต่ “ความโดดเด่น” ในเชิงการบริหารจดั การไดป้ รากฏ “สามสหาย” ตวั แทนสภาพลเมอื งพงั งาทไ่ี มใ่ ชเ่ พยี งเพอื่ นรว่ มงานกนั แตท่ กุ คน เปน็ “ครอบครวั เดยี วกนั ” พไี่ มตรี อดตี เคยเป็นนกั การเมืองท้องถ่นิ เหตุการณ์ สึนามิท�ำให้เรียนรู้ว่า เป้าหมายของการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนควรเร่ิมต้นจาก ฐานล่างพีระมิดนั่นก็คือ การท�ำให้คนในชุมชนมีความพร้อมดูแลถิ่นท่ีอยู่ของ ตนเอง ขณะท่ี พ่ีน้อย อดีตผู้จัดการโรงแรม ย้ายถิ่นฐานจากเชียงใหม่สู่พังงา ดว้ ยบคุ คลภิ าพและวธิ กี ารท�ำงานแบบ “ผจู้ ดั การ” พนี่ อ้ ยท�ำหนา้ ทปี่ ระสานงาน เจรจาตอ่ รองสรา้ งความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานทง้ั ภาครฐั และเอกชนคอยดแู ลความ เรียบร้อยของกิจกรรมท่ีสภาพลเมืองฯ จัดขึ้นท้ังหมด นอกจากนี้ ยังมี “พี่ ชาตรี” หญิงสาวผู้มีบคุ ลิกภาพตรงไปตรงมา พูดจาฉะฉาน มคี วามสามารถใน การจัดการด้านงบประมาณโครงการตา่ งๆ บทสังเคราะห:์ จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม 339

“คน พื้นที่ ต้นทุน และขุมพลัง”: ปัจเจก ปัจจยั ปัจจุบนั จากภาพและเรอื่ งเลา่ การขดุ และคน้ “คนท�ำงาน” หรอื “นกั ขบั เคลอ่ื น สงั คม” เพอื่ สรา้ งฐานความเขา้ ใจสกู่ ารถอดบทเรยี นกระบวนการพฒั นาและสรา้ ง ความเขม้ แขง็ ของพนื้ ทผ่ี า่ นภาวะการน�ำรว่ มนนั้ จะเหน็ ไดว้ า่ การเจรญิ เตบิ โตของ ความคดิ หรืออุดมการณ์ของแตบ่ คุ คลลว้ นมฐี านท่ีแตกตา่ งกนั “ครนู ำ้� ” เชอื่ วา่ ศลิ ปะมคี ณุ คา่ มากกวา่ ความสวยงาม ดงั นนั้ หนา้ ทขี่ อง ศลิ ปะกม็ ใิ ชเ่ ปน็ เพยี งสง่ิ ทเี่ กดิ ขนึ้ เพอื่ จรรโลงโลกหรอื โนม้ นา้ วจติ ใจและอารมณใ์ ห้ เกดิ สนุ ทรยี ะในการเสพเทา่ นนั้ แตศ่ ลิ ปะยงั ท�ำหนา้ ทสี่ รา้ งการเปลย่ี นแปลงใหแ้ ก่ คน ชมุ ชน และสงั คมได้ ดว้ ยวธิ คี ดิ ดงั กลา่ วสอดประสานกบั ความเชอ่ื ในระดบั จติ ที่ผูกโยงเข้ากับเร่ืองราวทางศาสนาสะท้อนถึงการท�ำงานที่เน้นเรื่องของ “ฐาน กายและฐานใจ” เปน็ ส�ำคญั เปา้ หมายในการก�ำหนดทิศทางการขับเคลอ่ื นของ กลมุ่ คอื การสรา้ งความมน่ั คงทางดา้ นกายและจติ ใจใหแ้ กค่ นไรส้ ญั ชาตหิ รอื เดก็ เรร่ อ่ นใหม้ พี น้ื ทย่ี นื ในสงั คม ครนู ำ้� เรมิ่ ตน้ ดว้ ยการพยายามผลกั ดนั ใหเ้ ดก็ กลมุ่ นไ้ี ด้ เข้าพื้นทีข่ องศาสนาหรือวัดในชุมชนเพ่อื “ปลดเปลอ้ื ง” ภาพความเป็นอืน่ โดย ใช้ “ศาสนาและความเชือ่ ” เปน็ สื่อกลางในการลดทอน การสรา้ งพนื้ ท่ียนื ทาง สังคมให้เด็กกลุ่มนี้ เป็นการจดั กระบวนการสรา้ งคุณค่าใหแ้ ก่ตนเอง นอกจากนี้ การให้เด็กได้ฝึกทักษะอาชีพกับเครือข่ายคุณค่าเชียงแสนก็เพ่ือท�ำให้เกิดความ ตระหนักถึงคุณค่าจากทัศนคติของตนเองและทัศนคติของสังคมภายนอกที่มอง เขา้ มา จากกรณดี งั กลา่ ว ผเู้ ขยี นมองวา่ การปลดเปลอื้ งความเปน็ อน่ื ดว้ ยงานทาง วฒั นธรรมได้สร้างความเปน็ พวกเดยี วกันกบั คนรัฐไทยอย่างลงตวั และกลมกลนื ในขณะที่ “พ่ีสุ้ย” ใช้แรงขับจากอุดมการณ์บางอย่างที่ได้รับมาจาก เหตกุ ารณค์ วามผดิ หวงั ในชวี ติ มาเปน็ “ขมุ พลงั ” ในการท�ำงานภาคประชาสงั คม ดังน้ัน ประเด็นด้าน “การให้-การรับ-การคืนกลับ” จงึ เปน็ ประเด็นและทิศทาง การท�ำงานท่ชี ดั เจนของพ่ีสุ้ย นอกจากน้ี “หวั ใจ” ของการท�ำงานของพ่ีสยุ้ เปน็ 340 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

เรอ่ื งของความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล ความคดิ หนง่ึ ทถ่ี กู กลา่ วถงึ บอ่ ยๆ คอื “เรา จะไม่ท้ิงใครไว้ข้างหลัง” รวมไปถึงการเปิดกว้างให้กับทุกคนโดยไม่มีการกีดกัน จากอายุหรอื ประสบการณใ์ ห้ค�ำนยิ ามส�ำหรบั พืน้ ทกี่ ารท�ำงานร่วมกนั ว่า “พื้นท่ี สบายใจ” ความแตกต่างของฐานความคิดท่ีมีต้นทุนแตกต่างกัน ปรากฏชัดใน “พอ่ มืด” ซง่ึ มขี ุมพลงั เกดิ จาก “ความส�ำนึกรกั ” พน้ื ท่บี า้ นเกิด ตระหนกั รู้ถึง คุณค่าของวัฒนธรรมที่หล่อเลี้ยงวิถีชีวิตให้เกิดความสุข ฐานความคิดดังกล่าว เปน็ ทมี่ าของการเรยี กรอ้ ง “สทิ ธชิ มุ ชน” ดว้ ยพลงั ทางปญั ญาและภมู คิ วามรทู้ าง วฒั นธรรมทน่ี �ำไปตอ่ ส-ู้ ตอ่ รองหรอื บางโอกาสกไ็ ดป้ ะทะกบั อ�ำนาจรฐั และภาวะ การรกุ คบื ของวฒั นธรรมตา่ งถน่ิ จนในทา้ ยทส่ี ดุ การตอ่ สกู้ ลายเปน็ ความรว่ มมอื การตอ่ รองเกดิ เปน็ ภาวะผนู้ �ำ และการปะทะกลายเปน็ การผสมผสานอยา่ งลงตวั นอกจากน้ี ความทรงจ�ำรว่ ม ทถี่ อื เป็น บาดแผลอนั เจบ็ ปวด ถอื เปน็ ประสบการณค์ วามรวดรา้ วทจ่ี ะกระชากหวั ใจของใครหลายคนใหล้ กุ ขนึ้ มายนื หยดั เพ่ือสร้างชุมชนให้เกิดความเจริญก้าวหน้า ขุมพลังที่ส่งแรงขับอันหนักหน่วง ปรากฏเดน่ ชดั ในกลมุ่ “สภาพลเมอื งพงั งาแหง่ ความสขุ ” ในขณะทกี่ ารตอ่ ยอด หรือการถ่าย-ถอดกระบวนของ “คนท�ำงาน” ก็มีแนวคิดท่ี “ส่งต่อคน” ด้วย “ประสบการณ์” มากกว่าการจ�ำกัดเรื่องของอายุขัยเพียงเพราะเข้าใจสัจธรรม จากการพลดั พรากทเี่ คยเกดิ ขน้ึ ดงั นน้ั วธิ คี ดิ ของสภาพลเมอื งพงั งาแหง่ ความสขุ จงึ มองว่า คนรุ่นใหมม่ ิไดห้ มายถึงคนอายุนอ้ ย แตม่ ันคอื คนหนา้ ตาใหมๆ่ ท่ีจะ เข้ามาร่วมท�ำงานกับองค์กร จะเห็นได้ว่า ความแตกต่างของ “นักขับเคล่ือนสังคม” ทั้ง 4 พ้ืนที่ ล้วนมีภาวะความเป็นปัจเจก ซ่ึงมีความแตกต่างกันท้ังด้านความคิดและวิธีการ ท�ำงาน แต่ส่งิ ที่เหมอื นกนั คือพวกเขามีเป้าหมายเดียวกันคือ การสร้างสังคมให้ เป็นสุข ผู้คนในชุมชนสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสามัคคีปรองดอง ไม่สร้างความ แตกแยกด้วยมุมมองของความสูง-ต�่ำของความเป็นมนุษย์ หากแต่สร้างความ บทสังเคราะห์: จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสังคม 341

เข้าใจถึงสภาพของความแตกตา่ งของความเป็นคน วถิ ชี วี ิต และวฒั นธรรม ท้ังนี้ เรื่องราวต่างๆ ที่เกดิ ขึ้นเฉพาะเหตุการณ์หรือพ้ืนทีล่ ว้ นเปน็ ประสบการณท์ ี่แตก ตา่ ง ซง่ึ เปน็ ปจั จยั ส�ำคญั ในการก�ำหนดทศิ ทางทจี่ ะสรา้ งจดุ ยนื จดุ หมายหรอื เสน้ ทางความส�ำเรจ็ ส�ำหรับภาพฝันของชมุ ชนในอดุ มคติ อย่างไรก็ตาม มิติด้านเวลาที่ผันแปรเปล่ียนไปมักจะสร้างความหมาย ใหม่ท่ีเลื่อนไหลไปตามสภาพสังคม หลายทัศนคติที่เกิดข้ึนจากนักขับเคลื่อนฯ สะท้อนให้เห็นถึงการอยู่กบั ปจั จุบนั ท�ำความเขา้ ใจปจั จบุ ัน และเรียนรู้สิ่งท่เี ปน็ ปัจจบุ ัน ทงั้ นี้เพอ่ื การสร้างอนาคตท่มี นั่ คงและยง่ั ยนื ยุทธวธิ ี: ภาวะการท�ำงานกับวิถีผปู้ ระกอบการสังคม การท�ำงานกับชุมชนคงไม่ใช่แค่การเอาอะไรมาให้ แต่จะต้อง ถามด้วยว่าชุมชนต้องการอะไร เราต้องมีการวางกรอบในการ เลือกรับ แม้แต่งานวิจัยหรือองค์ความรู้ใหม่ๆ ท่ีจะน�ำมาใช้ใน การพัฒนาชุมชน (ประทีป อ่อนสลุง. สัมภาษณ์, 29 พฤศจกิ ายน 2560) ประโยคค�ำพดู ทสี่ ะทอ้ นการท�ำงานของพอ่ มดื แสดงใหเ้ หน็ กระบวนการ คิดอย่างมีวิจารณญาณของคนท�ำงานชุมชน ด้วยวิธีคิดดังกล่าวจะไปก�ำหนด กรอบของการท�ำงานและวิธีการท�ำงานโดยค�ำนึง “ความต้องการ” ของชุมชน เป็นหลัก ผลประโยชน์ท่ีเกิดข้ึนเป็นผลิตที่ได้มาจากส่ิงท่ีคนในชุมชนร่วมกันคิด และสร้างข้ึนมา ในขณะเดียวกัน บทบาทของนักวิชาการหรือนักวิจัยก็ไม่ได้ไป ชนี้ �ำหรอื ครอบง�ำการท�ำงานในพนื้ ที่ นเี่ ปน็ การสรา้ งสมดลุ ใหแ้ กก่ ารท�ำงานชมุ ชน ที่ควรจะเป็นในปัจจบุ นั การน�ำ “เครื่องมือ” ในลักษณะท่ีเป็น “แนวคิด ทฤษฎี หรือวิธีการ” 342 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ซง่ึ ถอื เปน็ “สงิ่ แปลกใหม”่ เพอ่ื มาใชใ้ นการประกอบการท�ำงานใชภ้ าคชมุ ชน ยอ่ ม ต้องผ่านการพิจารณาอย่างถีถ่ ้วนว่าเหมาะสมกบั การน�ำไปใช้ ดังน้ัน การศกึ ษา สภาพพืน้ ที่ วิถี ผคู้ น วัฒนธรรมย่อมเปน็ สง่ิ ที่ต้องน�ำมาพจิ ารณาประกอบอย่าง ส�ำคญั ในการท�ำงานวจิ ัย โครงการผู้น�ำแหง่ อนาคต ภายใต้โครงการ “การถอด บทเรียนกระบวนการพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งของพ้ืนที่ผ่านภาวะการน�ำ ร่วม” ได้น�ำ “เครื่องมือ” ที่เรียกว่า “แนวคิดผู้ประกอบการสังคม (social entrepreneurship)” มาใช้กบั 4 พื้นท่ี เครือ่ งมือหรอื แนวทางผปู้ ระกอบการ สังคมดังกล่าวได้ผนวกเข้ากับวิธีการท�ำงานชุมชนของผู้น�ำ ความคาดหวังหรือ แม้แต่ความส�ำเร็จของการผสานการท�ำงานระหวา่ ง “ตัวคน” กบั “เคร่ืองมอื ” หรอื “ชมุ ชน / องค์กร” กบั “เครือ่ งมือ” ถูกกล่าวควบค่ไู ปกบั ค�ำว่า “ความ ยง่ั ยนื ” “การพ่ึงพาตนเอง” หรอื ความสามารถในการ “เลี้ยงตัวเองได้” ปญั หาของคนทำ� งานภาคประชาสงั คม คอื การมหี นา้ งานอยเู่ ตม็ มอื จนไมส่ ามารถถอยออกมาทำ� เรอื่ งการบรหิ ารจดั การ หรอื วาง ยทุ ธศาสตรก์ ารทำ� งานไดจ้ รงิ ๆ กลมุ่ ของ intrapreneur จะเขา้ ไป ท�ำหน้าท่ตี รงน้ใี ห้ เขา้ ไปเพอื่ ท�ำงานตรงนใี้ หส้ ำ� เรจ็ (พรจรรย์ ไกรวัตนสุ รณ์. สมั ภาษณ,์ 1 มนี าคม 2561) เมอ่ื การท�ำงานชมุ ชนของผนู้ �ำในแตล่ ะพน้ื ทถ่ี กู วเิ คราะหแ์ ละตคี วามจน พบวา่ กระบวนการท�ำงานขาดสว่ นส�ำคญั ทเี่ รยี กวา่ “การบรหิ าร-จดั การองคก์ ร” ดงั น้ัน จึงเปน็ สิ่งท่ี school of changemakers พจิ ารณาว่า ควรน�ำเคร่ืองมอื ท่ี เรียกว่า แนวคิดผู้ประกอบการสังคม เข้ามาใช้เพื่อสนับสนุนการคงอยู่ของการ ท�ำงานภาคประชาสังคม โดยมคี วามร่วมมอื จากอาสาสมัครจากภาคธุรกจิ (in- trapreneur) ท่ีสนใจโจทย์ทางสังคมเพ่ือพัฒนาโครงการต่างๆ ของชุมชนหรือ ภาคประชาสังคมให้เกิดความยงั่ ยืนตามแนวคิดดังทีไ่ ด้กล่าวมา บทสงั เคราะห์: จดุ นัดพบบนเส้นขนาน ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม 343

แผนภูมอิ งคป์ ระกอบการท�ำงานชมุ ชนกับการน�ำแนวคิดมาปรับประยกุ ต์ เพื่อสร้างความย่งั ยืนใหก้ บั ชมุ ชนหรอื องคก์ ร 344 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

จากแนวคิดผู้ประกอบการสังคมกับการทวบทวนการท�ำงานของผู้น�ำ ทงั้ 4 พืน้ ทนี่ �ำไปสกู่ ารใช้เครอ่ื งมอื ชน้ิ อน่ื ๆ ไดแ้ ก่ ทฤษฎสี รา้ งความเปลย่ี นแปลง (Theory Of Change หรือ TOC) และ หว่ งโซ่ผลลพั ธ์ (Impact Value Chain หรอื IVC) เครอ่ื งมอื ทง้ั สองชน้ิ นช้ี ว่ ยในการทบทวนการท�ำงานของหนว่ ยงานหรอื องคก์ ารตา่ งๆ ใหเ้ หน็ วา่ วธิ กี ารด�ำเนนิ งานทผี่ า่ นมานน้ั จะน�ำองคก์ รไปสกู่ ารสรา้ ง ผลกระทบทางสงั คม (social impact) ทีอ่ งคก์ รตัง้ ใจไวห้ รือไม่ ในขณะเดียวกนั ชวนให้ชุมชนหรอื องค์กรคดิ และพิจารณาทบทวนวา่ หากจะต้องปรบั เปลย่ี นใน เรื่องของแนวคดิ หรอื วิธีการ ควรจะท�ำอย่างไร ห่วงโซ่ผลลัพธ์ เปน็ การสรา้ งและ แสดงตรรกะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผลลพั ธท์ ชี่ มุ ชนหรอื องคต์ อ้ งการใหเ้ กดิ เพอ่ื ไป ใหถ้ งึ เป้าหมายระยะยาว ในขณะที่ คณุ ลกั ษณะทีส่ �ำคัญของการน�ำทฤษฎีสรา้ ง ความเปล่ียนแปลงคือ การคิดย้อนหลัง โดยมีผลลัพธ์ปลายทางเป็นจุดเร่ิมต้น จากน้ันจึงถอยออกมาดูว่า องคก์ รจ�ำเป็นต้องสร้างผลลัพธร์ ะยะกลางหรอื ระยะ ส้ันแบบไหน และกิจกรรมใดท่จี ะน�ำไปสู่ผลลัพธ์เหล่าน้นั เม่อื พิจารณาแนวทางการด�ำเนินงานของ 4 พ้ืนทีด่ ้วยการน�ำแนวคดิ ผู้ ประกอบการสังคมมาปรับประยุกต์ใช้ โดยรวมพบว่า เกิดการท�ำงานและการ ปรับตวั ของพ้ืนที่ส่งผลใหเ้ กดิ ภาวะต่างๆ ดังนี้ ภาวะครุน่ คดิ -พินิจนกึ การครุ่นคิดพินิจนึก เป็นภาวะเร่ิมต้นของการน�ำเคร่ืองมือผู้ประกอบ การมาใช้ เป็นจุดเริ่มต้นของความยากล�ำบากของการผสานกันระหว่างแนวคิด เชิงธุรกิจกับการท�ำงานชุมชนและภาคประชาสังคม ภาวะครุ่นคิดเป็นช่วงต้น ของการตัดสินใจท่ีจะลงมาร่วมหัวจมท้ายไปการท�ำงานครั้งน้ี ช่วงแรกของการ บทสังเคราะห:์ จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม 345

เข้าฝึกอบรมเพื่อสร้างกลยุทธ์เพื่อการขับเคลื่อนสังคมท่ีถูกก�ำหนดให้เป็นหัวข้อ การเรยี นรแู้ รกๆ โดยน�ำเอาทฤษฎกี ารสรา้ งความเปลยี่ นแปลงและหว่ งโซผ่ ลลพั ธ์ มาเป็นวิธีการหลักในการท�ำงาน ได้สร้างความกระอักกระอ่วมให้แก่พื้นท่ีต่างๆ เนอื่ งจากการด�ำเนนิ งานทผี่ า่ นมา หลายพนื้ ทไ่ี มเ่ คยเกบ็ ขอ้ มลู ในเชงิ สถติ หิ รอื การ บนั ทกึ ให้เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร ในการอบรบคร้งั น้นั ผนู้ �ำแต่ละพ้ืนท่ใี ช้ “ความ ทรงจ�ำ” เปน็ สิ่งท่ีถ่ายทอดให้ไดร้ บั รู้กนั จนเกดิ กลายเป็นแผนภมู ิขนาดใหญ่เรียง ตอ่ กัน การอบรมจัดประชุมเชิงปฎิบัติการ เป็นการชักชวนให้ตัวแทนองค์กร ภาคประชาสงั คมได้คิดทบทวน แลกเปล่ียน และสะท้อนการท�ำงานซ่ึงเปน็ ที่มา ของความส�ำเรจ็ ทแี่ ตกตา่ งกนั ผลลพั ธห์ รอื ผลส�ำเรจ็ ทไ่ี ดไ้ มไ่ ดเ้ ปน็ เพยี งการเปดิ มมุ มองที่หลากหลายประสบการณ์ แต่ยงั เปน็ การเติมเช้ือไฟให้แก่กันและกัน ภาวะ คร่นุ คิดพินิจนึกชวนใหช้ มุ ชนและองคก์ ร 4 พื้นทีต่ ระหนกั คิดถึง “เปา้ หมายของ การท�ำงาน” จนสามารถน�ำเสนอเพือ่ แลกเปลีย่ นเรยี นรกู้ ันระหว่างพืน้ ที่ ซึ่งถอื เป็นช่วงเวลาที่ดีส�ำหรับการสร้างสัมพันธ์และถ่ายทอดประสบการณ์แก่กันและ กัน พน้ื ที่เชียงรายของครนู ำ�้ น�ำเสนอ เปา้ หมายของการท�ำงานคอื “เดก็ ไร้ สัญชาติต้องมีท่ียืนทางสังคมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ” โดยให้ความส�ำคัญ กับการดูแลกลุ่มเด็กไร้สัญชาติ เด็กเร่ร่อน ซ่ึงกลุ่มเด็กเหล่านี้จะต้องมีพื้นที่ยืน ในสงั คมทงั้ ทางดา้ นกายและจติ ใจ ความคาดหวงั บนพนื้ ฐานของความเปน็ มนษุ ย์ ด้วยกันคอื เด็กกลมุ่ นคี้ วรจะไดเ้ ขา้ ถึงสวสั ดกิ ารขั้นพ้นื ฐานตา่ งๆ การศึกษา การ พยาบาล หรอื การมสี ทิ ธใิ นการมชี วี ติ อยบู่ นผนื แผน่ ดนิ ครนู ำ้� พยายามผลกั ดนั ให้ เด็กเข้าสู่ระบบการศึกษา เพ่ือเป็นประตูสู่การได้รับสิทธิประโยชน์ต่างๆ ตามที่ เดก็ ควรไดร้ บั เงอื่ นไขหนง่ึ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มโี อกาสไดร้ บั สญั ชาตไิ ทยเมอ่ื จบการศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี คอื เดก็ จะตอ้ งมผี ลงานโดดเดน่ ทแี่ สดงถงึ การเปน็ ผปู้ ระพฤตดิ ี และท�ำคุณประโยชนแ์ ก่สงั คมและประเทศชาติ 346 จดุ นัดพบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

เป้าหมายของพ่ีสุ้ยจากพ้ืนท่ีขอนแก่น คือ การสร้างเครือข่ายของคน ท�ำงานภาคประชาสงั คมในจงั หวดั ขอนแกน่ โดยมเี ปา้ หมายระยะยาวทลี่ กึ ไปกวา่ การสร้างความสัมพันธ์หรือการปฏิสัมพันธ์แต่ต้องการให้คนท�ำงานภาคประชา สงั คมในพน้ื ทส่ี ามารถมองเหน็ ปญั หาเชงิ โครงสรา้ งทน่ี อกเหนอื ไปจากงานทที่ �ำอยู่ อกี ทงั้ คาดหมายให้เกดิ การรว่ มแรง รว่ มมอื รว่ มพลงั ในการแกป้ ญั หาของชมุ ชน และสงั คมในจงั หวัดขอนแกน่ นอกจากการสรา้ งเครอื ขา่ ยแล้ว พ่สี ุ้ยยงั ต้องการ สรา้ งพน้ื ทสี่ �ำหรบั คนทม่ี คี วามคดิ และตอ้ งการแกไ้ ขปญั หาสงั คม โดยเฉพาะกลมุ่ คนรนุ่ ใหมท่ ม่ี คี วามฝนั ทอ่ี ยากท�ำงานเพอ่ื สงั คมแตไ่ มม่ พี นื้ ทสี่ �ำหรบั การแสดงออก พ้นื ท่โี คกสลุงของพ่อมดื น�ำเสนอความคิดในการรว่ มสรา้ งรปู แบบการ พฒั นาชมุ ชนตามยทุ ธศาสตรแ์ ตล่ ะดา้ น โดยด�ำเนนิ การในลกั ษณะของโครงการท่ี มคี วามหลากหลาย เชน่ การอนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟู สบื สาน พฒั นาภมู ปิ ญั ญาวฒั นธรรม ประเพณี นอกจากนี้ยังมียุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ซึ่งถือเป็นจุด แข็งท่ีสุดในการท�ำงานพัฒนาชุมชนโคกสลุง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ความ ส�ำคัญกับบุคคลทางวัฒนธรรมหรือครูภูมิปัญญาของชุมชน ทั้งน้ี แนวความคิด ในการพฒั นาชมุ ชนเกดิ ขนึ้ ภายใตค้ วามตระหนกั และตระหนกกบั เรอ่ื งของปญั หา การรุกคืบของวัฒนธรรมสมัยใหม่ท่ีจะเข้ามาเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชน โคกสลงุ ในขณะที่ พน้ื ทพ่ี งั งาแหง่ ความสขุ ประกาศตวั อยา่ งชดั เจนวา่ เปา้ หมาย คือความย่ังยืน ซึ่งการทบทวนกลยุทธ์ขององค์กรตลอดจนภาวะครุ่นคิดของพ่ี ไมตรี พ่ีชาตรี พ่ีนอ้ ยไดต้ ระหนกั วา่ ภารกจิ ต่างๆ ท่ีก�ำลังด�ำเนินการ ณ เวลานี้ ไม่ใช่เร่ืองที่จะจัดการหรือด�ำเนินการได้ง่ายนักหากไม่มีเป้าหมายท่ีชัดเจน การ คร่นุ คดิ พินิจนึกท�ำให้เกิดการระดมสมองทบทวน “การสรา้ งตวั ตน” อกี ครั้ง จน น�ำเสนอเปา้ หมายของการท�ำงานเพม่ิ เตมิ จากเรอ่ื งของความยงั่ ยนื คอื การสรา้ ง ความเชอ่ื มน่ั ใหแ้ กอ่ งคก์ ร ซง่ึ เปน็ ปจั จยั หนง่ึ ทที่ �ำใหผ้ คู้ นทกุ ภาคสว่ นอยากเขา้ มา ท�ำงานดว้ ย และในขณะเดยี วกนั กย็ งั ตอ้ งการเปลย่ี นแปลงเชงิ โครงสรา้ ง โดยผลกั บทสงั เคราะห:์ จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม 347

ดนั ใหค้ นในชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มก�ำหนดนโยบายเสนอใหภ้ าครฐั ไดน้ �ำปญั หาไปแกไ้ ข ได้ตรงจุด โดยความเปล่ียนแปลงระดับนี้ คือ เคร่ืองยืนยันเร่ืองชุมชนจัดการ ตนเองซง่ึ จะน�ำไปสู่ความยง่ั ยืนตามเป้าหมายที่ได้ประกาศตวั ไวใ้ นคราแรก ภาพของภาวะครุ่นคิดพินิจนึกที่เกิดข้ึน เป็นภาพที่สะท้อนภาวะการ ท�ำงานท่ีเรียกร้องให้คนภาคประชาสังคมได้ย้อนพิจารณาการท�ำงานที่ผ่านมา อย่างเป็นระบบและละเมียดละไมด้วยวิธีการประสานสัมพันธ์ของคนท�ำงาน สะท้อนถึงวิธีคิดที่กล่าวถึงการท�ำงานทั้งทางด้านภาคประชาสังคมหรือภาค ธุรกิจจะประสบความส�ำเร็จได้นั้นจ�ำเป็นต้องพ่ึงความสามารถจากคนที่หลาก หลาย หากแต่องค์กรจะต้องส่งเสริมให้ทุกคนในองค์กรเรียนรู้ไปด้วยกันโดยให้ ความส�ำคญั กบั องค์ประกอบ 5 ประการด้วยกันคอื การคดิ เชิงระบบ (system thinking) การสรา้ งวสิ ัยทัศนร์ ว่ ม (shared vision) ความช�ำนาญส่วนบุคคล (personal mastery) วิธคี ิดองค์กร (mental models) และ การเรยี นรูร้ ่วม กนั เป็นทีม (team learning) น่นั เอง ภาวะการเปลยี่ นผา่ น ภาวะการเปลย่ี นผา่ น เปน็ ภาวะทเ่ี ปน็ สถานการณห์ รอื เหตกุ ารณข์ องการ เคลอ่ื นยา้ ยหรอื การกา้ วขา้ มซงึ่ มนี ยั หรอื การตคี วามไดใ้ นหลากหลายมติ ิ อาทิ มติ ิ ดา้ นพน้ื ที่ ทก่ี ลา่ วถงึ การเคลอ่ื นยา้ ยจากพนื้ ทห่ี นง่ึ ไปยงั อกี พนื้ ทหี่ นงึ่ มติ ดิ า้ นเวลา กลา่ วถงึ การกา้ วขา้ วชว่ งเวลาใดเวลาหนง่ึ หรอื แมแ้ ตม่ ติ ดิ า้ นความคดิ -ความเชอื่ ก็สามารถเกิดภาวะของการเปลย่ี นผ่านได้เชน่ กัน ในทางแนวคิดหรือทฤษฎีที่ว่าด้วยเรื่องของการเปล่ียนผ่าน (rites of passage) ได้แบ่งช่วงของการเปล่ียนผ่านไว้ทั้งหมด 3 ช่วงใหญ่ด้วยกัน คือ 1. ชว่ งของการแยกตวั (seperate) หมายถงึ ช่วงเวลาของการครนุ่ คิดตัดสินใจ 348 จดุ นดั พบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสังคม

ภาวะของการแยกตัวเกิดความกระวนกระวายใจ เกดิ ความคิดหรอื สถานการณ์ บางอย่างท่ีต้องการค้นหาค�ำตอบบางสิ่งเพ่ือเตรียมพร้อมส�ำหรับการก้าวข้าม 2. ช่วงการเปล่ียนผ่าน (หรือการกา้ วขา้ ม) (transition) ชว่ งดังกลา่ ว เป็นช่วง ของการกา้ วขา้ มจากสง่ิ หนง่ึ ไปยงั อกี สง่ิ หนงึ่ ภาวะในชว่ งของการเปลย่ี นผา่ นเปน็ ภาวะทเี่ กดิ การตดั สนิ ใจเปน็ ทเี่ รยี บรอ้ ยและพรอ้ มเผชญิ กบั สง่ิ ใหมๆ่ สงิ่ ทนี่ า่ สนใจ ที่เกดิ ขน้ึ ในช่วงของการเปล่ียนแปลงคอื การเกดิ ภาวะของสังคมไรร้ ะเบียบ หรอื ภาวะไร้ระเบียบ (communitas) กล่าวคือ เกิดความลักล่ันไม่ปกติของการใช้ ชีวติ ความสับสนวุน่ วาย หรอื เกดิ ส่ิงพเิ ศษหรอื ขอ้ ยกเวน้ บางประการที่สามารถ กระท�ำไดใ้ นชว่ งเวลาดงั กลา่ ว ภาวะของสังคมไรร้ ะเบยี บปรากฏขึ้นอย่เู สมอเมอ่ื เกดิ ชว่ งภาวะการเปลยี่ นผา่ น เชน่ พฤตกิ รรมการเดนิ กา้ วขา้ มธรณปี ระตใู นโบสถ์ ถกู อธบิ ายผา่ นภาวะของสงั คมไรร้ ะเบยี บวา่ คอื ชว่ งของการลกั ลนั่ ไมป่ กตริ ะหวา่ ง การกา้ วขา้ มจากพน้ื ทโ่ี ลกสามญั สพู่ นื้ ทศ่ี กั ดส์ิ ทิ ธท์ิ างศาสนา ดงั นน้ั หากตอ้ งการ เดนิ เขา้ สโู่ บสถอ์ ยา่ งปลอดภยั จงึ ตอ้ งเดนิ กา้ วขา้ มธรณปี ระตซู งึ่ เปน็ สญั ลกั ษณแ์ ทน ความสบั สนวนุ่ วาย ความลกั ลนั่ ของโลกสามญั และโลกศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ เปน็ ตน้ 3. ชว่ ง การกลบั มารวมตวั (aggregration) ชว่ งนเี้ ปน็ ชว่ งของการกลบั คอื สสู่ ภาวะปกติ ซง่ึ ได้เกิดการเปลีย่ นแปลงส่งิ ใหม่ๆ เวลาใหม่ พน้ื ทใ่ี หม่ วธิ กี ารใหม่ หรือ ความ คดิ ใหมๆ่ ภาวะการเปล่ียนผ่านถูกกล่าวถึงอยู่หลายประเด็นในการศึกษาการ ท�ำงานของเครือข่ายผู้น�ำการพัฒนาศักยภาพและการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนใน แตล่ ะพืน้ ท่ี ภาวะของการเปล่ียนผ่านจะปรากฏอยูใ่ นรูปแบบของการเปลยี่ นใน มิติด้านวิธีคิดและวิธีการท�ำงาน ในขณะท่ีภาวะของความลักลั่นในลักษณะค�ำ อธิบายแบบสังคมไร้ระเบียบปรากฏข้ึนในลักษณะของการปะทะกันระหว่างข้ัว ความคดิ ทเี่ ปน็ ลกั ษณะฐานใจของภาคประชาสงั คมกบั ฐานหวั แบบธรุ กจิ การพบ เจอกนั ของระหวา่ งขว้ั ความคดิ มกั ถกู มองวา่ เปน็ คตู่ รงขา้ มกนั จงึ ยากทจี่ ะเกดิ การ บทสงั เคราะห์: จดุ นัดพบบนเส้นขนาน ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม 349

รบั ฟงั จากความคิดเห็นของอกี ฝา่ ย แต่ในทา้ ยทสี่ ดุ การอธิบายภาวะการเปลยี่ น ผา่ นทสี่ มบรู ณก์ อ็ าจเปน็ เพยี งภาพทสี่ ะทอ้ นใหก้ ารผสานแนวคดิ หรอื ขว้ั ความคดิ ที่เกิดข้ึนเพือ่ ใหอ้ งค์กรสามารถสร้างผลกระทบทางสังคมได้ย่งั ยนื ส�ำหรบั พื้นที่เชียงรายของครูนำ้� การท�ำงานรว่ มกนั ระหวา่ งภาคประชา สงั คมกบั ภาคธรุ กจิ หรอื แนวคดิ ของผปู้ ระกอบการสงั คมเกดิ ภาวะการเปลยี่ นผา่ น จากการด�ำเนินงาน เกิดการก้าวข้ามหรือเปล่ียนแปลงส่ิงที่เรียกว่า “แนวทาง หรอื วธิ กี าร”ด�ำเนนิ งานแบบเดมิ การถอดบทเรยี นจากประสบการณก์ ารท�ำงาน แนวทางดังกลา่ วเกิดข้ึนในหลายมติ ิ ได้แก่ มิติดา้ นความยดื หยุน่ หมายถึง การแสดงออกถงึ ความสามารถในการ ปรบั ตวั หรอื พรอ้ มรยี นรตู้ ลอดเวลา ในหลายครงั้ มกี ารวางแผนการท�ำงานไวล้ ว่ ง หนา้ หากแตใ่ นสถานการณจ์ รงิ มหี ลายเหตกุ ารณท์ ไี่ มส่ ามารถควบคมุ ได้ ยง่ิ เมอื่ มี ภาคธรุ กจิ เขา้ ไปท�ำงานกบั ภาคประชาสงั คมทท่ี �ำงานกบั ประเดน็ รอ้ นหรอื ประเดน็ ทม่ี คี วามเสยี่ งตอ่ ความปลอดภยั ทง้ั ชวี ติ จติ ใจ และทรพั ยส์ นิ ในขณะทภ่ี าคธรุ กจิ ใหค้ วามส�ำคญั กบั เรอื่ งผลประโยชนเ์ ปน็ หลกั ค�ำนงึ ถงึ ความคมุ้ คา่ โดยเฉพาะเรอื่ ง เวลา จงึ เปน็ เรอื่ งของการมองคนละมมุ ซง่ึ เปน็ ขวั้ ตรงขา้ มทางความคดิ แตก่ าร ท�ำความเขา้ ใจสถานการณท์ ง้ั สองฝา่ ยดว้ ยวธิ คี ดิ ของคนภาคประชาสงั คมและวธิ ี คดิ ของภาคธรุ กจิ หรอื ผปู้ ระกอบการ ท�ำใหเ้ หน็ วา่ บางเหตกุ ารณท์ เ่ี ราไมส่ ามารถ แก้ไขปญั หาได้เป็นเพราะเรายดึ ติดกบั วิธกี ารหรือผลลพั ธท์ เี่ ปน็ รูปธรรมมากเกิน ไป ดังนน้ั การกา้ วขา้ มทิฐิ หรือการกา้ วขา้ มความคดิ ทย่ีึ ดึ ตดิ สามารถท�ำงานได้ ประสบความส�ำเร็จมากขน้ึ ดังนั้น การมีความยืดหยนุ่ จะช่วยใหส้ ามารถลดอคติ ทม่ี ลี งไปไดด้ ว้ ยการรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ทแ่ี ตกตา่ งของผอู้ นื่ เปน็ ส�ำคญั มิติการเชื่อมร้อยความฝันคนรุ่นใหม่กับคนรุ่นเก่า มิติน้ีเป็นมิติด้าน พ้ืนท่ีที่ต้องการให้เกิดการพบกันของคนสองคน คนหลายรุ่น คนหลายวัยมา เจอกนั บนพน้ื ที่ใดพนื้ ทีห่ นงึ่ เพอ่ื ช่วยเหลือสงั คมให้เกดิ ความย่ังยนื นัยของค�ำว่า คนรนุ่ ใหมก่ บั คนรนุ่ เกา่ ยงั สามารถตคี วามไดใ้ นเชงิ ของวธิ คี ดิ หรอื ความรเู้ ชงิ หลกั 350 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสงั คม