Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จุดนัดพบบนเส้นขนาน

จุดนัดพบบนเส้นขนาน

Description: จุดนัดพบบนเส้นขนาน.

Search

Read the Text Version

นอ้ งๆ หลายคนในกลมุ่ เมลด็ ข้าวเปลอื กไทยเบ้ิงล้วนมคี วามฝนั ทอี่ ยาก กลับมาท�ำงานในชุมชนเพื่อให้มีโอกาสได้ท�ำงานใกล้ชิดญาติมิตร ได้ดูแลพ่อ แม่ และได้มีโอกาสในการท�ำงานสืบสานวัฒนธรรมต่อไป เพราะพวกเขาเข้าใจ ดีถึงความส�ำคัญของการท�ำงานสืบสานวัฒนธรรม ซ่ึงเป็นส่ิงที่กลุ่มผู้น�ำในพ้ืนที่ ขบั เคลื่อนมาอยา่ งยาวนาน น่าเสียดายท่ีแม้น้องๆ จะมองเห็นความส�ำคัญของงานวัฒนธรรมแต่ พวกเขาทุกคนล้วนบอกกับผู้เขียนเป็นเสียงเดียวกันว่า ต้องรอให้ตนเองมีฐานะ ท่ีม่ันคงก่อนเท่าน้ันจึงจะสามารถกลับมาท�ำงานพัฒนาชุมชน และสืบสานงาน ด้านวฒั นธรรมของชมุ ชนไทยเบง้ิ ได้ ความมน่ั คงในการประกอบอาชพี และเหตผุ ลทางเศรษฐกจิ จงึ ดจู ะเปน็ อปุ สรรคส�ำคญั ทท่ี �ำใหข้ วางกน้ั ท�ำใหพ้ วกเขาทง้ั หลายมองไมเ่ หน็ หนทางกลบั บา้ น ของตนเอง แมว้ ่าใจจะตอ้ งการมากมายเช่นใดก็ตาม ดังท่ไี ก่สะทอ้ นว่า “...ถา้ ฐานะเราม่นั คง เราไมต่ ้องการใช้สอย หรอื ใชจ้ ่ายอะไร ณ จดุ ๆ นน้ั เรากส็ ามารถมาอยไู่ ดเ้ ตม็ ตวั (มาทำ� งานภาคประชาสงั คม ของสถาบันไทยเบ้ิงโคกสลุงฯ; ผู้เขียน) แต่ถ้าเรายังไม่ม่ันคง อาชพี เรากย็ งั ไมม่ ี รายไดเ้ รากย็ งั ขดั สนอยอู่ ยา่ งน้ี เรากย็ งั ไมพ่ รอ้ ม ทีจ่ ะมาดแู ลตรงน.้ี ..” (ไก.่ สมั ภาษณ์, 10 มนี าคม 2561) การเดนิ ทางครั้งใหมข่ องชาวไทยเบิง้ บ้านโคกสลงุ 201

ทางกลับบา้ นของลกู หลาน “...เราเดินมาไกลขนาดนี้ได้เกิดจากการพึ่งพาคนอ่ืน ตอนน้ีเรา ต้องการจะพึ่งพาตัวเองใหไ้ ด้สักที...” (ประทปี อ่อนสลุง. สมั ภาษณ์, 10 พฤศจิกายน 2560) ในขณะท่ีคนท�ำงานภาคประชาสังคมของโคกสลุงก�ำลังค้นหาแนวทาง ในการก้าวข้ามอุปสรรคครั้งใหม่ ภาคประชาสังคมอ่ืนๆ ก็ก�ำลังอยู่ในวิกฤติท่ีดู จะรนุ แรงยิ่งกว่า ย้อนกลับไปในช่วงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559 มลู นธิ ิ Broken Rainbow มลู นธิ เิ ดยี วในประเทศองั กฤษทมี่ สี ายดว่ นชว่ ยเหลอื เหยอ่ื ความรนุ แรง ในครอบครวั กลมุ่ หลากหลายทางเพศ กป็ ระกาศปดิ ตวั ลงเนอื่ งจากประสบปญั หา หน้ีสนิ และความไม่แนน่ อนของเงินทุนสนับสนุนจากรัฐบาลองั กฤษ4 ตอ่ มาในชว่ งเดือนกลางมนี าคมของปที ่แี ล้ว (พ.ศ. 2560) โซไรดา ซาล วาลา ผกู้ อ่ ตง้ั มลู นธิ เิ พอ่ื นชา้ ง ซงึ่ มบี ทบาทในการดแู ลชา้ งในประเทศไทยมาอยา่ ง ยาวนานไดอ้ อกประกาศปดิ มลู นธิ ทิ ด่ี �ำเนนิ การมา 25 ปี เนอื่ งจากไมส่ ามารถแบก รบั ภาระหน้ีสิน และปัญหาการขาดแคลนบคุ ลากรตอ่ ไปได5้ แม้การปิดตัวของมูลนิธิท้ังสองจะปรากฏเป็นข่าวครึกโครมอยู่ในหน้า หนงั สอื พมิ พเ์ พยี งชว่ งระยะเวลาสน้ั ๆ ราวหนงึ่ ถงึ สองสปั ดาห์ กอ่ นทจี่ ะเลอื นหาย 4 ปดิ มลู นธิ ชิ ว่ ยเหลอื เหยอื่ รนุ แรงในครอบครวั LGBTQ ขององั กฤษ. (21 มถิ นุ ายน 2559). Voicetv. สบื คน้ จาก https://www.voicetv.co.th/read/379821ความเรียบร้อย  5 ปดิ เปน็ ทางการ “มลู นธิ เิ พอื่ นชา้ ง” ออกหนงั สอื ยตุ ทิ กุ อยา่ งหลงั ขาดทนุ . (15 มนี าคม 2560). MGRonline, สืบค้นจาก https://mgronline.com/onlinesection/detail/9600000026604 202 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ไปจากความทรงจ�ำของผคู้ นไปในทสี่ ดุ แตป่ รากฏการณด์ งั กลา่ วคงพอสะทอ้ นให้ เหน็ ถงึ ปญั หาทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั 2 ประการ ทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั องคก์ รภาคประชาสงั คม นนั่ คือ ความไม่แน่นอนของเงินทุนท่ีได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ เนื่องจากการ ปรับเปล่ียนแนวนโยบาย และความยากล�ำบากในการแสวงหาบุคลากรในการ ท�ำงาน เรื่องราวท่ีเกิดขึ้นดังกล่าวน่าจะเป็นสัญญาณเตือนที่แสดงให้เห็นว่า นี่ อาจเป็นอีกช่วงเวลาที่การท�ำงานขององค์กรภาคประชาสังคมเดินทางมาถึงจุด ทจี่ �ำเปน็ ตอ้ งทบทวน หรอื ปรบั เปลย่ี นวธิ กี ารท�ำงานขบั เคลอ่ื นของตนเองอกี ครง้ั หนงึ่ แลว้ จ�ำต้องสรา้ งทางเสน้ ใหม่ แมภ้ าคประชาสงั คมจ�ำนวนมากจะประสบกบั ปญั หา 2 ประการดงั กลา่ ว ขา้ งต้น แตใ่ นกรณีของชมุ ชนโคกสลุงน้ัน คงต้องนับว่าเปน็ โชคดี และเปน็ ความ รอบคอบอยา่ งหนงึ่ ของผนู้ �ำในพน้ื ทซ่ี งึ่ วางยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาชมุ ชนอยา่ งรอบ ดา้ น การขบั เคลอื่ นงานจงึ เออื้ ตอ่ การทภ่ี าคสว่ นตา่ งๆ ของสงั คมจะเขา้ มาท�ำงาน รว่ มดว้ ยไดโ้ ดยงา่ ย ดงั นนั้ โคกสลงุ จงึ ไมต่ อ้ งประสบกบั ปญั หาการขาดแคลนเงนิ ทนุ ดงั เชน่ ทภ่ี าคประชาสังคมอนื่ ๆ ต้องเผชิญ แตก่ ค็ งตอ้ งยอมรับเช่นเดยี วกันว่า การขาดแคลนก�ำลังคนท่ีจะเข้ามาท�ำงานสืบต่อผู้น�ำในรุ่นปัจจุบันก็ยังคงเป็น ปัญหาส�ำคญั ที่คนท�ำงานในพน้ื ทโ่ี คกสลงุ จะตอ้ งเผชญิ ในอนาคตอันใกล้นี้ เพื่อให้สามารถก้าวพ้นไปจากปัญหาดังกล่าว และป้องกันปัจจัยเรื่อง ความไม่แน่นอนของทุนสนับสนุนท่ีอาจเกิดขึ้นในอนาคต แนวทางการท�ำงาน ของผนู้ �ำในชมุ ชนโคกสลงุ รว่ มกบั โครงการผนู้ �ำแหง่ อนาคตในปนี จี้ งึ ปรบั เปลย่ี น กระบวนการท�ำงานจากการพฒั นาทกั ษะการฟงั อยา่ งลกึ ซง้ึ ภายใตก้ ระบวนการ สนุ ทรยี สนทนา และการท�ำกระบวนการกลมุ่ อนั เปน็ หวั ใจหลกั ของการท�ำงานใน การเดนิ ทางครง้ั ใหมข่ องชาวไทยเบงิ้ บา้ นโคกสลุง 203

พื้นท่ีโคกสลุง มาเป็นการพัฒนาทักษะด้านการฟัง ควบคู่ไปกับการเพ่ิมทักษะ ด้านการบริหารจัดการกลุ่ม และทักษะอื่นที่มีความเฉพาะกับกลุ่มอาชีพต่างๆ ในชุมชนมากขนึ้ ภายใตค้ วามเชอ่ื ทวี่ า่ ถา้ จะใหค้ นรนุ่ ใหมก่ ลบั มาอยทู่ บ่ี า้ น จะตอ้ งมที ที่ าง หรอื มีแนวทางในการประกอบอาชีพไว้ให้พวกเขาดว้ ย การพัฒนากลุ่มอาชพี ทีม่ ี ความเกีย่ วขอ้ งกับงานดา้ นวัฒนธรรมให้มวี ธิ ีการบรหิ ารจัดการจัดการอย่างเปน็ ระบบ และมีการพัฒนาคุณภาพของสินค้าให้ดียิ่งข้ึนจึงน่าจะเป็นวิธีการส�ำคัญ ท่ีท�ำให้เกิดอาชีพท่ีเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมไทยเบ้ิงขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมและมี ประสิทธิภาพในชุมชนซึ่งเป็นแนวทางท่ีพ่อมืดเรียกว่า “การสร้างหนทางกลับ บ้านให้ลูกหลาน” โดยมีความมุ่งหวังว่าจะสามารถสร้างโคกสลุงให้กลายเป็น ชุมชนทีส่ ามารถพึ่งพาตนเองได้ในทส่ี ดุ เมือ่ โลกเปลยี่ นแปลงไป สถานการณ์การขาดแคลนบุคลากรรุ่นสองที่เกิดขึ้นกับโคกสลุง และ องค์กรภาคประชาสังคมหลายแห่งในปัจจุบัน อาจท�ำให้ผู้ใหญ่หลายท่านเกิด ความสงสัย และมองคนรนุ่ ใหมอ่ ยา่ งตดั สนิ วา่ พวกเขาช่างคิดถึงแตต่ ัวเอง และ ไมไ่ ดม้ คี วามมงุ่ มน่ั ทจ่ี ะอทุ ศิ ตวั ใหก้ บั อดุ มการณด์ งั เชน่ ทค่ี นรนุ่ กอ่ นหนา้ เคยปฏบิ ตั ิ แต่เมื่อเราลองย้ายจากพื้นท่ีในการมองจากพ้ืนที่ของการท�ำงานเพื่อ สงั คมไปสพู่ นื้ ทขี่ องการเปน็ ผบู้ รโิ ภค เราจะพบปรากฏการณอ์ ยา่ งหนงึ่ ทนี่ า่ สนใจ และอาจท�ำให้เราต้องทบทวนการประเมินคา่ คนรนุ่ ใหมอ่ กี ครัง้ หน่ึง นนั่ คอื ปรากฏการณ์ “brand activism” ซงึ่ เปน็ ปรากฏการณท์ เ่ี จา้ ของ ผลิตภัณฑ์จ�ำนวนมากในปัจจุบันออกมาแสดงจุดยืนทางสังคมอย่างชัดเจนมาก ขึน้ เช่น การออกแคมเปญรณรงค์ หรอื สื่อสารกบั ผบู้ รโิ ภควา่ สินคา้ ท่ีตนผลติ มี การค�ำนงึ ถึงเรื่องของความเทา่ เทยี ม สง่ิ แวดล้อม และสงั คม แตกต่างจากเดิมที่ 204 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

ภาคธรุ กจิ มกั จะวางตวั เปน็ กลาง หรอื แยกตวั ออกจากเรอ่ื งสงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม อยา่ งชัดเจน เพื่อไม่ให้กระทบกบั ฐานลกู คา้ กลุม่ ใดกลุ่มหนงึ่ นกั การตลาดสนั นษิ ฐานวา่ ปรากฏการณ์ brand activism น้ี เกดิ มาจาก การเปลยี่ นแปลงของพฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภครนุ่ ใหม่ โดยเฉพาะผบู้ รโิ ภคในทถ่ี กู เรยี ก วา่ กลุ่มคน “Millennial” หรือกล่มุ คน “Generation Y” ทีเ่ ป็นผู้บรโิ ภคกลุ่ม ใหญท่ มี่ คี วามสามารถในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ของสนิ คา้ ไดจ้ ากเทคโนโลยอี นิ เทอรเ์ นต็ ดงั นนั้ จงึ มกั จะสนใจกระบวนการไดม้ าซงึ่ สนิ คา้ อยา่ งจรงิ จงั วา่ ในขน้ั ตอนการผลติ นั้น มีกระบวนการท่ียุติธรรมต่อแรงงาน มีการค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม หรือเป็น ผลิตภณั ฑ์ทมี่ าจากชมุ ชนหรือไม่ มากน้อยเพยี งใด6 โดยมผี ลส�ำรวจยืนยันอยา่ ง จรงิ จงั วา่ พวกเขาพรอ้ มทจี่ ะหยดุ ใชส้ นิ คา้ ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม ทันที แมจ้ ะเป็นสินคา้ ทต่ี นเองเคยใช้มาอย่างยาวนานก็ตาม7 พฤติกรรมของผู้บริโภครุ่นใหม่ที่เกิดข้ึนนี้น่าจะพอชี้ให้เห็นได้บ้างว่า แท้จริงแล้วความใส่ใจต่อสังคมน้ันยังคงเข้มข้นอยู่ในคนรุ่นใหม่ หากแต่มีการ ปรับเปล่ียนรูปแบบไปจากวิธีการดั้งเดิม และไปปรากฏอยู่ในพ้ืนท่ีใหม่เท่านั้น การเปล่ียนแปลงของสังคมอันเกิดจากการเคล่ือนไหวของคนรุ่นใหม่ในลักษณะ เชน่ นเี้ องจงึ ท�ำใหเ้ กดิ ธรุ กจิ แบบใหมท่ เ่ี รยี กวา่ “ธรุ กจิ เพอ่ื สงั คม” ขน้ึ เปน็ จ�ำนวน มากในปัจจบุ นั ผู้เขียนเคยได้ยินเร่ืองราวเก่ียวกับธุรกิจเพื่อสังคมมาบ้าง แต่คงไม่อาจ มองโลกธุรกิจ และโลกของการท�ำงานเพื่อสังคมในลักษณะน้ีได้เลย หากไม่ได้ รู้จกั กับ “พรจรรย์ ไกรวัตนสุ สรณ์ (พน่ี ยุ้ )” ผเู้ ปน็ เจา้ ขององค์กรชื่อ “School 6 Kotler, Philip and Sarkar, Christian. (2017). “Finally, Brand Activism!” Retrieved from http://www.marketingjournal.org/finally-brand-activism-philip-kotler-and-christian-sarkar/   7 Shikh, Ayesha. (2017) The era of brand activism. Retrieved from https://aurora.dawn. com news/1142389 การเดินทางครัง้ ใหมข่ องชาวไทยเบิง้ บา้ นโคกสลุง 205

of Changemakers (SoC)” องค์กรท่คี อยให้ค�ำปรกึ ษาคนทีอ่ ยากจะลุกขึ้นมา เปลี่ยนแปลงโลก ใหม้ องเห็นวธิ ีการ หรือแนวทางท่จี ะสามารถป้นั จนกลายเป็น โครงการที่ท�ำเพ่ือสังคมได้จริงๆ และในทางกลับกันก็ยังท�ำงานเพื่อช่วยเหลือ องคก์ รภาคประชาสงั คม ใหป้ รบั เปลยี่ นรปู แบบการท�ำงานใหม้ ลี กั ษณะทเี่ ปน็ การ ท�ำงานในรปู แบบของผู้ประกอบการมากข้นึ ดว้ ย ในโครงการผนู้ �ำแหง่ อนาคต พนี่ ยุ้ และทมี School of Changemakers ไดใ้ ชค้ วามสามารถดงั กลา่ วเขา้ มามบี ทบาทหลายประการดว้ ยกนั กลา่ วคอื เขา้ มา เปน็ ทปี่ รกึ ษาในการเขยี นโครงการขององคก์ รภาคประชาสงั คม 4 แหง่ ทอ่ี าสาจะ ทดลองน�ำเอาเครอ่ื งมอื ของผู้ประกอบการไปใช้ในพืน้ ที่ของตนเอง พร้อมกันนัน้ พ่ีนุ้ยยังท�ำหน้าที่เป็นวิทยากรคอยเติมความรู้เก่ียวกับการบริหารจัดการองค์กร ด้วยวิธกี ารของผู้ประกอบการ นอกจากนน้ั พนี่ ยุ้ ยงั สง่ อาสาสมคั รภาคธรุ กจิ ทเี่ รยี กวา่ “intrapreneur” ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ทางธุรกิจให้เข้าไปท่ีปรึกษา และท�ำงานในพื้นท่ีของ องคก์ รภาคประชาสังคมแตล่ ะองคก์ รอยา่ งจรงิ จงั ดว้ ย พีน่ ยุ้ เปน็ ผหู้ ญงิ ผิวขาว ผมยาวประบ่า ทา่ ทางกระชับกระเฉง และมกั สวมเสอื้ ผา้ ทด่ี คู ลอ่ งแคลว่ พรอ้ มกบั สวมรองเทา้ ผา้ ใบทค่ี ลอ่ งตวั เสมอ พน่ี ยุ้ มภี าษา กายเปน็ รอยยมิ้ ทร่ี ะบายอยบู่ นใบหนา้ เสมอในเวลาทเ่ี ปน็ วทิ ยากรในการอบรม ไม่ วา่ จะเป็นการยิม้ จนตาหยีอยา่ งอารมณด์ ี หรอื ยิม้ เยน็ ในยามทไ่ี มต่ ้องการจะสื่อ ความหมายใดๆ แต่จุดเด่นท่ีชัดเจนท่ีสุดของพ่ีนุ้ยจะเป็นอะไรไปไม่ได้นอกจาก การเปน็ คนท่ีตอ้ งการความชัดเจน กระชับ และเปน็ รูปธรรม ซง่ึ คุณสมบตั ิข้อน้ี ต่อไปจะมคี วามส�ำคญั อย่างย่งิ กบั การท�ำงานของกลุ่มผู้น�ำในพืน้ ทโ่ี คกสลงุ ผู้เขียนเคยถามพ่ีนุ้ยถึงจ�ำนวนองค์กรภาคประชาสังคมท่ีสามารถปรับ เปลี่ยนการท�ำงานมาเป็นผู้ประกอบการเพื่อสังคมได้ส�ำเร็จ พี่นุ้ยอธิบายจาก ประสบการณ์ท่ีท�ำงานด้านนี้มานานหลายปีว่า การเปล่ียนองค์กรภาคประชา สงั คมใหเ้ ปน็ ผปู้ ระกอบการมโี อกาสส�ำเรจ็ นอ้ ยกวา่ การพฒั นาโครงการใหมๆ่ มาก 206 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

นกั เนอ่ื งจากองคก์ รภาคประชาสงั คมมีวธิ กี าร และรปู แบบการท�ำงานทปี่ ฏิบัติ สบื ตอ่ กนั มายาวนานนบั สบิ ๆ ปี การปรบั เปลย่ี นวธิ กี ารท�ำงานใหเ้ ปน็ รปู แบบใหม่ ที่ไม่ค้นุ เคย หรอื ไม่เคยท�ำมากอ่ นในชีวติ คงไม่ใชเ่ ร่อื งง่ายนกั ดังนั้น การท�ำงาน ร่วมกับโครงการผู้น�ำแห่งอนาคตในคร้ังน้ี จึงนับเป็นความท้าทายอีกครั้งของพ่ี นุ้ย เชน่ เดียวกัน ทบทวนเส้นทางเดิมก่อนเรมิ่ เดินทางใหม่ “...สิ่งท่ีอยากให้คิดตอนนี้คือ พวกพ่ีจะท�ำงานน้ีไปอีกนานแค่ ไหน...ถ้าจะท�ำไปจนตาย พี่คิดไปเลยนะคะว่าจะตายประมาณ ปีไหน...” (พรจรรย์ ไกรวัตนสุ สรณ์. สัมภาษณ์, 10 พฤศจิกายน 2560) ประโยคขา้ งตน้ นอกจากจะแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การเปน็ คนชดั เจน และชอบ ความเปน็ รปู ธรรมของพน่ี ยุ้ แลว้ ยงั นบั เปน็ ค�ำถามส�ำคญั ค�ำถามหนงึ่ ทพ่ี น่ี ยุ้ กลา่ ว ต่อองค์กรภาคประชาสังคมทีเ่ ขา้ รว่ มในการอบรม strategy for change หนึง่ ในการอบรมทีจ่ ัดขนึ้ โดยโครงการผู้น�ำแห่งอนาคตด้วย การอบรมของพนี่ ุ้ยแบง่ ออกเปน็ 3 ครง้ั แตล่ ะครงั้ พนี่ ุ้ยจะคอ่ ยๆ ท�ำให้ ผู้เข้าอบรมได้รู้จักการเป็นผู้ประกอบการเพ่ือสังคมผ่านการน�ำเสนอตัวอย่าง โครงการ หรอื องคก์ รภาคธรุ กจิ ทป่ี ระสบความส�ำเรจ็ ในการขบั เคลอ่ื นสงั คมดว้ ย วธิ กี ารทม่ี คี วามหลากหลาย พรอ้ มกบั คอ่ ยๆ ท�ำใหภ้ าคประชาสงั คมแตล่ ะองคก์ ร ไดเ้ ขา้ ใจการท�ำงานของตนเองเพ่ิมมากขึน้ ผ่านการตัง้ ค�ำถาม และใชเ้ คร่ืองมือที่ เปดิ โอกาสใหค้ นท�ำงานไดท้ บทวนเปา้ หมายในการท�ำงานของตนเองในลกั ษณะที่ เปน็ รปู ธรรมมากขน้ึ เพอื่ ใหไ้ ดล้ องตดั สนิ ใจปรบั เปลย่ี นความคดิ และกระบวนการ การเดนิ ทางคร้ังใหมข่ องชาวไทยเบ้งิ บ้านโคกสลงุ 207

ท�ำงานบางอย่างด้วยตนเอง โดยมแี นวคดิ ส�ำคญั วา่ ทกุ อย่างท่ีคดิ และท�ำในการ อบรมจะตอ้ งสามารถน�ำไปปรับใชใ้ นการท�ำงานจรงิ ไดท้ นั ที การอบรมของพี่นุ้ยนับว่าแตกต่างจากการอบรมของโครงการผู้น�ำใน อนาคตโครงการอ่ืนๆ พอสมควรความแปลกของการอบรมนี้อาจไม่ได้อยู่แค่ที่ หัวข้อการอบรมท่ีค่อนข้างสดใหม่ส�ำหรับองค์กรภาคประชาสังคมเท่านั้น หาก แต่อยู่ที่องค์ประกอบของผู้เขา้ รว่ มการอบรมในหอ้ งมากกว่า ผู้เขยี นจ�ำไดว้ า่ ในการอบรมครง้ั แรกนั้นผ้เู ขยี นมองไปรอบๆ ห้อง เห็น โต๊ะทรงกลมขนาดใหญ่ 5 - 6 ตวั วางอยู่ตามส่วนตา่ งๆ ของห้อง โต๊ะแต่ละตวั ถกู จบั จองไปดว้ ยสมาชกิ 6 - 7 คน ตวั ท่ีผเู้ ขยี นคนุ้ หน้าบ้าง และแปลกหนา้ บา้ ง โดยสมาชิกทกุ คนในการอบรมถกู วางต�ำแหนง่ ท่ีนงั่ อย่างมีนยั ส�ำคัญ พ่ีนยุ้ วทิ ยากรหลักในการอบรมคร้งั น้ี เปรียบเทยี บให้พวกเราเห็นภาพ ว่า โต๊ะแต่ละตัวในการอบรมครั้งนี้เปรียบได้กับโต๊ะกินข้าวที่ประกอบไปด้วย อาหาร 3 อยา่ ง ไดแ้ ก่ 1) คนท�ำงานภาคประชาสังคมในพื้นท่ี ซงึ่ นบั ว่าเปน็ องค์ ประกอบส�ำคัญ และเป็นคนที่เข้าใจหน้างานจริงมากที่สุด 2) อาสาสมัครภาค ธุรกิจ (intrapreneur) ซ่ึงเป็นผู้ช่วยในการท�ำให้ภาคประชาสังคมของแต่ละ พ้ืนท่ไี ดท้ ดลองเอาเคร่อื งมือทางธุรกจิ ไปใช้ได้อยา่ งเปน็ รูปธรรมในพนื้ ท่ี และ 3) นกั วิจยั อยา่ งผู้เขยี นทเี่ ข้ามาเรยี นรู้ และสังเกตการเปลี่ยนแปลงท่เี กดิ ขึน้ พร้อม ทัง้ เป็นผชู้ ่วยในการด�ำเนนิ กระบวนการ ตั้งแตก่ ารตง้ั ค�ำถาม ชวนสะทอ้ นคิด ไป จนถึงการชว่ ยเขียนฟลิปชารต์ เพ่อื สรปุ ประเดน็ ในการอบรม โต๊ะที่ผู้เขียนนั่งอยู่ถูกเรียกจากผู้เข้าร่วมงานท่านอ่ืน ว่า โต๊ะโคกสลุง เนื่องจากสมาชิกคนส�ำคัญท่ีน่ังอยู่ท่ีโต๊ะนี้คือ กลุ่มผู้น�ำจากสถาบันไทยเบิ้ง โคกสลุงเพื่อการพัฒนา โดยสมาชิกของกลุ่มที่มาเข้าร่วมการอบรมเป็นหลักคือ พอ่ มืด พมี่ ุย่ และ นาวาโทจิตติ อนนั สลุง (ผพู้ นั จติ ต)ิ ผ้นู �ำหลกั ที่ท�ำหน้าทค่ี ิด ยทุ ธศาสตรใ์ นการขบั เคลอ่ื นงานของกลมุ่ ในขณะที่ intrapreneur ของพนื้ ทโ่ี คก สลงุ คอื วนั วสิ าข์ เหรยี ญรงุ่ เรอื ง (พจ่ี บ๊ิ ) ทก่ี �ำลงั เรมิ่ ท�ำความเขา้ ใจชมุ ชนโคกสลงุ 208 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

ผ่านการพูดคยุ กบั ผนู้ �ำชุมชนเพื่อวางแผนการท�ำงานในอีก 7 เดือนข้างหนา้ ตาม ทโี่ ครงการก�ำหนดไว้ ในการอบรมครั้งแรก พี่นุ้ยพาผู้เข้าร่วมการอบรมกลับไปมองภาพรวม ขององคก์ รดว้ ยการตง้ั ค�ำถามถงึ เปา้ หมาย และภารกจิ ทอี่ งคก์ รขบั เคลอ่ื นไปจนถงึ สว่ นของการทบทวนวธิ กี ารท�ำงานขององคก์ รวา่ มคี วามสอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายที่ ตนเองตอ้ งการจะกา้ วไปหรอื ไม่ โดยมเี ครอื่ งมอื หลายอยา่ งทถี่ กู น�ำมาใชเ้ พอ่ื ชว่ ย ในการมองภาพรวม ส่งิ ท่ีเห็นได้บา้ งในการอบรมครงั้ นี้ คือ ปัญหาเลก็ ๆ ในเรื่องชดุ ค�ำศพั ท์ หรอื ความเขา้ ใจในเนอื้ หาบางประการทไ่ี มค่ นุ้ เคย มไี มน่ อ้ ยกวา่ สามครง้ั ในแตล่ ะ วันท่ผี ูเ้ ขียนจะต้องแปลขอ้ ความหรือ อธบิ ายค�ำศพั ทบ์ างค�ำท่ถี ูกหยบิ มาใช้ หรือ มีบางคร้งั ทผี่ ้นู �ำในพนื้ ที่เอ่ยปากด้วยตนเองวา่ มบี างประเดน็ ที่ตามไม่ทัน แต่อย่างไรก็ตาม ในการอบรมคร้ังน้ีมีเรื่องส�ำคัญประเด็นหนึ่งท่ีนับว่า มีอิทธิพลต่อคนท�ำงานในพ้ืนท่ีพอสมควร นั่นคือ การได้กลับไปต้ังค�ำถามเร่ือง วันเกษียณอายุการท�ำงานของตนเองอย่างเป็นรูปธรรม ดังที่ยกตัวอย่างไปข้าง ต้น แม้จะเป็นค�ำถามที่กลุ่มผู้น�ำในพ้ืนที่โคกสลุงอาจจะเคยถูกถามจากนักวิจัย ของโครงการวิจัยต่างๆ ท่ีเข้ามาท�ำงานงานในพื้นท่ีโคกสลุงมาบ้างแล้ว แต่เช่ือ วา่ ไมเ่ คยมคี รง้ั ใดทกี่ ลมุ่ ผนู้ �ำตอ้ งระบชุ ว่ งเวลาเกษยี ณอายเุ ปน็ ตวั เลขทชี่ ดั เจนจน ดูราวกบั เปน็ ค�ำสญั ญาเทา่ คร้งั น้ี ในครง้ั แรกทเ่ี ขา้ รว่ มเปน็ สว่ นหนงึ่ ของกระบวนการนน้ั ผเู้ ขยี นไมไ่ ดค้ าด คิดเลยว่าการระบุช่วงเวลาเกษียณอายุอย่างชัดเจนจะส่งผลอย่างไรต่อท�ำงาน ของกล่มุ ผ้นู �ำในพน้ื ท่ี แต่เมือ่ เวลาผ่านไปหลายเดอื นในชว่ งที่ลงพืน้ ท่ี ผู้เขียนยงั คงได้ยินสมาชิกในกลุ่มผู้น�ำพูดถึงวันเกษียณอายุของตนเองขึ้นมาอีกหลายคร้ัง และพดู ถงึ การสบื ทอดงานโดยคนรนุ่ หลงั อยา่ งจรงิ จงั จากทแ่ี ทบจะไมเ่ คยเอย่ ถงึ เลยในการท�ำงานรว่ มกนั ในปกี อ่ นหนา้ น้ี ดงั นนั้ จงึ อาจกลา่ วไดว้ า่ ค�ำถามดงั กลา่ ว มอี ทิ ธิพลไม่นอ้ ยต่อคนท�ำงาน ดงั ทีพ่ ่มี ยุ่ กลา่ วกับผ้เู ขยี นในการอบรมคร้งั หนงึ่ วา่ การเดินทางครัง้ ใหม่ของชาวไทยเบิง้ บ้านโคกสลุง 209

“เรามองวา่ ยงั ไงเรากเ็ สอ่ื ม รา่ งกายเรมิ่ ถดถอย แตค่ นทเ่ี คา้ มาตอ่ จากเราเขาตอ้ ง ไมเ่ ริ่มจากศูนย์ เขาต้องเริ่มท�ำเองน่นั แหละแต่เราจะมตี �ำรา มีคมู่ อื เอาไวใ้ ห”้ นอกจากการต้งั ค�ำถามเร่ืองเวลาเกษียณอายุของคนท�ำงานแลว้ ในการ อบรมครั้งแรกยงั มีกระบวนการอกี อยา่ งหน่ึงท่ีเปิดโอกาสให้กลุ่มผนู้ �ำได้ทบทวน การท�ำงานของตนเอง และสกดั ออกมาเป็น insight (ข้อมลู วงใน) asset (สิง่ ที่ องคก์ รสะสมมา) และ expertise (สง่ิ ทอี่ งคก์ รท�ำไดด้ แี ละโดดเดน่ ) ซงึ่ ท�ำใหก้ ลมุ่ ผู้น�ำในพ้ืนท่ีเข้าใจภาพของงานที่ตนเองขับเคล่ือนมากย่ิงขึ้น และย่ิงเข้าใจเพ่ิม มากขนึ้ เรอื่ ยๆ ในการอบรมครงั้ ตอ่ ๆ มา ซง่ึ ความเขา้ ใจนนั้ เกดิ ขน้ึ อยา่ งสอดคลอ้ ง กับการค่อยๆ ปรับชุดค�ำ และรูปแบบในการอบรมของพ่ีนุ้ยที่ลดระดับความ เคร่งเครียดลงเชน่ เดยี วกัน Social Impact ทีไ่ มเ่ คยคาดคิด “งานทเี่ ราท�ำคอื เราตอ้ งการท�ำเรอ่ื งดๆี ของบา้ นเรา ใหก้ บั คนบา้ นเรา” นี่คือประโยคท่ีพ่อมืดใช้อธิบายการท�ำงานของตนเองเสมอมา จนกระทั่งเข้ามา อบรม และพูดคุยกับพี่นุ้ยอย่างจริงจัง พ่ีนุ้ยกลับมองว่า งานท่ีชุมชนท�ำ ไม่ได้ สร้างผลกระทบแคเ่ พยี งต่อคนในชมุ ชนโคกสลุง หรอื คนไทยเบ้ิงเทา่ นั้น แต่องค์ ความรู้ท่ีชุมชนใช้เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคนนั้นเป็นสิ่งที่มีคุณค่าอย่างยิ่งต่อ ชมุ ชนอน่ื ๆ ในประเทศไทย ทีก่ �ำลงั เผชิญกับการเปลีย่ นแปลงในโลกปัจจบุ นั เครือ่ งมอื ทพี่ ีน่ ุ้ยใช้น�ำมาใชใ้ นการอบรมมีอยหู่ ลายอยา่ ง แตเ่ คร่ืองมอื ท่ี ส�ำคญั ทส่ี ดุ ของการอบรมครง้ั แรกนา่ จะเปน็ การน�ำ “Theory of Change (ToC)” มาใชเ้ ปน็ แผนทีใ่ นการท�ำงาน ภายใต้ความเชือ่ วา่ ToC จะชว่ ยท�ำให้มองเห็น ภาพรวมท้ังหมดของงานท่ีองค์กรขับเคลื่อนอยู่ คือช่วยตั้งเป้าหมายระยะยาว ขององคก์ ร และวางแผนกระบวนการท�ำงานระยะสัน้ ในแต่ละขั้นตอนเพื่อให้ไป 210 จดุ นัดพบบนเส้นขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ถึงเป้าหมายในระยะยาวด้วย การท�ำ ToC ของพ้นื ทโ่ี คกสลงุ มปี ระเดน็ ที่นา่ สนใจ คือ ในขน้ั ตอนการ ระบปุ ญั หา ซงึ่ เปน็ สงิ่ แรกทต่ี อ้ งค�ำนงึ ถงึ นน้ั กลมุ่ ผนู้ �ำในพนื้ ทย่ี นื ยนั วา่ สง่ิ ทที่ �ำอยู่ ไมใ่ ชก่ ารแกป้ ญั หาของชมุ ชน แตเ่ ปน็ การสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ สง่ิ ทดี่ ี คอื การสบื สาน วฒั นธรรมใหม้ มี ากขน้ึ ในชมุ ชน เปน็ การท�ำความดเี พอ่ื ใหเ้ รอื่ งทไ่ี มด่ ลี ดนอ้ ยลง แต่พนี่ ยุ้ ใหค้ วามเห็นว่า การคิดเช่นนไี้ ม่มพี ลังในการสื่อสารมากเท่าที่ควร ดงั น้ัน จงึ ควรสอื่ สารใหช้ ดั เจนและมพี ลังขึ้น ในทสี่ ดุ กไ็ ดข้ อ้ สรปุ วา่ การสง่ เสรมิ วฒั นธรรมทกี่ ลมุ่ ผนู้ �ำขบั เคลอื่ นอยใู่ น ปจั จบุ นั เปน็ การเขา้ ไปแกไ้ ขปญั หาบางอยา่ งในชมุ ชนดว้ ยเชน่ กนั นนั่ คอื ปญั หา การรุกคืบของวัฒนธรรมสมัยใหม่ เพราะโลกสมัยใหม่นี่เองท่ีท�ำให้วัฒนธรรม ดง้ั เดมิ รวมท้งั วถิ ีชวี ติ ที่ดงี ามของชมุ ชนค่อยๆ ถูกกลืนหายไปด้วย จนท�ำให้กลุ่ม คนท�ำงานตอ้ งลกุ ขน้ึ มาขบั เคลอ่ื นเรอื่ งวฒั นธรรมในทส่ี ดุ เมอ่ื สอื่ สารปญั หาออกมา เช่นน้ีจะท�ำให้เห็นว่า ส่ิงที่เกิดข้ึนในชุมชนโคกสลุงแท้จริงแล้วก็คือปัญหาที่ เกิดข้ึนกับชุมชนอกี มากมายทัว่ ประเทศไทยเชน่ กนั การใหม้ มุ มองในลกั ษณะใหมน่ จ้ี งึ นบั เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ทท่ี �ำใหก้ ลมุ่ ผนู้ �ำเรม่ิ มองเหน็ มากขนึ้ วา่ สง่ิ ทต่ี นเองก�ำลงั ขบั เคลอ่ื นนน้ั ไมใ่ ชแ่ คเ่ รอ่ื งของชมุ ชนโคกสลงุ เท่าน้ัน แตเ่ ป็นเรื่องท่มี คี วามเกี่ยวข้องกบั ชุมชนอ่นื ๆ ในสงั คมไทยด้วย ซึ่งนับว่า เป็นเร่อื งใหม่ท่ีคนท�ำงานอาจไมเ่ คยนกึ ถึงมาก่อน สว่ นในการอบรมครง้ั ทส่ี อง เนอ้ื หาในการอบรมเนน้ ไปทก่ี ารคดิ ผลลพั ธ์ ทางสังคม และการคิดต้นทุนที่ใช้ในการท�ำงาน การอบรมครั้งน้ีท�ำให้เกิดผล กระทบ 2 ประการต่อกลุ่มผู้น�ำคือ 1) ได้เข้าใจวิธีการคิด ค่าใช้จ่ายท้ังหมดใน การด�ำเนินงาน หรือสร้างผลิตภัณฑ์บางอย่างของชุมชน โดยการคิดค่าใช้จ่าย อยา่ งรอบดา้ น ซงึ่ วธิ คี ดิ คา่ ใชจ้ า่ ยนไ้ี ดถ้ กู น�ำมาขยายผลตอ่ ในชมุ ชน ซง่ึ ผเู้ ขยี นจะ กลา่ วถงึ ในเนื้อหาส่วนต่อๆ ไป 2) คนท�ำงานในพนื้ ที่ไดม้ องเห็นผลลัพธ์ทางสังคม (social impact) ที่ การเดินทางคร้ังใหมข่ องชาวไทยเบงิ้ บา้ นโคกสลุง 211

ตนเองสรา้ งอยา่ งชดั เจนมากขน้ึ ในลกั ษณะทเี่ ปน็ รปู ธรรม เชน่ การประเมนิ วา่ คน โคกสลงุ มสี ว่ นรว่ มในการสบื สานวฒั นธรรมมากขน้ึ หรอื ไม่ อาจไมไ่ ดป้ ระเมนิ จาก จ�ำนวนคนทีม่ าเข้ารว่ มงานลานวฒั นธรรมประจ�ำปขี องชมุ ชน หรอื ประเมินจาก คนทเ่ี ขา้ มาท�ำงานรว่ มกบั กลุ่มผนู้ �ำในพน้ื ทเี่ ท่านั้น แต่อาจสังเกตเพมิ่ เตมิ ไดจ้ าก จ�ำนวนคนในชุมชนท่ีใช้ หรือขายสินค้าพ้ืนบ้านท่ีเกิดจากการส่งเสริมหรือการ คดิ ขึ้นมาใหม่โดยกลุ่มผนู้ �ำ เช่น ยา่ มไทยเบิง้ ท่สี มาชกิ ในกลมุ่ ผูน้ �ำไดม้ กี ารปรบั ขนาดของยา่ มดงั้ เดมิ ใหเ้ ลก็ ลง และใชไ้ ดส้ ะดวกขน้ึ จนกระทง่ั นยิ มใชท้ ว่ั ทง้ั ชมุ ชน ในปจั จบุ นั หรอื จ�ำนวนรา้ นขายผกั พน้ื บา้ นทเ่ี พมิ่ จ�ำนวนมากขนึ้ เชน่ กนั จากการท่ี บา้ นพกั โฮมสเตยต์ อ้ งใชผ้ กั พน้ื บา้ นในการท�ำอาหารไทยเบง้ิ เลย้ี งแขกทเ่ี ขา้ มาพกั การประเมินผลลัพธ์ทางสังคมในลักษณะน้ีนอกจากจะช่วยขยาย ขอบเขตในมองให้กว้างขวางมากข้ึนแล้ว ยังสื่อสารภาพของการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในการสบื สานวัฒนธรรมไทยเบ้ิงในลกั ษณะทีเ่ ปน็ รปู ธรรมมากยิ่งขน้ึ ดว้ ย ยง่ิ ไปกวา่ นน้ั เมอื่ กลมุ่ ผนู้ �ำไดม้ กี ารพดู คยุ กบั พนี่ ยุ้ อยา่ งจรงิ จงั ทง้ั ในและ นอกเวลาอบรมก็ย่ิงพบว่างานที่ขับเคล่ือนท่ีกลุ่มผู้น�ำในพ้ืนท่ีท�ำอยู่ไม่ได้ส่งผล กระทบกับคนในชุมชนเพียงเท่านั้น แต่การท�ำงานดังกล่าวยังส่งผลกระทบต่อ คนภายนอกอีกมากมายทม่ี โี อกาสเขา้ ไปเรียนรูเ้ ร่อื งราวในชมุ ชนอกี ดว้ ย ตัวอยา่ งง่ายๆ ของผลลัพธท์ างสังคมทีเ่ กิดกับคนภายนอกท่ไี ดม้ โี อกาส เขา้ มาเรียนรู้เร่อื งราวทางวัฒนธรรมทเ่ี ห็นไดอ้ ย่างชดั เจนกค็ ือ เสยี งสะท้อนของ ผู้เข้าพักในหมู่บ้านโฮมสเตย์ท่ีเขียนลงในสมุดเยี่ยมบ้านโฮมสเตย์แต่ละหลังว่า เม่ือได้มาเรียนรู้วัฒนธรรมและพักในหมู่บ้านแล้วท�ำให้คิดถึงบ้าน และอยากจะ กลบั ไปพฒั นาบา้ นเกดิ ของตวั เองเชน่ กนั หรอื จ�ำนวนชมุ ชนทก่ี ลมุ่ ผนู้ �ำเขา้ ไปเปน็ ท่ปี รึกษาในเรื่องของกระบวนการพัฒนาคน การประเมนิ ผลลพั ธท์ างสงั คมดงั กลา่ วสอดคลอ้ งกบั ทผี่ เู้ ขยี นไดม้ โี อกาส พดู คยุ กบั นกั วจิ ยั ทา่ นหนงึ่ ทเ่ี ขา้ ไปท�ำงานวจิ ยั ในพนื้ ทโี่ คกสลงุ ทสี่ ะทอ้ นวา่ ชมุ ชน โคกสลุงถูกนับเป็นชุมชนที่ปรึกษาให้กับชุมชนอ่ืน ๆ ที่อยู่ในโครงการเดียวกัน 212 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

เนื่องจากเปน็ ชุมชนท่มี ีผูน้ �ำที่เข้มแขง็ มีศักยภาพ และมกี ระบวนการพฒั นาคน ทน่ี ่าสนใจมากอกี ชมุ ชนหน่ึง ยงั ไมน่ บั รวมถงึ ผลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ กบั นกั วจิ ยั หรอื เครอื ขา่ ยแตล่ ะทา่ น ทเี่ ขา้ ไปท�ำวจิ ยั ในพน้ื ทโี่ คกสลงุ ในฐานะพนื้ ทเ่ี รยี นรซู้ งึ่ ท�ำใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลง บางอย่างกับตนเอง เช่น อาจารย์บางท่านทีเ่ ขา้ มาลงพืน้ ทโี่ คกสลุงต้งั แต่ยงั เป็น นกั ศกึ ษา และยงั ท�ำงานรว่ มกบั ชมุ ชนมาจนถงึ ปจั จบุ นั โดยใชท้ กั ษะความสามารถ ที่ตนเองได้เรียนมาใช้ในการท�ำโครงการกับพื้นที่โคกสลุงอย่างต่อเน่ืองมาจนถึง ปจั จบุ ัน ทง้ั โครงการทีม่ งี บประมาณรองรบั และงานทที่ �ำรว่ มกับชุมชนโดยไมม่ ี เรอ่ื งของงบประมาณ หรอื โครงการวจิ ยั มาเกย่ี วขอ้ ง นอกจากนย้ี งั มกี ารน�ำความ รู้ที่ได้จากการท�ำงานในพ้ืนที่โคกสลุงไปใช้ในการท�ำงานร่วมกับชุมชนอ่ืนๆ ที่ อาจารย์แตล่ ะทา่ นท�ำโครงการอยดู่ ้วย การไดเ้ หน็ ผลลพั ธท์ างสงั คมทไี่ มไ่ ดค้ าดคดิ มากมายเหลา่ นนี้ เ่ี องทที่ �ำให้ พ่ีนุ้ยยืนยันได้ว่าการขับเคลื่อนงานของกลุ่มผู้น�ำในพื้นท่ีโคกสลุงไม่ได้เป็นแค่ เพยี งเรอื่ งของการท�ำเพอื่ บา้ นเกดิ เทา่ นน้ั แตผ่ ลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั คนภายนอก มากมายเหลา่ นต้ี า่ งหากทเี่ ปน็ ผลลพั ธท์ างสงั คมทแ่ี ทจ้ รงิ ซงึ่ ชมุ ชนท�ำใหเ้ กดิ ขน้ึ กบั สงั คมไทย Learning Organization คอื จดุ เปลีย่ น เม่ือมองเห็นผลลัพธ์ทางสังคมอย่างชัดเจนแล้ว การแกะรอยท่ีมาท่ีไป และวธิ กี ารสรา้ งใหเ้ กดิ ผลลพั ธด์ งั กลา่ ว กเ็ ปน็ สงิ่ ส�ำคญั ทคี่ วรจะตอ้ งท�ำตอ่ ดงั นนั้ พี่นยุ้ และกลุม่ ผ้นู �ำในพื้นทโี่ คกสลงุ จงึ เรมิ่ ช่วยกันแกะรอยวธิ กี ารท�ำงานของกลุม่ ผูน้ �ำในชมุ ชนโคกสลงุ โดยมีความมงุ่ หวงั วา่ จะคน้ พบองค์ความรูข้ องคนท�ำงานท่ี ผลกั ดนั ให้เกดิ ผลลพั ธท์ างสังคมทค่ี าดไมถ่ งึ ดงั กลา่ ว การเดนิ ทางคร้งั ใหม่ของชาวไทยเบ้ิงบ้านโคกสลุง 213

การถอดกระบวนการท�ำงานของกลุ่มผู้น�ำโคกสลุงโดยพี่นุ้ยเป็น ไปอย่างจริงจัง จนในที่สุดก็พบว่าความเช่ียวชาญส�ำคัญของผู้น�ำในชุมชน โคกสลุงที่ชัดเจนที่สุดคือเร่ืองของการพัฒนาคนแต่ละกลุ่มในชุมชน หรือการ สรา้ งทมี ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ ซงึ่ พ่ีนุ้ยมองวา่ เครือ่ งมือส�ำคญั ทีใ่ ช้ในการสรา้ งทมี ให้ มปี ระสทิ ธภิ าพมากทสี่ ดุ อยา่ งหนงึ่ คอื การผลกั ดนั ใหท้ มี หรอื องคก์ ร มคี ณุ สมบตั ิ เปน็ องคก์ รแห่งการเรียนรู้ (learning organization) Learning Organization (LO) หรอื องคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ เปน็ แนวคดิ อันโดง่ ดังทีถ่ กู เสนอขึน้ โดย ปีเตอร์ เซงเก (Peter Seanga) ต้งั แต่ ค.ศ. 1990 แม้จะเป็นวิธีการที่ถูกคิดมานานหลายปีแต่ก็ยังเป็นที่กล่าวถึง และถูกน�ำมาใช้ เป็นแนวคดิ ในการบริหารขององค์กรท้งั ภาครัฐ และเอกชนหลายท่ี ในฐานะวิธี คดิ ท่ีช่วยพัฒนาใหอ้ งคก์ ้าวไปขา้ งหนา้ อย่เู สมอ (เถลงิ ศก โสมทพิ ย,์ 2555) แนวคิดส�ำคญั ของ learning organization คอื การสร้างองค์กรทใ่ี ห้ ความส�ำคัญกับการเรียนรู้ท้ังการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล และการเรียนรู้ของ องคก์ ร องคก์ รแหง่ การเรยี นรสู้ ามารถเกดิ ขนึ้ ไดโ้ ดย 5 องคป์ ระกอบส�ำคญั ไดแ้ ก่ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วม (shared vision) การคิดอย่างเป็นระบบ (systems thinking) การเรียนรขู้ องทีม (team learning) วัฒนธรรม หรือ อุดมคตขิ อง องคก์ ร (mental model) สภาวะผนู้ �ำ หรอื ความเชยี่ วชาญของบคุ คล (personal mastery) ส�ำหรบั ผู้เขยี น แนวคดิ ในการพฒั นาองคก์ รให้เปน็ องค์กรแห่งการเรยี น รนู้ ้นั นบั ว่าเปน็ เรอ่ื งนา่ ช่นื ชม แต่คงน�ำมาใชไ้ ด้ไม่งา่ ยนัก เพราะนอกจากผปู้ ฏบิ ตั ิ จะต้องเข้าใจแนวคิด และความส�ำคัญของแต่ละองค์ประกอบอย่างถ่องแท้แล้ว ยงั ตอ้ งมวี ธิ กี ารบรหิ ารทต่ี อ้ งใหค้ วามส�ำคญั กบั การเตบิ โตของแตล่ ะคนในองคก์ ร ไปพรอ้ มๆ กบั การเตบิ โตในภาพรวมขององคก์ รอยา่ งสอดคลอ้ งกนั เปน็ ระบบ ยงั ไมน่ บั รวมไปถงึ ปจั จยั จากภายนอก เชน่ การเปลยี่ นแปลงของนโยบาย ซงึ่ อาจสง่ ผลกระทบต่อวสิ ัยทศั นท์ รี่ ว่ มกนั สรา้ งขึ้นมาทันที 214 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสังคม

แต่ในกรณีของชุมชนโคกสลุงน้ัน ความน่าสนใจท่ีเกิดขึ้นคือ เม่ือพี่นุ้ย คอ่ ยๆ ถอดวธิ กี ารท�ำงานพฒั นาคนของกลมุ่ ผนู้ �ำกเ็ รมิ่ พบความเชอ่ื มโยงระหวา่ ง learning organization กับแนวทางท่ีกลุ่มผู้น�ำใช้ในการพัฒนาคนของชุมชน โดยมีรายละเอยี ดดังตวั อย่างต่อไปนี้ mental model: อุดมคตทิ สี่ �ำคัญของกลุ่มคนท�ำงานในพ้นื ที่โคกสลงุ ชัดเจนว่าเป็นเรื่องของการเห็นคุณค่าของวัฒนธรรม และความต้องการที่จะให้ วถิ ชี วี ติ อนั ดงี ามของชมุ ชนคงอยตู่ อ่ ไป ซง่ึ เปน็ สงิ่ ทต่ี อ้ งมใี นคนท�ำงานทกุ คน และ สะท้อนใหผ้ เู้ ขียนเหน็ เสมอในยามที่เขา้ ไปพดู คุยกับคนท�ำงานสว่ นต่างๆ ในกลมุ่ shared vision: ในการท�ำงานของชมุ ชนโคกสลงุ จะมกี ารน�ำเสนอยทุ ธศาสตรก์ าร พฒั นาชมุ ชน หรือน�ำเสนอแนวคดิ ตลอดจนกิจกรรมที่จะด�ำเนินงานต่อสมาชิก ทกุ คนในทมี อยเู่ สมอ โดยมขี น้ั ตอนเรมิ่ ตน้ จากกลมุ่ ผนู้ �ำหลกั จะเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากกลุ่มคนท�ำงานสว่ นอนื่ ๆ จากนนั้ ผู้น�ำหลกั จงึ น�ำข้อมลู ท่ีได้ไปคิดยุทธศาสตร์ การท�ำงาน แลว้ จงึ น�ำเสนอยทุ ธศาสตรท์ คี่ ดิ ไวต้ อ่ กลมุ่ คนท�ำงานทงั้ หมด เพอื่ เปดิ โอกาสใหค้ นท�ำงานส่วนอน่ื ๆ ไดส้ ะทอ้ นและปรับเปลีย่ นวธิ ีการให้เหมาะสมกบั ความตอ้ งการของแตล่ ะกลมุ่ ซงึ่ วธิ กี ารดงั กลา่ วพน่ี ยุ้ มองวา่ เปน็ การท�ำงานทเี่ ปดิ โอกาสใหท้ กุ คนได้ก�ำกบั ทศิ ทางการพัฒนาของกล่มุ อยา่ งแทจ้ ริง systems thinking: พอ่ มืดเลา่ ใหพ้ น่ี ุ้ยฟงั ว่า แนวคดิ ส�ำคัญท่ีสดุ ทใ่ี ช้ ในการท�ำงานชุมชน คือ การคิดกระบวนระบบ เพื่อให้ทุกคนในทีมได้มองเห็น ภาพการท�ำงานท้ังหมดเป็นภาพเดียวกัน และท�ำให้มองเหน็ ไดว้ า่ งานของแตล่ ะ คนในกลมุ่ มคี วามสอดคลอ้ งกนั อยา่ งไร ไปจนถงึ ท�ำใหม้ องเหน็ วา่ งานของชมุ ชน สอดคลอ้ งกบั หนว่ ยงานอนื่ อยา่ งไร ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากทพ่ี อ่ มดื เลา่ ใหฟ้ งั เสมอวา่ ใคร หรอื การจดั กจิ กรรมใดทจ่ี ะนบั เปน็ จดุ คานงดั ส�ำคญั ของการขบั เคลอื่ นงานแตล่ ะ อย่าง personal mastery: ในเรอ่ื งของสภาวะผนู้ �ำของแตล่ ะคนในทมี พอ่ มดื และกลมุ่ ผนู้ �ำในพนื้ ทมี่ กั จะพดู อยเู่ สมอวา่ แตล่ ะคนในทมี ตอ้ งไดร้ บั การพฒั นาให้ การเดินทางครัง้ ใหมข่ องชาวไทยเบ้ิงบา้ นโคกสลุง 215

เกง่ ในแบบของตนเอง เชน่ ปนี เ้ี นน้ การพฒั นาทกั ษะใหก้ บั กลมุ่ อาชพี ทอผา้ ใหร้ จู้ กั วิธกี ารทอผ้าโดยใช้สธี รรมชาติ และเรยี นรู้วิธีการบรหิ ารกลุ่ม และพฒั นาสินค้า ของตนเองจากการสอนของพี่จ๊ิบ ซึง่ เป็น intrapreneur ในพน้ื ท่ี ในขณะทก่ี ลุม่ ผู้น�ำหลักท่ีเป็นคนคิดยุทธศาสตร์ของชุมชนน้ัน จะเน้นการพัฒนาไปท่ีเรื่องของ การคิดกระบวนระบบ และความสามารถในการเป็นกระบวนกร team learning: สว่ นการเรยี นรขู้ องทมี นน้ั เครอ่ื งมดื ส�ำคญั ทพ่ี อ่ มดื ใช้ คอื กระบวนการสนุ ทรยี สนทนา (dialogue) ทพ่ี อ่ มดื ใหค้ วามส�ำคญั มากทส่ี ดุ ใน การท�ำงานของทกุ ทมี ถอื เปน็ ทกั ษะพน้ื ฐานทที่ กุ คนในทมี ตอ้ งเรยี นรอู้ ยา่ งจรงิ จงั เพราะเปน็ ทกั ษะทจี่ ะท�ำใหก้ ารพดู คยุ กนั ของกลมุ่ คนท�ำงานมปี ระสทิ ธภิ าพมาก ท่ีสุด ตัวอย่างข้างต้น เป็นเพียงตัวอย่างของการเชื่อมโยงแนวคิด learning organization เข้ากับการท�ำงานจริงของกลุ่มผู้น�ำในพ้ืนที่โคกสลุงอย่างคร่าวๆ เท่านั้น การเชอ่ื มโยงระหว่างสิ่งทเี่ กดิ ขนึ้ จรงิ ในพื้นที่ และแนวคดิ ทฤษฎีเขา้ ด้วย กนั ท�ำใหก้ ลมุ่ ผนู้ �ำรสู้ กึ มนั่ ใจในการท�ำงานของตนเองมากขน้ึ วา่ มคี วามเปน็ สากล และเป็นวธิ ีการที่มีหลักทฤษฎรี องรับ ย่งิ เมือ่ รวมกบั วธิ ีการสือ่ สารของพน่ี ุ้ย ท่ีมี การเลือกใชค้ �ำ และเรียบเรยี งวิธีการท�ำงานของชุมชนให้เปน็ การส่อื สารทีม่ ีพลงั และมีความกระชบั ชดั เจน กย็ ่ิงท�ำใหก้ ล่มุ ผู้น�ำรสู้ กึ ว่าส่ิงที่ตนเองท�ำน้นั สามารถ พฒั นาเป็นโมเดลตน้ แบบของชมุ ชน ผลลัพธ์ที่ไม่ได้คาดคิด ประกอบกับความม่ันใจว่า วิธีการพัฒนาคนที่ ท�ำมาโดยตลอดสามารถเชื่อมโยงเข้ากับแนวคิด learning organization ได้ เปน็ อยา่ งดี ท�ำใหพ้ อ่ มดื และกลุ่มผู้น�ำในพืน้ ทเี่ ปลยี่ นแปลงความคิดไปจากเดิม คอ่ น ขา้ งมาก จากการตงั้ เปา้ หมายส�ำคญั ไปทกี่ ารดแู ลชมุ ชนของตนเองใหก้ ลาย เป็นเพียงชุมชนท่ีพ่ึงพาตนเองได้ กลายมาเป็นการตั้งเป้าหมายใหม่ที่จะท�ำให้ โคกสลุงเป็นชุมชนต้นแบบในการพึ่งพาตนเองที่ชุมชนอ่ืนสามารถเข้ามาเรียนรู้ วิธีการท�ำงาน และพร้อมท่ีจะเข้าไปเป็นท่ีปรึกษาให้กับชุมชนอื่นในการพัฒนา 216 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

คนในพ้ืนทอี่ ยา่ งเตม็ ที่ เม่ือวางเป้าหมายใหม่ที่ดูเหมือนจะไปไกลกว่าเป้าหมายท่ีชุมชนเคย ท�ำมาตลอด การท�ำงานของพ่อมืด และพี่นุ้ยจึงเป็นไปในลักษณะของการถอด บทเรียนวิธีการท�ำงานของพื้นท่ีเพื่อน�ำมาพัฒนาเป็นโมเดลท่ีจะสามารถเอาไป ทดลองใชไ้ ดใ้ นชมุ ชนอนื่ ๆ ไดง้ า่ ยๆ โดยมวี ธิ กี ารสอื่ สารทชี่ ดั เจน และเปน็ รปู ธรรม การท�ำงานของพนี่ ยุ้ และกลมุ่ ผนู้ �ำในพนื้ ทโี่ คกสลงุ เปน็ ไปอยา่ งจรงิ จงั ทมุ่ เท และ ต้ังใจ ดังจะเห็นได้จากการประชุมของพวกเขาท่ีใช้ระยะเวลาพูดคุยค่อนข้าง ยาวนาน ใชเ้ วลาคิดอย่างถีถ่ ้วนกอ่ นทีจ่ ะเลือกค�ำหนงึ่ ค�ำมาใชใ้ นโมเดลท่ีทงั้ สอง ฝา่ ยร่วมกนั คิดขึ้น ผูเ้ ขยี นรสู้ กึ ต่นื เตน้ ทไ่ี ดม้ โี อกาสอยู่ในเส้ียวหน่ึงของช่วงเวลาการท�ำงาน นน้ั และไดม้ องเหน็ วธิ กี ารท�ำงานของทง้ั สองฝา่ ย ไดม้ โี อกาสเหน็ คนทชี่ อบความ กระชับ รวดเร็ว ตรงประเด็น และเห็นความส�ำคัญของเวลาทุกวินาทีอย่างที่พ่ี นุ้ยค่อยๆ ใช้เวลาท�ำความเข้าใจกลุ่มผู้น�ำในพื้นที่ และได้เห็นกลุ่มผู้น�ำในพื้นที่ พยายามอธบิ ายส่ิงทีต่ นเองท�ำอย่างจรงิ ใจ ผู้เขียนคาดเดาเอาเองว่าเหตุผลหนึ่งท่ีท�ำให้คนท้ังสองฝ่ายต่างเปิดใจ เข้าหากันอาจเป็นเพราะส่ิงที่พวกเขาก�ำลังท�ำขณะนี้ไม่ใช่แค่เพียงเส้นทางกลับ บา้ นของคนในชมุ ชนโคกสลงุ เทา่ นนั้ แตอ่ าจกลายเปน็ หนทางกลบั บา้ นใหก้ บั คน รนุ่ ใหมข่ องชุมชนอีกมากมายในประเทศนดี้ ้วย การเดินทางครงั้ ใหม่ของชาวไทยเบิ้งบา้ นโคกสลงุ 217

การน่ังลอ้ มวงเพอ่ื พูดคุยปรึกษาหารือกนั ในประเด็นตา่ งๆ เปน็ กิจกรรมทีเ่ กดิ ข้นึ อยา่ งสม�่ำเสมอในกลมุ่ คนท�ำงานในพ้นื ท่ี (ทม่ี าของภาพ: โครงการผู้น�ำแห่งอนาคต) 218 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

ผู้ประกอบการในพื้นทีจ่ ริง ในขณะที่พ่อมืดและพี่นุ้ยเร่ิมวางกลยุทธ์การท�ำงานเพื่ออนาคต และ ความยงั่ ยนื ในอกี หลายปขี า้ งหนา้ ของชมุ ชน โดยมเี ปา้ หมายไกลๆ วา่ สดุ ทา้ ยแลว้ โคกสลุงจะสามารถพึ่งพิงตวั เองได้ ทง้ั ยังเปน็ ต้นแบบให้กบั ชุมชนอกี มากมายทว่ั ประเทศทกี่ �ำลงั เผชญิ กบั ปญั หาการคกุ คามของวฒั นธรรมสมยั ใหม่ ยงั มคี นท�ำงาน ด้านวัฒนธรรมอีกกลุ่มหนึ่งในชุมชนโคกสลุงที่ก�ำลังประสบปัญหา และจ�ำเป็น ต้องปรับเปล่ียนวธิ กี ารท�ำงานของตนเองอยา่ งเรง่ ดว่ น ความทกุ ข์ของกลมุ่ อาชพี ดังที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้นว่า คนที่มีบทบาทในการขับเคล่ือนงาน วฒั นธรรมในชมุ ชนโคกสลงุ ประกอบไปดว้ ยคนสก่ี ลมุ่ หลกั ๆ ไดแ้ กส่ ถาบนั ไทยเบง้ิ โคกสลงุ เพอื่ การพฒั นา ครภู ูมิปญั ญา เมล็ดข้าวเปลือกไทยเบิง้ และกลมุ่ อาชพี ซ่งึ ประกอบไปด้วยกลุม่ ยอ่ ยๆ อกี หลายกลมุ่ ดงั นี้ กลุ่มทอผ้า หมายถึง กลมุ่ คนท่ที �ำอาชพี ทอผ้าพนื้ บ้านของไทยเบ้ิง ซง่ึ มีอยู่ 3 ลักษณะคือ ทอผ้าส�ำหรบั ท�ำย่าม ทอผ้าขาวม้าส�ำหรบั ท�ำผ้าพันคอ หรือ ตัดเสอื้ และทอผา้ พื้น ซึ่งสว่ นใหญ่มักจะเป็นผ้าฝ้ายยอ้ มสธี รรมชาติ กลมุ่ ทอผ้า มสี มาชกิ อยหู่ ลายสบิ คนทว่ั หมบู่ า้ น สมาชกิ สว่ นใหญม่ กั เปน็ ผหู้ ญงิ ในหมบู่ า้ นทมี่ ี อาชพี หลกั ท�ำนา ท�ำไร่ และทอผ้าเป็นงานอดเิ รก หรือ ผสู้ ูงอายทุ ี่ไมไ่ ดป้ ระกอบ อาชีพเกษตรกรรมแล้ว กลุ่มแปรรูปผ้าทอ หมายถึง กลุ่มคนท่ีท�ำงานต่อเน่ืองจากกลุ่มทอผ้า โดยการรับผ้าที่ทอเสร็จเรียบร้อยแล้วมาแปรรูปในลักษณะต่างๆ เช่น ตัดเสื้อ เยบ็ ย่าม ฟั่นชายครุยย่าม และผ้าพันคอ ไปจนถึงตัดเย็บของช้ินเล็กๆ จากเศษ การเดนิ ทางครง้ั ใหม่ของชาวไทยเบง้ิ บ้านโคกสลงุ 219

ผ้าพ้ืนบ้านท่ีเหลอื จากการตดั เสื้อ หรือตัดยา่ ม เชน่ พวงกญุ แจ หรือกระเปา๋ ใส่ เหรียญใบเลก็ ๆ กลุ่มโฮมสเตย์ หมายถึง กลุ่มคนที่เป็นเจ้าของบ้านพักโฮมสเตย์ของ ชุมชนไทยเบิง้ โคกสลงุ มีสมาชิกทั้งหมด 10 – 11 หลงั คาเรือน คนกล่มุ น้มี ีอาชพี หลกั ท่ีหลายหลาย แตเ่ ปดิ พ้ืนทีส่ ่วนหนง่ึ ของบ้านให้กับนกั ท่องเท่ยี วไดม้ โี อกาส เขา้ พกั และไดเ้ รียนรู้วถิ ีชีวิตความเปน็ อยขู่ องคนไทยเบง้ิ ผา่ นการกนิ อาหารพื้น บา้ น และการพดู คยุ กบั เจา้ ของบา้ น บา้ นพกั โฮมสเตยใ์ นชมุ ชนโคกสลงุ ไมไ่ ดเ้ ปดิ ใหเ้ ขา้ พกั อยา่ งสมำ่� เสมอ ทง้ั นขี้ น้ึ อยกู่ บั ความพรอ้ มของเจา้ ของบา้ นในแตล่ ะชว่ ง เวลา กลมุ่ ข้าวซ้อมมือ หมายถึง กลุม่ คนทที่ �ำการเกษตรอนิ ทรีย์ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงท�ำผลิตภัณฑ์ข้าวปลอดสารเคมี ปัจจุบันกลุ่มนี้ยังมีขนาดเล็ก และเพ่ิง เร่มิ ต้นมีสินค้าเขา้ มาร่วมกบั กลมุ่ อน่ื ๆ เพยี งไมก่ ่ีประเภทเทา่ นัน้ ผู้เขยี นไดม้ ีโอกาสพดู คุยกบั สมาชกิ จากกลุม่ อาชพี หลายต่อหลายคนใน โครงการผู้น�ำแห่งอนาคตปีท่ีผ่านมาในฐานะผู้เข้าร่วมการอบรมในโครงการ พฒั นาแกนน�ำจติ สาธารณะ ทม่ี งุ่ เนน้ การสรา้ งทกั ษะทจี่ �ำเปน็ ตอ่ การเปน็ ผนู้ �ำ โดย เฉพาะอยา่ งยง่ิ ทกั ษะการฟงั อยา่ งลกึ ซงึ้ แตป่ นี ผ้ี เู้ ขยี นไดม้ โี อกาสเขา้ ไปพดู คยุ กบั กลมุ่ อาชีพในหวั ขอ้ ท่ีแต่ละคนถนัดอยา่ งแทจ้ ริง นน่ั คืออาชพี ทพ่ี วกเขาท�ำอยู่ สมาชิกในกลุ่มอาชีพท่ีผู้เขียนได้มีโอกาสพบหน้ามากท่ีสุดในชุมชนจะ เป็นใครไปไม่ได้ นอกจาก อุทยั ออ่ นสลุง (ปา้ แดง) ประธานกลุม่ แปรรูปผ้าทอ ซง่ึ เปน็ พสี่ าวแทๆ้ ของพอ่ มดื และเขา้ มาท�ำงานเกยี่ วกบั สนิ คา้ ประเภทผา้ พน้ื บา้ น ไทยเบิ้งมาตั้งแต่ปี 2535 โดยเร่มิ ต้นจากการเข้าร่วมโครงการสง่ เสริมอาชพี ด้าน การทอผา้ ดว้ ยกกี่ ระตกุ จากนนั้ จงึ เรมิ่ ผลติ สนิ คา้ ทมี่ กี ารน�ำผา้ พน้ื บา้ นมาแปรรปู ในลักษณะต่าง ๆ ตามทกั ษะการตดั เยบ็ เส้อื ผา้ ทีป่ า้ แดงถนัดอยู่แต่เดิมแล้ว สนิ คา้ ของปา้ แดงมอี ยหู่ ลายชน้ิ เชน่ เสอื้ แบบตา่ งๆ ทต่ี ดั มาจากผา้ ขาวมา้ แบบไทยเบ้ิง เสื้ออีหิ้ว เส้ือพ้ืนบ้านแบบดั้งเดิมของคนไทยเบ้ิง และย่ามแบบ 220 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

ไทยเบงิ้ ซง่ึ ปา้ แดงปรบั แบบของยา่ มไทยเบง้ิ แบบดง้ั เดมิ ทมี่ ขี นาดใหญใ่ หม้ ขี นาด ลดลงจนเหมาะสมส�ำหรับการพกพามากขึ้น และกลายมาเปน็ ยา่ มขนาดที่ใชก้ นั อยทู่ ัว่ ไปในปจั จบุ นั สินค้าจากผ้าพ้ืนบ้านของไทยเบิ้งถูกออกแบบและผลิตออกมาเร่ือยๆ พร้อมกับงานส่งเสริมวัฒนธรรมด้านอื่นๆ ดังนั้นเมื่อมีกิจกรรมด้านวัฒนธรรม เช่น ลานวัฒนธรรม หรือมีนักท่องเที่ยวเข้ามาดูงานในพ้ืนที่โคกสลุง นอกจาก นักท่องเท่ียวจะได้เรียนรู้กิจกรรมด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของชุมชนแล้ว เราจะเหน็ สินคา้ จากผา้ พืน้ บา้ นไทยเบงิ้ วางจ�ำหน่ายอยูม่ ุมหนง่ึ ของงานเสมอ เมอ่ื มนี กั ทอ่ งเทย่ี วเขา้ มาในชมุ ชนมากขนึ้ เรอ่ื ยๆ สนิ คา้ ในชมุ ชนกย็ งิ่ เปน็ ทตี่ อ้ งการ และเปน็ ทรี่ จู้ กั มากขน้ึ เรอื่ ยๆ จนมหี นว่ ยงานราชการเขา้ มาสง่ เสรมิ ดา้ น การยกระดบั คณุ ภาพของสนิ คา้ และสนบั สนนุ ใหน้ �ำสนิ คา้ ไปขายในงานเทศกาล สินค้าชุมชน หรืองานสินค้า OTOP ระดับประเทศท่ีจัดเป็นประจ�ำท่ีเมืองทอง ธานี การได้โอกาสไปจ�ำหน่ายสินค้าในงานใหญ่ๆ ของประเทศฟังดูจะเป็น โอกาสที่ดีของคนท�ำงาน แต่ป้าแดงกลับสะท้อนให้ผู้เขียนได้ฟังถึงปัญหาที่เกิด ขน้ึ โดยไม่ได้คาดคิดมากอ่ น “...ไมไ่ หวเลยอาจารย์ ถ้าตอ้ งไปขายของทเี่ มอื งทองอกี ก็คงต้อง คิดดูก่อน เพราะเราไม่ได้เผือ่ เงนิ คา่ นำ�้ มนั คา่ ถุง ค่ากับข้าวตอน เทย่ี งของคนทไี่ ปเฝา้ รา้ นเอาไวด้ ว้ ย หกั คา่ ใชจ้ า่ ยพวกนแ้ี ลว้ ไมไ่ ด้ ก�ำไรเลย นา่ จะขาดทุนเลยด้วยซ้ำ� วันนัน้ ปา้ แดงรูเ้ ลยวา่ เราตอ้ ง มเี งนิ สำ� รองเอาไวส้ ำ� หรบั การบรหิ ารจัดการ...” (อทุ ยั ออ่ นสลงุ . สมั ภาษณ์, 10 มนี าคม 2561) การเดินทางครัง้ ใหมข่ องชาวไทยเบิ้งบ้านโคกสลงุ 221

ปญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ ดงั กลา่ วท�ำใหป้ า้ แดงเรมิ่ น�ำเงนิ บางสว่ นทไ่ี ดจ้ ากการขาย สนิ คา้ พน้ื บา้ นมาเกบ็ ไวเ้ ปน็ คา่ บรหิ ารจดั การสว่ นกลาง แตก่ ารเกบ็ เงนิ สว่ นกลาง กด็ เู หมอื นจะยงั ไมเ่ ปน็ ระบบเทา่ ใดนกั ทง้ั ยงั ตอ้ งท�ำความเขา้ ใจกบั สมาชกิ ในกลมุ่ อกี ดว้ ยวา่ ท�ำไมตอ้ งมกี ารเก็บเงนิ สว่ นน้เี กิดขึ้น ปญั หาของป้าแดงทก่ี ล่าวไปข้างตน้ ไม่ไดส้ ะทอ้ นออกมาผ่านการบอกเล่าของปา้ แดงเทา่ นน้ั แตย่ งั ปรากฏภาพของปญั หาคลา้ ย ๆ กนั นผี้ า่ นการบอกเลา่ ของกลมุ่ ผนู้ �ำทเ่ี ขา้ ไปอบรมกบั พน่ี ยุ้ ดว้ ยเชน่ กนั พอ่ มดื พม่ี ยุ่ และผพู้ นั จติ ตสิ ะทอ้ นออกมา อยา่ งชดั เจนถงึ ขอ้ จ�ำกดั ในการท�ำงานขบั เคลอื่ นของชมุ ชนโคกสลงุ โดยสรปุ ออก มาเป็น 4 ประเด็นปญั หา ดงั น้ี 1. ขอ้ จ�ำกดั ดา้ นแหลง่ ทนุ แมว้ า่ พน้ื ทโ่ี คกสลงุ จะไดร้ บั เงนิ ทนุ สนบั สนนุ ในการท�ำโครงการพฒั นาชมุ ชนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง แตท่ นุ ทไี่ ดร้ บั โดยสว่ นใหญม่ กั เปน็ เงนิ ทนุ ส�ำหรบั การจดั กระบวนการอบรม หรอื จดั กจิ กรรมบางอยา่ งทเี่ ตม็ ไปดว้ ย ขอ้ จ�ำกดั ในการใชเ้ งนิ ไมม่ แี หลง่ ทนุ ทใ่ี หเ้ งนิ ส�ำหรบั การท�ำงานบางอยา่ งทชี่ มุ ชน ต้องการ เชน่ การพฒั นาคณุ ภาพโฮมสเตย์ หรอื การท�ำงานประชาสมั พนั ธ์ และ การตลาด ยง่ิ กวา่ นนั้ ยงั ไมม่ เี งนิ ทนุ ส�ำหรบั เรอ่ื งการบรหิ ารจดั การกลมุ่ อกี ดว้ ย ดงั นนั้ การท�ำงานพฒั นาชมุ ชนในรายละเอยี ดจรงิ ๆ แลว้ จงึ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ไปตามทช่ี มุ ชน ต้องการทง้ั หมด 2. ข้อจ�ำกัดดา้ นกองทุน เนือ่ งจากข้อจ�ำกัดด้านแหลง่ ทนุ ดงั ทีก่ ล่าวไป ข้างต้น ปัจจบุ ันกลุ่มคนท�ำงานในพืน้ ทีจ่ ึงพยายามทจ่ี ะเก็บเงนิ รายไดบ้ างส่วนที่ เกดิ จากกิจกรรมทางวัฒนธรรมทีท่ �ำอยู่ เช่น หักเงินรายได้บางส่วนจากการเป็น วิทยากรภายนอก หรือหักเงินรายได้บางส่วนจากการท�ำบ้านพักโฮมสเตย์มาไว้ เป็นของส่วนกลางแต่ปัจจุบันกองทุนดังกล่าวยังมีขนาดเล็ก มีเงินอยู่จ�ำนวนไม่ มากนัก ท�ำให้ไม่สามารถน�ำเงินออกมาใชใ้ นการลงทนุ ท�ำสนิ คา้ ใหมๆ่ หรอื น�ำมา ใช้ในการบรหิ ารจัดการกลมุ่ ตามท่ีต้องการได้ ย่งิ ไปกวา่ นน้ั ปัจจบุ นั กองทุนท่ีต้งั ขน้ึ ยงั เปน็ เพยี งพน้ื ทส่ี �ำหรบั เกบ็ รวบรวมเงนิ กองกลาง แตย่ งั ไมไ่ ดม้ กี ารตง้ั ระเบยี บ 222 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

การใช้เงนิ อยา่ งชัดเจน ดงั นัน้ เงนิ กอ้ นดงั กล่าวจึงยงั เป็นเงนิ ทเี่ กบ็ ไวเ้ ฉยๆ โดยไม่ ไดน้ �ำออกมาใชแ้ ตอ่ ย่างใด 3. สวสั ดกิ ารคนท�ำงาน ปจั จบุ นั กลมุ่ คนทเี่ ขา้ มาท�ำงานในกลมุ่ ยงั เปน็ ใน ลกั ษณะอาสาสมัคร ดังน้นั จึงไม่มีค่าตอบแทน และไมม่ ีสวสั ดกิ ารตา่ งๆ ใหอ้ ย่าง เหมาะสม 4. ทกั ษะของคนท�ำงาน กลมุ่ อาสาสมคั รทเี่ ขา้ มาท�ำงานดา้ นวฒั นธรรม กบั กลมุ่ ผนู้ �ำในพนื้ ทโ่ี ดยสว่ นใหญเ่ ปน็ กลมุ่ อาชพี ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั งานดา้ นวฒั นธรรม เชน่ กลมุ่ ทอผา้ หรอื กลุ่มโฮมสเตย์ ซงึ่ สมาชิกแตล่ ะกลมุ่ มกี ารรวมตวั กันอย่าง หลวมๆ ยังไมไ่ ดม้ กี ารวางกลยทุ ธใ์ นการบรหิ ารจัดการกลุ่ม หรอื วางแผนในการ พฒั นาคณุ ภาพสนิ คา้ ทตี่ นเองผลติ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม และยงั ไมม่ ที กั ษะในการคดิ ต้นทุน ก�ำไรที่ชัดเจน ดังนั้นการท�ำงานในกลุ่มจึงยังไม่มีแบบแผน และทิศทาง มากนกั ซง่ึ การไดเ้ ขา้ ใจขอ้ จ�ำกดั ของคนท�ำงานขา้ งตน้ นเี่ องทต่ี อ่ มากลายไปเปน็ แผนทใี่ หก้ บั Intrapreneur ในการลงไปท�ำงานในพน้ื ทใี่ หส้ ามารถแกป้ ญั หาของ ชุมชนไดอ้ ย่างตรงจดุ มากยิง่ ข้ึน intrapreneur ผูข้ ันอาสา “…ปัญหาของคนท�ำงานภาคประชาสังคม คือ การมีหน้างาน อย่เู ตม็ มือจนไม่สามารถถอยออกมาทำ� ดเู รือ่ งการบรหิ ารจัดการ หรือวางยทุ ธศาสตร์การทำ� งานไดจ้ ริงๆ intrapreneur นี่แหละ ทจ่ี ะเขา้ ไปทำ� หนา้ ที่ตรงนใ้ี ห.้ ..เขา้ ไปเพ่ือท�ำให้งานตรงนน้ั สำ� เรจ็ เลย...” (พรจรรย์ ไกรวตั นสุ สรณ.์ สมั ภาษณ์, 1 มีนาคม 2561) การเดนิ ทางครัง้ ใหม่ของชาวไทยเบ้งิ บ้านโคกสลุง 223

งานที่ School of Changemakers ขบั เคลอ่ื นมอี ยดู่ ว้ ยกนั หลายรปู แบบ หนง่ึ ในนนั้ คอื “intrapreneur4change” ซง่ึ เปน็ สว่ นงานทม่ี ขี น้ึ เพอื่ สนบั สนนุ นกั สร้างการเปลี่ยนแปลง โดยการเชื่อมต่ออาสาสมัครจากภาคธุรกิจท่ีสนใจโจทย์ ทางสงั คมขององคก์ รภาคประชาสังคมใหท้ �ำงานรว่ มกันในโครงการสน้ั ๆ ทมี่ จี ดุ มงุ่ หมายเฉพาะ เชน่ การพฒั นาโมเดลธรุ กจิ การพฒั นาทกั ษะใหมๆ่ หรอื การระดม ทุน วนั วิสาข์ เดชรุ่งเรือง (พี่จิบ๊ ) เปน็ intrapreneur ของพน้ื ที่โคกสลุง พ่ี จบิ๊ เปน็ ผูห้ ญงิ ร่างสงู โปรง่ ผวิ ขาว และค่อนข้างพดู นอ้ ยเมื่อแรกรู้จกั กัน จนดนู ่า กังวลอยบู่ า้ งวา่ เธอจะท�ำงานลงชุมชนท่ตี ้องอาศัยทกั ษะในการพดู คยุ และสร้าง ปฏิสมั พนั ธ์ไดห้ รือไม่ แตเ่ มอื่ ไดล้ องท�ำความรจู้ กั มากขน้ึ ในการท�ำงานตอ่ ๆ มา ผเู้ ขยี นกไ็ ดพ้ บ วา่ แทจ้ รงิ แล้วพีจ่ ิบ๊ เปน็ คนทม่ี มี ติ ชิ วี ิตที่นา่ สนใจมากคนหนึ่ง เธอจบปรญิ ญาตรี ด้านวิศวอตุ สาหการ และจบ MBA ด้านไฟแนนซ์จากสหรัฐอเมริกา ปจั จบุ นั พ่ี จบ๊ิ เปน็ ทป่ี รกึ ษาองคก์ รในดา้ นการปรบั ปรงุ กระบวนการท�ำงานและระบบงานใน บรษิ ทั เอกชนแหง่ หนง่ึ นอกจากนนั้ เธอยงั เรยี นดา้ นแฟชนั่ ดไี ซน์ และเปน็ เจา้ ของ เพจสอนวาดภาพ เปน็ ครอู าสาดา้ นศลิ ปะ ยงั ไมน่ บั รวมงานอดเิ รกอยา่ งการเตน้ swing ทพี่ จ่ี บ๊ิ สนใจเขา้ รว่ ม รวมทงั้ เปน็ นกั เดนิ ทางทอ่ งเทย่ี วตวั ยงอกี คนหนง่ึ โดย เฉพาะการเดนิ ทางชมิ อาหาร และท�ำความรจู้ กั กบั วถิ ชี วี ติ ของผคู้ นในบรบิ ทตา่ งๆ พ่ีจ๊ิบเข้ามาเป็นอาสาสมัครในฐานะ intraprenuer ของ School of Changemakers เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของโครงการผู้น�ำแห่งอนาคต ภายใต้โจทย์ ของการใช้เครื่องมือทางธุรกิจมาทดลองใช้กับภาคประชาสังคมภายในระยะ เวลา 7 เดือน เพ่ือสรา้ งความเปลีย่ นแปลงบางอย่างในพน้ื ที่จากเคร่อื งมอื ของผู้ ประกอบการทเ่ี ธอถนดั โดยมีความคาดหวังลกึ ๆ วา่ จะไดเ้ รยี นรู้ส่งิ ทีเ่ กิดขน้ึ จาก การน�ำเครอื่ งมอื ทางธรุ กจิ ไปใชใ้ นพนื้ ที่ และบรบิ ทอน่ื ๆ ทน่ี อกเหนอื ไปจากพน้ื ที่ ธุรกจิ โดยตรง 224 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสังคม

“...ก็คาดหวังว่าเราจะได้ใช้ทักษะความรู้ที่มีไปแชร์ไปช่วยเค้า เหมือนกับเราได้ลองของจริงในอีกบริบทนึง เหมือนกับเราทั้ง ให้ท้ังรับ...” (วันวสิ าข์ เดชรุ่งเรอื ง. สัมภาษณ,์ 21 พฤศจิกายน 2560) แมจ้ ะมมี ติ ชิ วี ติ ทคี่ อ่ นขา้ งหลากหลาย แตจ่ ดุ เดน่ ส�ำคญั ของพจี่ บิ๊ ทป่ี รากฏ ชดั ในโครงการนจี้ ะเปน็ อะไรไปไมไ่ ดน้ อกจากความสามารถในการประเมนิ ความ เปน็ ไปได้ และความรวดเรว็ ในการตดั สนิ ใจเลอื กสง่ิ ทเ่ี หมาะสมกบั สถานการณ์ ซง่ึ พจี่ บ๊ิ สามารถท�ำไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ และสะทอ้ นใหเ้ หน็ ในหลายๆ โอกาส เช่น ในการอบรมครั้งแรกของพี่นุ้ยท่ีเปิดโอกาสให้กลุ่มผู้น�ำในพื้นที่ได้ ลองทบทวน และคิดกลยทุ ธใ์ นการท�ำงาน พร้อมกบั เปิดพ้ืนที่ให้ intrapreneur ได้ท�ำความรจู้ ักกบั ผู้น�ำในพน้ื ทีจ่ ากการรว่ มกจิ กรรมดังกล่าว ด้วยเวลาที่มีอย่างจ�ำกัดพ่ีจ๊ิบไม่ได้ใช้เวลาแค่ในการอบรมเพื่อการ ท�ำความรู้จักพ้ืนที่เท่าน้ัน แต่ในเย็นวันหนึ่งของการอบรมพ่ีจิ๊บเลือกท่ีจะชวน กลมุ่ ผนู้ �ำของพน้ื ทโ่ี คกสลงุ ไปดงู านเพม่ิ เตมิ ที่ ลง้ 1919 แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วแหง่ ใหม่ ของกรุงเทพมหานครท่ีเปลี่ยนสถานที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ของครอบครัว ให้กลายมาเป็นสถานทที่ อ่ งเที่ยวที่มีมลู ค่าทางเศรษฐกจิ โดยพจี่ ิ๊บแอบคาดหวงั ว่าอาจจะมีบางมุมที่ชุมชนโคกสลุงสามารถเอาไปปรับใช้ได้ในพื้นที่ของตนเอง เน่ืองจากสถานท่ีทั้งสองแห่งมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องของการเปล่ียนคุณค่า ทางประวตั ิศาสตร์มาเปน็ เศรษฐกิจ การไปดูงานที่ ล้ง 1919 ในวันนั้นนอกจากจะท�ำให้กลุ่มผู้น�ำได้เรียน รู้วิธีการเปลี่ยนมูลค่าทางประวัติศาสตร์ให้กลายเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ ผ่าน การได้เห็นกรณีศึกษาที่เป็นของจริงแล้ว ยังเป็นช่วงเวลาท่ีท�ำให้กลุ่มผู้น�ำ และ intrapreneur สนทิ สนมกันอยา่ งรวดเร็วดว้ ย การเดินทางคร้ังใหมข่ องชาวไทยเบิ้งบ้านโคกสลุง 225

วันนนั้ นับเป็นอกี หน่งึ วันท่ผี ู้เขยี นได้รจู้ ักกลุ่มผนู้ �ำในพ้นื ที่โคกสลงุ ในอกี แง่มุมหนึ่ง คือได้รู้จักในฐานะของนักท่องเท่ียวที่สนุกสนานกับการได้เรียนรู้สิ่ง ใหมๆ่ และเห็นความพยายามของพจ่ี ๊บิ ในการเชิญชวนใหก้ ลมุ่ ผู้น�ำไดเ้ ข้ามาลอง สมั ผัสโลกแบบใหมท่ ี่ประวัติศาสตรแ์ ละเศรษฐกิจถูกหลอมรวมเข้าด้วยกัน โดย ยงั เวน้ ที่ว่างส�ำหรับการปรับประยกุ ต์ และการตัดสนิ ใจเลือกรับส่ิงตา่ งๆ ด้วยตัว ของเจา้ พื้นที่เอง ต่อมาผู้เขียนจึงได้เห็นว่า วิธีการ กล้าท่ีจะน�ำเสนอสิ่งใหม่ และเปิด โอกาสใหล้ องตดั สนิ ใจเลอื กรบั และประยกุ ตใ์ หเ้ ขา้ กบั ตนเอง เปน็ วธิ กี ารหลกั ที่ พจ่ี บ๊ิ ใชใ้ นการท�ำงานกบั ผนู้ �ำในพน้ื ทโ่ี คกสลงุ นนั่ เอง ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากทพ่ี จ่ี บ๊ิ มกั จะ สง่ ข้อมลู ตัวอย่างกจิ กรรมเพอื่ สังคมแบบต่างๆ ไปใหพ้ ่อมดื อยา่ งสม่�ำเสมอ หรอื การน�ำเสนอแนวคิด และมุมมองจากภาคธุรกิจต่อสมาชิกในกลุ่มอาชีพหลายๆ อย่าง ที่สามารถน�ำเอาไปปรับใชไ้ ด้ในทันที ตัวอย่างเช่น ในการสนทนากับกลุ่มอาชีพครั้งหนึ่ง สมาชิกในกลุ่ม แปรรปู ผ้าทอเล่าใหฟ้ ังว่า พวงกญุ แจรปู รองเทา้ เปน็ สินคา้ ประเภทหนึ่งของกลุ่ม ท่ีค่อนข้างขายดี และขายได้หลายๆ ชนิ้ ในการขายแตล่ ะครั้ง เมอ่ื พจี่ ๊บิ ไดฟ้ งั ค�ำ บอกเล่าดังกล่าวก็สะท้อนให้สมาชิกในกลุ่มฟังว่า การซ้ือสินค้าคร้ังละหลายๆ ชนิ้ ยอ่ มหมายถึงการซือ้ ไปเป็นของฝาก ดงั นัน้ เราอาจจะเพ่ิมตวั เลือกใหม้ ีความ หลากหลายมากขึ้น โดยอาจท�ำเป็นของอย่างอน่ื ท่ีมีราคาเท่ากับพวงกญุ แจ เพอื่ ให้ลูกค้ามีตัวเลือกในการซื้อของฝากเพิ่มมากข้ึน นับเป็นวิธีการแนะน�ำที่ท�ำให้ สมาชกิ ในกล่มุ อาชีพได้มองเห็นผู้บรโิ ภคในอกี แง่มมมุ หนึ่ง และเปน็ ค�ำแนะน�ำที่ สามารถน�ำไปปรับใช้ไดท้ นั ที โดยไมย่ ากนัก ส�ำหรับผู้เขียนซ่ึงเข้าใจมาโดยตลอดว่า การท�ำงานกับชุมชนว่าจ�ำเป็น ตอ้ งอาศัยการค่อยๆ ท�ำความเข้าใจอย่างถี่ถว้ นกอ่ นที่จะตดั สนิ ประเมินค่าของ สิ่งท่ีเหน็ อยู่ตรงหน้า หรือใหค้ �ำแนะน�ำ เมือ่ เห็นการท�ำงานทีม่ กี ารประเมินค่าสิง่ ตา่ ง ๆ อยา่ งรวดเรว็ กอ็ ดทจ่ี ะเอย่ ปากถามไมไ่ ดว้ า่ เหตใุ ดพจี่ บ๊ิ จงึ ตอ้ งตดั สนิ ใจท�ำ 226 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสังคม

ทุกอย่างด้วยความรวดเร็วเสมอ ซง่ึ พี่จิบ๊ สะทอ้ นใหเ้ ขา้ ใจวิธีคิดของตนเองวา่ … “...เมื่อมีโอกาสก็ควรจะลองท�ำทันที ไม่จ�ำเป็นต้องรอให้พร้อม ทกุ อยา่ ง เพราะความผดิ พลาดจากการทำ� ธรุ กจิ จะเปน็ สงิ่ ทท่ี ำ� ให้ เราท�ำธรุ กิจตอ่ ไปให้ดขี ้ึน ดงั น้ันไม่ต้องรอ...” (วันวสิ าข์ เดชรุ่งเรือง. สัมภาษณ์, 4 ธันวาคม 2560) นอกจากความรวดเร็วในการท�ำความรู้จักกับผู้น�ำ และ ให้ค�ำแนะน�ำ กับพื้นที่ดังท่ียกตัวอย่างไปข้างต้น ในแง่ของการประเมินความเป็นไปได้ในการ ท�ำงานใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย ก็นบั วา่ เป็นอกี ทักษะหนึ่งทีโ่ ดดเด่นของพี่จ๊ิบ ดังจะเห็นได้จาก ในการลงพ้ืนที่ครั้งแรกหลังจากพ่ีจ๊ิบได้พูดคุยเร่ือง แผนการพัฒนาคนในพื้นท่ีร่วมกับพ่อมืด และกลุ่มผู้น�ำในพ้ืนท่ีแล้ว พ่ีจิ๊บเลือก ที่จะพูดคุยกับกลุ่มอาชีพ และเยาวชนเมล็ดข้าวเปลือกไทยเบ้ิง ตามค�ำแนะน�ำ ของพ่อมดื ทตี่ ้องการพัฒนาศกั ยภาพของคนทั้งสองกลมุ่ กอ่ นกลมุ่ อ่ืนๆ เมอ่ื พจ่ี บิ๊ ไดล้ องนงั่ คยุ กบั คนทง้ั สองกลมุ่ เรยี บรอ้ ยแลว้ กต็ ดั สนิ ใจไดท้ นั ที วา่ ในชว่ ง 7 เดอื นนคี้ งเปน็ ไปไดย้ ากทจ่ี ะท�ำงานกบั คนทง้ั สองกลมุ่ ใหส้ �ำเรจ็ ไดใ้ น เวลาพรอ้ มกนั จงึ ตอ้ งเลอื กท�ำงานกบั คนกลมุ่ ทม่ี คี วามจ�ำเปน็ เรง่ ดว่ น และมคี วาม ชัดเจนวา่ ต้องการพัฒนาทักษะดา้ นใดก่อน ดงั นนั้ ในการท�ำของโครงการนี้ จงึ มงุ่ ไปทก่ี ารท�ำงานกบั กลมุ่ อาชพี กอ่ น กลมุ่ เยาวชนเมลด็ ขา้ วเปลอื กไทยเบงิ้ และในเวลาเพยี งไมน่ านพจี่ บ๊ิ กไ็ ดแ้ ผนการ ท�ำงานมา 2 สว่ นด้วยกนั ได้แก่ 1.การพัฒนาสนิ ค้า และการตลาด ซึ่งเน้นไปทก่ี ารท�ำ branding ของ สินค้าชุมชนเพ่ือให้สินค้าของชุมชนที่มีอยู่มากมายในปัจจุบัน ซึ่งได้รับการส่ง เสริมคุณภาพจากหน่วยงานราชการ และวิชาการต่างๆ อย่างตอ่ เนอ่ื งนั้น มีรปู การเดนิ ทางครง้ั ใหมข่ องชาวไทยเบ้ิงบา้ นโคกสลุง 227

ลกั ษณท์ เ่ี ปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกันมากขึน้ 2. การพัฒนาคน ซ่งึ เป็นการเติมทักษะ 2 เรือ่ งทม่ี ีความจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ส�ำหรับกลมุ่ อาชพี ไดแ้ ก่ ทักษะการบรหิ ารจดั การ ซงึ่ เนน้ หนกั ในเร่อื งของการ คิดค่าใช้จา่ ย หรือตน้ ทนุ ของสินค้า ตลอดจนการท�ำบัญชกี ารเงนิ โดยพ่ีจิ๊บเรยี ก ทกั ษะตรงส่วนนว้ี ่า “งานหลงั บา้ น” ขณะที่ ทกั ษะการตลาด ไดแ้ กก่ ารท�ำ online marketing โดยเนน้ หนกั ไปที่เรื่องของการถ่ายภาพ เล่าเร่ือง และเขียนเรียบเรียง พ่ีจิ๊บเรียกทักษะส่วน นี้ว่า “งานหน้าบ้าน” ซ่ึงนับว่าเป็นเร่ืองโชคดีท่ีในส่วนของงานหน้าบ้านน้ี ทีม คดิ ค้นควา้ ผเู้ ชียวชาญดา้ นสอื่ จะเข้ามาช่วยในการเป็นวทิ ยากร และชวนคนใน กลุ่มอาชพี ทดลองท�ำส่อื ของชมุ ชนด้วยตนเอง ประเมนิ จากความสามารถ และทักษะทางธรุ กจิ ของพีจ่ ิ๊บ ภายใตร้ ะยะ เวลา 7 เดือน แผนการที่คิดไว้ดูจะมีความเป็นไปได้ และน่าจะตรงตามความ ต้องการของพื้นท่ีได้เป็นอย่างดี ดังนั้นช่วงเวลาของการน�ำแผนท่ีวางไว้ไปใช้ใน พื้นที่จริงจึงมีความน่าตื่นเต้นไม่น้อยกว่าการคิดยุทธศาสตร์ในอนาคตของพ่ีนุ้ย และพ่อมดื เชน่ กนั โคกสลุงทถี่ กู แต่งตัวใหม่ โคกสลงุ เปน็ พน้ื ทท่ี มี่ หี นว่ ยงานราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ และหนว่ ยงานดา้ น วิชาการ โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยต่างๆ เข้ามาร่วมท�ำงานด้วยอย่างสม�่ำเสมอ โดยเฉพาะในแง่ของการยกระดับคุณภาพของสินค้าพ้ืนบ้าน และยกระดับการ ท่องเที่ยวชุมชนให้มีมาตรฐาน ดังจะเห็นได้จากร่องรอยของการพัฒนาสินค้า โดยหน่วยงานต่างๆ ซ่ึงปรากฏอยู่ในรูปของตราสัญลักษณ์ของหน่วยงาน หรือ ชอื่ โครงการท่ีปรากฏให้เหน็ ไดบ้ ้างในสินคา้ หรอื สือ่ โฆษณาหลายชน้ิ ของชมุ ชน เนอ่ื งจากการท�ำงานร่วมกับหนว่ ยงานจ�ำนวนมาก และผา่ นระยะเวลา 228 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผูค้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ในการพัฒนาสินค้ามาอย่างยาวนาน ดังนั้นสินค้าของชุมชนจึงค่อนข้างมีความ หลากหลาย ซงึ่ ในมมุ มองของพจ่ี บ๊ิ คดิ วา่ เปน็ เรอื่ งดที ส่ี นิ คา้ มคี วามหลากหลาย แต่ ควรใหม้ ลี กั ษณะรว่ มในการออกแบบบางอยา่ งปรากฏอยใู่ นสนิ คา้ ทกุ ชนิ้ เพอื่ ให้ เหน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ นคี่ อื สนิ คา้ ทมี่ ที เ่ี ดยี วเฉพาะทโี่ คกสลงุ และสอ่ื สารถงึ ความ เป็นชมุ ชนโคกสลงุ จรงิ ๆ ดงั นนั้ การท�ำ branding หรอื การสรา้ งภาพลกั ษณ์ จงึ เปน็ เรอื่ งทค่ี วรจะ หยิบยกข้ึนมาท�ำในพ้ืนท่ี พร้อมๆ กับเร่ืองของการท�ำตลาดออนไลน์ท่ีต้องเน้น ทกั ษะการบอกเลา่ เรอ่ื งราว และการถา่ ยภาพ ทจ่ี �ำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การสง่ เสรมิ เชน่ เดยี วกัน ในกรณขี องการท�ำ branding ชมุ ชนนนั้ ขอ้ เสนอของพจ่ี บิ๊ ไดร้ บั การตอบ รับอย่างดีจากกลุ่มผู้น�ำในพื้นท่ีโคกสลุงท่ีมองเห็นความส�ำคัญของการหยิบยก เรื่องดังกล่าวมาท�ำงานอย่างจริงจังไม่ต่างจากท่ีพ่ีจ๊ิบมองเห็น เช่นเดียวกับกลุ่ม อาชีพที่ตอบรับการอบรมดังกล่าวอย่างรวดเร็วเช่นกัน ดังจะเห็นได้จากสมาชิก ในกลุ่มอาชีพบางท่านที่ถึงกับตัดสินใจหยุดขายของในวันที่มีการอบรมเพื่อเข้า รว่ มเรยี นรอู้ ยา่ งจรงิ จงั จงึ นา่ จะถอื ไดว้ า่ เปน็ หวั ขอ้ เรอื่ งทเี่ ปน็ ทต่ี อ้ งการของคนใน ชมุ ชนอย่างแท้จริง ดังน้ัน เพ่ือให้การท�ำแบรนด์เกิดข้ึนอย่างจริงจังในพ้ืนท่ีโคกสลุง พี่จิ๊บ จงึ เชิญ “ชนกมณฐ์ รักษาเกยี รติ (อาจารย์จมั้ )” ผู้เชีย่ วชาญด้านการออกแบบ อัตลักษณ์ (identity design consultant) จากบรษิ ัท ดี อลั เคเดมี่ จ�ำกดั ผู้ซ่ึง เคยมีผลงานในการออกแบบภาพลักษณ์ของสินค้าชุมชนหลายชิ้นของไทยให้มี ความเป็นสากลมากยิ่งข้ึน ท้ังยังมีผลงานในการสร้างภาพลักษณ์ให้กับเมืองทั้ง เมอื ง ใหล้ องมาลงพนื้ ทโี่ คกสลงุ เพอ่ื ลองออกแบบแบรนดข์ องชมุ ชนโคกสลงุ รว่ ม กบั คนในชุมชนเอง อาจารยจ์ มั้ เลา่ ถงึ ความส�ำคญั และความจ�ำเปน็ ทส่ี นิ คา้ ในชมุ ชนจะตอ้ งมี การสรา้ งภาพลกั ษณ์ หรอื การสรา้ งแบรนดเ์ ปน็ ของตนเองอยา่ งนา่ สนใจวา่ จรงิ ๆ การเดินทางครัง้ ใหม่ของชาวไทยเบง้ิ บา้ นโคกสลงุ 229

แลว้ การท�ำแบรนดก์ เ็ หมอื นกบั การแตง่ ตวั ใหมท่ เ่ี ลา่ ถงึ เรอื่ งราวของตวั เรา ซง่ึ เรอื่ ง เล่าของแตล่ ะคนย่อมมคี วามแตกต่างไมเ่ หมอื นใครอย่แู ล้ว ดังนั้น ย่ิงเราสอ่ื สาร ความแตกตา่ งออกมาไดช้ ดั เทา่ ไรกย็ งั ท�ำใหเ้ ราเปน็ ทจี่ ดจ�ำมากขนึ้ เทา่ นน้ั เมอ่ื เรา เปน็ ทจี่ ดจ�ำ สินค้ากย็ อ่ มขายได้ดว้ ย นอกจากนอ้ี าจารยย์ งั แสดงความเหน็ ทนี่ า่ สนใจเกยี่ วกบั การพฒั นาชมุ ชน ในประเทศไทยอกี ดว้ ยวา่ การพฒั นาสนิ คา้ ชมุ ชนของไทยนน้ั ท�ำไดค้ อ่ นขา้ งดมี าก ในระยะต้นน้�ำ และกลางน้�ำที่มีหน่วยงานเข้าไปพัฒนาจนชุมชนสามารถผลิต สนิ ค้าต่างๆ ออกมาได้ แตใ่ นระยะปลายน้ำ� ซ่ึงเกี่ยวขอ้ งโดยตรงกบั เรือ่ งของการ ตลาดยงั ไมม่ ใี ครลงมาท�ำงานอยา่ งจรงิ จงั และยงั ไมม่ ใี ครเชอื่ มโยงการพฒั นาตน้ นำ�้ กลางนำ้� และปลายน้ำ� เข้าดว้ ยกนั ดงั น้ัน การเล่าเร่ืองสินคา้ และเรือ่ งของชุมชนในประเทศไทยจงึ ไม่คอ่ ย ไปดว้ ยกนั เท่าทค่ี วร แตกต่างจากการท�ำงานของหลายๆ ประเทศทว่ั โลกทมี่ กี าร สรา้ งแบรนด์ของเมอื งอย่างจรงิ จัง จนเป็นภาพจ�ำให้กบั คนทวั่ โลกได้ รูปแบบการท�ำงานของอาจารยจ์ ้มั มคี วามนา่ สนใจหลายอยา่ ง อาจารย์ เรมิ่ จากการมาลงพน้ื ทก่ี อ่ นเรมิ่ กระบวนการหนง่ึ วนั เพอื่ ท�ำเตรยี มความพรอ้ มรว่ ม กบั กลมุ่ ผนู้ �ำในพน้ื ที่ และพยายามท�ำความเขา้ ใจความโดดเดน่ ของพนื้ ทไี่ ปดว้ ยใน เวลาเดียวกนั หลังจากท่ีได้รู้จักพ้ืนท่ีด้วยตนเอง อาจารย์จ้ัมก็ประเมินว่าพ้ืนที่ โคกสลงุ มคี วามเขม้ แขง็ อยแู่ ลว้ ทงั้ ในสว่ นของวฒั นธรรม และการท�ำงานของผนู้ �ำ ที่มุง่ มน่ั และจริงจงั ดงั นัน้ การท�ำงานครั้งนี้จงึ น่าจะเปน็ ไปดว้ ยดี เมื่อถึงวันอบรมจริงก็พบว่า ผลตอบรับเป็นไปตามท่ีอาจารย์คาดไว้ ตัง้ แต่ต้น คือ กลุ่มอาชีพด้านตา่ งๆ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงกลุม่ อาชีพทอผา้ ให้ความ สนใจกับการอบรม และท�ำงานร่วมกันเปน็ อยา่ งดี จนได้ขอ้ สรปุ ภาพลกั ษณข์ อง โคกสลุงเปน็ เรือ่ งของความเป็นธรรมชาติ และจติ ใจอันดงี ามของผูค้ น โดยแทน ดว้ ยสี นำ้� ตาลครมี ซง่ึ มคี วามหมายดงั น้ี สนี ำ้� ตาล หมายถงึ ความเปน็ ธรรมชาติ 230 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสังคม

และ สีครมี หมายถงึ น�ำ้ ใจงาม หรือ จิตใจดี อันเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน ซง่ึ ภาพลกั ษณท์ งั้ ทเี่ ปน็ ค�ำ และสที รี่ ว่ มกนั คดิ ขน้ึ มาน้ี ตอ่ ไปจะกลายเปน็ แกน่ หลกั ส�ำคัญในการออกแบบสินคา้ ตา่ งๆ ของชมุ ชนใหม้ เี อกลักษณ์ และเป็น อันหนงึ่ อนั เดยี วกนั มากข้นึ นอกจากการท�ำแบรนดข์ องชมุ ชนทไ่ี ดร้ บั ผลตอบรบั เปน็ อยา่ งดแี ลว้ ใน ส่วนของการท�ำตลาดออนไลน์ท่ีมุ่งเน้นเรื่องการท�ำสื่อเพ่ือบอกเล่าเรื่องราวอัน เป็นเอกลักษณ์ของโคกสลุงก็มีผู้เช่ียวชาญเข้ามารับไม้ต่อได้ในเวลาที่เหมาะสม พอดี โดยผทู้ เ่ี ขา้ มามบี ทบาทในดา้ นการพฒั นาเรอ่ื งการสอ่ื สารของชมุ ชนโคกสลงุ คือ วทิ ยากรจากบริษัทคิดค้นควา้ ซงึ่ เปน็ ทป่ี รึกษาด้านการส่อื สารใหก้ ับองค์กร ต่างๆ ท้งั ภาครฐั และเอกชน ซง่ึ ไดเ้ ขา้ มาใหค้ วามรู้พน้ื ฐานด้านวธิ กี ารถ่ายภาพ และการบอกเลา่ เร่ืองราวของชมุ ชนอย่างง่ายๆ ผ่านสื่อออนไลน์ ซ่งึ ผลผลิตท่ไี ด้ จากการอบรมในครั้งนั้นถูกแชร์ลงในเพจ facebook ทางการของกลุ่มชุมชน ไทยเบงิ้ โคกสลงุ และมีการเข้าถงึ เป็นหลักหมืน่ ซงึ่ มากกว่าจ�ำนวนท่ีเกิดขน้ึ เปน็ ปกติของเน้ือหาที่แชร์ลงในเพจโดยปกติ การอบรมสื่อดังกล่าวจึงนับว่าได้รับ ผลตอบรบั เปน็ อยา่ งดจี ากชมุ ชน ทง้ั ยงั มผี ลกระทบในทางบวกตอ่ คนทว่ั ไปอกี ดว้ ย เมอื่ โคกสลงุ ถกู แตง่ ตวั ใหมด่ ว้ ยภาพลกั ษณ์ และสอื่ ออนไลนท์ ไี่ ดผ้ ลคอ่ น ขา้ งดแี ลว้ คนท�ำงานในพน้ื ทกี่ ม็ แี กน่ ยดึ ในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานทมี่ คี วามชดั เจน มากย่ิงขึ้น ดังน้ันสินค้าชุมชนอีกเป็นจ�ำนวนมากจึงถูกคิดข้ึนทันทีในการอบรม โดยผสมผสานระหว่างแนวคิดของอาจารย์ผู้เช่ียวชาญ และ คนในชุมชนที่เป็น ผสู้ ร้างสรรค์ผลติ ภัณฑ์ คงเหลือแค่เพียงรอคอยดูต่อไปเร่ือยๆ เท่านั้นว่า ภาพลักษณ์ที่ทุกคน ร่วมสร้างขึ้นมาในวันน้ีจะถูกให้ความส�ำคัญในชุมชนมากน้อยแค่ไหน และคน ท�ำงานในพ้ืนท่ีจะเอาผลท่ีได้จากการอบรมไปต่อยอดได้ไกลมากน้อยเพียงใด เวลาเทา่ นนั้ ทจ่ี ะตอบค�ำถามนี้ได้ การเดินทางครง้ั ใหมข่ องชาวไทยเบง้ิ บ้านโคกสลุง 231

รูปหมหู่ ลงั การอบรม branding โดยอาจารย์จ้ัม และพี่จิบ๊ (ทม่ี าของภาพ: โครงการผู้น�ำแหง่ อนาคต) การปะทะของคุณคา่ ความฝัน และสิง่ ใหม่ พี่จบ๊ิ : ผ้าหนึ่งผนื ใช้เวลาทอสักก่วี นั คะ สมาชกิ กลมุ่ ทอผ้า 1 : แหม บอกยากเหมือนกันเพราะไมไ่ ด้ทอทัง้ วัน วา่ ง เมอื่ ไรกท็ อเมื่อนั้น พ่ีจ๊บิ : ถา้ สมมุตวิ ่าทอทง้ั วนั ไมไ่ ด้ท�ำงานอย่างอ่นื เลยล่ะคะ สมาชิกกลุ่มทอผา้ 1 : มนั ต้องแลว้ แตด่ ว้ ยว่าใครทอ ถา้ ทอเกง่ กไ็ มถ่ งึ วนั สมาชกิ กลมุ่ ทอผ้า 2 : ถงึ สิ อยา่ งน้อยกต็ ้องวันนึง สมาชิกกลุม่ ทอผ้า 3 : แลว้ แต่วิธกี ารทอด้วยนะ ถ้ากีก่ ะตกุ ก็ไวหนอ่ ย กีโ่ บราณกช็ ้าหนอ่ ย 232 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

(บางสว่ นจากบทสนทนาในวันอบรมการคดิ ต้นทุนก�ำไรโดย พจ่ี ิบ๊ , 5 กุมภาพนั ธ์ 2561) แมว้ า่ การสรา้ งแบรนดข์ องชมุ ชนโคกสลงุ ดจู ะไดร้ บั การตอบรบั เปน็ อยา่ ง ดจี ากคนท�ำงานทกุ กลมุ่ ของชมุ ชน แตก่ ไ็ มไ่ ดห้ มายความวา่ แนวคดิ ใหมๆ่ ทน่ี �ำเขา้ มาจะไดร้ บั การตอบรบั เปน็ อยา่ งดที งั้ หมด ดงั จะเหน็ ไดจ้ าก บทสนทนาขา้ งตน้ ซง่ึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของเหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ในวนั ทพ่ี จ่ี บิ๊ ลงพนื้ ทเ่ี พอ่ื แนะน�ำกลมุ่ อาชพี ใน การคดิ ตน้ ทนุ ก�ำไร ซงึ่ เป็น “งานหลังบา้ น” ตามท่ไี ดว้ างแผนการท�ำงานเอาไว้ จากบทสนทนาคงพอจะสะท้อนให้เห็นถึงความยากล�ำบากในการ ท�ำความเข้าใจระหว่างพีจ่ บิ๊ ซง่ึ ท�ำหนา้ ท่ีเปน็ วทิ ยากรในการใหค้ วามรู้ และกลุ่ม อาชพี ซงึ่ ท�ำหนา้ ทเ่ี ปน็ ผใู้ หข้ อ้ มลู อยบู่ า้ งไมม่ ากกน็ อ้ ย เนอ่ื งดว้ ยการผลติ สนิ คา้ พน้ื บา้ นน้ันไดม้ าจากวตั ถุดบิ ท่มี ีความหลากหลาย วิธกี ารทอที่แตกตา่ ง และทกั ษะ ความช�ำนาญทไ่ี ม่ตรงกนั ดังน้ันการคิดต้นทุน และก�ำไรจึงเป็นไปด้วยความยากล�ำบากในช่วง แรก ยังไม่นับเร่ืองการตกลงกันไม่ได้ในเร่ืองของการคิดค่าแรงที่ต้องใช้เวลาใน การพดู คุยตกลงอยนู่ าน จนกระทง่ั พอ่ มดื เขา้ มาช่วยพจี่ ิ๊บท�ำความเข้าใจกบั กลุ่ม ทอผา้ และเสนอแนะวธิ กี ารคดิ ใหง้ า่ ยมากขน้ึ ซง่ึ อาจจะเปน็ วธิ คี ดิ ทไ่ี มไ่ ดต้ รงตาม ทฤษฎที ต่ี งั้ ไวม้ ากนกั แตก่ ท็ �ำใหก้ ารคดิ ตน้ ทนุ ก�ำไร และคา่ บรหิ ารจดั การในการ ผลติ สนิ คา้ ประเภทผา้ ทอพน้ื บา้ นส�ำเรจ็ ในทส่ี ดุ พรอ้ มๆ กบั เสยี งสะทอ้ นของผเู้ ขา้ อบรมสว่ นใหญ่ทอ่ี อกมาในทิศทางทด่ี ีมากขึ้น แต่ความไม่เข้าใจกันในเร่ืองชดุ ภาษา และทักษะในการคดิ ตน้ ทุน-ก�ำไร นับว่าเป็นเรื่องเล็กน้อยมากนักหากเทียบกับการปะทะกันในเร่ืองอื่นท่ีสามารถ สังเกตเห็นได้จากการท�ำงานช่วงต่างๆ ของโครงการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การ ปะทะกนั ในเรือ่ งในเรื่องของความเช่อื และการให้คุณคา่ ผู้เขียนใช้เวลานานในการท�ำความเข้าใจ จนกระท่ังได้พบความจริงที่ น่าสนใจอีกเร่ืองหนึ่งว่า นอกจากเร่ืองของการสืบสานวัฒนธรรมไทยเบ้ิงท่ีเป็น การเดนิ ทางครง้ั ใหม่ของชาวไทยเบง้ิ บ้านโคกสลุง 233

ราวกับเป็นเข็มทิศน�ำทางที่ผลักดัน และหลอมรวมให้ทุกคนท�ำงานด้วยกันแล้ว คนท�ำงานแต่ละคนในโคกสลุงยังเก็บซ่อนดาวดวงเล็กๆ ที่ต้องการจะไขว่คว้า เปน็ ของตนเองได้อยา่ งน่าสนใจเช่นเดยี วกนั ยกตัวอย่างเช่น ในกรณีของผู้พันจิตติ ผู้น�ำด้านยุทธศาสตร์คนส�ำคัญ ของกลุ่ม ซึ่งเป็นอดตี นายทหารที่ตัดสนิ ใจลาออกจากงานขา้ ราชการ และความ วุ่นวายในเมืองหลวงกลับมาอยู่โคกสลุงมานานหลายปี เม่ือผู้เขียนได้รู้จักอย่าง จรงิ จงั และลองพดู คยุ กพ็ บวา่ แทจ้ รงิ แลว้ ชายผนู้ มี้ คี วามฝนั อนั ยงิ่ ใหญท่ ซ่ี อ่ นอยู่ ภายใต้งานดา้ นวฒั นธรรม น่ันคือ อยากจะให้คนท�ำงานเพือ่ สงั คมได้มสี วัสดิการ อยา่ งเหมาะสม ดังเช่นทคี่ นในอาชพี อ่ืนๆ ได้รบั ดังน้ัน กองทุนส่วนกลางของกลุ่มคนท�ำงานจึงถูกจัดต้ังขึ้นโดยการหัก เงนิ รายได้ 10% ของกจิ กรรมทั้งหมดท่เี กดิ ข้นึ ในการท�ำงานดา้ นวัฒนธรรมของ กลมุ่ มาใชเ้ ปน็ เงนิ กองกลางส�ำหรบั ใชใ้ นการเตมิ ความรู้ ศกึ ษาดงู าน ใชเ้ ปน็ ตน้ ทนุ ส�ำหรับการลงทนุ ใหมๆ่ และมคี วามฝนั ไกลๆ ว่าจะสามารถมีเงินมากพอส�ำหรบั เปน็ สวัสดิการใหก้ ับคนท�ำงานได้ในท่ีสุด ดังท่ผี ู้พันเคยสะท้อนใหผ้ เู้ ขียนฟงั ว่า… “...ผมเปน็ ขา้ ราชการมากอ่ นทจี่ ะลาออกมาเปน็ ชาวบา้ นธรรมดา อย่างทุกวนั น้ี ผมไดม้ ีโอกาสเห็นความแตกต่างระหวา่ งชาวบ้าน และคนที่เป็นข้าราชการมาโดยตลอด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่อง ของสวสั ดกิ าร คนท่เี ปน็ ข้าราชการมสี วสั ดกิ ารทกุ อยา่ ง ท้ังเรือ่ ง สขุ ภาพ เร่อื งครอบครัว และเรอื่ งอน่ื ๆ ผมอยากให้คนท่ีทำ� งาน เพอ่ื คนอน่ื หรอื เพอื่ สงั คม แตเ่ ปน็ ชาวบา้ นธรรมดาในไทยเบง้ิ (ทมี ทำ� งานดา้ นวัฒนธรรมในโคกสลงุ : ผู้เขียน) ได้มีสวสั ดิการอย่างท่ี ข้าราชการมบี า้ ง....” (นาวาโทจติ ติ อนนั สลงุ . สมั ภาษณ์, 10 พฤศจกิ ายน 2560) 234 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสังคม

ในขณะท่ีป้าแดงซึ่งเป็นประธานกลุ่มแปรรูปผ้าทอน้ัน การเข้าท�ำงาน ดา้ นผา้ พน้ื บา้ นของไทยเบง้ิ นอกจากจะเปน็ ไปเพอ่ื อนรุ กั ษภ์ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ของ ตนเองแล้ว ปา้ แดงยังมคี วามฝนั เล็กๆ ทีอ่ ยากจะให้กลมุ่ อาชพี ที่ตนเองสร้างขึน้ มานเี้ ปน็ ทพี่ กั พงิ ใหก้ บั คนทไี่ มม่ งี านท�ำ หรอื คนแกท่ ไ่ี มส่ ามารถท�ำอาชพี อนื่ ได้ ให้ พอมรี ายไดเ้ ลยี้ งตวั เองไดจ้ ากการเขา้ มาท�ำงานในกลมุ่ ทอผา้ และกลมุ่ แปรรปู ผา้ ทอที่ป้าแดงมบี ทบาทอยู่ ปา้ แดงจงึ มองว่าการพฒั นาคณุ ภาพสนิ ค้า และการคิดเรื่องการบริหาร จัดการอย่างจริงจังนั้นจะมีส่วนส�ำคัญอย่างยิ่งที่จะท�ำให้ความฝันทั้งสองอย่าง สามารถบรรลุผลไดใ้ นเวลาพร้อมๆ กนั ดังทปี่ ้าแดงเคยบอกผเู้ ขียนวา่ “...ป้ามองว่าการทอผ้าคือช่องทางหนึ่งที่จะช่วยเหลือคน...เม่ือ คนมรี ายไดจ้ ากการทอผา้ จะย่ิงท�ำให้คนหันมาทอผ้ามากข้นึ พอ คนทอผา้ มากขึน้ ผา้ ทอก็จะยงั ถูกรกั ษาเอาไว้ในชมุ ชนต่อไป...” (อทุ ัย อ่อนสลุง. สัมภาษณ์, 10 มนี าคม 2561) แตกตา่ งจากลงุ อน้ ทเี่ คยเลา่ ใหผ้ เู้ ขยี นฟงั มานานแลว้ วา่ สงิ่ ส�ำคญั ทส่ี ดุ ที่ ท�ำใหเ้ ขาเขา้ มาท�ำงานดา้ นวฒั นธรรมไทยเบง้ิ นนั้ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งรายได้ หากแตม่ าจาก สาเหตุส�ำคัญ คอื ความรู้สึกวา่ ตนเองต้องเข้ามาเปน็ ก�ำลังชว่ ยเหลอื นอ้ งสาว (พี่ มุ่ย) ใหข้ บั เคลื่อนงานวัฒนธรรมไปจนตลอดรอดฝง่ั ไม่อาจทงิ้ พ่มี ุ่ย และพอ่ มดื ให้ท�ำงานไปเพียงล�ำพังโดยไมม่ พี น่ี ้องชว่ ยเหลอื ได้ และสาเหตทุ ี่เปิดบา้ นพักโฮม สเตยน์ น้ั กไ็ มไ่ ดม้ าจากเรอื่ งรายไดเ้ ชน่ เดยี วกนั หากแตเ่ ปน็ เรอื่ งของความสขุ ทไ่ี ด้ ตอ้ นรับ และพดู คยุ กบั เด็กๆ นกั ศึกษาที่เขา้ มาเรยี นรู้เร่ืองราวตา่ งๆ ของชุมชน โคกสลงุ ในฐานะลงุ กบั ปา้ ทอี่ ยดู่ ว้ ยกนั เพยี งสองคนในครอบครวั ดงั นนั้ ลงุ อน้ จงึ ไมร่ สู้ กึ วา่ การการอบรมเรอื่ งตน้ ทนุ ก�ำไร ไปจนถงึ การคดิ คา่ แรงมคี วามจ�ำเปน็ กบั การเดินทางครง้ั ใหม่ของชาวไทยเบ้ิงบา้ นโคกสลงุ 235

ตนเองมากเทา่ ใดนกั ความคิด และความฝันอันแตกต่างหลากหลายนี้ย่อมส่งผลอย่างย่ิงต่อ การท�ำงานรว่ มกนั ในอนาคต โดยเฉพาะอนาคตทกี่ �ำลงั จะมเี รอื่ งของผลประโยชน์ เข้ามาเก่ียวข้องด้วย น่ีจึงน่าจะเป็นเรื่องท้าทายอีกประการหน่ึงของคนท�ำงาน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ กลมุ่ ผนู้ �ำซงึ่ เปน็ ผกู้ �ำหนดยทุ ธศาสตรต์ อ้ งพจิ ารณาอยา่ งถถี่ ว้ น และรกั ษาสมดลุ ของความคดิ และความฝนั อนั หลากหลายของคนในกลมุ่ ไวด้ ว้ ย ความระมดั ระวงั อปุ สรรค และการก้าวขา้ ม หากการปรบั เปลย่ี นวธิ กี ารท�ำงานทเี่ คยปฏบิ ตั มิ าอยา่ งยาวนานเปน็ เรอื่ ง เกดิ ขึ้นได้ไม่งา่ ยนัก การปรบั เปลย่ี นความคดิ ความเชื่อ และคุณค่าท่ียดึ ถือไว้คง ยิ่งเป็นเร่ืองยากล�ำบากมากกว่าหลายเท่าตัวนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การปรับ เปลยี่ นความเช่ือของคนทขี่ ับเคล่อื นงานต่างๆ ส�ำเร็จมาอย่างยาวนาน ความยากล�ำบากของการน�ำเครื่องมือของผู้ประกอบการไปใช้กับคน ท�ำงานในพนื้ ท่โี คกสลุงนัน้ ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในชว่ งเวลาท่ี intrapreneur ลง ไปท�ำงานในพ้ืนท่ีกับกลุ่มอาชีพเท่านั้น แต่กลุ่มผู้น�ำหลักในพ้ืนที่ที่เข้ามาอบรม กบั พนี่ ยุ้ เพอื่ รบั เครอ่ื งมอื สว่ นกลางกต็ อ้ งประสบกบั อปุ สรรคบางอยา่ งทต่ี อ้ งอาศยั ความพยายามในการกา้ วขา้ มเชน่ เดยี วกนั โดยอาจแบง่ อปุ สรรคทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั กลมุ่ ผนู้ �ำหลักไดเ้ ป็น 2 สว่ นคือ อุปสรรคภายใน อนั เกิดจากการปะทะกันของความ เชอื่ ในการท�ำงานภาคธุรกิจ กับการท�ำงานของภาคประชาสังคม และ อุปสรรค ภายนอก อนั เกิดจากความยากล�ำบากในการน�ำเครอ่ื งมือท่ีได้รบั จากการอบรม ไปตอ่ ยอดในพนื้ ทดี่ ว้ ยตนเองโดยไมต่ อ้ งอาศยั intrapreneur โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ 236 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

อปุ สรรคภายใน: ศรัทธาทเี่ พียรสร้าง “...ผลประโยชนเ์ ป็นเร่ืองละเอียดออ่ น เวลาทเ่ี ราไปทำ� เรอ่ื งพวก นบ้ี างทจี ะทำ� ใหศ้ รทั ธาของคนในชมุ ชนหายไป ศรทั ธาถา้ หายไป แลว้ มนั กกู้ ลบั คนื มาไดย้ าก เราจะเรม่ิ ตน้ ทำ� เรอื่ งธรุ กจิ อยา่ งไรโดย ไมใ่ ห้มีผลกระทบกับเรอื่ งละเอยี ดออ่ นเหลา่ น้ี...” (ประทีป อ่อนสลุง. สัมภาษณ,์ 11 พฤศจกิ ายน 2560) ข้อความข้างต้นเป็นส่ิงท่ีพ่อมืดสะท้อนในการอบรมคร้ังแรกท่ีจัดโดยพ่ี น้ยุ จากขอ้ ความดงั กลา่ วคงพอสะทอ้ นให้เห็นถงึ ความกังวลของพ่อมืดในการที่ จะเขา้ มาเรยี นรเู้ ครอื่ งมอื ของผปู้ ระกอบการในชว่ งเรม่ิ ตน้ ของโครงการเปน็ อยา่ งดี ผเู้ ขยี นคงไมอ่ าจกลา่ วแทนภาคประชาสงั คมทา่ นอนื่ ๆ ในเรอื่ งของคณุ คา่ ทแี่ ตล่ ะทา่ นถอื อยไู่ ด้ แตส่ �ำหรบั พอ่ มดื เรอ่ื งของผลประโยชนส์ ว่ นตวั ดจู ะเปน็ เรอ่ื ง ท่พี อ่ มดื ให้ความระมดั ระวงั อยา่ งจรงิ จัง คอื ระมัดระวงั ไมท่ �ำงานทเ่ี ก่ียวข้องกับ ผลประโยชน์ หรือควบคุมให้การท�ำงานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องผลประโยชน์เป็นไป อยา่ งโปรง่ ใสเสมอ สว่ นสาเหตทุ พี่ อ่ มดื พยายามไมเ่ กย่ี วขอ้ งกบั เรอื่ งผลประโยชน์ อันเกดิ จากการท�ำงานนั้น จากการพูดคยุ กันบอ่ ยครัง้ ผเู้ ขียนคิดว่านา่ จะมาจาก เหตผุ ล 2 ขอ้ ไดแ้ ก่ 1) ป้องกันการครหาว่าท�ำงานชุมชนเพ่ือหวังผลประโยชน์ในเชิง การเมือง หรือผลประโยชน์ด้านทรัพย์สิน เก่ียวกับเรื่องดังกล่าวพ่อมืดเคย สะท้อนให้ผู้เขียนฟังบ่อยคร้ังว่า การท่ีพ่อมืดเข้ามาท�ำงานด้านวัฒนธรรมของ ชุมชนอย่างจริงจังน้ัน ยังมีคนบางกลุ่มในชุมชนท่ีเชื่อว่าพ่อมืดท�ำเพื่อหวังผล ทางการเมือง หรือมแี ผนท่ีจะลงเลอื กตง้ั ในสมัยตอ่ ไป ดังนั้นพ่อมืดจึงพยายามไม่เข้าไปมีบทบาททางการเมืองในชุมชน และ พยายามเปดิ เผยใหเ้ หน็ อยา่ งชดั เจนเสมอวา่ ตนไมม่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั รายไดต้ า่ งๆ การเดินทางคร้ังใหมข่ องชาวไทยเบิ้งบา้ นโคกสลุง 237

ทเี่ กิดจากการท�ำงานเชงิ วฒั นธรรม หรอื ถา้ หากไดเ้ งินในกจิ กรรมบางอยา่ ง เช่น การเป็นวิทยากร ก็จะมีการชี้แจงอย่างชัดเจนเสมอ เพ่ือป้องกันความเข้าใจผิด ของคนอน่ื ๆ ดังที่ครูเสือเคยสะท้อนให้ผู้เขียนฟังว่า การมีงบประมาณมาลงที่ พพิ ธิ ภณั ฑพ์ น้ื บา้ นไทยเบงิ้ เปน็ จ�ำนวนมากแบบทเ่ี ปน็ อยใู่ นปจั จบุ นั บางครง้ั กส็ ง่ ผลเสีย เช่น คนในชมุ ชนอาจจะเขา้ ใจได้ว่างบประมาณทั้งหมดที่ได้จะกลายเปน็ ผลประโยชนส์ ่วนตวั ของคนท�ำงาน สอดคลอ้ งกบั บทสัมภาษณ์ของพ่มี ยุ่ ท่กี ลา่ ว ถงึ สถานการณ์ดังกลา่ ววา่ “...ยงั มกี ารเขา้ ใจผดิ วา่ งบทมี่ าลงทพ่ี พิ ธิ ภณั ฑจ์ ำ� นวนมาก คอื เงนิ ท่ีพ่มี ืดจะได้ แต่ไมเ่ ข้าใจว่าเงนิ เหล่านเี้ ราไมเ่ คยไดแ้ ตะเลย เราก็ แคบ่ อกวา่ ตอ้ งสรา้ งอาคารยงั ไง แบบไหน แตไ่ มไ่ ดแ้ ตะเงนิ เลย...” (พยอม ออ่ นสลงุ . สัมภาษณ,์ 21 ตลุ าคม 2559) 2) เช่ือว่าผู้น�ำต้องวางตัวเป็นแบบอย่างที่ดี ความเชื่อว่าผู้น�ำที่ดีควร ตอ้ งน�ำด้วยการท�ำให้เห็น หรอื การเปน็ แบบอยา่ ง นบั เปน็ ความเชอื่ ส�ำคญั ทค่ี นท�ำงานในพน้ื ทโี่ คก สลงุ ยดึ ถอื ไวอ้ ยา่ งเหนยี่ วแนน่ และจรงิ จงั ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากเสยี งสะทอ้ นของกลมุ่ คนท�ำงานในพนื้ ทโี่ คกสลงุ หลายทา่ นทพ่ี ดู ถงึ การน�ำโดยการเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ใี ห้ กบั คนอน่ื ๆ เชน่ เมอื่ กอ่ นพ่อมืดเคยท้ังดืม่ เหล้าท้งั สบู บุหรี่อยา่ งหนกั แต่เม่อื มา ท�ำงานในฐานะผู้น�ำการขับเคล่ือนงานด้านวัฒนธรรมของชุมชนเพียงไม่กี่ปี พ่อมืดก็เลิกท้ังเหล้าท้ังบุหร่ี เพราะเชื่อว่าผู้น�ำควรประพฤติตนให้ดีก่อนจึงจะ สามารถน�ำคนอ่นื ๆ ได้ เชน่ เดยี วกบั ครเู สอื ทพ่ี ยายามใหค้ นในชมุ ชนรกั ษาวถิ ชี วี ติ และประเพณี 238 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

อันดีงามของชุมชนด้วยการไปวัดในวันพระอย่างสม�่ำเสมอ เพ่ือให้คนอ่ืนๆ ใน ชุมชน โดยเฉพาะลูกศษิ ย์ของตนเองไดเ้ ห็นเปน็ แบบอย่าง เช่นเดยี วกบั “สิงห”์ เยาวชนในกลุม่ เมลด็ ขา้ วเปลือกไทยเบิ้งทเี่ คยสะท้อนใหผ้ ู้เขยี นฟงั ว่า ในการเขา้ มาเปน็ พเ่ี ลยี้ งของเดก็ ๆ ทม่ี าเขา้ คา่ ยทกี่ ลมุ่ เมลด็ ขา้ วเปลอื กจดั ขนึ้ ท�ำใหส้ งิ หต์ อ้ ง วางตวั ให้เหมาะสมหลายอย่าง เช่น ไมเ่ ลน่ มือถอื ในเวลาท�ำงาน หรืองดการดมื่ เครื่องดม่ื มนึ เมาตา่ งๆ เพ่อื เปน็ แบบอย่างใหก้ ับนอ้ ง ๆ ในค่าย ความเชอื่ เรอ่ื งการเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ซี งึ่ เปน็ ความเชอ่ื ส�ำคญั ทคี่ นท�ำงาน ยดึ ถอื อยา่ งจรงิ จงั นนั้ สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ ผนู้ �ำในกลมุ่ โคกสลงุ มองวา่ การท�ำงานขบั เคลอื่ นดา้ นวฒั นธรรมของชมุ ชนในฐานะผนู้ �ำไมส่ ามารถแยกออกจากชวี ติ สว่ นตวั ได้ คอื มสี ภาพทแี่ ตกตา่ งจากงานประจ�ำทแ่ี คเ่ พียงท�ำตามหน้าทเ่ี ทา่ นัน้ แตเ่ ป็น สงิ่ ที่ตอ้ งด�ำรงอยู่ในวิถีชีวิตทุกยา่ งกา้ ว เพราะการเปน็ แบบอย่างที่ดีอย่างจริงจัง คอื วธิ กี ารส�ำคญั ในการสรา้ งศรทั ธาใหค้ นอนื่ ๆ ในชมุ ชนไดเ้ หน็ วา่ พวกเขาท�ำงาน เพอ่ื ชมุ ชนอยา่ งจรงิ จงั โดยไมม่ เี รอื่ งผลประโยชนแ์ อบแฝง การ กระท�ำเชน่ นจี้ งึ จะ หมดขอ้ ขดั แยง้ หรอื ขอ้ ครหากบั คนกลมุ่ อน่ื ๆ ในชมุ ชน และเปน็ วธิ กี ารส�ำคญั ทจ่ี ะ สามารถดึงใหค้ นในชุมชนเข้ามามสี ว่ นร่วมในการท�ำงานชมุ ชนเพ่มิ มากข้นึ ได้ ความกังวลเรื่องการสูญเสียศรัทธาจากคนในชุมชนปรากฏให้เห็นจาก พอ่ มดื อยา่ งชดั เจนในตอนแรกของการอบรม กอ่ นจะคอ่ ยๆ ลกึ ลงไปเมอื่ ไดเ้ ขา้ ใจ วิธีการจัดการตน้ ทนุ ก�ำไร และการคิดคา่ ใช้จ่ายในการบริหารจดั การซึง่ นบั เป็น เครอ่ื งมอื ส�ำคญั อกี ประการหนง่ึ ทมี่ สี ว่ นชว่ ยไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ส�ำหรบั การแจกแจงงบ ดา้ นตา่ งๆ ใหม้ คี วามโปรง่ ใสมากเพยี งพอทจี่ ะน�ำไปใชอ้ ธบิ ายใหค้ นท�ำงานเขา้ ใจ ไดโ้ ดยไมย่ ากนกั การเดนิ ทางครัง้ ใหม่ของชาวไทยเบงิ้ บา้ นโคกสลุง 239

อุปสรรคภายนอก: ความเข้าใจของคนท�ำงาน นอกจากปัญหาภายในที่กลุ่มผู้น�ำจะต้องพยายามก้าวข้าม หรือหาวิธี การจัดการให้สอดคล้องกับสิ่งท่ีตนยึดถือแล้ว ยังมีปัญหาที่อย่างอ่ืนท่ีส่งผลต่อ การน�ำเครื่องมือของผู้ประกอบการมาใช้ในชุมชนโคกสลุงอีก น่ันคือ ปัญหาท่ี เกิดขน้ึ กับคนท�ำงานกลมุ่ อ่นื ๆ ในชุมชน ดังที่ได้กล่าวไปข้างต้นถึงความส�ำเร็จของกลุ่มผู้น�ำหลักท่ีได้ค้นพบว่า แท้จรงิ แล้วการท�ำงานพฒั นาคนมาเกอื บ 20 ปี ไมใ่ ช่แค่องคค์ วามรทู้ ี่ตนเองคน้ พบจากการปฏิบัติจริงเท่านั้น หากแต่ยังสามารถน�ำไปเชื่อมโยงกับแนวคิดด้าน การบริหารองค์กรได้อย่างเป็นรปู ธรรม การคน้ พบดงั กลา่ วท�ำใหก้ ลมุ่ ผนู้ �ำหลกั รสู้ กึ มคี วามหวงั และมแี นวทางใน การท�ำงานต่อมากยิ่งข้ึน ดังน้ันจึงน�ำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมหลายช้ินของ พ่ีนุ้ยมาถ่ายทอดให้กับคนอ่ืนๆ ในกลุ่มได้ฟังด้วย ทั้งเร่ืองวิธีการบริหารจัดการ องค์กร และแนวคิดในการท�ำธุรกิจเพื่อสังคม โดยมุ่งหวังจะท�ำให้คนท�ำงานได้ เห็นว่า ตนเองมสี ว่ นในการเตบิ โตขององค์กรอย่างไรบ้าง แตเ่ มอ่ื น�ำเรอ่ื งดงั กลา่ วมาถา่ ยทอดใหก้ บั กลมุ่ คนท�ำงานในพน้ื ทค่ี นอนื่ ๆ ไดร้ ับทราบ กลับพบว่าหนทางในการเปลี่ยนแปลงไม่ไดร้ าบเรยี บ งา่ ยดาย ดังท่ี คดิ ไว้ สาเหตเุ กดิ มาจากเหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขน้ึ ในวงสนทนาของกลมุ่ คนท�ำงานใน พ้ืนที่ เมื่อพ่อมืดเรม่ิ ใหส้ มาชกิ ในกลุ่มสะทอ้ นสิง่ ท่ีได้เรยี นรู้ด้วยการคยุ กนั โดยใช้ สนุ ทรยี สนทนาดงั ทเี่ คยปฏบิ ตั มิ า แตส่ งั เกตเหน็ วา่ สมาชกิ ในกลมุ่ หลายคนเรมิ่ พดู คยุ กนั โดยไมเ่ คารพกตกิ าของสนุ ทรยี สนทนา พอ่ มดื ถงึ กบั เอย่ วา่ “ท�ำงานมาสบิ เกา้ ปี วนั นนี้ บั วา่ เปน็ วนั ทีท่ อ้ แทท้ ีส่ ดุ ” เหตุการณ์ที่เกิดจากคนในกลุ่มไม่ฟังกันในขณะประชุม อาจดูเป็นเรื่อง เลก็ นอ้ ยส�ำหรับหลายๆ คน แต่ส�ำหรบั พ่อมดื ซ่งึ เหน็ วา่ “สุนทรียสนทนา” เป็น 240 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสังคม

ทักษะพ้ืนฐานท่ีส�ำคัญท่ีสุด และจ�ำเป็นมากท่ีสุดส�ำหรับการท�ำงานร่วมกัน ท้ัง ยังไดท้ ุ่มเทแรงกาย และสตปิ ญั ญาในการบ่มเพาะทกั ษะน้ใี ห้กบั คนท�ำงานอย่าง จริงจงั มาโดยตลอด ย่อมเหน็ ว่าส่งิ ที่เกดิ ขน้ึ เป็นเร่ืองใหญ่ “...เราเชอื่ วา่ อะไรทมี่ นั ทำ� เปน็ กระบวนการ เปน็ ระบบ มกี ตกิ าใน การ คยุ กันเนีย่ มนั จะท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลง คือ เทียบกับสิ่ง ทเ่ี ราเหน็ บางกลมุ่ เขามที ง้ั เงนิ มพี รอ้ มทกุ อยา่ ง แตท่ ำ� ไมกลมุ่ มนั ถงึ อยไู่ มไ่ ด้ กเ็ พราะมนั ไมม่ กี ระบวนการพดู คยุ เหลา่ น.้ี ..ถา้ คยุ กนั ยังไงกไ็ ด้มนั จะไมเ่ กิดการเรยี นร้เู ทา่ ท่ีควร...” (ประทปี อ่อนสลงุ . สัมภาษณ์, 11 มีนาคม 2561) จากสิ่งที่เกิดขึ้นพ่อมืดสะท้อนว่า ตนเองค่อนข้างโชคดีที่เมื่อเกิด เหตุการณ์ขึ้นเพียงไม่กี่วันก็ได้มีโอกาสเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการภาวะ การน�ำเพ่ือการข้ามพ้น ในโมดูลที่ 3 เร่ือง “การน�ำด้วยเป้าประสงค์ทางจิต วิญญาณ (leading with soul purpose)” ซึง่ พอ่ มืดกลา่ วา่ นับเปน็ สามวันที่มี คณุ คา่ อยา่ งยง่ิ เพราะไดก้ ลบั มาทบทวนวธิ กี ารท�ำงานใหเ้ หมาะสมกบั คนในแตล่ ะ กลมุ่ มากยงิ่ ขน้ึ และอาจตอ้ งพจิ ารณาจงั หวะในการถา่ ยทอดองคค์ วามรใู้ หก้ บั คน กลมุ่ ตา่ ง ๆ อยา่ งถถี่ ว้ นอกี ครงั้ จากความมงุ่ หวงั ทอี่ ยากจะเปลยี่ นแปลงทกุ คนใน องค์กรอย่างรวดเร็ว เป็นการดูแลด้วยความเข้าใจในธรรมชาติของแต่ละคนใน กล่มุ มากยิง่ ข้ึน การเดินทางคร้งั ใหม่ของชาวไทยเบ้งิ บ้านโคกสลงุ 241

“…ผมคงต้องปล่อยให้มันเป็นไปตามธรรมชาติ คงไม่เค่ียวเข็ญ อะไรมาก อาจจะต้องปล่อยให้มันเป็นไปตามส่ิงที่มันควรจะ เปน็ ...เหมอื นเดก็ นกั เรยี นทเ่ี ราสอนตอ่ ใหเ้ ราเตบิ เครอื่ งมอื ขนาด ไหน ระดมสรรพก�ำลังขนาดไหนแต่เขาไม่พร้อม ก็ไม่มีทางรับ ได.้ ..อกี อยา่ งผมกต็ อ้ งลดเรอ่ื งของอารมณล์ ง...เราตอ้ งทำ� งานดว้ ย ความรักมากข้ึน...เราต้องเปลี่ยนความมุ่งหวังของเราที่อยากจะ เปล่ียนแปลงคนของเราให้มันได้แบบพลิกฝ่ามือ หรือให้เปลี่ยน ใหไ้ ดเ้ รว็ ๆ เปน็ การหนั กลบั มาดแู ลกนั ดว้ ยความรกั มากขนึ้ สว่ น ทีเ่ ขาจะเติบโตก็ตอ้ งปลอ่ ยให้เปน็ เรอ่ื งของเขา เรามหี น้าที่ใส่ปุ๋ย รดนำ�้ พรวนดนิ ดแู ล แตเ่ ขามรี ะบบรากของเขา เขากต็ อ้ งโตแบบ ของเขา...” (ประทีป อ่อนสลุง. สัมภาษณ,์ 11 มนี าคม 2561) นอกจากน้ีพ่อมืดยังมีแผนการที่จะชวนคนในกลุ่มพูดคุยเร่ืองของ เป้าประสงค์ทางจิตวิญญาณเพ่ิมเติมอีกด้วย โดยพ่อมืดอธิบายให้ผู้เขียนฟัง เพ่ิมเติมว่า เป้าประสงค์ของคนจะมี 2 ลักษณะ คือ เป้าประสงค์ส่วนตัวจาก หวั ใจ เป้าประสงคร์ ่วม ซ่ึงเอามาปรบั ใช้กับการท�ำงานรว่ มกันในกลมุ่ ได้ เพราะ เป้าประสงค์ร่วมจะเป็นส่ิงที่ท�ำให้ต้องกลับมาต้ังค�ำถามกับตนเองว่า ท�ำไมเรา ตอ้ งมาท�ำงานตรงน้ี ซง่ึ การตอบเปา้ ประสงคต์ รงสว่ นนไี้ ดจ้ ะมสี ว่ นชว่ ยอยา่ งยง่ิ ให้ คนท�ำงานลดเงอื่ นไขในการเรยี นรสู้ ง่ิ ใหมๆ่ และยงั จะท�ำใหค้ นท�ำงานมคี วามกลา้ เพมิ่ มากขน้ึ ทจี่ ะท�ำสงิ่ ใหมๆ่ ทตี่ อบโจทยเ์ ปา้ ประสงคท์ ม่ี อี ยู่ มนั จะกลายเปน็ การ เรียนร้ทู ่ที �ำไปโดยมีความหมาย และมคี ุณค่ากับตนเอง ดังทพ่ี อ่ มืดกล่าววา่ ... “...เป้าประสงคร์ ว่ มจะทำ� ให้เราร้วู ่าเราท�ำไมมาท�ำงานตรงน้ี ถา้ ตอบตรงนี้เราไม่ได้เราจะท�ำอะไรไม่ได้เลย เพราะเราจะตอบ ไม่ได้ว่าท�ำไมถึงท�ำ และมันจะน�ำไปสู่การไม่เห็นด้วยว่าต้องท�ำ อยา่ งไร...” (ประทีป ออ่ นสลุง. สมั ภาษณ,์ 11 มนี าคม 2561) 242 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสังคม

เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในโคกสลุงครั้งน้ี ท�ำให้ผู้เขียนได้กลับมาทบทวนถึง การน�ำเครอื่ งมอื ของผปู้ ระกอบการการมาใชใ้ นบรบิ ทของชมุ ชนมากยง่ิ ขน้ึ เครอื่ ง มือของผู้ประกอบการอาจมีประโยชน์อย่างย่ิงเม่ือน�ำมาใช้ในการก�ำหนดเป้า หมาย และทศิ ทางของการพัฒนาให้เปน็ ไปตามแผนการท่วี างไว้ แตใ่ นระหวา่ ง การเดนิ ทางไปตามแผนการดงั กลา่ วนน้ั อาจจ�ำเปน็ ต้องอาศัยเครอื่ งมืออน่ื มาใช้ ประกอบด้วย เนอ่ื งจากการเดินทางของภาคประชาสังคมนั้น ไมใ่ ชก้ ารเดนิ ทาง ไปใหถ้ งึ จดุ มงุ่ หมายของใครคนใดคนหนง่ึ หากแตม่ ผี คู้ นเขา้ มาเกยี่ วขอ้ งมากมาย ทงั้ ยงั เปน็ ผคู้ นทตี่ า่ งมเี ปา้ ประสงคส์ ว่ นตวั ทอ่ี าจจะไมไ่ ดต้ รงกนั ทกุ คน จงึ มโี อกาส เกิดความขัดแยง้ ขึน้ ไดท้ ุกเมอ่ื ดงั นน้ั การพฒั นาสภาวะภายในของคนในกลมุ่ จงึ อาจเปน็ อกี ทกั ษะหนง่ึ ทจ่ี �ำเปน็ และนา่ จะมสี ว่ นชว่ ยหนนุ เสรมิ ใหก้ ารใชเ้ ครอ่ื งมอื ของผปู้ ระกอบการใน บริบทของการท�ำงานภาคประชาสังคม ทข่ี ับเคลอ่ื นดว้ ยชวี ติ ของคนท�ำงานเป็น ไปได้ดว้ ยดมี ากย่งิ ขึ้น ดังท่ีพ่อมืดกล่าวว่า… “...เมื่อมีคนเข้ามาแล้ว ท�ำยังไงเราถึงจะสามารถรักษาเขาเอา ไว้ได้ ส่วนเขาท�ำอะไรได้แค่ไหน อันนั้นเราค่อยว่ากัน..เพราะ เราไม่ใช่องค์กรที่จ้างคนมาท�ำงาน ซ่ึงได้มาแต่ตัว แต่ไม่ได้จิต วิญญาณของคนท�ำงาน เข้ามาท�ำงานก็อยู่ด้วยความทุกข์ และ อยู่อยา่ งสนิ้ หวัง เราไม่ไดต้ ้องการเปน็ องค์กรแบบนน้ั ...” (ประทปี ออ่ นสลงุ . สมั ภาษณ,์ 11 มีนาคม 2561) การเดินทางคร้งั ใหมข่ องชาวไทยเบง้ิ บา้ นโคกสลุง 243

สมดลุ “คุณค่า” กบั “มูลค่า” คอื ความเป็นผูป้ ระกอบการ ในแบบของโคกสลุง “...ลกั ษณะของการทำ� งานชมุ ชนมนั ไมใ่ ชแ่ คท่ ำ� แลว้ ไดเ้ งนิ แตม่ นั ต้องมีอย่างอ่ืนมากอ่ นถึงจะนำ� มาสเู่ รื่องรายได้ เขาจะต้องเขา้ ใจ และเหน็ คณุ ค่าของชุมชน ของวถิ ี มนั ถงึ จะยงั่ ยนื แต่ถ้าเขาเห็น แคโ่ อกาสทวี่ า่ มหี นว่ ยงานมาสง่ เสรมิ แลว้ สนใจแตเ่ รอื่ งรายได้ มนั อาจจะเปน็ ไปได้แค่ปหี รือสองปีเทา่ นน้ั …” (ประทีป ออ่ นสลงุ . สมั ภาษณ์, 5 กุมภาพนั ธ์ 2561) “ผมอยากขอให้อาจารย์ช่วยพูดเร่ือง สมดุลคุณค่ากับมูลค่า เพิ่มเติม ครับ” เปน็ ถ้อยค�ำทพ่ี อ่ มืดกล่าวต่อผเู้ ขยี นในขณะที่พวกเรา (ผู้เขียน พ่ีจบ๊ิ และ กลมุ่ ผนู้ �ำ) ก�ำลงั นงั่ เตรยี มขอ้ มลู ส�ำหรบั การอบรมเรอ่ื ง วธิ กี ารท�ำตน้ ทนุ และก�ำไร ให้กับกลุ่มอาชพี ผู้เขียนยังจ�ำบรรยากาศในวนั นน้ั ไดอ้ ยา่ งแม่นย�ำว่า หลังจากทพ่ี ่จี ๊ิบเลา่ ใหฟ้ งั ถงึ วธิ กี าร และเนอ้ื หาของการอบรมทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ในวนั รงุ่ ขนึ้ พอ่ มดื นง่ิ ไปสกั ครู่ก่อนจะพูดขน้ึ มาว่า เนื้อหาท่ีพ่ีจ๊ิบเตรยี มมานน้ั มีประโยชน์ต่อชมุ ชนมาก แต่ มีประเด็นบางอย่างท่ีอยากจะขอให้ผู้เขียน หรือพี่จ๊ิบช่วยเพิ่มเติมนั่นคือ เร่ือง สมดุลของคุณค่าและมูลค่า ซึ่งพ่อมืดมองว่าเป็นเรื่องส�ำคัญที่ควรจะอธิบายให้ คนท�ำงานในกลมุ่ อาชพี เขา้ ใจอยา่ งจรงิ จงั ผเู้ ขยี นจงึ ขอใหพ้ อ่ มดื ชว่ ยอธบิ ายความ หมายของสมดลุ ระหวา่ งคณุ คา่ กบั มลู คา่ เพ่ิมเตมิ เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจความหมายของท่ี พอ่ มดื ตอ้ งการสอ่ื สารไดอ้ ย่างไมผ่ ดิ พลาด พ่อมืดอธิบายว่า ในการท�ำงานที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจของชุมชน ทั้ง 244 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

การพฒั นาสนิ คา้ และการสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วซงึ่ ใชว้ ฒั นธรรมเปน็ ฐานนนั้ ตาม ธรรมดาจะมีเร่ืองของผลประโยชน์ที่ชาวบ้านจะได้รับเข้ามาเก่ียวข้องด้วย บาง คร้ังผู้พัฒนามักจะคิดถึงแต่การยกระดับคุณภาพสินค้า หรือเพิ่มมูลค่าสินค้าให้ สูงข้ึน จนลืมคิดถึงเรื่องอ่ืนๆ เช่น ผู้พัฒนาพยายามก�ำหนดมาตรฐานสินค้าพื้น บ้าน โดยใช้วิธีการ เปรียบเทียบระหว่างสินค้าของชาวบ้านแต่ละคน จนท�ำให้ เกิดความขัดแย้งภายในกลุ่มซึ่งปรากฏให้เห็นในหลายกรณี ดงั นนั้ หากผ้พู ัฒนามุง่ สง่ เสรมิ แต่ด้านที่เกี่ยวข้องกบั เศรษฐกิจ คอื ม่งุ ส่งเสรมิ แตใ่ ห้สินคา้ และบริการมรี าคา และมาตรฐานสูงขน้ึ เพยี งอยา่ งเดียวโดย ไม่ค�ำนึงถึงการรักษาคุณค่าทางวัฒนธรรม อันเป็นคุณค่าด้ังเดิมของสินค้าน้ันๆ ชาวบ้านก็จะมุ่งพัฒนาสินค้า และบริการไปตามความต้องการของตลาดจนลืม นึกถึงคุณค่าทางวัฒนธรรม เมื่อสินค้า และบริการมีคุณค่าทางวัฒนธรรมน้อย ลงเนื่องจากคนไม่ใหค้ วามส�ำคญั ในทีส่ ดุ มูลค่าของสนิ ค้ากจ็ ะลดลงเช่นเดียวกัน ดังจะเห็นได้จากหมู่บ้าน หรือชุมชนท่องเที่ยวหลายแห่งที่เริ่มต้นมีนัก ท่องเที่ยวเข้ามาในชุมชนเน่ืองจากความสงบ และวิถีชีวิตที่เรียบง่ายของชุมชน จนกระท่ังชมุ ชนเริ่มมชี ื่อเสยี งโดง่ ดัง และเร่ิมมนี กั ลงทุนเข้าไปท�ำกิจการในพืน้ ท่ี เพมิ่ มากขน้ึ จนท�ำใหค้ วามเงยี บสงบ และเรยี บงา่ ยซงึ่ เปน็ เสนห่ ข์ องชมุ ชนสญู หาย ไป สง่ ผลใหส้ ดุ ทา้ ยหมบู่ า้ นทอ่ งเทย่ี วดงั กลา่ วกม็ นี กั ทอ่ งเทยี่ วนอ้ ยลงเชน่ เดยี วกนั ความไม่สมดุลระหว่างคุณค่า และมูลค่านี่เองที่ท�ำให้การพัฒนาชุมชนไม่ย่ังยืน อย่างท่ีควรจะเป็น ในทางกลับกันหากเราสามารถมองเห็นได้ว่ามูลค่าทาง เศรษฐกจิ และคณุ ค่าทางวัฒนธรรม เป็นส่งิ ทเ่ี กอ้ื หนนุ และส่งเสรมิ ตอ่ ยอดซง่ึ กนั และกนั กจ็ ะท�ำใหก้ ารพฒั นาสนิ คา้ และบรกิ ารของชมุ ชนเปน็ ไปในลักษณะ ที่มคี วามยงั่ ยนื มากขึ้น การใหค้ วามส�ำคญั เรอื่ งสมดลุ ระหวา่ งคณุ คา่ และมลู คา่ ทพ่ี อ่ มดื อธบิ าย น้ัน นอกจากจะเกิดจากการอ้างอิงหลักวิชาการ และอาศัยกรณีตัวอย่างแล้ว ผู้เขียนคิดว่าพ่อมืดน่าจะให้ความส�ำคัญกับเรื่องนี้ เน่ืองมาจากประสบการณ์ใน การเดนิ ทางครงั้ ใหม่ของชาวไทยเบิง้ บา้ นโคกสลุง 245

อดีตท่ีเคยเกิดขึ้นกับชมุ ชนโคกสลงุ ด้วย ย้อนกลับไปในช่วงเวลาท่ีเขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิก�ำลังจะถูกสร้างขึ้นใน บรเิ วณที่ตง้ั ดง้ั เดิมของชุมชนโคกสลุง ช่วงเวลาน้นั นอกจากจะมีงานวิจัยทที่ �ำให้ ครเู สอื และพอ่ มดื ไดเ้ หน็ คณุ คา่ ของวฒั นธรรมไทยเบง้ิ มากขนึ้ แลว้ ขณะเดยี วกนั รัฐบาลผู้รบั ผิดชอบโครงการสร้างเขือ่ นกเ็ รมิ่ แจกจ่ายใหเ้ งินชดเชยกบั ชาวบา้ นที่ ตอ้ งเสียทด่ี ินท�ำกินเพื่อการสร้างเขื่อนเป็นจ�ำนวนหลายแสน หลายลา้ นบาท พอ่ มืด และกลมุ่ ผนู้ �ำในพื้นที่โคกสลงุ เล่าว่า เงินจ�ำนวนมากทชี่ าวบ้าน ไดร้ บั ในขณะนนั้ ท�ำใหว้ ถิ ชี วี ติ และความสมั พนั ธข์ องคนในชมุ ชนเปลยี่ นไปอยา่ ง มาก จากหมู่บ้านท่มี รี ถเพยี งไม่กค่ี ัน กลายเปน็ มรี ถกระบะ และรถจักรยานยนต์ ทกุ ครัวเรอื น มีงานฉลอง และมกี ารสรา้ งบา้ นหลังใหม่ขึน้ เรอ่ื ยๆ แทบทุกคนใน ชมุ ชนโคกสลงุ กลายเปน็ เศรษฐภี ายในชว่ั ขา้ มคนื ทกุ คนอยกู่ นั อยา่ งสขุ สบาย และ บางคนในชมุ ชนถงึ กบั บอกวา่ เงนิ ทไ่ี ด้รบั ต่อใหใ้ ช้ทงั้ ชาตกิ ็ไมม่ ีวนั หมด แตเ่ พยี งชว่ งเวลา 5 ปี เงนิ ทเ่ี คยมเี ปน็ 10 ลา้ น กห็ มดไปในทสี่ ดุ พรอ้ มๆ กับท่ีพ่ีน้องหลายคนต้องทะเลาะเบาะแว้งกันอย่างรุนแรงจนไม่อาจมองหน้ากัน ได้ เน่อื งจากการแบง่ ปนั ผลประโยชนไ์ มล่ งตัว เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนท�ำให้พ่อมืด และกลุ่มผู้น�ำเข้ามาท�ำงานขับเคล่ือน ด้านวัฒนธรรมไทยเบิ้ง โดยมุ่งหวังว่าวิถีชีวิตท่ีดีงาม อยู่กันอย่างพ่ีน้อง เช่น เดยี วกบั ทเ่ี คยเปน็ มากอ่ นทท่ี กุ คนจะกลายเปน็ เศรษฐนี นั้ จะกลบั คนื มาในชมุ ชน โคกสลงุ ดงั ทเ่ี คยเป็นมาในรุ่นบรรพบรุ ษุ จากเหตุการณ์ดังกล่าว นอกจากจะเป็นจุดก�ำเนิดของการขับเคลื่อน เร่ืองวัฒนธรรมของชุมชนแล้ว ยังเป็นเหตุการณ์ท่ีคงจะพอท�ำให้เห็นได้บ้างว่า คนในชุมชนโคกสลงุ นนั้ ไม่ใช่ชาวบา้ นชนบททีย่ ากจนขน้ แค้น หากแต่เปน็ คนที่ เคยมที รพั ย์สนิ จ�ำนวนมาก เพียงแตผ่ ลของการมีทรัพย์สินอย่างรวดเร็วน้ัน เป็น สาเหตุทท่ี �ำใหช้ ุมชนลม่ สลายมากอ่ น จงึ ไมน่ า่ แปลกใจเลยวา่ เหตใุ ดพอ่ มดื จงึ ใหค้ วามส�ำคญั กบั การใชเ้ ครอ่ื งมอื 246 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผ้คู น ชุมชน การประกอบการสงั คม

ของผปู้ ระกอบการ ไปควบคกู่ บั การเนน้ ยำ�้ เรอ่ื งความส�ำคญั ของการสบื สานวฒั น ธรรมไทยเบง้ิ และวถิ ชี วี ติ ของคนโคกสลงุ เสมอ ดงั แนวคดิ ทพี่ อ่ มดื จะคอยยำ้� เสมอ ในการท�ำโครงการครงั้ นวี้ า่ “…ผมไมไ่ ด้ตอ่ ตา้ นทุนนยิ ม ไมไ่ ด้อยากขดั ขวางชาวบ้านไมม่ เี งนิ จรงิ ๆ เรากอ็ ยากมเี งนิ แตอ่ ยากมเี งนิ พรอ้ มกบั มอี สิ ระ ไมต่ อ้ งตก เป็นทาสของเงินแบบทีเ่ คยเป็นกนั มา...” (ประทปี อ่อนสลุง. สมั ภาษณ,์ 5 กุมภาพนั ธ์ 2561) สรปุ บทเรยี น ในที่สุดเราก็มาถึงบทสรุปของการเดินทางที่เต็มเปี่ยมไปด้วยเรื่องราว ผู้คน และเครื่องมืออันหลากหลายภายใต้โครงการที่เรียกร้องให้ทุกคนท่ีมีส่วน เกยี่ วขอ้ งจ�ำเปน็ ตอ้ งกา้ วออกมาจากพนื้ ทป่ี ลอดภยั ของตนเอง ทงั้ คนทอ่ี ยใู่ นพน้ื ที่ เดิม แต่ตอ้ งใชเ้ ครอื่ งมอื ใหมอ่ ย่างภาคประชาสังคม และคนทตี่ ้องไปอยใู่ นพ้ืนท่ี ใหม่ โดยใชเ้ คร่ืองมือทีต่ นเองค้นุ ชนิ อยา่ งผ้ปู ระกอบการ และผู้เชีย่ วชาญด้านสือ่ แม้จะเต็มไปด้วยความท้าทาย แต่ท้ายที่สุดโครงการน้ีก็ได้สร้างความ เปลย่ี นแปลงหลายอยา่ งใหเ้ กดิ ขน้ึ ทงั้ ความเปลยี่ นแปลงทส่ี ามารถมองเหน็ จบั ตอ้ ง และวัดประเมินได้ ไปจนถึงความเปล่ียนแปลงท่ีเป็นการเข้าไปส่ันสะเทือนชุด ความคดิ ความเชือ่ ดง้ั เดิมของแต่ละคน ซึ่งแมจ้ ะมองไม่เหน็ และประเมนิ ไดย้ าก แตก่ เ็ ชอ่ื วา่ จะเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ส�ำคญั ทท่ี �ำใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงไมน่ อ้ ยในอนาคต ในกรณขี องชมุ ชนโคกสลงุ นบั เปน็ ความโชคดอี ยา่ งยง่ิ ของกลมุ่ คนท�ำงาน ทมี่ กี ารแบง่ หนา้ ทใี่ นการท�ำงานดา้ นตา่ งๆ อยา่ งชดั เจน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การมี การเดินทางครั้งใหม่ของชาวไทยเบิ้งบ้านโคกสลงุ 247

กลุ่มผู้น�ำที่ดูแลด้านการคิดกลยุทธ์ และวางยุทธศาสตร์การท�ำงานอย่างจริงจัง โดยไมไ่ ดท้ บั ซอ้ นกบั หน้างานอนื่ ๆ ของคนในกลมุ่ ดังนั้น การวางกลยุทธใ์ นการ พัฒนาจึงเกิดขึ้นไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม นอกจากนี้ การที่แต่ละคนสามารถท�ำงานท่ีตนเองรับผิดชอบได้เป็น อยา่ งดี และมคี วามมงุ่ มนั่ ทจี่ ะพฒั นางานของตนเองใหด้ ี ภายใตก้ ารตดั สนิ ใจรว่ ม กนั ของคนในกลุม่ ยงั เป็นหลักฐานทแี่ สดงใหเ้ ห็นไดเ้ ป็นอยา่ งดถี งึ ประโยชน์ของ การน�ำรว่ ม (collective leadership) ซึง่ เป็นแนวทางท่คี นท�ำงานในโคกสลงุ ใช้ เป็นแนวทางในการขับเคลอ่ื นการท�ำงาน กลยุทธ์ในการท�ำงานท่ีเกิดจากโครงการนี้ ท�ำให้กลุ่มผู้น�ำในพื้นท่ีโคก สลุงไดค้ ้นพบว่า สง่ิ ที่เปน็ จุดแข็ง และเป็นความเช่ยี วชาญของคนท�ำงานในพน้ื ที่ โคกสลุงแทจ้ รงิ แลว้ คือ เรอ่ื งของวิธกี ารสรา้ งทมี และพฒั นาคน นอกจากการได้เข้าใจศักยภาพ และความเชี่ยวชาญของตนเองแลว้ ใน การท�ำโครงการน้ียังท�ำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงข้ึนในหลายระดับ ท้ังความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับคนท�ำงาน และความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนภายใน องค์กร แต่ความเปลี่ยนแปลงท่ีส�ำคัญท่ีสุดน่าจะเป็น การเปลี่ยนมุมมองที่คน ท�ำงานมีต่อการขบั เคลือ่ นชมุ ชนของตนเอง จากการมองเห็นว่า งานทที่ �ำมาโดย ตลอดมจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื สรา้ งความสขุ ใหก้ บั คนในชมุ ชนโคกสลงุ กลายเปน็ ความ พยายามทจี่ ะพัฒนาโคกสลุงให้กลายเป็นชุมชนตน้ แบบในการพ่งึ พาตนเอง โดย ใชเ้ ครอื่ งมอื ทางวฒั นธรรมเป็นรากฐานส�ำคัญ การตง้ั เปา้ หมายใหมข่ องกลุ่มคน ท�ำงานในครง้ั น้ี นบั เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ส�ำคญั ทจ่ี ะท�ำใหก้ ารท�ำงานในอนาคตของชมุ ชน โคกสลงุ เปล่ียนแปลงไปอกี หลายอยา่ ง เร่ืองราวมากมายที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลา 7 - 8 เดือนของการเรียน รู้ร่วมกนั ระหวา่ งภาคประชาสงั คม ภาคธุรกจิ ทมี สือ่ และนกั วิจัยในโครงการฯ อาจท�ำให้หลายคนมองวา่ โครงการน้ี คอื พื้นทข่ี องการปะทะสงั สันทนร์ ะหว่าง 248 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสงั คม

กระบวนทัศน์ และวิธกี ารท�ำงานของผ้คู นท่ีมคี วามเช่อื แตกตา่ งกนั แต่ส�ำหรบั ผู้ เขยี นแล้ว ในทา้ ยทสี่ ุดกลบั มองเห็นวา่ พืน้ ท่ที เี่ กดิ จากโครงการตรงนี้ คือ พ้นื ที่ ส�ำหรับฝกึ ศิลปะแหง่ การสรา้ งสมดุล มากกว่า ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากบทเรยี นทเ่ี กดิ ขนึ้ มากมายในชมุ ชนโคกสลงุ ตลอดระยะ เวลา 7 - 8 เดอื นท่ผี ่านมา ซึง่ ต้องอาศยั การรักษาสมดลุ อย่างยง่ิ ยวดตลอดการ เดินทาง ท้ัง สมดุลของเป้าหมาย ระหว่างการใหค้ วามส�ำคัญกบั เรื่องมูลคา่ ทาง เศรษฐกจิ และคณุ คา่ ของวฒั นธรรม ซง่ึ ชมุ ชนโคกสลงุ เลอื กทจี่ ะใชเ้ ปน็ หลกั ยดึ ใน การเดินทาง สมดุลของเครื่องมือ ระหว่างการพัฒนาเครอื่ งมือภายนอกส�ำหรบั คิดกลยุทธ์ และการพัฒนาสภาวะภายในเมื่อกลยุทธ์ที่คิดไว้ไม่ได้เป็นไปตามที่ มงุ่ หวงั ไปจนถงึ สมดลุ การบรหิ ารทมี ระหวา่ งความอยากเปลย่ี นแปลงคน องคก์ ร เพ่ือมงุ่ ไปขา้ งหน้า และการรักษานำ้� ใจของคนท่ที �ำงานร่วมกนั มาอยา่ งยาวนาน สามารถสรุปเปน็ โมเดล 3 สมดุล ดงั แสดงดา้ นลา่ ง การรักษาสมดุลน้ีไม่แตกต่างจากแนวคิดเรื่องผู้ประกอบการสังคม ซึ่ง เปน็ แนวทางอนั เกดิ จากความพยายามรกั ษาสมดลุ ระหวา่ งการท�ำเพอื่ สงั คมโดย ไมแ่ สวงหาผลก�ำไร และการท�ำธุรกิจท่มี ่งุ แสวงหาแตก่ �ำไรโดยแยกขาดออกจาก สงั คม ชมุ ชนโคกสลงุ ณ เวลานี้ ก�ำลงั จะกา้ วไปขา้ งหนา้ เรมิ่ มหี นว่ ยงานทง้ั ภาค รัฐ และเอกชนหลายองคก์ รทส่ี นใจจะน�ำความรดู้ ้านการพฒั นาคน และพัฒนา ทมี ของชุมชนไปใชใ้ นบรบิ ทใหมๆ่ องคค์ วามรขู้ องโคกสลงุ ก�ำลังจะกลายไปเป็น องคค์ วามรสู้ ากล ใหก้ ับชมุ ชน และองค์กรอีกหลายแห่งทั่วประเทศ แตก่ วา่ จะถงึ เวลานนั้ คงมเี รอ่ื งราวทา้ ทายเกดิ ขนึ้ อกี มากมายตลอดการ เดนิ ทาง การรกั ษาสมดลุ ไวใ้ หม้ นั่ จงึ นา่ จะเปน็ แนวทางส�ำคญั ทจี่ ะท�ำใหช้ มุ ชนเดนิ ทางไปถงึ เปา้ หมาย โดยทที่ กุ คนในทมี ยงั เตม็ เปย่ี มไปดว้ ยจติ วญิ ญาณดงั ทต่ี งั้ ใจไว้ แตต่ น้ การเดนิ ทางครั้งใหมข่ องชาวไทยเบิง้ บ้านโคกสลงุ 249

โมเดลการเปลย่ี นแปลงจากภาคประชาสงั คมสู่การท�ำธุรกิจเพ่อื สงั คม ทม่ี า : ผลการศึกษา 250 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผูค้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม