การ หรอื ผมู้ หี ลกั วชิ า ทงั้ นบี้ คุ คลกลมุ่ ดงั กลา่ วยงั ไมไ่ ดเ้ คยเจอกนั หรอื ประสานการ ท�ำงานรว่ มกนั เพยี งแต่ “คน” ทง้ั สองฝา่ ยนน้ั ตา่ งกลบั มเี ปา้ หมายรว่ มกนั สิ่งนั้น คือ ความต้องการที่อยากเห็นสังคมที่ดีข้ึน ดังนั้น จึงมีความพยายามขุดค้น สกัดจุดเด่นของแต่ละฝ่ายมาผสานกันเพ่ือการท�ำงานที่มีประสิทธิภาพและก้าว ข้ามก�ำแพงเรอ่ื งคนรุน่ ใหม่กบั คนรุน่ เกา่ ผู้มวี ัยวุฒหิ รอื ผู้มีคุณวุฒิได้ ผู้เขียนมองเห็นว่า มุมมองหรือภาวะการเปล่ียนผ่านของพื้นที่โคกสลุง มีลักษณะคล้ายคลึงกับพื้นท่ีเชียงราย ท้ังนี้อาจจะมีฐานคิดของผู้น�ำในมิติด้าน จิตใจความรู้สกึ หรือแมแ้ ตข่ ุมพลงั ที่ถูกขบั เคล่ือนผ่านงานศลิ ปะวฒั นธรรมดงั ที่ ได้กล่าวมาแล้ว อย่างไรก็ตาม ภาวะการเปลี่ยนผ่านของโคกสลุงปรากฏอยู่ใน ลักษณะของรูปธรรมท่ีสามารถรับรู้ได้ผ่านค�ำอธิบายของนักวิจัยในพื้นท่ี เช่น ประเด็นเร่ืองของความกล้าที่จะน�ำเสนอสิ่งใหม่และเปิดโอกาสให้ลองตัดสินใจ เลอื กรบั และประยกุ ตใ์ หเ้ ขา้ กบั วฒั นธรรมตนเอง ดว้ ยวธิ คี ดิ การกา้ วขา้ มจากสงิ่ เกา่ สสู่ งิ่ ใหมแ่ ละความชดั เจนเรอื่ งการพฒั นาทกั ษะใหแ้ ก่ “ทรพั ยากรมนษุ ย”์ ใน ชมุ ชน ปรากฏเปน็ รปู ธรรมในวธิ กี ารของการพฒั นาสนิ คา้ และการตลาด เนน้ ไปใน เรอ่ื งของการท�ำตราสญั ลกั ษณช์ มุ ชน (community branding) หรอื การพฒั นา คนและการพฒั นาการบริหารจัดการ โดยเรียกทักษะต่างๆ เหลา่ นวี้ ่า “งานหลงั บ้าน” และ “งานหน้าบา้ น” จากการประเมินความสามารถและทักษะทางธุรกิจท่ีเกิดข้ึนในชุมชน โคกสลุง นกั วิจัยมองเหน็ วา่ แผนการด�ำเนินทว่ี างไวม้ ีความเปน็ ไปได้สูงและตรง ตามความตอ้ งการของพนื้ ทเี่ ปน็ อยา่ งดซี งึ่ สะทอ้ นถงึ การกา้ วขา้ มวธิ กี ารจากหนงึ่ ไปสอง จากวิธเี ดิมท่ีถือเปน็ ภูมิปญั ญาส่กู ารผสานวธิ กี ารใหมท่ ีเ่ ปน็ ทักษะความรู้ จดุ เรมิ่ ต้นของความส�ำเรจ็ กลา่ วไดว้ า่ น่ีคือ โคกสลงุ ท่ถี กู แตง่ ตวั ใหม่ ในขณะที่พนื้ ทีข่ อนแกน่ ภายใตก้ ารท�ำงานโครงการขอนแก่นนิวสปรติ การเปล่ียนผ่านกลายเป็นเร่ืองของ “เป้าหมายเชิงลึก” ซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของ ยุทธศาสตร์การท�ำงานเพ่ือสร้างเครือข่ายและการเสริมศักยภาพการท�ำงานให้ บทสงั เคราะห์: จุดนดั พบบนเส้นขนาน ผ้คู น ชุมชน การประกอบการสังคม 351
แก่เครือข่าย วิธีคิดหรือทัศนคติของพี่สุ้ยในการท�ำงานครั้งน้ีสะท้อนให้เห็นว่า ประเด็นท่ีต้องร่วมสร้างการเปลี่ยนผ่านคือ การเปล่ียนวิธีคิดของคนท�ำงาน พ่ีสุ้ยสะท้อนการท�ำงานของ NGOs รุ่นบุกเบิกว่าเป็นลักษณะการท�ำงานท่ีเป็น นกั ท�ำมากกวา่ นกั คดิ เนน้ สรา้ งกจิ กรรมทเี่ กดิ ประโยชนก์ บั กลมุ่ เปา้ หมายโดยตรง แตไ่ มถ่ นดั หรอื ไมส่ นใจเรอื่ งของการท�ำงานบรหิ าร งานวชิ าการ หรอื การวางแผน เชิงกลยทุ ธ์ ดงั น้ัน การท�ำงาน NGOs รุ่นใหมจ่ �ำเปน็ อย่างย่ิงที่จะตอ้ งปรบั วธิ ีคิด และปรบั ตัวเพือ่ ให้อยู่รอดและท�ำงานด้วยประสิทธิภาพในบริบทสังคมปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า ขอนแก่นเกิดภาวะการวิพากษ์ในกระบวนการท�ำงาน หากมองรูปแบบการเปลี่ยนผ่านแล้ว นับว่าเป็นสิ่งท่ีน่าสนใจมากในประเด็น การปรับตวั ในระบบ เกดิ ภาวะของความลักลนั่ ทางความคิด แม้ว่ารปู ธรรมของ การเปลี่ยนแปลงยังไม่ชัดเจน แต่วิธีคิดและอุดมการณ์ก็ถูกหยิบยกมาตีแผ่ให้ เหน็ โครงสร้างบางอย่างได้เหน็ ภาพพอสมควร หากนีค่ ือการเปลย่ี นแปลงในเชิง กระบวนทัศน์ ก็น่าจะอยู่ในระดับของการปะทะกันของความคิดและคาดว่าจะ น�ำไปสคู่ วามส�ำเร็จเฉกเช่นพ้นื ท่อี ื่นๆ อยา่ งไรกต็ าม พงั งาแหง่ ความสขุ คน้ พบวา่ “คน หรอื ทรพั ยากรมนษุ ย”์ เปน็ สง่ิ ส�ำคญั ในการ “พฒั นา” เพอื่ กา้ วขา้ มในเชงิ โครงสรา้ ง กลา่ วคอื การผลกั ดัน “คนในชุมชน” ให้ออกมามีบทบาทในการท�ำงานและสามารถสร้างความ เปลยี่ นแปลงทางสังคมได้ เมื่อ “คน” ถูกชใู หเ้ ห็นเปน็ ประเดน็ ในการพฒั นาจงึ เป็นท่ีมาของการจัดต้ังโครงการ “สถาบันพัฒนาการเรียนรู้พังงาแห่งความสุข” หวังใหเ้ ป็นเครือ่ งมือสานตอ่ แผนยุทธศาสตร์พังงาแห่งความสขุ 10 ประการ ดงั นั้น เปา้ หมายพฒั นาคนจงึ เป็นโจทยห์ ลักในการขบั เคลอ่ื นสงั คม เห็นได้จากการ จัดสรรงบประมาณทไี่ ด้รับมาจากแหลง่ ทุนตา่ งๆ นอกจากใช้ท�ำโครงการพฒั นา ชุมชนแล้วส่วนหนึ่งจะถูกน�ำมาจัดกิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้และเสริมทักษะ การท�ำงานเป็นทีมอยู่เสมอ เช่น การอบรมหลักสูตรนักเปลี่ยนแปลงสังคมสู่ พังงาแห่งความสขุ กจิ กรรมน้ีส�ำหรบั แกนน�ำทีมยุทธศาสตรจ์ งั หวัด สง่ เสริมให้ 352 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม
ผู้เข้าอบรมทบทวนและตระหนักรู้ความส�ำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างตนเอง กบั คนในครอบครวั และเพอื่ นรว่ มงาน การอบรมใชส้ อ่ื อยา่ งสอื่ สรรค์ เปน็ กจิ กรรม อบรมให้แก่เครือข่ายการท�ำงานได้พัฒนาทักษะการสื่อสารในรูปแบบที่เหมาะ สมกับปัจจบุ นั และ การอบรมหลักสตู รวทิ ยากรมอื อาชพี เปน็ การพฒั นาทักษะ กระบวนกรจัดการทอ่ งเท่ียวเพ่อื การเรยี นรูภ้ ายในชุมชน จะเหน็ ไดว้ า่ กิจกรรม เหล่านี้สะท้อนให้เห็นแนวทางของการก้าวข้ามและการยกระดับองค์กรโดยมุ่ง พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ ซง่ึ ถอื เปน็ “หัวใจ” ท่สี �ำคัญส�ำหรับการสร้างเมอื งพังงา แห่งความสขุ ผนู้ �ำแหง่ อนาคต: โดดเดน่ ไมโ่ ดดเดยี่ ว การร่วมท�ำงานกับผู้มีความแตกต่างท้ังด้านประสบการณ์ วิธีคิดหรือ การใช้ชีวิตล้วนเป็นปัจจัยในการปรับตัวเพื่อผสานการท�ำงานให้ลงตัว ข้อค้น พบส�ำหรับการท�ำงานกับผู้น�ำจาก 4 พ้ืนท่ีพบว่าขุมพลังเกิดจากฐานความคิด ที่สร้างพลังในการขับเคลื่อนการท�ำงานภาคประชาสังคม ผู้วิจัยพบว่าขุมพลัง ดงั กลา่ วมลี กั ษณะแตกตา่ งกนั ไปตามพนื้ ทแี่ ละความเปน็ ปจั เจก เชน่ ฐานความคดิ ของครนู ำ้� ทม่ี กั กลา่ วถงึ ความเชอ่ื ซงึ่ เปน็ แรงขบั ดนั ใหส้ รา้ งคณุ งามความดดี ว้ ยใจ ที่มุ่งมั่น แนวทางของฐานความคิดเรื่องความส�ำนึกกลุ่มชาติพันธุ์สะท้อนผา่ น กระบวนการท�ำงานชมุ ชนของพอ่ มดื สามารถสรา้ งแรงขบั ใหเ้ กดิ การมองเหน็ คณุ คา่ ของภาษาและวฒั นธรรมในระดบั จติ ส�ำนกึ ซง่ึ น�ำไปสกู่ ารใชก้ ระบวนทศั นใ์ หมๆ่ ใน การท�ำงานภาคประชาสังคม นอกจากนยี้ งั มขี ุมพลังทีส่ ะทอ้ นฐานความคิดเรื่อง ความสมดลุ ซงึ่ เปน็ ประเดน็ หนง่ึ ทผ่ี ลกั ดนั ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงในสงั คมซง่ึ เปน็ ที่มาของพี่สุ้ยหญิงสาวผู้อุทิศตนเพ่ือสร้างความสมดุลคร้ังใหม่ในเมืองขอนแก่น ในขณะเดียวกัน มิติของชีวิตบางมุม เป็นฐานความคิดเรื่องความสูญเสียท�ำให้ บทสงั เคราะห:์ จุดนัดพบบนเส้นขนาน ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม 353
เกดิ แรงขบั เคลอ่ื นกลมุ่ องคก์ รทที่ �ำงานในพนื้ ทพี่ งั งาทมี่ เี ปา้ หมายอยา่ งชดั เจน เกดิ ขมุ พลงั น�ำไปสกู่ ารท�ำงานอยา่ งจรงิ จงั จนเกดิ ผลส�ำเรจ็ ทเี่ รยี กวา่ พงั งาแหง่ ความสขุ แต่อยา่ งไรก็ตาม จากการคน้ พบของนักวิจยั พบวา่ เพียงแค่ “ขุมพลัง” ต่างๆ ท่ีถูกกล่าวมายังไม่สามารถตอบสนองความส�ำเร็จของการท�ำงานภาค ประชาสงั คม เนื่องจากยงั มีปัจจัยอ่นื ๆ อีกหลากอย่างทีเ่ สริมแรงใหเ้ กิดพลงั เพิ่ม เตมิ เครอื ขา่ ยคนท�ำงานกเ็ ปน็ สง่ิ ส�ำคญั ปยิ มติ รทร่ี ว่ มแรงกนั ท�ำงานในพน้ื ทต่ี า่ งๆ ลว้ นเป็นก�ำลงั เสริมท่ีช่วยก่อรา่ งสรา้ งความเป็นชุมชนหรอื สังคมในอดุ มคติ การ สอดประสานกนั ของการท�ำงานในพน้ื ที่เชียงราย โดยมคี รนู ้ำ� พีอ่ ้วน พ่หี วาน พี่ วัตรชี้ให้เห็นว่าความสามัคคีที่สร้างพลัง ครูน�้ำตระหนักถึงความจ�ำเป็นในการ สร้างทีมควบคู่กับการจัดสรรสัดส่วนการท�ำงานท่ีจ�ำเป็นต้องร่วมวางแผนและ ถอดบทเรยี นการท�ำงานเปน็ สง่ิ ทน่ี า่ สนใจและเปน็ ทางเลอื กหนงึ่ ทส่ี ามารถน�ำมา ใชใ้ นการสรา้ งความรว่ มมอื การท�ำงานในลกั ษณะของเครอื ขา่ ยทเ่ี ขม้ แขง็ ในอนาคต เครือข่ายท่ีเข้มแข็ง สร้าง “พลังมหาศาล” ในการต่อรองกับ “คู่ตรง ขา้ ม” หรอื จัดการกับ “ปัญหา” เครือขา่ ยการท�ำงานภาคประชาสงั คมของพน้ื ท่ี โคกสลงุ และ พืน้ ท่ีพังงา เปน็ ภาพแทนทีส่ �ำคญั ซึ่งสะท้อนถงึ ความเหนยี วแนน่ ของภาคประชาชนและเครือข่ายต่างๆ ทร่ี วมตัวกนั ต่อสกู้ บั ภาครัฐจนเกดิ กลาย เปน็ โครงการตา่ งๆ ทร่ี กั ษาไวซ้ ึ่งความเป็นชมุ ชนและสังคมของตนเอง โครงการ ตา่ งๆ มากมายเปน็ เพยี งเครือ่ งมอื หากแตห่ ัวใจคอื ความสัมพันธท์ ี่เกิดขน้ึ ของ ผู้คนที่ร่วมใจกันก้าวกระโดดออกมาจากพ้ืนที่ส่วนตัวสู่พื้นที่สาธารณะและร่วม กันท�ำงานภาคประชาสงั คม ในขณะท่ี จดุ เริ่มต้นของการสร้างเครือข่ายท่ีเข้มแข็ง ก�ำลังก่อร่างสรา้ ง ตัวตนอยใู่ นพนื้ ทขี่ อนแก่นภายใต้โครงการขอนแกน่ นิวสปิรติ ความตระหนกั ถึง ความส�ำคญั ของเครอื ขา่ ยไดโ้ อบอมุ้ วธิ คี ดิ ทมี่ องความสมั พนั ธข์ องคนท�ำงานเปน็ ภารกจิ หลกั 354 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
อนาคตทีท่ ้าทาย อปุ สรรคทีข่ วางกัน้ ความทา้ ทายในการท�ำงานระหว่างภาคประชาสังคมกับผ้ปู ระกอบการ สงั คมทนี่ �ำเคร่อื งมอื มาใชใ้ นพื้นท่ี เปน็ ความทา้ ทายหนง่ึ ในการท�ำงาน การปรบั ตวั เขา้ กบั วธิ คี ดิ ภาคธรุ กจิ กบั การบรหิ ารงานภาคประชาสงั คมเปน็ ประเดน็ ทส่ี วน ทางกนั เกดิ ขวั้ ความคดิ ทปี่ ะทะกนั อยตู่ ลอดเวลา ความทา้ ทายลกั ษณะนี้ ปรากฏ อย่างเด่นชัดในการท�ำงานของพื้นที่ขอนแก่น เกิดการถกเถียงกันอย่างชัดเจน กระทง่ั นกั วจิ ยั ชใี้ หเ้ หน็ ถงึ ประเดน็ “ความขดั แยง้ ” แตก่ ระนนั้ กต็ าม ความขดั แยง้ ที่เกิดข้ึนได้สร้างพื้นท่ีการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนท้ังต่อผู้น�ำภาคประชาสังคมและ ตัวแทนของแนวคิดผู้ประกอบการจนเกิดเป็นการขยายความรู้ วิธีคิด มุมมอง และการท�ำงานท่ีแตกต่างไปจากเดิม ส�ำหรับพ้ืนท่ขี อนแกน่ บทบาทของคณุ นก intrapreneur คือ บทบาทของผูท้ ใ่ี ห้ค�ำปรกึ ษาการท�ำงานมากกวา่ การท�ำงาน กบั พ้ืนที่โดยตรงเมอ่ื เปรียบเทียบกบั พน้ื ท่ีอื่นๆ บทบาทท่ีแตกต่างกันของอาสาสมัครผู้ประกอบการ ถือเป็นความ ทา้ ทายระดบั บุคคลของแตล่ ะพ้ืนที่ ส�ำหรบั พื้นทีเ่ ชียงรายแลว้ ความทา้ ทายคอื การคลป่ี มความไม่ลงรอยกนั ระหว่างความคดิ ดา้ นมูลค่าและความคิดเชิงคุณค่า ประเดน็ ดังกลา่ ว คุณทอฟฟี่ intrapreneur ใชค้ วามพยายามในการอธบิ ายและ สร้างความเข้าใจให้แก่ครูน้�ำ เช่น การสร้างมิติความคิดให้มองเร่ืองมูลค่าที่สูญ เสียไป แต่กลับเพิ่มคุณค่าให้กับงานท่ีตนเองท�ำ ในขณะเดียวกัน ข้อเท็จจริงท่ี หลกี หนเี สียไม่ได้จากการท�ำงานของมูลนธิ บิ ้านครูน�ำ้ คือ เปน็ ลักษณะงานท่ไี ม่ จบเปน็ ชน้ิ ๆ หรอื เหน็ ผลลพั ธใ์ นระยะเวลาอนั สน้ั ดงั นน้ั การประเมนิ ความส�ำเรจ็ จงึ เปน็ ส่งิ ท่ตี ้องตดิ ตามและใชเ้ วลา แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม ความทา้ ทายในประเดน็ ดา้ นวธิ คี ดิ ทป่ี ะทะกนั ระหวา่ ง ขว้ั ความคดิ คตู่ รงขา้ มแบบภาคประชาสงั คมและผปู้ ระกอบการสงั คมกลบั ไมเ่ กดิ ขึ้นในพื้นที่ของโคกสลุงและพ้ืนที่ของพังงาแห่งความสุข หากแต่ปฏิกริยาหรือ บทสงั เคราะห์: จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสังคม 355
ประเดน็ ดา้ น “ความสมดลุ เรอ่ื งคณุ คา่ และมลู คา่ ” คอื “ภาวะของความ ทา้ ทาย” ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต ความสมดลุ เรอ่ื งคณุ คา่ และมลู คา่ เปน็ สงิ่ ทสี่ �ำคญั ส�ำหรับการตระหนักคิดถึงการน�ำเคร่ืองมือทางธุรกิจมาใช้ให้เกิดความย่ังยืนแก่ ชมุ ชนหรอื องคก์ รใดๆ ผวู้ จิ ยั มองเหน็ วา่ ภาวะความทา้ ทายดงั กลา่ วคอื บทพสิ จู น์ การท�ำงานอยา่ งเปน็ มอื อาชพี ของผนู้ �ำและในทา้ ยทสี่ ดุ กย็ งั สามารถสะทอ้ นความ ส�ำเรจ็ ในการประยกุ ตห์ รอื ผสานเครอื่ งมอื การประกอบการจากภาคธรุ กจิ กบั การ ท�ำงานภาคประชาสงั คมได้อย่างลงตัว เพราะนค่ี ือเปา้ หมายของ จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผูค้ น ชมุ ชน และ การประกอบการสงั คม บทสังเคราะห:์ จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสังคม 357
358 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
ทำ�ไมเร�ท�ำ สงิ่ ทเี่ ร�ทำ�: ตีแผร่ ะเบยี บวิธวี จิ ยั ว�สน� ศรีปรชั ญ�อนนั ต์ 359
ท�ำไมเราท�ำสิ่งที่เราท�ำ: ตีแผ่ระเบียบวิธีวิจัย วาสนา ศรีปรชั ญาอนันต์ “ตกลงพวกเราใช้ระเบียบวธิ ีวิจัยไหนกันแน”่ ค�ำถามนหี้ ลดุ ออกมากลางทปี่ ระชมุ ของทมี นกั วจิ ยั พวกเรามองหนา้ กนั และกนั พร้อมกบั รอยยิม้ ที่ผุดข้ึนบนใบหน้า ในการท�ำวิจัยครั้งนี้ ทีมวิจัยประกอบไปด้วยนักวิจัย 6 คนดังที่กล่าว ไปแล้วในบทท่ีหนง่ึ การที่นักวจิ ยั แต่ละคนมีพื้นหลังมาจากสาขาวิชาทีแ่ ตกตา่ ง หลากหลาย1 ท�ำให้พวกเรามีมุมมองและประสบการณ์การท�ำวิจัยท่ีเฉพาะใน สายของตนเอง เน่ืองจากแต่ละสาขาวิชามีกระบวนทัศน์ในการมองและศึกษา “ความจริง” ที่จ�ำเพาะ นั่นหมายถึงการมีภววิทยา (ontology) ญาณวิทยา (epistemology) และวธิ วี ทิ ยา (methodology) ในการท�ำวจิ ยั ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป ดว้ ย ดว้ ยเหตทุ น่ี กั วจิ ยั มโี อกาสลงพนื้ ทที่ �ำงานวจิ ยั เชงิ ถอดบทเรยี นรว่ มกนั มากอ่ น ดงั นน้ั พวกเราจงึ ไมไ่ ดเ้ รม่ิ ตน้ การท�ำงานดว้ ยการระบปุ ระเภทของระเบยี บวธิ วี จิ ยั ที่พวกเราจะใชอ้ ยา่ งชัดเจน หากแตค่ ุยกนั อยา่ งคร่าวๆ ว่างานวิจยั ชิ้นนีเ้ ปน็ งาน วจิ ยั เชงิ คณุ ภาพทมี่ ลี กั ษณะของกรณศี กึ ษา ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ วกระบวนการท�ำวจิ ยั 1 ท้ังสาขาศิลปศึกษา ประชากรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ บรรพชีวินศึกษา มานุษยวิทยาการดนตรี และ คติชนวทิ ยา 360 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม
ของพวกเราจงึ เนน้ ความส�ำคญั ในขนั้ ตอนการเกบ็ ขอ้ มลู เพอื่ ท�ำความเขา้ ใจบรบิ ท และกระบวนการท�ำงานขบั เคลือ่ นของแต่ละกลมุ่ แตเ่ มือ่ ถงึ เวลาทีต่ อ้ งเร่มิ เขียน รายงานวิจัย การระบุระเบียบวิธีวิจัยอย่างชัดเจนกลายเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ตามท่ี Creswell (2007) กล่าวว่า “งานวิจัยที่ดีเรียกร้องการแสดงสมมติฐาน กระบวนทัศน์ และกรอบการวจิ ยั ให้ชัดเจนในงานเขยี น” (p. 15) การที่ทมี วจิ ยั เร่ิมพิจารณาและระบุระเบียบวิธีวิจัยอย่างจริงจังเมื่อการเก็บข้อมูลถึงจุดส้ินสุด แล้วเปน็ การท�ำงานย้อนหลงั ทบ่ี ัน่ ทอนความน่าเช่อื ถอื (trustworthiness) ของ งานวิจัยชิ้นนี้หรือไม่ บทสุดท้ายนี้มีจุดมุ่งหมายในการใคร่ครวญค�ำถามข้อน้ี อีกทั้งอภิปรายกระบวนทัศน์และกระบวนการท�ำวิจัยที่ทีมนักวิจัยมีร่วมกันใน การท�ำงานวจิ ัยครง้ั นี้ กระบวนทศั นใ์ นการมอง “ความจรงิ ” กระบวนทศั นเ์ ปน็ ระบบความเชอื่ พน้ื ฐานทคี่ นเรามตี อ่ การท�ำความเขา้ ใจ สงิ่ ทีเ่ กดิ ข้นึ ในโลก โดยความเช่ือเหล่านอ้ี ยบู่ นฐานของภววทิ ยา (ธรรมชาตขิ อง ความจริงแท้) ญาณวิทยา (ความสัมพันธ์ระหว่างนักวิจัยและส่ิงที่ศึกษาเพื่อให้ ไดม้ าซงึ่ ความจริงน้นั ) และวิธีวทิ ยา (วิธกี ารท�ำวิจัยเพ่อื ให้ได้มาซ่งึ ความจรงิ ) ซึง่ เชอ่ื มโยงสัมพันธก์ ันหมด (Creswell, 2007; Guba & Lincoln, 1994) การท�ำ วจิ ยั เปน็ วธิ หี นง่ึ ในการเขา้ ถงึ ความจรงิ เกยี่ วกบั โลก โดยวลิ เฮลม์ ดลิ ธยี ์ (Wilhelm Dilthey) นกั ปรชั ญาชาวเยอรมนั แบง่ ความรอู้ อกเปน็ 2 ประเภท คอื การอธบิ าย (erklärung) และการท�ำความเขา้ ใจ (verstehen) ซงึ่ เขามองวา่ การอธบิ ายเปน็ เป้าหมายหลกั ของงานวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural sciences) แต่ ไม่ใช่เป้าหมายที่เหมาะสมในการท�ำวิจัยสายสังคมศาสตร์ที่เน้นไปท่ีการศึกษา ประสบการณ์ชีวิตของมนุษย์ การเข้าไปสัมผัสบริบทของผู้ที่เราศึกษาและ ท�ำ ไมเราท�ำ สง่ิ ที่เราทำ�: ตแี ผร่ ะเบียบวธิ วี จิ ยั 361
การท�ำความเข้าใจพฤติกรรมของบุคคลน้ันจากมุมมองของคนใน (insider) ต่างหากท่ีจะช่วยให้เราสามารถเข้าใจความหมายในการใช้ชีวิตของเขา (Schwandt, 1994; Willis, 2007) เม่ือทีมวิจัยต้ังเป้าของการท�ำวิจัยช้ินน้ีไว้ที่การท�ำความเข้าใจ ปรากฏการณ์ที่ศึกษาผ่านประสบการณ์เรียนรู้ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ ใน โครงการนี้ กระบวนทัศน์ที่พวกเราเห็นร่วมกัน คือ กระบวนทัศน์เชิงตีความ (interpretivism) และกระบวนทัศน์แบบคอนสตรัคทิวิสึม (constructivism) ซึ่งทั้งสองกระบวนทัศน์น้ีมองว่า ความจริงเป็นส่ิงท่ีมนุษย์สร้างข้ึนจากการ ตีความประสบการณ์ที่ประกอบไปด้วยความรู้สึกและความคิด ท�ำให้ความจริง ของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน ความจริงจึงเป็นอัตตวิสัย (subjective) และมี มากกว่าหนึ่ง หรือกล่าวอีกนัยหน่ึง ความจริงท่ีได้มาเป็นความจริงสัมพัทธ์ท่ีไม่ ตายตัวและสามารถเปล่ียนแปลงไปตามบริบทและข้อมูลท่ีได้มา นอกจากน้ัน ในเชงิ ญาณวทิ ยา ความรถู้ อื เปน็ สง่ิ ทสี่ รา้ งขนึ้ จากการปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งนกั วจิ ยั และผ้ใู ห้ข้อมูล ไม่ใช่สง่ิ ท่มี อี ยแู่ ลว้ และถกู “ค้นพบ” (Guba & Lincoln, 1994) ระเบียบวธิ ีวจิ ยั แบบพหกุ รณีศึกษา ทีมนักวิจัยได้รับโจทย์จากโครงการผู้น�ำแห่งอนาคตให้ถอดบทเรียน การท�ำงานต่อยอดของเครือข่ายผู้น�ำภาคประชาสังคมหลังจากได้รับการหนุน เสริมด้วยเคร่ืองมือและวิธีคิดการประกอบการสังคม โดยหัวใจหลักของงาน วิจยั คือ การท�ำความเข้าใจว่าเครือ่ งมอื หนนุ เสรมิ สง่ ผลตอ่ การท�ำงานขบั เคล่อื น สงั คมของผนู้ �ำภาคประชาสังคมอย่างไร ซ่ึงผู้น�ำภาคประชาสังคมท้ัง 4 กลมุ่ ได้ รบั เลอื กใหเ้ ขา้ รว่ มการหนนุ เสรมิ ครงั้ นเี้ พอื่ เปน็ ตวั อยา่ งกรณศี กึ ษาในการพฒั นา เครอ่ื งมอื การประกอบการสงั คมส�ำหรบั องคก์ รภาคประชาสงั คมอน่ื ๆ หลงั จากท่ี 362 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสงั คม
ทมี นกั วจิ ยั ใครค่ รวญการท�ำงานเจด็ เดอื นทผ่ี า่ นมาเพอ่ื ระบรุ ะเบยี บวธิ วี จิ ยั ทพ่ี วก เราใช้ สมาชิกในทีมวิจัยเห็นพ้องกันว่า งานช้ินน้ีเป็นงานวิจัยเชิงพหุกรณีศึกษา (multiple case study) เนอื่ งจากงานวจิ ยั เชงิ พหกุ รณศี กึ ษามงุ่ ไปทก่ี ารท�ำความ เขา้ ใจความซบั ซอ้ นของประเดน็ ทศ่ี กึ ษา ซงึ่ ในทนี่ คี้ อื การใชเ้ ครอ่ื งมอื และแนวคดิ การประกอบการสงั คมเพอ่ื สรา้ งความยง่ั ยนื ในการท�ำงานใหแ้ กอ่ งคก์ รภาคสงั คม ดังน้ัน แต่ละกรณีท่ีศึกษา (case) ถือเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการท�ำความเข้าใจ ประเด็นน้ี (Stake, 1995; 2005) นอกจากการศึกษาพ้ืนท่ีกรณีศึกษาหลายแห่ง หากดูผิวเผิน งานวิจัย เชงิ พหกุ รณศี กึ ษามลี กั ษณะทไี่ มต่ า่ งจากงานวจิ ยั เชงิ กรณศี กึ ษาแบบใชเ้ ปน็ เครอ่ื ง มือ (instrumental case study) แต่ Stake (2006) ชีว้ า่ งานวิจยั สองแบบน้ี ต่างกันที่จุดมุ่งเน้นจากค�ำถามท่ีว่า “อะไรช่วยท�ำให้เราเข้าใจกรณีที่ศึกษา” สู่ “อะไรชว่ ยท�ำใหเ้ ราเขา้ ใจเปา้ รว่ ม2” (p. 6) ซงึ่ เปน็ การเปลยี่ นจากการมองกรณที ่ี ศกึ ษาอยา่ งเปน็ องคร์ วมสกู่ ารมองอยา่ งจ�ำกดั ขอบเขต ซงึ่ ถกู จ�ำกดั โดยเปา้ รว่ มทม่ี ี อ�ำนาจเหนอื กวา่ กรณีทีศ่ กึ ษา โดยเป้ารว่ มในงานวิจัยนคี้ อื กลมุ่ ผ้นู �ำภาคประชา สังคมท่ีประยุกต์ใช้เคร่ืองมือและแนวคิดการประกอบการสังคมในการท�ำงาน แต่การเปล่ียนจุดมุ่งเน้นจากความเฉพาะเจาะจงของกรณีศึกษาแต่ละแห่งสู่เป้า ร่วมยังสร้างให้เกิด “สภาวะล�ำบากในระดับญาณวิทยา” (epistemological dilemma) ในการตดั สนิ ใจวา่ สงิ่ ไหนทค่ี วรคา่ แกก่ ารใหค้ วามส�ำคญั กวา่ ระหวา่ ง จดุ รว่ มของกรณีทศ่ี ึกษาทงั้ 4 กรณีหรือส่งิ ทเี่ ฉพาะเจาะจงในแต่ละกรณี ในงาน วจิ ยั ช้ินน้ี พวกเราจึงตดั สินใจในการรักษาสมดุลระหวา่ งสองส่ิงน้ี โดยใหน้ ักวจิ ยั หน่ึงคนมุ่งศึกษาความเฉพาะเจาะจง (particularity) ของกลุ่มผู้น�ำขับเคล่ือน สังคมในแต่ละพ้ืนทซ่ี ่งึ เหน็ ได้จากบทที่ 2 ถึงบทท่ี 5 ในขณะท่ีนักวจิ ัยอกี คนหน่ึง 2 เป้าร่วม (collective target) หรือท่ี Stake (2006) เรียกว่า “quintain” ซึ่งหมายถึง โครงการ ปรากฏการณ์ หรือสภาพใดสภาพหนง่ึ ทีเ่ ปน็ ร่มใหญส่ �ำหรบั กรณที เี่ ราศึกษา ท�ำ ไมเราท�ำ ส่งิ ท่เี ราทำ�: ตีแผ่ระเบยี บวิธวี จิ ัย 363
สังเคราะห์จุดรว่ มของการท�ำงานของกลมุ่ ผูน้ �ำในพน้ื ทท่ี ้งั สแี่ ห่งในบทที่ 6 การเกบ็ ขอ้ มูล: มมุ มองคนใน-คนนอก ดังที่กล่าวไปแล้ว เป้าหมายของงานวิจัยสายสังคมศาสตร์ส่วนใหญ่ รวมถึงงานวิจัยช้ินน้ี เน้นไปที่การท�ำความเข้าใจประสบการณ์ชีวิตของมนุษย์ จากมมุ มองของคนใน (emic) นกั วิจยั จะสามารถเขา้ ถงึ มุมมองของคนในได้ต้อง อาศยั ความคนุ้ เคยกบั บรบิ ททางสงั คมและวฒั นธรรมของพนื้ ทนี่ น้ั อกี ทง้ั ยงั สรา้ ง ความสมั พนั ธท์ ดี่ แี ละไดร้ บั ความไวว้ างใจจากคนในพนื้ ที่ (Athanases & Heath, 1995) เนื่องจากงานวิจัยน้ีเป็นงานวิจัยต่อยอดจากการท�ำงานปีท่ีแล้ว จึงมีท้ัง กลุ่มผู้น�ำภาคประชาสังคมที่ทีมวิจัยเคยท�ำงานถอดบทเรียนด้วยและกลุ่มท่ีเริ่ม ท�ำความรจู้ ักกนั ใหม่ ซง่ึ จากการประชุมทมี วิจัย พวกเราเห็นความแตกตา่ งของ ระดับความไว้วางใจที่ทั้งสองกลุ่มมีให้กับนักวิจัยอย่างชัดเจน ซ่ึงส่งผลต่อความ สามารถในการเข้าถึงผู้ให้ข้อมูลกลุ่มต่างๆ ในพื้นที่และข้อมูลที่ได้รับ ความคุ้น เคยท�ำใหผ้ ใู้ หข้ อ้ มลู เปดิ ใจในการบอกเลา่ เรอื่ งราวชวี ติ และความทา้ ทายทป่ี ระสบ ท�ำให้นักวจิ ัยเข้าถึงมมุ มองของคนท�ำงานภาคประชาสงั คมได้อย่างลกึ ซ้งึ ขึน้ ในกระบวนการเก็บข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งมุมมองของคนใน ซ่ึงเป็นการ มองโลกผ่านสายตาของสมาชิกในวัฒนธรรมที่ถูกศึกษา (Creswell, 2007) นักวิจัยเริ่มต้นด้วยการท�ำความรู้จักกับกลุ่มผู้น�ำในพื้นที่และทีมอื่นๆ ท่ีมีส่วน เกย่ี วขอ้ งกบั โครงการน้ี พวกเราลงพนื้ ทเี่ พอื่ ไปท�ำความเขา้ ใจบรบิ ทในการด�ำเนนิ งานของแต่ละกลุ่มผา่ นการสงั เกตและการสมั ภาษณ์ บางครัง้ พวกเรายังเขา้ รว่ ม กิจกรรมกับคนในพ้ืนที่ในฐานะลูกหลาน เพ่ือน และพี่น้อง โดยไม่ได้ค�ำนึงถึง ความเกี่ยวข้องของกิจกรรมกบั งานวิจยั ทพี่ วกเราก�ำลงั ท�ำอยู่ ถึงแมม้ ุมมองของ คนในเป็นสง่ิ ทนี่ กั วิจัยตอ้ งการไดม้ า แตง่ านวจิ ยั จ�ำเป็นต้องรักษาสมดุลระหวา่ ง 364 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสังคม
มุมมองคนในและมุมมองคนนอกผา่ นกรอบความคิดของนักวิจัย (etic) เพ่ือจะ ได้สงั เกตเหน็ ประเดน็ เฉพาะตามกรอบการวิจยั ท่ีคนในอาจมองข้าม ขอ้ กังวลใน เรื่องนี้ท�ำให้ทีมวิจัยต้องคุยกันอย่างจริงจังเก่ียวกับบทบาทของนักวิจัยในพื้นที่ วา่ พวกเราจะเปน็ เพยี งผู้สังเกตการณ์หรอื เข้าร่วมกิจกรรมและเป็นสว่ นหน่งึ ใน กระบวนการเรยี นรทู้ เี่ กดิ ขน้ึ กบั กลมุ่ ผนู้ �ำในพนื้ ที่ ซงึ่ ขอ้ สรปุ ทไ่ี ดค้ อื พวกเราจะเปน็ ส่วนหนึ่งในการเรียนรู้น้ัน แต่เมื่อออกจากพ้ืนท่ี นักวิจัยจ�ำเป็นต้องถอยตนเอง ออกมาวิเคราะหส์ งิ่ ทเ่ี กดิ ข้นึ จากสายตาของคนนอกด้วย การวเิ คราะหแ์ ละการน�ำเสนอขอ้ มูล ในการท�ำวิจัยแบบพหุกรณีศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ระดับ ไดแ้ ก่ 1) การวิเคราะห์ภายในแตล่ ะกรณีศึกษา (within-case analysis) เพื่อสร้างมุมมองที่ลึกซ้ึงเก่ียวกับกรณีศึกษานั้นผ่านการบรรยายอย่างละเอียด เกีย่ วกบั บริบทและสถานการณท์ เี่ กดิ ขนึ้ และ 2) การวเิ คราะห์ข้ามกรณศี ึกษา (cross-case analysis) โดยคน้ หาจดุ รว่ มและความแตกตา่ งระหวา่ งกรณที ศี่ กึ ษา (Eisenhardt, 1989) การวิเคราะห์ภายในแต่ละกรณีศึกษาในงานวิจัยน้ียังใช้ วิธวี เิ คราะห์ 2 แบบ ได้แก่ 1) การวเิ คราะห์แก่นสาระ (thematic analysis) โดยกลุ่มหนึ่งเป็นแก่นสาระที่ระบุไว้ต้ังแต่แรกจากประเด็นการวิจัยที่ได้รับมอบ หมาย เชน่ ความเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ ในพน้ื ทใ่ี นเชงิ การท�ำงาน ผลผลติ ทส่ี ะทอ้ น การน�ำแนวคดิ การประกอบการสงั คมไปประยกุ ตใ์ ช้ และอปุ สรรค/ความทา้ ทาย ในการน�ำเครอ่ื งมอื และแนวคดิ การประกอบการสงั คมไปใช้ เปน็ ตน้ อกี กลมุ่ หนง่ึ เป็นแก่นสาระท่ีผุดขึ้นจากการเก็บข้อมูล เช่น ความสมดุลและการปะทะกัน ระหวา่ งคณุ ค่าและมลู คา่ 2) การวเิ คราะห์ข้อมูลของขอนแกน่ นวิ สปิรติ กานน คุมพ์ประพันธ์ใช้ข้ันตอนหนึ่งของการวิเคราะห์เรื่องเล่า นั่นคือ กระบวนการ ล�ำดบั เรอื่ งเลา่ (restory/retelling) ซง่ึ วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบส�ำคญั ของเรอื่ งเลา่ ท�ำ ไมเราท�ำ ส่ิงท่ีเราทำ�: ตีแผร่ ะเบียบวิธวี ิจัย 365
เช่น เวลา สถานที่ โครงเรื่อง และฉาก แลว้ จงึ น�ำเร่ืองราวมาเขียนใหมต่ ามล�ำดบั เวลา เพ่ือสร้างความเช่ือมโยงระหว่างแนวคิดที่ถูกเล่ามา (Ollerenshaw & Creswell, 2002) ในด้านของการน�ำเสนอข้อมูล งานวิจัยเชิงพหุกรณีศึกษามุ่งให้องค์ ความรู้ผ่านประสบการณ์ (experiential knowledge) โดยยกตัวอย่างค�ำพูด หรอื เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ในระหวา่ งเกบ็ ขอ้ มลู เพอ่ื ใหผ้ อู้ า่ นไดล้ มิ้ รสประสบการณ์ เสมือนว่าตัวผู้อ่านเข้าไปอยู่ในเหตุการณ์น้ัน (vicarious experience) การ บรรยายบริบทและเหตุการณ์อย่างละเอียดยังเปิดโอกาสให้ผู้อ่านได้ท�ำความ เข้าใจปรากฏการณจ์ ากมมุ มองของผู้อา่ นเองอกี ดว้ ย (Stake, 1995) นอกจาก นนั้ นกั วจิ ยั ยงั ใชก้ ารน�ำเสนอแบบเรอื่ งเลา่ ซงึ่ คลา้ ยกบั การเขยี นนยิ ายทม่ี จี ดุ เรม่ิ ตน้ ช่วงกลางและจุดจบ (Ollerenshaw & Creswell, 2002) นอกจากน้นั ยงั มี การอธบิ ายลกั ษณะและบรบิ ทของตวั ละคร บรบิ ททางสงั คมของพนื้ ที่ กจิ กรรมท่ี เกดิ ขนึ้ และความเชอื่ มโยงระหวา่ งการกระท�ำและผลลพั ธท์ ตี่ ามมา การน�ำเสนอ ผลการวจิ ยั แบบเรอ่ื งเลา่ ยงั ชว่ ยใหผ้ อู้ า่ นสามารถเชอื่ มโยงและเขา้ ถงึ ประสบการณ์ ชวี ติ ของคนทถ่ี กู ศกึ ษาไดอ้ ยา่ งเปน็ ธรรมชาติ เพราะมนษุ ยค์ นุ้ เคยกบั การเลา่ เรอ่ื ง และการอา่ นเรอ่ื งเล่า ความน่าเชือ่ ถอื ของงานวิจยั นักวิจัย โดยเฉพาะสายวิทยาศาสตร์ซึ่งส่วนใหญ่มีกระบวนทัศน์แบบ ปฏฐิ านนยิ ม (positivism) มักคุ้นเคยกบั ค�ำว่า “ความเข้มแขง็ ” (rigor) ของงาน วจิ ัย ซึง่ หมายถึง ความเท่ยี งตรงภายใน (validity) และความเชือ่ ม่นั (reliabil- ity) ซ่ึงเป็นหัวใจส�ำคัญในการประเมินคุณภาพของงานวิจัย ในขณะท่ีนักวิจัย เชิงคุณภาพอย่าง Guba (1981) น�ำเสนอเกณฑ์อีกชุดหนึ่งแทนเพ่ือใช้ในการ พจิ ารณาคณุ ภาพของงานวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ ซง่ึ เกณฑช์ ดุ นเ้ี นน้ ไปทค่ี วามเชอื่ ถอื ได้ 366 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผูค้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
(credibility) และการถา่ ยโอนผลงานวจิ ยั (transferability) โดยการสรา้ งความ น่าเชื่อถือสามารถท�ำได้โดยใช้การบรรยายข้อมลู อยา่ งละเอยี ด (thick descrip- tion) และการตรวจสอบแบบสามเสา้ (triangulation) ซง่ึ ทมี นกั วจิ ยั ท�ำอยเู่ สมอ ในระหวา่ งการเกบ็ ขอ้ มลู โดยใชว้ ธิ เี กบ็ ขอ้ มลู ทห่ี ลากหลาย ใชก้ ารเกบ็ ขอ้ มลู กบั ผู้ ใหข้ อ้ มลู หลายกลมุ่ และลงพื้นท่ศี กึ ษาหลายคร้งั ในช่วงเวลาที่ตา่ งกนั อกี ทัง้ ยัง ใชว้ ิธตี รวจสอบกับผู้ให้ขอ้ มลู (member checking) หลังจากเขยี นรายงานวิจยั เพอ่ื ตรวจสอบความแมน่ ย�ำในการตคี วามขอ้ มลู ของนกั วจิ ยั เพม่ิ เตมิ ดว้ ย (Stake, 2006) งานวจิ ยั เชงิ กรณศี กึ ษาและพหกุ รณศี กึ ษามกั ถกู ตงั้ ค�ำถามเกยี่ วกบั ความ สามารถในการอา้ งผลวจิ ยั ไปใชท้ ว่ั ไป (generalization) แต่ Stake (1995, 2006) แยง้ วา่ งานวจิ ยั ทง้ั สองแบบนเี้ นน้ ไปทกี่ ารท�ำความเขา้ ใจความเฉพาะเจาะจง ซงึ่ ไม่เพียงแค่สนใจจุดร่วมของกรณีท่ีศึกษา แต่ต้องท�ำเข้าใจจุดต่างด้วยว่า ความ แตกต่างเกิดข้ึนจากอะไร เนื่องจากความผิดปกติเหล่าน้ีอาจน�ำไปสู่ความเข้าใจ ท่ีลึกซ้ึงเก่ียวกับประเด็นที่ก�ำลังศึกษามากกว่าการหาเพียงจุดร่วมและเพิกเฉย ต่อความผิดปกติที่ไม่เข้ากับโมเดลท่ีคิดไว้ แม้กระนั้น มันก็ไม่ได้หมายความว่า ผลงานวจิ ยั เชิงกรณศี ึกษาจะไม่สามารถถูกใชอ้ า้ งอิงกบั กรณอี ืน่ แต่สามารถถา่ ย โอนได้ (transferability) กบั กรณที ม่ี บี รบิ ทใกลเ้ คยี งกนั ดงั นน้ั ในการเขยี นเกยี่ ว กับกรณีศึกษาในบทท่ี 2 ถึงบทที่ 5 นักวิจัยจึงให้ความส�ำคัญกับการบรรยาย บริบททางสังคมของพ้ืนท่ีและบริบทชีวิตของกลุ่มผู้น�ำภาคประชาสังคมและทีม School of Changemakers อยา่ งละเอียดเพอ่ื ให้ผู้อา่ น (โดยเฉพาะคนท�ำงาน ภาคประชาสังคม) สามารถเห็นความคล้ายคลึงและความแตกต่างในเชิงบริบท ของตนเองกบั กรณีศกึ ษาในแต่ละพ้ืนท่ี โดยสรุป ถึงแม้งานวิจัยชิ้นนี้จะไม่ได้ถูกระบุระเบียบวิธีวิจัยไว้อย่าง ชดั เจนตง้ั แตเ่ รมิ่ ตน้ กต็ าม แตท่ มี นกั วจิ ยั ไดใ้ ชว้ ธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู และวเิ คราะหข์ อ้ มลู รวมถงึ การเขียนงานทน่ี า่ จะสรา้ งความนา่ เช่ือถอื แบบงานวจิ ัยเชงิ คุณภาพให้กับ ท�ำ ไมเราท�ำ สิง่ ทเี่ ราทำ�: ตแี ผร่ ะเบยี บวิธวี ิจยั 367
งานชน้ิ น้ี อยา่ งไรกต็ าม งานวจิ ยั ชน้ิ นกี้ ย็ งั มขี อ้ จ�ำกดั อยบู่ า้ ง เชน่ การคดั เลอื กกรณี ศีกษา เน่ืองจากโครงการนม้ี กี ลมุ่ ผ้นู �ำทีเ่ ข้าร่วมเพียง 4 กล่มุ จงึ เปน็ กลุ่มทีต่ อ้ ง ใชเ้ ปน็ กรณศี กึ ษาไปโดยปรยิ าย ซง่ึ แตล่ ะองคก์ รอาจมคี วามพรอ้ มและความคาด หวงั ตอ่ การน�ำแนวคดิ การประกอบการสงั คมไปใชใ้ นระดบั ทแ่ี ตกตา่ งกนั นอกจาก นั้น นักวิจัยในบางพื้นที่อาจยังเก็บข้อมูลได้ไม่ครบ เน่ืองจากข้อจ�ำกัดทางด้าน เวลาท่ีทีมวิจัยต้องส่งต้นฉบับรายงานวิจัยในช่วงเวลาที่กิจกรรมของกลุ่มผู้น�ำใน บางพื้นทีย่ ังด�ำเนินอยู่ พวกเรามองเห็นว่า ด้วยเวลาอันจ�ำกัด หนังสือเล่มน้ีอาจสะท้อนภาพ หรอื ความจริงที่ยงั ไมส่ มบรู ณ์ที่สดุ แต่ก็มีรายละเอยี ดครบถ้วนตามวิธวี ิทยาและ กระบวนการวิจัยดังท่ีไดก้ ลา่ วมาขา้ งตน้ ทีมวจิ ยั หวังเป็นอยา่ งยิ่งวา่ ผ้อู ่านจะได้ เรียนรู้ไม่มากก็น้อยเกี่ยวกับความท้าทายท่ีองค์กรภาคประชาสังคมประสบใน การน�ำแนวคดิ การประกอบการสงั คมไปใชแ้ ละการเปลย่ี นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ ในการ ท�ำงานขบั เคลอื่ นของกลมุ่ คนเหลา่ น้ี เพอื่ เปน็ แนวทางในการสรา้ งความยง่ั ยนื ให้ กบั องคก์ รภาคประชาสังคมต่อไป 368 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม
เอกสารอา้ งอิง Athanases, S. Z., & Heath, S. B. (1995). Ethnography in the study of the teaching and learning of English. Research in the Teaching of English, 29(3), 263-287. Creswell, J. W. (2007). Qualitative inquiry and research design (2nd ed.). Thousand Oaks, CA: Sage. Guba, e. G. (1981). Criteria for assessing the trustworthiness of naturalistic inquiries. Educational Communication and Tech nology, 29(2), 75-91. Guba, E. G., & Lincoln, Y. S. (1994). Competing paradigms in qualitative research. In N. K. Denzin & Y. S. Lincoln (Eds.), Handbook of qualitative research (pp. 105-117). Thousand Oaks, CA: Sage. Ollerenshaw, J. A., & Creswell, J. W. (2002). Narrative research: A comparison of two restorying data analysis approaches. Qualitative Inquiry, 8(3), 329-347. Schwandt, T. A. (1994). Constructivist, interpretivist approaches to human inquiry. In N. K. Denzin & Y. S. Lincoln (Eds.), Handbook of qualitative research (pp. 118-137). Thousand Oaks, CA, US: Sage. Stake, R. E. (1995). The art of case study research. Thousand Oaks, CA: Sage. Stake, R. E. (2005). Qualitative case studies. In N. K. Denzin & Y. S. Lincoln (Eds.), The Sage handbook of qualitative research (pp. 443-466) (3rd ed.). Thousand Oaks, CA: Sage. Stake, R. E. (2006). Multiple case study analysis. New York, NY: Guil ford Press. Willis, J. W. (2007). Foundations of qualitative research: Interpretive and critical approaches. Thousand Oaks, CA: Sage. ทำ�ไมเราท�ำ ส่ิงท่เี ราทำ�: ตแี ผ่ระเบียบวธิ วี จิ ยั 369
370 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
จากจุดนบั พบ สกู่ ารก้าวเดนิ นกั วจิ ัย 371
จากจุดนับพบ สู่การก้าวเดิน “จดุ นบั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม” เปน็ บท เรยี นหนงึ่ ของพวกเราทท่ี า้ ทายส�ำหรบั การท�ำงานในบทบาทนกั การเรยี นรแู้ ละผู้ รกั สมคั รเลน่ 1 บทเรยี นเรอ่ื งนส้ี อนใหเ้ ราตระหนกั รเู้ กยี่ วกบั เสน้ ทางการท�ำงานใน ชุมชนทเี่ ต็มไปดว้ ยผ้คู นมากหนา้ หลายตา ผู้คนท่ีหลากหลายสอนให้พวกเรารู้วา่ ความแตกต่างคือความงดงาม ดังนั้น การได้พบเจอกันของผู้ที่แตกต่างจึงเป็น ชว่ งเวลาทพ่ี เิ ศษ นอกจากนี้ พวกเรายงั ไดร้ บั ฟงั การโอภาปราศรยั ของผคู้ นเหลา่ นนั้ ด้วยความเช่ือและความศรัทธาท่ีมีร่วมกัน ท�ำให้เห็นเป้าหมายต่างๆ ท่ีพวกเขา พึงประสงค์และปรารถนาจะให้เพือ่ นรว่ มทางไดร้ ว่ มเดินไปด้วยกนั จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน เปน็ การพบเจอกนั ระหวา่ ง ผคู้ น ทไี่ ดช้ อ่ื วา่ เปน็ ผนู้ �ำแหง่ การเปลยี่ นแปลง ชมุ ชน คอื พน้ื ทข่ี องการเรยี นรใู้ หไ้ ดล้ องผดิ ลองถกู เพอ่ื ค้นหาประสบการณ์ และ การประกอบการสงั คม นบั เป็นแนวทางทีช่ ักชวนให้ พวกเขากา้ วเดนิ ไปข้างหน้าพรอ้ มกนั อย่างม่ันคงและเป็นแนวคดิ ทฤษฎหี รือวิธี การทเี่ สริมพละก�ำลงั ให้แขง็ แกร่ง การปะทะสังสันทน์ภายนอก ณ ท่ีแห่งหน่ึงเกิดภาวะการเรียนรู้ที่น่า แสวงหา เสน่ห์ของการสืบเสาะท�ำให้พวกเรากระโจนลงเพ่ือซึบซาบความคิด วิธีการ ความส�ำนึก หรือแม้แต่อุดมการณ์ต่างๆ ในขณะเดียวกันการปะทะกัน ภายในเกิดขั้วความคิด ข้อถกเถียง การโต้แย้ง หรือการคล้อยตามกันในความ 1 ผรู้ กั สมคั รเลน่ เปน็ ค�ำท่ี ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ ดร.เจตนา นาควชั ระ แปลจากค�ำวา่ amature ในความ หมาย เพราะรกั จงึ สมคั รเขา้ มาเลน่ เหตทุ แ่ี ปลความเชน่ นเี้ นอื่ งจากมองเหน็ วา่ ความกา้ วหนา้ หรอื การพฒั นา ต่างๆ มักเรมิ่ ต้นจากคนตวั เลก็ ๆ ทม่ี ีความรกั จงึ ไดน้ �ำพาตวั เองเขา้ มาคลกุ คลีกบั ส่งิ เหลา่ นน้ั (อาจเรยี กผคู้ น กลุ่มนว้ี ่า มือสมคั รเลน่ ) ดังนัน้ การท�ำงานของนกั วิจยั ครง้ั นเี้ ช่นเดียวกัน ไม่อาจทนงตวั ว่าเปน็ ผเู้ ชี่ยวชาญ หรอื ผ้ชู �ำนาญในการท�ำงานชุมชน แตเ่ ป็นเพราะรักจึงสมัครเข้ามาร่วมท�ำงานไปพรอ้ มกัน 372 จดุ นัดพบบนเส้นขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม
คดิ ของตนเอง ดงั นน้ั ไม่ว่าจะเป็นการเปล่ยี นแปลงทง้ั ทางดา้ น ความคิด จติ ใจ หรือแม้แต่อารมณ์ความรสู้ ึก จึงเปน็ ภาวะปจั เจกที่เกิดข้ึนอย่างนา่ อศั จรรย์ใจ เม่ือกลา่ วถงึ การเปลีย่ นแปลง แท้จริงแลว้ คอื การเคล่ือนท่จี ากจุดหน่งึ ไปสจู่ ดุ หนงึ่ การเปลย่ี นผา่ นจากจดุ ใดจดุ หนง่ึ นบั เปน็ การเกดิ ใหมห่ รอื การเรม่ิ ตน้ ใหม่ของส่ิงใดใดบนโลกใบน้ี ดังน้ัน จาก จุดนดั พบส่กู ารกา้ วเดนิ จึงชักชวนทุก ท่านให้ร่วมมองถึงการเคล่ือนไหวสู่เปล่ียนแปลงภายในของนักวิจัย ซ่ึงนับเป็น รอยทางแหง่ การเรียนรู้ครง้ั ใหม่ทนี่ า่ จดจ�ำ สะท้อนความเปลี่ยนแปลงภายใน: วาสนา ศรปี รัชญาอนันต์ บทบาทของผเู้ ขยี นในการท�ำงานวจิ ยั ครง้ั นแ้ี ตกตา่ งจากการท�ำงานถอด บทเรียนปีที่แล้วมาก เนื่องจากคร้ังน้ีผู้เขียนมีความจ�ำเป็นด้านร่างกายท�ำให้ไม่ สะดวกในการเดนิ ทางไกล ดงั นนั้ จงึ รบั หนา้ ทศี่ กึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู จากเอกสารเปน็ หลัก ซึ่งประกอบด้วยการทบทวนวรรณกรรมและการอธิบายเก่ียวกับระเบียบ วธิ วี ิจัย แม้กระน้นั ในชว่ งทยี่ งั สามารถเดนิ ทางได้ ผเู้ ขียนไดล้ งพื้นทโ่ี คกสลุงและ พังงากับพี่นุ้ยเพื่อท�ำความเข้าใจแนวคิดการประกอบการสังคมในมุมมองของ พี่นุ้ยและไดเ้ ข้าร่วมเวทีพฒั นาศกั ยภาพ 2 เวทแี รกเพื่อท�ำความเข้าใจเคร่ืองมือ ที่ SoC น�ำเสนอใหก้ บั กลมุ่ ผนู้ �ำภาคประชาสงั คมและสงั เกตการตอบรบั เครอื่ งมอื เหลา่ น้ี ทั้งสองคร้ังท่ีได้ร่วมเดินทางลงพ้ืนที่และพูดคุยแลกเปล่ียนกับพ่ีนุ้ย ผู้เขียนรู้สึกเห็นด้วยกับหลายสิ่งที่พี่นุ้ยพูด โดยเฉพาะมุมมองทางธุรกิจ มูลค่า ของเวลาและการเติมเต็มศักยภาพของคนท�ำงาน ซ่ึงอาจเป็นเพราะครอบครัว ทางฝั่งคุณพ่อของผู้เขียนมักพูดคุยเรื่องธุรกิจกันบ่อยคร้ัง อีกท้ังคุณพ่อยัง จากจดุ นับพบ ส่กู ารกา้ วเดนิ 373
ส่งเสริมให้ผู้เขียนอ่านหนังสือทางธุรกิจและการบริหารจัดการ ท�ำให้เรื่องที่ พ่ีนุ้ยเล่ากลายเป็นตัวอย่างท่ีเป็นรูปธรรมมากขึ้นส�ำหรับผู้เขียน นอกจากน้ัน เมอื่ ตอ้ งทบทวนเอกสารทเี่ กย่ี วกบั การประกอบการ ผเู้ ขยี นอา่ นเจอบทความของ Jerr Boschee ซงึ่ เปน็ อาจารยท์ เ่ี คยสอนผู้เขยี นเกย่ี วกับการประกอบการสังคม ในชว่ งทศ่ี กึ ษาในระดบั ปรญิ ญาโท ผเู้ ขยี นเรมิ่ เหน็ ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งสงิ่ ตา่ งๆ ทเี่ กิดขนึ้ ในชวี ติ มากขึ้น สอดคลอ้ งกับค�ำกล่าวของ Steve Job ทเี่ คยกล่าวไวว้ ่า You can’t connect the dots looking forward; you can only connect them looking backwards. So you have to trust that the dots will somehow connect in your future. You have to trust in something — your gut, destiny, life, karma, whatever2. จากข้อความดังกล่าว ยิ่งท�ำให้ผู้เขียนรู้สึกว่าทุกอย่างที่ผ่านเข้ามาในชีวิตล้วนมี ความส�ำคัญทั้งสิ้น ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับว่าเราจะทุ่มเทและท�ำความเข้าใจกับมันมาก แคไ่ หน นอกจากความตระหนักท่ีเกิดข้ึน ผู้เขียนยังเห็นความซับซ้อนในการ ท�ำงานกับคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนท่ีมีแนวคิดและความเชื่อท่ีแตกต่างกัน ใน ช่วงแรกท่ีพ่ีนุ้ยและ intrapreneurs เข้าไปท�ำงานกับเครือข่ายผู้น�ำในส่ีพ้ืนท่ี ผู้ประสานงานของโครงการผู้น�ำฯ มีข้อกังวลเก่ียวกับวิธีการสื่อสารและภาษา ที่ใช้ เนื่องจากวิธีคิดแบบธุรกิจค่อนข้างแตกต่างจากวิธีคิดและการท�ำงานของ ภาคประชาสงั คม ในครง้ั นน้ั ผเู้ ขยี นคดิ วา่ สงิ่ ทพี่ น่ี ยุ้ พดู นน้ั ถกู ตอ้ ง คนภาคประชา สงั คมนา่ จะเหน็ ดว้ ย แตพ่ อเอาเขา้ จรงิ การท�ำงานรว่ มกนั ในบางพน้ื ทไ่ี มไ่ ดเ้ ปน็ ไป อยา่ งราบรน่ื นกั ตวั อยา่ งเชน่ ภาคธรุ กจิ มองวา่ ความชดั เจนในการท�ำงานคอื สง่ิ ที่ เปน็ สาระส�ำคัญ แต่อาจถูกมองวา่ เปน็ การตัดสินเพียงส่วนเดยี วจากมมุ มองของ 2 ท่มี า: https://news.stanford.edu/2005/06/14/jobs-061505/ 374 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสงั คม
คนท�ำงานภาคประชาสังคม ในขณะทค่ี วามละมนุ ละไมในการปรับใชภ้ าษาและ เครอื่ งมอื ของคนท�ำงานภาคประชาสงั คมอาจถกู มองวา่ เปน็ ความคลมุ เครอื จาก มุมมองของภาคธุรกิจ นอกจากน้ี ความคาดหวังของแต่ละฝ่ายยังแตกต่างกัน ดังนั้น จึงท�ำให้ต้องปรับความเข้าใจกันพอสมควร จากเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นและ การท�ำงานที่คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์เป็นเวลากว่า 2 ปีท�ำให้ ผู้เขียนค่อยๆ เข้าใจว่าการท�ำงานกับคนต้องอาศัยความละเอียดอ่อนและ ความเอาใจใส่มากเพยี งใด สะท้อนการเรียนรู้และการเปลี่ยนแปลง ของผู้วิจัย: ฐติ ิกาญจน์ อัศตรกุล “แต้วขอเชียงรายละกันค่ะ เพราะปีที่แล้วเคยลงไปท�ำงานกันแล้ว เรารจู้ กั ครูน�้ำแล้ว” น่ีคือประโยคที่ผู้เขียนรีบตอบกลับเมื่อสมาชิกในทีมก�ำลังแบ่งงานเพ่ือ สรรหานักวิจัยลงท�ำงานในแต่ละพื้นท่ี การเอ่ยปากครั้งนั้นสะท้อนถึงแบบแผน อัตโนมัติของผู้เขียนท่ีมักเลือกการท�ำงานบนพ้ืนท่ีปลอดภัยและเอื้อต่อ ความสะดวกสบายของตนเอง การลงท�ำงานในพนื้ ทเ่ี ดมิ ยอ่ มงา่ ยกวา่ การเรม่ิ ตน้ ในที่ ใหมๆ่ เนอื่ งจากเรารจู้ กั ทง้ั ผคู้ นและบรบิ ทของพน้ื ทอี่ ยแู่ ลว้ แตก่ ารเลอื กพนื้ ทค่ี รง้ั นกี้ ลบั ไมไ่ ดส้ ะดวกสบายหรอื ท�ำงานราบเรยี บดงั ทค่ี ดิ ไวต้ อนแรก อาจเปน็ เพราะ ภาระงานของผู้เขียนที่มากข้ึน และความท้าทายของการน�ำแนวคิดเชิงธุรกิจ เขา้ ไปใชใ้ นพนื้ ทน่ี ี้ จงึ เหมอื นเปน็ เงอ่ื นไขบงั คบั ใหผ้ เู้ ขยี นตอ้ งกา้ วขาออกจากพน้ื ที่ ปลอดภัยของตนเอง ตลอดการลงพน้ื ทเ่ี พอ่ื ตดิ ตามถอดบทเรยี นการท�ำงานของครนู ำ้� รว่ มกับ จากจุดนบั พบ ส่กู ารก้าวเดิน 375
การท�ำงานของทอฟฟี่ซึ่งเป็นตัวแทนคนรุ่นใหม่ในภาคธุรกิจ การท�ำงาน รว่ มกนั ของคนทง้ั สองฝา่ ย เปน็ เหมอื นภาพสะทอ้ นในชว่ งเวลาทผี่ เู้ ขยี นใชช้ วี ติ อยกู่ บั ครอบครวั การปะทะกันเรอ่ื งความคดิ ในการใช้ชีวติ หลายๆ เรอ่ื ง เช่น ประเด็น ความแตกต่างเรื่องวิธีคิดจากคนท่ีเติบโตมาจากสังคมยุคหน่ึง กับคนท่ีเติบโต มาจากสังคมอีกยุคหนึ่งเป็นประเด็นปัญหาระหว่างตัวผู้เขียนกับพ่อแม่ ซ่ึงคาด หวังอยากให้ผู้เขียนมีความม่ันคงในชีวิตบนเส้นทางอาชีพ และวิถีปฏิบัติเดิมๆ ของสงั คม เชน่ การรับราชการ การเป็นอาจารย์มหาวทิ ยาลยั เป็นตน้ ในขณะที่ ผู้เขยี นกลับอยากเพียงแคใ่ ช้ชีวิตเพือ่ ใหต้ นเองมคี วามสขุ และผอู้ ่นื มคี วามสุขไป ด้วย โดยไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งมีอาชีพมัน่ คงหรือมสี ถานะทางสงั คมดีกวา่ คนอน่ื ก็ได้ นับเป็นเวลากว่า 2 ปี ที่ผู้เขียนเข้ามาท�ำงานในคณะวิทยาการเรียนรู้ และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ส�ำหรับผู้เขียนแล้วมันเป็นพื้นที่ ท�ำงานท่ีสร้างสมดุลให้กับความคาดหวังของพ่อแม่กับตัวผู้เขียน ที่นอกจากจะ ตอบโจทย์ความต้องการด้านอาชีพให้กับพ่อแม่แล้ว มันยังเปิดโอกาสให้ผู้เขียน ไดร้ ว่ มท�ำงานเพอ่ื ขบั เคลอ่ื นสงั คมดว้ ย อสิ ระทางความคดิ และการกระท�ำมากขนึ้ ผ้เู ขียนไดร้ ิเร่ิมลงมือท�ำในส่งิ ทเ่ี ชื่อ อกี ทง้ั ยงั เป็นพน้ื ที่ใหไ้ ดเ้ รยี นรเู้ คร่ืองมือตา่ งๆ ในการสะท้อนการเรยี นรู้ของตนเอง การเข้าใจตนเองและผ้อู ่ืน เช่น การฟงั การ เขียนสะทอ้ นการเรียนรู้ นพลกั ษณ์ สตั วส์ ีท่ ศิ การสงั เกตความคดิ ตนเอง เปน็ ตน้ นอกจากนผ้ี เู้ ขยี นยงั มโี อกาสเปน็ ผรู้ ว่ มสอนในรายวชิ าเกยี่ วกบั กระบวนการและ การจัดการเปลี่ยนแปลง รายวิชาดังกล่าวท�ำให้ผู้เขียนได้ฝึกปฏิบัติเรื่องของสติ สมาธแิ ละการตดั สนิ ใจมากขนึ้ อยา่ งไรกต็ าม เมอื่ เจอสถานการณห์ รอื สภาวะทเ่ี ขา้ มา กระทบความคดิ หรอื ขดั แยง้ กบั ความเชอื่ หรอื ความรสู้ กึ ของผเู้ ขยี น เครอ่ื งมอื แทบ จะทง้ั หมดทเี่ คยเรยี นหรอื ฝกึ มา กลบั ไมส่ ามารถน�ำมาใชไ้ ดจ้ รงิ หลายครงั้ ผเู้ ขยี น ตดั สนิ ผพู้ ดู กอ่ นที่จะรับฟังเหตุผลหรือขอ้ เทจ็ จริง โดยบางครัง้ ก็ไมร่ ูต้ วั ดว้ ยซ�้ำวา่ ตนเองก�ำลงั ถกู โหมดอตั โนมตั คิ วบคมุ ความคดิ และพฤตกิ รรมของตนเองอยู่ เชน่ ครงั้ หนง่ึ ทผ่ี เู้ ขยี นไมส่ ามารถฟงั โดยไมต่ ดั สนิ กบั วธิ คี ดิ ทม่ี องวา่ ทกุ สงิ่ อยา่ งบนโลก 376 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
ใบนสี้ ามารถตเี ป็นมูลคา่ ได้หมด ผเู้ ขยี นเคยเปน็ คนทตี่ ดั สนิ ใจไดเ้ ดด็ ขาด เพราะเราเคยมองโลกแบบสอง ฝั่งตรงกันขา้ ม มีขาว มดี �ำ แต่ในทกุ วันนโี้ ลกทัศน์ผ้เู ขียนกวา้ งขึ้น กลับย่ิงท�ำให้ สับสนในการตัดสินคุณค่าของส่ิงใดส่ิงหนึ่ง อะไรคือส่ิงท่ีถูกต้องและอะไรคือส่ิง ท่ีไม่ถูกตอ้ ง บางครั้งกร็ ูส้ กึ หงุดหงดิ ตนเองท่ไี มส่ ามารถสรุปอะไรได้ชดั ๆ เหมือน ในอดีต หากมองในแง่ดมี นั คงเปน็ การเรม่ิ ต้นเรยี นรู้อีกครง้ั และมนั คงไมม่ ีวนั จบ เพราะการเรียนรูน้ ัน้ คงจะเกดิ ข้ึนตลอดชีวติ ของผู้เขยี นไปพร้อมๆ กับการเติบโต ของตนเองและภาระหนา้ ท่ีทีไ่ ด้รบั มอบหมายตอ่ ไป ขณะทท่ี �ำวจิ ยั อยนู่ ้ี ผเู้ ขยี นก�ำลงั รบั บทบาทส�ำคญั ในการสรา้ งสงิ่ แวดลอ้ ม เพื่อบ่มเพาะผู้เรียนในคณะผ่านการลงพื้นที่ฝึกประสบการณ์เป็นคร้ังแรก การ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาพานักศึกษาระดับปริญญาตรีของคณะลงพื้นท่ีเพ่ือเรียน รู้และพัฒนาโครงการเป็นรุ่นแรกของคณะเป็นส่ิงท่ีท้าทาย ซึ่งนับเป็นช่วงที่ผู้ เขียนแบกรับความรู้สึกต่างๆ ไว้มากมาย ท้ังความกังวลว่านักศึกษาจะได้เรียน รู้มากน้อยเพียงใด จะปลอดภัยหรือไม่ ความสับสนว่าจะพาผู้เรียนไปทางใดดี ทีไ่ มเ่ ปน็ การช้นี �ำจนปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นไดท้ า้ ทายขอบการเรยี นร้ขู องตนเอง สงิ่ ท่ีวางแผนไว้กับส่ิงท่ีเกิดข้ึนจริงมันไม่เหมือนกันท�ำให้เกิดความหงุดหงิดอยู่บ่อย คร้ัง อย่างไรกต็ าม ความเหนอ่ื ยล้าจากภาระงานมากมายทีแ่ บกรับอยู่ มหี ลาย ครงั้ ทตี่ ง้ั ค�ำถามกบั ตนเองวา่ สง่ิ ทที่ �ำอยมู่ นั คมุ้ คา่ กบั ความเหนอ่ื ยลา้ และเวลาของ ตนเองหรอื ไม่ แตเ่ มอื่ มองเปรยี บเทยี บกบั ความทมุ่ เทของครนู ำ้� ในการท�ำงานกบั เด็กและเยาวชน การช่วยชีวิตเด็กท่ีดูไร้ค่าในสายตาสังคม ไม่มีความมั่นคง ในรายได้ อาชีพ หรือสถานะทางสังคมใดๆ อีกทั้งยังมีความเส่ียงต่างๆ ทั้ง การเมืองทอ้ งถนิ่ ปัญหายาเสพติด หรืออ่นื ๆ ส่งิ เหล่านลี้ ้วนพาผู้เขยี นย้อนมอง ปญั หาทตี่ นเองเผชญิ อยู่ ท�ำใหร้ สู้ กึ วา่ เราชา่ งโชคดที เ่ี รามที กุ อยา่ งเพยี บพรอ้ มทงั้ พื้นท่ีท่ีท�ำงานที่สังคมยอมรับ ความม่ันคงในการท�ำงาน นักศึกษาที่มีศักยภาพ และส่งิ ทท่ี �ำอยู่มหี ลายๆ ภาคสว่ นใหก้ ารสนบั สนนุ ไมถ่ กู ท้ิงให้โดดเด่ียว และเรา เหน็ ภาพฝนั ปลายทางทชี่ ัดเจนอยแู่ ลว้ จากจดุ นบั พบ ส่กู ารกา้ วเดิน 377
ความเปลี่ยนแปลงของนักวิจัย: กานน คมุ พ์ประพนั ธ์ “ทำ� งานมากี่ปีแล้วกไ็ มร่ ยู้ ังจะใช้ Model แบบเดมิ อยู่อีก ควรถามเขา ไหมเนีย่ ว่างานท่ที ำ� มาตลอดสร้างความเปลี่ยนแปลงได้แคไ่ หน” ประโยคนวี้ นเวยี นอยใู่ นความคดิ เปน็ ขอ้ สงสยั ทอ่ี ยใู่ นใจเมอ่ื แลกเปลยี่ น แนวทางการท�ำงานเปลี่ยนแปลงสังคมกับองค์กร NGOs สายแขง็ แห่งหนง่ึ ทเี่ ช่ือ วา่ การเปลย่ี นแปลงตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งถอนรากถอนโคน อกี ทง้ั ไมเ่ ชอ่ื ในการท�ำงาน กบั ระบบเกา่ และแนน่ อนวา่ จะตอ้ งเชอื่ ถอื การอทุ ศิ ตวั เพอื่ แกป้ ญั หา/พฒั นาสงั คม บางครั้งคนเราเองก็เปล่ียนแปลงอย่างไม่รู้ตัว หลังจากคลุกคลีกับ โครงการนม้ี าเจด็ เดอื น การลงมอื ท�ำงานวจิ ยั ครงั้ นท้ี �ำใหผ้ เู้ ขยี นตระหนกั วา่ ตนเอง เร่ิมมีความคิดท่ีคล้ายคลึงกับพ่ีนกมากขึ้นทุกที เมื่อเจ็ดเดือนท่ีแล้วตอนผู้เขียน พงึ่ เขา้ มาเปน็ นกั วจิ ยั ในโครงการผเู้ ขยี นไมเ่ ขา้ ใจวธิ คี ดิ แบบผปู้ ระกอบการเลย ไม่ เข้าใจว่าพนี่ กต้องการอะไร ส่งิ ท่ีพ่นี กพ่นี ้ยุ พดู มาจะน�ำไปส่อู ะไร ท�ำไมถึงต้องให้ พ้นื ที่รีบตัดสินใจเลอื กเป็นอะไรอยา่ งใดอย่างหนึง่ มาตรฐานทชี่ ดั เจนอยา่ งทพ่ี นี่ ยุ้ และพน่ี กตอ้ งการจะเปน็ อปุ สรรคส�ำหรบั การท�ำงานกับพื้นที่ท่ีมีความลื่นไหลเปล่ียนแปลงหรือไม่ และที่ส�ำคัญที่สุดวิธี คิดแบบผู้ประกอบการจะไปท�ำลายรากฐานของงานและความเป็นชุมชนที่ผู้น�ำ ในแต่ละทอ้ งทส่ี ร้างขนึ้ มาอย่างทีเ่ กิดแกแ่ หลง่ ท่องเที่ยวชมุ ชนหลายๆ ท่ีหรอื ไม่ บางครั้งมีความรู้สึกตะขิดตะขวงต่อความมั่นใจในความถูกต้องของเครื่องมือท่ี เหล่าผปู้ ระกอบการใช้ แต่จากการพบปะแลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ นั ตลอดเจ็ดเดอื นท่ผี ่านมาผู้เขียน ค่อยๆ ซึมซับความเปลี่ยนแปลง ในช่วงท้ายโครงการเมื่อผู้เขียนฟังเทปบันทึก เสียงพ่ีนุ้ยและพ่ีนกเพ่ือหาข้อมูลไปเขียนรายงานน้ัน ผู้เขียนพบว่าผู้เขียนเข้าใจ ระบบวธิ คี ดิ และสงิ่ ทพ่ี น่ี กอธบิ ายและอภปิ รายในโครงการทงั้ หมด บางครงั้ ถงึ กบั 378 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
พยักหนา้ ด้วยความเหน็ ดเี หน็ งามกบั สิง่ ที่พ่นี กพดู แมว้ า่ ผ้ยู ังคงเชือ่ วา่ วิธคี ดิ แบบ ผปู้ ระกอบการยงั คงมขี อ้ จ�ำกดั อยหู่ ลายประการ และเชอ่ื ในการใชเ้ ครอ่ื งมอื และ กระบวนการทห่ี ลากหลายมากกวา่ การเชอ่ื ถอื กระบวนทศั นใ์ ดกระบวนทศั นห์ นง่ึ ก็ตาม อย่างไรก็ตามความเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนกับผู้เขียนท�ำให้ผู้เขียนระลึก วา่ อนั ทจี่ รงิ แลว้ สมยั ทผี่ เู้ ขยี นพงึ่ เรยี นจบปรญิ ญาตรแี ละเรม่ิ ตน้ ท�ำงานกบั องคก์ ร NGOs ผเู้ ขยี นมกี ระบวนการคดิ ตรวจสอบและซกั ถามเพอ่ื หาความเปน็ เหตเุ ปน็ ผลและความตอ่ เนอื่ งของขอ้ มลู ทค่ี ลา้ ยคลงึ กบั พนี่ กมาก และยงั มที า่ ทที คี่ ลา้ ยกนั อกี ดว้ ย (ผลตอบรบั ทเ่ี กดิ ขน้ึ กไ็ มต่ า่ งจากทพี่ นี่ กไดร้ บั มากนกั ) ทงั้ ทผี่ เู้ ขยี นไมเ่ คย รจู้ กั หรอื กระบวนการคดิ แบบผู้ประกอบการแตอ่ ยา่ งใด เพงิ่ มาเรมิ่ เปลย่ี นแปลง ในสมัยที่ผู้เขยี นโตข้นึ นเ่ี อง ในท้ายที่สุดผู้เขียนตระหนักว่าความเป็น NGOs หรือผู้ประกอบการ นน้ั ลว้ นเปน็ สง่ิ สมมตุ ิ ความเปน็ NGOs และผ้ปู ระกอบการไมใ่ ช่ข้วั ตรงข้ามกนั แตม่ คี วามลน่ื ไหลเลอื่ มลำ�้ กนั ตลอดเวลา ไมม่ กี ระบวนทศั นใ์ ดกระบวนทศั นห์ นง่ึ และกระบวนการใดกระบวนการหนึง่ ทเ่ี ป็นของ NGOs หรือของผปู้ ระกอบการ อย่างแท้จริง อย่างพี่สุ้ยเองพยายามหาความสมดุลของกระบวนทัศน์หลายๆ แบบ หรอื แมแ้ ตพ่ น่ี กซง่ึ ออกตวั วา่ เชอื่ ถอื ในวธิ คี ดิ แบบผปู้ ระกอบการมากกวา่ สงิ่ ใดกย็ งั มบี างครง้ั ทใ่ี ชป้ ระสบการณแ์ ละความรสู้ กึ ในการตดั สนิ ใจบางสงิ่ บางอยา่ ง ทา้ ยทสี่ ดุ แลว้ ผเู้ ขยี นมองเหน็ วา่ เรามตี วั ตนทห่ี ลากหลายแตใ่ นขณะเดยี วกนั กไ็ มม่ ี ตัวตนใดท่ีเปน็ เราจริงๆ เพราะมนั เป็นส่ิงทีถ่ กู สรา้ งข้ึนทั้งนัน้ จากจดุ นับพบ สู่การก้าวเดนิ 379
สะท้อนการเรียนรู้และ การเปลี่ยนแปลงของตนเอง: ชลิดา จูงพนั ธ์ เคยมีใครบางคนบอกเอาไว้ว่า โลกใบนี้มักจะส่งโจทย์ชีวิตในรูปแบบ ต่างๆ มาให้เราแกเ้ สมอ โจทยช์ วี ิตทโ่ี ลกสง่ มาใหม้ ักจะเป็นปัญหาเดมิ ๆ และเม่ือ เราเลือกท่ีจะละเลย หรือไม่ลงมือแก้ปัญหาที่เข้ามาอย่างจริงจัง โจทย์ปัญหาที่ โลกส่งมาให้ก็จะยิ่งทวีความยาก และซับซ้อนมากข้ึนเรื่อยๆ จนท�ำให้เราต้อง เหลยี วมอง และลงมือแก้ปัญหานนั้ ในทส่ี ดุ โจทยป์ ัญหาส�ำคญั อย่างหนึง่ ในชีวิต ทผี่ เู้ ขยี นพยายามหนมี าตลอดคอื เรอื่ ง “ความขดั แยง้ ” ผเู้ ขยี นเปน็ มนษุ ยป์ ระเภท ที่ไม่สามารถทนอยู่ในบรรยากาศท่ีมีความขัดแย้งได้เลยแม้เพียงเล็กน้อย เมื่อ ต้องอยู่ในสถานการณ์ท่ีมีความขัดแย้งเกิดขึ้น เรี่ยวแรงในร่างกายก็มักจะหมด ไปเสียดื้อๆ หรือเวลาที่จ�ำเป็นต้องทุ่มเถียงกับใคร ผู้เขียนก็รู้สึกราวกับตนเอง ตอ้ งใชพ้ ลังงานท้งั หมดของชีวิตในการสนทนา ดงั นั้น การด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวนั สว่ นใหญข่ องผเู้ ขยี นจงึ คอ่ นขา้ งเปน็ ไปอยา่ งเรยี บงา่ ย และมกั จะเลอื กวางตวั เปน็ คนฟังมากกว่าพูดเพื่อหลบเลี่ยงความขัดแย้งอันอาจเกิดขึ้นมาจากค�ำพูด หรือ ความเห็นบางอยา่ งของตนเอง จนหลายครงั้ มักไดท้ �ำงาน หรอื ท�ำในสิ่งที่ตนเอง ไม่ได้อยากท�ำเท่าใดนัก แต่ดังที่ได้กล่าวไปข้างต้นว่าโลกมักจะส่งโจทย์ชีวิตบาง อย่างมาให้เราแก้เร่ือยๆ ยิ่งเราหลีกเลี่ยงท่ีจะไม่แก้ปัญหา โจทย์ปัญหาน้ันก็จะ ย่ิงยากมากขึ้น เช่นเดียวกับการท�ำงานของในปีท่ีผ่านมาของผู้เขียนท่ีดูราวกับ ถกู โยนใหเ้ ขา้ ไปอยใู่ นสถานการณท์ เ่ี หมอื นจะเตม็ ไปดว้ ยความขดั แยง้ ตลอดทงั้ ปี เหมอื นเปน็ สญั ญาณวา่ ผเู้ ขยี นควรตอ้ งท�ำอะไรบางอยา่ งกบั นสิ ยั หลกี เลยี่ งความ ขดั แย้งของตนเองเสียที การท�ำงานในโครงการผู้น�ำปีที่สองน้ี ผู้เขียนยังคงรับหน้าที่เป็นผู้วิจัย ถอดบทเรียนในพื้นท่ีโคกสลุงเช่นเคย ในฐานะนักวิจัยท่ีเคยท�ำงานในพื้นท่ี 380 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
โคกสลุงมาแล้ว 1 ปี มองดูอย่างผิวเผินการท�ำงานในพื้นที่เดิมอาจจะดูเหมือน งา่ ย เพราะผวู้ จิ ยั มคี วามเขา้ ใจบรบิ ทพนื้ ทมี่ าแลว้ พอสมควร และไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งไป เรม่ิ ตน้ สรา้ งความคนุ้ เคย หรอื ความสมั พนั ธก์ บั เจา้ ของพน้ื ทใี่ หม่ แตเ่ มอื่ ไดล้ งมอื ท�ำวจิ ยั แลว้ ผเู้ ขยี นกลบั พบวา่ การท�ำวจิ ยั ในพนื้ ทเี่ ดมิ ไมไ่ ดง้ า่ ยดายอยา่ งทหี่ ลาย คนคิดเอาไว้ เริ่มจากเรื่องความยากล�ำบากในการวางตัวเป็นคนนอก และคนใน ซ่ึงมีผลอย่างย่ิงกับผลกระทบอย่างย่ิงต่อการท�ำวิจัย ดังที่ผู้เขียนได้กล่าวไปบ้าง แล้วในเน้ือหาการวิจัย นอกจากนี้ การท�ำวิจัยคร้ังน้ียังวิธีการท�ำงานท่ีแตกต่าง จากเดมิ คอื การทดลองโดยน�ำแนวคดิ และเครอื่ งมือทางธรุ กจิ บางอย่างไปใช้ ในพนื้ ทีข่ องภาคประชาสังคม ภายใต้กรอบและวิธีการวิจัยแบบใหม่ นีเ่ องสง่ ผล ใหผ้ เู้ ขยี นไดร้ จู้ กั คนท�ำงานในภาคธรุ กจิ และไดเ้ ขา้ ใจแนวคดิ ของคนในภาคธรุ กจิ มากข้ึน ตอ้ งยอมรบั ตามตรงว่า ครง้ั แรกๆ ท่ีอยู่ในวงของการสนทนา หรอื อย่ใู น เวิร์คชอปที่มีการถ่ายทอดความรู้เรื่องเครื่องมือทางธุรกิจ และมีการพูดถึงเรื่อง ของผลประโยชน์ ความคุ้มทุน หรือการประเมินค่าบางอย่างอย่างชัดเจน จน บางครั้งละเลยคุณค่าท่ีเป็นนามธรรมบางอย่างที่คนท�ำงานภาคประชาสังคมให้ ความส�ำคญั กระบวนการท�ำงานครง้ั นนั้ ท�ำใหผ้ เู้ ขยี นตกอยใู่ นภาวะอดึ อดั จนตอ้ ง ถอนหายใจแรงๆ อยตู่ ลอดทงั้ วนั เนอ่ื งจากมองเหน็ ความไมล่ งรอยบางอยา่ งของ คุณคา่ และความเชือ่ ท่ีกอ่ ตวั ข้นึ อยา่ งเงยี บๆ ในวงสนทนาแตล่ ะคร้งั ของคนจาก หลากหลายฝา่ ย ในขณะทผ่ี เู้ ขยี นตอ้ งยนื อยทู่ า่ มกลางความขดั แยง้ ทางความคดิ ความเชอ่ื ของคนท�ำงานจากภาคธุรกิจ และภาคประชาสังคมอันเน่ืองมาจากการท�ำงาน วจิ ัยชน้ิ น้ี ช่วงเวลาเดยี วกันนีเ้ อง ผู้เขียนกต็ อ้ งรบั หน้าทเี่ ปน็ อาจารย์ประจ�ำกลุ่ม ในการท�ำโครงการของนกั ศกึ ษาชนั้ ปที ่ี 2 ของคณะซงึ่ ตอ้ งลงพน้ื ทเี่ พอ่ื ท�ำโครงการ เพื่อชุมชนตลอดทั้งปีการศึกษา การเป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาของเด็กในกลุ่ม 20 คน โดยการสมุ่ ใหม้ าท�ำงานดว้ ยกนั แบบไมไ่ ดม้ อี สิ ระในการเลอื ก เดก็ แตล่ ะคนมี ความคิด ความถนดั นสิ ัยใจคอแตกตา่ งกนั โดยสนิ้ เชิง ท�ำใหน้ กั ศึกษาตอ้ งอาศัย จากจดุ นับพบ สกู่ ารก้าวเดนิ 381
การปรบั ตวั คอ่ นขา้ งมาก ผเู้ ขยี นตอ้ งพบกบั ปญั หาความขดั แยง้ ตา่ งๆ ภายในกลมุ่ อยเู่ สมอ ทงั้ ปญั หาทเ่ี กดิ มาจากเรอื่ งสว่ นตวั และวธิ กี ารท�ำงานทแี่ ตกตา่ งกนั ของ แต่ละคน ดงั น้ัน หนา้ ทตี่ ลอดทั้งปขี องผเู้ ขยี นจึงไม่ได้เป็นแค่ผู้ให้ค�ำแนะน�ำดา้ น วชิ าการเทา่ นน้ั แตต่ อ้ งเปน็ ทงั้ คนทค่ี อยไกลเ่ กลยี่ ตดั สนิ ไปจนถงึ เปน็ ทร่ี ะบายให้ กบั เด็กๆ ในกลุม่ จนรู้สึกถงึ ความยากล�ำบากในการท�ำงาน ชนิดท่ตี ้องต้ังค�ำถาม กบั ตนเองถงึ ความเหมาะสม และความสามารถในการเปน็ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาของ ตนเองอยู่หลายต่อหลายคร้ัง และอาจนับได้ว่า เป็นช่วงเวลาที่ยากล�ำบากมาก ท่สี ดุ นบั แตเ่ ริ่มเข้ามาท�ำหนา้ ทใ่ี นฐานะอาจารยม์ หาวทิ ยาลยั ความขัดแย้งอันเกิดจากสถานการณ์ที่ต้องพบเจอท้ังสองรูปแบบท�ำให้ ผู้เขียนรู้สึกราวกับว่าตนเองยืนอยู่ท่ามกลางพายุท่ีมีฝุ่นตลบอบอวล จนไม่อาจ มองเหน็ ภาพตา่ งๆ รอบตวั ไดช้ ดั เจน และรสู้ กึ วา่ ตอ้ งใชพ้ ลงั งานอยา่ งมากในการ ต้านทานกระแสของพายุที่พัดโหมอยู่รอบตัวตลอดเวลา ผู้เขียนตกอยู่ในภาวะ เช่นน้ันมาเรื่อยๆ จนกระท่ังงานทั้งสองช้ินใกล้จบลงในเวลาใกล้เคียงกัน ช่วงเวลานั้นเองผู้เขียนจึงได้น่ังลงค่อยๆ ฟังเทปสนทนามากมายซ้�ำแล้วซ้�ำอีก และไดค้ อ่ ยๆ คดิ และพจิ ารณาเรอื่ งราวทง้ั หมดทเ่ี กดิ ขนึ้ ตลอดทงั้ ปที ง้ั ในงานวจิ ยั และในการท�ำงานในฐานะอาจารย์ที่ปรึกษา จนในท่ีสุดจึงเร่ิมเข้าใจว่า แท้จริง แล้วท่ามกลางฝุ่นละออง และความโกลาหลอันเกิดขึ้นมาจากความขัดแย้งทาง ความคิดนั้น หากเราเลือกท่จี ะมองส่งิ ทเ่ี กิดขน้ึ อยา่ งถี่ถ้วน เรากจ็ ะพบว่า ภายใต้ สถานการณ์ที่ดูเหมือนจะโกลาหลเหล่านั้นไม่ได้มีเพียงแค่ความขัดแย้ง หากแต่ ยังมีความพยายามของท้ังสองฝ่ายท่ีจะเรียนรู้อีกฝ่ายหน่ึงอย่างจริงจัง พยายาม สอบถามด้วยความจริงใจ ในขณะที่คนตอบก็พยายามที่จะอธิบายโดยมีเจตนา บริสทุ ธ์ิ แมค้ �ำพูดบางอยา่ งของอีกฝ่ายจะไม่ถูกจรติ ของตนเองนัก แตใ่ นขณะที่ 382 จดุ นดั พบบนเส้นขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
ขุ่นข้องหมองใจ หรือรู้สึกไม่ปลอดภัยเนื่องจากความเช่ือของตนเองต้องถูกส่ัน คลอนน้ัน การเรียนรู้ก็ได้เกิดข้ึนกับท้ังสองฝ่ายในเวลาเดียวกัน จนกระท่ังทั้ง สองฝา่ ยเปดิ รบั และปรบั เปลยี่ นตนเองเขา้ หากนั ในทา้ ยทสี่ ดุ โดยมหี ลกั ฐานการ เรียนรู้ และการปรับเปลี่ยนของคู่ขัดแย้งมากมายท่ีแสดงออกอย่างชัดเจนผ่าน การสะท้อนของผู้น�ำในพื้นที่ และ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการสะท้อน ของนกั ศึกษาหลายๆ คน การไดเ้ ขา้ ใจเร่ืองราวเลก็ ๆ น้ี ท�ำใหเ้ กิดเปน็ บทสรุปเรอ่ื ง “ศลิ ปะในการ สร้างสมดุล” ของงานวิจัยชิ้นนี้ ในขณะท่ีผู้เขียนมองภาพของความขัดแย้งใน มมุ มองแตกตา่ งไปจากเดิม แนน่ อนวา่ มันยงั คงไมใ่ ชพ่ ืน้ ทีท่ ี่ท�ำใหห้ ายใจไดอ้ ย่าง สะดวกมากนัก แตก่ ็เป็นพนื้ ที่ทีไ่ ม่ไดม้ แี ตค่ วามมืดมนดงั ท่ีผเู้ ขยี นเคยเข้าใจ หรือ เคยร้สู ึกอยา่ งท่ผี า่ นมา มุมมองท่ีเปลีย่ นไปน้ี คงช่วยท�ำให้ผเู้ ขยี นยนื อยใู่ นความ โกลาหลนโ้ี ดยไมไ่ ดเ้ หน็ มนั เปน็ เพยี งพายรุ า้ ยเทา่ นนั้ แตย่ งั เปน็ ลมพดั ทเี่ ยน็ สบาย ไดด้ ว้ ยในบางเวลา ให้กาลเวลาอธิบายให้เธอฟงั : กติ ติ คงตกุ “สมดลุ ” ดจู ะเปน็ เรอ่ื งทถ่ี กู พดู ถงึ อยเู่ สมอเมอื่ เรม่ิ ตน้ ท�ำงานวจิ ยั ถอดบท เรียนชิ้นน้ี ไม่ใช่แค่เน้ือหาของงานวิจัยตลอดท้ังเล่มที่แสดงให้เห็นถึงการปะทะ ประยุกต์ ประนีประนอม ขั้วความคิดเพ่ือผลิตไอเดียท�ำงานแบบใหม่ แต่เบื้อง หลงั องคค์ วามรเู้ หลา่ นน้ั กลบั มสี ง่ิ นา่ สนใจหลายอยา่ งทผ่ี มไดเ้ รยี นรจู้ ากเพอ่ื นรว่ ม งาน โดยเฉพาะวิธกี ารสรา้ ง “สมดุลชีวิตส่วนตัว” ซ่ึงมนั ผกู พันอยู่กับวธิ ีการจัด ล�ำดบั ความส�ำคญั ของการสร้างมลู ค่าและคุณค่า หลายคร้ังหลายคราหลังเวลางาน ผม พ่ีจ้ี พ่ีน้อย พี่ไมตรี และ ทอม จากจุดนับพบ สู่การก้าวเดิน 383
นั่งสนทนากันต่อแบบสบายๆ ตามประสาคนท่ีเร่ิมรู้จักมักคุ้นกันมากข้ึนเรื่อยๆ ท�ำให้ทราบว่านอกจากภารกิจการงานล้นมือแล้ว พวกเขาแต่ละคนยังต้องดูแล ชวี ติ ครอบครวั ไมแ่ ตกตา่ งจากมนษุ ยค์ นอน่ื แลว้ อะไรกนั คอื หลกั คดิ ในการตดั สนิ ใจ แบ่งเวลาชีวิตให้สมดุลกับการท�ำงานเพ่ือสังคม ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับค�ำว่า “เสยี สละ” จากปากของทกุ คนทผี่ มสรปุ ใจความไดค้ อื ไมม่ ใี ครไมอ่ ยากรวยเพราะ การมที รพั ยส์ นิ มากนนั่ เทา่ กบั ความสขุ สบายทางกายของคนในครอบครวั จะเพม่ิ ทวีขึ้นตามไปด้วย แต่เรื่องราวทางใจมันไม่ได้แปรผันตามมูลค่าเพียงอย่างเดียว ส�ำหรบั เขาความสขุ ใจกส็ �ำคญั ไมย่ งิ่ หยอ่ นไปกวา่ กนั หลายครง้ั เขาเลอื กใหค้ วาม ส�ำคญั กบั เรอื่ งทางใจกอ่ นนนั่ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ เขาเสยี สละอะไรใดๆ เลย แตม่ นั เปน็ การตดั สนิ ใจท�ำเพราะอยากท�ำในฐานะมนษุ ยค์ นหนง่ึ เชน่ เดยี วกบั ครอบครวั ทย่ี งั คงยนื เคยี งขา้ งอยา่ งมนั่ คงเพราะความสขุ ทไี่ ดร้ บั จากการทบี่ คุ คลอนั เปน็ ทร่ี กั ได้กระท�ำตามความฝนั ความตอ้ งการของตนเอง แลว้ ตวั ผมเองละ่ กบั บทบาทหนา้ ทท่ี ก่ี �ำลงั ด�ำเนนิ อยสู่ มดลุ ของตนเองคอื อะไร ผมพยายามกลน่ั กรองออกมาเปน็ ตวั หนงั สอื เพอื่ หาขอ้ สรปุ กระทงั่ ใจความ ส�ำคญั ตอนหนงึ่ ของเพลง “นอนไดแ้ ลว้ ” ทวี่ า่ “ให้กาลเวลาอธบิ ายให้เธอฟัง” แว่วผ่านโสตประสาทขณะก�ำลังต้ังสมาธิถ่ายทอดเร่ืองราวความเปล่ียนแปลง ของนกั วจิ ยั ฉบบั นช้ี วนใหผ้ มยอมรบั และหยดุ หาค�ำอธบิ ายสง่ิ ทต่ี วั เองยงั ไมเ่ ขา้ ใจ อยา่ งถอ่ งแท้ ปรชั ญาการใชช้ วี ติ เพอื่ คน้ หาค�ำตอบบางอยา่ งชา่ งสอดคลอ้ งกบั บท ประพนั ธช์ อื่ “เปน็ มนษุ ย”์ ของ อ.เนาวรตั น์ พงษไ์ พบลู ย์ ซง่ึ ผมเหน็ วา่ สามารถใช้ เปน็ ตวั แทนสอ่ื สารความเชอื่ ของผมู้ สี �ำนกึ ทางสงั คมทกุ ภาคสว่ นลว้ นเขา้ ใจตรงกนั ผมบันทึกบทประพันธ์บทน้ีไว้ตอนสุดท้ายของบทความเพ่ือเตือนใจ ตัวเองว่า หนทางการสร้างสมดุลให้กับชีวิตคือการตั้งต้นส�ำนึกรู้สึกตนด้วยการ เป็นมนุษยน์ ่นั เอง 384 จดุ นดั พบบนเส้นขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม
ก่อนจะเปน็ อะไรในโลกน ้ี ทัง้ เลวทราม ต�่ำดี ถึงทส่ี ดุ กอ่ นจะสวมหัวโขน ละครชุด คณุ ต้องเป็นมนษุ ย์ กอ่ นอื่นใด คุณจะตอ้ งรู้จักการเป็นมนษุ ย์ ไม่ใช่ชดุ เครอื่ งแบบทีส่ วมใส่ ไม่ใชย่ ศตำ� แหน่ง แกรง่ จากใคร หากแตเ่ ป็นหวั ใจ ของคณุ เอง ใจ ทีม่ ีมโนธรรมส�ำนึก ใจ ทีร่ ับรู้สึกตรึกตรงเผง ใจ ท่ีไมป่ ระมาท ไม่ขลาดเกรง ใจ ทไ่ี มว่ ังเวง การเปน็ คน เมอื่ น้นั คุณเป็นอะไรกไ็ ด้ เป็นผู้น้อย เป็นผู้ใหญ่ ได้ทุกหน มโนธรรม ส�ำนึก รู้สกึ ตน ต้องตั้งตน้ ให้เป็น คอื เป็นมนษุ ย์ กอดเปลี่ยนโลก: ไอยเรศ บญุ ฤทธิ์ “...จะวา่ ไปชวี ติ ของผมกว็ นเวยี นอยกู่ บั การลงชมุ ชนตง้ั แตเ่ ลก็ จนโต...” ผมหลับตานึกย้อนไปช่วงวัยเด็ก พ่อมักปลุกผมในเวลาเช้าตรู่เพื่อเดิน ทางไปหมบู่ ้านเลก็ ๆ ในจงั หวดั สงขลา ผมจ�ำไม่ไดว้ ่า เหตุใดผมจงึ ขอตดิ ตามพอ่ ไปท�ำงานด้วย ทั้งๆ ท่ีตอนนั้นผมอายุเพียง 9 ขวบ อาจเป็นเพราะความสนุก ท่ีได้ออกจากบ้านเท่ียวตะลอนไปเรื่อยๆ กระมัง หากแต่ภาพความทรงจ�ำ คือ ความวนุ่ วายของผูค้ นท่มี าชุมนุมกนั ในช่วงประเพณชี กั พระ (หรือลากพระ) ของ หม่บู า้ นแหลมโพธ์ิ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ความทรงจ�ำได้ฉายภาพแมค่ ้าพอ่ ค้าที่ นงั่ ขายอาหารและขนมพน้ื บา้ นหลากหลายชนดิ ผมเหน็ ผคู้ นเดนิ แบกไมพ้ ายเรอื และรอ้ งเพลงโตต้ อบกนั อยา่ งสนกุ สนานดว้ ยภาษาและส�ำเนยี งใต้ พอ่ ผมบอกวา่ นเี่ ปน็ การละเลน่ ของชาวบ้านถนิ่ น้ี เรียกวา่ “เพลงเรือแหลมโพธ์”ิ จากจุดนบั พบ ส่กู ารก้าวเดนิ 385
หลายครั้งที่ผมต้องน่ังตบยุงรอกลับบ้านในยามค�่ำคืน ผมน่ังบนแคร่ ไมไ้ ผม่ อื เกาตน้ ขาแกรก็ ๆ พรอ้ มมองพอ่ กบั ทมี งาน “โลกสลบั ส”ี รว่ มกนั ถา่ ยท�ำ สารคดกี บั พ่อเพลง-แม่เพลง ผมตน่ื ตากับแสงไฟทถ่ี กู จัดเพ่ือสอ่ งกระทบใบหน้า ศิลปินให้เห็นชัดขึ้น ผมต่ืนใจกับอุปกรณ์รูปร่างประหลาดที่เรียกว่า กล้องถ่าย ท�ำวดิ โี อ ผมน่งั ฟงั การพูดคยุ สมั ภาษณก์ ับชาวบ้านท่นี ง่ั ลอ้ มวงสนทนา ตอนนั้น รู้เรื่องบ้างไม่รู้เร่ืองบ้างก็ตามประสาเด็ก วันหนึ่งรายการโลกสลับสีออกอากาศ เร่ืองราวเกี่ยวกับชาวบ้านแหลมโพธิ์กับประเพณีท้องถ่ิน ผมจ้องมองโทรทัศน์ ด้วยความตื่นเตน้ โดยไมส่ นใจเนอื้ เร่ืองอะไรนักแตก่ ลบั ลุน้ ว่าเมอ่ื ไหรจ่ ะมีตวั เรา ปรากฏอยูใ่ นจอสี่เหลีย่ มบ้าง พ่อพดู กบั ผมวา่ อยา่ คดิ วา่ เราจะตอ้ งอยู่ในนนั้ หรอื ไดอ้ อกทวี ี พอ่ ทำ� งานวชิ าการ การอยเู่ บอ้ื งหลงั ความสำ� เรจ็ คอื ความภมู ใิ จทที่ ำ� ให้ ชาวบา้ นเขามีความรู้ มีความสุขและเขาได้ประโยชน์ก็พอ ค�ำพูดนั้น ยังอยู่ใน ความทรงจ�ำมาทกุ วันน้ี และผมมกั จะย้อนนึกถงึ ภาพและค�ำพดู นัน้ เสมอเม่ือผม ลงท�ำงานชมุ ชน คืนหน่ึงที่ริมฝั่งแม่น�้ำโขงเมืองเชียงแสน ผมกับเพ่ือนๆ นักวิจัยนั่งพูด คุยสนทนากบั ครูนำ�้ หญงิ แกร่งผู้เผชญิ หน้าท้าทายกบั ปัญหาระดับประเทศ น่ัน คอื เรอื่ งของเดก็ และเยาวชนผไู้ รส้ ญั ชาติ เราพดู คยุ กนั หลายเรอื่ งโดยเฉพาะเรอ่ื ง การท�ำงานของมลู นธิ บิ า้ นครนู ำ้� กบั สง่ิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในชวี ติ ของครนู ำ้� และเรอ่ื งราวของ เดก็ ๆ ทคี่ รนู ำ�้ ชว่ ยเหลอื ขณะพดู คยุ ผมทอดสายตามองขา้ มฝง่ั แมน่ ำ�้ โขงมแี สงไฟ จากบ้านเรือนริบหร่ีเป็นหย่อมๆ ผมกวาดสายตามองแล้วก็พูดกับครูน�้ำว่า ครนู ำ�้ ครับ กอ่ นหนา้ นีผ้ มทำ� งานวิจยั ภาคสนาม ผมตะลอนเดนิ ทางไปตามพ้นื ท่ี ต่างๆ เดินทางมาก็มาก ฝั่งโขงทางโน้นที่มีแสงไฟ เม่ือต้นปีผมเพ่ิงนั่งรถเลียบ ริมน้�ำเพื่อเดินทางไปเมืองหลวงน้�ำทา สปป.ลาว ระหว่างทาง ผมลงเก็บข้อมูล ตามหมู่บ้านต่างๆ เมื่อผมได้ข้อมูล ผมก็เพียงกล่าวขอบคุณพร้อมย่ืนซองสี ขาวใสส่ ง่ิ ทเ่ี รยี กวา่ “คา่ ตอบแทน” ใหช้ าวบา้ นผบู้ อกขอ้ มลู มนั ไมม่ ากหรอกครบั แตม่ นั คอื สงิ่ แทนคำ� ขอบคณุ เทา่ ทผี่ มทำ� ได้ ผมไดป้ ระโยชนจ์ ากพวกเขาและผมก็ 386 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
ตอบแทนประโยชน์พวกเขาด้วยเงนิ เพียงไม่ก่บี าท ในขณะท่ี เรื่องราวที่พูดคุยเกี่ยวกับการท�ำงานของครูน�้ำ มันท�ำให้ผม ฉุกคิดว่า การท�ำงานชุมชนของผม จริง ๆ แล้วใครได้ประโยชน์กันแน่ คนใน ชุมชนหรือตัวเราในฐานะการเป็นนักวิจัย การได้ข้อมูลท่ีถือว่าเป็นองค์ความรู้ หรือภูมิปัญญาซ่ึงผมน�ำกลับมาพัฒนาจนกลายเป็น “ผลงานวิชาการ” ผมใช้ ประโยชนม์ ันดว้ ยการสง่ ไปตพี ิมพว์ ารสาร น�ำขึน้ เวทีในวาระตา่ งๆ เพอื่ บอกเล่า เรื่องราวหรือการน�ำไปเขียนเป็นต�ำราหนังสือเพื่อบันทึกองค์ความรู้ที่เป็นลาย ลักษณ์อักษร ส่ิงที่เกิดข้ึนน้ี มันมีประโยชน์ต่อชีวิตการท�ำงานของผมเป็นอย่าง ยิ่ง แต่ผมกลับไม่เคยต้ังค�ำถามกับตัวเองเลยว่า บทบาทการท�ำงานของผมมัน สร้างประโยชนต์ อ่ ผูค้ นที่ผมเคยไปพูดคุยสนทนากับเขาอยา่ งไร เร่ืองราวการท�ำงานของครูน้�ำท่ีท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงบางอย่างใน สงั คม มนั กระตกุ หวั ใจของผมจนสนั่ สะเทอื นถงึ ความรสู้ กึ นกึ คดิ ในการท�ำงาน ผม ใครค่ รวญถงึ เร่ืองราวการท�ำงานครัง้ แรกในโครงการผ้นู �ำแห่งอนาคต ผมพบเจอ กบั “แกนน�ำ” ทรี่ ว่ มกนั ท�ำงานชมุ ชนเพอ่ื ชมุ ชน การท�ำงานของพวกเขาเนน้ การ เคลอ่ื นไหวในชมุ ชนใหเ้ กดิ ขน้ึ จรงิ และเปน็ รปู ธรรม ผมไดพ้ บเจอกบั พอ่ มดื - พม่ี ยุ่ ทห่ี ยบิ เอาความเขม้ แขง็ ทางวฒั นธรรมมาตอ่ สกู้ บั ระบบการจดั การทดี่ นิ ของภาค รฐั จนกลายเปน็ ชมุ ชนไทยเบงิ้ ทม่ี คี วามเขม้ แขง็ ผมรบั รกู้ ารท�ำงานของพส่ี ยุ้ ทมี่ อง เหน็ การเปลยี่ นแปลงของสงั คมเมอื งขอนแกน่ และตอ้ งการจะชว่ ยกนั แกไ้ ขปญั หา ต่าง ๆ ดว้ ยการระดมคนและเครอื ขา่ ยมารว่ มสรา้ งการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ ยงั ไดเ้ รยี นรกู้ ารท�ำงานประสานชมุ ชนของพไ่ี มตรี พชี่ าตรี พน่ี อ้ ยทพี่ ยายามสร้าง ความร่วมมือของผู้คนในจังหวัดจนสามารถประกาศเป็นเร่ืองราวและเรื่องเล่า ท่นี ่าหลงใหลในช่อื พงั งาแห่งความสขุ คนื นัน้ อากาศคอ่ นขา้ งเยน็ ผู้คนเร่มิ บางตา ความวนุ่ วายจากผ้คู นเร่ิม หายไป วงสนทนาของเราเลิกรา พวกเราเดินทอดน่องคุยกนั จนถงึ รถของครูน้ำ� จากจดุ นบั พบ สู่การก้าวเดิน 387
ทจ่ี อดอยู่ในมุมมืดหลงั สถานตี �ำรวจเมืองเชยี งแสน ผมกบั เพอ่ื นๆ ขอตัวกลับไป พักผ่อน กอ่ นกลับ ครูน�้ำพูดถึงพลังงานบางอย่างที่อยู่ในตวั ของพวกเรา มนั เปน็ พลงั งานท่เี ต็มเปย่ี มไปดว้ ยความรกั ความศรัทธา และคณุ ค่าบางอยา่ ง พลังงาน เหล่านด้ี ึงดูดใหพ้ วกเราได้มาเจอกันและท�ำส่งิ ดดี ีไปด้วยกนั เพ่ือน ๆ และครนู ำ�้ ต่างโผเข้าไปกอดร่�ำลากันอย่างเป็นกันเอง ผมยืนเก้ๆ กังๆ นึกย้อนไปถึงงาน สมั มนาครั้งแรกของโครงการผนู้ �ำฯ ทีเ่ หน็ ครนู �้ำโผเขา้ กอดคนในห้องประชุม ผม สงสยั วา่ เหตใุ ดตอ้ งกอดกนั ทนั ใดนนั้ ครนู ำ�้ หนั มากอดผม ผมเออื้ มมอื กอดครนู ำ�้ ดว้ ยความขวยเขนิ ครนู ำ�้ เอามอื ตบหลงั ผมเบาๆ แลว้ กพ็ ดู วา่ ดใี จทไี่ ดร้ จู้ กั กนั และ ช่วยกนั ท�ำงานกนั ต่อไปนะช้าง ภาพยอ้ นกลบั สอู่ ดตี ขณะนง่ั รถกลบั จากบา้ นแหลมโพธใิ์ นตอนกลางคนื ผมนงั่ ตกั พอ่ พอ่ นง่ั กอดผม ผมหลบั ตาระลกึ ถงึ ความรสู้ กึ อบอนุ่ เชน่ เดยี วกบั กอด ของครนู �้ำ หากแตข่ ณะน้ี หวั ใจและความคดิ ผมมนั เรม่ิ เปลย่ี นแปลง ในขณะเดยี วกนั ผมเดนิ ทางดว้ ยการท�ำงานชมุ ชนมาไดร้ ะยะหนงึ่ แลว้ แตเ่ รอ่ื งราวและความรสู้ กึ ท่ี เกดิ ในคำ่� คนื นนั้ ท�ำใหผ้ มจนิ ตนาการถงึ ทางแยก ทางแยกทจ่ี ะตอ้ งเลอื กบทบาท ทแี่ ทจ้ ริงของตวั ผมเสยี ที กอดเปลีย่ นโลก...นนั้ มีอยูจ่ รงิ 388 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสังคม
หยดุ พัก...ตระหนกั คิด 389
หยุดพกั ...ตระหนกั คิด 390 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
หยดุ พัก...ตระหนกั คิด 391
หยุดพกั ...ตระหนกั คิด 392 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392