Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมศัพท์ปฐพีศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา

พจนานุกรมศัพท์ปฐพีศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา

Description: พจนานุกรมศัพท์ปฐพีศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา.

Search

Read the Text Version

graben glauconite กลอโคไนต์ แร่ไมกาชนิดหน่ึงที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบสูง มีสตู รเคมี (K, Na)(Fe3+, Al, Mg)2(Si, Al)4O10(OH)2 มีสีเขยี วเข้ม จนถงึ สีเกอื บด�ำ พบในตะกอนนำ้� ทะเล gleyed soil ดินสภาพแช่ขัง ดินท่ีลุ่มซึ่งเกิดหรือพัฒนาข้ึนในสภาพท่ีมี น้�ำแช่ขัง การระบายน้�ำเลว ท�ำให้แร่เหล็กและแร่อื่น ๆ ในดิน เกดิ กระบวนการรดี กั ชนั สง่ ผลใหด้ นิ มสี เี ทา สเี ทาปนนำ้� เงนิ สเี ทา G ปนเขียว หรอื เกิดจุดสีประขน้ึ ในดนิ gleyzation กลีเซชัน กระบวนการเกดิ ดินในสภาพที่มนี ้ำ� แชข่ งั การระบาย นำ้� เลว เกดิ กระบวนการรดี กั ชนั สง่ ผลใหเ้ กดิ สเี ทา สเี ทาปนนำ้� เงนิ สีเทาปนเขยี ว หรือเกดิ จุดสปี ระในดิน glomalin โกลมาลิน สารประกอบเชงิ ซ้อนของโปรตนี และน้ำ� ตาล เกดิ จาก เช้ือราบางชนิดในเขตรากพืช ส่งเสริมให้เกิดการเกาะตัวเป็น เมด็ ดิน gneiss หินไนส์ หินแปรเนือ้ หยาบ มีรว้ิ ขนาน หยักคดโคง้ ไมส่ ม่ำ� เสมอ สีเข้ม และจางสลบั กนั แปรสภาพมาจากหนิ แกรนติ เปน็ หนิ แปรอนั ดบั สงู ทเี่ ปน็ ผลมาจากการแปรสภาพบรเิ วณทก่ี วา้ งใหญ่ ทม่ี อี ณุ หภมู ิ สูงจนแร่หลอมละลาย และตกผลึกใหม่ (recrystallize) goethite เกอไทต์ แร่เหล็กออกซิไฮดรอกไซด์ มีสูตรเคมี มี สีน�้ำตาลปนเหลือง พบในดินและสภาพอากาศเกือบทุกแบบ และในวัสดทุ ่ผี พุ ังสลายตัว graben กราเบน พืดหินที่เล่ือนลงเป็นบล็อก โดยมีรอยเล่ือนขนานเป็น แนวยาว ๒ ขา้ งพดื หนิ นั้น มลี กั ษณะเป็นหุบเขาหรือแอ่ง 83

gradation gradation การปรบั ระดบั ผวิ แผน่ ดนิ กระบวนการทท่ี �ำใหผ้ วิ โลกมรี ะดบั ราบ หรอื ลาดสมำ่� เสมอ โดยการกรอ่ น การเคลอ่ื นยา้ ย และการทบั ถม [ดู aggradation และ degradation ประกอบ] gradient ความชัน ๑. ระดบั ค่าการเอยี งของผวิ โลก หรือความชนั ของทาง ลาด ความชนั จะบอกในรปู อตั ราสว่ นระหวา่ งระยะทางในแนวตง้ั G กบั ระยะทางในแนวนอน แสดงในรูปเศษส่วน ร้อยละ หรือองศา ๒. อัตราการเปลี่ยนค่าของตวั แปรตวั หนึง่ ตามตัวแปรอกี ตวั หนง่ึ โดยเฉพาะอย่างย่ิงตามระยะทางในแนวยืนหรือแนวนอน หรือ หมายถึงเส้นโค้งแทนลาดน้ัน เช่น ความชันโน้มถ่วง (gravity gradient) ความชันธารน�้ำ (stream gradient) ความชัน ชลศาสตร์ (hydraulic gradient) grain cutan คราบอนุภาค คราบวัตถุทเี่ คลือบผิวของอนภุ าคหยาบในดนิ ผวิ ของมวลสารพอก หรอื ผิวของกอ้ นทรงมน grain density; particle density ความหนาแนน่ อนุภาค ดู particle density; grain density granite หินแกรนิต หินอัคนีแทรกซอนชนิดหนึ่งที่มีแอลคาไลเฟลด์สปาร์ และแรค่ วอตซเ์ ปน็ สว่ นใหญ่ มแี รโ่ ซดกิ แพลจโิ อเคลส (ซง่ึ โดยทว่ั ไป เปน็ ชนดิ โอลโิ กเคลส) มสั โคไวต์ ไบโอไทต์ และ/หรอื ฮอรน์ เบลนด์ หรือไพรอกซีน เป็นส่วนน้อย แร่แอลคาไลเฟลด์สปาร์จะต้อง มปี ริมาณมากกวา่ ๒ ใน ๓ สว่ นของแร่เฟลดส์ ปาร์ทงั้ หมด granular fertilizer ปยุ๋ เมด็ ปุย๋ ท่มี ีขนาดของเม็ดอยใู่ นช่วง ๑-๔ มิลลเิ มตร granular soil structure โครงสร้างดินแบบก้อนกลม โครงสร้างของดิน ที่มีลักษณะรูปร่างเป็นก้อนทรงกลม ไม่มีความพรุน [ดู soil structure ประกอบ] granulation การปั้นเม็ด กระบวนการท�ำวัสดุท่ีเป็นผงให้เป็นเม็ด เช่น การปั้นเม็ดปุ๋ย 84

Gray Podzolic soils G grassed waterway; sod waterway ทางน�ำ้ หญา้ คลมุ ทางน�ำ้ ธรรมชาติ หรือทางน้�ำท่ีมนุษย์สร้างขึ้น มีขนาดกว้างและต้ืน มีหญ้าข้ึน ปกคลุม ใช้ประโยชน์ในการน�ำน�้ำผิวดินเข้าหรือออกจากพื้นท่ี ปลกู พืช gravimetric water content ปรมิ าณนำ�้ ในดนิ โดยน้�ำหนกั อตั ราส่วน ของมวลนำ้� ในดนิ ตอ่ มวลดนิ นน้ั หลงั การอบแห้งทอ่ี ุณหภูมิ ๑๐๕ องศาเซลเซียส จนนำ้� หนักดนิ คงท่ี gravitational potential ศักย์โน้มถ่วง องค์ประกอบหนึ่งของศักย์น�้ำ ในดิน เน่ืองจากอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงของโลกท่ีกระท�ำ ต่อโมเลกุลของน�้ำ โมเลกุลของน้�ำท่ีอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลาง ของโลกมากกว่าจะมแี รงยดึ เหนี่ยวจากโลกนอ้ ยกวา่ gravitational water น้ำ� ซึมโนม้ ถว่ ง น้�ำทีอ่ ยูใ่ นช่องวา่ งขนาดใหญข่ องดนิ และไม่อยู่ภายใต้อ�ำนาจการดูดยึดของอนุภาคดิน จึงไหลซึมลง สู่เบ้ืองลา่ งตามแรงดึงดูดของโลก gravitropism การเบนตามความโน้มถ่วง การเจริญเติบโตของส่ิงมีชีวิต เช่น พชื หรอื เส้นใยเชอื้ ราท่ีตอบสนองต่อแรงโนม้ ถ่วง gravity flow การไหลโน้มถ่วง การไหลของน�้ำผ่านหน้าตัดดินภายใต้ แรงดึงดดู ของโลก gravity sprinkler การชลประทานแบบโน้มถ่วง การให้น้�ำเหนือพื้นดิน โดยใชแ้ รงโนม้ ถว่ งเปน็ แรงขบั นำ�้ โดยปรกตติ อ้ งมคี วามตา่ งระดบั ของแหลง่ น�ำ้ กับพื้นท่ีให้น้�ำมากกวา่ ๑๕ เมตร Gray Podzolic soils ดนิ พอดโซลกิ สีเทา กลมุ่ ดินหลกั กลมุ่ หนง่ึ ในระบบ การจ�ำแนกดินประจ�ำชาติของประเทศไทย เป็นดินที่เกิดจาก ตะกอนน้�ำพาเก่าในเขตภูมิอากาศร้อนและชุ่มช้ืนภายใต้สภาพ ป่าไม้ผลัดใบในบริเวณส่วนท่ีต่�ำของตะพักล�ำน้�ำข้ันกลางถึง ข้ันสูง ช้ันดินบนมีสีคล้�ำ ชั้นซึมชะมีสีเทาหรือสีน�้ำตาลปนเทา และมีชั้นสะสมดินเหนียว การระบายน้�ำดีปานกลาง อาจพบ 85

great group พลินไทต์ในชนั้ ดนิ ลา่ ง มหี นา้ ตดั ดินแบบ A-A2-B2t-C-R ชุดดิน ที่ส�ำคัญของกลุ่มดินหลักนี้ คือ ชุดดินโคราช ชุดดินสันป่าตอง ชุดดนิ ห้วยโปง่ และชุดดนิ หุบกะพง great group กลุ่มใหญ่ หน่วยจ�ำแนกดินย่อยลงมาจากช้ันอันดับย่อย ของดนิ ในระบบอนกุ รมวธิ านดนิ การจ�ำแนกดนิ ออกเปน็ กลมุ่ ใหญ่ G ตา่ ง ๆ พจิ ารณาจากความชัดเจนของชั้นดินวนิ ิจฉัย และลกั ษณะ หรอื สมบตั บิ างประการของดนิ เช่น ระบอบความชื้นดิน ระบอบ อุณหภูมิดนิ ความอ่มิ ตัวเบส องค์ประกอบแรใ่ นดิน great soil group กลมุ่ ดนิ หลกั หนว่ ยจ�ำแนกหนว่ ยหนงึ่ ในระบบการจ�ำแนก ดินซ่ึงจ�ำแนกดินออกเป็นกลุ่มดินหลักต่าง ๆ โดยพิจารณาจาก ความแตกต่างของการจัดเรียงช้ันดินในหน้าตัดดิน และลักษณะ หรือสมบัติบางประการของดิน เช่น ความชัดเจนของชั้นดิน สภาพภมู ิอากาศ พืชพรรณ สภาพความชนื้ ดิน องค์ประกอบแร่ ในดิน สดี ิน สถานะความอ่ิมตวั เบส ปฏกิ ิริยาดิน greenhouse effect ปรากฏการณ์เรือนกระจก สภาวะท่ีบรรยากาศ ของโลกกักเก็บความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่ผ่านมายังโลก เนอื่ งจากแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ ไอนำ้� และแก๊สมีเทน ดดู กลืน ความร้อนท่ีสะท้อนจากพื้นผิวโลกไว้ ท�ำให้อุณหภูมิของ บรรยากาศสงู ขนึ้ green manure ปยุ๋ พืชสด ปุ๋ยอนิ ทรยี ท์ ่ีไดจ้ ากการไถกลบพชื เพื่อปรบั ปรงุ ดิน ส่วนใหญ่เป็นพืชตระกูลถั่วหรือเศษเหลือของพืชต่าง ๆ ที่ยังสดอยู่ ground moraine กองตะกอนธารน�ำ้ แขง็ พน้ื ธาร เนินท่เี กิดจากการสะสม ตัวของตะกอนธารน�้ำแข็งไม่แสดงชั้น หรือตะกอนที่ตกจมจาก ธารน�้ำแข็งระหว่างท่ีถูกน�ำพาไปมีการละลายของน้�ำแข็งเกิดข้ึน มลี กั ษณะเป็นเนนิ เตี้ย ๆ บรเิ วณกว้าง 86

guano G groundwater น้�ำใต้ดิน ส่วนของน้�ำใต้ผิวดินตั้งแต่ระดับน�้ำใต้ดินลงไป ซงึ่ มีความดันเท่ากับหรอื มากกว่าความดนั บรรยากาศ Ground-Water Podzols กราวนดว์ อเตอรพ์ อดซอลส์ กลมุ่ ดนิ หลกั กลมุ่ หนง่ึ ในระบบการจ�ำแนกดนิ ประจ�ำชาตขิ องประเทศไทย เปน็ ดนิ ทเ่ี กดิ ขึ้นในเขตป่าไม้ภายใต้สภาพภูมิอากาศร้อนและชุ่มชื้น และมี ฝนตกชุก ประกอบด้วยช้ันดินบนซึ่งมีวัสดุอินทรีย์และวัสดุ ฮวิ มัสกรด ช้ันซมึ ชะมสี ีขาวปนเทาถงึ สขี าว มีความหนา ๖๐-๙๐ เซนติเมตร และชั้นเช่ือมแข็งสีน้�ำตาลหรือสีน�้ำตาลคล้�ำซึ่งมี การสะสมฮิวมัสหรือเหล็ก มีเน้ือดินเป็นดินทรายจัดถึงดินทราย ปนดนิ ร่วน มีหนา้ ตดั ดินแบบ A-A2-Bh หรอื A-A2-Bir ชุดดนิ ที่ ส�ำคญั ของกลมุ่ ดนิ หลกั น้ี คอื ชดุ ดนิ บา้ นทอน และชดุ ดนิ ทา่ อเุ ทน groundwater table; water table ระดับนำ้� ใตด้ นิ ดู water table; groundwater table Grumusols กรูมูซอลส์ กลุ่มดินหลักกลุ่มหนึ่งในระบบการจ�ำแนกดิน ประจ�ำชาติของประเทศไทย เป็นดินท่ีเกิดจากวัตถุต้นก�ำเนิด ดินตกค้างของมาร์ลหรือหินเนื้อปูน มีเน้ือดินเป็นดินเหนียวจัด ดินมีการยืดตัวและหดตัวสูง พบรอยถูไถลในหน้าตัดดิน พ้ืนผิวดินมีลักษณะตะปุ่มตะป�่ำ เมื่อดินแห้งจะแตกระแหง เป็นร่องลึก ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เป็นดา่ งเลก็ น้อยถึงด่างปานกลาง มหี น้า ตัดดินแบบ A-(B)-C ชุดดนิ ท่สี �ำคญั ของกลุม่ ดินหลกั นี้ คือ ชุดดิน ลพบุรี ชุดดินบ้านหมี่ ชุดดินบุรีรัมย์ และชุดดินโคกกระเทียม [ดู gilgai และ slickenside ประกอบ] guano ปุ๋ยมูลค้างคาว, กัวโน มูลแห้งของค้างคาวหรือนกทะเลบางชนิด ท่ีสลายตัวแล้ว มีฟอสเฟตและแคลเซียมสูง น�ำมาใช้ประโยชน์ เป็นป๋ยุ 87

gully gully ร่องธาร ร่องทีเ่ กดิ จากการกรอ่ นโดยน้�ำทรี่ วมตัวกนั เปน็ ปรมิ าณมาก และไหลเปน็ ครงั้ คราวระหวา่ งหรอื หลงั ฝนตกหนกั ปรกตมิ คี วามลกึ มากกวา่ ๐.๕-๓๐ เมตร ไมส่ ามารถท�ำใหพ้ นื้ ทมี่ สี ภาพเหมอื นเดมิ ไดโ้ ดยการไถพรวนตามปรกติ gully erosion การกร่อนแบบร่องธาร กระบวนการกร่อนทีเ่ กิดจากการ G รวมตัวของน้�ำไหลกัดเซาะดินออกไปจากพ้ืนท่ีท่ีเป็นร่องลึก [ดู gully ประกอบ] gully land ท่ีดินร่องธาร พ้ืนที่ซึ่งได้รับอิทธิพลจากการกร่อนดินแบบ รอ่ งธารจากกระแสนำ้� ลกั ษณะคลา้ ยพนื้ ทที่ รุ กนั ดาร แตม่ บี รเิ วณ นอ้ ยกวา่ จดั เปน็ หนว่ ยแผนทดี่ นิ ประเภทพนื้ ทเ่ี บด็ เตลด็ [ดู gully erosion ประกอบ] gypsan คราบยปิ ซมั คราบวตั ถุในดินทมี่ ียปิ ซมั เป็นองคป์ ระกอบ gypsic diagnostic horizon; gypsic horizon ช้ันดินวินิจฉัยยิปซิก ชั้นดนิ ล่างวินิจฉยั ในระบบอนุกรมวธิ านดนิ เปน็ ชั้นดนิ แรท่ ม่ี กี าร สะสมของแคลเซียมซัลเฟตทุติยภูมิ มีความหนามากกว่า ๑๕ เซนตเิ มตร และมยี ปิ ซมั มากกวา่ ในชั้นล่าง (ชัน้ ซ)ี อยา่ งน้อย ๕๐ กรัมตอ่ กโิ ลกรมั ดิน Gypsids ยิปซิดส์ อันดับย่อยอันดับหน่ึงของอันดับดินแอริดิซอลส์ในการ จ�ำแนกตามระบบอนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ดนิ ซง่ึ มชี นั้ ดนิ วนิ จิ ฉยั ยปิ ซกิ หรือช้ันดินวินิจฉัยเพโทรยิปซิกภายใน ๑๐๐ เซนติเมตร จากผิวดินและไม่มีช้ันดินวินิจฉัยเพโทรแคลซิกอยู่เหนือชั้นนี้ ไม่พบอันดับย่อยนี้ในประเทศไทย [ดู Aridisols, gypsic diagnostic horizon; gypsic horizon, petrocalcic diagnostic horizon; petrocalcic horizon และ petrogypsic diagnostic horizon; petrogypsic horizon ประกอบ] gypsum ยิปซัม ช่ือสามญั ของแคลเซียมซลั เฟต มสี ูตรเคมี CaSO4·2H2O ใชเ้ ป็นวัสดปุ รับปรงุ ดนิ ทมี่ สี ัดส่วนโซเดยี มสูง 88

gyttja G gypsum requirement ความตอ้ งการยปิ ซมั ปรมิ าณหรอื สมมลู ของยปิ ซมั ที่ต้องการเพ่ือลดปริมาณของโซเดียมที่แลกเปล่ียนได้ให้อยู่ ในระดบั ทเ่ี หมาะสม หรอื อยใู่ นระดบั ทไี่ มก่ อ่ ใหเ้ กดิ การฟงุ้ กระจาย ของคอลลอยด์ดิน ปรกติใช้ปรับปรุงดินโซดิก [ดู sodic soil ประกอบ] gyttja โคลนอินทรีย์ ตะกอนดนิ โคลนที่เกิดในทะเลสาบ และมสี ารอนิ ทรยี ์ ปนอยู่มาก 89

habitat H H habitat ถ่ินที่อยู่ บริเวณทีอ่ ย่อู าศยั ของส่ิงมชี ีวติ haematite; hematite ฮมี าไทต์ แรเ่ หลก็ ทสี่ �ำคญั ชนดิ หนงึ่ มสี ตู รเคมี Fe2O3 มสี แี ดง halan คราบเฮไลต์ คราบวัตถุที่เกิดจากการเคล่ือนย้ายของแร่เฮไลต์ จากดินช้ันบนลงไปเคลือบผิวของเม็ดดินและผนังช่องในดิน ปรกติพบในช้นั ดินลา่ งวินิจฉยั halite เฮไลต์ แร่คลอไรด์ชนิดหน่ึง มีสูตรเคมี NaCl ไม่มีสีหรือมีสีขาว ถ้ามีมลทินของสารอื่นเจือปนอาจมีสีเหลือง สีแดง สีน�้ำเงิน และสีม่วง ปะปนอยู่บ้าง มีความแข็ง ๒.๕ ส่วนใหญ่เกิดจาก การสะสมตัวเปน็ ชนั้ โดยตกผลึกจากนำ้� เค็ม halloysite ฮาลลอยไซต์ แร่ดินเหนียวจ�ำพวกอะลูมิโนซิลิเกตในกลุ่ม เดยี วกบั เคโอลิน มสี ูตรเคมี Al2Si2O5(OH)4 โดยปรกติมลี กั ษณะ อนุภาคเป็นหลอดหรือทรงกลม พบมากในดินที่เกิดจากเถ้า ภเู ขาไฟ ใชป้ ระโยชนใ์ นอุตสาหกรรมเซรามกิ halophyte พืชดินเค็ม พืชท่ีสามารถเจริญเติบโตและด�ำรงชีพอยู่จน ขยายพันธุ์ต่อไปได้ในสภาพแวดล้อมท่ีมีปริมาณเกลือสูง โดยเฉพาะในทะเล มหาสมุทร ปากแม่น�้ำ และที่ลุ่มน้�ำเค็ม เชน่ ชะคราม ผกั บงุ้ ทะเล หญ้าแพรกทะเล โกงกาง แสม ล�ำพู hardpan ชน้ั ดานแขง็ ชนั้ ดนิ ทอ่ี ดั ตวั กนั แนน่ ทบึ หรอื ชนั้ ทม่ี สี ารเชอ่ื มอนภุ าค ดินให้จับตัวกันแน่นและแข็งจนเป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของ รากพืช และการไหลซึมของนำ้� และอากาศ 90

heat conductivity; thermal conductivity H hardsetting soil ดินดาน ดินท่แี หง้ อย่างรวดเรว็ หลังการเปียกน�ำ้ ท�ำให้ มีการเช่ือมตัว และ/หรือจับตัวแน่นแข็งช่ัวคราว แต่กลับสู่ สภาพเดิมได้อย่างช้า ๆ เป็นอุปสรรคต่อการงอกของเมล็ดและ การชอนไชของรากพืช harrowing; secondary tillage การไถแปร การไถครั้งท่ีสองหลังจาก การไถดะหรือหลังการหว่านเมล็ด ท�ำให้ดินแตกเป็นก้อนเล็ก ผิวหน้าดินเรียบมากขึ้น ดินสัมผัสเมล็ดพืชมากข้ึน ช่วยควบคุม วัชพชื และช่วยคลกุ วสั ดุ เช่น ปูน ปุย๋ เศษพืช ทอี่ ยู่บนผิวหนา้ ดนิ ให้ลงไปในดนิ harvest index ดัชนีเกบ็ เกี่ยว ปริมาณของมวลชีวภาพทีส่ ามารถเก็บเกีย่ ว ได้ตอ่ มวลชีวภาพทง้ั หมดท่ผี ลติ ได้ headcut erosion; headward erosion การกร่อนหวั ร่อง การกร่อนท่ี เกิดจากการลดระดับลงเล็กน้อย (๑-๕ เซนติเมตร) อย่างทันที ของพ้ืนร่องร้ิวหรือร่องให้น้�ำ ท�ำให้เกิดการกร่อนแบบมีตัวเร่ง กดั เซาะพน้ื ร่องร้ิวหรอื ร่องใหน้ ำ�้ ไปทางตน้ น�้ำหรือหวั ร่อง head land ที่ดินหัวแปลง พ้ืนท่ีดินในบริเวณท่ีไม่ได้ไถท่ีอยู่ตามขอบริ้ว หรอื ขอบที่ดิน headland หัวแหลมผาชัน หัวแหลมท่ีย่ืนออกไปในทะเลและมีลักษณะ เป็นหน้าผาสูงชัน ชาวเรือมักใช้เป็นท่ีหมายในการเดินทาง เช่น เขาสามมุก และแหลมแสมสาร จงั หวดั ชลบรุ ี heat capacity; thermal capacity ความจุความรอ้ น ปรมิ าณความรอ้ น ท่ีต้องใช้ในการเพิ่มอุณหภูมิของวัตถุ ๑ หน่วยปริมาตรให้สูงขึ้น ๑ องศาเซลเซยี ส ความจุความรอ้ นของดินประเมนิ ไดจ้ ากผลคูณ ของความหนาแนน่ รวมและความรอ้ นจ�ำเพาะของดินน้ัน heat conductivity; thermal conductivity สภาพน�ำความร้อน ความสามารถในการส่งผ่านความร้อนของวัตถุโดยกระบวนการ น�ำความรอ้ น เป็นคา่ คงตัว มีหนว่ ยเปน็ จลู ต่อเมตรตอ่ วนิ าทตี อ่ 91

heat exchange องศาเคลวิน สภาพน�ำความร้อนของดินมีค่าเพ่ิมข้ึนตามความ หนาแน่นรวมและระดับความชื้น heat exchange การแลกเปลี่ยนความร้อน การถ่ายโอนความรอ้ นระหว่าง วัตถุกับสิ่งแวดล้อม เกิดขึ้นโดย ๓ กระบวนการ คือ การน�ำ (conduction) การพา (convection) และการแผร่ งั สี (radiation) แต่กระบวนการทสี่ �ำคญั ในดิน คือ การน�ำความร้อนและการพา H ความรอ้ น heat flux ฟลักซค์ วามร้อน ปรมิ าณความรอ้ นทีไ่ หลผ่าน ๑ หนว่ ยพ้นื ที่ หน้าตดั ของดินต่อหน่วยเวลา heavy metal โลหะหนัก ธาตุโลหะทีม่ ีความถ่วงจ�ำเพาะมากกว่า ๕ โลหะ หนักทพ่ี บในดิน เชน่ แคดเมยี ม โคบอลต์ โครเมียม ปรอท ตะก่ัว heavy mineral แร่หนกั แรป่ ระกอบหินท่ีโดยทวั่ ๆ ไปมคี วามถว่ งจ�ำเพาะ มากกว่า ๒.๙ เชน่ ทัวร์มาลีน แมกนีไทต์ hematite; haematite ฮีมาไทต์ ดู haematite; hematite hemic soil material ปวรัสะดกดุ อินบเฮดม้วยิกเสว้นัสใดยุดทิน่ียอังินไมท่สรลยี า์ทยีม่ ตรี ัวะรดะับหกวา่ารงสล๑๖าย -ต๔๓วั ปานกลาง ของวสั ดอุ ินทรยี ์ท้งั หมด (หลงั การบ้ดี ว้ ยนว้ิ มอื ) มีความหนาแน่น รวมต�่ำมาก และมีความจุในการอุ้มน้�ำสูงมาก [ดู fibric soil material และ sapric soil material ประกอบ] Hemists ฮีมิสตส์ อันดับย่อยอันดับหนึ่งของอันดับดินฮิสโทซอลส์ในการ จ�ำแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินท่ีมีช้ันอินทรียวัตถุ ที่สลายตัวดีปานกลาง และมีค่าความหนาแน่นรวมระหว่าง ๐.๑-๐.๒ กรมั ตอ่ ลกู บาศก์เซนติเมตร ดินอย่ใู นสภาพอ่มิ ตวั ดว้ ย น้�ำเป็นเวลานานจนเป็นข้อจ�ำกัดในการปลูกพืช ตัวอย่างชุดดิน ในประเทศไทยของอนั ดับย่อยน้ี คือ ชุดดนิ กาบแดง heterotroph สงิ่ มชี วี ติ ไดอ้ าหารจากสารอนิ ทรยี ์ ดู chemoorganotroph 92

Histosols H heterotrophic nitrification เฮเทอโรโทรฟกิ ไนทริฟิเคชนั กระบวนการ ออกซิเดชันของแอมโมเนียมและ/หรือไนโตรเจนอินทรีย์เป็น ไนไทรต์และไนเทรตโดยจุลินทรีย์กลุ่มที่สร้างอาหารเองไม่ได้ [ดู nitrification ประกอบ] high alluvial terrace ตะพกั ตะกอนนำ้� พาระดบั สงู ตะพกั ทอ่ี ยเู่ หนอื ขนึ้ ไป จากตะพักตะกอนน�้ำพาระดับกลาง ส่วนใหญ่มีสภาพพื้นที่เป็น ลกู คล่นื ลอนชนั [ดู alluvial terrace ประกอบ] highland soil ดินท่ีสูง ดินที่เกิดบนสภาพพื้นท่ีที่มีความสูงจาก ระดบั ทะเลปานกลางมากกว่า ๕๐๐ เมตร histic epipedon ช้นั ดนิ วนิ ิจฉัยฮิสตกิ ช้นั ดนิ บนวินจิ ฉัยในระบบอนกุ รม วิธานดิน เป็นชั้นท่ีอ่ิมตัวด้วยน้�ำอย่างน้อย ๓๐ วันสะสม กรณีที่ไม่มีการไถพรวนดินจะมีส่วนประกอบของวัสดุดินอินทรีย์ เช่น มัก พีต และกรณีท่ีมีการไถพรวนวัสดุอินทรีย์ผสมกับช้ัน ดินแรแ่ ล้ว ชัน้ ผสมจะต้องมอี นิ ทรียวัตถสุ งู โดยที่ ๑. มีคารบ์ อนอนิ ทรยี ์อย่างนอ้ ยร้อยละ ๑๖ ถา้ สว่ นทีเ่ ป็นดนิ แร่ มีอนุภาคดนิ เหนียวไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ หรือ ๒. มีคาร์บอนอินทรีย์อย่างน้อยร้อยละ ๘ ถ้าส่วนท่ีเป็น ดนิ แร่ไมม่ อี นุภาคดินเหนยี ว Histosols ฮสิ โทซอลส์ อนั ดับดินอันดบั หน่งึ ในการจ�ำแนกตามระบบอนุกรม วิธานดิน เป็นดินอินทรีย์ซ่ึงมีวัสดุดินอินทรีย์เป็นองค์ประกอบ อยมู่ ากกวา่ ครง่ึ ของความหนา ๘๐ เซนตเิ มตรแรกของหนา้ ตดั ดนิ ถ้าดินนั้นพบอยู่บนช้ันหินหรือช้ันเศษหินท่ีมีอินทรียวัตถุหรือ วสั ดดุ นิ อนิ ทรยี เ์ ขา้ ไปแทรกอยใู่ นชอ่ งวา่ งระหวา่ งหนิ หรอื เศษหนิ จะมีช้ันวัสดุดินอินทรีย์หรือชั้นดินวินิจฉัยฮิสติกหนาน้อยกว่า ๘๐ เซนติเมตรแรกกไ็ ด้ ตามระบบอนกุ รมวธิ านดนิ พ.ศ. ๒๕๕๗ (ค.ศ. ๒๐๑๔) อนั ดบั ดินฮิสโทซอลส์สามารถจําแนกเป็นอันดับย่อย ดังนี้ โฟลิสตส์ 93

hornblende (Folists) วาสซสิ ตส์ (Wassists) ไฟบริสตส์ (Fibrists) แซพริสต์ (Saprists) และฮีมิสตส์ (Hemists) โดยอันดับย่อยท่ีพบ ในประเทศไทย ไดแ้ ก่ ไฟบรสิ ตส์ และฮมี สิ ตส์ [ดู histic epipedon และ organic soils ประกอบ] hornblende ฮอรน์ เบลนด์ แรแ่ อมฟโิ บลชนดิ หนงึ่ มสี ตู รเคมี (Ca, Na)2-3(Mg, Fe+2, Fe+3, Al)5(OH)2[(Si, Al)8O22] จดั เปน็ แรป่ ระกอบหนิ ทส่ี �ำคญั H ในหนิ อัคนแี ละหนิ แปร hue สสี ัน สีของวัตถุใด ๆ ที่ตามองเห็นได้จากความยาวของคลื่นแสง ท่ีสะท้อนจากวัตถุนั้นเข้าสู่ตา วัตถุแต่ละชนิดมีสมบัติการดูดซับ แสงท่ีความยาวคล่ืนแตกต่างกัน จึงสะท้อนแสงสู่ตาและท�ำให้ เหน็ สีของวตั ถุแตกตา่ งกนั [ดู chroma และ value ประกอบ] humic acid กรดฮิวมิก วัสดุอินทรีย์สีเข้ม สามารถสกัดจากดินได้ด้วย สารละลายเบสเจือจาง แล้วตกตะกอนโดยการท�ำให้สารละลาย ทีส่ กดั ได้เป็นกรด มคี ่าพีเอช ๑-๒ Humic Gley soils ดนิ ฮวิ มกิ กลยี ์ กลมุ่ ดนิ หลกั กลมุ่ หนง่ึ ในระบบการจ�ำแนก ดินประจ�ำชาติของประเทศไทย เป็นดินท่ีเกิดข้ึนภายใต้สภาพ แอควิกในเขตนาข้าวน�้ำขังและเขตป่าไม้ที่ลุ่มน�้ำขัง เนื้อดินเป็น ดนิ เหนยี ว สเี ทาหรอื สีเทาคล�ำ้ และมีจดุ ประ มีการระบายน้ำ� เลว ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กลางถงึ เบสเลก็ นอ้ ย มหี นา้ ตดั ดนิ แบบ Ag-(Bg)-Cg ชดุ ดินทีส่ �ำคัญของกลุ่มดินหลักนี้ คอื ชุดดนิ คลองขดุ และชดุ ดิน พะวง [ดู aquic condition ประกอบ] humic substances สารฮิวมกิ สารอินทรียท์ มี่ ีมวลโมเลกลุ สูง มสี เี หลอื ง ถึงสีด�ำ เกิดจากปฏิกิริยาการสังเคราะห์ขึ้นใหม่จากสารอินทรีย์ ทผี่ า่ นการยอ่ ยสลายมากอ่ น มโี ครงสรา้ งทแ่ี ตกตา่ งจากทพ่ี บทว่ั ไป ในจุลินทรยี แ์ ละพชื [ดู fulvic acid, humic acid และ humin ประกอบ] 94

hydrated lime; slaked lime H humin ฮิวมิน ส่วนของสารฮิวมิกท่ีไม่สามารถสกัดออกได้ด้วยสารละลาย เบสเจือจาง Humods ฮิวมอดส์ อันดับย่อยอันดับหน่ึงของอันดับดินสปอโดซอลส์ ในการจ�ำแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินซึ่งมีคาร์บอน อินทรีย์ตั้งแต่ร้อยละ ๖ ข้ึนไป ในชั้นดินวินิจฉัยสปอดิกท่ีมี ความหนาตั้งแต่ ๑๐ เซนติเมตรขึ้นไป ไม่พบอันดับย่อยนี้ ในประเทศไทย [ดู spodic diagnostic horizon; spodic horizon และ Spodosols ประกอบ] Humults ฮวิ มลั ตส์ อนั ดบั ยอ่ ยอนั ดบั หนง่ึ ของอนั ดบั ดนิ อลั ทซิ อลสใ์ นการ จ�ำแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินซึ่งมีคาร์บอนอินทรีย์ ตง้ั แตร่ อ้ ยละ ๐.๙ ในชว่ งตอนบน ๑๕ เซนตเิ มตรของชนั้ ดนิ วนิ จิ ฉยั อาร์จลิ ลกิ หรือชัน้ ดนิ วินิจฉัยแคนดิก หรือคาร์บอนอนิ ทรยี ์ต้ังแต่ ๑๒ กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรระหว่างผิวดินแร่ถึงความลึก ๑๐๐ เซนตเิ มตร ตวั อยา่ งชุดดินในประเทศไทยของอนั ดบั ยอ่ ยนี้ คือ ชุดดนิ นาทอน ชุดดนิ ดอยปุย และชดุ ดินคลองเตง็ [ดู argillic diagnostic horizon; argillic horizon, kandic diagnostic horizon; kandic horizon และ Ultisols ประกอบ] humus ฮวิ มัส สารอนิ ทรยี ์ทเ่ี ปน็ อสัณฐาน มีสีด�ำหรือสนี �ำ้ ตาลเขม้ เกดิ จาก การรวมตวั กนั ของสารทไ่ี ดจ้ ากการยอ่ ยสลายของซากพชื หรอื สตั ว์ และสารทส่ี งั เคราะหข์ น้ึ มาโดยจลุ นิ ทรยี ์ มสี มบตั เิ ปน็ สารคอลลอยด์ มีโครงสร้างซับซ้อน มีความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนสูง คงทน ต่อการสลายตัว ช่วยในการดูดซับน้�ำและธาตุอาหาร และเป็น สารเชอ่ื มท่ีท�ำใหเ้ ม็ดดินเสถียร hydrated lime; slaked lime ปูนสกุ , ปูนขาว วัสดุปูนท่ีมีองค์ประกอบ หลักเป็นแคลเซียมและแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ ใช้ประโยชน์ ในการสะเทนิ กรดในดนิ 95

hydraulic conductivity hydraulic conductivity สภาพน�ำน�้ำ ความสามารถของดินในการให้ นำ้� ไหลซมึ ผา่ น ข้นึ อยกู่ ับสภาพซึมไดข้ องดินซึ่งเป็นผลจากขนาด และความตอ่ เนอื่ งของช่อง และระดับความอิม่ ตวั ด้วยนำ�้ ของดิน hydraulic gradient ความชนั ชลศาสตร์ ความถดถอยของแรงขบั ชลศาสตร์ ต่อหน่วยระยะทางของการไหล หากเขียนภาพเชิงเส้นแสดง ความสัมพันธ์ระหว่างแรงขับชลศาสตร์กับระยะทางการไหล H ของของไหลผ่านดิน ความชันชลศาสตร์คือ ความชันของเส้น ดังกล่าว ณ จุดใดจุดหน่ึงของทางไหล ความชันชลศาสตร์ จะมเี คร่ืองหมายเป็นลบตามทศิ ทางการไหล ซ่ึงแสดงวา่ ของไหล จะเคล่ือนที่จากบริเวณที่แรงขับชลศาสตร์สูงกว่าไปยังบริเวณที่ แรงขบั ชลศาสตร์ตำ่� กวา่ hydraulic head แรงขับชลศาสตร์ ผลรวมระหว่างแรงขับอุทกสถิต (hydrostatic head) ซ่ึงเปน็ แรงดนั หรือแรงดึงของคอลมั นน์ �้ำที่ กระท�ำบนจดุ ทพ่ี จิ ารณาในดนิ กบั แรงขบั โนม้ ถว่ ง (gravitational head) ค�ำนวณไดจ้ ากสมการ H = h+z เมือ่ H คอื แรงขบั ชลศาสตร์ h คอื แรงขับอทุ กสถิต และ z คอื แรงขบั โนม้ ถ่วง hydraulic nonequilibrium ความไม่สมดุลชลศาสตร์ สภาพการไหล ของน�้ำจากช่องขนาดใหญ่ไปยังช่องขนาดเล็ก เป็นผลมาจาก ความต่างศักย์ชลศาสตร์ของบริเวณช่องขนาดใหญ่และช่อง ขนาดเลก็ hydrodynamic dispersion การกระจายเชงิ อุทกพลวัต กระบวนการ ที่ความเข้มข้นของตัวละลายในสารละลายที่ไหลเปล่ียนแปลง ตามการเคลอ่ื นทขี่ องสารละลายผา่ นชอ่ งตา่ ง ๆ ในดนิ มลี กั ษณะ 96

hydrophyte H เหมือนการแพร่ แต่จะเกิดเม่ือมีการเคล่ือนที่ของสารละลาย เท่าน้ัน hydrogenic soil ดินน้�ำขงั ดนิ ทเ่ี กดิ ในสภาพแวดล้อมท่ีมีนำ�้ ขังเปน็ ระยะ เวลานาน ส่วนใหญ่พบในเขตหนาวเย็นและชุ่มชน้ื hydrologic cycle วฏั จกั รอทุ ก การหมนุ เวยี นเปลี่ยนแปลงสถานะของน�ำ้ ในธรรมชาติ เร่ิมจากการตกลงสู่พื้นโลกจนกระทั่งน้�ำระเหย กลับสบู่ รรยากาศแลว้ ตกลงมาใหม่ hydrology อุทกวิทยา วิทยาศาสตร์ท่ีศึกษาเกี่ยวกับน�้ำที่มีอยู่ในโลก เช่น ศกึ ษาสาเหตุการเกิด การหมุนเวยี น การคงอยู่ สมบัติทาง ฟิสิกส์และเคมี ตลอดจนลักษณะของน้�ำในล�ำน้�ำ ทะเลสาบ และน�ำ้ บาดาล รวมทง้ั การน�ำมาใช้ให้เปน็ ประโยชน์ การควบคมุ และการอนรุ ักษ์ hydrolysis การแยกสลายด้วยน้ำ� กระบวนการทางเคมีท่ีเกิดข้ึนระหว่าง วัตถุและน้�ำ เป็นกระบวนการส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดการผุพังของหิน และแร่ และการเกดิ ดนิ hydrometer ไฮโดรมเิ ตอร์ อปุ กรณว์ ดั ความหนาแนน่ ของสารแขวนลอยดนิ มีลักษณะเป็นทรงกระบอกปลายปิดท้ัง ๒ ด้าน ปลายด้านล่าง เป็นกระเปาะถ่วงน�้ำหนัก ส่วนเหนือกระเปาะมีขีดบอกระดับ ความหนาแนน่ ของสารแขวนลอยดนิ hydrophobic soil ดินไม่ซมึ น้�ำ ดนิ ที่น้�ำไม่ซึมผ่าน เน่อื งจากมแี ผน่ เสน้ ใย ของเชอื้ ราทสี่ านแนน่ บนผวิ อนภุ าคดนิ หรอื มสี ารประกอบอนิ ทรยี ์ ลกั ษณะคลา้ ยไข ซงึ่ ไมเ่ ปยี กหรอื ซมึ นำ้� สารนเ้ี กดิ จากการปลดปลอ่ ย จากพืช การเน่าเปื่อยของวัสดุอินทรีย์ หรือเกิดจากการเผาไหม้ อินทรยี วัตถุ hydrophyte พืชน้�ำ พืชท่ีมีระบบรากแขวนลอยในน�้ำ เช่น ผักตบชวา แหนแดง 97

hydroseeding hydroseeding ไฮโดรซดี ดงิ เทคนคิ การพน่ สารละลายของเมลด็ สารเหนยี ว วสั ดคุ ลมุ ดนิ และปยุ๋ บนดนิ วา่ งเปลา่ ของพนื้ ทลี่ าดเท เพอ่ื ปอ้ งกนั การกรอ่ นของดินกอ่ นการงอกของพืชท่ีปลูก hydrostatic pressure ความดนั อุทกสถิต ความดันของน้ำ� ในดนิ ทเี่ กดิ จาก น�้ำหนักของน้�ำ ความดันของน้�ำแสดงเป็นพลังงานต่อน�้ำหนัก และมีค่าเท่ากับความสูงของน้�ำระหว่างจุดท่ีก�ำหนดและระดับ H ผวิ น�้ำใตด้ นิ hydrous mica ไฮดรสั ไมกา ดู illite hygroscopic coefficient สมั ประสทิ ธิก์ ารดดู ความช้นื ระดบั ความช้นื โดยน้�ำหนักที่ถูกดูดยึดไว้โดยดินหรือปุ๋ยเม่ือน�ำตัวอย่างดินหรือ ปยุ๋ ไปผง่ึ แหง้ หรอื เมอื่ น�ำไปวางไวใ้ นบรรยากาศทค่ี วามชน้ื สมั พทั ธ์ และอุณหภูมทิ ก่ี �ำหนดจนสมดุล ปรกตแิ สดงค่าเป็นรอ้ ยละ hygroscopic water น�้ำดดู ซบั จากบรรยากาศ น�ำ้ หรือความชื้นซง่ึ ถูกดูด ยึดไว้รอบ ๆ อนุภาคดินในลักษณะเป็นเย่ือบาง ๆ แรงดูดยึดน้ี มสี งู มากกวา่ ๑,๕๐๐ กโิ ลพาสคลั ซึง่ พืชไมส่ ามารถดูดน�ำ้ ไปใช้ได้ hyperthermic soil temperature regime ระบอบอุณหภูมิดินแบบ ไฮเพอร์เทอรม์ กิ ชนั้ อณุ หภูมิดนิ ซงึ่ มีคา่ อุณหภูมิดินรายปีเฉลย่ี ตั้งแต่ ๒๒ องศาเซลเซียสข้ึนไป และความแตกต่างระหว่าง อุณหภูมิดินเฉล่ียของฤดูร้อนกับฤดูหนาวมากกว่า ๖ องศา เซลเซียส [ดู soil temperature regimes ประกอบ] hypha ใยรา ใยของเซลล์รา มีลักษณะเป็นเส้นยาวแตกแขนงหรือ ไมแ่ ตกแขนง ภายในมีโพรโทพลาซมึ ใส อาจมีผนงั กั้นเป็นเซลล์ หรอื ไมม่ ี สร้างสว่ นสบื พันธไุ์ ด้ท้งั แบบอาศัยเพศและไม่อาศยั เพศ hypo-coating คราบวตั ถใุ นเนอื้ ดนิ คราบวตั ถตุ ามธรรมชาตใิ นดนิ ทเี่ คลอื บ ในเน้อื พื้นดนิ มากกวา่ ผิวดนิ มีลักษณะคล้ายกบั คราบวตั ถุใหม่ 98

hysteresis; swelling hysteresis hysteresis; swelling hysteresis ความไม่ซ�้ำรอย ปรากฏการณ์ท่ี ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปร ๒ ตวั ในรปู กราฟเสน้ โคง้ ไมท่ บั ซอ้ น กันสนิท เมื่อเปลี่ยนล�ำดับหรือจุดเร่ิมต้นท่ีศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรเหล่านั้น เช่น ความสัมพันธ์ของปริมาตรดิน กบั ปริมาณน้ำ� ในดนิ เมอ่ื ดนิ ขยายตัวและเมื่อดินหดตวั H 99

igneous rock I igneous rock หนิ อคั นี หนิ ที่เกดิ จากการเย็นตัวและตกผลึกของหินหนดื illite อิลไลต์ แรด่ ินเหนยี วประเภท ๒ : ๑ ประกอบดว้ ยแผ่นซลิ กิ าเททระ I ฮดี รอน ๒ ชน้ั และแผ่นอะลมู ินาออกตะฮดี รอน ๑ ชัน้ ไมข่ ยาย หรอื หดตวั เมอื่ เปยี กหรอื แหง้ สว่ นใหญป่ ระกอบดว้ ยโพแทสเซยี ม ในปริมาณสูงและเป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผลึก [มีความหมาย เหมอื นกบั hydrous mica และ ดู montmorillonite ประกอบ] illuvial horizon ชั้นสะสม ชน้ั ดินล่างที่เกิดการสะสมของวัสดทุ ี่เคลื่อนย้าย มาจากชั้นดนิ บน เชน่ การสะสมดินเหนยี ว การสะสมคาร์บอเนต illuviation การสะสมในช้ันดิน กระบวนการสะสมวัสดุดินท่ีเคลื่อนย้าย จากช้ันหน่ึงไปสู่อีกชั้นหน่ึง ปรกติจะเคลื่อนย้ายจากชั้นบนไปสู่ ชนั้ ลา่ งภายในหน้าตดั ดิน illuviation cutan; argillan; clay coating; clay film; clay flow; clay skin คราบดนิ เหนยี ว ดู argillan; clay coating; clay film; clay flow; clay skin; illuviation cutan immobilization อิมโมบิไลเซซัน การเปลี่ยนรูปของธาตุจากอนินทรีย์ เป็นอินทรีย์ในจุลินทรีย์หรือเนื้อเยื่อพืช เช่น การเปล่ียนรูป ของแอมโมเนยี มไปเปน็ กรดแอมิโนในสง่ิ มชี วี ิต imogolite อิโมโกไลต์ แร่ดินเหนียวที่มีระบบผลึกไม่สมบูรณ์ มีสูตรเคมี SiO2AlO3.2.5H2O ส่วนใหญ่พบในดินที่เกิดจากเถ้าภูเขาไฟ และการสลายตัวของหินพัมมิซ และดินในอันดับสปอโดซอลส์ บางชนิด 100

indicator plant I impeded drainage การระบายน้�ำถูกยั้ง สภาพการระบายน�้ำในดิน โดยแรงโน้มถ่วงของโลกที่ถูกชะลอหรือยับยั้งเน่ืองจากสภาพ ความแนน่ ทบึ ของดนิ หรอื ช้ันดนิ impervious layer ชั้นดนิ แน่นทบึ ช้ันดนิ ท่อี นุภาคดินเกาะตวั กันแน่นจน เปน็ อปุ สรรคตอ่ การไหลซมึ ผา่ นของนำ้� และการชอนไชของรากพชื Inceptisols อินเซปทิซอลส์ อนั ดบั ดนิ อันดบั หนงึ่ ในการจ�ำแนกตามระบบ อนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ดนิ แรท่ ม่ี ชี น้ั ดนิ วนิ จิ ฉยั แคมบกิ ภายใน ๑๐๐ เซนติเมตรจากผิวดิน หรือมีช้ันดินวินิจฉัยซัลฟิวริกภายใน ความลึก ๑๕๐ เซนติเมตร และต้องไม่พบวัสดุซัลไฟด์ภายใน ๕๐ เซนตเิ มตรจากผวิ ดนิ และในช่วงความลกึ ระหว่าง ๒๐-๕๐ เซนตเิ มตร ต้องมีช้นั ดินย่อยชน้ั ใดชั้นหนง่ึ ทม่ี ีคา่ n เท่ากับ ๐.๗ หรอื นอ้ ยกวา่ หรอื ชัน้ ดนิ หนาต้งั แต่ ๒๕ เซนติเมตรขน้ึ ไปภายใน ความลึก ๕๐ เซนติเมตรจากผวิ ดนิ มีค่าโซเดยี มทีแ่ ลกเปลยี่ นได้ ตั้งแต่ร้อยละ ๑๕ ข้นึ ไป หรืออตั ราการดูดซับโซเดียมตง้ั แต่ ๑๓ ขึน้ ไป ตามระบบอนกุ รมวธิ านดนิ พ.ศ. ๒๕๕๗ (ค.ศ. ๒๐๑๔) อนั ดบั ดนิ อนิ เซปทซิ อลสส์ ามารถจาํ แนกเปน็ อนั ดบั ยอ่ ย ดงั นี้ แอเควปตส์ (Aquepts) เจเลปตส์ (Gelepts) ยเู ดปสต์ (Udepts) อัสเทปตส์ (Ustepts) ไครเอปตส์ (Cryepts) และเซอเรปตส์ (Xerepts) โดยอนั ดบั ยอ่ ยท่พี บในประเทศไทย ไดแ้ ก่ แอเควปตส์ ยูเดปสต์ และอัสเทปตส์ [ดู cambic diagnostic horizon; cambic horizon และ sulfuric horizon ประกอบ] indicator plant พชื บง่ ชี้ พืชท่ีมลี ักษณะสมั พนั ธ์เฉพาะกับดินหรือสภาพ พนื้ ทนี่ นั้ ๆ เชน่ กระจดู [Lepironia articulate (Retz.) Domin] ในดินเปร้ียว ชะคราม [Suaeda maritime (L.) Dumort.] ในดินเค็ม 101

indurated layer indurated layer ช้ันดินเชื่อมแข็ง ช้ันดินที่ยึดตัวเช่ือมกันจนแน่นแข็ง สว่ นใหญม่ คี ารบ์ อเนต ซลิ กิ า หรอื ออกไซดข์ องเหลก็ เปน็ สารเชอ่ื ม infiltrability สภาพแทรกซึมได้ การแทรกซึมของน้ำ� บนผวิ ดนิ ลงไปในดนิ ตามแนวดง่ิ ขณะทคี่ วามดนั ของนำ�้ บนผวิ ดนิ เทา่ กบั ๑ บรรยากาศ infiltration การแทรกซมึ การแทรกซึมของน�้ำผา่ นผิวดนิ เข้าไปในดิน infiltration capacity ความจกุ ารแทรกซึม ดู infiltration flux infiltration flux ฟลกั ซ์การแทรกซึม ปรมิ าณของน้�ำทแี่ ทรกซึมลงไปใน I ผิวดินต่อหน่วยพ้ืนท่ีหน้าตัดขวางต่อหน่วยเวลา [มีความหมาย เหมือนกบั infiltration capacity และ infiltration rate] infiltration rate อัตราการแทรกซึม ดู infiltration flux infiltrometer มาตรการแทรกซึม เครื่องมือที่ใช้วัดปริมาณหรืออัตรา การแทรกซึมของนำ้� จากผิวดินลงสู่ดิน inoculation การใส่เชอื้ การใสจ่ ุลินทรยี ล์ งในอาหารทฆ่ี า่ เชือ้ แลว้ เพ่ือสร้าง การตอบสนองท่ีต้องการ รวมถึงการคลุกเมล็ดด้วยเชื้อจุลินทรีย์ เช่น การคลุกเมล็ดถั่วด้วยเช้ือไรโซเบียม เพ่ือกระตุ้นการตรึง ไนโตรเจน in situ soil; residuum soil ดนิ อยูก่ ับที่ ดนิ ท่ีเกดิ จากการสลายตัวผุพงั อยกู่ บั ทข่ี องหนิ ตน้ ก�ำเนดิ เปน็ ดนิ ทอี่ ยบู่ นชนั้ หนิ และมอี งคป์ ระกอบ ทางเคมีเหมอื นกับหินต้นก�ำเนิด interflow น�้ำไหลภายในดิน น�้ำท่ีซึมเข้าไปในดินและเคล่ือนท่ีอย่างช้า ๆ เปน็ การเคลอื่ นทแี่ บบดา้ นขา้ งในชนั้ ดนิ ตอนบนขนานกบั ระดบั นำ้� ใต้ดินลงสู่ล�ำธาร interfluve พื้นที่ระหว่างล�ำน้�ำ ภูมิลักษณ์ที่ประกอบด้วยพ้ืนที่ดอน หรือสันดอนที่ต้ังอยู่ระหว่างหุบเขาหรือทางระบายน้�ำ ๒ แห่ง ท่ีอยู่ตดิ กัน 102

Intrazonal soils I intergrade กลุ่มย่อยระหว่างช้ัน หน่วยจ�ำแนกดินในระดับกลุ่มย่อย ของระบบอนุกรมวธิ านดนิ ใช้จ�ำแนกดินซึ่งมลี ักษณะและสมบัติ ของดินตรงตามข้อก�ำหนดของชั้นกลุ่มใหญ่ แต่ชี้บ่งว่าก�ำลัง เปลยี่ นแปลงไปเปน็ หน่วยจ�ำแนกขั้นสงู ได้แก่ อนั ดบั อันดบั ย่อย และกล่มุ ใหญ่ intermediate rock หนิ ชนิดเป็นกลาง หินอคั นที ่จี �ำแนกตามสว่ นประกอบ ทางเคมีแล้วเป็นชนดิ ทอี่ ย่รู ะหว่างเป็นเบสกับกรด คอื มปี รมิ าณ ซลิ ิการ้อยละ ๕๒-๖๕ เชน่ หินไดออไรต์ หนิ แอนดีไซต์ intermittent stream ธารน้�ำไหลไม่ตลอดปี ธารน้�ำที่มีน�้ำไหลบางช่วง ของปี เช่น ในฤดูฝน ชว่ งที่ได้น้ำ� จากแหลง่ อนื่ ๆ บนผิวดนิ internal drainage การระบายน้�ำในดิน การเคล่ือนย้ายของน้�ำในดิน ในสภาพธรรมชาติ internal friction แรงเสยี ดทานภายใน แรงทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การยดึ ของอนภุ าค ดินและแรงต้านการเคลื่อนระหว่างอนุภาค เป็นส่วนหน่ึงของ แรงเฉอื นของดิน interrill erosion การกร่อนระหว่างร่องร้ิว การกระเด็นของอนุภาคดิน หรือการเคลื่อนย้ายของผิวดินในพ้ืนที่ขนาดเล็กระหว่างร่องร้ิว เนื่องจากการตกกระแทกของเม็ดฝนและการไหลบ่าของน้�ำฝน บนผวิ ดินอยา่ งช้า ๆ สู่รอ่ งน�้ำหรือธารน�ำ้ ใกล้เคียง interstitial water นำ้� ระหวา่ งชนั้ แร่ นำ�้ ทถี่ กู ยดึ อยรู่ ะหวา่ งชน้ั แรฟ่ ลิ โลซลิ เิ กต Intrazonal soils ดนิ อนิ ทราโซนลั อนั ดบั ดนิ อนั ดบั หนง่ึ ในระบบการจ�ำแนก ดนิ ของกระทรวงเกษตรสหรฐั อเมรกิ า พ.ศ. ๒๔๘๑ (ค.ศ. ๑๙๓๘) เป็นดินซ่ึงเกิดข้ึนในพื้นท่ีช่วงการเปล่ียนแปลงเขตภูมิอากาศ หลกั ดนิ มพี ฒั นาการคอ่ นขา้ งมาก การแบง่ ชนั้ ดนิ คอ่ นขา้ งชดั เจน ลักษณะเฉพาะและสมบัติของดินมีความสัมพันธ์กับสภาพพ้ืนที่ และวตั ถตุ น้ ก�ำเนิดดนิ 103

intrinsic permeability intrinsic permeability สภาพซมึ ไดใ้ นตัว สมบัติของวัสดพุ รุนทแี่ สดงถึง ความยากง่ายที่แก๊สหรือของเหลวไหลผ่านวสั ดุ intrusive igneous rock หินอัคนแี ทรกซอน หินอัคนีที่เกิดจากการเย็น ตัวอย่างช้า ๆ ภายในเปลือกโลก ท�ำให้ได้เนื้อผลึกของแร่ขนาด ใหญ่ เชน่ หนิ แกรนิต หินแกบโบร ion ไอออน อะตอม กลุ่มอะตอม หรือสารประกอบท่ีมีประจุ เนื่องจาก การสูญเสียอิเล็กตรอน (แคตไอออน) หรือได้รับอิเล็กตรอน I (แอนไอออน) ion activity กิจกรรมไอออน ปรมิ าณไอออนในสารละลายท่ีท�ำปฏกิ ริ ยิ าได้ ค�ำนวณได้จากผลคูณของความเข้มข้นกับสัมประสิทธ์ิกิจกรรม ไอออน ปริมาณไอออนที่ท�ำปฏิกิริยาได้ในสารละลายมีค่าน้อย กว่าปริมาณของไอออนท้ังหมดในสารละลายนน้ั ion activity coefficient สมั ประสิทธิ์กจิ กรรมไอออน อตั ราส่วนระหวา่ ง ปรมิ าณไอออนทที่ �ำปฏกิ ริ ยิ าไดก้ บั ปรมิ าณทงั้ หมดของไอออนนนั้ ionic strength ความแรงไอออน คา่ ที่ใช้ประเมนิ ปฏิกิริยาระหว่างไอออน ในสารละลาย มีค่าเท่ากับคร่ึงหนึ่งของผลรวมระหว่างผลคูณ ของความเข้มข้นไอออนกับประจุยกก�ำลังสองของไอออนใน สารละลาย ค�ำนวณไดจ้ ากสมการ เมอ่ื I คือ ความแรงไอออน ci คือ ความเขม้ ขน้ ของไอออน และ zi คอื ประจุของไอออน ion selectivity สภาพเลือกไอออน ความสามารถในการดูดซับไอออน ชนิดหน่ึงของอนุภาคดิน หรือรากพืช เม่ือเทียบกับการดูดซับ ไอออนอน่ื ๆ 104

irrigation efficiency I iron oxides เหลก็ ออกไซด์ ชอื่ เรียกกลุ่มออกไซด์และไฮดรอกไซด์ของเหล็ก รวมทั้งแร่เกอไทต์ ฮีมาไทต์ เลพิโดโครไซต์ เฟร์ริไฮไดรต์ แมกฮีไมต์ และแมกนีไทต์ บางครั้งหมายถึงเซสควิออกไซด์ หรือไฮดรสั ออกไซดข์ องเหล็ก iron pan ชั้นดานเหล็ก ช้ันดานท่ีมีเหล็กออกไซด์เป็นสารเช่ือมหลัก [ดู plinthite ประกอบ] ironstone หินเหล็ก หินที่มีเหล็กออกไซด์เป็นองค์ประกอบหลัก โดยเฉพาะหินตะกอนที่มีเหล็กออกไซด์อยู่ในปริมาณสูง และมีการเช่ือมตัวกัน อาจมีลักษณะเป็นชั้น ๆ หรือไม่เป็นช้ัน โดยมากประกอบดว้ ยเหลก็ ออกไซดท์ ม่ี ีรปู ร่างแบบเมด็ ไขป่ ลา irrigable area พื้นที่ชลประทานได้ พ้ืนที่ซ่ึงท�ำการชลประทานได้ โดยพิจารณาจากความเป็นประโยชน์ของน�้ำ ความเหมาะสม ของดิน และลักษณะของทีด่ ิน irrigation การชลประทาน การให้น้�ำ การทดน้�ำ และระบายน้�ำเพ่ือ การเกษตรกรรม irrigation application efficiency ประสิทธิภาพการใหน้ ำ้� ชลประทาน รอ้ ยละของปรมิ าณนำ้� ชลประทานทด่ี นิ กกั เกบ็ ไวไ้ ดส้ �ำหรบั ใหพ้ ชื ทป่ี ลกู ใช้ irrigation canal คลองชลประทาน คลองที่สร้างข้ึนถาวรเพื่อส่งน�้ำ จากแหลง่ น้�ำสแู่ ปลงปลกู พืช irrigation efficiency ประสิทธภิ าพชลประทาน ๑. อัตราสว่ นของนำ�้ ท่พี ืช ใช้จริงต่อปริมาณน้�ำชลประทานทีใ่ ห้ในพนื้ ทนี่ นั้ ๒. อตั ราสว่ นของนำ้� ทแี่ ทรกซมึ ลงดนิ ตอ่ ปรมิ าณนำ�้ ทช่ี ลประทาน ทั้งหมด ๓. อัตราส่วนของน้�ำที่เก็บกักเพ่ิมข้ึนในดินต่อปริมาณน้�ำที่ให้ ทั้งหมด 105

irrigation frequency irrigation frequency ความถี่ชลประทาน จ�ำนวนครั้งของการให้น�้ำ ในชว่ งเวลาทกี่ �ำหนด เชน่ ใหน้ ำ้� วนั เวน้ วนั ใหน้ ำ�้ ๓ ครงั้ ตอ่ สปั ดาห์ irrigation lateral คลองซอยชลประทาน คลองส่งนำ�้ ท่ีแยกยอ่ ยจากคลอง ส่งนำ�้ หลักสู่แปลงปลกู พชื irrigation period คาบชลประทาน ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการให้น้ำ� แต่ละครัง้ แกพ่ ้นื ท่ีในช่วงการใชน้ ำ�้ สงู สดุ ของพืชท่ีปลูก isoelectric point จดุ ประจเุ ทา่ , จดุ ไอโซอเิ ลก็ ทรกิ คา่ พเี อชของสารละลาย I ขณะที่ประจุบวกและประจุลบท่ีผิวคอลลอยด์มีปริมาณเท่ากัน หรือมปี ระจสุ ทุ ธิเป็นศนู ย์ isofrigid soil temperature regime ระบอบอุณหภูมดิ นิ แบบไอโซฟริจิด ชั้นอุณหภูมิดินซ่ึงเป็นระบอบอุณหภูมิดินแบบฟริจิด แต่มีความ แตกต่างระหว่างอณุ หภมู ดิ นิ เฉลย่ี ของฤดูรอ้ นกับฤดูหนาวไม่เกิน ๖ องศาเซลเซยี ส [ดู frigid soil temperature regime ประกอบ] isohyperthermic soil temperature regime ระบอบอณุ หภมู ดิ นิ แบบ ไอโซไฮเพอรเ์ ทอรม์ กิ ชนั้ อณุ หภมู ดิ นิ ซงึ่ เปน็ ระบอบอณุ หภมู ดิ นิ แบบไฮเพอรเ์ ทอรม์ กิ แตม่ คี วามแตกตา่ งระหวา่ งอณุ หภมู ดิ นิ เฉลย่ี ของฤดรู อ้ นกบั ฤดหู นาวไมเ่ กนิ ๖ องศาเซลเซยี ส [ดู hyperthermic soil temperature regime ประกอบ] isomesic soil temperature regime ระบอบอณุ หภมู ิดนิ แบบไอโซเมซิก ช้ันอุณหภูมิดินซึ่งเป็นระบอบอุณหภูมิดินแบบเมซิก แต่มีความ แตกตา่ งระหวา่ งอุณหภูมิดนิ เฉล่ยี ของฤดรู อ้ นกบั ฤดูหนาวไม่เกิน ๖ องศาเซลเซียส [ดู mesic soil temperature regime ประกอบ] 106

isotropic shrinkage I isomorphous substitution การแทนท่ีขนาดเทา่ การแทนทอ่ี ะตอมของ ธาตุหน่ึงด้วยอะตอมของธาตุอีกชนิดหนึ่งที่มีขนาดใกล้เคียงกัน ในโครงสร้างผลึกโดยปราศจากการท�ำลายหรือไม่ท�ำให้ โครงสร้างเปล่ียนแปลง เม่ือแคตไอออนที่เข้าไปแทนท่ีมีเวเลนซี นอ้ ยกว่าแคตไอออนทถ่ี กู แทนที่ ท�ำให้เกดิ ประจุสทุ ธเิ ป็นลบ isothermic soil temperature regime ระบอบอุณหภูมดิ ินแบบไอโซ เทอรม์ กิ ชน้ั อณุ หภมู ดิ นิ ซงึ่ เปน็ ระบอบอณุ หภมู ดิ นิ แบบเทอรม์ กิ แต่มีความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิดินเฉล่ียของฤดูร้อนกับ ฤดหู นาวนอ้ ยกวา่ ๖ องศาเซลเซียส [ดู thermic temperature regime ประกอบ] isotropic shrinkage การหดตัวเท่ากัน การหดตัวของดินที่เท่ากันใน ทกุ ทิศทาง 107

jarosite J jarosite จาโรไซต์ แร่ชนิดหนึ่งที่มีโพแทสเซียมและเหล็กซัลเฟตเป็นองค์ ประกอบส�ำคัญ มสี ูตรเคมี KFe3(SO4)2(OH)6 มีสเี หลืองฟางขา้ ว J ส่วนใหญ่พบในดินท่ีเกิดจากการทับถมของตะกอนน้�ำกร่อย ซ่ึงเป็นตัวบ่งชี้ว่าดินน้ันมีสภาพเป็นดินกรดก�ำมะถันหรือเป็น ดินเปร้ยี วจดั 108

karst K K kame เคม กลุม่ เนนิ เต้ยี ไหล่ชนั เรียงรายอยู่ตอนปลาย ๆ ธารน�ำ้ แข็ง ตวั เนิน ประกอบด้วยกรวดและทรายซึ่งจมทับถมกันอยู่เป็นช้ัน ๆ เน่อื งจากธารน�ำ้ แขง็ ละลายตัว kandic diagnostic horizon; kandic horizon ช้ันดินวนิ ิจฉัยแคนดกิ ช้ันดินล่างวินิจฉัยในระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นชั้นดินแร่ท่ีมี ดินเหนียวเพ่ิมขึ้นสูงกว่าดินช้ันบนตามข้อก�ำหนด และเป็น ดินเหนียวกิจกรรมต�่ำ ซึ่งมีความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน ไมเ่ กนิ ๑๖ เซนติโมลต่อกโิ ลกรมั ดนิ เหนียว มีความจแุ ลกเปล่ียน แคตไอออนประสิทธิผลไม่เกิน ๑๒ เซนติโมลต่อกิโลกรัม ดนิ เหนยี ว และคารบ์ อนอนิ ทรยี ล์ ดลงสมำ่� เสมอตามความลกึ kaolin เคโอลิน, แร่ดินขาว กลุ่มย่อยของแร่อะลูมิโนซิลิเกต มีโครงสร้าง เรียงซ้อนกันเป็นช้ันแบบ ๑ : ๑ แร่ดินเหนียวที่พบมากที่สุด ในกลมุ่ ยอ่ ยนี้ คอื เคโอลิไนต์ kaolinite เคโอลิไนต์ แร่ดินเหนียวในกลุ่มย่อยเคโอลิน มีสูตรเคมี Al2Si2O5(OH)4 มีโครงสร้างเรียงซ้อนกันเป็นชั้นแบบ ๑ : ๑ ประกอบด้วยแผ่นซิลิกาเททระฮีดรอนและแผ่นอะลูมินาออกตะ ฮีดรอน karst คาสต์ ภูมิประเทศแบบหน่ึงที่พบในบริเวณที่มีหินปูน ยิปซัม หรือ หินชนิดอ่ืนที่ละลายน�้ำหรือถูกชะละลายได้ ส่วนใหญ่ประกอบ ด้วยดินเหนียวสีแดง ป่าช้าหิน (lapies) แอ่งยุบ (doline) หลุมยุบ ธารน�ำ้ ใตด้ นิ (subterranean stream) และถ�้ำ 109

krotovina krotovina โครโทวีนา โพรงดนิ ที่เกดิ จากการกระท�ำของสตั ว์ ท�ำใหม้ วี สั ดุ เคลอ่ื นย้ายจากอีกช้ันหนึ่งมาสะสมอยู่จนเตม็ โพรง kubiena box กล่องคูบีนา กลอ่ งเกบ็ ตวั อยา่ งดนิ แบบไม่รบกวนดิน เพื่อใช้ ศกึ ษาจลุ สัณฐานวทิ ยาดนิ K 110

land capability L L labile pool เลไบล์พูล ผลรวมของธาตุต่าง ๆ ทล่ี ะลายและแลกเปลี่ยนได้ ในสารละลายดนิ ท่จี ดุ สมดลุ labradorite แลบราโดไรต์ แรใ่ นกลมุ่ แพลจโิ อเคลสเฟลด์สปารช์ นิดหน่ึงที่ ประกอบด้วยแร่แอลไบต์ร้อยละ ๓๐-๕๐ และแร่อะนอร์ไทต์ รอ้ ยละ ๕๐-๗๐ laccolith หินอัคนีรปู เห็ด หินอัคนีแทรกซอนทด่ี า้ นบนโค้งและด้านลา่ งแบน มีลกั ษณะคล้ายเหด็ [ดู igneous rock ประกอบ] lacustrine deposit ส่ิงทับถมในทะเลสาบ สสารหรือวัสดุท่ีทับถมอยู่ กน้ ทะเลสาบ lacustrine soil ดนิ ตะกอนทะเลสาบ ดินทสี่ ร้างตัวและพัฒนามาจากส่ิง ทบั ถมในทะเสสาบ land ท่ีดิน ส่วนที่เป็นของแข็งบนผิวโลก หรือพื้นท่ีส่วนใดส่วนหน่ึงของ ผิวโลกรวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติตา่ ง ๆ ท่มี ีอยู่ ตามประมวลกฎหมายทด่ี นิ พ.ศ. ๒๔๙๗ ทด่ี นิ หมายถงึ พน้ื ทดี่ นิ ทวั่ ไป และใหห้ มายความรวมถงึ ภเู ขา หว้ ย หนอง คลอง บงึ บาง ล�ำน�้ำ ทะเลสาบ เกาะ และทีช่ ายทะเลด้วย land capability สมรรถนะท่ดี ิน ศกั ยภาพของทด่ี นิ เพื่อการใช้ประโยชน์ ซ่ึงไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย โดยพิจารณาถึงความเส่ียงต่อ ความเสยี หายของท่ดี นิ จากการกรอ่ น และความยงุ่ ยากในการใช้ ประโยชน์ทด่ี ิน 111

land capability class land capability class ชั้นสมรรถนะทดี่ ิน ระดบั ศกั ยภาพของดินในระบบ การจ�ำแนกท่ีดินของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกาที่ต้ังข้ึน เพอื่ จ�ำแนกสมรรถนะทด่ี นิ ส�ำหรบั การเกษตร โดยเฉพาะการปลกู พืชไร่ซ่ึงจ�ำแนกตามความรุนแรงของข้อจ�ำกัดการใช้ประโยชน์ ท่ีดนิ เช่น การกร่อนของดนิ ความลาดของพนื้ ที่เปน็ ตัวก�ำหนด ระดบั ชั้น แบง่ เปน็ ๘ ชั้น land consolidation การจัดรูปที่ดิน การด�ำเนินงานพัฒนาท่ีดินเพื่อ ความมั่นคงในการใชท้ ีด่ ินทางการเกษตร ตามพระราชบญั ญัตจิ ัดรูปที่ดินเพือ่ เกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๗ L การจัดรูปที่ดินหมายถึง การด�ำเนินงานพัฒนาท่ีดินที่ใช้ ในการเกษตรกรรมให้สมบูรณ์ทั่วถึงท่ีดินทุกแปลง เพ่ือเพ่ิม ผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต โดยรวบรวมท่ีดินหลายแปลง ในบริเวณเดียวกัน มาวางผงั จัดรปู ท่ีดนิ ใหม่ รวมท้ังการจัดระบบ การชลประทานและการระบายน้�ำ การจัดสร้างถนนหรือทาง ล�ำเลยี งในไร่นา การปรบั ระดบั พืน้ ท่ี การบ�ำรุงดนิ การวางแผน การผลิตและการจ�ำหน่ายผลิตผลการเกษตร การรับโอนสิทธิ ในทด่ี นิ และการจัดเขตท่ีดินส�ำหรบั ทอี่ ยอู่ าศยั land development การพัฒนาที่ดิน ตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. ๒๕๕๑ การพฒั นาท่ดี ินหมายถงึ การกระท�ำใด ๆ ตอ่ ดิน หรอื ทดี่ นิ เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพของดนิ หรอื ทดี่ นิ หรอื เพ่ือเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตรให้สูงข้ึน และหมายความรวมถึง การปรับปรงุ ดินหรอื ท่ีดนิ ท่ีขาดความอดุ มสมบรู ณต์ ามธรรมชาติ หรือขาดความอุดมสมบูรณ์เพราะการใช้ประโยชน์และการ อนรุ กั ษด์ นิ และนำ�้ เพอื่ รกั ษาดลุ ธรรมชาตหิ รอื เพอื่ ความเหมาะสม ในการใชท้ ดี่ นิ เพอ่ื เกษตรกรรม land evaluation การประเมนิ คา่ ทด่ี นิ กระบวนการประเมนิ ผลของลกั ษณะ ทีด่ ินทใี่ ชป้ ระโยชนส์ �ำหรับวตั ถุประสงค์เฉพาะอย่าง 112

large-scale map L landform ภูมิลักษณ์ ลักษณะทางกายภาพของพ้ืนผิวโลกท่ีมีรูปพรรณ สัณฐานตา่ ง ๆ กันตามธรรมชาติ เชน่ ภูเขา ทีร่ าบสูง ทร่ี าบ land grading; land smoothing การปรับหน้าดิน กระบวนการที่ ท�ำให้หนา้ ดนิ เรยี บเพอ่ื ปรับปรุงการไหลบา่ ของน�้ำผิวดิน land management การจัดการที่ดิน วิธีการต่าง ๆ ซึ่งปฏิบัติกับท่ีดิน เพ่ือใหเ้ หมาะสมต่อการใชป้ ระโยชน์ land reclamation การฟื้นฟูท่ีดิน การปรับปรุงที่ดินซ่ึงเสื่อมโทรม รวมท้งั การแปรสภาพพนื้ ทีท่ ใ่ี ช้ประโยชนไ์ ม่ได้ ใหใ้ ช้ประโยชน์ได้ landscape ภูมิทัศน์ ลักษณะทางกายภาพของภูมิประเทศโดยท่ัวไป ของบรเิ วณใดบรเิ วณหนงึ่ รวมทง้ั ทเี่ กดิ ตามธรรมชาตหิ รอื เกดิ จาก การกระท�ำของมนษุ ย์ land smoothing; land grading การปรบั หน้าดิน ดู land grading; land smoothing land suitability classification การจ�ำแนกความเหมาะสมของที่ดิน การจ�ำแนกที่ดินตามความเหมาะสมของดินต่อการปลูกพืช แตล่ ะชนดิ โดยจ�ำแนกตามความรนุ แรงของขอ้ จ�ำกดั ตอ่ การเจรญิ เติบโตของพืช ซึ่งพัฒนามาจากการจ�ำแนกสมรรถนะที่ดิน ของประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อให้เหมาะสมกับภูมิภาคหรือ ประเทศ land use การใช้ที่ดิน ลกั ษณะหรือรปู แบบการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ ประเภท ตา่ ง ๆ เชน่ ปา่ ไม้ ทุ่งหญา้ เกษตรกรรม เหมืองแร่ ทอี่ ย่อู าศัย lapilli มลู ภเู ขาไฟ เศษหนิ ชน้ิ สว่ นหนิ ภเู ขาไฟซงึ่ เกดิ จากการระเบดิ ของภเู ขาไฟ ท่ีพ่นลาวาขึ้นไปในอากาศแล้วตกลงมา อาจจะแข็งตัวแล้ว หรือตกลงมาแข็งตัวบนพ้ืนดิน จึงมีรูปร่างไม่แน่นอน มีขนาด ตง้ั แต่ ๒-๖๔ มลิ ลิเมตร large-scale map แผนที่มาตราส่วนใหญ่ แผนท่ีท่ีมีมาตราส่วน ๑ : ๑๐๐,๐๐๐ หรือใหญ่กวา่ 113

laterite laterite ศิลาแลง วัสดุที่เกิดจากกระบวนการสลายตัวผุพังทางธรณี อยา่ งรุนแรงภายใต้สภาพภมู ิอากาศแบบร้อนช้นื มอี งค์ประกอบ ท่ีส�ำคัญคือ เหล็กออกไซด์ และ/หรืออะลูมิเนียมออกไซด์ เคโอลไิ นต์ และควอตซ์ lateritic soil ดินลูกรัง ดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังของหินภายใต้ สภาพภูมิอากาศแบบร้อนช้ืน มีเหล็กและอะลูมิเนียมออกไซด์ ในปริมาณสูง เป็นผลมาจากกระบวนการเกดิ ศิลาแลง สว่ นใหญ่ เป็นดินเหนียวสีแดง สีน�้ำตาล หรือสีเหลือง มักพบเม็ดลูกรัง และเมด็ กรวดผสมปนอยู่ L laterization การเกิดศิลาแลง กระบวนการทางดินท่ีสญู เสยี ซิลกิ าและเบส ที่แลกเปลี่ยนได้ และมีการสะสมเหล็กออกไซด์และ/หรือ อะลูมิเนียมออกไซด์ กระบวนการนี้เกิดในเขตร้อนและเขต ศนู ยส์ ตู ร Latosols แลโทซอลส์ กลุ่มดินหลักกลุ่มหนึ่งในอันดับดินโซนัลของระบบ การจ�ำแนกดินของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา พ.ศ. ๒๔๘๑ (ค.ศ. ๑๙๓๘) เป็นดินท่ีเกิดขึ้นภายใต้สภาพป่าไม้เขตร้อนและ ชมุ่ ชน้ื มพี ฒั นาการของหนา้ ตดั ดนิ มาก การระบายนำ้� ดตี ลอดหนา้ ตัดดิน ชั้นดินล่างมีสีแดง เน้ือดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย มีแร่ดินเหนียวกิจกรรมต�่ำ สัดส่วนของซิลิกา-เซสควิออกไซด์ต�่ำ ความสามารถการอุ้มน�้ำต�่ำ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไออนต�่ำ และมีเสถียรภาพของกลุ่มอนุภาคดินสูง หน้าตัดดินเป็นแบบ A-B-C [ดู aquic condition, soil horizon และ Zonal soils ประกอบ] lattice แลตทิซ โครงสร้างผลึกท่ีมีการจัดเรียงตัวของอนุภาคภายในผลึก เปน็ แบบ ๓ มิติ ท�ำใหเ้ กิดรปู ทรงเรขาคณติ เรยี งซ้อนกัน แลตทซิ ประกอบข้นึ ดว้ ยหน่วยเซลล์ซง่ึ มหี นา้ มมุ และขอบร่วมกัน 114

lepidocrocite L lava ๑. ลาวา แมกมาใตเ้ ปลอื กโลกที่พุพ้นเปลือกโลก ไหลลามออก จากปล่องภูเขาไฟแบบปะทุพ่น (effusive volcano) หรือ ออกจากรอยแยกของเปลือกโลกขณะท่ียังร้อนและไม่แข็งตัว มลี ักษณะเหนียวหนืด ๒. หนิ ลาวา หนิ ทเ่ี กิดจากการเย็นตวั ของลาวา มีเน้ือละเอียด แข็งแกร่งมาก บางชนิดมีรูพรุนอยู่ท่ัวไป เช่น หินบะซอลต์ หนิ พมั มิซ (pumice) [ดู igneous rock ประกอบ] lava flow ลาวาหลาก ลาวาเหลวหรือหินหนืดซึ่งไหลเป็นทางออกจาก ปล่องภูเขาไฟหรอื รอยแยกของเปลอื กโลก รวมถงึ ลาวาที่แข็งตัว กลายเปน็ หนิ ดว้ ย law of diminishing returns กฎผลตอบแทนลดนอ้ ยถอยลง กฎที่อธิบาย การเพิ่มของผลผลิตเมื่อปัจจัยผันแปรเพิ่มข้ึน ระยะแรกจะ ท�ำให้ผลผลิตเพ่ิมขึ้นในอัตราสูง แต่ถ้าเพิ่มปัจจัยผันแปรอีก จะท�ำให้ผลผลิตท่ีเพิ่มข้ึนมีการเพ่ิมในอัตราที่ลดลงจนเป็นศูนย์ หรอื ตดิ ลบได้ leachate ลีเชต ของเหลวท่ไี ดจ้ ากการชะละลายดนิ ด้วยนำ้� มอี งคป์ ระกอบ ของสารต่าง ๆ ในดนิ ทลี่ ะลายน้�ำได้ leaching requirement ความต้องการชะละลาย ปริมาณน้�ำที่ต้องใช้ ในการชะละลายเกลือออกไปจากดินเพ่ือลดระดับความเค็ม ของดนิ ให้อยใู่ นระดับทีพ่ ชื ทนทานได้ leghemoglobin เลกฮีโมโกลบิน เม็ดสีแดงท่ีมีเหล็กเป็นองค์ประกอบ สรา้ งขน้ึ ในปมรากระหวา่ งเกดิ กระบวนการอยรู่ ว่ มกนั แบบพง่ึ พา ระหว่างแบรดีไรโซเบียมหรือไรโซเบียมกับพืชตระกูลถ่ัว เม็ดสีนี้ คล้ายกับฮโี มโกลบนิ ของสัตวเ์ ลี้ยงลูกดว้ ยนม lepidocrocite เลพิโดโครไซต์ แร่เหล็กออกไซดส์ ีส้ม มีสตู รเคมี พบในจุดประและมวลสารพอกของดนิ เปยี ก 115

lessivage lessivage การสะสมแร่ดินเหนียว กระบวนการทางกลศาสตรท์ น่ี ้ำ� ไหลซึม พาแร่ดินเหนียวจากดินชั้นบนลงสู่ดินชั้นล่าง ท�ำให้ดินชั้นบน สูญเสียแคลเซียมคาร์บอเนตและแร่ดินเหนียวซึ่งไปสะสมกันอยู่ ในดินชัน้ ล่าง ท�ำใหม้ คี ราบดินเหนียวเคลือบอยรู่ อบ ๆ กอ้ นดนิ levee คันดนิ ริมน�้ำ ๑. สันดินที่เกิดจากการทบั ถมของตะกอนน้ำ� พาบริเวณ ริมฝั่งแม่น้�ำ มักเป็นตะกอนท่ีมีขนาดค่อนข้างหยาบถึงหยาบ ท�ำให้เกดิ เปน็ สันนูนขนานไปกบั รมิ ฝั่งแมน่ �้ำ ๒. คันดินขนาดเล็กที่สร้างยาวไปตามแนวตลิ่งของแม่น้�ำ เพ่ือป้องกันไม่ให้น�ำ้ จากแมน่ ำ้� ไหลบ่าท่วมพื้นทขี่ ้างเคียง L Liebig’s law of the minimum กฎค่าตำ�่ สดุ ของลีบิก กฎที่ต้ังข้นึ โดย นกั วทิ ยาศาสตร์ชาวเยอรมันช่ือ เจ. ลบี กิ (J. Liebig) ซ่ึงอธบิ าย วา่ ในบรรดาปจั จัยตา่ ง ๆ ทม่ี ีผลตอ่ การเจริญเติบโตของสง่ิ มชี วี ิต ปัจจัยที่มีปริมาณต่�ำสุดจะเป็นปัจจัยท่ีจ�ำกัดการเจริญเติบโต ของส่ิงมีชีวิตน้นั ๆ lime concretion มวลปูนพอก มวลที่เกิดจากการรวมตัวของตะกอน แคลเซียมคาร์บอเนตเป็นเม็ดหรือเป็นก้อน หรือสารอ่ืนที่เช่ือม ติดเปน็ กอ้ นดว้ ยตะกอนแคลเซียมคาร์บอเนต lime-pan ชั้นดานปูน ช้ันดานของดินซ่ึงเกิดการเช่ือมแน่นด้วยแคลเซียม คารบ์ อเนต [ดู caliche ประกอบ] lime requirement ความต้องการปูน ปริมาณของวัสดุปูนท่ีสมมูล กบั แคลเซยี มคารบ์ อเนตในการสะเทนิ ฤทธิก์ รดของดิน liquefaction ปรากฏการณ์ดินเหลว การที่ดินหรือตะกอนมีสภาพคล้าย ของไหล เนอ่ื งจากนำ�้ ในดนิ แทรกอยใู่ นชอ่ งวา่ งระหวา่ งเมด็ ดนิ จน แทบไม่มีอากาศอยู่เลย หรือเนื้อดินอ่ิมตัวด้วยน�้ำจนเนื้อดิน มีสภาพคล้ายของไหล เมื่อเกิดแผ่นดินไหวจะเพ่ิมแรงบีบอัด ท�ำให้ดินเหล่าน้ีไหลพุ่งข้ึนมาบนผิวดินพร้อมกับสายน้�ำกอง เปน็ เนินตะกอน บางส่วนจมลงในพน้ื ดินคลา้ ยทรายดูด 116

Lithosols L liquid limit ขีดจ�ำกัดลิควิด ระดับความช้ืนในมวลดินขณะที่มวลดิน เร่ิมเปลี่ยนสภาพจากของเหลวไปเป็นสารหนืดตัวในสภาพ พลาสตกิ [มคี วามหมายเหมือนกบั upper plastic limit] lithic contact แนวสัมผัสหินแข็ง แนวสัมผัสระหว่างชั้นดินกับวัสดุ ท่ีเช่ือมติดกันใต้ช้ันดินนั้น การเชื่อมติดของวัสดุในชั้นนี้ท�ำให้ การขุดด้วยพลั่วมือท�ำได้ยาก ถ้าช้ันนี้ประกอบด้วยแร่ชนิดเดียว ตอ้ งมคี วามแขง็ ระดบั ๓ ขนึ้ ไปตามมาตราโมส์ และถา้ เปน็ กอ้ นกรวด ต้องไม่หลุดออกจากกันเม่ือเขย่าในน�้ำหรือในสารละลายโซเดียม เฮกซะเมทาฟอสเฟตนาน ๑๕ ช่ัวโมง lithiophorite ลิทิโอฟอไรต์ แมงกานีสออกไซด์สีด�ำที่มีลักษณะเป็นชั้น ในก้อนเหลก็ -แมงกานสี ของดนิ กรด lithologic discontinuity ความไม่ตอ่ เนือ่ งทางธรณี ความแตกตา่ งกนั ของการกระจายอนุภาค และ/หรือองค์ประกอบเชิงแร่ระหว่าง ช้ันดินอย่างชัดเจนที่ชี้ให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของการทับถม ทางธรณีที่เกิดขึ้นในหน้าตัดดิน เกี่ยวข้องกับการทับถมจาก ตัวพาท่ีแตกต่างกัน เช่น น�้ำ ลม แรงโน้มถ่วง น้�ำแข็ง หรือ การทบั ถมทเ่ี กดิ จากตวั พาชนดิ เดยี วกนั แตด่ ว้ ยพลงั งานทต่ี า่ งกนั เชน่ นำ�้ เช่ยี ว น�้ำไหล lithorelict ลโิ ทเรลกิ ลกั ษณะทางจลุ สณั ฐานวทิ ยาทไ่ี ดม้ าจากวตั ถตุ น้ ก�ำเนดิ ดินท่ีบอกได้จากโครงสร้างหินและเน้อื หิน lithosequence ล�ำดับหนิ ดคู �ำอธบิ ายใน soil sequence Lithosols ลโิ ทซอลส์ กลมุ่ ดนิ หลกั กลมุ่ หนง่ึ ในระบบการจ�ำแนกดนิ ประจ�ำชาติ ของประเทศไทย เป็นดินเกิดจากการผุพังของหินชนิดต่าง ๆ อยตู่ ื้นมาก พบชน้ั หนิ ผใุ นหน้าตดั ดนิ เน้ือดินมีเศษหินท่สี ลายตวั ไม่สมบูรณ์ปะปนอยู่ ส่วนใหญ่พบตามบริเวณลาดเขาหรือ ทล่ี าดเชงิ เขา หนา้ ตดั ดนิ เปน็ แบบ A-C-R หรอื A-R ชดุ ดนิ ทส่ี �ำคญั ของกลมุ่ ดนิ หลกั น้ี คอื ชุดดินหว้ ยยอด และชุดดนิ ระนอง 117

litter litter เศษซากพืช เศษใบไม้ กิง่ ไม้ ล�ำตน้ เปลอื ก ดอก และผลท่รี ว่ งหลน่ ลงมาทับถมกนั บนพ้ืนปา่ และยังมกี ารสลายตวั นอ้ ย L layer ช้ันแอล ช้ันอนิ ทรยี วัตถทุ ี่ย่อยสลายเพียงเล็กนอ้ ยหรือไม่ยอ่ ยสลาย พบบนพ้ืนป่า ประกอบด้วยใบไม้ กง่ิ ล�ำต้น เปลอื ก และผล load carrying capacity; load bearing capacity ความสามารถ ในการรบั นำ�้ หนกั การวดั ความสามารถของดนิ ในการรบั นำ้� หนกั เครื่องจักรกลหรือยานพาหนะก่อนจะท�ำให้มวลของดินที่รองรับ น�้ำหนักนั้นแตกแยกหรือพังทลาย ใช้หน่วยวัดเป็นกิโลกรัมต่อ ตารางเมตร L loam ดนิ รว่ น ดูค�ำอธบิ ายใน soil texture loam soil กลมุ่ เนอ้ื ดนิ รว่ น กลมุ่ เนอื้ ดนิ ทป่ี ระกอบดว้ ยดนิ รว่ นปนทรายหยาบ ดินร่วนปนทราย ดินร่วนปนทรายละเอียด ดินร่วน ดินร่วนปน ทรายแปง้ ดินทรายแปง้ ดนิ ร่วนเหนียว ดนิ ร่วนเหนยี วปนทราย และดินรว่ นเหนียวปนทรายแปง้ [ดู soil texture ประกอบ] loamy coarse sand ดนิ ทรายหยาบปนดนิ รว่ น ดคู �ำอธบิ ายใน soil texture loamy fine sand ดนิ ทรายละเอยี ดปนดนิ รว่ น ดคู �ำอธบิ ายใน soil texture loamy particle size class ชน้ั ขนาดอนภุ าคดนิ รว่ น ดนิ ทมี่ เี นอ้ื ดนิ ละเอยี ด กว่าดินรว่ นปนทรายละเอยี ดแต่มดี นิ เหนยี วนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๓๕ และมีชิ้นส่วนหยาบน้อยกว่าร้อยละ ๓๕ ในชั้นดินล่างตอนบน ใชส้ �ำหรบั จ�ำแนกดินในระดับวงศ์ loamy sand ดินทรายปนดนิ ร่วน ดคู �ำอธบิ ายใน soil texture loamy soils กลมุ่ ดินรว่ น กลุ่มเนือ้ ดินท่ปี ระกอบด้วยดินเนอ้ื ค่อนข้างหยาบ ดินเน้ือปานกลาง และดินเน้ือค่อนข้างละเอียด [ดู medium- textured soil, moderately coarse textured soil และ moderately fine textured soil ประกอบ] loamy very fine sand ดินทรายละเอยี ดมากปนดินร่วน ดคู �ำอธิบาย ใน soil texture 118

lowland soil L loess ดนิ ลมหอบ, เลสิ ส์ ตะกอนขนาดละเอยี ดทีถ่ ูกลมพัดพามาตกทบั ถม ประกอบด้วยอนุภาคขนาดทรายแป้งและทรายละเอียดเป็น ส่วนใหญ่ low activity clay ดินเหนียวกิจกรรมต่�ำ อนุภาคขนาดดินเหนียวที่มี ความจุแลกเปลย่ี นแคตไอออนประสทิ ธิผลไมเ่ กิน ๑๒ เซนตโิ มล ต่อกิโลกรัมของดินเหนียว หรือมีความจุแลกเปล่ียนแคตไอออน ท่ีพีเอช ๗ ไม่เกิน ๑๖ เซนติโมลต่อกิโลกรัมของดินเหนียว ส่วนใหญ่ประกอบด้วยเคโอลิไนต์ เหล็กออกไซด์ และ/หรือ อะลูมเิ นยี มออกไซด์ low alluvial terrace ตะพักตะกอนน�้ำพาระดบั ตำ่� ตะพกั ท่ีอยู่ถดั ข้นึ ไป จากท่ีราบน�้ำท่วมถึง มักมีสภาพพื้นที่เป็นท่ีราบถึงเกือบราบ อาจมนี ้�ำท่วมขงั ได้ในระยะเวลาสั้น ๆ ในชว่ งฤดฝู น [ดู alluvial terrace ประกอบ] lower plastic limit ขดี จ�ำกัดพลาสตกิ ลา่ ง ดู plastic limit low humic gley soils ดนิ โลฮวิ มกิ กลยี ์ กลมุ่ ดินหลักกลุ่มหนง่ึ ในระบบ การจ�ำแนกดินประจ�ำชาติของประเทศไทย เป็นดินท่ีเกิดจาก ตะกอนน้�ำพาเก่าบนพื้นท่ีตะพักล�ำน้�ำระดับต่�ำภายใต้สภาพ แอควิกในเขตนาข้าวน�้ำขัง เน้ือดินเป็นดินร่วนปนทรายถึง ดินเหนียวปนทราย มสี ีน้ำ� ตาลปนเทาถงึ สเี ทา การระบายนำ�้ เลว ชั้นดินล่างมีช้ันสะสมดินเหนียวและจุดประชัดเจน ปฏิกิริยาดิน เป็นกรดปานกลาง มีหน้าตัดดินแบบ Apg-A2g-Btg-Cg ชุดดิน ท่ีส�ำคัญของกลุ่มดินหลักนี้ คือ ชุดดินร้อยเอ็ด ชุดดินล�ำปาง ชุดดินเพ็ญ ชุดดินสระบุรี ชุดดินมโนรมย์ ชุดดินแกลง ชุดดิน เชยี งราย ชุดดินหลม่ เกา่ และชุดดนิ กนั ตงั lowland soil ดินท่ีลุ่ม ดินที่เกิดในสภาพพ้ืนท่ีราบต�่ำ ลักษณะส่วนใหญ่ มีจุดประและมีสีเทา ซ่ึงในช่วงหนึ่งของรอบปีมีน�้ำท่วมขังหรือ มีระดับน�ำ้ ใต้ดนิ อยู่ใกลผ้ วิ ดิน ปรกตใิ ชท้ �ำนา 119

luxury uptake luxury uptake การดูดซึมเกินพอ การดูดธาตุอาหารของพืชในปริมาณ ที่เกินความต้องการส�ำหรับการเจริญเติบโต ธาตุอาหารที่เกิน ความต้องการน้อี าจถูกน�ำไปใช้เพ่อื การเจรญิ เติบโตภายหลัง lysimeter ไลซิมเิ ตอร์ ๑. เครือ่ งมอื ที่ใช้วดั การสูญเสียน�้ำจากการซมึ ลงลึก และการชะละลายภายใต้สภาวะทกี่ �ำหนด ๒. เครื่องมอื ทใี่ ชว้ ัดปรมิ าณน�ำ้ ทีไ่ ดร้ บั และสญู เสียไปจากดิน L 120

magma M M macronutrient สารอาหารมหัพภาค กลุ่มธาตุอาหารจ�ำเป็นท่ีพืชตอ้ งการ ในปรมิ าณมากกวา่ ธาตอุ น่ื ๆ (มากกวา่ ๕๐๐ มลิ ลกิ รมั ตอ่ กโิ ลกรมั ของน�ำ้ หนกั แห้งของพชื ) แบง่ เป็น ธาตุอาหารหลกั (primary element) ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซยี ม ธาตุ อาหารรอง (secondary element) ไดแ้ ก่ แคลเซยี ม แมกนเี ซยี ม และก�ำมะถนั [มีความหมายเหมือนกับ major element] macropore ช่องขนาดใหญ่ ช่องในดินท่ีมีเส้นผ่านศูนย์กลางสมมูล ตั้งแต่ ๗๕ ไมโครเมตรขน้ึ ไป เป็นช่องที่มีการไหลและการเคล่ือน ยา้ ยของของไหลทเี่ ร็วและไกล made land ท่ีดินดัดแปลง พื้นที่ซ่ึงมีการถมและปรับหน้าดินโดยการ กระท�ำของมนุษย์ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เมืองหรือหมู่บ้าน ท่ดี ินดดั แปลงจดั เป็นหน่วยแผนที่ดนิ ประเภทพืน้ ที่เบ็ดเตล็ด maghemite แมกฮีไมต์ แร่เหล็กออกไซด์ชนิดหน่ึง มีสูตรเคมี Fe2O3 สีน้�ำตาลแดงเข้ม มีองค์ประกอบทางเคมีคล้ายฮีมาไทต์ แต่ โครงสรา้ งคลา้ ยแมกนไี ทต์ มกั พบในดนิ เขตรอ้ นทมี่ กี ารสลายตวั สงู และระบายนำ�้ ดี magma แมกมา สารเหลวร้อนทเ่ี กดิ ตามธรรมชาตอิ ยูภ่ ายในโลก เคล่ือนตัว ไปมาได้ในวงจ�ำกัด อาจมีของแข็ง เช่น ผลึก เศษหินแข็ง และ/หรือแก๊สรวมอยู่ด้วย หรือไม่มีเลย เม่ือแทรกดันข้ึนมา หรือพุพุ่งออกสู่ผิวโลกแล้วจะเย็นและแข็งตัวเกิดเป็นหินอัคนี [ดู igneous rock ประกอบ] 121

magnetite magnetite แมกนีไทต์ แรแ่ มเ่ หลก็ สีด�ำ มสี ูตรเคมี Fe3O4 เกิดแทรกอยใู่ น หินอคั นี มีสมบัติตดิ แม่เหลก็ และเปน็ แมเ่ หลก็ เปน็ สนิ แร่เหล็กท่ี ส�ำคัญ major element ธาตุอาหารมหพั ภาค ดู macronutrient mangan คราบแมงกานีส คราบวัตถุที่ประกอบด้วยแมงกานีสออกไซด์ หรือแมงกานีสไฮดรอกไซด์ [ดู cutan ประกอบ] manganese oxides แมงกานีสออกไซด์ กลุ่มออกไซด์ของแมงกานีส โดยทั่วไปมีสีด�ำและพบในลักษณะเป็นเม็ดในดินหรือเคลือบบน ผิวเม็ดดิน มักเกิดร่วมกับเหล็กออกไซด์ แมงกานีสออกไซด์ ทพี่ บบอ่ ยในดนิ ไดแ้ ก่ เบอรเ์ นสไซต์ (birnessite) และลทิ โิ อฟอไรต์ M manure ป๋ยุ คอก ปยุ๋ อินทรยี ท์ ีไ่ ด้จากมูลสัตวห์ รอื มูลสัตว์ผสมกบั เศษซากพชื รองคอกท่สี ดหรอื ก�ำลงั ย่อยสลาย marble หินอ่อน หินแปรชนิดหนึ่งซึ่งประกอบด้วยแคลไซต์ และ/หรือ โดโลไมต์ท่ีเกิดผลึกใหม่ มีขนาดละเอียดถึงหยาบ โดยปรกติ จะมีเน้ือผลึกสม�่ำเสมอ เม่ือสลายตัวจะให้ดินเน้ือละเอียด และมปี ฏกิ ิรยิ าดินเป็นเบส marl มาร์ล แคลเซียมคาร์บอเนตที่อ่อนและร่วน โดยปรกติจะผสม กับดินเหนียวหรือสารเจือปนอ่ืน ๆ ในปริมาณต่าง ๆ ที่พบ ในประเทศไทยส่วนใหญ่จะมีสมมูลแคลเซียมคาร์บอเนตร้อยละ ๔๕-๘๐ marsh ท่ีลุ่มช้ืนแฉะ พ้ืนท่ีดินที่มีน�้ำท่วมเป็นครั้งคราว หรือมีการระบาย นำ้� เลว ท�ำใหช้ นื้ แฉะ มหี ญา้ หรอื พชื จ�ำพวกไมพ้ มุ่ ลม้ ลกุ ขน้ึ ปกคลมุ มักมีการสะสมของพีตเล็กน้อย พบได้ทั้งในบริเวณน้�ำเค็ม น�้ำกรอ่ ย หรอื นำ้� จืด mass flow การไหลของมวล การเคลื่อนทีข่ องตวั ถกู ละลายหรอื ธาตุอาหาร พืชไปกับการเคล่ือนทข่ี องน้ำ� 122

meander M mass movement การเคลอื่ นทขี่ องมวล การเคลอื่ นยา้ ยของดนิ และเศษหนิ เป็นกลุ่มก้อนตามความลาดเทภายใต้แรงดึงดูดของโลก มีท้ัง การเคล่อื นทแ่ี บบช้า ๆ เชน่ การคืบของดิน การไหลของดิน และ การเคลื่อนทแ่ี บบรวดเรว็ เชน่ ดินถล่ม หินถลม่ กองเศษหินถลม่ mass wasting การสญู เสียของมวล การเคล่อื นทีข่ องดนิ หนิ และชั้นดิน ลงไปตามความลาดโดยอิทธิพลของแรงดึงดูดของโลก อาจมี การสูญเสียดินจากพื้นที่เดิม โดยกระบวนการท่ีเกิดข้ึนช้า ๆ เช่น ดินเล่อื น หรอื สญู เสียรวดเร็ว เช่น ดินถล่ม mass water content ความชื้นโดยมวล อัตราส่วนระหวา่ งมวลน้�ำในดนิ กบั มวลดินอบแห้งทอ่ี ณุ หภูมิ ๑๐๕ องศาเซลเซียส mass water percentage ร้อยละความชืน้ โดยมวล รอ้ ยละของมวลนำ้� ในดินตอ่ มวลดนิ อบแหง้ matric potential ศกั ยว์ สั ดพุ นื้ พลงั งานศกั ยข์ องนำ้� ในดนิ เนอื่ งจากอทิ ธพิ ล ของแรงดึงวสั ดพุ ื้นซง่ึ รวมแรงดูดซับของผวิ อนุภาคและแรงดึงน�้ำ ในชอ่ งระหวา่ งอนภุ าค แรงดึงของวัสดุพน้ื จะลดความเป็นอสิ ระ ของโมเลกุลน�ำ้ ท�ำให้ศักยว์ ัสดพุ น้ื มเี ครอ่ื งหมายเปน็ ลบ mature soil ดินเตม็ วัย ดนิ ท่ีมีการพัฒนาของช้ันดนิ ชัดเจน มีชนั้ ดินลา่ ง (ชั้นบี) เกิดจากกระบวนการสร้างตัวของดินตามธรรมชาติ และมลี ักษณะส�ำคัญที่สมดุลกบั สภาพแวดลอ้ มในเวลานั้น maximum contaminant level ระดบั การปนเป้อื นสูงสดุ ความเข้มข้น ของส่ิงปนเปื้อนสูงสุดที่ยอมรับได้ในส่ิงแวดล้อมที่ก�ำหนด โดยหน่วยงานควบคมุ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง meander ทางน้�ำโค้งตวัด ล�ำน้�ำที่โค้งไปโค้งมาแลดูคล้ายเส้นเชือกท่ีวาง ขดไว้เป็นหยัก ๆ เป็นลักษณะของล�ำน�้ำท่ีมักพบอยู่ในบริเวณที่ ธารน�้ำไหลผ่านไปในพ้ืนท่ีค่อนข้างราบ การกัดเซาะในทางลึก มีน้อยกว่าในทางข้าง กระแสน�้ำท่ีไหลมาปะทะตลิ่งด้านหนึ่ง จะค่อย ๆ กัดเซาะตล่ิงด้านนั้นให้พังทลายไปทีละน้อย ๆ 123

meander land ในขณะเดียวกันตลิ่งด้านท่ีอยู่ตรงข้ามจะเกิดการทับถมงอก ออกมา นาน ๆ เขา้ ทางนำ้� จงึ โคง้ มากขนึ้ บางครงั้ โคง้ ตวดั จนเกอื บ จะประชิดกัน ซึ่งถ้าหากประชิดกันมากกระแสน้�ำอาจเซาะตรง คอคอดให้ขาดเป็นล�ำน�้ำตัดตรงไป ส่วนท่ีโค้งอ้อมน้ันกลายเป็น บงึ โคง้ หรือทะเลสาบรปู แอก meander land ทด่ี ินทางนำ้� โคง้ ตวัด พ้นื ที่ดินตามแนวแมน่ ้�ำหรือล�ำธาร ที่พัฒนาข้ึนมาโดยการตัดของทางน้�ำ ท่ีดินทางน้�ำโค้งตวัด จดั เป็นหน่วยแผนทีด่ ินประเภทพืน้ ทเ่ี บด็ เตล็ด mechanical soil analysis การวิเคราะห์ดินเชิงกล การหาสัดส่วน ของกลุ่มขนาดอนภุ าคดนิ คือ ทราย ทรายแปง้ และดินเหนยี ว M เพื่อวินิจฉัยประเภทเนื้อดิน วิธีการหลักประกอบด้วยการแยก ขนาดอนุภาคโดยใช้ตะแกรงร่อนเพื่อแยกกลุ่มขนาดใหญ่กว่า ๐.๐๕ มิลลิเมตร และวิธีการตกตะกอนเพ่ือแยกกลุ่มอนุภาค ขนาดท่เี ลก็ กว่า ๐.๐๕ มลิ ลเิ มตร mechanical weathering การผุพังเชิงกล กระบวนการผุพังของหิน และแรท่ เ่ี กดิ จากกระบวนการทางฟสิ กิ ส์ เชน่ นำ้� กลายเปน็ นำ้� แขง็ การโตของผลึกเกลือ การดูดซับน�้ำ ส่งผลให้หินและแร่แตก ออกเปน็ ชน้ิ เลก็ ลง โดยไมม่ กี ารเปลย่ี นแปลงองคป์ ระกอบทางเคมี medium-scale map แผนที่มาตราส่วนกลาง แผนท่ีที่มีมาตราส่วน อยรู่ ะหว่าง ๑ : ๑,๐๐๐,๐๐๐ ถึง ๑ : ๑๐๐,๐๐๐ medium-textured soil ดินเน้ือปานกลาง กลุ่มเน้ือดินที่ประกอบด้วย ดินร่วนปนทรายละเอียดมาก ดินร่วน ดินร่วนปนทรายแป้ง และดนิ ทรายแปง้ mesa ภูเขายอดราบ ภูเขาที่ส่วนบนมีลักษณะแบนราบ โดยมีด้านหนึ่ง ของภูเขาหรือหลายดา้ นเปน็ ผาชนั เชน่ ภูกระดึง 124

microaerophile M mesic soil temperature regime ระบอบอุณหภูมิดินแบบเมซิก ชั้นอุณหภูมิดินซ่ึงมีค่าอุณหภูมิดินรายปีเฉลี่ยสูงกว่า ๘ องศา เซลเซยี ส แตต่ ำ่� กวา่ ๑๕ องศาเซลเซยี ส และความแตกตา่ งระหวา่ ง อุณหภูมิดินเฉลี่ยของฤดูร้อนกับฤดูหนาวมากกว่า ๖ องศา เซลเซียส [ดู soil temperature regimes ประกอบ] mesophile; mesophilic organism ส่ิงมีชีวิตชอบอุณหภูมิปานกลาง ส่ิงมีชีวิตที่เจริญเติบโตได้ดีที่อุณหภูมิระหว่าง ๑๕-๓๕ องศา เซลเซยี ส mesopore ช่องขนาดกลาง ช่องท่ีมีเส้นผ่านศูนย์กลางสมมูลระหว่าง ๓๐-๗๕ ไมโครเมตร เปน็ ชอ่ งทมี่ กี ารไหลของนำ้� และการเคลอ่ื นท่ี ของตวั ถูกละลาย metamorphic rock หินแปร หินท่ีเกิดจากกระบวนการแปรสภาพ ตามธรรมชาตทิ างฟสิ กิ ส์ เคมี หรอื ทางแรข่ องหนิ ดง้ั เดมิ โดยทว่ั ไป เกิดจากความร้อน และความดันภายในเปลือกโลก หินดั้งเดิม อาจเปน็ ได้ท้ังหินอัคนี หินตะกอน และหนิ แปร เช่น หนิ ดนิ ดาน แปรสภาพเปน็ หินชนวน หนิ ปนู แปรสภาพเปน็ หนิ ออ่ น mica ไมกา แรช่ นิดหนึ่งในกลุ่มอะลูมิโนซิลิเกต มีสตู รเคมี (K, Na, Ca) (Mg, Fe, Li, Al)2-3(OH, F)2[(Si, Al)4O10] มีลักษณะเป็นแผ่นบาง ๆ ซ้อนกนั เช่น ไบโอไทต์ เลพโิ ดไลต์ มัสโคไวต์ mica schist หินไมกาชีสต์ หินชสี ตท์ มี่ แี รไ่ มกาและควอตซ์เปน็ องคป์ ระกอบ ส�ำคัญ micorrhizosphere อาณาเขตไมคอรไ์ รซา ประชาคมจลุ นิ ทรีย์ทอี่ ยูร่ อบ ไมคอร์ไรซา microaerophile ส่งิ มชี ีวติ ชอบออกซเิ จนนอ้ ย, ไมโครแอโรไฟล์ สิ่งมีชวี ิต ที่เจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความเข้มข้นของออกซิเจนต่�ำ โดยทัว่ ไปนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๒๐ 125

microbial biomass microbial biomass มวลชีวภาพจุลินทรีย์ มวลของจุลินทรีย์ที่มีชีวิต ใน ๑ หน่วยปริมาตรหรือมวลของดินท่ีก�ำหนด หรือน้�ำหนัก ทงั้ หมดของจุลินทรียท์ ี่มีชีวติ ในสิ่งแวดล้อมที่ก�ำหนด microbial consortium กลุ่มจุลินทรีย์สัมพันธ์ กลุ่มจุลินทรีย์มากกว่า ๒ ชนิดที่เจริญร่วมกันในระบบนิเวศขนาดย่อม และท�ำงาน ประสานกันอย่างเปน็ ระบบ microbial population ประชากรจุลินทรีย์ จ�ำนวนจุลินทรีย์ท่ีมีชีวิต ใน ๑ หนว่ ยปรมิ าตรหรือมวลของดนิ ท่กี �ำหนด microbiological culture การเพาะเลยี้ งจลุ นิ ทรยี ์ การเพาะเลยี้ งจลุ นิ ทรยี ์ ในอาหารเลยี้ งเชอ้ื ทส่ี งั เคราะห์ขนึ้ M microclimate ภูมิอากาศจุลภาค สภาพภูมิอากาศในบริเวณเล็ก ๆ ซ่ึงแตกต่างจากพ้ืนท่ีโดยรอบ เช่น ภูมิอากาศจุลภาคบริเวณ ดอยอินทนนท์ เนื่องจากความแตกต่างของระดับความสูง ลม แสงแดด หรือปรากฏการณ์อนื่ ๆ ของทอ้ งถน่ิ microcline ไมโครไคลน์ โพแทสเซียมเฟลดส์ ปารท์ ่ีมีองค์ประกอบเหมือน กับออรโ์ ทเคลส แต่มรี ะบบผลึกแตกตา่ งกนั มีสูตรเคมี KAlSi3O8 microhabitat แหล่งที่อยู่ขนาดเล็ก กลุ่มของเม็ดดินเล็ก ๆ ซี่งมีสภาพ แวดล้อมเหมาะสมส�ำหรบั เป็นแหล่งท่อี ยู่อาศัยของจุลนิ ทรีย์ microirrigation การชลประทานแบบน�ำ้ นอ้ ย ดู drip irrigation; trickle irrigation micronutrient สารอาหารจุลภาค กลุ่มธาตุอาหารจ�ำเป็นที่พืชต้องการ ในปรมิ าณนอ้ ย (นอ้ ยกวา่ ๑๐๐ มลิ ลกิ รมั ตอ่ กโิ ลกรมั นำ้� หนกั แหง้ ของพืช) ได้แก่ โบรอน คลอรีน ทองแดง เหล็ก แมงกานีส โมลิบดนี มั นิกเกิล โคบอลต์ และสงั กะสี [มีความหมายเหมือน กับ trace element] 126

mineralization M micropore ช่องขนาดเลก็ ช่องในดนิ ท่มี ีเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางสมมูล ๕-๓๐ ไมครอน ซงึ่ นำ้� ไมส่ ามารถเคลอ่ื นทใ่ี นชอ่ งนไี้ ด้ แตพ่ ชื ดดู นำ�้ ไปใชไ้ ด้ เปน็ บางสว่ น และตวั ถูกละลาย เชน่ ธาตุอาหาร เคล่ือนยา้ ยได้ โดยการแพรเ่ ทา่ นนั้ [ดู diffusion และ pore-size classification ประกอบ] microrelief พนื้ ทส่ี งู ตำ�่ ขนาดเลก็ ๑. พนื้ ผวิ แผน่ ดนิ มบี รเิ วณไมก่ วา้ งมากนกั มลี กั ษณะสงู ๆ ตำ�่ ๆ เพยี งเลก็ นอ้ ย เชน่ มเี นนิ ดนิ เตย้ี ๆ แอง่ ตำ�่ ๆ หรือหลุมตื้น ๆ ซ่ึงอยู่ในภูมิลักษณ์ที่มีขนาดใหญ่กว่า [ดู gilgai ประกอบ] ๒. พื้นผิวแผ่นดินที่มีความสูงแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย และมี ขนาดเล็กเกินไปที่จะเขียนขอบเขตไว้บนแผนท่ีภูมิประเทศ หรอื แผนทดี่ นิ ทใ่ี ชก้ นั ทว่ั ไป เชน่ ในมาตราสว่ นขนาด ๑ : ๒๔,๐๐๐ และ ๑ : ๑๕,๘๔๐ middle alluvial terrace ตะพักตะกอนน้ําพาระดับกลาง ตะพักที่อยู่ ตอนกลางระหว่างตะพักตะกอนน�้ำพาระดับต�่ำกับตะพักตะกอน น�้ำพาระดับสูง ส่วนใหญ่มีสภาพพ้ืนที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดถึง ลอนชนั [ดู alluvial terrace ประกอบ] mineral แร่ ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มีโครงสร้างภายในที่เป็นระเบียบ มีสูตรเคมีและสมบัติอื่น ๆ ทแ่ี น่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้ในวงจ�ำกดั mineral fertilizer ป๋ยุ แร่ ปุ๋ยทีม่ ีองคป์ ระกอบเปน็ สารอนินทรยี ์ แบง่ เปน็ ๒ ชนิด คือ ปุ๋ยแร่ธรรมชาติซึ่งเป็นสารอนินทรีย์ท่ีเกิดขึ้น ตามธรรมชาติ เช่น หินฟอสเฟตบด แรซ่ ิลไวต์ (ปุ๋ยโพแทสเซียม) และปุ๋ยแร่สังเคราะห์ซึ่งเป็นสารอนินทรีย์ที่สังเคราะห์ข้ึน เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต ทรปิ เปิลซเู ปอรฟ์ อสเฟต mineralization มเิ นอรลั ไลเซชัน การเปลย่ี นรปู ของธาตใุ ด ๆ จากอนิ ทรีย์ เปน็ อนนิ ทรีย์ โดยกิจกรรมของจลุ ินทรีย์ในดนิ 127

mineralogical analysis mineralogical analysis การวเิ คราะหเ์ ชงิ แร่ การวเิ คราะหช์ นดิ และ/หรอื ปรมิ าณของแร่ทมี่ ีอยู่ในดินหรือหิน mineral soil ดินอนินทรีย์, ดินแร่ ดินท่ีประกอบด้วยอนินทรียวัตถุ ในปริมาณมาก มีค่าคาร์บอนอินทรีย์น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ โดย น้�ำหนัก (ถ้าดินอิ่มตัวด้วยน้�ำจะต้องมีคาร์บอนอินทรีย์น้อยกว่า ร้อยละ ๑๘ โดยน�้ำหนัก ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับปริมาณของดินเหนียว) แตอ่ าจจะมชี ้นั อนิ ทรียท์ ผี่ ิวดินหนาได้ถึง ๓๐ เซนตเิ มตร minimum tillage การไถพรวนน้อยที่สดุ การเตรียมดินโดยการไถพรวน เท่าที่จ�ำเป็นเพื่อการปลูกพืช โดยไถพรวนน้อยกว่าการไถพรวน แบบปรกติ M minor element ธาตุอาหารจุลภาค ธาตุอาหารท่ีมีความส�ำคัญและ จ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชแต่พืชต้องการปริมาณน้อย โดยปรกติความเข้มข้นน้อยกว่า ๑๐๐ มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม น�้ำหนักแห้งของพืช ได้แก่ เหล็ก แมงกานีส สังกะสี ทองแดง โบรอน โมลิบดีนมั คลอรีน นิกเกิล และโคบอลต์ miscellaneous area พ้ืนที่เบ็ดเตล็ด หน่วยแผนท่ีดินที่แสดงลักษณะ ของทดี่ นิ ซง่ึ มดี นิ นอ้ ยหรอื ไมม่ ดี นิ มกั มพี ชื พรรณนอ้ ยหรอื ไมม่ เี ลย เป็นพื้นที่มีศักยภาพต่�ำในการใช้ประโยชน์ทางการเกษตร เช่น หาด ที่ดินเหมืองร้าง ที่ดินหินโผล่ [ดู component soil และ soil mapping unit ประกอบ] mist irrigation การชลประทานแบบพ่นหมอก การให้น�้ำผ่านหัวปล่อย เปน็ ละออง มกั ใชก้ บั โรงเรอื นเพาะเมลด็ โรงเรอื นเพาะช�ำ โรงเรอื น เล้ยี งกลว้ ยไม้ หรอื พชื อ่ืนที่ตอ้ งการความชนื้ สัมพทั ธใ์ นอากาศสงู mixed fertilizer ปุ๋ยเชิงผสม ปุ๋ยท่ีได้จากการผสมปุ๋ยเคมีตั้งแต่ ๒ ชนดิ ข้นึ ไป โดยการผสมแบบคลกุ เคลา้ หรอื ผสมแล้วปัน้ เมด็ 128

Mohs’ scale M ตามพระราชบญั ญตั ิป๋ยุ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ปยุ๋ เชิงผสม หมายถงึ ปยุ๋ เคมที ไี่ ดจ้ ากการผสมปยุ๋ เคมชี นดิ หรอื ประเภทตา่ ง ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้ธาตอุ าหารตามต้องการ moder ขยุ พืช ประเภทของฮิวมัสในบรเิ วณพน้ื ที่ปา่ ไม้ ซ่งึ เปน็ ชว่ งเปลย่ี น ระหวา่ งซากพชื ผกุ บั ขยุ อนิ ทรยี ์ มอี ตั ราสว่ นคารบ์ อนตอ่ ไนโตรเจน ๑๕-๒๕ ค�ำนี้ส่วนใหญ่ใช้ในยุโรป ส่วนในสหรัฐอเมริกาและ แคนาดาใช้ ขยุ อินทรยี ด์ ฟั ฟ์ (duff mull) [ดู duff mull, mor และ mull ประกอบ] moderately coarse textured soil ดนิ เนอ้ื ค่อนข้างหยาบ กลุม่ เนื้อดิน ท่ีประกอบด้วยดินร่วนปนทรายหยาบ ดินร่วนปนทราย และ ดินร่วนปนทรายละเอียด [ดู soil texture ประกอบ] moderately fine textured soil ดนิ เนือ้ คอ่ นข้างละเอียด กลุ่มเนอ้ื ดนิ ที่ประกอบด้วยดินร่วนเหนียว ดินร่วนเหนยี วปนทราย และดิน รว่ นเหนียวปนทรายแป้ง [ดู soil texture ประกอบ] moderately well drained soil ดินระบายน้�ำดีปานกลาง ดินท่ีน�้ำ ไหลซมึ ออกจากดินค่อนขา้ งช้าในบางชว่ งของปี ชว่ งฤดฝู นระดับ น้�ำใต้ดินอยู่เหนือความลึก ๑ เมตร พบจุดประในช่วงความลึก ๕๐-๑๐๐ เซนติเมตรจากผิวดิน พบในบริเวณท่ีดอนลักษณะ ทเ่ี ป็นลูกคลนื่ ลอนลาด Mohs’ scale มาตราโมส์ มาตราความแข็งของแร่ตามท่ีนักวิทยาแร่ ชาวเยอรมันช่ือฟรีดริช โมส์ (Friedrich Mohs) ก�ำหนดขึ้น ประกอบดว้ ยแรม่ าตรฐาน ๑๐ ชนดิ เรยี งล�ำดบั ตงั้ แตแ่ รท่ ที่ นทาน ตอ่ การขดู ขีดนอ้ ยทีส่ ดุ ถงึ มากท่ีสุด คอื ทัลก ์ คา่ ความแขง็ ๑ ยิปซัม คา่ ความแข็ง ๒ แคลไซต ์ ค่าความแขง็ ๓ ฟลอู อไรต ์ คา่ ความแขง็ ๔ 129

moisture equivalent อะพาไทต์ ค่าความแขง็ ๕ ออรโ์ ทเคลส คา่ ความแข็ง ๖ ควอตซ์ ค่าความแขง็ ๗ โทแพซ ค่าความแขง็ ๘ คอรันดัม คา่ ความแข็ง ๙ เพชร ค่าความแข็ง ๑๐ moisture equivalent สมมลู ความชน้ื รอ้ ยละของนำ้� ทเี่ หลอื อยใู่ นตวั อยา่ ง ดนิ ทอี่ ม่ิ ตวั ดว้ ยนำ�้ หนา ๑ เซนตเิ มตร ภายหลงั การเหวย่ี งดว้ ยแรง ๑,๐๐๐ เท่าของแรงโนม้ ถว่ งเปน็ เวลา ๓๐ นาที moisture release curve; water release curve เส้นโค้งปลดปล่อย M ความชื้น กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระดับความชื้น ของดินกับศักยว์ ัสดุพ้นื ไดจ้ ากการใช้แรงขนาดตา่ ง ๆ ขบั นำ้� ออก จากดินซ่ึงเดิมอ่ิมตัวด้วยน�้ำจนถึงสมดุล แล้วตรวจวัดระดับ ความช้ืนที่สัมพันธ์กับแรงขับน้ัน ๆ [ดู hysteresis; swelling hysteresis, moisture retention curve; water retention curve และ soil moisture characteristic; soil water characteristic ประกอบ] moisture retention curve; water retention curve เสน้ โคง้ ดูดยึด ความชนื้ กราฟแสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งระดบั ความชนื้ ของดนิ กับศักย์วัสดุพื้น ได้จากการใช้แรงขนาดต่างๆ ที่ท�ำให้ดินแห้ง ดดู น้ำ� เข้าไปจนสจู่ ดุ สมดลุ [ดู hysteresis; swelling hysteresis และ moisture release curve; water release curve ประกอบ] moisture stress; water stress สภาวะขาดน้�ำ สภาวะซึ่งน�้ำในดิน มีไม่เพียงพอ ท�ำให้อตั ราการปลดปลอ่ ยนำ้� ใหแ้ กพ่ ืชต่�ำกวา่ อตั รา การใชน้ ำ้� ของพชื มีผลท�ำให้พชื เหีย่ วเน่ืองจากการขาดนำ้� 130

Mollisols M moldboard plough; moldboard plow ไถหัวหมู เคร่ืองมือไถดิน ประเภทหนึ่ง ใช้ไถพลิกดินคร้ังแรกเพ่ือย่อยดิน เพิ่มความลึก ของหน้าดนิ ก�ำจัดวชั พืช และตากดินเพื่อฆา่ เชอ้ื โรคและศตั รูพืช ในดนิ mollic epipedon ชน้ั ดนิ วนิ จิ ฉยั มอลลกิ ชน้ั ดนิ บนวนิ จิ ฉยั ในระบบอนกุ รม วธิ านดิน เปน็ ชน้ั ดินแร่ มสี ีเขม้ ค่อนข้างหนา มคี ารบ์ อนอนิ ทรยี ์ เปน็ องคป์ ระกอบอยอู่ ยา่ งนอ้ ย ๖.๐ กรมั ตอ่ กโิ ลกรมั เนอ้ื ดนิ ไมแ่ ขง็ หรือไม่แข็งมากเม่ือแห้ง ความอ่ิมตัวเบสมีค่าอย่างน้อยร้อยละ ๕๐ (วิเคราะห์โดยแอมโมเนียมแอซีเทต พีเอช ๗) มีปริมาณ ฟอสเฟตทลี่ ะลายไดใ้ นกรดซทิ ริกเขม้ ขน้ ๐.๐๕ โมลาร์ นอ้ ยกว่า ๑,๕๐๐ มิลลกิ รมั ตอ่ กิโลกรมั Mollisols มอลลซิ อลส์ อนั ดบั ดนิ อนั ดบั หนงึ่ ในการจ�ำแนกตามระบบอนกุ รม วธิ านดิน เป็นดนิ แร่ทมี่ ชี ั้นดนิ วนิ ิจฉัยมอลลิกอยูบ่ นชั้นวสั ดุดินแร่ และมีค่าความอิ่มตัวเบสตงั้ แตร่ อ้ ยละ ๕๐ ขึ้นไปโดยสารละลาย แอมโมเนียมแอซีเทต พีเอช ๗.๐ ในทกุ ช้นั ระหวา่ งขอบเขตตอน บนของชน้ั ดนิ วนิ จิ ฉยั อารจ์ ลิ ลกิ ชน้ั ดนิ วนิ จิ ฉยั แคนดกิ หรอื ชนั้ ดนิ วินิจฉัยนาทริก กับท่ีความลึก ๑๒๕ เซนติเมตร หรือระหว่าง ผวิ ดินแรก่ ับความลกึ ๑๘๐ เซนติเมตร หรือระหวา่ งผวิ ดินแรก่ บั แนวสมั ผสั ดนิ แนน่ แนวสมั ผสั หนิ แขง็ หรอื แนวสมั ผสั หนิ เนอ้ื ออ่ น แลว้ แต่วา่ ระดับไหนจะตืน้ ที่สดุ ตามระบบอนกุ รมวธิ านดนิ พ.ศ. ๒๕๕๗ (ค.ศ. ๒๐๑๔) อนั ดบั ดินอินมอลลิซอลส์จําแนกเป็นอันดับย่อย ดังน้ี แอลบอลส์ (Albolls) แอควอลส์ (Aquolls) เรนดอลส์ (Rendolls) เจลอลส์ (Gelolls) ไครออลส์ (Cryolls) เซอรอลส์ (Xerolls) อสั ทอลส์ (Ustolls) และ ยูดอลส์ (Udolls) โดยอันดับย่อยที่พบใน ประเทศไทย ได้แก่ แอควอลส์ ยดู อลส์ และอัสทอลส์ [ดู mollic epipedon ประกอบ] 131

monadnock monadnock เขาโดด เขาทตี่ ง้ั อยโู่ ดด ๆ บนทร่ี าบหรอื เกือบราบ เปน็ ผล จากแผ่นดินถูกกร่อนเป็นเวลายาวนาน หรือเกิดจากการยกตัว ทางธรณี เกิดเป็นลักษณะเขาโดด montmorillonite มอนต์มอริลโลไนต์ แรด่ ินเหนยี วอะลูมโิ นซลิ ิเกตชนิด ๒ : ๑ ประกอบด้วยชั้นซิลกิ า ๒ ช้ัน และมีชน้ั อะลูมินา ๑ ช้นั แทรกอยู่ตรงกลาง มีสูตรเคมี Ca0.25Si4(Al1.5Mg0.5)O10(OH)2 เป็นแร่ที่จัดอยู่ในกลุ่มสเมกไทต์ แร่ดินเหนียวชนิดนี้มีการขยาย ตวั สูงเมอ่ื เปียก และหดตัวมากเม่อื แห้ง mor ซากพชื ผุ ประเภทของฮวิ มสั บนผวิ ดนิ ในบรเิ วณพน้ื ทปี่ า่ ไมซ้ งึ่ มกี ารสะสม อินทรียวัตถุในสภาพท่ีสลายตัวเพียงเล็กน้อย และมักเป็นกรด M มีอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนมากกว่า ๒๕ โดยมีราเป็น ตัวการส�ำคัญในการย่อยสลาย ขอบเขตระหว่างชั้นอินทรีย์ กับชั้นดินอนินทรีย์ท่ีอยู่ข้างล่างถัดไปแตกต่างกันอย่างชัดเจน [ดู moder และ mull ประกอบ] moraine กองตะกอนธารนำ�้ แขง็ เนนิ หรอื สนั ของตะกอนธารนำ้� แขง็ ไมแ่ สดงชนั้ ซึง่ เป็นตะกอนท่ตี กสะสมตวั จากธารนำ�้ แขง็ โดยตรง most probable number จ�ำนวนน่าจะเป็นมากท่ีสุด เทคนิคทาง จุลชีววิทยาในการประเมินจ�ำนวนจุลินทรีย์โดยอาศัยหลัก ความเป็นไปไดท้ างสถิติ mottle จุดประ จุดสขี องดินทีเ่ กดิ ขึน้ กระจายอยู่ในชั้นหนา้ ตัดดนิ พบในดนิ ทมี่ สี ภาพการระบายนำ�้ เลว คอ่ นขา้ งเลว หรอื ดปี านกลาง มนี ำ้� แช่ ขงั ในชนั้ ดนิ เปน็ เวลานานในรอบปี ท�ำใหม้ อี อกซเิ ดชนั และรดี กั ชนั ของสารจ�ำพวกเหล็กและแมงกานีสเกิดเป็นจุดประแทรกอยู่ ในสีพ้ืนของดิน ชั้นดินท่ีมีจุดประต้องมีสีแตกต่างอย่างน้อย ๑ หนว่ ยของค่าสี และ/หรือค่ารงค์จากสีพืน้ หรือสีส่วนใหญ่ 132