Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมศัพท์ปฐพีศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา

พจนานุกรมศัพท์ปฐพีศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา

Description: พจนานุกรมศัพท์ปฐพีศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา.

Search

Read the Text Version

cation exchange capacity (CEC) C cartography วชิ าการท�ำแผนที่ วชิ าการทนี่ �ำความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ เทคนคิ และศิลปะมาผสมผสานกัน เพือ่ ชว่ ยในการท�ำแผนท่ี catabolism แคแทบอลซิ มึ การเปลยี่ นแปลงทางเคมที ด่ี �ำเนนิ ไปในสงิ่ มชี วี ติ ท�ำให้สารเชิงซ้อนแตกสลายไปเป็นสารท่ีมีโมเลกุลเล็กลง และใหพ้ ลงั งาน catchment; drainage area; drainage basin; watershed ลุ่มน้�ำ ดู drainage area; catchment; drainage basin; watershed cat clay แคตเคลย์ ดนิ เหนยี วทมี่ ีการระบายน�้ำเลว ส่วนใหญพ่ บในบรเิ วณ ที่มีการทับถมของตะกอนน้�ำกร่อยหรือตะกอนทะเล พบสาร ประกอบเหล็กซัลไฟด์ (แร่ไพไรต์ : FeS2) ปะปนอยู่ในเน้ือดิน ในปริมาณสูง เมื่อมีการระบายน�้ำออก จะมีสภาพเป็นกรดจัด เน่ืองจากกระบวนการเติมออกซิเจนเปลี่ยนสารประกอบเหล็ก ซัลไฟดเ์ ปน็ สารจาโรไซต์ [KFe3(SO4)2(OH)6] และกรดก�ำมะถัน (H2SO4) catena แคทนี า ล�ำดับของดินที่มอี ายใุ กลเ้ คยี งกัน เกิดจากวตั ถุต้นก�ำเนดิ ดิน ที่เหมือนกันภายใต้สภาพภูมิอากาศท่ีคล้ายคลึงกัน แต่ดิน มีลักษณะแตกต่างกันเนื่องจากความต่างระดับของพื้นที่ และสภาพการระบายน้�ำ cation แคตไอออน อะตอมหรือกลุ่มอะตอมทีแ่ สดงประจุเป็นบวกเน่อื งจาก การสูญเสียอเิ ลก็ ตรอน cation exchange การแลกเปลี่ยนแคตไอออน กระบวนการแลกเปล่ียน ระหว่างแคตไอออนชนิดหนึ่งซึ่งดูดยึดอยู่ที่ผิวคอลลอยด์กับ แคตไอออนอกี ชนิดหน่ึงในสารละลายดิน cation exchange capacity (CEC) ความจแุ ลกเปลย่ี นแคตไอออน (ซอี ซี )ี ผลรวมของแคตไอออนทแ่ี ลกเปลีย่ นไดข้ องดนิ ซึ่งเป็นค่าทีแ่ สดง ถเซึงนคตวโิามมลสขาอมงาปรรถะใจนตุ ก่อากรโิดลูดกซรับมั แ(คcmตไoอlอckอgน-1ข)อขงอดงินดนิ มีหน่วยเป็น 33

CEC (cation exchange capacity) CEC (cation exchange capacity) ซอี ซี ี (ความจแุ ลกเปลยี่ นแคตไอออน) ดู cation exchange capacity (CEC) C cementing agent สารเช่ือม สารซ่งึ ท�ำหนา้ ทเ่ี ช่อื มยึดอนภุ าคขนาดตา่ ง ๆ ให้ติดกัน เช่น ฮิวมัส แคลเซียมคาร์บอเนต ออกไซด์ของเหล็ก อะลมู เิ นยี ม ซิลคิ อน cfu (colony forming unit) ซเี อฟยู (หนว่ ยนบั โคโลน)ี ดู colony forming unit (cfu) chelate คีเลต สารเคมีอินทรีย์ที่สามารถท�ำปฏิกิริยากับโลหะเกิด เปน็ สารประกอบซงึ่ มโี ครงสรา้ งเปน็ วงแหวน เมอ่ื ใสส่ ารประกอบ คีเลตสังเคราะห์ลงไปในดินจะช่วยเพิ่มการละลายของธาตุโลหะ บางชนิด chemical fertilizer ปยุ๋ เคมี ปยุ๋ ท่ีมีองค์ประกอบเป็นสารประกอบทางเคมี ซึ่งมีธาตุอาหารทจี่ �ำเปน็ ส�ำหรบั การเจริญเตบิ โตของพชื ผลติ โดย กระบวนการทางอตุ สาหกรรม ตามพระราชบัญญัติปุ๋ย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ปุ๋ยเคมี หมายถงึ ปยุ๋ ทไ่ี ดจ้ ากสารอนนิ ทรยี ห์ รอื อนิ ทรยี สงั เคราะห์ รวมถงึ ปุย๋ เชิงเด่ียว ปยุ๋ เชิงผสม ปุ๋ยเชงิ ประกอบ และปุ๋ยอนิ ทรยี ์เคมี แต่ ไม่รวมถึง (๑) ปนู ขาว ดนิ มารล์ ปูนปลาสเตอร์ ยิปซมั โดโลไมต์ หรือสารอื่นที่รัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๒) สารอนินทรีย์หรืออินทรีย์ไม่ว่าจะเกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือ ทาํ ขนึ้ กต็ ามทม่ี งุ่ หมายสาํ หรบั ใชใ้ นการอตุ สาหกรรมหรอื กจิ การอน่ื ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกจิ จานุเบกษา chemical oxygen demand (COD) ความตอ้ งการออกซิเจนทางเคมี (ซีโอดี) ปริมาณออกซิเจนท่ีใช้ในการออกซิไดส์สารอนินทรีย์ และสารอนิ ทรยี ท์ มี่ อี ยใู่ นนำ้� หรอื นำ้� ทง้ิ ใชเ้ ปน็ คา่ บง่ ชภ้ี าวะมลพษิ ของน้�ำและน�้ำทิ้งเช่นเดียวกับค่าความต้องการออกซิเจนทาง ชีวเคมี (บีโอดี) 34

Chernozem C chemical weathering การผุพังทางเคมี กระบวนการผุพังของหิน และแร่ที่เกิดจากการท�ำปฏิกิริยากับน�้ำหรือองค์ประกอบอื่น ๆ ในสารละลายดิน หรือเกิดจากการเปล่ียนแปลงค่าศักย์รีดอกซ์ ท�ำให้เกิดการสลายตัวหรือเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมี ของหินและแร่ chemigation การให้สารเคมีพร้อมชลประทาน การให้สารเคมีทางการ เกษตรพรอ้ มการใหน้ ำ�้ แกพ่ ชื เพอื่ ควบคมุ ศตั รพู ชื และปรบั ปรงุ ดนิ chemolithotroph เคโมลโิ ทโทรฟ สง่ิ มชี วี ติ ทส่ี ามารถใชแ้ กส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ หรือคาร์บอเนตเป็นแหล่งของคาร์บอนส�ำหรับชีวสังเคราะห์ (biosynthesis) ของเซลล์ และไดร้ บั พลงั งานจากการออกซเิ ดชนั ของสารประกอบอนนิ ทรยี ห์ รอื อนิ ทรยี ์ [มคี วามหมายเหมอื นกบั chemotroph] chemoorganotroph เคโมออรก์ าโนโทรฟ สงิ่ มชี วี ติ ทส่ี ามารถใชส้ ารอนิ ทรยี ์ เป็นแหล่งของพลังงานและคาร์บอนส�ำหรับการสังเคราะห์เซลล์ [มคี วามหมายเหมือนกับ heterotroph และ organotroph] chemostat เคโมสแทต เครื่องมือที่ใช้ส�ำหรับการเล้ียงเชื้อจุลินทรีย์อย่าง ต่อเนื่อง โดยใช้ความเข้มข้นของสารอาหารที่เข้าสู่ระบบ เปน็ ตวั ควบคมุ อตั ราการเจรญิ และจ�ำนวนประชากรของจลุ นิ ทรยี ์ chemotaxis เคโมแทกซิส การเคลอ่ื นที่ของสงิ่ มีชีวติ เนือ่ งจากส่ิงเร้าทเ่ี ป็น สารเคมี อาจเคลือ่ นที่เข้าหาหรือออกจากสารเคมีก็ได้ ข้นึ อยกู่ บั ความเข้มขน้ ของสารเคมนี น้ั chemotroph เคโมโทรฟ ดู chemolithotroph Chernozem เชอรโ์ นเซม กลมุ่ ดนิ หลกั กลมุ่ หนงึ่ ในอนั ดบั ดนิ โซนลั ของระบบ การจ�ำแนกดินของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา พ.ศ. ๒๔๘๑ (ค.ศ. ๑๙๓๘) เป็นดินที่เกิดในเขตทุ่งหญ้าแพรรี (prairie grassland) ภายใตส้ ภาพภมู อิ ากาศอบอนุ่ ค่อนขา้ งชุ่มช้ืน ช้ันดิน 35

chert บนมคี วามหนามาก สดี �ำหรอื สคี ลำ้� ด�ำ โครงสรา้ งเมด็ ดนิ แบบกอ้ น กลมพรนุ มปี รมิ าณอนิ ทรยี วตั ถแุ ละแคลเซยี มทแ่ี ลกเปลย่ี นไดส้ งู C อยู่บนช้ันดินเปล่ียนแปลงสีจางและช้ันดินล่างสะสมแคลเซียม คาร์บอเนต chert เชริ ์ต หนิ ตะกอนเน้ือแนน่ แข็ง เหนียว ผวิ ดา้ นถงึ วาวเกอื บคล้ายแกว้ มีรอยแตกแบบก้นหอยหรือคล้ายเส้ียนไม้ มีสีต่าง ๆ ถ้าสีเข้ม เรียกว่า หินเหล็กไฟ (flint) สีแดงเรียกว่า แจสเปอร์ (jasper) สีแดงคล้ายดินเผาเรียกว่า หินพอร์เซลลาไนต์ (porcellanite) ถา้ มีลกั ษณะดา้ น สีเขียวเรยี กวา่ เพรส (prase) chisel plough ไถสว่ิ เครอื่ งมอื ไถทเี่ ปดิ หนา้ ดนิ ใหเ้ ปน็ รอ่ งลกึ กวา่ การไถปรกติ chlorite คลอไรต์ กลุ่มแร่ซิลิเกตท่ีมีโครงสร้างแบบแผ่นประเภท ๒ : ๑ ซ่ึงระหว่างช้ันมีโลหะประจุบวกเกาะยึดกับไฮดรอกไซด์ของ แผ่นออกตะฮีดรอน มีทั้งชนิดที่เป็นไทรออกตะฮีดรอน และ ไดออกตะฮดี รอน C horizon ชั้นซี ช้ันดินหลกั ซงึ่ ได้รบั อิทธพิ ลจากกระบวนการทางดินเพียง เลก็ นอ้ ย และขาดสมบตั ิของการเปน็ ช้นั โอ ช้นั เอ ช้ันอี และชน้ั บี รวมถึงชั้นตะกอนต่าง ๆ หินผุ หินที่เกาะตัวกันหลวม ๆ หรือ ช้ันดินชึ่งมีการสะสมสารท่ีอยู่ในสภาพท่ีแข็งตัว ปรกติถือว่าเป็น ชน้ั วัตถตุ น้ ก�ำเนิดดิน แตอ่ งคป์ ระกอบของช้นั ซี อาจเหมือนหรอื ไมเ่ หมอื นกับช้ันเอ ช้ันอี หรือชัน้ บี [ดู soil horizon ประกอบ] chroma ค่ารงค์ ความบริสุทธิ์ ความเข้ม หรือความอิ่มตัวสัมพัทธ์ของสี [ดู Munsell color system ประกอบ] chronosequence ล�ำดบั กาล ดูค�ำอธิบายใน soil sequence cinder กรวดแก้วภูเขาไฟ มูลภูเขาไฟเนื้อแก้วชนิดเบส มีสีคล้�ำและ เปน็ รพู รนุ สว่ นใหญม่ ีขนาดระหว่าง ๔-๓๒ มลิ ลิเมตร 36

clay loam C cinder land ทด่ี นิ กรวดแกว้ ภเู ขาไฟ พนื้ ทซ่ี ง่ึ เกดิ จากการทบั ถมดว้ ยตะกอน ภูเขาไฟ ประกอบดว้ ยตะกอนภูเขาไฟชนิดต่าง ๆ ทดี่ นิ กรวดแก้ว ภูเขาไฟจดั เป็นหน่วยแผนทีด่ ินประเภทพน้ื ทเ่ี บด็ เตล็ด cirque เซิร์ก ลักษณะภูมิประเทศบนไหล่เขาชันที่เป็นรูปอัฒจันทร์โค้ง เกดิ จากการกดั เซาะของธารนำ้� แขง็ มักมที ะเลสาบเล็ก ๆ อยดู่ ว้ ย [ดู glacier ประกอบ] clastic rock หินเน้ือประสม ๑. หินตะกอนที่มีส่วนประกอบหลักเป็น เศษแตกหักที่ได้มาจากหินเดิม หรือจากการผุพังทางเคมีท่ี อยู่ในรูปของแข็ง และได้ถูกน�ำพามายังแอ่งสะสมตัวโดย กระบวนการทางกายภาพ ตัวอยา่ งของหินชนิดนี้ เช่น หินทราย หนิ กรวดมน หนิ ดนิ ดาน หรอื หินปูนทีป่ ระกอบด้วยอนุภาคจาก หินปนู ท่ีมอี ยเู่ ดิม ๒. หินท่ีได้จากการสะสมของเศษช้นิ ภูเขาไฟ ๓. หนิ ท่ไี ดจ้ ากซากสง่ิ มีชีวิตหรือการกระท�ำของสง่ิ มชี ีวติ clay ๑. อนุภาคดนิ เหนยี ว ดคู �ำอธบิ ายใน soil separate ๒. ดินเหนยี ว ดูค�ำอธิบายใน soil texture ๓. แรด่ ินเหนยี ว ดู clay mineral clay coating; argillan; clay film; clay flow; clay skin; illuviation cutan คราบดินเหนียว ดู argillan; clay coating; clay film; clay flow; clay skin; illuviation cutan clayey soils กลุ่มดินเหนียว กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเนื้อละเอียด [ดู fine textured soil ประกอบ] clay film; argillan; clay coating; clay flow; clay skin; illuviation cutan คราบดินเหนยี ว ดู argillan; clay coating; clay film; clay flow; clay skin; illuviation cutan clay loam ดินรว่ นเหนียว ดคู �ำอธิบายใน soil texture 37

clay mineral clay mineral แร่ดินเหนียว แร่กลุ่มฟิลโลซิลิเกต มีโครงสร้างเป็นแผ่น ประกอบด้วยแผ่นซิลิกา และแผ่นอะลูมินาซ้อนกันแบบ ๑ : ๑ C หรอื ๒ : ๑ มีท้งั ชนิดขยายตัวได้และขยายตวั ไม่ได้ ทพี่ บท่วั ไปคอื เคโอลิไนต์ อิลไลต์ สเมกไทต์ และเวอรม์ ิคิวไลต์ [มีความหมาย เหมือนกบั clay ๓] clay mineralogy วิทยาแร่ดินเหนียว วิชาท่ีศึกษาเก่ียวกับแร่ดินเหนียว [ดู clay mineral ประกอบ] claypan ชนั้ ดานดนิ เหนยี ว ชน้ั ดนิ ทแ่ี นน่ ทบึ ในชน้ั ดนิ ลา่ ง เกดิ จากการเคลอื่ น ย้ายของอนุภาคดินเหนียวจากดินช้ันบนลงไปสะสมอยู่เกิดเป็น ชั้นดาน จะแขง็ เมือ่ แห้งและเหนยี วเม่ือเปยี ก ชนั้ ดินนีน้ ำ�้ ซมึ ผ่าน ไดช้ ้า clay skin; argillan; clay coating; clay film; clay flow; illuviation cutan คราบดนิ เหนียว ดู argillan; clay coating; clay film; clay flow; clay skin; illuviation cutan climosequence ล�ำดบั ภมู อิ ากาศ ดูค�ำอธิบายใน soil sequence clinosequence ล�ำดบั ความเอียง ดูค�ำอธบิ ายใน soil sequence C/N ratio (carbon-nitrogen ratio) ซี/เอน็ เรโช (อตั ราสว่ นคารบ์ อน- ไนโตรเจน) ดู carbon-nitrogen ratio (C/N ratio) coalescing fan เนินตะกอนน้�ำพารูปพัดต่อเน่ือง เนินตะกอนน้�ำพา รปู พัดหลาย ๆ เนนิ ทีอ่ ยูต่ ดิ ต่อกนั [ดู alluvial fan ประกอบ] coarse sand ๑. อนุภาคทรายหยาบ ดูค�ำอธิบายใน soil separate ๒. ดินทรายหยาบ ดคู �ำอธบิ ายใน soil texture coarse sandy loam ดินรว่ นปนทรายหยาบ ดูค�ำอธบิ ายใน soil texture coarse textured soil ดนิ เนอื้ หยาบ กลุ่มเนื้อดนิ ทีป่ ระกอบด้วยดินทราย และดินทรายปนดินร่วน [ดู soil texture ประกอบ] coastal plain ท่ีราบชายฝั่ง พื้นท่ีราบซึ่งอยู่ติดชายฝั่งทะเล เกิดจาก การทบั ถมของตะกอนธารน้�ำและตะกอนทะเล 38

colloid C cobble หินมนเล็ก หินทรงมนที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางสมมูล ๗๕-๒๕๐ มลิ ลเิ มตร ตามระบบของกระทรวงเกษตรสหรฐั อเมริกา COD (chemical oxygen demand) ซโี อดี (ความต้องการออกซเิ จน ทางเคม)ี ดู chemical oxygen demand (COD) coefficient of linear extensibility (COLE) สมั ประสิทธิ์การขยายตัว เชงิ เสน้ (โคล) ๑. อตั ราส่วนของผลต่างระหวา่ งความยาวของ ดินในสภาพช้นื (Lm) กับความยาวของดนิ ในสภาพแหง้ (Ld) ต่อความยาวของดินในสภาพแห้ง เขียนแทนด้วย COLE ค�ำนวณไดจ้ ากสตู ร ๒. การวดั ศักยภาพการยดื -หดตัวของดนิ cohesion การเชอ่ื มแนน่ แรงดงึ ดดู ระหวา่ งโมเลกลุ ของของแขง็ หรอื โมเลกลุ ของของเหลวชนิดเดียวกัน การเช่ือมแน่นในของแข็งสูงกว่า ในของเหลว สว่ นในแกส๊ การเชอื่ มแนน่ ตำ�่ มากจนโมเลกลุ ของแกส๊ ฟุ้งกระจายออกจากกัน COLE (coefficient of linear extensibility) โคล (สมั ประสทิ ธกิ์ ารขยาย ตวั เชงิ เส้น) ดู coefficient of linear extensibility (COLE) coliform โคลฟิ อรม์ กลมุ่ แบคทเี รยี ทอ่ี าศยั อยใู่ นล�ำไสข้ องมนษุ ยแ์ ละสตั ว์ พบอยู่ในของเสียท่ีขับถ่ายออกมา เป็นแบคทีเรียแกรมลบที่ใช้ ออกซิเจน และไม่ใช้ออกซิเจนแบบปรับตัวได้ (facultative anerobe) รปู รา่ งแบบแทง่ ไมส่ รา้ งสปอร์ เชน่ Escherichia coli มกั ใช้เปน็ ดชั นบี ่งชค้ี ุณภาพนำ�้ colloid คอลลอยด์ อนภุ าคทมี่ ขี นาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางอยใู่ นชว่ ง ๐.๐๐๑-๐.๑ ไมโครเมตร และรวมถงึ อนภุ าคดนิ เหนียวหรืออินทรยี วตั ถใุ นดิน ทม่ี ขี นาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางในชว่ งดงั กลา่ วหรอื ใกลเ้ คยี ง เรยี กวา่ คอลลอยดด์ นิ (soil colloid) 39

colloidal suspension colloidal suspension การแขวนลอยของคอลลอยด์ การแขวนลอย หรือการฟุ้งกระจายของอนุภาคที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง C ๐.๐๐๑-๐.๑ ไมโครเมตรในน้�ำ colluvial land ทดี่ นิ เศษหนิ เชิงเขา พน้ื ทเ่ี ชงิ เขาทีม่ ีเศษกรวดหรือเศษหิน รว่ งหลน่ ลงมากองทบั ถมกนั จากอทิ ธพิ ลของแรงโนม้ ถว่ งของโลก colluvium เศษหินเชิงเขา ก้อนหนิ ขนาดต่าง ๆ ที่เคล่อื นย้ายหรือทบั ถมบน พื้นท่ีลาดเชิงเขาหรือบริเวณเชิงเขาโดยแรงโน้มถ่วงของโลก กอ้ นหินทเ่ี คลื่อนย้ายมามักมเี หล่ียมมุมและไม่มกี ารคดั ขนาด colonization การเกิดกลุ่ม การท่ีประชากรของจุลินทรีย์เจริญเป็นกลุ่ม ในบรเิ วณหรือระบบนเิ วศที่เฉพาะเจาะจง colony forming units (cfu) หน่วยนับโคโลนี (ซเี อฟยู) จ�ำนวนจุลนิ ทรยี ์ ท่ีสร้างโคโลนีได้บนอาหารเลี้ยงเช้ือ ซ่ึงบ่งถึงจ�ำนวนจุลินทรีย์ ท่ีมีชีวติ ในดนิ หรืออาณาเขตรากพชื columnar soil structure โครงสร้างดินแบบแท่งหัวมน โครงสร้าง ของดินท่ีมีลักษณะเป็นแท่ง โดยมีแกนตั้งยาวกว่าแกนนอน ส่วนใหญ่เกิดขึ้นกับดินท่ีมีเกลือโซเดียมเป็นองค์ประกอบอยู่ใน ปริมาณสูง หรือในช้ันดินวินิจฉัยนาทริก [ดู soil structure ประกอบ] commensalism ภาวะองิ อาศัย ความสมั พันธร์ ะหวา่ งส่งิ มีชวี ติ ๒ ชนดิ ทอ่ี าศัยอยู่รว่ มกัน โดยฝา่ ยหนึง่ ได้รับประโยชน์ อีกฝ่ายหน่งึ ไม่ได้ รับผลกระทบใด ๆ เช่น กล้วยไม้บนต้นไม้ [ดู amensalism ประกอบ] complete fertilizer ปยุ๋ สมบรู ณ์ ปยุ๋ เคมที ม่ี ธี าตอุ าหารหลกั ครบทงั้ ๓ ชนดิ คือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซยี ม และอาจมธี าตุอาหารพืช อื่น ๆ ปนอย่ดู ว้ ย 40

concretion C component soil ดินองค์ประกอบ กลุ่มพอลิพีดอนหรือส่วนของ พอลิพีดอนภายในหน่วยแผนท่ีท่ีเป็นหน่วยของชั้นอนุกรมวิธาน หรอื ชนดิ ของหนว่ ยเบด็ เตลด็ ใชต้ งั้ ชอ่ื หนว่ ยแผนทด่ี นิ ชอื่ ดนิ องค์ ประกอบอาจเป็นช่ือเดี่ยวหรือช่ือเชิงซ้อนท่ีก�ำหนดจากชื่อชั้น อนุกรมวิธานในขั้นการจ�ำแนกบางระดับตามระบบอนุกรมวิธาน ดิน เช่น หน่วยแผนท่ีดินชุดดินก�ำแพงแสนซึ่งอาจมีชุดดินอ่ืน ปะปนอยู่ เรียกชุดดินก�ำแพงแสนว่า ดินองค์ประกอบ [ดู soil inclusion และ soil mapping unit ประกอบ] compost ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์ชนิดหนึ่ง ได้จากการน�ำเอาวัสดุอินทรีย์ เช่น เศษพืช ซากสัตว์ มาหมักให้สลายตัวโดยกิจกรรมของ จุลินทรีย์ compound fertilizer ป๋ยุ เชงิ ประกอบ ป๋ยุ เคมีทป่ี ระกอบดว้ ยธาตอุ าหาร หลกั ต้ังแต่ ๒ ชนดิ ขึน้ ไป ได้จากการน�ำแมป่ ุ๋ยตัง้ แต่ ๒ ชนิดข้นึ ไป มาผสมให้เข้ากันดว้ ยวธิ กี ารต่าง ๆ แล้วปัน้ ใหเ้ ป็นเมด็ ตามพระราชบัญญัติปุ๋ย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ปุ๋ยเชิง ประกอบหมายถงึ ปยุ๋ เคมที ที่ �ำขน้ึ ดว้ ยกรรมวธิ ที างเคมี และมธี าตุ อาหารหลกั อยา่ งน้อย ๒ ธาตุขน้ึ ไป compound packing void ช่องดินแบบรวม ช่องในดินที่เกิดจากการ เกาะกันของเม็ดดิน มองเห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์โพลาไรซ์ (polarizing microscope) compressibility สภาพอัดได้ สมบัติของดินที่เกี่ยวกับความยากง่าย ในการอดั ตวั เมื่อมีแรงมากดทับ ท�ำใหด้ นิ มีปรมิ าตรรวมลดลง concrete frost ช้ันเยือกแข็งคอนกรีต ช้ันดินที่น้�ำในช่องดินเป็นน้�ำแข็ง ท�ำให้มสี ภาพเป็นชัน้ แขง็ แน่น concretion ๑. มวลสารพอก วัสดุท่ีเกิดจากสารประกอบเคมีเข้มข้น เช่น แคลเซยี มคารบ์ อเนตหรอื เหล็กออกไซดท์ ่ีจบั ตัวกนั แนน่ และ มีการจัดเรียงตัวภายในเป็นช้ัน ๆ รอบอนุภาคท่ีมีรูปร่างเป็นจุด 41

cone penetrometer เป็นเส้น หรือเป็นแผ่น โดยท่ัวไปมีรูปรา่ งกลม รูปร่างกลมรี หรอื มีรูปร่างไมแ่ นน่ อน C ๒. การเกดิ มวลสารพอก ในทางจุลสณั ฐานวิทยาดนิ การเกดิ มวลสารพอกหมายถงึ การจบั ตัวกันแนน่ ของสารประกอบเคมีที่ เขม้ ขน้ รอบ ๆ อนุภาคทมี่ รี ปู รา่ งเปน็ จุด เปน็ เส้น หรือเป็นแผ่น cone penetrometer มาตรการแทงทะลุแบบกรวย เคร่ืองวัด ความต้านทานต่อการแทงทะลุของดิน ซึ่งมีหัววัดเป็นรูปกรวย ความต้านทานต่อการแทงทะลุมีค่าเท่ากับผลหารระหว่าง แรงกดหวั วดั ในแนวดิง่ กับพนื้ ท่ีรูปฉายของหัววดั บนพื้นระนาบ conformity รอยชั้นต่อเนอื่ ง รอยตอ่ ของชั้นตะกอนท่อี ยู่ตดิ กัน เกดิ ร่วมกัน และไม่ถูกรบกวนโดยกระบวนการทางธรณีวิทยา เกิดจาก การทับถมตามล�ำดบั ของการตกตะกอน โดยไมม่ ชี ว่ งเหลอ่ื มของ เวลาปรากฏให้เห็น ล�ำดับของช้ันตอนล่างไม่มีการคดโค้ง การเอียง หรือการกร่อน กอ่ นท่ีช้ันตอนบนจะเกิดการทบั ถม conglomerate หินกรวดมน หินตะกอนเน้อื หยาบชนดิ หนึง่ ประกอบด้วย เศษหินหรือกรวดลักษณะมนถึงเกือบมนที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง ใหญ่กว่า ๒ มิลลิเมตร เช่น กรวดเล็ก กรวดใหญ่ หินมนเล็ก หินมนใหญ่ ที่ฝังตัวอยู่ในเน้ือพ้ืนละเอียดขนาดทรายหรือ ทรายแป้ง และมักมีวัตถุประสานจ�ำพวกแคลเซียมคาร์บอเนต เหล็กออกไซด์ ซิลิกา หรือตะกอนดินเหนียว กรวดเหล่านี้มี ลกั ษณะกลมหรอื มน เพราะนำ้� พดั พามาไกลจากแหลง่ ก�ำเนดิ เดมิ conservation tillage การไถพรวนเพื่อการอนรุ ักษ์ การไถพรวนเพอื่ ลด การสูญเสียดินและน�้ำ เป็นการไถพรวนโดยให้เหลือเศษของพืช ปกคลมุ ผิวดนิ ตั้งแต่ร้อยละ ๓๐ ขนึ้ ไป 42

controlled drainage C constant-charge surface พ้ืนผิวประจุคงตัว พ้ืนผิวคอลลอยด์ที่มี ประจุไฟฟ้าสุทธิข้ึนกับโครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมี ของแรเ่ ทา่ นนั้ ไมเ่ ปลย่ี นแปลงตามพเี อชของดนิ พน้ื ผวิ ประจคุ งตวั ในดินปรกติเกิดจากการแทนทข่ี องไอออนทีม่ ีขนาดใกล้เคยี งกนั constant-potential surface พ้นื ผิวศักย์ไฟฟ้าคงตวั พืน้ ผิวคอลลอยดท์ ี่ มปี ระจไุ ฟฟา้ ผนั แปรขน้ึ กบั พเี อชของดนิ ทงั้ นใี้ นการวดั ศกั ยไ์ ฟฟา้ ของไอออนท่กี จิ กรรมคงตัว เชน่ พีเอชคงตวั ศกั ยไ์ ฟฟา้ ระหว่าง พ้นื ผิวคอลลอยดก์ ับสารละลายจะคงตัว constructional surface พ้ืนผิวสร้างตัว พื้นผิวดินซ่ึงเกิดขึ้นจาก กระบวนการทบั ถมทม่ี กี ารกรอ่ นเลก็ นอ้ ย หรอื ไมม่ กี ารกรอ่ นเลย consumptive irrigation requirement ความตอ้ งการใชน้ ำ้� ชลประทาน ปริมาณน�้ำชลประทานที่จ�ำเป็นต้องใช้ในการผลิตพืชโดยไม่รวม หยาดน้�ำฟ้า ความชื้นท่ีเก็บกักในดิน หรือน้�ำใต้ดิน โดยทั่วไป มหี นว่ ยเปน็ ความสงู ของน้ำ� ต่อหนว่ ยพื้นที่ contour ditch ร่องน�ำ้ ตามแนวระดบั ร่องนำ้� ชลประทานท่วี างตวั ตามแนว ระดบั contour flooding การท่วมตามแนวระดับ วิธีการชลประทานโดยให้ นำ้� ทว่ มแปลงจากร่องน�้ำตามแนวระดบั contour strip cropping การปลกู พชื สลบั แถบตามแนวระดบั ดคู �ำอธบิ าย ใน strip cropping contour tillage การไถพรวนตามแนวระดบั การไถพรวนขวางความลาดเท ของพื้นทตี่ ามแนวระดบั controlled-availability fertilizer ปุ๋ยควบคุมความเป็นประโยชน์ ดู controlled-release fertilizer controlled drainage การระบายน�้ำควบคุม การควบคุมความลึก ของระดับน�ำ้ ใตด้ ินใหเ้ หมาะสมต่อการเจรญิ เติบโตของพชื 43

controlled-release fertilizer controlled-release fertilizer ปยุ๋ ควบคมุ การปลดปลอ่ ย ปยุ๋ ทปี่ ลดปลอ่ ย ธาตุอาหารแก่พืชอย่างช้า ๆ โดยการเคลือบเม็ดปุ๋ย หรือใช้ C วัสดุปุ๋ยที่มีอัตราการละลายช้า [มีความหมายเหมือนกับ controlled-availability fertilizer] control section ช่วงควบคุม ช่วงความหนาของหน้าตัดดินที่ก�ำหนด เป็นมาตรฐานเพ่ือการจ�ำแนกดินในระบบอนุกรมวิธานดิน เชน่ การจ�ำแนกชัน้ ขนาดอนุภาคดิน ระบอบอณุ หภูมิดิน ระบอบ ความชืน้ ดนิ conventional tillage การไถพรวนแบบปรกติ การไถพรวนเพ่ือเตรยี ม พนื้ ที่ส�ำหรบั การปลกู พชื corrasion การกรอ่ นครดู ถู ดู abrasion ๑ corrosion การกรอ่ นสลายตวั กระบวนการทางธรรมชาติท่ที �ำให้วัสดตุ า่ ง ๆ คอ่ ย ๆ ผพุ ังโดยปฏิกริ ยิ าทางเคมีในสภาพแวดลอ้ มนั้น ๆ corrugate irrigation การชลประทานแบบร่องลูกฟูก การให้น�้ำในร่อง ขนาดเล็กซึง่ เปน็ ลอนต่อเน่ืองกันในพืน้ ท่ปี ลูกพชื ไร่ cover crops พืชคลุมดิน พืชที่ปลูกคลุมพ้ืนท่ีเพื่อรักษาความชุ่มชื้น ป้องกันการกร่อนของดิน และช่วยปรับปรงุ บ�ำรงุ ดนิ crest ยอด จุดสูงสดุ ของภมู ิลกั ษณ์ เชน่ ยอดเขา ยอดเนิน critical nutrient concentration ความเข้มข้นวิกฤตของสารอาหาร ระดับความเข้มข้นของธาตุอาหารในตัวอย่างพืชท่ีให้ผลผลิต ร้อยละ ๙๐ ของผลผลิตสูงสุด ถ้าความเข้มข้นต�่ำกว่าระดับนี้ ผลผลติ จะลดลงมาก แตถ่ า้ ความเขม้ ขน้ สงู กวา่ ระดบั นพ้ี ชื จะตอบ สนองตอ่ ปุย๋ นอ้ ยลงหรือให้ผลผลติ เพ่มิ ข้ึนเพยี งเลก็ น้อย critical soil test concentration ความเขม้ ขน้ วกิ ฤตของคา่ ตรวจสอบดนิ ค่าความเข้มข้นของธาตุอาหารพืชในดิน ซึ่งท�ำให้พืชที่ปลูก ให้ผลผลิตรอ้ ยละ ๙๕ ของผลผลติ สงู สุด 44

Cryepts C crop nutrient requirement ความตอ้ งการสารอาหารพชื ปริมาณธาตุ อาหารท่ีพืชต้องการเพ่ือการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตในระดับ ท่ีต้องการตอ่ หนว่ ยพน้ื ที่ crop residue management การจัดการเศษซากพืช การปฏิบัตแิ ละ การจัดการพื้นที่ปลูกพืชเพ่ือรักษาเศษซากพืชไว้บนดินเพ่ือ ป้องกนั การกรอ่ นของผิวดินจากลมและน�้ำ รกั ษาความชืน้ และ ลดการระเหยนำ้� จากดนิ crop rotation การปลูกพชื หมุนเวยี น การปลูกพืชหลายชนดิ หมนุ เวยี น ตอ่ เนือ่ งกนั ในพนื้ ท่เี ดียวกัน crumb soil structure โครงสร้างดินแบบก้อนกลมพรุน โครงสร้าง ของดินท่มี ลี กั ษณะเป็นกอ้ นทรงกลม มีความพรุนสูงและร่วนซยุ crushing strength แรงอัดแตก แรงทท่ี �ำใหม้ วลดินแหง้ แตกออก หรอื ใน ทางกลบั กนั หมายถงึ ความตา้ นทานของมวลดนิ แหง้ ตอ่ การท�ำให้ แตก มหี น่วยเปน็ แรงตอ่ หนว่ ยพ้นื ท่ี เชน่ กิโลกรมั ต่อตารางเมตร Cryalfs ไครอัลฟส์ อันดับย่อยอันดับหนึ่งของอันดับดินแอลฟิซอลส์ใน การจ�ำแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินซึ่งเกิดข้ึนภายใต้ ระบอบอุณหภูมิดินแบบไครอิกหรือระบอบอุณหภูมิดินแบบ ไอโซฟรจิ ดิ ไมพ่ บอนั ดบั ยอ่ ยนใี้ นประเทศไทย [ดู Alfisols, cryic soil temperature regime และ isofrigid soil temperature regime ประกอบ] Cryands ไครแอนดส์ อันดับย่อยอันดับหน่ึงของอันดับดินแอนดิซอลส์ใน การจ�ำแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินซ่ึงเกิดขึ้นภายใต้ ระบอบอณุ หภมู ดิ นิ แบบไครอกิ ไมพ่ บอนั ดบั ยอ่ ยนใ้ี นประเทศไทย [ดู Andisols และ cryic soil temperature regime ประกอบ] Cryepts ไครเอปตส์ อันดับย่อยอันดับหน่ึงของอันดับดินอินเซปทิซอลส์ ในการจ�ำแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินซึ่งมีระบอบ 45

Cryerts อุณหภูมิดินแบบไครอิก ไม่พบอันดับย่อยน้ีในประเทศไทย [ดู Inceptisols ประกอบ] C Cryerts ไครเอิตส์ อันดับย่อยอันดับหนึ่งของอันดับดินเวอร์ทิซอลส์ใน การจ�ำแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินซ่ึงมีระบอบ อุณหภูมิดินแบบไครอิก ไม่พบอันดับย่อยนี้ในประเทศไทย [ดู cryic soil temperature regime และ Vertisols ประกอบ] cryic soil temperature regime ระบอบอุณหภูมิดินแบบไครอิก ชั้นอุณหภูมิดินของดินแร่เฉลี่ยรายปีอยู่ระหว่าง ๐ ถึง ๘ องศา เซลเซยี ส สว่ นดนิ อนิ ทรยี อ์ ณุ หภมู ดิ นิ เฉลย่ี รายปอี ยรู่ ะหวา่ ง ๐ ถงึ ๖ องศาเซลเซียส โดยวัดทรี่ ะดับความลึก ๕๐ เซนตเิ มตรจากผิว ดนิ หรอื เหนอื ชน้ั แนวสมั ผสั หนิ ถา้ ชนั้ หนิ อยตู่ น้ื กวา่ ๕๐ เซนตเิ มตร Cryids ไครอดิ ส์ อนั ดบั ยอ่ ยอนั ดบั หนง่ึ ของอนั ดบั ดนิ แอรดิ ซิ อลสใ์ นการจ�ำแนก ตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินซึ่งมีระบอบอุณหภูมิดินแบบ ไครอิก ไม่พบอันดับย่อยนี้ในประเทศไทย [ดู Aridisols และ cryic soil temperature regime ประกอบ] Cryods ไครออดส์ อนั ดบั ย่อยอันดับหน่ึงของอนั ดบั ดินสปอโดซอลสใ์ นการ จ�ำแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินซึ่งมีระบอบอุณหภูมิ ดนิ แบบไครอิก ไมพ่ บอนั ดับยอ่ ยนี้ในประเทศไทย [ดู cryic soil temperature regime และ Spodosols ประกอบ] cryogenic soil ดนิ เขตเยือกแข็ง ดนิ ท่เี กดิ ภายใต้อทิ ธพิ ลของอณุ หภูมดิ ินที่ หนาวเย็น มีอณุ หภมู ิเฉล่ยี รายปี ๐-๘ องศาเซลเซียส Cryolls ไครออลส์ อันดับย่อยอันดับหนึ่งของอันดับดินมอลลิซอลส์ใน การจ�ำแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินซ่ึงเกิดขึ้นภายใต้ ระบอบอณุ หภมู ดิ นิ แบบไครอกิ ไมพ่ บอนั ดบั ยอ่ ยนใ้ี นประเทศไทย [ดู cryic soil temperature regime และ Mollisols ประกอบ] cryophile ไครโอไฟล์ ดู psychrophile; psychrophilic organism 46

cutan C cuesta เขามีดโต้, เกวสตา เขาท่ีมีลักษณะเทียบได้กับมีดอีโต้ของไทย คือ ด้านหน้าชันด้านท้ายลาด โดยปรกติแล้วด้านลาดมักจะ มรี ะนาบลาดใกล้เคียงกบั มุมเทของชน้ั หนิ ณ ที่นัน้ cultivation การเพาะปลกู การจัดการต่าง ๆ ท่ีเกยี่ วข้องกบั การปลูกพชื cumulative infiltration การแทรกซึมสะสม การแทรกซมึ ของน้�ำทั้งหมด ผ่านผิวดินเข้าไปในดินต่อ ๑ หน่วยพ้ืนที่ในช่วงเวลาท่ีก�ำหนด [ดู infiltration flux ประกอบ] cutan คราบวัตถุ คราบที่เกิดจากการสะสมหรือการจัดเรียงตัวของ องคป์ ระกอบดนิ ชนดิ ตา่ ง ๆ เชน่ แรด่ นิ เหนยี ว คารบ์ อเนต ออกไซด์ ของเหลก็ อะลูมเิ นียม และ/หรือแมงกานสี ซึ่งสว่ นใหญ่มาจาก การเคลอื่ นยา้ ยของสารเหลา่ นใ้ี นรปู มวลอนภุ าคละเอยี ด จากดนิ ช้ันบนลงมาสะสมในชั้นล่างตามบริเวณผิวของเม็ดอนุภาคหยาบ เมด็ ดนิ ก้อนดิน หรือผนงั ของช่องดนิ 47

Darcy’s law DD Darcy’s law กฎดารซ์ ี กฎทอ่ี ธบิ ายอตั ราการไหลของนำ�้ ผา่ นวสั ดพุ รนุ ค�ำนวณ ไดจ้ ากสมการ เมอ่ื Q คือ อตั ราการไหลของนำ�้ ผา่ นวสั ดพุ รนุ (ปรมิ าตรของนำ้� ทไ่ี หลต่อหนว่ ยเวลา) K คอื สภาพน�ำน้�ำของวัสดพุ รนุ S คือ พ้นื ทหี่ นา้ ตดั H คือ ความสูงของน้�ำเหนอื ผวิ ดิน และ e คอื ความหนาแนน่ ของวัสดพุ รุน debris เศษหนิ ผุ เศษหนิ ทเี่ กดิ จากการสลายตวั ของหนิ เดมิ เนอ่ื งจากปฏกิ ริ ยิ า เคมีหรือแรงกล debris avalanche การถล่มของเศษหินผุ การเคล่ือนตัวอย่างฉับพลัน และรวดเร็วของเศษหินผุโดยแรงโน้มถ่วงของโลกลงมาตาม ลาดไหลเ่ ขาเนื่องจากฝนตกหนักหรอื แผ่นดนิ ไหว debris flow การไหลของเศษหินผุ การเคลื่อนที่ของเศษหินผุตามความ ลาดเทภายใต้แรงดงึ ดดู ของโลกเน่อื งจากการไหลของน�้ำผิวดิน decalcification ดีแคลซิฟิเคชัน กระบวนการเคล่ือนย้ายแคลเซียม คารบ์ อเนตหรอื แคลเซยี มไอออนออกจากชนั้ ดนิ โดยการชะละลาย decomposition การสลายตัว ๑. การเปลย่ี นแปลงของแรท่ ี่อย่ตู ามล�ำพัง หรือแร่ที่ประกอบอยู่ในหิน อันมีผลท�ำให้หินผุสลายไป ทั้งน้ี เกดิ เน่อื งจากการผุพังอยกู่ ับท่ีโดยปฏิกิรยิ าเคมี 48

denudation D ๒. การเปลี่ยนแปลงของสารอนิ ทรยี ์โดยปฏกิ ริ ยิ าทางชีวเคมี deep percolation การไหลซึมลึก การไหลซึมของน�้ำออกจากเขต รากพืชลงสตู่ อนลา่ งของหน้าตัดดิน deep tillage การไถลึก การไถเตรยี มดินในระดับลกึ มากกว่าชั้นไถพรวน ปรกติ โดยใช้เคร่ืองจักรกลหนักเพ่ือท�ำลายชั้นดินดานหรือช้ัน แนน่ ทึบซึง่ อย่ใู ต้ช้นั ดนิ บน deflation การพัดกราด การทล่ี มกราดหรือกวาดเอาทรายและฝุน่ ออกไป จากผิวพื้นทร่ี องรับอย่ขู ้างใต้ ท�ำใหเ้ หน็ ผวิ พื้นน้นั ได้ deflocculate การกระจายตัว การกระจายของกลมุ่ อนุภาคคอลลอยดด์ นิ ในสารละลายท่เี ปน็ ดา่ งและมีโลหะแอลคาไลสูง degradation ๑. การลดระดับแผ่นดิน การเปลี่ยนระดับของผิวโลกท่ี ท�ำใหพ้ นื้ แผน่ ดนิ มรี ะดบั ตำ่� ลง เนอ่ื งจากการกรอ่ นหรอื การผพุ งั ท่ี เกิดจากกระบวนการทางธรณี [ดู denudation ประกอบ] ๒. การเสอ่ื มโทรม การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ การเปลย่ี นแปลง ทางเคมี และการเปล่ียนแปลงทางชีวภาพของดิน มีผลท�ำให้ ผลติ ภาพของดนิ ลดลง dehydration การขจัดน้�ำ การสูญเสียโมเลกุลของน�้ำที่ดูดซับไว้ในดิน โดยความรอ้ น delta ดนิ ดอนสามเหลยี่ ม พนื้ ทด่ี อนบรเิ วณปากแมน่ ำ�้ ทเ่ี กดิ จากนำ้� พาตะกอน มาทับถม มลี ักษณะคอ่ นข้างราบเรียบ มีรปู ร่างหลายแบบ denitrification ดีไนทริฟิเคชัน กระบวนการเปล่ียนสารประกอบ ของไนโตรเจนจากรูปไนเทรตและไนไทรต์เป็นแก๊สไนโตรเจน หรือออกไซด์ของไนโตรเจนท่ีมีสถานะออกซิเดชันต�่ำกว่า โดยการกระท�ำของจุลนิ ทรยี ์หรอื ปฏิกริ ยิ าเคมที เ่ี กย่ี วข้อง denudation การเกลยี่ ผวิ แผน่ ดนิ กระบวนการตา่ ง ๆ ตามธรรมชาตทิ ที่ �ำให้ เกิดการสกึ กรอ่ นของแผ่นดนิ ได้แก่ การผพุ งั อยกู่ ับท่ี การกร่อน การแตกหลุดของมวลเศษหนิ และการพัดพา 49

deposit deposit ส่ิงทับถม เศษหนิ ดิน แร่ หรอื อินทรยี วตั ถุ ซงึ่ ตกทับถมเนอื่ งจาก การพดั พาโดยตัวการธรรมชาตหิ รอื กิจกรรมของมนุษย์ desert ๑. ทะเลทราย บรเิ วณแหง้ แลง้ ปกคลมุ ไปดว้ ยทรายและเนนิ ทราย D ๒. บริเวณแห้งแล้ง บริเวณพื้นที่กว้างใหญ่ที่มีปริมาณฝน เฉลย่ี ไมเ่ กนิ ๒๕๔ มลิ ลเิ มตรตอ่ ปี และไมเ่ พยี งพอทจี่ ะใหพ้ ชื ทวั่ ไป มชี วี ิตอยูไ่ ด้ desert crust แผ่นแข็งผิวทะเลทราย แผ่นแข็งที่ประกอบด้วยแคลเซียม คาร์บอเนต ยิปซัม หรือวัสดุยึดเกาะอื่น ๆ พบบริเวณผิวหน้า ในเขตทะเลทราย desert dune เนินทะเลทราย สภาพพ้ืนท่ีซึ่งมีลักษณะเป็นเนินเต้ีย ๆ เกดิ จากลมพดั พาตะกอนทรายมาทับถม desert pavement ดาดกรวดทะเลทราย ดาดซ่งึ เกิดจากลมท่ีพัดพาเอา ทรายออกไปจากทรายปนกรวดในทะเลทรายจนเหลือแต่กรวด เรียงรายกันอยู่ และช่วยกันทรายข้างใต้ไม่ให้ถูกลมพัดไปได้อีก ผวิ ดินจงึ เปน็ ดาดกรวด desert varnish เคลือบหินทะเลทราย เคลือบบาง ๆ มันวาวบนผิวหิน ในทะเลทราย เคลือบนี้มีสีน้�ำตาลหรือด�ำ ประกอบด้วยเหล็ก ออกไซด์ปนกับแมงกานีสออกไซด์และซิลิกา เกิดจากการระเหย ของสารละลายแร่ที่ซึมจากภายในออกมาท่ีพ้ืนผิวแล้วฉาบผิว กรวดทรายและหนิ โผลบ่ รเิ วณนน้ั ท�ำใหผ้ วิ หนิ สะทอ้ นแสงแวววาว ลักษณะมนั วาวนค้ี ลา้ ยกับลกั ษณะที่เกิดจากลมขัดสี desorption การคาย การเคลอื่ นยา้ ยของอะตอม ไอออน หรอื โมเลกลุ ตา่ ง ๆ ออกจากบรเิ วณผวิ ดูดซบั ของวัสดุ detachment การแตกกระจาย การแตกของอนุภาคดินหรือเม็ดดินแล้ว เคล่ือนท่ีออกจากท่ีเดิมโดยตัวการท่ีก่อให้เกิดการกร่อนดิน เช่น การตกกระแทกของเม็ดฝน การไหลของน้�ำบริเวณผิวดิน 50

detritus D การพัดพาของลม เป็นกระบวนการเร่ิมต้นของกระบวนการ กรอ่ นดนิ detailed reconnaissance soil map แผนที่ดินแบบค่อนข้างหยาบ แผนท่ีดินท่ีมีมาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ถึง ๑ : ๑๐๐,๐๐๐ หนว่ ยแผนทดี่ นิ ส่วนใหญเ่ ป็นชดุ ดนิ ดินคล้าย หน่วยดินสัมพนั ธ์ หน่วยเชิงซ้อน การผลิตแผนที่ดินแบบน้ีมีวัตถุประสงค์ในการ วางแผนการใช้ท่ดี นิ ระดบั จงั หวัด detailed reconnaissance soil survey การส�ำรวจดินแบบค่อนข้าง หยาบ การส�ำรวจดินแบบหน่ึงเพ่ือต้องการทราบข้อมูล หรือข้อสนเทศของดินอย่างค่อนข้างหยาบ โดยใช้ภาพถ่ายทาง อากาศ มาตราส่วน ๑ : ๔๐,๐๐๐ ประกอบกบั แผนท่ภี ูมปิ ระเทศ ๑ : ๕๐,๐๐๐ เป็นแผนท่พี นื้ ฐาน โดยการเจาะส�ำรวจตรวจสอบ ในสนาม ๑-๒ หลมุ ต่อพน้ื ท่ี ๑ ตารางกโิ ลเมตร detailed soil map แผนทด่ี นิ แบบละเอยี ด แผนที่ดินทมี่ มี าตราส่วน ๑ : ๑๐,๐๐๐ ถงึ ๑ : ๒๕,๐๐๐ หนว่ ยแผนทด่ี นิ สว่ นใหญเ่ ปน็ ประเภท ของชดุ ดนิ การผลติ แผนทด่ี นิ แบบนมี้ วี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการวางแผน การจัดฟาร์มระดับไร่นา การวางแผนโครงการชลประทาน อยา่ งละเอียด เป็นต้น detailed soil survey การส�ำรวจดนิ แบบละเอียด การส�ำรวจดนิ แบบหน่ึง เพ่ือต้องการทราบข้อมูล หรือข้อสนเทศของดินอย่างละเอียด โดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน ๑ : ๕,๐๐๐ ถึง ๑ : ๑๕,๐๐๐ ประกอบกับแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ เป็นแผนท่ีพ้ืนฐาน โดยการเจาะส�ำรวจตรวจสอบ ในสนาม ๘-๑๐ หลุมตอ่ พ้ืนท่ี ๑ ตารางกโิ ลเมตร detoxification การขจัดพิษ การเปลี่ยนรูปของโมเลกุลหรือไอออน ของสารพิษให้อยใู่ นรปู ทีม่ ีความเป็นพิษนอ้ ยลงหรอื ไมเ่ ป็นพษิ detritus ซากอนิ ทรยี ์ สารอินทรียท์ ไ่ี ด้จากการยอ่ ยสลายสง่ิ มชี วี ิตท่ีตายแลว้ 51

diagnostic horizon diagnostic horizon ชัน้ ดินวนิ จิ ฉยั ช้ันดินที่มีสมบัติเฉพาะตัว บ่งชี้ ลกั ษณะของชน้ั ดนิ และน�ำมาใชป้ ระกอบการจ�ำแนกดนิ แบง่ ออก เป็น ๒ ส่วนใหญ่ ๆ คือ ชั้นท่ีปรากฏในช้ันดินบน เรียกว่า D ชั้นดินบนวินิจฉัย (diagnostic surface horizon หรือ epipedon) และชน้ั ทอ่ี ยใู่ ตช้ นั้ ดนิ บน เรยี กวา่ ชนั้ ดนิ ลา่ งวนิ จิ ฉยั (diagnostic subsurface horizon) diagnostic subsurface horizon ช้ันดินล่างวินิจฉัย ดูค�ำอธิบายใน diagnostic horizon diagnostic surface horizon; epipedon ช้นั ดนิ บนวินจิ ฉัย ดคู �ำอธิบาย ใน diagnostic horizon diatomaceous earth ดินเบา ดินทีป่ ระกอบดว้ ยซิลกิ าละเอียด มีสีเทา ซงึ่ เกิดจากซากของไดอะตอมบางส่วนหรอื ทง้ั หมด diatoms ไดอะตอม สาหร่ายเซลล์เดียวชนิดหน่ึงท่ีผนังเซลล์มีซิลิกาเป็น องคป์ ระกอบ คงทนตอ่ การสลายตวั จดั อยใู่ นวงศ์ Bacillariaceae พบไดท้ วั่ ไปท้งั ในน�้ำจืด น้ำ� เค็ม และในดิน diazotroph จลุ ินทรียต์ รงึ ไนโตรเจน, ไดอะโซโทรฟ จลุ ินทรีย์ท่ีสามารถ รีดิวซ์แก๊สไนโตรเจนไปเป็นแก๊สแอมโมเนีย เช่น ไรโซเบียม อะโซโตแบคเตอร์ differential thermal analysis (DTA) การวเิ คราะหค์ วามรอ้ นเชงิ อนพุ นั ธ์ (ดที เี อ) วธิ กี ารตรวจวดั พลงั งานความรอ้ นของวสั ดทุ เี่ ปลย่ี นแปลง ไปเม่ือให้ความร้อน โดยอาศัยหลักการดูดและคายความร้อน ของวสั ดุ ใช้ประโยชนใ์ นการจ�ำแนกชนดิ แรด่ ินเหนยี ว differential water capacity ความจุความชื้นอนุพันธ์ ค่าสัมบูรณ์ ของอัตราการเปลี่ยนแปลงระดับความชื้นดินโดยปริมาตรหรือ โดยมวลตอ่ หนว่ ยการเปลยี่ นแปลงของศกั ยว์ สั ดพุ น้ื ของนำ้� ความจุ ความช้ืนอนุพันธ์ที่ประเมินได้ทั้งขณะความชื้นของดินเพิ่มขึ้น หรือลดลง 52

dip; dip angle D diffuse double layer; double layer ชัน้ การแพร่สองชั้น ชน้ั การแพร่ ของสารในระบบท่ีไม่เป็นเน้ือเดียวกัน ซ่ึงประกอบด้วยผิว คอลลอยด์ท่มี ีประจไุ ฟฟา้ และกลุม่ ของไอออนทม่ี ีประจุตรงข้าม กบั ประจทุ ผ่ี วิ คอลลอยด์ ท�ำใหป้ ระจรุ วมทผี่ วิ คอลลอยดเ์ ปน็ กลาง diffusion การแพร่ การเคล่ือนทขี่ องโมเลกุลหรอื ไอออนของสารในตวั กลาง เน่ืองจากความแตกตา่ งของความเขม้ ข้นของสารนัน้ diffusion coefficient สัมประสิทธิ์การแพร่ ค่าที่แสดงความสามารถ ในการเคล่ือนที่ของสารจากที่ที่มีความเข้มข้นสูงไปยังท่ีที่มี ความเข้มขน้ ตำ�่ กว่า digestibility สภาพยอ่ ยได้ ความยากง่ายในการย่อยสลายของสารอินทรยี ์ ในน้�ำเสียหรือน้�ำโสโครกโดยกระบวนการทางชีวภาพ จนได้ สารอินทรีย์ท่เี สถียรหรือมโี ครงสรา้ งไมซ่ ับซอ้ น dike; dyke พนงั ๑. แนวหนิ อคั นที ข่ี วางตวั อยตู่ ามชั้นหนิ หรือหินเดมิ อืน่ ๆ ของเปลือกโลก ซ่ึงเกิดจากหินเหลวหรือหินหนืดที่ถูกบีบอัดอยู่ ภายในและทะลักออกมาตามรอยร้าวของผิวโลก แล้วแข็งตัวอยู่ ในรอยรา้ วนัน้ ๒. คนั ดนิ และทรายทเ่ี สรมิ ใหส้ งู ขนึ้ จากผวิ ดนิ เดมิ เพอื่ กน้ั ไมใ่ หน้ ำ้� จากแมน่ ้ำ� ทะเล หรอื มหาสมุทรไหลผา่ นเขา้ มาได้ dinitrogen fixation; nitrogen fixation การตรงึ ไนโตรเจน กระบวนการ เปลย่ี นแกส๊ ไนโตรเจน (N2) ไปเปน็ สารประกอบไนโตรเจนอนนิ ทรยี ์ โดยทั่วไปแบ่งเป็น ๒ แบบ คือ การตรึงแก๊สไนโตรเจนทางเคมี สารประกอบไนโตรเจนท่ีตรึงได้อาจเป็นออกไซด์ของไนโตรเจน เชน่ ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) แอมโมเนยี (NH3) และการตรงึ ไนโตรเจนทางชีวภาพ สารประกอบทไ่ี ดเ้ ปน็ แอมโมเนยี (NH3) dip; dip angle มุมเท, แนวเท มุมที่เกิดจากระนาบของโครงสร้าง ทางธรณีวิทยาตัดกับระนาบแนวนอน ทิศทางของแนวเทจะ ตัง้ ฉากกับแนวระดับ 53

dipersivity dipersivity สภาพกระจายได้ การเคล่อื นทีข่ องสารผา่ นดิน ค�ำนวณได้จาก สมการ D เม่ือ D คอื สภาพกระจายได้ d คือ การกระจายในของไหล และ v คือ ความเร็วของนำ�้ ในช่อง dip slope ลาดตามแนวเท ลาดเขาชนิดที่ความลาดของพื้นผิวขนานไป กบั แนวเทของช้ันหนิ ท่ีรองรบั อยู่ขา้ งใต้ สว่ นใหญ่พบตามบริเวณ เขามีดโต้ direct count การนับตรง วิธีการประเมินปริมาณของจุลินทรีย์ท้ังหมด ในตัวอย่างดว้ ยการนบั จ�ำนวนโดยตรงผา่ นกลอ้ งจลุ ทรรศน์ discharge area พื้นท่ปี ลดปลอ่ ยนำ�้ พนื้ ทตี่ อนลา่ งของลมุ่ นำ�้ ทม่ี กี ารเพมิ่ ขึน้ ของระดบั นำ้� ใตด้ นิ จากการรบั นำ�้ จากตอนบน และมกี ารปลดปลอ่ ย นำ้� ซ่ึงน�ำมาใช้ประโยชนใ์ นกจิ กรรมต่าง ๆ ได้ discharge rate อตั รานำ�้ ไหล ปรมิ าณนำ้� ทไ่ี หลผา่ นพนื้ ทห่ี นา้ ตดั ของทางนำ้� ใน ๑ หนว่ ยเวลา มหี นว่ ยเป็นปริมาตรต่อเวลา discontinuity ความไม่ตอ่ เนอื่ ง ลกั ษณะทแ่ี สดงความแตกตา่ งของชั้นดินท่ี อยตู่ ดิ กนั เนอ่ื งจากมวี สั ดดุ นิ ทแี่ ตกตา่ งกนั โดยมกี ารเปลย่ี นแปลง ลักษณะสัณฐานวิทยาสนามของชั้นดินท่ีเห็นได้อย่างชัดเจน เชน่ ความแตกต่างของเนือ้ ดิน ชนิดแร่ อายุ disintegration การแตกสลาย การผพุ งั เชงิ กลของหนิ และแร่ใหเ้ ปน็ อนภุ าค ท่เี ลก็ ลง disk plough ไถจาน เครื่องมอื ไถดินประเภทหนึง่ ที่มีจานไถหมนุ ได้รอบตัว สามารถไถดนิ ทแ่ี หง้ และแขง็ ได้ดี dispersion การกระจาย การแยกตัวของเม็ดดินที่เกาะตัวกันออกเป็น อนภุ าคเดี่ยว 54

drainage class D dissection การซอยแบ่ง การกร่อนของผิวหน้าดินหรือภูมิลักษณ์ท่ีเกิด จากน�้ำไหลกัดเซาะพ้ืนที่ ท�ำให้สันเขา เขา ภูเขา หรือยอดเขา ถกู แบง่ ออกเปน็ ตอน ๆ โดยการตดั ของรอ่ งธาร ทางนำ้� หบุ ผาชนั หรือหุบเขา dissimilation ดิสซมิ ิเลชนั การปลดปลอ่ ยสารอินทรยี ์หรอื อนินทรีย์ออก จากเซลลโ์ ดยกระบวนการเมแทบอลซิ มึ divide; watershed line สนั ปนั นำ้� เสน้ แบง่ สนั เขา ยอดเขา หรอื ทางแคบ ๆ บนพื้นท่ีสูงท่ีเป็นแนวแบ่งเขตระหว่างลุ่มน้�ำที่อยู่ติดกัน หรือ แบ่งน้�ำผวิ ดินตามธรรมชาติให้ไหลไปในทิศทางตรงกนั ข้าม dolomite โดโลไมต์ ๑. แรป่ ระกอบหินชนิดหนึง่ มสี ตู รเคมี CaMg(CO3)2 มีค่าความแข็ง ๓.๕-๔ มีหลายสีตั้งแต่สีขาวจนถึงสีน้�ำตาล ท�ำปฏกิ ริ ิยากบั กรดไฮโดรคลอริกเม่อื อนุ่ ๒. หนิ ตะกอนจ�ำพวกคารบ์ อเนตทม่ี แี รโ่ ดโลไมตม์ ากกวา่ แคลไซต์ บางครัง้ เรยี ก โดโลสโตน (dolostone) dolomitic lime ปนู โดโลไมต์ วสั ดปุ นู ทีเ่ กิดขน้ึ ตามธรรมชาติ ประกอบดว้ ย แมกนีเซียมคาร์บอเนต และแคลเซียมคาร์บอเนตในสัดส่วนที่ ใกลเ้ คียงกัน double layer; diffuse double layer ช้นั การแพรส่ องชั้น ดู diffuse double layer; double layer drainage การระบายน�้ำ การเคล่ือนที่ของน้�ำออกจากหน้าตัดดินหรือ ออกจากพน้ื ที่ drainage area; catchment; drainage basin; watershed ลมุ่ นำ้� พน้ื ที่ ท่ีล้อมรอบด้วยสันปันน�้ำ เป็นพื้นที่รองรับน้�ำฝนลงสู่ระบบ การระบายนำ้� หรอื แหลง่ กกั เกบ็ นำ้� drainage class ช้ันการระบายน�้ำ การจัดล�ำดับความยากง่ายของดิน ในการระบายน�้ำตามธรรมชาติ แบ่งออกเป็น ๗ ช้ัน ได้แก่ ดินระบายน�้ำมาก ดินระบายน�้ำค่อนข้างมาก ดินระบายน�้ำดี 55

drainage pattern ดนิ ระบายนำ�้ ดปี านกลาง ดนิ ระบายนำ้� คอ่ นขา้ งเลว ดนิ ระบายนำ�้ เลว ดินระบายน้�ำเลวมาก [ดู excessively drained soil, moderately well drained soil, poorly drained soil, D somewhat excessively drained soil, somewhat poorly drained soil, very poorly drained soil และ well drained soil ประกอบ] drainage pattern แบบรูปทางน�้ำ รูปร่างหรือการจัดรูปแบบทางน�้ำ ตามธรรมชาตใิ นบริเวณใดบรเิ วณหนง่ึ ทปี่ รากฏเมอ่ื มองในแนวดง่ิ แบบรูปทางน�้ำน้ีมีความสัมพันธ์กับลักษณะทางธรณีวิทยา ธรณสี ณั ฐาน และประวตั ขิ องบรเิ วณนน้ั ๆ แบง่ ออกไดห้ ลายแบบ เชน่ แบบกงิ่ ไม้ แบบมมุ ฉาก แบบขนาน แบบรศั มี แบบวงแหวน drift การพดั ลอยเคลอื่ นที่ การทวี่ ตั ถถุ กู พดั พาใหล้ อยเคลอื่ นทไี่ ปโดยอทิ ธพิ ล ของกระแสนำ�้ กระแสลม หรือน้ำ� ขน้ึ น�้ำลง drip irrigation; trickle irrigation การชลประทานแบบหยด การใหน้ �ำ้ ผ่านหัวปลอ่ ยน้�ำอยา่ งชา้ ๆ แบบหยดท่ีผวิ หน้าดิน [มคี วามหมาย เหมือนกบั microirrigation] drumlin ดรัมลนิ เนินกรวดท่มี ีลักษณะเป็นรูปรยี าวไปตามแนวทางเคล่อื น ตัวของธารน้�ำแข็ง ประกอบด้วยกรวดทรายปนคละกันอยู่ เนิน ชนิดนเ้ี กดิ จากการกระท�ำของธารนำ�้ แข็งในอดีตและปัจจบุ ัน dry-mass content; dry-mass ratio อัตราส่วนมวลแห้ง อัตราส่วน ของมวลดินท้ังหมดต่อมวลดินที่ได้จากการอบแห้งที่อุณหภูมิ ๑๐๕ องศาเซลเซยี ส จนกระทั่งมีน้ำ� หนักคงที่ [ดู oven-dry soil ประกอบ] DTA (differential thermal analysis) ดีทีเอ (การวเิ คราะหค์ วามรอ้ น เชิงอนพุ ันธ์) ดู differential thermal analysis (DTA) duff ดฟั ฟ์ ช้ันอินทรีย์ทอ่ี ยบู่ นผวิ ดนิ แร่ ประกอบดว้ ยเศษซากพืชท่ีร่วงหล่น ซึง่ อยู่ในกระบวนการสลายตวั และรวมส่งิ ต่าง ๆ บนผวิ ดนิ เหนอื 56

dyke; dike D ช้ันฮิวมัส [ดู litter ประกอบ] duff mull ขยุ อนิ ทรยี ด์ ฟั ฟ์ ประเภทของฮวิ มสั บรเิ วณพนื้ ทปี่ า่ ไม้ ซงึ่ เปน็ ชว่ ง เปลยี่ นระหวา่ งขยุ อนิ ทรยี ก์ บั ซากพชื ผุ จ�ำแนกโดยการสะสมวสั ดุ อินทรีย์หรืออินทรียวัตถุบนผิวดินในชั้นโออี (Oe) ซึ่งแสดงถึง ลกั ษณะเด่นของตวั ย่อยสลายจ�ำพวกสตั ว์ มกั จะมี ๔ ชัน้ ไดแ้ ก่ ชนั้ โอไอ (Oi) ชนั้ โออี ชนั้ โอเอ (Oa) และชน้ั เอ [ดู mor และ mull ประกอบ] dune เนนิ พ้นื ท่ีซ่ึงมลี ักษณะนูนขนึ้ เป็นโคกหรือสนั เต้ีย ๆ เกิดจากลมพัดพา ตะกอนมากองรวมกนั อาจมพี ชื ขนึ้ ปกคลมุ หรอื ไมม่ กี ไ็ ด้ สามารถ เคล่ือนทจ่ี ากทห่ี น่งึ ไปยงั อีกท่หี น่ึงได้ แตค่ งรปู ร่างลักษณะเดิมไว้ dune land ท่ดี ินเนนิ ทราย พน้ื ทซ่ี ึง่ ประกอบดว้ ยสันทรายและรอ่ งระหว่าง สันทราย โดยมีการเคล่ือนไปตามทิศทางลม ท่ีดินเนินทราย จดั เปน็ หน่วยแผนที่ดนิ ประเภทพ้นื ทเี่ บด็ เตล็ด Durids ดรู ดิ ส์ อันดบั ยอ่ ยอนั ดบั หน่งึ ของอนั ดับดินแอริดิซอลส์ในการจ�ำแนก ตามระบบอนกุ รมวธิ านดนิ ทพี่ บชนั้ ดานซลิ กิ า (duripan) ภายใน ความลึก ๑๐๐ เซนติเมตรจากผิวดิน ไม่พบอันดับย่อยนี้ใน ประเทศไทย durinode ดูริโนด ก้อนดินทรงมนที่เชื่อมติดกันด้วยสารซิลิกาไดออกไซด์ ก้อนดินนี้แตกสลายได้ในสารละลายเข้มข้นของโพแทสเซียม ไฮดรอกไซดห์ ลงั จากการละลายสารประกอบคารบ์ อเนตออกกอ่ น ดว้ ยกรดไฮโดรคลอริก duripan ช้ันดานซิลิกา ชั้นดินท่ีเช่ือมตัวกันแน่นทึบใต้ชั้นดินบนด้วยสาร ซิลิกาท่ีเคล่ือนย้ายลงมาสะสม การอ่อนยุ่ยของชั้นดานนี้ในน�้ำ หรือกรดไฮโดรคลอริกต้องน้อยกว่าร้อยละ ๕๐ โดยปริมาตร ของมวลแห้ง dyke; dike พนัง ดู dike; dyke 57

earthflow EE earthflow ดินไหล ดินและหินผุที่เล่ือนไถลลงมาจากไหล่เขาหรือลาดเขา เนื่องจากแรงโนม้ ถ่วงของโลก การเล่ือนไถลจะเกิดขนึ้ อยา่ งช้า ๆ ถา้ ปรมิ าณนำ�้ ในดนิ มนี อ้ ย แตถ่ า้ ปรมิ าณนำ�้ มมี ากการเคลอื่ นทจ่ี ะ เป็นไปอย่างรวดเร็วจนกลายเป็นโคลนไหล EC (electrical conductivity) อีซี (สภาพน�ำไฟฟ้า) ดู electrical conductivity (EC) ECe อซี อี ี การน�ำไฟฟา้ ของสารละลายทส่ี กดั จากดนิ อมิ่ ตวั ดว้ ยนำ้� กลน่ั วดั คา่ ท่ี อณุ หภูมิ ๒๕ องศาเซลเซียส มหี น่วยเป็นซีเมนส์หรอื เดซซิ เี มนส์ ต่อเมตร ค�ำว่า ECe ยอ่ มาจาก electrical conductivity of a saturated soil extract [ดู electrical conductivity (EC) ประกอบ] ECEC (effective cation exchange capacity) อีซีอีซี (ความจุ แลกเปลยี่ นแคตไอออนยงั ผล) ดู effective cation exchange capacity (ECEC) ectomycorrhiza เอ็กโทไมคอร์ไรซา ความสัมพันธ์ระหว่างเช้ือรากับ รากพืชแบบพ่ึงพาอาศัย โดยเช้ือราจะสร้างเส้นใยเจริญเข้าไป ในระหว่างเซลล์เน้ือเย่ือชั้นผิว (epidermis) และคอร์เทกซ์ ของรากพืช และเจริญสานกันเป็นตาข่ายฮาร์ทิก (hartig net) อยู่รอบ ๆ เซลล์ และมีส่วนของเส้นใยท่ีเจริญออกมาอยู่ในดิน บริเวณรอบรากพืช โดยปรกติเส้นใยจะเจริญหนาแน่นคลุมผิว รากพืช เรยี กว่า แมนเทลิ (mantle) 58

electrical conductivity (EC) E edaphic factor ปัจจัยทางดิน ปัจจัยสภาพแวดล้อมในระบบนิเวศ ที่เกย่ี วกบั ดิน เชน่ ความชื้นในดิน โครงสร้างของดนิ ความอดุ ม สมบูรณข์ องธาตุอาหารในดนิ edaphology ปฐพสี ัมพันธ์วิทยา วิชาทศ่ี ึกษาถึงความสัมพันธร์ ะหวา่ งดนิ กับสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะพืช เน้นศึกษาปัจจัยดินที่มีผลต่อ การเจรญิ เตบิ โตของพืช effective cation exchange capacity (ECEC) ความจุแลกเปลี่ยน แคตไอออนยังผล (อีซีอีซี) ผลรวมของแคตไอออนชนิดกรด และแคตไอออนชนิดเบสท่ีแลกเปล่ียนได้ของดินท่ีถูกดูดซับไว้ ในสภาวะพีเอชของดินตามธรรมชาติ [ดู cation exchange capacity (CEC) ประกอบ] effective porosity ความพรุนยังผล ส่วนหน่ึงของความพรุนทั้งหมด ในดนิ ที่เปน็ ประโยชนต์ อ่ การเคลอ่ื นท่ขี องของไหล effective precipitation หยาดนำ�้ ฟ้ายงั ผล ส่วนหน่ึงของฝนท่ีตกลงมา และเป็นประโยชนต์ อ่ การเจริญเติบโตของพืช effective stress ความเครยี ดยังผล ความเครียดในดินทเ่ี กดิ จากแรงดัน ระหว่างเม็ดดนิ E horizon ช้นั อี ชน้ั ดนิ หลกั ซึง่ เป็นช้นั ดินแร่ท่ีเกดิ จากการสูญเสียอนุภาค ดินเหนยี ว เหล็ก และอะลมู นิ ัมออกไซด์โดยการซึมชะ เป็นผลให้ ปรมิ าณอนภุ าคขนาดทรายและทรายแปง้ ตกคา้ งอยใู่ นปรมิ าณสงู ปรกติช้ันอีจะมีสีจางกว่าช้ันดินใกล้เคียง [ดู soil horizon ประกอบ] EI30 index ดชั นอี ีไอ ๓๐ ดู rainfall erosivity index electrical conductivity (EC) สภาพน�ำไฟฟ้า (อีซี) ความสามารถ ในการน�ำไฟฟ้าของน�้ำหรือสารสกัดจากดิน ใช้ประโยชน์ในการ ประเมินปริมาณเกลือท่ีละลายอยู่ในน�้ำหรือสารสกัดจากดิน 59

electrical potential วัดคา่ ทอี่ ุณหภมู ิ ๒๕ องศาเซลเซียส สภาพน�ำไฟฟ้าของดนิ อิ่มตัว คือคา่ ECe electrical potential ศักย์ไฟฟ้า งานท่ีต้องใช้ในการเคล่ือนประจุบวก E จากอนุภาคดินเหนียวในสารละลายดินไปยงั จุดท่ีก�ำหนด electrical resistivity สภาพต้านทานไฟฟ้า ความสามารถของดินใน การต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้า ใช้ในการอนุมานค่าศักย์ วัสดุพ้นื ของดนิ ความตา้ นทานนม้ี หี นว่ ยวัดเป็นโอหม์ -เมตร electrokinetic potential ศักยจ์ ลนไ์ ฟฟา้ ดู zeta potential electron accepter ตวั รบั อเิ ลก็ ตรอน สารประกอบทรี่ บั อเิ ลก็ ตรอนระหวา่ ง การเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมีหรอื ปฏิกิรยิ าเคมชี วี ภาพ electron donor ตวั ใหอ้ เิ ล็กตรอน สารประกอบท่ีให้อิเลก็ ตรอนระหวา่ ง การเกดิ กระบวนการเมแทบอลิซึม eluvial horizon ช้ันซึมชะ ช้ันดินที่เกิดข้ึนโดยกระบวนการซึมชะ [ดู E horizon, eluviation และ illuviation ประกอบ] eluviation การซึมชะ การเคลื่อนย้ายของวัสดุดินภายในหน้าตัดดิน ในรูปของสารแขวนลอยหรือสารละลาย จากชั้นดินหน่ึงไปสู่อีก ช้ันดินหน่ึง ตามปรกติการสูญเสียวัสดุในรูปสารละลายจะใช้ ค�ำว่าการชะละลาย [ดู illuviation และ leaching ประกอบ] end moraine กองตะกอนธารนำ้� แขง็ ปลายธาร ตะกอนธารน�้ำแข็งที่สะสม ตวั อยปู่ ลายสดุ ของธารนำ้� แขง็ หรอื พดื นำ้� แขง็ มรี ปู รา่ งคลา้ ยสนั เขา เปน็ เนนิ ทแี่ สดงถงึ ต�ำแหนง่ ทธี่ ารนำ้� แขง็ หรอื พดื นำ�้ แขง็ ในปจั จบุ นั หรือในอดีต แผ่ไปถึง [ดู terminal moraine ประกอบ] endoenzyme เอนโดเอนไซม์ เอนไซม์ที่สิ่งมีชีวิตสร้างข้ึนมา ท�ำหน้าที่ เรง่ ปฏกิ ิรยิ าที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ท่ีสรา้ งเอนไซม์นั้น ๆ 60

Entisols E endomycorrhiza เอนโดไมคอร์ไรซา ความสัมพันธ์ระหว่างเช้ือรากับ รากพืชแบบพ่ึงพาอาศัย โดยเช้ือราจะสร้างเส้นใยเจริญเข้าไป ในเซลล์คอร์เทกซ์ของรากพืช และมีส่วนของเส้นใยที่เจริญออก มาอยใู่ นดนิ บรเิ วณรอบรากพชื [ดู ectomycorrhiza ประกอบ] endophyte สิ่งมีชีวิตอาศัยภายในพืช, เอนโดไฟต์ สิ่งมีชีวิต เช่น รา แบคทเี รยี ทเี่ จรญิ เตบิ โตภายในพชื อาจมคี วามสมั พนั ธแ์ บบภาวะ อยู่ร่วมกนั หรอื แบบภาวะปรสติ endosaturation การอ่ิมตัวภายใน การอิ่มตัวด้วยน�้ำของดินซึ่งทุกชั้น อิ่มตัวด้วยน�้ำโดยตลอดจากขอบเขตบนของการอ่ิมตัวจนถึง ระดับความลึกอย่างน้อย ๒๐๐ เซนติเมตรจากผิวหน้าดินแร่ [ดู episaturation ประกอบ] enrichment ratio (ER) อัตราส่วนเพ่ิมกลับ (อีอาร์) อัตราส่วนความ เข้มข้นของสารประกอบในดินที่ถูกกร่อนต่อความเข้มข้นของ สารประกอบในดินท่ีไม่มีการกร่อน เป็นค่าที่แสดงอัตราส่วน ของสารประกอบที่สูญเสียไปจากการกร่อนดิน และต้องเพิ่ม กลับคืนให้แก่ดินท่ีถูกกร่อนเพ่ือให้มีระดับความอุดมสมบูรณ์ ดงั เดิม Entisols เอนทซิ อลส์ อันดับดนิ อนั ดบั หนงึ่ ในการจ�ำแนกตามระบบอนกุ รม วิธานดิน เป็นดินแร่ที่ยังไม่มีการพัฒนาช้ันดินล่างวินิจฉัยใด ๆ ภายใน ๑๐๐ เซนติเมตรจากผวิ หน้าดิน ตามระบบอนกุ รมวธิ านดนิ พ.ศ. ๒๕๕๗ (ค.ศ. ๒๐๑๔) อนั ดบั ดินเอนทิซอลส์สามารถจําแนกเป็นอันดับย่อย ดังนี้ วาสเซนตส์ (Wassents) แอเควนตส์ (Aquents) แซมเมนตส์ (Psamments) ฟลูเวนตส์ (Fluvents) และออเทนตส์ (Orthents) โดยอันดับ ยอ่ ยทพ่ี บในประเทศไทย ไดแ้ ก่ แอเควนตส์ แซมเมนตส์ ฟลเู วนตส์ และออเทนตส์ [ดู diagnostic horizon ประกอบ] 61

enzyme enzyme เอนไซม์ โปรตนี ทส่ี รา้ งขน้ึ ในเซลลข์ องสงิ่ มชี วี ติ ท�ำหนา้ ทเ่ี รง่ ปฏกิ ริ ยิ า ชีวเคมีในสิ่งมีชีวิตนั้น มีความจ�ำเพาะสูงต่อชนิดของปฏิกิริยา เช่น ไนโทรจีเนส E eolian deposit; aeolian deposit สงิ่ ทบั ถมลมพา ดู aeolian deposit; eolian deposit eolian erosion; aeolian erosion การกรอ่ นโดยลม ดู aeolian erosion; eolian erosion ephemeral gully ร่องธารช่ัวคราว ร่องขนาดเล็กที่เกิดจากการกร่อน โดยน�ำ้ ทไ่ี หลบา่ อยา่ งรุนแรงบนผวิ ดนิ สามารถกลบได้โดยการไถ พรวนปรกติ และเกิดได้อีกในท่ีเดมิ เมอื่ มีน�้ำไหลบา่ อกี ครง้ั ephemeral stream ธารน้�ำช่ัวคราว ธารน�้ำหรือบางส่วนของธารน้�ำ ที่เกิดข้ึนในช่วงระยะเวลาส้ัน ๆ เนื่องจากฝนตกหรือจากหิมะ ละลายในบรเิ วณนนั้ หรอื บรเิ วณใกลเ้ คยี ง และรอ่ งนำ้� จะอยเู่ หนอื ระดับน้�ำใตด้ ินเสมอ [ดู intermittent stream ประกอบ] epipedon; diagnostic surface horizon ชั้นดนิ บนวินิจฉยั ดูค�ำอธบิ าย ใน diagnostic horizon episaturation การอ่ิมตัวผวิ หนา้ การอิ่มตัวด้วยน้ำ� ของชนั้ ดนิ ๑ ชั้นหรือ หลายชั้น ภายในความลึก ๒๐๐ เซนติเมตรจากผวิ ดิน โดยมชี นั้ ท่ี ไม่อ่ิมตัวด้วยน้�ำ ๑ ชั้นหรือหลายช้ันแทรกอยู่ใต้ชั้นดินท่ีอ่ิมตัว ในชว่ งความลกึ นี้ [ดู endosaturation ประกอบ] equinox วิษุวัต จุดที่เกิดจากวิถีของดวงอาทิตย์ที่ปรากฏเห็นตัด กบั เส้นศูนยส์ ตู รท้องฟ้า ซง่ึ มี ๒ จุดตรงขา้ มกัน เม่ือดวงอาทติ ย์ โคจรตามวิถีท่ีปรากฏเห็นผ่านจุดใดจุดหนึ่งนี้ จะท�ำให้เกิดเวลา กลางวันและกลางคืนเท่ากันทั่วโลก ดังน้ัน ในรอบปีหนึ่ง ๆ ดวงอาทติ ยจ์ งึ โคจรตามวถิ ที ป่ี รากฏผา่ นจดุ วษิ วุ ตั ๒ ครง้ั ครงั้ หนง่ึ 62

erosion class E จะผ่านในวันที่ ๒๑ มีนาคม เรียกว่า วสันตวิษุวัต (vernal equinox) และอีกคร้งั หนึ่งจะผา่ นในวันท่ี ๒๓ กันยายน เรียกว่า ศารทวษิ วุ ัต (antumnal equinox) equivalent diameter เส้นผ่านศูนย์กลางสมมูล เส้นผ่านศูนย์กลาง ทใี่ ชก้ �ำหนดขนาดอนภุ าคทไี่ มเ่ ปน็ ทรงกลมในการวเิ คราะหข์ นาด อนุภาคด้วยการตกตะกอน โดยก�ำหนดให้เท่ากับเส้นผ่าน ศูนย์กลางของอนุภาคทรงกลมที่มีความหนาแน่นเท่ากันและ จมลงดว้ ยความเรว็ เทา่ กนั [มคี วามหมายเหมอื นกบั equivalent spherical diameter] equivalent spherical diameter เส้นผ่านศูนย์กลางทรงกลมสมมูล ดู equivalent diameter ER (enrichment ratio) อีอาร์ (อัตราสว่ นเพิม่ กลับ) ดู enrichment ratio (ER) erodibility ความทนทานตอ่ การกรอ่ น ๑. ระดบั ที่แสดงสถานะหรือสภาวะ ของดนิ แตล่ ะชนดิ ทม่ี คี วามยากงา่ ยหรอื ความคงทนตอ่ การกรอ่ น โดยตวั การต่าง ๆ เช่น น�ำ้ ลม น�ำ้ แขง็ ๒. ปจั จยั K ในสมการสญู เสยี ดนิ สากล [ดู Universal Soil Loss Equation (USLE) ประกอบ] erosion การกร่อน การสึกของผิวหนา้ ดนิ โดยตัวการต่าง ๆ ตามธรรมชาติ เช่น นำ้� ลม น�ำ้ แข็ง หรือการกระท�ำของมนษุ ย์ ท�ำให้มกี ารครูดถู การแตกกระจาย และการเคลอ่ื นยา้ ยของดนิ หรอื หนิ จากจดุ หนงึ่ บนผิวโลกไปทับถมในทอี่ ่ืน รวมถึงการคบื ของดิน erosional surface; erosion surface พื้นผิวการกร่อน ดู erosion surface; erosional surface erosion class ชั้นการกร่อน การจัดกลุ่มสภาพการกร่อนของดินตาม ความรุนแรงของการกร่อน ค�ำน้ใี ชก้ ับการกร่อนท่ีมีตวั เรง่ เท่าน้นั ในประเทศไทยแบง่ ชน้ั การกรอ่ นเปน็ ๕ ชั้น ดังน้ี 63

erosion pavement ชั้นที่ ๑ นอ้ ยมาก มกี ารสูญเสียดินนอ้ ยกว่า ๒ ตนั ต่อไรต่ ่อปี ชั้นที ่ ๒ นอ้ ย มกี ารสูญเสียดนิ ๒-๕ ตนั ตอ่ ไรต่ ่อปี ชน้ั ที ่ ๓ ปานกลาง มีการสญู เสยี ดิน ๕-๑๕ ตันต่อไรต่ ่อปี E ชั้นที่ ๔ รุนแรง มีการสญู เสยี ดิน ๑๕-๒๐ ตันตอ่ ไรต่ ่อปี ชนั้ ท ี่ ๕ รนุ แรงมาก มกี ารสญู เสยี ดนิ มากกวา่ ๒๐ ตนั ตอ่ ไรต่ อ่ ปี erosion pavement ดาดการกร่อน ช้นั ของช้ินส่วนหยาบ เช่น ทราย กรวด ท่ีเหลือค้างอยู่บนพื้นผิวดินหลังจากอนุภาคขนาดเล็กละเอียด ถกู เคลอื่ นยา้ ยออกไปเนอ่ื งจากการกรอ่ น [ดู desert pavement ประกอบ] erosion potential ศักย์การกร่อน ค่าที่แสดงเป็นตัวเลขเพื่อบ่งช้ีสภาพ การกร่อนได้ของดินหรือการกร่อนที่มีโอกาสเกิดข้ึนได้มากที่สุด ค�ำนวณไดจ้ ากสมการสญู เสยี ดนิ สากล ภายใตส้ ภาพการไถพรวน ข้นึ ลงตามความชนั โดยไมม่ พี ชื ปกคลุม เมอื่ EI (erosion index) คอื ดชั นกี ารกรอ่ น R (rainfall factor) คอื ปจั จยั ปรมิ าณฝน K (soil erodibility factor) คอื ปจั จยั สภาพกรอ่ นไดข้ องดนิ L (length of slope) คอื ความยาวของความลาดชนั S (percent slope) คอื ระดับความลาดชันเป็น รอ้ ยละ และ T (soil loss tolerance) คอื ความทนตอ่ การสญู เสยี ดนิ erosion surface; erosional surface พื้นผิวการกร่อน ภูมิลักษณ์ ของพื้นผิวดินภายหลังการกร่อน ซึ่งเกิดจากการกระท�ำของ น้ำ� แขง็ ลม หรือน้�ำ โดยท่วั ไปเกิดจากการไหลของน�ำ้ 64

estuary E erosive velocity ความเรว็ กอ่ กรอ่ น ความเรว็ ของตวั การตา่ ง ๆ เชน่ นำ�้ ลม นำ้� แขง็ ท่ีท�ำให้เกิดการกรอ่ น erosivity ศักยภาพก่อกร่อน ความสามารถทว่ี ัดหรือประเมินไดข้ องตัวการ ต่าง ๆ เชน่ น�้ำ ลม ความถว่ ง ท่ีท�ำใหเ้ กดิ การกรอ่ น escarpment; scarp ผาชัน, ผาต้ัง หน้าผาท่ีชันหรือค่อนข้างชัน ซ่ึงเกิดจากการกร่อนหรือเกิดจากการเล่ือนตัวของพ้ืนผิวโลก เปน็ ค�ำทวั่ ไปทใ่ี ช้กบั หน้าผาที่มีการกร่อนแตกต่างกนั esker เอสเกอร์, เนินคดเค้ียว เนินกรวดทรายลักษณะคดเค้ียวท้ายเรียว เกิดเนื่องจากตอนท้ายของธารน้�ำแข็งมีน�้ำแข็งละลายไหล เป็นช่องอยู่และพาเอากรวดทรายไปทับถมกันเป็นช้ันตามขนาด เปน็ แนวยาวปรากฏชดั เจนเม่ือธารน้�ำแข็งละลายไปหมดแลว้ ESP (exchangeable sodium percentage) อีเอสพี (รอ้ ยละโซเดยี ม แลกเปลยี่ นได)้ ดู exchangeable sodium percentage (ESP) ESR (exchangeable sodium ratio) อเี อสอาร์ (อตั ราสว่ นโซเดียมแลก เปลย่ี นได้) ดู exchangeable sodium ratio (ESR) essential element ธาตุอาหารจ�ำเป็น ธาตุอาหารที่พืชต้องการเพื่อใช้ ในการเจริญเติบโตจนครบวัฏจักรชีวิต ปัจจุบันประกอบด้วย ๑๗ ธาตุ ได้แก่ คาร์บอน (C) ออกซิเจน (O) ไฮโดรเจน (H) ไนโตรเจน (N) ซัลเฟอร์ (S) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) คลอรีน (Cl ) เหล็ก (Fe) โบรอน (B) แมงกานีส (Mn) สังกะสี (Zn) ทองแดง (Cu) โมลบิ ดนี ัม (Mo) และนกิ เกลิ (Ni) [ดู plant nutrient ประกอบ] estuary ปากแม่น้�ำ, ชะวากทะเล ฝั่งทะเลที่เว้าเข้าไปยังปากแม่น�้ำ หรือปากแม่น�้ำท่ีมีลักษณะกว้างออกเหมือนกรวย เป็นบริเวณท่ี น�้ำจืดกับน้�ำทะเลบรรจบกันเกิดเป็นน้�ำกร่อย และเป็นบริเวณที่ ได้รับอิทธพิ ลจากกระแสนำ้� ขึ้นนำ้� ลง 65

eucaryote; eukaryote eucaryote; eukaryote ยแู ครโิ อต เซลล์ชนิดท่ีมีนิวเคลยี สแยกออกจาก ไซโทพลาซมึ โดยมเี ยอื่ หมุ้ นวิ เคลยี สเหน็ เดน่ ชดั ไดแ้ ก่ เซลลจ์ �ำพวก โพรโทซัว สาหรา่ ย เห็ด รา พชื และสตั ว์ โครงสร้างของจ�ำพวก E ยแู ครโิ อตประกอบดว้ ยเยอ่ื ห้มุ เซลล์ นิวเคลยี ส และไซโทพลาซึม eutrophication สภาวะสารอาหารเกิน สภาพของระบบชลนิเวศที่มี สารอาหารมากเกิน เป็นผลให้ส่ิงมีชีวิตเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสาหร่ายและวัชพืชน�้ำ ท�ำให้ปริมาณออกซิเจนในน้�ำ ลดลง เปน็ สาเหตใุ หพ้ ชื นำ้� และสงิ่ มชี วี ติ ในแหลง่ นำ�้ ขาดออกซเิ จน และตายลง evaporation การระเหย กระบวนการที่น้�ำจากผิวดินซ่ึงอยู่ในสถานะ ของเหลวเปลย่ี นเปน็ ไอและระเหยสูบ่ รรยากาศ evaporite หนิ เกลอื ระเหย หนิ ตะกอนชนดิ หนง่ึ ประกอบดว้ ยแรซ่ งึ่ ตกตะกอน เนื่องจากการระเหยของสารละลาย อาจเกิดได้ท้ังบนบกและ ในทะเล แร่ที่พบส่วนใหญ่ประกอบด้วยเฮไลต์ ยิปซัม และ แอนไฮไดรต์ evapotranspiration การคายระเหย กระบวนการซง่ึ กอ่ ใหเ้ กดิ การสญู เสยี นำ้� โดยการระเหยจากผวิ ดนิ และการคายนำ�้ ของพชื [ดู evaporation และ transpiration ประกอบ] excessively drained soil ดนิ ระบายน้�ำมาก ดนิ ทม่ี กี ารไหลซมึ ของน�้ำ ออกจากดนิ เปน็ ไปอย่างรวดเร็วมาก โดยปรกติเป็นดนิ เนอื้ หยาบ หรือมีเศษหินกรวดปนอยู่เป็นปริมาณมาก พบในบริเวณที่ดอน มีระดับน�้ำใต้ดินอยูล่ ึกกวา่ ๒ เมตร exchange acidity สภาพกรดแลกเปลี่ยน สภาพกรดของดินท่ีท�ำให้ เปน็ กลางไดโ้ ดยใช้ปนู หรือน�ำ้ ยาบฟั เฟอร์ที่มพี ีเอช ๗.๐ [ดู total acidity ประกอบ] 66

exchangeable sodium percentage (ESP) exchangeable anion แอนไอออนแลกเปลีย่ นได้ แอนไอออนทีถ่ ูกดดู ซบั อยู่ที่ผิวของคอลลอยด์ดิน และแทนที่ได้ด้วยแอนไอออนอื่นใน สารละลายดนิ โดยทว่ั ไปมีหนว่ ยเปน็ เซนตโิ มลต่อกโิ ลกรมั exchangeable base เบสแลกเปล่ยี นได้ แคตไอออนที่มีสมบตั ิเปน็ เบส ซึ่งถูกดูดซับอยู่ที่ผิวของคอลลอยด์ดิน และแทนท่ีได้ด้วย E แคตไอออนในสารละลายเกลอื สว่ นใหญเ่ บสแลกเปลย่ี นไดใ้ นดนิ ไดแ้ ก่ Ca2+ Mg2+ K+ และ Na+ exchangeable cation แคตไอออนแลกเปล่ียนได้ แคตไอออนทถี่ กู ดูดซับ อยู่ที่ผิวของคอลลอยด์ดิน และแทนท่ีได้ด้วยแคตไอออนอ่ืน ในสารละลายดิน โดยทว่ั ไปมีหน่วยเป็นเซนตโิ มลตอ่ กิโลกรมั exchangeable cation percentage รอ้ ยละแคตไอออนแลกเปล่ียนได้ ร้อยละของความจุแลกเปล่ียนแคตไอออนของดินท่ีดูดซับ แคตไอออนแลกเปลี่ยนได้ มีสตู รค�ำนวณดงั น้ี รอ้ ยละ = ปรมิ าณแคตไอออนแลกเปลยี่ นได้ แคตไอออนแลกเปลย่ี นได้ ความจุดแลกเปลยี่ นแคตไอออน x ๑๐๐ exchangeable nutrient สารอาหารแลกเปลี่ยนได้ ธาตุอาหารที่ดิน ดูดซับไว้ และแลกเปลี่ยนได้ง่ายกับแคตไอออนหรือแอนไอออน จากสารละลายเกลือทมี่ ีปฏกิ ริ ยิ าเปน็ กลาง exchangeable sodium fraction สว่ นโซเดยี มแลกเปลย่ี นได้ สว่ นหน่งึ ของความจแุ ลกเปล่ยี นแคตไอออนของดนิ ทเ่ี ปน็ โซเดียม exchangeable sodium percentage (ESP) ร้อยละโซเดยี มแลกเปล่ยี น ได้ (อีเอสพี) รอ้ ยละของความจแุ ลกเปลยี่ นแคตไอออนของดิน ท่ดี ูดซบั โซเดียมแลกเปล่ยี นไดไ้ ว้ มีสตู รค�ำนวณดังน้ี รอ้ ยละ = โซเดยี มแลกเปล่ยี นได้ x ๑๐๐ โซเดียมแลกเปลยี่ นได้ ความจุดแลกเปล่ียนแคตไอออน [ดู exchangeable sodium ratio (ESR) ประกอบ] 67

exchangeable sodium ratio (ESR) exchangeable sodium ratio (ESR) อตั ราสว่ นโซเดยี มแลกเปลยี่ นได้ (อีเอสอาร์) อตั ราส่วนของปรมิ าณโซเดยี มท่ีแลกเปลยี่ นได้ต่อ ผลรวมของปรมิ าณแคตไอออนอ่นื ที่แลกเปลี่ยนได้ของดนิ E exfoliation การแยกเปน็ กาบมน การทหี่ นิ แตกหรอื ลอ่ นออกเป็นกาบมน แบบกาบกะหล�ำ่ ปลี เกิดจากการเปล่ียนแปลงทางเคมแี ละ/หรือ ทางฟิสิกส์ในบางสว่ นของหนิ โดยเฉพาะหินอัคนี exoenzyme เอกโซเอนไซม์ เอนไซม์ที่สิ่งมีชีวิตสร้างขึ้นและขับออกมา กระตนุ้ ปฏกิ ิริยาบริเวณภายนอกเซลลน์ ้ัน ๆ exploratory survey การส�ำรวจดนิ แบบหยาบมาก การส�ำรวจดนิ แบบหนง่ึ เพ่อื ตอ้ งการทราบขอ้ มูล ขอ้ สนเทศของดินอยา่ งกวา้ ง โดยอาศัย การตีความจากภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายจากดาวเทียม แผนที่ธรณวี ิทยา แผนทภ่ี ูมปิ ระเทศ แผนทส่ี ภาพภมู อิ ากาศ และ แผนทชี่ นิดของปา่ โดยไมม่ ีการเจาะส�ำรวจตรวจสอบในสนาม extractable soil nutrient สารอาหารในดนิ สกดั ได้ ปรมิ าณธาตอุ าหารท่ี สกัดได้จากดนิ โดยวิธกี ารวิเคราะหด์ นิ ท่ีเฉพาะเจาะจง extragrade กลุ่มดินย่อยนอกชั้น หน่วยจ�ำแนกดินในระดับกลุ่มย่อย ของระบบอนกุ รมวธิ านดิน ใช้จ�ำแนกดนิ ซง่ึ มลี กั ษณะและสมบตั ิ ของดินไม่เข้ากับหน่วยจ�ำแนกขั้นสูง ได้แก่ อันดับ อันดับย่อย และกลุ่มใหญ่ และไม่ชี้บ่งถึงการเปล่ียนแปลงไปเป็นดินชนิดอ่ืน ท่ีร้จู กั หรือตั้งชอ่ื แลว้ extrusive igneous rock; extrusive rock หินอคั นีพุ หินอัคนที เี่ กิดจาก การเย็นตัวอย่างรวดเร็วของหินหนืดที่พุพ้นเปลือกโลกหรือลาวา บนผิวโลก ท�ำให้ได้เนื้อผลึกของแร่ขนาดเล็กละเอียด เช่น หิน บะซอลต์ 68

feldspar F F facultative organism สงิ่ มชี วี ติ ปรบั ตวั ได้ สง่ิ มชี วี ติ ทเ่ี จรญิ ไดท้ งั้ ในสภาวะ ท่ีมีออกซิเจน และไม่มีออกซิเจน ในสภาวะท่ีมีออกซิเจน จะใชก้ ระบวนการหายใจ สว่ นสภาวะทไี่ มม่ อี อกซเิ จนจะใชก้ ารหมกั fall cone ฟอลล์โคน มาตรการแทงทะลแุ บบกรวยชนิดหน่งึ ใช้ตมุ้ นำ�้ หนกั เพื่อวัดความต้านทานหรือความแน่นต่อการแทงทะลุของดิน [ดู cone penetrometer ประกอบ] fallow การพักดิน การปล่อยท่ีดินที่ผ่านการไถพรวนทิ้งไว้โดยไม่มีการ ปลูกพืช หรือปล่อยให้พืชข้ึนเองตามธรรมชาติภายหลังการ เกบ็ เกยี่ วพชื หลกั มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ควบคมุ วชั พชื รกั ษาความชนื้ และ/หรือธาตุอาหารพืช family วงศ์ หน่วยจ�ำแนกดินย่อยลงมาจากชั้นกลุ่มย่อยของดินในระบบ อนุกรมวิธานดิน การจ�ำแนกดินออกเป็นวงศ์ต่าง ๆ พิจารณา จากลักษณะและสมบัติของดินซึ่งมีผลต่อการจัดการดินและการ ให้ผลผลิตของพืช เช่น ชั้นขนาดอนุภาคดิน ชั้นแร่วิทยา ช้ันกิจกรรมการเปลี่ยนแคตไอออน ช้ันปฏิกิริยาดิน ชั้นระบอบ อุณหภมู ิดนิ ชนั้ ความลึกของดิน fault รอยเล่ือน รอยแตกหรือแนวรอยแตกของหิน ๒ ฟาก ซึ่งเคล่ือนท่ี สัมพนั ธ์กนั และขนานไปกับรอยแตกน้นั feldspar เฟลด์สปาร์ กลุ่มของแร่ประกอบหินอัคนีที่ส�ำคัญมากกลุ่มหน่ึง มสี ตู รเคมี K, Na, Ca, Ba, Rb (SiAl3)O8 ซง่ึ เปน็ สารประกอบซลิ เิ กต ของโพแทสเซียม โซเดียม และ/หรือแคลเซียม ปรกติมีสีขาว 69

fen ด้านเหมือนฟันของม้า ประกอบด้วย ๒ กลุ่ม คือ ออร์โทเคลส เฟลดส์ ปารแ์ ละแพลจโิ อเคลสเฟลด์สปาร์ fen ท่ีลุ่มสนุ่น, พรุ พ้ืนท่ีลุ่มช้ืนแฉะที่มีซากผุพังของพืชพรรณทับถมกัน เป็นจ�ำนวนมาก เป็นพ้ืนที่รับน้�ำท่ีระบายมาจากพื้นที่โดยรอบ F มธี าตอุ าหารสงู กวา่ และมคี วามเปน็ กรดนอ้ ยกวา่ พรกุ รด ในพน้ื ทน่ี ี้ พบดินอินทรีย์ที่เป็นดินพีต [ดู bog, pocosin, swamp และ wetland ประกอบ] fermentation การหมัก กระบวนการสลายตัวช้า ๆ ของสารอินทรีย์ โดยเอนไซม์หรือจุลินทรีย์ไม่ใช้อากาศ เช่น ยีสต์ แบคทีเรีย รา ตัวอย่างที่รู้จักกันดีที่สุด คือ การหมักน้�ำตาลและแป้งให้เป็น แอลกอฮอล์ ferran คราบเหล็ก คราบวัตถุท่ีประกอบด้วยออกไซด์ ไฮดรอกไซด์ หรือ ออกซไิ ฮดรอกไซด์ของเหล็ก [ดู cutan ประกอบ] ferri-argillan คราบดนิ เหนียวผสมเหลก็ คราบวัตถทุ ่ปี ระกอบดว้ ยแรด่ นิ เหนียวผสมกับออกไซด์ ไฮดรอกไซด์ หรือออกซิไฮดรอกไซด์ ของเหลก็ [ดู cutan ประกอบ] ferrihydrite เฟร์ริไฮไดรต์ แร่เหล็กออกไซด์ที่มีระบบผลึกไม่สมบูรณ์ มีสูตรเคมี Fe3O7(OH).4H2O มีสีน้�ำตาลปนแดงเข้ม เกิดในดิน ที่มีน�้ำขัง พบในมวลสารพอกและช้ันดินวินิจฉัยพลาซิก และมัก พบบรเิ วณคูหรือทอ่ ทใี่ ชร้ ะบายน�้ำจากดนิ ที่มนี ้�ำขัง ferrolysis เฟรโ์ รไลซสิ กระบวนการทดี่ นิ เหนยี วถกู ท�ำลายโดยการแตกสลาย และการละลายในน�้ำเน่ืองจากปฏิกิริยารีดักชันและออกซิเดชัน ของเหลก็ สลบั กัน ferromagnesian เฟร์โรแมกนีเซียน แร่ท่ีมีธาตุเหล็กและแมกนีเซียม เป็นสว่ นประกอบส�ำคญั 70

fertilizer ratio F fertigation การให้ป๋ยุ พรอ้ มชลประทาน การใสป่ ยุ๋ ที่ละลายน้�ำง่ายในระบบ การให้น�ำ้ แก่พชื เพอ่ื ใหพ้ ชื ได้รบั ธาตุอาหารพรอ้ มกบั นำ�้ fertile soil ดนิ อุดมสมบรู ณ์ ดินท่ีให้ธาตอุ าหารทจ่ี �ำเป็นในปริมาณเพยี งพอ และสมดุลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื fertilizer ปุ๋ย สารอินทรีย์หรืออนินทรีย์ที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ หรอื สงั เคราะหข์ นึ้ (ยกเวน้ วสั ดปุ นู ) ซงึ่ ใสใ่ นดนิ เพอ่ื ใหธ้ าตอุ าหาร ท่ีจ�ำเป็นต่อการเจริญเตบิ โตของพืชต้งั แต่ ๑ ชนดิ ข้นึ ไป ตามพระราชบญั ญตั ิปยุ๋ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ปุ๋ยหมายถงึ สารอนิ ทรีย์ อินทรียสงั เคราะห์ อนนิ ทรีย์ หรือจุลนิ ทรีย์ ไม่วา่ จะ เกดิ ขนึ้ โดยธรรมชาตหิ รอื ทาํ ขนึ้ กต็ าม สาํ หรบั ใชเ้ ปน็ ธาตอุ าหารพชื ไดไ้ มว่ า่ โดยวธิ ใี ด หรอื ทาํ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางเคมี กายภาพ หรอื ชีวภาพในดนิ เพ่อื บาํ รงุ ความเตบิ โตแก่พืช fertilizer analysis ค่าวิเคราะห์ปุ๋ย องค์ประกอบเป็นร้อยละของปุ๋ย ท่ีวิเคราะห์ได้ในห้องปฏิบัติการ แสดงเป็นปริมาณไนโตรเจน ทั้งหมด (total N) ฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชน์ (P2O5) และ โพแทสเซียมทล่ี ะลายน�ำ้ ได้ (K2O) fertilizer fixation การตรงึ ปุ๋ย กระบวนการท่ที �ำให้ธาตุอาหารพืชในดิน มีประโยชน์ลดลงหรอื ไม่เปน็ ประโยชน์ เช่น การตรงึ ฟอสฟอรสั fertilizer grade สูตรปยุ๋ ปริมาณรับรองเปน็ ร้อยละโดยน้ำ� หนักของธาตุ อาหารในปุ๋ยแสดงเป็นปริมาณไนโตรเจนท้ังหมด ฟอสฟอรัสที่ เปน็ ประโยชน์ และโพแทสเซยี มทล่ี ะลายนำ�้ ได้ ซง่ึ มอี ยใู่ นปยุ๋ นน้ั โดยท่ัวไปแสดงเป็นเลขจ�ำนวนเต็ม ๓ จ�ำนวนตามล�ำดับ เช่น ๑๖-๑๖-๘, ๑๖-๒๐-๐, ๔๖-๐-๐ [ดู fertilizer analysis ประกอบ] fertilizer ratio อัตราส่วนปุ๋ย สัดส่วนสัมพัทธ์ของธาตุอาหารหลัก ในสูตรปุ๋ย ท่ีได้จากการหารด้วยตัวหารร่วมมากของสูตรปุ๋ยนั้น เชน่ สูตรปุ๋ย ๑๐-๖-๔ และ ๒๐-๑๒-๘ มีอัตราสว่ นปยุ๋ ๕ : ๓ : ๒ 71

fertilizer recommendation fertilizer recommendation ค�ำแนะน�ำปุ๋ย ค�ำแนะน�ำในการใช้ปุ๋ย ให้เหมาะกับชนิดพืชท่ีปลูก โดยพิจารณาจากค่าวิเคราะห์ธาตุ อาหารในดิน หรือการตรวจวินิจฉัยพืชที่ปลูก โดยระบุปริมาณ วธิ กี าร เวลา และชนดิ ปยุ๋ ท่ใี ส่ F fertilizer requirement ความต้องการปุ๋ย ปริมาณปุ๋ยที่ต้องใส่ในดิน เพ่ือเพ่ิมธาตุอาหารท่ีเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตและ การให้ผลผลติ ของพืชจนถึงระดบั ทตี่ อ้ งการ fertilizer salt index ดชั นคี วามเคม็ ปยุ๋ อตั ราสว่ นของการลดศกั ยอ์ อสโมซสิ ของสารละลายปยุ๋ โดยเปรยี บเทยี บกบั โซเดยี มไนเทรตทม่ี นี ำ�้ หนกั เดียวกัน ซึ่งก�ำหนดให้ดัชนีความเค็มของโซเดียมไนเทรต มีคา่ เท่ากับ ๑๐๐ เช่น ยูเรยี มดี ัชนีความเค็ม ๗๕.๔ แอมโมเนียม ไนเทรตมีดชั นีความเคม็ ๑๐๔.๗ fibric soil mมขaอาtกeงพกriวชืaา่ทlโ่ียดวังยัสไปมดร่สดุ ิมลนิ าาไตยฟรตบวั(หรติกลงั้ แงั กตวาสั่ ๒๕รดบ ุด(้ดีกิน้วรอยณนิ นีสทว้ิ จี รมายี ือง์ท))ีป่๓ม๔รีค ะ(่ากกครอวณบาสีมดเีห้วขยนม้ เา)สแหน้ นรใ่นือย รวมตำ�่ มาก แตม่ ีความสามารถในการอ้มุ น�้ำสูงมาก Fibrists ไฟบริสตส์ อันดับย่อยอันดับหนึ่งของอันดับดินฮิสโทซอลส์ ในการจ�ำแนกตามระบบอนกุ รมวธิ านดนิ เปน็ ดนิ อนิ ทรยี ซ์ งึ่ มวี สั ดุ ดินไฟบริกมากกว่าวัสดุดินอินทรีย์ชนิดอื่น ๆ และมีความหนา มากกวา่ ๔๐ เซนตเิ มตร รวมทง้ั ไมม่ ชี น้ั ดนิ วนิ จิ ฉยั ซลั ฟวิ รกิ ภายใน ๕๐ เซนติเมตร และวัสดุดินซัลไฟด์ (sulfidic soil material) ภายใน ๑๐๐ เซนตเิ มตร จากผวิ ดนิ ตวั อยา่ งชดุ ดนิ ในประเทศไทย ของอันดับยอ่ ยนี้ คือ ชดุ ดินนราธิวาส [ดู fibric soil materials, Histosols และ sulfuric diagnostic horizon; sulfuric horizon ประกอบ] 72

fine textured soil F field capacity; field moisture capacity ความจุความช้ืนสนาม ปรมิ าณนำ�้ ทย่ี งั คงเหลอื อยใู่ นดนิ ในชว่ งเวลา ๒-๓ วนั หลงั จากทดี่ นิ อ่ิมตัวด้วยน้�ำ และน�้ำส่วนเกินได้ระบายออกไปหมดแล้วโดย แรงดงึ ดดู ของโลก [ดู available water ประกอบ] field strip cropping การปลูกพืชสลับแถบตามสภาพพืน้ ท่ี ดคู �ำอธบิ าย ใน strip cropping fifteen-atmosphere percentage ความช้นื ทส่ี บิ ห้าบรรยากาศ ร้อยละ ของน�้ำที่เหลืออยู่ในดินที่อยู่ภายใต้การควบคุมและสมดุล กบั แรงดนั ๑๕ บรรยากาศ [มคี วามหมายเหมอื นกบั fifteen-bar percentage] fifteen-bar percentage ความชื้นทีส่ ิบห้าบาร์ ดู fifteen-atmosphere percentage filler ตวั เตมิ วัสดทุ ่ีใส่ลงไปในป๋ยุ เชิงผสมเพ่อื ปรบั นำ้� หนกั ใหค้ รบ ๑๐๐ ส่วน วสั ดทุ ใ่ี ชต้ อ้ งเปน็ สารเฉอ่ื ย และไมม่ ธี าตอุ าหารทเี่ ปน็ องคป์ ระกอบ ของปยุ๋ เชน่ ทราย เคโอลิไนต์ ดนิ เบา film water น�้ำเยื่อ ชั้นบาง ๆ ของน�้ำท่ีอยู่รอบอนุภาคดิน โดยท่ัวไป มีความหนาต้ังแต่ ๑-๒ ชั้นโมเลกลุ ของน้�ำ fine sand ดนิ ทรายละเอยี ด ดคู �ำอธิบายใน soil texture fine sandy loam ดนิ รว่ นปนทรายละเอยี ด ดูค�ำอธบิ ายใน soil texture fine textured soil ดนิ เนอ้ื ละเอียด ๑. กลุม่ เนื้อดนิ ทป่ี ระกอบด้วยอนุภาค ดินท่ีละเอียด โดยเฉพาะอย่างย่ิงอนุภาคขนาดทรายแป้งและ ดินเหนียวในปริมาณมาก รวมดินที่อยู่ในชั้นเนื้อดินเหนียว ปนทราย ดนิ เหนียวปนทรายแปง้ และดนิ เหนียว ๒. ดนิ ทม่ี ีอนภุ าคดนิ เหนียวร้อยละ ๓๕-๖๐ เมือ่ ใชใ้ นการจ�ำแนก ชั้นขนาดอนุภาคดินในขั้นวงศ์ดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน ของสหรัฐอเมริกา 73

fixation fixation การตรึง กระบวนการซึ่งท�ำให้ธาตุอาหารในดินที่เป็นประโยชน์ เปลี่ยนแปลงไป เป็นประโยชน์น้อยลง หรือไม่เป็นประโยชน์ ตอ่ พชื flagstone หินก้อนแบน ช้ินส่วนของหินที่มีรูปร่างแบน มีความยาว F ๑๕๐-๓๘๐ มลิ ลเิ มตร [ดู rock fragment ประกอบ] F layer ชั้นเอฟ ชั้นอินทรียวัตถุที่ย่อยสลายบางส่วน ซ่ึงโครงสร้างพืช บางช้ินส่วนยังคงเหลืออยู่และก�ำลังย่อยสลาย พบในดินป่า ซึง่ อยู่ในชน้ั ดินเศษซากพชื เดิมเรยี กว่า ช้นั โออี (Oe layer) flocculation การเกาะกลุ่มตกตะกอน การเกาะตัวเป็นกลุ่มของอนุภาค ดินเหนียวและสารประกอบอินทรีย์ที่มีขนาดเล็ก เนื่องจาก อิทธพิ ลของแคตไอออนทีม่ ปี ระจสุ องและสามในสารละลาย flood irrigation การชลประทานแบบทว่ มแปลง การให้นำ�้ ทว่ มผิวหนา้ ดนิ ทว่ั ท้งั แปลง นยิ มใช้กบั พ้นื ทีท่ ่ีมนี ้ำ� ปริมาณมาก flood plain ท่ีราบน้�ำท่วมถึง ท่ีราบริมแม่น�้ำหรือล�ำธารซ่ึงหน้าฝนหรือ หน้าน�้ำมักมีน้�ำท่วมเป็นคร้ังคราว โดยปรกติเป็นสภาพพ้ืนที่ ที่เกิดจากการทบั ถมของตะกอนนำ�้ พา flow การไหล การเคลื่อนทีข่ องของไหลผา่ นดนิ หรือผ่านผวิ หนา้ ดนิ flow rate อัตราการไหล ปริมาตรของของไหลท่ีไหลผ่านพ้ืนท่ีท่ีก�ำหนด ต่อหนว่ ยเวลา [ดู flux density ประกอบ] flume ฟลูม ๑. รอ่ งน�้ำเปดิ ส�ำหรบั การสง่ น�ำ้ ผ่านสง่ิ กดี ขวาง ๒. คลองสง่ นำ้� ทย่ี กสูงเหนือระดับพ้นื ดินธรรมชาติท้ังสาย ๓. โครงสร้างทีอ่ อกแบบพิเศษส�ำหรบั วดั การไหลของนำ้� ใน ร่องน้ำ� เปิด Fluvents ฟลูเวนตส์ อันดับย่อยอันดับหนึ่งของอันดับดินเอนทิซอลส์ใน การจ�ำแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินที่ไม่มีแนวสัมผัส วินิจฉัยใด ๆ ภายใน ๒๕ เซนติเมตรจากผิวดิน และมีความชนั น้อยกว่าร้อยละ ๒๕ และมีคาร์บอนอินทรีย์ท่ีความลึก 74

food chain F ๑๒๕ เซนติเมตรจากผิวดิน ต้ังแต่ร้อยละ ๐.๒ ขึ้นไป ซ่ึงลดลง ไมส่ มำ่� เสมอ ตัวอย่างชดุ ดนิ ในประเทศไทยของอนั ดบั ยอ่ ยนี้ คือ ชดุ ดินทา่ มว่ ง และชดุ ดินเชียงใหม่ [ดู Entisols ประกอบ] fluvial deposit ส่ิงทับถมธารน้�ำพา ส่ิงทับถมท่ีประกอบด้วยวัตถุซ่ึงถูก พัดพามากับล�ำน�้ำ [มคี วามหมายเหมือนกับ fluvial sediment] fluvial sediment ตะกอนธารน�้ำพา ดู fluvial deposit flux ฟลักซ์ ดู flux density flux concentration ความเข้มข้นฟลักซ์ มวลของตัวละลายต่อหน่วย ปริมาตรของของไหลที่เคล่ือนผ่านหน่วยพื้นที่ของดินในช่วง เวลาหน่ึง มีค่าเท่ากับอัตราส่วนของฟลักซ์ตัวละลายต่อฟลักซ์ ของน้�ำ flux density ความหนาแนน่ ฟลักซ์ ปริมาณของของไหล อนภุ าค หรือ พลงั งานทเี่ คลอ่ื นทตี่ อ่ หนว่ ยพนื้ ทห่ี นา้ ตดั ซงึ่ ตงั้ ฉากกบั ทศิ ทางการ ไหลต่อหน่วยเวลา [มคี วามหมายเหมือนกบั flux] foliar diagnosis การวินจิ ฉยั ใบ การประเมนิ สถานะของธาตุอาหารในพชื จากองคป์ ระกอบทางเคมขี องใบพชื ทก่ี �ำหนด สี และลกั ษณะการ เจรญิ เตบิ โตของใบพชื foliar fertilization การให้ป๋ยุ ทางใบ การให้สารละลายปุ๋ยทเี่ จือจางแก่พชื โดยการพ่นเป็นละอองไปยังใบและต้นพืช Folists โฟลิสตส์ อันดับย่อยอันดับหน่ึงของอันดับดินฮิสโทซอลส์ในการ จ�ำแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินอินทรีย์ซ่ึงอ่ิมตัว ด้วยน�้ำนานสะสมน้อยกว่า ๓๐ วันต่อปี ไม่พบอันดับย่อยน้ี ในประเทศไทย [ดู Histosols ประกอบ] food chain โซ่อาหาร ล�ำดับการตอ่ เน่ืองของสง่ิ มีชีวิตเชิงอาหาร โดยเปน็ ผู้ล่าหรือผู้ถูกล่า ซ่ึงก็คือ สิ่งมีชีวิตชนิดแรกถูกกินโดยสิ่งมีชีวิต ชนิดท่ี ๒ และสิ่งมีชีวิตชนิดท่ี ๒ ถูกกินโดยส่ิงมีชีวิตชนิดที่ ๓ ไปตามระดบั การถ่ายทอดสารอาหาร (trophic level) 75

footslope footslope เชิงเขา, ตนี เขา ต�ำแหนง่ ของทล่ี าดเนนิ เขา (hillslope) ซง่ึ อยู่ บริเวณฐานของเนินเขา มีความลาดเอียงเล็กน้อย มีลักษณะ โค้งเวา้ อยูร่ ะหวา่ งลาดเขาและท่ีราบเชงิ เขา food web สายใยอาหาร โซ่อาหารที่แตกแขนงติดต่อระหว่างกัน F แสดงความสัมพันธ์เชิงอาหารตามระดับการถา่ ยทอดสารอาหาร forest cover ปา่ ปรก พน้ื ทด่ี นิ ทป่ี กคลุมดว้ ยป่าไม้ forest floor พ้ืนป่า อินทรียวัตถุท้ังหมดท่ีเกิดขึ้นจากพรรณไม้ในป่า รวมท้งั เศษซากพืชทร่ี ่วงหล่นและส่วนที่เปน็ ฮิวมัสบนผวิ หนา้ ดิน forest productivity ผลิตภาพป่า, ก�ำลังผลิตของป่า ความสามารถ ของป่าในการให้ผลผลิต เช่น มวลชีวภาพ ไม้ ในช่วงเวลาใด เวลาหนึ่ง ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของปฏิสัมพันธ์ระหว่างพรรณไม้ กบั ปจั จัยแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต เช่น ดนิ ภมู อิ ากาศ ภูมปิ ระเทศ fracture รอยแตก ๑. ลกั ษณะท่ีแร่แตกออกตามระนาบของรอยแตก เช่น รอยแตกแบบกน้ หอย (concoidal) ๒. รอยแตกในหนิ ทอ่ี าจมีการเล่อื นตวั หรอื ไมก่ ไ็ ด้ ๓. รอยแตกบนผวิ บนของธารน�ำ้ แข็ง ๔. การเปลย่ี นลักษณะจากการสูญเสียแรงยึดเหนี่ยว หรอื การปลดปลอ่ ยแรงทก่ี ักเกบ็ ไว้ ๕. รอยแตกเปน็ ชอ่ งรูปรา่ งแบนระหวา่ งเม็ดดนิ fragile land ท่ีดินเปราะบาง พ้ืนที่ท่ีเสื่อมโทรมง่ายเม่ือถูกรบกวน เช่น ดนิ ที่กร่อนงา่ ย ดินทส่ี ะสมเกลือได้ fragipan ชั้นดานเปราะ ๑. ช้ันดินล่างที่เช่ือมยึดตัวแน่นเมื่อแห้ง และแตกออกเม่ือชื้น มีปริมาณอินทรียวัตถุต�่ำ ความหนาแน่น รวมสงู น้�ำซึมผ่านชา้ มาก รากพืชชอนไชยาก พบในดนิ ทั่ว ๆ ไป โดยเฉพาะในดินทม่ี ีขนาดอนภุ าคทรายแปง้ ปรมิ าณสงู ๒. ชนั้ ดนิ ลา่ งวนิ จิ ฉยั ทมี่ คี วามหนา ๑๕ เซนตเิ มตรขนึ้ ไป มลี กั ษณะ ท่ีแสดงกระบวนการก�ำเนิดดินปรากฏให้เห็น แน่นทึบไม่มี 76

functional nutrient F โครงสร้าง เปราะเมอื่ ช้นื ไมม่ รี ากพืช แตกตัวมากกวา่ ร้อยละ ๕๐ เม่ือแชใ่ นน้�ำ และไมท่ �ำปฏิกริ ยิ ากบั กรดเกลอื เจอื จาง fragmentation การแตกเป็นช้ินส่วน การท�ำให้วัตถุแตกหักออก เปน็ ช้ินส่วน free iron oxides เหลก็ ออกไซดอ์ ิสระ เหล็กออกไซด์ทีถ่ กู รดี ิวซ์และละลาย ด้วยสารไดไทโอไนต์ได้ โดยท่ัวไปเหล็กออกไซด์อิสระในดิน ประกอบด้วยเกอไทต์ ฮีมาไทต์ เฟร์ริไฮไดรต์ เลพิโดโครไซต์ และแมกฮีไมต์ free water น�ำ้ อิสระ น�้ำท่ีเคล่อื นท่อี ยา่ งอิสระบนผิวดนิ หรอื ในดิน frigid soil temperature regime ระบอบอุณหภูมิดินแบบฟริจิด ช้ันอุณหภูมิดินซ่ึงมีค่าอุณหภูมิดินเฉล่ียรายปีสูงกว่า ๐ องศา เซลเซยี ส แต่ต่ำ� กวา่ ๘ องศาเซลเซียส และความแตกตา่ งระหว่าง อุณหภูมิดินเฉลี่ยของฤดูร้อนกับฤดูหนาวมากกว่า ๖ องศา เซลเซยี สทรี่ ะดบั ความลกึ ๕๐ เซนตเิ มตร ฤดรู อ้ นมอี ณุ หภมู อิ บอนุ่ กวา่ ระบอบอณุ หภมู ิดนิ แบบไครอกิ frost heaving การยกขึน้ ของช้ันเยือกแข็ง การยกตัวขึน้ หรือการเคลอ่ื นท่ี ทางด้านข้างของดินหรือตะกอนซ่ึงเกิดจากกระบวนการท่ีน�้ำใน ดินกลายเป็นน�้ำแข็งซ่ึงมีความสัมพันธ์กับการเกิดเลนส์น้�ำแข็ง หรอื แทง่ เขม็ น้�ำแข็ง fulvic acid กรดฟุลวิก วัสดอุ นิ ทรยี ์ท่ีเหลืออยู่ในสารละลายหลังจากแยก กรดฮิวมิกออกไปโดยการตกตะกอนด้วยกรด [ดู humic acid ประกอบ] fulvic acid fraction สว่ นกรดฟลุ วิก สว่ นของอนิ ทรียวตั ถใุ นดนิ ซึ่งละลาย ไดท้ ั้งในด่างและกรดเจือจาง functional nutrient สารอาหารบทบาท ธาตุอาหารที่มีบทบาทใน กระบวนการเมแทบอลซิ มึ ของพชื อาจเปน็ บทบาทเฉพาะหรอื ไม่ กไ็ ด้ 77

fungistat fungistat ฟังไจสแตต สารประกอบท่ยี บั ยั้งหรอื ปอ้ งกันการเจริญของเห็ดรา เช่น แคลเซยี มออกไซด์ furrow erosion การกร่อนในร่อง การกร่อนที่เกิดจากกระบวนการ ให้น�ำ้ ชลประทานแบบรอ่ ง F furrow irrigation การชลประทานแบบร่อง การให้น�ำ้ ในร่องที่เกดิ จากการ ไถพรวนดินระหว่างแถวปลกู พืช furrow mulching การคลุมร่อง การใช้ฟางข้าวหรือวัสดุคลุมดินอ่ืน ๆ วางในร่องน้�ำชลประทานเพ่ือเพ่ิมการซึมน�้ำและลดการกร่อน ของดนิ 78

gelic material G G gabbro หนิ แกบโบร หินอคั นีเบส เน้อื หยาบ สีเข้ม มีองคป์ ระกอบทางแร่ คลา้ ยหินบะซอลต์ [ดู basalt ประกอบ] gas pressure potential ศักย์ความดนั แกส๊ คา่ ศักยค์ วามดันของแกส๊ ที่ เกิดขึ้นในดินเน่ืองจากดินได้รับความดันแก๊สจากภายนอก เช่น ความดนั จากอุปกรณส์ กดั น้ำ� จากดนิ (soil water extractor) Gelands เจแลนดส์ อันดับย่อยอันดับหน่ึงของอันดับดินแอนดิซอลส์ใน การจ�ำแนกตามระบบอนกุ รมวิธานดิน เป็นดนิ ซง่ึ เกิดข้นึ ภายใต้ ระบอบอณุ หภูมดิ นิ แบบเจลกิ ไม่พบอันดับย่อยน้ใี นประเทศไทย [ดู Andisols และ gelic soil temperature regime ประกอบ] Gelepts เจเลปตส์ อันดับย่อยอันดับหน่ึงของอันดับดินอินเซปทิซอลส์ ในการจ�ำแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินซ่ึงมีระบอบ อุณหภูมิดินแบบเจลิก [ดู gelic soil temperature regime และ Inceptisols ประกอบ] gelic material วัสดุเจลิก วัสดุดินแร่หรือวัสดุดินอินทรีย์ที่แสดงการ ถูกรบกวนจากการแข็งตวั ของน้�ำ (cryoturbation) การแยกตัว ของน้�ำแข็ง และ/หรืออยู่ส่วนบนของช้ันเยือกแข็ง ท�ำให้เกิด การผสมของวสั ดพุ นื้ ภายในหนา้ ตดั ดนิ เกดิ เปน็ ชนั้ ดนิ ทม่ี ลี กั ษณะ ขาดตอนหรือไม่สม�่ำเสมอ อยู่ในสภาพที่ซับซ้อน รวมท้ังมีการ สะสมอินทรยี วตั ถุบนชน้ั เยือกแขง็ หรอื บนผิวช้นิ สว่ นของหิน 79

gelic soil temperature regime gelic soil temperature regime ระบอบอุณหภูมิดินแบบเจลิก ชั้นอณุ หภูมิดินซ่งึ มคี า่ อณุ หภมู ิดนิ เฉล่ียรายปีท่ี ๐ องศาเซลเซียส หรอื ตำ่� กวา่ (ส�ำหรบั อนั ดบั ยอ่ ยและกลมุ่ ใหญเ่ จลกิ ) หรอื ๑ องศา เซลเซียสหรือต่�ำกว่า (ส�ำหรับอันดับดินเจลิซอลส์) โดยวัดท่ี ระดับความลึก ๕๐ เซนตเิ มตรจากผวิ ดนิ หรือทแ่ี นวสมั ผสั ชน้ั หิน G ถ้าชนั้ หินอยู่ตื้นกว่า ๕๐ มิลลเิ มตร Gelisols เจลิซอลส์ อันดับดินอันดับหนึ่งในการจ�ำแนกตามระบบอนุกรม วธิ านดนิ เปน็ ดนิ แรท่ ม่ี ชี น้ั เยอื กแขง็ ถาวรภายใน ๑๐๐ เซนตเิ มตร จากผิวดิน หรือมีวัสดุเจลิกภายใน ๑๐๐ เซนติเมตร และมี ชนั้ เยือกแข็งถาวรภายใน ๒๐๐ เซนติเมตรจากผวิ ดนิ ตามระบบอนุกรมวิธานดิน พ.ศ. ๒๕๕๗ (ค.ศ. ๒๐๑๔) อันดับดินเจลิซอลส์จําแนกเป็นอันดับย่อย ดังนี้ ฮิสเทลส์ (Histels) เทอร์เบลส์ (Turbels) และออร์เทลส์ (Orthels) ซ่ึง ในประเทศไทยยงั ไมพ่ บดนิ ในอนั ดบั เจลซิ อลส์ [ดู gelic material และ permafrost ประกอบ] Gelods เจลอดส์ อันดับยอ่ ยอนั ดบั หน่ึงของอันดบั ดินสปอโดซอลส์ในการ จ�ำแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินซ่ึงมีระบอบอุณหภูมิ ดินแบบเจลิก ไม่พบอันดับย่อยน้ีในประเทศไทย [ดู gelic soil temperature regime และ Spodosols ประกอบ] Gelolls เจลอลส์ อันดับย่อยอันดับหนึ่งของอันดับดินมอลลิซอลส์ใน การจ�ำแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน เป็นดินซึ่งเกิดขึ้นภายใต้ ระบอบอุณหภูมิดินแบบเจลกิ ไมพ่ บอนั ดับย่อยนี้ในประเทศไทย [ดู gelic soil temperature regime และ Mollisols ประกอบ] generalized soil map แผนที่ดินแบบท่ัวไป แผนที่ดินที่มีมาตราส่วน ขนาดเลก็ ท�ำขึน้ จากการรวมขอบเขตของหนว่ ยแผนท่ีดนิ ทม่ี ีอยู่ แล้วซ่ึงมีมาตราส่วนใหญ่กว่าเข้าด้วยกันท�ำให้มีขอบเขตกว้างข้ึน โดยใช้หน่วยแผนที่ดินช้ันสูงข้ึน เช่น กลุ่มดินหลัก กลุ่มใหญ่ 80

gilgai G ส�ำหรบั ประเทศไทยใชม้ าตราสว่ น ๑ : ๑,๐๐๐,๐๐๐ หรอื เลก็ กวา่ geographic information system (GIS) ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์, ระบบภูมิสารสนเทศ (จีไอเอส) ระบบข้อมลู ขา่ วสารที่เชื่อมโยง กบั ค่าพิกดั ภูมศิ าสตร์และรายละเอียดของวตั ถบุ นพ้นื โลก โดยใช้ คอมพิวเตอร์ท่ีประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เพ่ือการ น�ำเขา้ จัดเก็บ ปรบั แก้ แปลง วิเคราะห์ข้อมูล และแสดงผลลพั ธ์ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น แผนท่ี ภาพ ๓ มิติ สถิติตารางข้อมูล เพ่ือช่วยในการวางแผนและตัดสินใจของผู้ใช้ให้มีความถูกต้อง แม่นย�ำ geological erosion การกร่อนทางธรณี การกร่อนทีเ่ กิดจากการผพุ ังตาม ธรรมชาตหิ รอื กระบวนการทางธรณีอืน่ ๆ [ดู natural erosion ประกอบ] geology ธรณวี ทิ ยา วทิ ยาศาสตรแ์ ขนงหนึ่งซง่ึ เก่ยี วข้องกบั ประวัติของโลก สสารที่เป็นองค์ประกอบของโลก และส่ิงมีชีวิตบนพื้นโลก โดยเฉพาะอย่างย่งิ ท่ีปรากฏรอ่ งรอยอยูใ่ นหนิ ต่าง ๆ geomorphology ธรณสี ัณฐานวิทยา วิชาท่ีวา่ ด้วยรปู ทรงของพื้นผิวโลก โดยเฉพาะการจ�ำแนก การบรรยาย ลักษณะทางธรรมชาติ การเกิดกระบวนการและการปรับตัวของพ้ืนผิวโลก ตลอดจน ความเปล่ยี นแปลงทพี่ บเหน็ ในปจั จบุ นั gibbsite กิบบไ์ ซต์ แรอ่ ะลมู ิเนยี มไฮดรอกไซด์ มสี ูตรเคมี Al(OH)3 มีลักษณะ เปน็ แผน่ สว่ นใหญพ่ บในดนิ ทม่ี กี ารสลายตวั ผพุ งั สงู และในศลิ าแลง พบมากในดินล่างและในหินผุคงสภาพของดินที่เกิดจากหิน ท่มี เี ฟลด์สปารส์ งู gilgai พื้นทตี่ ะปุม่ ตะป�ำ่ พ้ืนทีท่ ีผ่ วิ หน้าดินมลี ักษณะสงู ๆ ต�ำ่ ๆ เกดิ จาก ดินเหนียวประเภทสเมกไทตท์ ม่ี ีการขยายตัวและหดตวั เน่อื งจาก ดนิ มกี ารเปล่ียนแปลงความช้ืน [ดู microrelief ประกอบ] 81

GIS (geographic information system) GIS (geographic information system) จีไอเอส (ระบบสารสนเทศ ภมู ศิ าสตร,์ ระบบภมู สิ ารสนเทศ) ดู geographic information system (GIS) glacial drift; glacial deposit สิง่ ทับถมธารน้�ำแข็ง เศษหนิ ดิน ทราย ที่ธารน�ำ้ แข็งหรอื ภูเขาน�้ำแข็งพามาสะสมบนพน้ื ดนิ หรือในทะเล G glacial till; unstratified drift ตะกอนธารนำ้� แขง็ ไมแ่ สดงช้ัน ตะกอน ธารน�้ำแข็งท่ีไม่แสดงชั้นและไม่มีการคัดขนาด ประกอบด้วย ตะกอนดินเหนียว ทราย กรวด และก้อนหินมนท่ีมีขนาดและ รปู รา่ งแตกตา่ งกนั มากคละเคลา้ กนั [มคี วามหมายเหมอื นกบั till ๑] glacier ธารน้�ำแข็ง มวลน้�ำแข็งขนาดใหญ่ที่เกิดบนแผ่นดินโดยการอัดตัว และการตกผลกึ ใหมข่ องหมิ ะ และเคลอ่ื นทชี่ า้ ๆ ลงมาตามไหลเ่ ขา เชิงเขา แผ่กระจายไปทุกทิศทางเนื่องจากน้�ำหนักของตัวน้�ำแข็ง เอง มวลน้�ำแข็งนี้หมายถึง ภูเขาน้�ำแข็งเล็ก ๆ แผ่นน้�ำแข็งที่ ปกคลุมทวีป และแผ่นน้�ำแข็งที่เคลื่อนตัวออกไปล่องลอยอยู่ ในทะเลดว้ ย glaciofluvial deposit สงิ่ ทบั ถมนำ้� พาจากธารนำ้� แขง็ วสั ดทุ ถี่ กู เคลอื่ นยา้ ย โดยธารนำ�้ แข็ง เม่ือธารนำ�้ แขง็ ละลายเปน็ ธารน้�ำไหล วัสดเุ หล่านี้ จะถกู คดั ขนาดและตกทบั ถมเปน็ ชน้ั ๆ หรอื อาจเกดิ เปน็ ทรี่ าบธาร น�้ำแข็ง ดินดอนสามเหลี่ยม เคม เอสเกอร์ และตะพักเคม [ดู glacial drift; glacial deposit ประกอบ] glaciolacustrine deposit สง่ิ ทบั ถมกน้ ทะเลสาบจากธารน้ำ� แข็ง วสั ดุที่ ธารน�้ำแข็งพัดพามาและตกทบั ถมเปน็ ช้ัน ๆ ในทะเลสาบ glaebule กลบี ลู วสั ดดุ นิ ทเ่ี กดิ จากการสะสมของมวลสารพอกหรอื กอ้ นทรงมน มองเห็นเป็นรูปทรง ๓ มิติ ในแผ่นตัดบางของดินเมื่อดูด้วย กล้องจลุ ทรรศน์โพลาไรส์ 82