Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Smart City มิติใหม่ของการจัดการท้องถิ่นยุคไอที

Smart City มิติใหม่ของการจัดการท้องถิ่นยุคไอที

Description: Smart City เป็นแนวคิดการพัฒนาเมืองที่เกิดขึ้นในปลายศตวรรษที่ 20 โดยมาจากการนำเอาเทคโนโลยีด้านข้อมูลและโทรคมนาคมมาใช้ร่วมกับการวางโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิผลที่ได้รับแนวคิดดังกล่าวได้ถูกพัฒนาต่อจนในปัจจุบันกลายเป็นแนวคิดในการพัฒนาและวางแผนเมืองอย่างชาญฉลาดในบริบทของโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด เพื่อให้ประชาชนของเมืองมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น.

Search

Read the Text Version

4.1 ภาพรวมความต้องการของเทคโนโลยี 4.1.1 การคาดการณค์ วามต้องการของเทคโนโลยีในเอเชีย ในประเทศภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีแนวโน้มมีการขับเคลื่อนของ การพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองอัจฉริยะ และกำลังนำสู่การแก้ไขปัญหาให้เป็น เมืองอัจฉริยะ มีการพัฒนาและลงทุนเทคโนโลยีเพ่ือนำไปสู่รูปแบบเมือง อัจฉริยะและเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจระดับชาติ ซึ่งมีแนวโน้มการลงทุน ทางด้านเทคโนโลยีท่ีสูงมากขึ้นดังแสดงในรูปที่ 4.1-1 และจากกราฟ จะเห็นว่าประเทศจีนมีการลงทุนเทคโนโลยีสำหรับการพัฒนาประเทศสูง ที่สุด รองลงมาเป็นประเทศอินเดีย ซ่ึงเม่ือเปรียบเทียบอัตราส่วนกับใน ประเทศนิวซีแลนดแ์ ละออสเตรเลียประเทศในเอเชียกม็ อี ตั ราท่ีสงู กว่ามาก 83

จฉริยะและเปนการกระตุนเศรษฐกิจระดับชาติ ซ่ึงมีแนวโนมการลงทุนทางดานเทคโนโลยีท่ีสูงมากขึ้น สดงในรSูปmทaี่ r4t.C1i-t1y แกลาระพจฒั านกากแลระปารฟับจใชะ้ระเบหบ็นITวใานกปารรบะรเิหทารศจจดั กีนารมเมีกือางร ลงทุนเทคโนโลยีสําหรับการพัฒนาประเทศ สุด รองลงมาเปนประเทศอินเดีย ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบอัตราสวนกับในประเทศนิวซีแลนดและออสเตรเล ระเทศในเอเชยี รกูปม็ ทีอ่ีตั 4ร.า1ท-1่ีสงูกกาวราลมงาทกุนทางด้านเทคโนโลยีในเขตเอเชียแปซิฟิกในปี 2014 ถึงปี 2023 รปู ท่ี 4.1-1 จกาากรลรางยทงุนาทนางTดhา eนNเทaคvโigนaโลntยใีrนepเขoตrtเ อไดเช้กียลแ่าปวซไวฟิ ้วก่าเใอนเปชีย2เ0ป1็น4เมถือึงงปท 2ี่ 023 4- ใหญ่ที่สุดในโลก มีการเจริญเติบโตของเมืองอย่างรวดเร็ว และเทคโนโลยี เมืองสมาร์ท (Smart city technology) ก็กลายมาเป็นองค์ประกอบท่ี สำคัญของการพัฒนาอนาคตต่อการเจริญเติบโตของเมืองในเอเชีย อีกทั้ง mart City: การพaยัฒrังนeมาaแีกsล)าะรปเพใรหบั ื่อใ้กใชหาระร้ปบสรบะนชIับTาสกในนรกุเนาจรกรบิญารรหิ เพตารัิบฒจโดั นตกาแารใลนเมะพอืสงื้นร้าทงี่เนขโตยเบมาือยงกใาหรมส่่ง(เสNรeิมwแลuะrเbปa็นn แนวทางการพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองอัจฉริยะที่ทำงานผสมผสานกับการ พัฒนาระหว่างประเทศและภูมิภาค ในส่วนภาคการปกครองก็ได้นำเอา เทคโนโลยีท่ีหลากหลายมาใช้ในการแก้ปัญหาเมืองเพ่ือลดการใช้พลังงาน และทรัพยากรและการเตรียมความพร้อมการเติบโตในอนาคต ท้ังในเมือง ช้ันนำและผู้ให้บริการท่ีต้องกระทำตามข้ันตอนสำหรับการบูรณาการ 84

นดัง ศสูง Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง ลีย โครงข่ายสำหรับเทคโนโลยีอัจฉริยะเพ่ือพัฒนาเมืองให้อัจฉริยะอย่าง แทจ้ ริง16 4.1.2 ผ้นู ำทางดา้ นโครงข่ายและเทคโนโลย ี ผู้นำทางเทคโนโลยีหรือซัพพลายเออร์ (Supplier) ของสมาร์ท เทคโนโลยีในด้านต่างๆ ให้กับเมืองท่ีกำลังขยายตัว ซัพพลายเออร์ที่ก่อต้ัง ขึ้นกำลังจะเข้าสู่ตลาดด้านพลังงาน, การขนส่ง, อาคาร และสู่ภาครัฐ มากข้ึนตามการเจริญเติบโตของเมือง ตลาดเทคโนโลยีมีความโดดเด่นและมีความหลากหลายตัว เลือกของซัพพลายเออร์ ซ่ึงประกอบไปด้วยหลายภาคส่วน ซ่ึงจะทำให้ สามารถเปรียบเทียบจุดแข็งและจุดอ่อนของเทคโนโลยีได้ อย่างไรก็ตาม การเปรียบเทียบเทคโนโลยีดังกล่าวจะเป็นส่ิงสำคัญต่อการพัฒนาเมือง อกี ทง้ั ยงั มคี วามสำคญั ตอ่ การเลอื กคคู่ า้ หรอื ผใู้ หบ้ รกิ ารทางเทคโนโลยอี กี ดว้ ย บริษัททางด้านเทคโนโลยี เช่น บริษัทไอบีเอ็ม (IBM) และ ซิสโก้ (Cisco) ยังคงรักษาตำแหน่งผู้นำทางด้านเคโนโลยี ซ่ึงสามารถ สะท้อนให้เห็นต่อความมุ่งม่ันในการพัฒนาที่ทันสมัยตอบสนองต่อความ ต้องการของตลาด มีความเป็นผู้นำในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และความคิด ของบริษัททั้งสอง อย่างไรก็ตามการแข่งขันในตลาดก็ยังมีหลายซัพพลาย เออร์ที่กำลังแข่งขันสู่ความเป็นท่ีหนึ่งในด้านการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อนำไป -18 สู่การพัฒนาเมืองอย่างแท้จริง ส่วนผู้นำทางด้านโครงสร้างพื้นฐานอย่าง บริษัท ซีเมนส์ (Siemens), ฮิตาชิ (Hitashi) และโตชิบา (Toshiba) และ ผู้นำด้านการส่ือสาร Ericsson และ Huawei ท่ีมีความทะเยอทะยาน เพ่ิมข้ึนในการก้าวสู่ตลาดระดับโลก ซึ่งสามารถดูอันดับทางด้านความเป็น ผนู้ ำด้านเทคโนโลยดี งั กราฟรปู ท่ี 4.1-2 16 N avigant Research Leaderboard Report: Smart City Suppliers 85

Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในบกทารทบี่ ร4ิหากราจรัดวกเิาครเรมาือะงห ความตอ งการและวางแผนการพัฒนาระบบ Smart C รูปที่ 4.1-2 อนั ดับของซพั พลายเออร์ทางด้านเทคโนโลยี 4.1.ร3ปู ทโอี่ 4ก.า1ส-2ทาองันกดารับตขลอางดซัพ(TพhลeาMยเaอrอkรeท tาOงดpาpนoเrทtuคnโนitโyล)ย ี .3 โอกาสทาวงิวกัฒารนตา ลกาาดรขน(อวTงัตhเมกeือรMงรแaมลrแะkยลeังะtเเปOท็นpคกpโานoรสrโtลนuยับnีใสiหtนyมุน)่ๆท่ีสเำปค็นัญกสำำลหังรับขัผบู้ทเค่ีตล้อ่ืองกนากรจาะร นวตั กรรมหแาลวะิธเีกทาครโในหโมล่ๆยใี หในมกๆาเรปจนัดกกําาลรังทขรบั ัพเคยลาก่ือรนแกลาะรวกิวาัฒรสน่งามกอารบขบอรงิกเมารอื งมแีหละลยาังยเปน การสนบั ส าคัญสําหรับผเูทที่ตคอโงนกโลารยจีทะี่มหีกาาวริธพีกัฒารนใาหเมพๆื่อจใันดการจกัดบกปาัญรหทารัทพ่ีเยฉาพการะแเลจะากะาจรงสในงมกอารบบริการ มีหล คโนโลยีที่มีการพกรัฒะนจาาเยพพื่อจลัดงงกาานรกกับาปรญ จหัดากทาี่เรฉพพลาังะงเจาานะจกงาใรนจกัดารกการะกจาารยขพนลสัง่งแานละกคาวราจมัดการพลงั งาน ก การการขนสงแปลละอคดวาภมัยปนลอวัตดกภรัยรนมวเหตั กล่รานรมี้ไดเห้รลับากนาี้ไรดสรนับับกสานรุนสจนาับกสกนาุนรพจัาฒกนกาาทร่ีกพวัฒ้างนใาหทญี่ก่ วางใหญขึ้น เ รสื่อสารไรสายข้ึนเครเชือ่นขากยาเรซส็น่ือเสซาอรรไ รแ้สลาะยกเาครรวือิเคขร่ายาะเซห็นขเอซมอรูล์ เแชลิงะพก้ืนาทรี่วคิเคอรมาพะิหวเ์ขต้ออมรูลแเชลิงะมือถือกลายม บาททสี่ าํ คญั ตอพก้ืนาทรี่บครู อณมาพกิวาเรตเพอือ่ร์แใหลกะามรือดถําือเนกนิลงาายนมมาคีมวีบาทมบสาะทดทว่ีกสแำคลัญะรตว่อดกเรา็วรบแูรลณะเาปกนานร วัตกรรมที่สําค การผลักดันแลเะพกื่อาใรหส้กราารสดรำรเคนนินัตงการนรมมีคแวลาะมเทสคะโดนวโกลแยลีขะามรวสดายเรง็วานแแลละะเกปา็นรนแวกัตปกญรหราม ซึ่งการแกปญ กลาวยงั ตอ งการทท่ีสีจ่ำะคสัญนตบั ่อสกนานุรผคลวาักมดสันาแมลาะรกถาขรอสงรม้าอื สถรือรสคม์นาัตรกทรโฟรมนแ(ลSะmเทaคrtโpนhโoลnยeีข้sา)มทสมี่ายีความสําคญั ตอก มโยงการพัฒนงาารนะแบลบะตกา างรๆแกได้ปเัญปนหอายซาง่ึงดกแีาลรแะกม้ปปี ัญระหสาทิ ดธังิภกาลพ่าวทยี่สังาตม้อางรกถาขรยทาี่จยะโอสกนาับสสแนลุนะเขาถึงการใชง งประชาชนไดอ ยา งทว่ั ถึง และเพอ่ื ใหมสี วนรว มในการบริหารจดั การในเมอื งของพวกเขาไดเ ปน อยางดี ตล8าด6ทางดานเทคโนโลยเี มืองสมารท ท่วั โลก ตามประมาณการของ The Navigant report ไดท ําก

City Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง ความสามารถของมือถือสมาร์ทโฟน (Smartphones) ที่มีความสำคัญต่อ การเชื่อมโยงการพัฒนาระบบต่างๆ ได้เป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพ ท่ีสามารถขยายโอกาสและเข้าถึงการใช้งานของประชาชนได้อย่างทั่วถึง และเพอื่ ให้มีส่วนรว่ มในการบริหารจัดการในเมอื งของพวกเขาได้เป็นอยา่ งด ี ตลาดทางด้านเทคโนโลยีเมืองสมาร์ทท่ัวโลก ตามประมาณการ ของ The Navigant report ได้ทำการวิจัยด้านการตลาดทางด้านเทคโนโลยี ทั่วโลกที่มีการคาดการณ์มูลค่าของตลาดเทคโนโลยีในปี 2023 ท่ีสูงถึง 27.5 ล้านดอลล่าสหรัฐ เมื่อเปรียบกับในปี 2014 ท่ีมีมูลค่า 8.8 ล้าน- ดอลล่าสหรฐั ซึ่งแสดงให้เห็นอัตราการเจริญเตบิ โตทส่ี งู ถึง 13.5 % รปู ท่ี 4.1-3 รายไดท้ างดา้ นเทบทคทโี่ น4 โกลารยวิเขี ครอางะพหคนื้ วาทมีต่ตอ่างงกๆารแทล่ัวะวโาลงแกผ นการพัฒนาระบบ Smart City สนุน รูปท่ี 4.1-3 รายไดทางดานเทคโนโลยขี องพื้นท่ีตา งๆ ทว่ั โลก ลาย การ ความตองการพัฒนาเทคโนโลยีในประเทศไทย เชน มามี คัญ ญหา การ งาน 4.2 การสงเสริมดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทย กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี เปนผูท่ีมบี ทบาทท่ีสาํ คัญในการพฒั นาเคโนโลยีในประเทศไทย 87การ4.2.1

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง 4.2 ความต้องการพฒั นาเทคโนโลยีในประเทศไทย 4.2.1 การส่งเสรมิ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยขี องประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นผู้ที่มีบทบาทที่สำคัญ ในการพัฒนาเคโนโลยีในประเทศไทย โดยมีเป้าหมายหลักสำหรับ การให้บริการและกำหนดยุทศาสตร์และทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีของ ประเทศไทย ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม อย่างก้าวกระโดด ได้สร้างความเปลี่ยนแปลงท้ังด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ มีผลกระทบ ท้ังด้านบวกและด้านลบ รัฐบาลจึงกำหนดนโยบายการพัฒนา และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและ พัฒนา และนวัตกรรม โดยกำาหนดนโยบายที่เก่ียวกับการพัฒนากำลังคน เพื่อเร่งเสริมสร้างสังคมนวัตกรรม โดยส่งเสริมระบบการเรียนการสอนที่ เชื่อมโยงระหว่างวิทยาศาสตร์(S) เทคโนโลยี (T) วิศวกรรมศาสตร์ (E) และคณิตศาสตร์(M) หรือ STEM การผลิตกำาลังคนในสาขาที่ขาดแคลน การเชอื่ มโยงระหวา่ งการเรยี นรกู้ บั การทำงาน (Workintegrated Learning ; WiL) การให้บุคลากรด้านการวิจัยของภาครัฐสามารถไปทำงานในภาค เอกชน (Talent Mobility) และการให้อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาด ย่อมมีช่องทางได้เทคโนโลยีโดยความร่วมมือจากหน่วยงานและสถานศึกษา ภาครัฐ การใช้ประโยชน์จากกำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพ่ือ นำไปสกู่ ารเพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจึงได้มีแนวทางในการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีวิจัย และนวัตกรรม ให้ท่ัวถึง และเพียงพอท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพในลักษณะของความ ร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน เพื่อพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ และนักวิจัยให้เพียงพอท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพ ซึ่งการตอบสนอง นโยบายดังกล่าวจำเป็นต้องมีทรัพยากรมนุษย์ที่มีความรู้ ทักษะความ 88

Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง ชำนาญและประสบการณ์ สามารถทำงานไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพและหลากหลาย รูปแบบ (knowledge worker) ถือเป็นหัวใจส คัญที่จะผลักดันประเทศไป สู่ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้และการพัฒนาท่ียั่งยืน ดังน้ันการ พัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ดังกล่าว ต้องอาศัยโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการศึกษาท้ังใน ระบบ นอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังการฝึกอบรม เพ่ือผลิต และพัฒนาบุคลากร ของประเทศให้มีความสามารถในการสร้าง พัฒนา และใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และก้าวทันต่อการเปล่ียนแปลงของ เศรษฐกจิ และสงั คมได้ รูปที่ 4.2-1 ความเช่ือมโยงบแทผที่ น4 กการาวริเคพราัฒะหคนวาามกตำองลกาังรคแลนะวดาง้าแนผนวกิาทรพยัฒานศาราะสบบตSรm์ art City รวมท้ังกแารลฝะก อเบทรคม โเพนือ่ โผลลติ ยแีและหพ่งฒั ชนาาบตุคิกลาับกรยุขทอธงปศราะสเทตศใรห์กมีคาวราพมสัฒามนาราถกในำกลารังสครานงดพ้าัฒนนาและใช ความรูใ วหิเทกยิดปารศะาโยสชตนรสูง์เสทุดคแโลนะโกลาวยทีแนั ลตอะกนารวเัตปลก่ยี รนรแมปลขงขอองเกศรษะฐทกริจวแลงะวสิทงั คยมาไศดาสตร์และ เทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รูปที่ 4.2-1 ความเชอ่ื มโยงแผนการพฒั นากําลงั คนดา นวิทยาศาสตรและเทคโนโลยแี หง ชาติกบั ยทุ ธศาสตร 89การพฒั นากําลงั คนดา นวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและนวัตกรรม ของกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2558

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง 90 ตารางท่ี 4.2-1 เป้าหมายการใหบ้ ริการและยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี เปา้ หมายการให้บริการกระทรวง ยทุ ธศาสตร์กระทรวง 1. กำลังคนทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีได้รับการเสริมสร้าง 1. การส่งเสริมและเร่งรัดการพัฒนากำลังคน ขีดความสามารถในการนำาความร้ไู ปประยกุ ตใ์ ช้ในการวจิ ยั พัฒนา และ นวตั กรรม ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม 2. ภาคการผลิตและบริการมีบุคลากรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีศักยภาพ รองรับ เพอ่ื เพิ่มขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน การลงทุนวิจัยและพัฒนาและสร้างนวัตกรรมเพิ่มข้ึนอย่างเพียงพอ ก่อให้เกิดขีดความ สามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น และมีความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐและภาคเอกชน ในการบ่มเพาะและพัฒนากำลังคนทัง้ วัยกอ่ นทำงาน และวยั ทำงาน 3. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รวมท้ังเด็กเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติที่ดี 2. การสร้างองค์ความรู้ และความตระหนัก ต่อด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิต เพ่ือให้เป็นสังคมฐานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ประจำวันและการปฏบิ ัตงิ านได้ และเทคโนโลยี 4. การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมสามารถนำไปเผยแพร่ สร้างองค์ความรู้ และ 3. การเร่งรัดการวิจัย พัฒนา และสร้าง ประยกุ ต์ใช้ไดใ้ นภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม ธรุ กิจบริการ และภาคสงั คม/ ชมุ ชน นวัตกรรม เพ่ือสร้างงาน สร้างรายได้ พัฒนา ชี วิ ต แ ล ะ ส ร้ า ง ฐ า น ค ว า ม รู้ ใ น ภ า ค 5. ผู้ประกอบการและชุมชนได้นำเทคโนโลยี ผลงานวิจัยไปเพิ่มผลิตภาพการผลิต อตุ สาหกรรม เกษตรกรรม และบริการ และคณุ ภาพผลิตภณั ฑ ์ 6. งานวจิ ยั พัฒนาและนวัตกรรมเพอื่ เพิม่ มูลค่าสนิ คา้ สาขาสำคญั ของประเทศ 7. งานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมด้านเครื่องมือ อุปกรณ์เทคโนโลยีและนวัตกรรม หรือต้นแบบ เพ่ือทดแทนการนำ เข้าท่ีสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในราชการ หรือ เชิงพาณิชย ์

เปา้ หมายการให้บรกิ ารกระทรวง ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวง 8. ภาคการผลิตและบริการ ใช้ประโยชน์จากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานนโยบาย 4. การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน อุทยาน และระบบการบริหารจัดการด้านด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม วิทยาศาสตร์ภูมิภาคและระบบสนับสนุนการ เพอ่ื สนบั สนุนการพฒั นาประเทศอยา่ งมธี รรมาภิบาล วิจัย พัฒนา และนวัตกรรม รวมทั้งพัฒนา นโยบาย การบริหารจัดการด้าน วทน. เพ่ือ เพิ่มผลผลิตและมูลค่าของผลิตภัณฑ์ตลอดจน 9. ภาคการผลิตและการบริการ ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานเพ่ือการวิจัยและ การป้องกันการกีดกันทางการค้า และรักษา พัฒนา สิ่งแวดล้อม Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง 91 10. . ภาคการผลิต บริการ และชุมชนได้นำาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ 5. การพัฒนาและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี ไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม และบริหารจัดการภัยธรรมชาต ิ อวกาศและภูมิสารสนเทศเพื่อสนับสนุน อย่างมปี ระสทิ ธิผล การพัฒนาประเทศและการบริหารจัดการ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ภ า พ ภู มิ อ า ก า ศ แ ล ะ ภัยธรรมชาต ิ 11. เศรษฐกิจและสังคมใช้ประโยชน์จากด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 6. การพัฒนาความร่วมมือกับประเทศ เพ่ือเสริมสรา้ งความร่วมมือกบั ประชาคมอาเซียนและนานาประเทศ ในประชาคมอาเซียนและนานาประเทศ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนับว่ามีบทบาทท่ีสำคัญยิ่ง ในการที่จะทำหน้าท่ีพัฒนาองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรม เพ่ือเสริมสร้างขีดความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศ จึงได้กำหนดยุทธศาสตร์การส่งเสริมและเร่งรัด การพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพ่ือเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันและยุทธศาสตร์การสร้างองค์ความรู้ และ ความตระหนัก เพ่ือให้เป็นสังคม ฐานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีไว้ในยุทธศาสตร์ของกระทรวง เพ่ือตอบสนองความต้องการของ ภาคเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงมีเป้าหมายให้ มีนักวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีจำนวนมากพอในการพัฒนาเทคโนโลยีสำหรับอนาคต โดยมี มาตรการสำคัญ ได้แก่ ร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการผลิตและ สร้าง เส้นทางอาชีพบุคลากร เสริมความรู้และทักษะให้แก่ผู้ทำงานด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ในภาคส่วนต่างๆ สร้างการเรียนรู้ และความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชนและเผยแพร่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ประชาชน รวมทั้งเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร และเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ นักประดิษฐ์ ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นต้น 17 4.2.2 ประเทศไทยสู่การเป็นเมอื งอจั ฉรยิ ะ (Smart Thailand) การนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยยกระดับประเทศไทย ให้เป็น ประเทศอัจฉริยะ หรือท่ีเรียกกันว่า “Smart Thailand” ไม่ใช่เร่ืองใหม่ สำหรับคนไทย เน่ืองจากกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ไอซที )ี ไดม้ กี ารประกาศดงั กลา่ ว ตลอดจนกรอบแผนงาน เมอื่ หลายปมี าแลว้ อย่างไรก็ดี ด้วยข้อจำกัดทางด้านโครงสร้างพื้นฐาน และกระบวนการ ในภาคการดำเนินงาน ทำให้ทิศทางของนโยบายที่ผ่านมา ยังไม่มีความ 17 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี 92

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง ชัดเจนเท่าท่ีควร จนกระทั่งการประกาศศักราชคร้ังใหม่ของกระทรวงไอซีที ทำใหท้ ุกฝ่ายต้องจบั ตามองการขบั เคลอื่ นโครงการ Smart Thailand ในความเป็นจริง ได้มีการนำนโยบาย Smart Thailand มาสู่ ภาคปฏิบัติแล้วระยะหน่ึง โดยภาครัฐผลักดันการนำเทคโนโลยีเข้ามาเป็น ส่วนหนึ่งของคนเมือง เพ่ือการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นการวาง โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีของประเทศ การนำเทคโนโลยีมา ประยุกต์ใช้กับระบบงานราชการ เพ่ือเพ่ิมความสะดวกในการจัดเก็บ เอกสาร และการติดต่องานระหว่างหน่วยงานภาครัฐและประชาชน และ ท่ีสำคัญ คือ การเปิดโอกาสให้ประชากรมีการเข้าถึงเทคโนโลยี โดย โครงการทเ่ี หน็ เปน็ รปู ธรรมอยา่ งชดั เจน คอื โครงการฟรอี นิ เทอรเ์ นต็ ไรส้ าย Wi-Fi ซ่ึงในปัจจุบันมีการขยายการให้บริการไปยังสถานท่ีราชการ และ แหล่งท่องเที่ยวมากมาย โครงการดังกล่าวมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยเร่ิมจากโครงการ Green Bangkok Wi-Fi ที่เปิดให้บริการฟรีในเขต กรุงเทพมหานคร จนถึงโครงการ ICT Free Wi-Fi ท่ีสามารถใช้งานได้ ตามบริเวณสำคัญทั่วประเทศ ซ่ึงในปัจจุบันได้มีการติดต้ังรวมท้ังภาครัฐ และภาคเอกชนกว่า 2.9 แสนจุด และมีแผนติดต้ังเพิ่มอีกกว่า 3.1 แสน จุดในปี 2557 ซ่ึงแผนงานอยู่ภายใต้การดูแลทั้งทางกระทรวงฯ ไอซีที และ กสทช. อีกแผนหน่ึงที่มีความต่อเนื่องนานกว่า 10 ปีท่ีเริ่มเห็นรูปธรรม มากข้ึน คือการนำระบบ Cloud เข้าใช้กับหน่วยงานราชการที่เรียกว่า G-Cloud (Government Cloud Service) ท่ีได้สำนักงานรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) เป็นเจ้าภาพในการสานต่อตามแผนก รอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฉบับที่ 2 ท่ีได้มีการ พัฒนาต่อเนื่องกว่า 3 ปี ในขณะเดียวกันกระทรวงไอซีทียังได้มีการวาง กรอบนโยบาย Smart Thailand 2020 ซึ่งเป็นกรอบการพัฒนาเทคโนโลยี 93

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง สารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT) ในระยะเวลา 10 ปี (พ.ศ.2554- 2563) นโยบายดังกล่าว ให้ความสำคัญกับการดำเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกิจ บนพื้นฐานความรู้ (Knowledge-based) โดยมุ่งหวังให้ ICT เป็นกลไกสำคัญที่จะช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม และสร้างโอกาสให้ ประชาชนได้รบั ประโยชน์อยา่ งเทา่ เทยี มกัน โดยมีเปา้ หมายหลัก คือ - มีโครงสร้างพื้นฐาน ICT ความเร็วสูง (Broadband) กระจายอย่างท่ัวถึง และประชาชนสามารถเข้าถึงโครงข่าย โทรคมนาคม และอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงไดอ้ ย่างเท่าเทียม กัน - มที นุ มนษุ ยท์ ม่ี คี ณุ ภาพในปรมิ าณทเี่ พยี งพอตอ่ การขบั เคลอ่ื น การพฒั นาประเทศสูเ่ ศรษฐกจิ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ - เพ่ิมบทบาท และความสำคัญของอุตสาหกรรม ICT ต่อ ระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยให้มีสัดส่วนมูลค่าเพิ่มของ อตุ สาหกรรม ICT ตอ่ GDP ไม่น้อยกว่าร้อยละ18 - ยกระดับความพรอ้ มดา้ น ICT ของประเทศไทย โดยมุ่งหวงั ให้ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มที่มีการพัฒนาสูงท่ีสุดร้อยละ 25 (Top quartile) ของ Networked Readiness Index - เพิ่มโอกาสในการสร้างรายได้ และคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มด้อยโอกาสทางสังคม โดยสร้างการจ้างงาน แบบใหมท่ ีเ่ ป็นการทำงานผ่านสอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ - สร้างความตระหนักถึงความสำคัญและบทบาทของ ICT ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ในทุกสว่ น ภาคของสงั คม 94

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง การพัฒนาแห่งเมืองอัจฉริยะ “Smart City” การพัฒนาด้าน ไอซีที จะสมบูรณ์ได้ ต้องมีการกระจายออกจากตัวเมือง สู่พื้นที่ต่างจังหวัด โดยมี “จังหวัดต้นแบบ” เป็นตัวนำร่อง ดังที่เห็นจากความสำเร็จ เร่ิมต้น จาก Silicon Valley ในอเมริกา จนกระท่ังปัจจุบัน หลายประเทศมีการนำ คอนเซ็ปท์ เมืองอัจฉริยะไปปรับใช้ เช่น Cyberjaya ในมาเลเซีย ดังนั้น ในประเทศไทย จึงมีการใช้พื้นท่ี จังหวัด นครนายก เพื่อเป็นต้นแบบ และ ยังมีแผนการขยายไปอีก 10 จังหวัด เร่ิมต้ังแต่ปี 2557-2562 ซ่ึงโครงการ ดงั กลา่ ว เปน็ โครงการหนง่ึ ของ ทา่ นสรุ ชยั ศรสี ารคาม ปลดั กระทรวงไอซที ี ท่านใหม่ ที่มีผลงานในการผลักดันให้พัฒนาบัตรประชาชนสู่ระบบบัตร สมาร์ทการ์ด และได้ริเร่ิมทำจังหวัดนครนายกเป็นเมืองอัจฉริยะนำร่อง โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเข้าร่วมบริหารจัดการจังหวัด ท้ังนี้ การขับเคลื่อนโครงการดังกล่าว มีการยึดหลักการทำสมาร์ทซิต้ีให้ ประสบความสำเรจ็ 5 ประการสำคญั ได้แก่ - ให้ประชาชนสามารถเชื่อมข้อมูลข่าวสารระหว่างกันได ้ ท่วั ประเทศ - ข้อมูลภาครัฐจะต้องบูรณาการเพ่ือใชง้ านรว่ มกันไดท้ ัง้ หมด - บริการภาครัฐจะต้องกระจายตัวลงไปให้ใกล้ประชาชนมาก ท่สี ดุ - สนับสนุนดา้ นการศึกษาใหผ้ า่ นระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ - ระบบเศรษฐกิสหกรณ์ ใช้งานด้านอิเล็กทรอนิกส์สนับสนุน ผผู้ ลติ สินคา้ โอทอ็ ปให้มีรายไดส้ งู ขนึ้ 95

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง บทที่ 4 การวิเคราะหความตองการและวางแผนการพฒั นาระบบ Smart City รูปท่ี 4.2-2 การพัฒนาแห่งเมืองอัจฉริยะ “Smart City” ของจังหวัด นครนายกเป็นต้นแบบ รูปที่ 4.2-2 กา รพัฒกนาารแผหลง เักมดอื ันงอในัจฉครริย้ังะน\"ี้เSร่ิmมมaีคrtวCามityช\"ัดขเจอนงจขัง้ึนหวโัดนยคมรีกนาารยเกปเิปดนตตัวนแบบ จังหวัดนายกอย่างเป็นทางการในการนำร่องสู่สมาร์ทซิตี้ (Smart City) อรองคงสกสูรมอื่นากรทาทรเ่ี กซผยี่ติลโพบว้ีกั (ดขรดSรอยิษm้ันองเัใทมไaปนมอr็นคtกว งรากCสคั้งจiาท์นกtะรyีเ้รเร)รปโอ่ิม่ทวโนื่นดมมรยทีคบคมเว่ีเปมรือกาิษนนรมี่ยัทกาะชวาคหัดขทรมเว้อรีโจ่อาวงนจงมทไขำกมมี กึ้นจ่รืวอัํดา่ะารโกจดทะัด(ะหยรมเมวว(ปหมาีกง็นางหมากชราหรนบเชปาะน)รดทดิษ)บตไรับททวัวรรงจิษยิษทมังัทแัทีหหโลอาวไกะทดัดปสกีไนรททจราษยำะยโณกแทกทลัดีอยรระย์วคไก(ทางมมรงฯยนะเหปาทไจาคนอรำชมทซวกนงาีจัทด)ฯงําี กกไาอัดรซใ(ีนทมกีหพาารรชอนนมํา) บรษิ ัท ไปรษณยี หไ ทรือย จปําณกัดท หสรำือนปักณงาทนรสัฐําบนกัาลงาอนิเลรัฐ็กบทารลออนิเลิก็กสท์ ร(อองนคิก์กสา (รอมงหคกาาชรนม)หหาชรนือ) หสรรอือ.สรอ. หลงั จาก ลงนามแลวจะขหับลเคังลจือ่ านกล13งนมาติ มิ เแพล่ือ้วเสจระิมขสับรเาคงลสัง่ือคนมแ1ห3งกมาิตริเรเียพนื่อรเูขสอรงิมจสังหรว้าัดงสอังาคทมิ แห่งการ เ-รเียมนอื รงู้ขนอาเงทจยี่ังหวนวาดั อยอูาทิ -- อศานู หยาสรุขปภลาอพด- ภ เัยมอื งนา่ เทยี่ วน่าอยู่ - สงั คมแหง กา-ร เศรูนียยนส์รูขุ ภาพ -- เกษตร อาหาร - อาหารปลอดภัย - สาธารณสุข - การศกึ ษา 96 - การพาณิชย

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง - สงั คมแห่งการเรยี นรู้ - เกษตร - อาหาร - สาธารณสุข - การศกึ ษา - การพาณิชย์ - การบริการประชาชน และ - เครอื ขา่ ยเน็ตเวิร์ก โดยในส่วนของไอทีจะนำมาใช้เช่ือมโยงอินเทอร์เน็ตไรส้ ายไปยัง จุดท่ีมีความ สำคัญ และเป็นสถานท่ีท่องเที่ยว สาธารณะ นอกจากน้ี ยังส่งเสริมการลงทุน และนำบัตรสมาร์ทการ์ดให้ประชาชนได้ใช้งานจริง โดยไม่ใช้กระดาษ ท้ังน้ี นี่เป็นแค่เพียงหน่ึง โครงการที่ทางท่านปลัดได้มีการ ผลกั ดนั และยงั มอี กี 20 โครงการทที่ า่ นตอ้ งเขา้ เปน็ สว่ นรว่ มในการผลกั ดนั ให้เกิดควบคู่กันไป เช่น โครงการการจัดทำระบบไอซีทีเพ่ือการพัฒนา หมู่บ้านและชุมชน (ศขบ), 100,000 จุด, โครงการจัดทำระบบ ICT เพ่ือ การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและลดความเหลื่อมล้ำ และโครงการจัดทำ ระบบเครือข่ายสื่อสารและบริการภาครัฐท่ีจะต้องลงสู่ส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค จนถึงระดับสู่ท้องถ่ินเป็นต้น ซ่ึงนับได้ว่าไม่ใช่เร่ืองง่ายของไอซี ทีท่ีจะพัฒนาเมืองให้เท่าทันเทคโนโลยี เพราะยังต้องมีหลายภาคส่วนที่จะ ต้องปรับและเรียนรู้ต่อการเปล่ียนแปลงคือระยะเวลาของแผนท่ียาวนาน 97

บ), 100,000 จดุ , โครงการจดั ทําระบบ ICT เพอื่ การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและ รจัดทSําmรaะrtบCบityเคการรพอื ฒั ขนาาแลยะปสรับือ่ ใชส้ระบาบรITแใลนกะารบบรรหิ ากิรจาัดกรารภเมาืองค รฐั ท่จี ะตองลงสสู วนกลางและสว น ปน ตน ซ่งึ นแับตไ่อดยว่าางไไรมกใ ็ตชาเมรื่อทงี่รง่วามยด้วขยอชง่วไยอกซันีทท้ังที ภ่จี าะครพัฐฒั แลนะาภเามคอืเองกใชหนเ ทซา่ึงภทาันพเ ทคโนโลยี ทีจ่ ะตอ งปรบั ดังแกลละา่ วเไรดียเ้ รนม่ิ รปตูราอ กกฏชาดัรเเจปนลเมยี่ ือ่ นไมแน่ ปานลมงาคน้ีือ ระยะเวลาของแผนท่ียาวนาน แ นทั้งภาครัฐ แล4ะ.ภ2.า3ค กเอารกเปชิดนยทุ ซธศง่ึ าภสาตพรด์ด้างั นกเทลคาโนวโไลดยีเในรปิ่มรปะเรทศาไกทฏย ชัดเจนเม่ือไมน านมาน นวัตกรรมทางเทคโนโลยีใหม่ๆ อาทิ Cloud Computing, Big Data กำลังเข้ามาเปล่ียนแปลงโครงสร้างพ้ืนฐานไอทีแบบด้ังเดิมของ ดยทุ ธศาสตอรงด คก์า รนทเวั่ ทโลคกโน โลยีในประเทศไทย รมทางเทคโนโล ยีใหโซมลูชๆั่นดอ้าานทไอิ Cทีปloระuจdำปี C20o1m5 pภาuยtใiตn้แgน,วคBิดig“MDaaketaITกําลังเขาม นไอทีแบบดอSำiง้ั mนเดวpยlมิ eค,ขวMอามงaสอkeะงดคBวกuกsรใiนทnกe่ัวsาโsรลเAปกลgี่iยleน”ผ่าโนดยโคทร้ังงหสมรด้าไงดพ้อื้นอฐกาแนบไบอมทาีจเาพก่ือแชบ่วบย วดบดาบคนมอไามอเพพทื่อีิปวชตรเใชดนนวิ้่งั้ะงว้นรเยยจดะใแใอิมหหําหลม้าํอวป้ล่าะางนูกงคสบกว2ค์ู่กกาย้า0๊ิการรลรไค1เดดใดปช5ว้ราตล้งาับต่ีย้านภมปนนาทราคสผโุนะยล่าดะโทานยใดยั้วงตชดหวตเนแ์คฉมลก์จอนอดพใามดนกทวาพจกี่ใคกะนิวชาติดาส้รเพ้ิงพรจนัด่ื“อเับแรปเเสMลกอปละน็บ็นมaบุนี่ยรเิ๊กkกกะจนดeบ้าาับผารขบตขชอาขIัT้บา้งอนวโเรมดคยโะSยูลลคใบเiทื่อหmรฉบี่มนพงลีปไpส(าอูกรTะlทระCeคีเาสพขO,างิทร้า)พ้อลธสMมิภู่ภแดื้นกaาลาตฐพัคบkะาน eนทไBุนอuททs้ัจีงinหาeกม TตCลOอ)ดแจลนะสเกอนนุตานับสรใาสบหหนรกิอกุนรงารกรคมาแทกรลั่วรโขะลไกับดก้า เร วคบั สลู่ปยือ่ ุครนดะไิจโอิยตทชอเีลนขอจา ยาส่ากูภงกเาตาค็มรกตจาัวดั รขเบอกงรบ็ อิกรงาะคร์บกแรบลแขะลอกะมทา ุวกูลสๆทยู ี่มุคปี ดริจะิตสอทิ ลธ อุตสาหกรรรปู มทที่ 4ั่ว.2โ-ล3กCloud Computing 98 รปู ท่ี 4.2-3 Cloud Computing

ะลดความเหลื่อม Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง นภมู ิภาค จนถึง เพราะยังตองมี การรวมตัวของเทคโนโลยีไอทีและอุตสาหกรรมผ่านการ แตอยางไรกเ็ตชื่อามมต่อโครงข่ายข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่กำลังจะเป็น นี้ การปฏิวัติคร้ังใหม่ไปสู่อุตสาหกรรมอัจฉริยะท่ีจะยกระดับอุตสาหกรรม ทั่วโลก ขณะท่ีองค์กรธุรกิจเองก็กำลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนแปลงระบบไอทีของ ตัวเองเพ่ือสร้างความแข็งแกร่งและลดระยะเวลาในการสร้างผลิตภัณฑ์ สู่ตลาด แน่นอนว่าการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จะช่วยให้ภาพรวมของ อุตสาหกรรมมีการสร้างงาน สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ สร้างโอกาสทางธุรกิจ มาเปลี่ยนแแปละลเปง็นการขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ ภาพรวมของประเทศ และด้วยวาระที่ภาครัฐของประเทศไทยกำลังวางนโยบาย National Data Center และ Digital Economy นั้นถือเป็นโอกาสที่ดี ess Agile”ในโกดายรนำเสนอผลิตภัณฑ์เซิร์ฟเวอร์สำหรับบ๊ิกดาต้า คลาวด์ คอมพิวต้ิง กมแดบทบี่ใดชั้งเพเด่ือิมแแโเซลลมปละะาูชเนเสพว่ันิ่อมูเซรก์ิรชา์ฟรวใลเชวไอ้งลารเน์แซไบชดบ่ัน้ใเนปรหิดวลแมาลถยะึงมแงิตบาิ นบตสผลำนอควดัญกจรนขวเอมรง่งอกขงรยคะา์กบยรวไนดโ้ตกดาายรมจปะIรnชิมp่วuายtณสแงรลา้านะง ธภิ าพในระหOuวtาpงut ขณะท่ีโซลูช่ันสตอเรจถูกออกแบบมาสำหรับการใช้งานในดาต้า ลอยางเต็มตเคัวซลข็นาอเวตดงอ์อรย์ร่าะงดเตับ็มอรงคูป์กแรบโบดยแเลฉะพสาาะมสานรับถสผนนุนวกกราวรมทเำขง้าากนับบรนะสบถบากปาัตรยจกัดรเกร็มบ ข้อมูลได้หลากหลายรวมถึงการรวมเข้ากับระบบแบ็คอัพและสตอเรจแบบ ตา่ งๆ นอกจากนี้ยังมีแอพพลิเคช่ันสำหรับการเก็บข้อมลู อาทิ การ ประมวลผลฐานข้อมูลธุรกรรมออนไลน์ขนาดใหญ่ (Online Transaction Processing) การประมวลผลวิเคราะห์ออนไลน์ (OLAP) ทั้งปรับใช้กับ อุตสาหกรรมตา่ งๆ ได้อย่างกว้างขวาง 18 18 http://www.uih.co.th/knowledge/view/834 99



5 ระบบบรหิ ารจัดการ ระบบขนสง่ และจราจร

บทนำ ระบบขนสง่ อจั ฉรยิ ะ (Intelligent Transportation System) ประโยชน์ของการใช้ระบบขนสง่ อัจฉรยิ ะ

5.1 บทนำ ปัจจุบันการเดินทางกลายเป็นปัจจัยหน่ึงที่มีความสำคัญในชีวิต ประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการเดินทางของตัวบุคคลเองในการประกอบอาชีพ สงั คม และสนั ทนาการ หรอื การขนสง่ สนิ คา้ เพอื่ เศรษฐกจิ และอตุ สาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเดินทางบนท้องถนน ประกอบการขยายตัวของเมือง ทีม่ กี ารเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็วในสภาพของสงั คมปจั จบุ นั ทำใหพ้ ้ืนท่ียา่ น ธุรกิจซึ่งเป็นศูนย์รวมของกลุ่มคน หรือชุมชนมีการกระจายตัวออกไปอย่าง กว้างขวาง อีกท้ังระบบโครงข่ายของถนนที่มีอยู่ในปัจจุบันไม่สามารถ รองรับความต้องการในการเดินทางท่ีเพ่ิมสูงขึ้นได้ทั้งหมด ในขณะเดียวกัน ระบบการจัดการทางด้านขนส่งและจราจรไม่สามารถจัดการระบบต่างๆ หรือแก้ไขปัญหาทางด้านการขนส่งได้อย่างมีประสิทธิภาพและย่ังยืน หรือ อาจจะเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะจุด โดยไม่มีการคำนึงถึงภาพรวมของการ พัฒนาระบบขนส่งท่ีย่ังยืน จนทำให้ปัญหาต่างๆ ทางด้านจราจรยังคงเกิด ข้ึนอยูใ่ นปจั จุบนั 103

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง การขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจก็เป็นปัจจัยหนึ่งท่ีมีความสำคัญ ในการเพ่ิมความต้องการของการเดินทาง หรือการเพิ่มข้ึนของจำนวน ยานพาหนะ แต่เนื่องจากสภาพโครงข่ายของถนนท่ียังคงเดิมจึงทำให้เกิด ปัญหาต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการขนส่งและจราจร เช่น ปัญหาจราจรติดขัด ปัญหาอุบัติเหตุทางถนน เป็นต้น ซ่ึงปัญหาต่างๆ เหล่าน้ีล้วนเกิดจากการ บริหารจัดการทางด้านการขนส่งและจราจรท่ีไม่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ปัญหาทางด้านจราจรยังก่อให้เกิดการสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของ ประเทศ ก่อให้เกิดมลพิษท้ังทางน้ำและอากาศ รวมถึงระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนท่ีลดลง อย่างไรก็ตาม การแก้ไขปัญหาทางด้านจราจร สามารถทำได้หลายวิธี เช่น การก่อสร้างระบบสาธารณูปโภคข้ันพื้นฐาน ไม่ว่าจะเป็นการก่อสร้างหรือปรับปรุงถนน ตรอก ซอย การสร้างถนน สายรองเช่ือมต่อกับถนนสายหลัก การสร้างสะพานข้ามหรืออุโมงค์บริเวณ ทางแยก เพ่ือเป็นการระบายการจราจรให้มีความสะดวกมากขึ้น และ สามารถรองรับปริมาณการจราจรและการเดินทางจำนวนมากได้ แต่วิธีการ เหล่านี้เป็นวิธีการที่ใช้เงินลงทุนสูง และอาศัยระยะเวลาในการก่อสร้าง ค่อนข้างยาวนาน และที่สำคัญคือไม่ใช่การแก้ปัญหาท่ีย่ังยืน หรือทำให้เกิด ประสิทธิผลสงู สุดในระบบการจราจร นอกจากน้ีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ Information Technology (IT) เข้ามาประยุกต์ใช้ในระบบขนส่ง เพื่อแก้ปัญหาทางด้าน จราจร หรือการบริหารจัดการระบบขนส่งและจราจร สามารถทำได้อย่างมี ประสิทธิภาพและยั่งยืน ซึ่งเหตุผลหลักที่ต้องนำ IT มาประยุกต์ใช้ใน ระบบขนสง่ คอื 1) ระบบขนส่งต้องการความรวดเร็วและความถูกต้องแม่นยำใน การขนส่ง 2) ระบบขนส่งต้องมีการแลกเปลีย่ นขอ้ มูลตลอดเวลา 104

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง 3) ระบบ IT จะปรับเส้นทางและตารางเวลาให้มีความเหมาะสม ทสี่ ดุ 4) ระบบ IT จะชว่ ยลดคา่ ใช้จา่ ยในการบริหารระบบขนส่งได้ ซ่ึงในปัจจุบันน้ีได้มีการใช้เทคโนโลยีที่มีชื่อว่า “ระบบขนส่ง อัจฉริยะ” หรือ “Intelligent Transportation System (ITS)” ซึ่ง เป็นการนำเอาเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าท่ีมีอยู่ในปัจจุบันมาใช้แก้ปัญหาจราจร ที่เกิดขึ้น อีกท้ังระบบดังกล่างนี้ได้รับการพิสูจน์จากหลายประเทศว่าเป็น ระบบท่ีสามารถแก้ไขปัญหาจราจรได้ดีจนถึงระดับหนึ่ง และใช้เงินลงทุน ไมส่ งู มากนกั ซง่ึ รายละเอยี ดของระบบ ITS จะมีการอธบิ ายในหวั ขอ้ ถดั ไป 5.2 ระบบขนส่งอัจฉริยะ (Intelligent Transportation System) 5.2.1 นิยามพื้นฐาน ระบบขนส่งอัจฉริยะ หรือ ITS (Inteligent Transportation System) เป็นระบบท่ีผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีท่ีมีอยู่ในปัจจุบันกับ เทคโนโลยีที่คิดค้นข้ึนใหม่ เพื่อนำไปใช้ในงานขนส่งด้านต่างๆ ได้แก่ งาน ประมวลข้อมูลข่าวสาร งานส่ือสารโทรคมนาคม และงานอิเล็กทรอนิกส์ ต่างๆ เพ่ือแก้ไขปัญหาด้านจราจรและขนส่งทางบก ซ่ึงระบบ ITS เป็น ระบบที่สามารถแก้ไขปัญหาทางด้านการขนส่งในรูปแบบต่าง ๆ ได้ โดยเฉพาะปัญหาด้านการจราจร เช่น การลดปัญหาทางด้านอุบัติเหตุ การ ลดปัญหาด้านการจราจรติดขัด การเพ่ิมความสะดวกสบายในการเดินทาง ของผู้ขับข่ี รวมถึงการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ซ่ึงระบบน้ีจะใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและระบบควบคุมที่ทันสมัยในการรับและส่งข้อมูล เกี่ยวกับคน ถนน และยานพาหนะ แล้วนำข้อมูลท่ีได้เหล่าน้ันมาใช้ในการ แก้ปญั หาทีเ่ กดิ ขึน้ 105

ะดวกสบายในการเดินทางของผูขบั ข่ี รวมถึงการแกป ญ หาดา นสิง่ แวดลอมอีกดวย ซึ่งระบบ ารสนเSทmศarแt ลCiะtyระกาบรพบฒั คนวาแลบะปครับุมใชท้ระ่ีบทบันITสในมกัยารบใรนหิ การจาัดรกรารับเมอืแงล ะสงขอมูลเก่ียวกับคน ถนน และยาน ลทไี่ ดเ หลา นั้นรูปมทา่ีใ5ช.ใ 2น-1กาอรงคแป์กรปะญกอหบาขทอี่เงกริดะขบึน้บ ITS รนูปอทก่ีจ5า.ก2น-1้ี รอะงบคบปIรTะSกอสบาขมาอรงถรนะบำมบาปITรSะยุกต์ใช้ในการ วางแผนการขนส่งในอนาคต เช่น การพัฒนาระบบนำทาง การพัฒนา ด่านเก็บค่าผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ การสนับสนุนการขับขี่อย่างปลอดภัย การจัดระบบการบริหารการจราจรบนท้องถนน ซ่ึงระบบเหล่านี้จะมีการจัด งกจกาากรนพ้ีฒั ระนบาบย(เดกRิ่งา ็บขeIนTขึ้aนเSl้อกใมTบ็สนูiลmาปคทมัจeา่ีม)จาผีคุบราแวถีนนาลนบมทะาําถทางมูกำงรตใาอะหป้อบิเ้กลงรบแา็กะขรลทยอขะงกุรับปอตขรITนะ่ีมใSชสีิกคิทใวสไนธาด ิผมกก้ถลปาาูกทรรลนี่มสวอำีคามดนงวภาับาแปัยสมผรแสนะนลอยุนะกดุกกสาคตะารล์ใดรชข้อขว้ใงนกนับกสสทับขงบาเ่ีอใวงายนปลยาาฎอมจงิบนารปกัติงาล ิคอตดภเชัยนกการาจ แล้ว แต่ขณะเดียวกันก็ต้องมีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีของยานยนต์ การพัฒนาและปเพรือ่บั รใชอรงระับบกบาIรTทใำนงากนารขบอรงหิระาบรจบดั ขกนาสรง่เมอัจือฉง รยิ ะดว้ ยเช่นกัน ตัวอย่างระบบขนส่งอัจฉริยะที่มีการใช้แพร่หลายในปัจจุบัน ได้แก่ ป้ายจราจรอัจฉริยะ ระบบควบคุมสัญญาณไฟจราจรอัตโนมัติ และ ระบบติดตามรถ (Tracking) 106

บนี้จะใช Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง นพาหนะ 5.2.2 ประเภทของระบบขนส่งอจั ฉรยิ ะ หรือ ITS การแบ่งประเภทของ ITS ตามหลักสากลหรือหลักการท่ีเกิด ขึน้ ในประเทศสหรฐั อเมรกิ าน้ัน สามารถแบ่งออกได้เป็น 6 ประเภทดงั น ้ี 1. ระบบการจัดการจราจร หรือ Advanced Traffic Management Systems (ATMS) เป็นเทคโนโลยีที่จะผนวกการจัดการถนนรวมถึงการควบคุม และการจัดจราจร โดยจะช่วยในการตรวจวัดการติดขัดของ การจราจรที่จะเกิดข้ึนและหาวิธีจัดการจราจรให้เหมาะสม ท่ีสุด โดยมีวัตถุประสงค์รวมเพื่อการใช้ประโยชน์จาก โครงข่ายถนนได้เต็มที่และการเดินทางที่มีประสิทธิภาพ เช่น ประหยัดเวลา หรอื ค่าใชจ้ ่ายน้อยทสี่ ุด ตัวอย่างระบบการจัดจราจร คือ การต้ังศูนย์ควบคุม การจราจรช่วยอำนวยการจัดจราจรให้มีประสิทธิภาพ การ ทำงานประสานกันระหว่างการตรวจวัดและทำนายระดับ ความหนาแน่นของจราจร ตลอดจนหาวิธีการแก้ปัญหา การติดขัดของการจราจร จนทำให้การสัญจรมีความคล่อง ตวั ขนึ้ ารพัฒนา 2. ระบบการให้ข้อมูลข่าวสารการเดินทาง หรือ Advanced จัดระบบ Traveler Information Systems (ATIS) 5-2 เป็นระบบที่จะจัดหาข้อมูลการเดินทางให้แก่ผู้เดินทางทั้งท่ี เป็นผู้ขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคลเอง หรือผู้โดยสารท่ีใช้รถ สาธารณะ และทั้งที่อาศัยอยู่ตามท่ีพักอาศัย หรือกำลัง เดนิ ทาง โดยขอ้ มลู ทจี่ ดั หาใหแ้ กผ่ เู้ ดนิ ทางจะประกอบไปดว้ ย ข้อมูลสภาพการจราจร ข้อมูลสภาพอากาศ หรือเส้นทาง ทเี่ หมาะสมในการเดนิ ทางจากจดุ หนึ่งไปยังอีกจดุ หนึง่ ในชว่ ง เวลาใดๆ 107

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง ตัวอย่างระบบการให้ข้อมูลข่าวสารการเดินทาง คือ การใช้ เทคโนโลยี ITS แผ่นป้ายอิเล็กทรอนิกส์บอกระดับของการ ติดขัดของถนนบริเวณใกล้เคียงแบบ Real-Time และ แนะนำเส้นทางเลี่ยง ทำให้ผู้ขับขี่ไม่เสียเวลาการเดินทางใน บริเวณท่ีมีการจราจรหนาแน่น นอกจากนี้ยังสามารถใช้ ITS เป็นอุปกรณ์แสดงเส้นทางที่เหมาะสมท่ีสุดโดยคำนึงถึง สภาพการจราจรแบบ Real-Time รวมถึงตำแหน่งของ การเกิดอุบัติเหตุบนถนน อีกท้ังยังสามารถหาเส้นทางไปยัง จุดหมายใดๆ และใช้เป็นสื่อในการแนะนำสถานท่ีต่างๆ ไดอ้ ีกดว้ ย 3. ระบบควบคุมยานพาหนะ (Advanced Vehicle Control Systems (AVCS) เป็นระบบท่ีควบคุมยานพาหนะของผู้ขับข่ีให้มีความ ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น โดยใช้หลักการ ควบคุมรถยนต์ท่ีอาศัยเทคโนโลยีท่ีก้าวหน้า เช่น ระบบ ป้องกันการชนกันของยานพาหนะ โดยระบบน้ีจะเตือน ผู้ขับข่ีขณะท่ีตัวรถอยู่ในตำแหน่งท่ีจะถูกชนหรือไปชน ผู้อ่นื ได ้ 4. ระบบจัดการยานพาหนะขนส่งสินค้าหรือการให้บริการ หรือ Commercial Vehicle Operations Systems (CVOS) เป็นระบบท่ีนำมาประยุกต์ใช้กับผู้ที่ให้บริการการขนส่ง เอกชน เช่น รถบรรทุก รถตู้ รถเมล์ หรือ รถแท๊กซ่ี เพ่ือ จัดการวิธีการขนส่งให้เหมาะสมกับการบริการและสินค้า โดยการควบคุมการขนส่งให้มีความแน่นอน เป็นระเบียบ 108

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง และเปน็ การลดต้นทุนตา่ งๆ ในการขนส่ง 5. ระบบการขนส่งสาธารณะ หรือ Advanced Public Transportation Systems (APTS) เป็นการผสมผสานเทคโนโลยีท่ีมีอยู่เพ่ือนำไปใช้ในการ ยกระดับการให้บริการขนส่งสาธารณะโดยที่มีการให้ข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวกับการบริการของระบบแก่ผู้โดยสาร พร้อม ๆ กับการเพิ่มความแน่นอนของตารางเวลาและ ชว่ ยลดเวลาที่ตอ้ งรอเพอื่ จะได้รับบริการลงอย่างมาก 6. ระบบการขนส่งในเขตนอกเมืองหรือชนบท หรือ Advanced Rural Transportation Systems (ARTS) เป็นระบบที่นำเทคโนโลยีบนถนนที่มีการสัญจรน้อย หรือ เขตถนนชนบท (Rural road) หรือใช้กับระบบขนส่งนอก เขตชุมชน (Rural transportation) โดยช่วยให้ข้อมูล สภาพเส้นทาง ภูมิอากาศ รวมถึงการแจ้งเหตุและกู้ภัยที่ รวดเร็ว เน่ืองจากความหลากหลายของเทคโนโลยีที่สามารถนำมา ประยุกต์ใช้ให้ระบบขนส่งมีความเป็นอัจฉริยะมากข้ึน จึงอาจจะมีการแบ่ง ประเภทของ ITS ไว้หลายหมวดหมู่ ซึ่งประเทศญี่ปุ่นก็เป็นประเทศหนึ่งที่ ได้มีการแบ่งประเภทของ ITS ออกไดท้ ง้ั หมด 9 ประเภทดังน ้ี 1. ระบบนำทางแบบก้าวหน้า (Advances in Navigation Systems) เป็นระบบที่ช่วยให้ผู้ขับขี่มีความสะดวกสบายในการเดินทาง มากข้ึน โดยให้ข้อมูลด้านการจราจรผ่านอุปกรณ์ติดตั้ง ภายในยานพาหนะ ซ่ึงข้อมูลที่ได้รับนี้จะมีทั้งข้อมูลของฝ่าย 109

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง ผู้เดินทางและฝ่ายผู้ให้บริการ จากข้อมูลทั้งสองฝ่ายทำให้ สามารถทราบถึงพฤติกรรมการเดินทางท่ีเหมาะสม ซ่ึงจะ สอดคล้องกับเวลาและเส้นทางของการเดินทาง จึงทำให้ ปรมิ าณจราจรที่เกิดขน้ึ บนแต่ละเสน้ ทางมีความเหมาะสม 2. ระบบจัดเก็บค่าผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Toll Collection) เป็นระบบที่ช่วยให้ผู้เดินทางผ่านด่านเก็บค่าผ่านทางโดย ไม่ต้องหยุด หรือชะลอเพื่อจ่ายค่าผ่านทาง ทำให้ไม่เกิดการ ติดขัดบริเวณด่านเก็บเงิน อีกท้ังยังเพิ่มความสะดวกสบาย ตอ่ ผูข้ ับข่ีและลดคา่ ใช้จา่ ยในการดำเนินการ 3. ระบบช่วยขับข่ีอย่างปลอดภัย (Assistance for Safe Driving) ระบบจะมีการติดต้ังตัวเก็บข้อมูลในบริเวณต่างๆ บน ท้องถนน เพื่อเก็บข้อมูลทางด้านสภาพจราจร สภาพ ยานพาหนะ โดยจะส่งข้อมูลดังกล่าวรวมทั้งสัญญาณเตือน ต่างๆ ผ่านอุปกรณ์ที่ติดตั้งในยานพาหนะ และป้ายจราจรท่ี ติดตามท้องถนน ลักษณะข้อมูลจะเป็นแบบ Real-Time และเม่ือได้รับข้อมูลเกี่ยวกับอุบัติเหตุในเส้นทางท่ีกำลังขับขี่ ระบบควบคุมอัตโนมัติจะควบคุมระบบเบรก ระบบการ ขับเคล่ือนของยานพาหนะ ทำให้ผู้ขับขี่เดินทางได้อย่าง ปลอดภยั และมีความสะดวกสบายมากยิ่งขน้ึ 4. ระบบจัดการจราจรอย่างเหมาะสม (Optimization of Traffic Management) เป็นระบบท่ีจัดการเก่ียวกับการจราจรบริเวณทางแยก หรือ บริเวณที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยคร้ัง เพ่ือทำให้ผู้ขับข่ีได้รับความ 110

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง ปลอดภัยในการเดินทางและมีสภาพแวดล้อมในการขับข ่ี ท่ีดีขึ้น นอกจากนี้ยังมีการแจ้งเหตุการณ์และสภาพการ จราจรผ่านทางอุปกรณ์แนะนำเส้นทางท่ีติดตั้งในยาน พาหนะ ซึ่งจะทำให้ผู้ขับข่ีทราบถึงจุดที่เกิดอุบัติเหตุ และ สามารถหลีกเลี่ยงเส้นทางดังกล่าวได้โดยไม่ต้องเสียเวลาใน การเดินทางเนอื่ งจากการจราจรติดขัด 5. ระบบเสริมประสิทธิภาพการจัดการถนน (Increasing Efficiency in Road Management) เป็นระบบท่ีช่วยให้การจัดการเกี่ยวกับถนนมีประสิทธิภาพ มากขึ้น โดยระบบจะตรวจสอบสภาพถนนเมื่อถนนหรือ บริเวณข้างเคียงเกิดการชำรุด ระบบจะมีการแจ้งข้อมูลแก่ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องทำการซ่อมแซมปรับปรุง โดยใช้ระบบ ตรวจสอบที่ตรวจสอบที่ติดต้ังบนยวดยานแล้วเก็บข้อมูล ส ภ า พ ถ น น ท ำ ใ ห้ ส า ม า ร ถ เ ก็ บ ข้ อ มู ล ไ ด้ อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว นอกจากน้ียังให้ข้อมูลเก่ียวกับความเสียหายที่เกิดจากภัย ธรรมชาติจากพายุ หมอก ลม เป็นต้น และส่งข้อมูล ดังกล่าวไปให้กับผู้ขับขี่ผ่านทางอุปกรณ์ที่ติดต้ังภายใน ยานพาหนะ ทำให้ผู้ขับข่ีใช้ความเร็วท่ีเหมาะสมกับ สถานการณ์ ทำใหก้ ารเดินทางมีความปลอดภยั มากยง่ิ ข้นึ 6. ระบบสนับสนุนการขนส่งสาธารณะ (Support for Public Transport) เป็นระบบที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตารางเวลาการเดินรถ อัตรา ค่าโดยสารและป้ายหยุดรถของรถขนส่งสาธารณะ ทำให ้ ผู้โดยสารได้รับความสะดวกสบายและสามารถท่ีจะวางแผน การเดินทางได้ ซึ่งผู้โดยสารสามารถรับข้อมูลดังกล่าวไม่ว่า 111

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง จะอยู่ที่พักอาศัย ท่ีทำงาน อุปกรณ์ท่ีติดต้ังในยานพาหนะ หรือบริเวณสถานีท่ีจอดรถขนส่งสาธารณะ นอกจากนี้ ผู้ประกอบการด้านขนส่งสาธารณะสามารถที่จะดำเนินการ เกี่ยวกับการเดินรถ การจัดการในบริเวณสถานี และความ ปลอดภัยไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 7. ระบบเสริมประสิทธิภาพการจัดการเดินรถขนส่งเชิง พาณิชย์ (Increasing Efficiency in Commercial Vehicles Operations) เป็นระบบที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่งสินค้า โดย ช่วยลดปริมาณยานพาหนะท่ีใช้ในการขนส่ง และเพิ่มความ ปลอดภัยในการขนส่งสินค้า ซ่ึงระบบจะให้ข้อมูลแบบ Real-Time เกี่ยวกับสภาพการจราจรของรถบรรทุกหรือ รถโดยสาร รวมท้ังข้อมูลสินค้าและตำแหน่งยานพาหนะ เพ่ือให้ผู้ประกอบการสามารถท่ีจะวางแผนการขนส่งได้ อย่างประสิทธิภาพ และประหยัดคา่ ใชจ้ ่าย 8. ระบบสนบั สนนุ การเดนิ เทา้ (Support for Pedestrians) เป็นระบบท่ีช่วยให้ผู้เดินทางโดยเฉพาะอย่างย่ิงทางเท้า ผู้พิการ หรือคนชรา สามารถเดินทางได้อย่างปลอดภัย โดยใช้อุปกรณ์แนะนำเส้นทางขนาดเล็กซ่ึงสามารถพกพา มีเสียงบอกเส้นทาง หรือสัญญาณเตือนเม่ือถึงทางแยก นอกจากน้ีอุปกรณ์นี้สามารถบอกถึงรอบเวลาของสัญญาณ ไฟทีเปลี่ยน เพ่ือให้การเดินทางข้ามถนนมีความปลอดภัย มากยิ่งข้ึน ส่วนด้านผู้ขับข่ีก็จะมีเครื่องมือที่สามารถ ตรวจสอบสิ่งของหรือคนแล้วทำการเตือนผู้ขับขี่ และระบบ ควบคมุ อัตโนมัตจิ ะทำงานทันท ี 112

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง 9. ระบบสนับสนุนการจัดการเดินรถฉุกเฉิน (Support for Emergency Vehicle Operation) ระบบน้ีเม่ือเกิดอุบัติเหตุ ระบบจะแจ้งข่าวสารเกี่ยวกับ สถานที่เกิดอุบัติเหตุแก่หน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อให้ความ ช่วยเหลือแก่ผู้บาดเจ็บอย่างทันท่วงที นอกจากนั้นระบบจะ เก็บข้อมูลเก่ียวกับการจราจร และข้อมูลสภาพถนนแล้ว ส่งไปให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพื่อดำเนินการแจ้งแก่ผู้ขับขี่ ใหเ้ ปลยี่ นเส้นทางหรอื ดำเนนิ การซอ่ มแซม 5.3 ประโยชน์ของการใชร้ ะบบขนส่งอัจฉรยิ ะ ปัจจุบันน้ีระบบ ITS ได้ถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางในต่างประเทศ และได้มีการศึกษาประโยชน์ที่ได้รับ เพ่ือพิสูจน์ให้เห็นว่าระบบ ITS นี้เป็น เป็นวิธีการหน่ึงท่ีสามารถแก้ไขปัญหาจราจรได้ ซ่ึงจุดประสงค์หลักของ ระบบ ITS คือ การเพ่ิมความปลอดภัยในการเดินทาง ทำให้การจราจร มีความคล่องตัวมากขึ้น และยังทำให้สภาพแวดล้อมในระบบการจราจร ดีขึ้น ตัวอย่างประโยชน์ของระบบ ITS ที่ถูกนำมาใช้ในการแก้ปัญหาด้าน จราจรมดี ังน ี้ 113

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง 114 ตารางท่ี 5.3-1 ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการใชร้ ะบบ ITS ในประเทศไทย รปู แบบการนำมาใช ้ คุณลกั ษณะ หน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ Traffic Signal Control Freeway Management เป็นระบบที่ควบคุมสัญญาณไฟจราจรบริเวณทางแยก สจร. กรงุ เทพมหานคร หรือบริเวณจุดตัดของถนน โดยระบบจะจัดการ Transit Management เกี่ยวกับการจัดรอบสัญญาณไฟที่เหมาะสม เพ่ือให้ บรเิ วณทางแยกมสี ภาพการจราจรที่คลอ่ งตัว เป็นระบบที่จัดการในบริเวณทางด่วนหรือถนน โดย การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ระบบจะให้ข้อมูลข่าวสารด้านการจราจรแก่ผู้ขับข่ี ซ่ึงมี กรมทางหลวง วัตถุประสงค์เพ่ือเพ่ิมความสามารถ (Capacity) ของ ทางด่วนและทางพิเศษ หรือใช้ความสามารถของถนน ให้เต็มที่ และป้องกันการติดขัดท่ีเกิดจากอุบัติเหตุบน ระบบทางดว่ น เป็นระบบท่ีช่วยให้ผู้เดินทางด้วยรถขนส่งสาธารณะได้ ขสมก. กรมขนส่งทางบก รับความสะดวก โดยให้ข้อมูลแบบ Real-Time ผ่าน อุปกรณ์ท่ีอยู่บริเวณสถานี หรือป้ายจอดรถประจำทาง เพื่อบอกถึงเวลาที่รถโดยสารจะมาถึง หรือเวลาท่ีต้อง รอ ซง่ึ ทำให้ผูเ้ ดินทางสามารถวางแผนการเดินทางได ้

รูปแบบการนำมาใช้ คณุ ลักษณะ หน่วยงานที่รับผิดชอบ Electronic Toll Collection ด่านเก็บค่าผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ จะช่วยให้ผู้เดินทาง การทางพิเศษแห่งประเทศไทย Incident Management and ผ่านด่านเก็บเงินโดยไม่ต้องหยุด หรือชะลอทำให้ลด Emergency Response การติดขัดบริเวณด่านและยังช่วยลดปริมาณก๊าซ ทีป่ ลอ่ ยออกบรเิ วณด่านเกบ็ เงินดว้ ย Railroad Crossing เป็นระบบที่ให้ข้อมูลเก่ียวกับจุดที่เกิดอุบัติเหตุหรือ สจร. กรงุ เทพมหานคร Electronic Fare Payment จุดท่ีเกิดการติดขัด ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะถูกส่งไปยัง หรอื กรมทางหลวง หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องอย่างรวดเร็ว และสามารถ ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ลดอัตรา เสยี่ งในการเสยี ชีวิตของผขู้ บั ขไ่ี ด้ Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง 115 เป็นระบบที่เตือนผู้ขับขี่ท่ีบริเวณจุดตัดระหว่างทาง การรถไฟ กรมทางหลวง รถไฟกับถนน หรือบริเวณทางแยกที่ไม่มีสัญญาณไฟ โดยระบบจะเตือนให้ผู้ขับข่ี เพิ่มความระมัดระวัง เม่ือ ผ่านบรเิ วณดงั กลา่ ว เป็นระบบที่ให้ความสะดวกแก่ผู้เดินทางและผู้ขับขี่ การรถไฟ ขสมก. ท่ีเก่ียวกับการเสียค่าบริการ เช่น การจ่ายค่าจอดรถ ค่าโดยสารรถประจำทาง รถไฟ เป็นต้น โดยผู้เดินทาง หรือผู้โดยสารใช้เพียงบัตรสมาร์ทการ์ดเพียงใบเดียว ทำให้ผู้เดินทางสะดวกรวมทั้งผู้ประกอบการทางด้าน ธรุ กิจขนส่ง เพราะชว่ ยประหยดั ค่าดำเนนิ การ

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง 116 ตารางท่ี 5.3-2 ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับจากการใช้ระบบ ITS ในต่างประเทศ ประโยชน์ของระบบ ITS ผลการดำเนินการ สถานทด่ี ำเนนิ การ ลดความติดขัดและความล่าช้าท่ีเกิด - การใช้ระบบ Ramp Metering ท่ีถนนระหว่างรัฐหมายเลข Seattle, Washington ขน้ึ 5 สามารถเพ่ิมความสามารถชองถนนมากถึงร้อยละ 10 ถึง 100 รวมถึงความเร็วก็เพิ่มข้ึนด้วย ส่วนเมืองอื่นๆ ระบบ สามารถเพิ่มความสามารถของถนนประมาณร้อยละ 8 – 200 - ระบบควบคุมสัญญาณไฟจราจรสามารถลดทำให้ลดการหยุด Los Angeles, California ของยวดยานบริเวณแยกสญั ญาณไฟลงถงึ ร้อยละ 41 - โครงการให้ข้อมูลกี่ยวกับการเดินทาง สามารถที่จะเพ่ิม Long Island, New York ความเร็วในการเดินทางจาก 34 mph เป็น 64 mph ซ่ึง ส่วนประกอบของโครงการจะประกอบด้วย การใช้ป้ายบอก ทาง Ramp Metering และตัวเก็บข้อมูล โดยผู้ขับขี่จะ เปลี่ยนเส้นทางตามป้ายบอกและจะเปล่ียนมากขึ้น เมื่อป้าย บอกเสน้ ทางที่เดินทางได้รวดเร็วกวา่ - โครงการ TranStar สามารถลดความล่าช้าที่เกิดขึ้นเน่ืองจาก Houston, Texas อุบตั ิเหตุ

ประโยชน์ของระบบ ITS ผลการดำเนนิ การ สถานทดี่ ำเนินการ ให้ทางเลือกในการเดินทางแก่ผู้เดิน - การทดสอบการส่งข้อมูลทางด้านการจราจรถึงผู้ขับข่ีผ่านทาง Minneapolis-St.Paul, ทางด้วยการใหข้ ้อมลู ทางดา้ นจราจร เพจเจอร์ พบว่า มีผู้เดินทางที่ใช้บริการนี้คิดเป็นร้อยละ 65 Minnesota และผู้ขับข่ีมากกว่าร้อยละ 50 ก็จะทำตามคำแนะนำจาก เพจเจอร์ - ได้มกี ารให้ขอ้ มูลเก่ียวกับถนนและการขนส่งสาธารณะในเขต Atlanta, Georgia and เมือง พบว่าสามารถเตือนผู้ขับข่ีเม่ือมีสถานการณ์ไม่ปกติ Los Angeles, California เกิดข้ึนได้ผ่านทางจอแสดงภาพท่ีจะแสดงเส้นทางท่ีเกิดการ Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง 117 ติดขัดหรืออุบัติเหตุ และแนะนำเส้นทางท่ีเหมาะสมแก ่ ผู้ขับข่ี ซึ่งระบบน้ีจะเช่ือมต่อกับระบบขนส่งสาธารณะเพ่ือให้ ผู้เดินทางสามารถเปล่ียนวิธีการเดินทางได้เม่ือมีความ จำเป็น เพิ่มความเร็วของยวดยาน เมื่อผ่าน - โครงการ Pike Pass ใช้ด่านเก็บค่าผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ Oklahoma ดา่ นเกบ็ ค่าผ่านทาง พบว่า สามรถลดค่าดำเนนิ การลงถงึ ร้อยละ 91 - สะพาน Tappan Zee ข้ามแม่น้ำHudson สามารถรองรับ Westchester Country, ปริมาณรถได้ถึง 1000 คัน เมื่อใช้ด่านเก็บค่าผ่านทาง New York อเิ ล็กทรอนิกส์ จากเดิมท่ีรองรับปริมาณไดเ้ พียง 450 คนั

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง ประโยชน์ของระบบ ITS ผลการดำเนนิ การ สถานทดี่ ำเนนิ การ 118 สามารถช่วยชีวิตผู้เดินทางผ่านทาง - ได้มีการติดตั้งระบบไว้สำหรับกีฬาโอลิมปิก 1996 พบว่า Atlanta, Georgia ระบบฉุกเฉนิ ลดความล่าช้าเมื่อมีอุบัติเหตุข้ึนมากกว่าร้อยละ 50 และ สามารถจดั การกับอบุ ตั เิ หตุไดร้ วดเรว็ กว่าเดมิ ถงึ ร้อยละ 38 - ได้มีการติดตั้งระบบท่ีรถตำรวจท่ีชายหาด Redondo and Orange Country, California Hermosa พบว่า สามารถลดเวลาในการช่วยเหลือลง ประมาณร้อยละ 25 ลดจำนวนอุบตั ิเหตุที่เกิดขน้ึ - ในประเทศสหรัฐอเมริกามีการใช้ Ramp Metering ของ USA ทางด่วน พบว่า สามารถการเกิดอุบัติเหตุลงได้ร้อยละ 15 - 50 ช่วยให้การทำงานของระบบขนส่ง - ระบบขนส่งมวลชนที่เมือง Winston-salem ได้ใช้ระบบ Winston-salem, สาธารณะมปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึ้น คอมพิวเตอร์ช่วยในการให้บริการ และจัดตารางเวลาในการ North California เดินรถ ระบบจะลดจำนวนการว่ิงรถเปล่า และจะเดินรถเมื่อ มีผู้โดยสารเท่าน้ัน ซึ่งเม่ือนำระบบมาใช้พบว่า จำนวนผู้ใช้ บริการเพิ่มข้ึนจาก 1000 คน เป็น 2000 คน ใน 6 เดือน แรกที่มีการใช้ระบบ นอกจากนี้ยังลดเวลาคอยลงร้อยละ 50 - คณะกรรมการขนส่ง Potomac and Rappahannock ได้นำ Northern Virginia ระบบ ITS มาใช้ในระบบขนส่งมวลชนพบว่า สามารถลดค่า ใชจ้ า่ ยลงรอ้ ยละ 40 เมอื่ เทยี บกับการใหบ้ ริการแบบเดมิ

ประโยชน์ของระบบ ITS ผลการดำเนินการ สถานท่ดี ำเนินการ เพ่ิมประสิทธิภาพการให้บริการของ - รถโดยสารประจำทางท่ีติดต้ังระบบติดตาม ทำให้ Kansa City, Missouri ระบบขนส่ง ประสิทธิภาพในการดำเนินงานเพ่ิมข้ึนประมาณร้อยละ 12 และสามารถลดจำนวนรถโดยสารประจำทางท่ีไม่จำเป็นลง ร้อยละ 9 - รถโดยสารประจำทางที่ติดตั้งระบบติดตามสามารถ Baltimore, Maryland เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการให้บรกิ ารร้อยละ 23 ช่วยลดมลภาวะเนอื่ งจากระบบขนสง่ - ระบบข้อมูลข่าวสารช่วยให้ผู้ขับขี่เปลี่ยนการใช้รถยนต์ส่วน Boston, Massachusetts บุคคลมาเป็นรถขนส่งสาธารณะ ทำให้ลดสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนลดร้อยละ 25 ลดอ๊อกไซด์ของไนโตรเจนลง ร้อยละ 1.5 และปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ลงร้อยละ 33 Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง 119

Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง 5.4 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ระบบขนส่งอัจฉริยะในประเทศ ไทย ปัจจุบันประเทศไทยได้นำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาพัฒนา ระบบขนส่งของประเทศ เพื่อลดปัญหาทางด้านจราจร และยกระดับ คุณภาพการให้บริการของระบบขนส่งมวลชนให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ซึ่งแต่ละหน่วยงานได้มีการศึกษาเก่ียวกับการประยุกต์ใช้ระบบขนส่ง อัจฉริยะ (ITS) ไว้มากมาย เพ่ือสามารถนำมาปรับใช้และก่อให้เกิด ประสิทธิภาพในระบบจราจรสูงสุด ตัวอย่างของโครงการท่ีได้มีการศึกษา มดี งั น้ี หน่วยงาน โครงการ สำนกั งานนโยบายและแผนการ ขนส่งและจราจร (สนข.) 1. การศึกษาจัดทำแผนแม่บทระบบรายงานสภาพการ จราจรแบบ Real Time 2. โครงการพัฒนาระบบรายงานสภาพการจราจรแบบ Real Time ระยะที่ 1 กรงุ เทพมหานคร 3. โครงการพัฒนาระบบรายงานสภาพการจราจรแบบ Real Time ระยะที่ 2 1. โครงการพัฒนาระบบควบคุมสัญญาณไฟจราจรเป็น พน้ื ท่ี (Area Traffic Control) 2. โครงการตดิ ตง้ั ระบบโทรทศั นว์ งจรปดิ สำหรบั อำนวยการ ดา้ นการจราจร 3. การตดิ ต้ังอปุ กรณน์ ับเวลาสัญญาณไฟ 4. โครงการท่จี อดแท็กซ่ีอจั ฉรยิ ะ 5. โครงการติดตัง้ ระบบสัญญาณไฟจราจรคนขา้ มอัจฉริยะ 6. ระบบป้ายจราจรอจั ฉรยิ ะ 7. โครงการรถโดยสารประจำทางดว่ นพเิ ศษ (BRT) 120

Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง หนว่ ยงาน โครงการ กองบงั คบั การตำรวจจราจร 1. การตดิ ตงั้ ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (บก.จร.) 2. ระบบตรวจจับรถยนต์ฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร กองบังคบั การตำรวจทางหลวง 1. ระบบตรวจจับความเร็วรถยนต์ท่ีใช้ความเร็วเกินกว่า กำหนด สำนกั งานปลัดกระทรวง คมนาคม 1. ระบบรายงานสภาพจราจรและบริหารจัดการอุบัติเหตุ ด้านการขนสง่ (TRAM) 2. ระบบบริการแผนที่คมนาคมออนไลน์ กรมทางหลวง 1. ระบบเผยแพร่ข้อมูลเส้นทางและแนะนำเส้นทางลัดใน ช่วงเทศกาลเข้ามาให้แก่ผู้ใช้เส้นทางผ่านทางเว็บไซต์ช่ือ http://www.doh.go.th/ 2. การควบคุมมาตรฐานน้ำหนักรถบรรทุกด้วยด่านช่ัง นำ้ หนักขณะรถวิ่ง (Weight in motion: WIM) 3. ระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีเกี่ยวข้องกับงานทาง และงาน วิจัยของกรมทางหลวง โดยผู้ใช้สามารถเข้าไปหาข้อมูล ได้ท่ีเว็บไซต์ของกรมทางหลวง http://www.doh.go.th/ dohweb/gis/pagegis.htm กรมทางหลวงชนบท 1. การพัฒนาเผยแพร่ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ในรูปแบบข้อมูล สารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) 2. ระบบควบคมุ การจราจรถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี 3. ระบบควบคุมการระบายน้ำอัตโนมัติพร้อมเคร่ืองกำเนิด ไฟฟ้าสำรอง 4. ระบบแผงก้นั รถยนต์และไฟสัญญาณเตือนอตั โนมัติ 5. ระบบไฟฟา้ แสงสว่างภายในทางลอด การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย 1. ระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในการตรวจสอบสภาพ จราจร 2. ระบบโทรศพั ท์ฉุกเฉิน (ETS) 3. ระบบป้ายปรบั เปล่ียนขอ้ ความ (VMS) 121

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง หนว่ ยงาน โครงการ 4. ระบบจดั เก็บคา่ โดยสารอัตโนมัติ (EASY PASS) การรถไฟฟา้ ขนส่งมวลชนแห่ง 5. ระบบรายงานสภาพจราจรผ่านเว็บไซต์ http:// ประเทศไทย www.exat.co.th/imap/ 1. ศนู ยค์ วบคมุ การเดินรถอตั โนมตั ิ 2. ระบบประตูชานชาลาอัตโนมัติ (Platform Screen Door) การรถไฟแหง่ ประเทศไทย 3. ระบบกล้องโทรทศั นว์ งจรปดิ (CCTV) บริษทั ระบบขนส่งมวลชน 4. ระบบจัดเก็บค่าโดยสารอัตโนมัติ (Automatic Fare กรงุ เทพ จำกัด (มหาชน) Collection System) 5. ระบบประตูตรวจบัตรโดยสารอัตโนมัติ (Automatic Gate) บรษิ ทั ทางยกระดับดอนเมือง 1. ระบบตดิ ตามขบวนรถไฟ จำกดั (มหาชน) 2. ระบบตรวจสอบทน่ี ั่ง 1. ระบบการเดินรถแบบอัตโนมัติ (Automatic Train Protection) 2. ระบบสื่อสารผ่านอินเตอร์คอมและระบบโทรทัศน์ วงจรปดิ (CCTV) 3. ระบบจัดเก็บค่าโดยสารอัตโนมัติ (Automatic Fare Collection System) 1. ระบบการแจ้งข้อมูลแก่ผู้ใช้ทางผ่านป้ายแจ้งข้อมูลจราจร (Matrix Sign) 2. ระบบกล้องโทรทัศนว์ งจรปดิ (CCTV) 3. ระบบโทรศัพท์ฉุกเฉิน (Emergency Telephone System) 122

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง หนว่ ยงาน โครงการ ศนู ย์เทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนิกส์ 1. การพัฒนาระบบรายงานสภาพจราจรแบบ Real Time และคอมพิวเตอรแ์ ห่งชาติ ผ่านทางเว็บไซตช์ ่อื http://traffic.thai.net 2. โครงการประเมินและรายงานสภาพการจาจร โดยได้ พัฒนาสร้างต้นแบบการเก็บข้อมูลของสภาพการจราจร องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ เพื่อประมวลผลสำหรับใช้ในการรายงานสภาพการ จราจรและแนะนำเสน้ ทาง 3. การพัฒนาระบบเผยแพร่ข้อมูลสภาพการจราจรผ่าน ทางเว็บไซต์ http://www.traffy.in.th/traffy10/ 1. การพัฒนาระบบติดตามรถโดยสารด้วย GPS 2. การพัฒนาระบบการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ผู้ใช้บริการ แบบ Real-Time 3. การพัฒนาระบบสารสนเทศของ ขสมก. ในส่วนท่ี เก่ียวขอ้ งกับการเดินรถโดยสาร 4. การพัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์สำหรับใช้ในการปฏิบัติ การเดินรถโดยสาร 5.4.1 การพัฒนาระบบขนส่งและจราจรอัจฉริยะของการทางพิเศษ แหง่ ประเทศไทย C โครงการศึกษาและพัฒนาระบบจราจรอัจฉริยะบน เสน้ ทางพเิ ศษ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) เป็นหน่วยงาน หลักท่ีรับผิดชอบการก่อสร้าง และจัดการจราจรบนโครงข่ายทางพิเศษ กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล ดังน้ัน กทพ. จึงจำเป็นท่ีจะต้องมีระบบการ จัดการที่ทันสมัย และสามารถเก็บข้อมูลจราจรได้แบบเป็นปัจจุบัน (Real-time) ซึ่งข้อมูลดังกล่าวสามารถนำมาใช้ในการจัดการจราจร และ ตรวจสอบอุบัติเหตุ หรือเหตุการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กทพ. 123

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง จึงได้ริเร่ิมการดำเนินการพัฒนาระบบจัดการจราจรอัจฉริยะ (Intelligent Transportation System หรือ ITS) มาช่วยในการจัดการจราจรบนทาง พิเศษ จึงได้ริเร่ิมโครงการจัดต้ังศูนย์การจราจรอัจฉริยะ (ITS Center) มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการกำหนดแผนการติดตั้ง อุปกรณ์ตรวจวัดสภาพจราจร เพื่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบระบบ จราจรอัจฉริยะที่เหมาะสมกับสภาพจราจรบนทางพิเศษ โดยมีหลาย โครงการท่ีเก่ียวข้องกับระบบขนส่งและจราจรอัจฉริยะมาหลายโครงการ เชน่ 1) โครงการศึกษา และพัฒนาแผนแม่บทระบบจราจรและ ขนส่งอัจฉริยะ และจัดตั้งศูนย์บูรณาการข้อมูลจราจร อัจฉริยะ (ระยะที่ 1) ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (ITS Master Plan) 2) โครงการติดต้ังและประเมินผลระบบจราจรอัจฉริยะบนทาง พิเศษกาญจนาภเิ ษก (ITS Pilot Corridor) 3) โครงการวิเคราะห์ระยะเวลาการเดินทางจากข้อมูลความเร็ว รถและปริมาณจราจร (Travel Time Estimation) 4) โครงการพัฒนาระบบตรวจจับอุบัติการณ์อัตโนมัติ (Automatic Incident Detection System) ระยะที่ 1 5) โครงการศึกษาการเก็บข้อมูลจุดเร่ิมต้นและจุดปลาย ทางการเดินทางดว้ ยโทรศัพท์มอื ถือ ระยะที่ 2 6) โครงการศนู ย์การจราจรอัจฉรยิ ะ (ITS Center) ระยะท่ี 2 124

3) โครงการวิเคราะหระยะเวลาการเดินทางจากขอมูลความเร็วรถและปริมาณจราจร (Travel Time Estimation) Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง 4) โครงการพัฒนาระบบตรวจจับอุบัติการณอัตโนมัติ (Automatic Incident Detection System) รโโคคะรรยงงะกกทแทาาี่มารร1งศศ่บพึกูนทษิเยศใ กานษกาโราน คจรำเรรรกาง่อ็บจกงขราใใออ นรนัจมรรฉกูละะรจายยยิ ดุระะะเดทรท(ิม่ำIี่ี่ Tตเ11Sน.น5แิCแนลลeแโnะะคลจtทะรeุดโำงrปค)กกลรราาาะงรรยกยทททะาดทรา่ีผงสอี่ ่าก2น่ือนาบๆรมเรด าะนิ บทกบาทงจพดรวา.ยจไโรทดอร้จัจศัดพัฉททริำยมแอืะถผบอื นนระยะที่ 2 5) 6) ในการดาํ เนินโครงการทผ่ี านมา กทพ. ไดจัดทาํ แผนแมบทในโครงการระยะท่ี 1 และทําการทดสอบ ระบบจราจรอจัรฉูปรทิย่ีะ5บน.4ท-า1งพภเิ ศาษพนรําวรมอ งโใคนระงยกะาทรี่ ศ1.ึก5ษแาลภะโาคยรงใกตา้แรอผืน่ นๆแม่บทระบบจราจร อัจฉริยะ พทเิ่มี ศาษ: แโคหรง งปกราะรเศทกึ ศษไททายม่ีแล(าITะ:SพโัฒMคนaราsงแtกeผrนาPรแlมศaบnึกท)ษระาบบแจลระาพจรัฒแลนะขานแสผง นอัจแฉมรยิบ่ ะทแรละะบจดับตจัง้ รศานู จยรบแรู ณลาะกขานรขสอ่งมอลู ัจจรฉารจิยรอะัจฉแรลยิ ะะจ(รดั ะยตะัง้ ท่ี 1) ของการทาง (ศIูนรTยูปS์บทMูรี่ ณ5as.า4tกe-1rารPภขlaา้อnพม)ูลร วจมราโจครรองัจกฉารริยศะึกษ(ราะภยาะยทใี่ต1แ)ผขนอแงมกบารททราะงบพบิเศจษรแาจหร่งปอัจระฉเรทิยศะไทย มกี ารต ิดตัง้ อปุ กรณต รวจวดั สภาพจราจรและพฒั นาระบบจราจรอัจฉริยะนเสนทางในเสนทางพิเศษ กกโกจอคาาารัจรญรญาฉงอจรจจกอริยนนาอกะราาัแจภภซ(บฉIิเิเT่งึษรบษใSิยกนแกซสจอะชลกCุรึุ่ป(ขงวะาบ2eงไาสรพก)nาบดดจวัฒรงtโา้าํมรัสeพคณงนเ อีrกดนพรลา)์ตัจงนิ์ิเาลรี-ป สสรรฉระกี-สุขะร็นวบอาราุขยสรจบเอิยงสสไะววจกดระัวสท้ันดระมแสัมนด่ีาทสบีก2ดบ์ิจี)กเาภาบ์เิสรบเาปปงรพาสอ้รนนอแรน พัจ่ืถอตอะทำลเฉาตจสิดกกระาปรรนร่อแอติยพงวตาทบบงั้งะใจัฒยจาบอนดวกใรง(ุปโวIัดนนเนTบรคยสกสําSโารรน้คนรภร)มรง3เอสณราะแคทสสงพรงลบอา้์นตาวกใะจมบงงนนรทาตรสพพจวโหราดิาถคิวจริศเจลงตารเศวารพูนักัง้ตปงัดจบษอกอยิเตไรสปุนศากรดย์กอภรกเษกแาาสแัศจรารกรญกนลูณนฉพรจ าะทยม1จรตจรญ)ากินยราร3IงTาโวจจาะ)าพครSจจรนภโจิรเวอรค(ศภาิงดัรเIแัจรภษษสาาสTงลฉยจรสิเภกSสะใษรารําาตร)ชพงิยอหกพาโส่วัจะัฒครแงจถงรฉับรร(รลานบะระบงานปะิยกยาจบาาําตตระาระงไบงยะิรดบรปทพพปศกบะนพต่ีลลรูยนรบ2เัฒ้ังะีี--รสะยมมนทนศวขา่ีทูนล2รอยาผะงงซจบรลพ่ึรงะแบิไเาบศดลจในษบมะรี ฐานขอมูล โดยรูปท่ี 5.4-2 แสดงโครงสรา งสถาปตยกรรมและการเช่อื มตอโดยรวมของระบบ ITS ในโครงการ 125

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง สุขสวัสด์ิ) เพ่ือตรวจวัดสภาพจราจรบนเส้นทางพิเศษสำหรับนำไปพัฒนา ระบบในโครงการ ซ่ึงในการดำเนินการได้มีการออกแบบโครงสร้าง สถาปตั ยกรรม ITS ภายใตโ้ ครงการศนู ยศ์ นู ยจ์ ราจรอจั ฉรยิ ะ (ITS Center) ระยะท่ี 2 ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่ 1) โครงสร้างสถาปัตยกรรม ของระบบจราจรอัจฉริยะ 2) โครงสร้างระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และ 3) โครงสร้างระบบประมวลผลและฐานข้อมูล โดยรูปท่ี 5.4-2 แสดง โครงสร้างสถาปัตยกรรมและการเช่ือมต่อโดยรวมของระบบ ITS ใน โครงการ 126

บทท่ี 5 ระบบบรหิ ารจดั การระบบขนสง และจราจร รูปท่ี 5.4-2 โครงสรา้ งการเชอื่ มตอ่ และสถาปัตยกรรมโดยรวมของระบบขนจราจรอัจฉริยะ (ITS) ทที่มมี่ าา:: โโคครรงงกกาารรศศนู นู ยยกก์าราจรรจารจารจอรัจอฉัจรฉิยะริย(IะTS(ICTeSntCeer)nรtะeยr)ะทร่ีะ2ยะที่ 2 รปู ที่ 5.4-2 โครงสรางการเชอ่ื มตอและสถาปตยกรรมโดยรวมของระบบขนจราจรอจั ฉรยิ ะ (ITS) โดยระบบจราจรอจั ฉรยิ ะมีการตดิ ต้ังอุปกรณต รวจวดั สภาพจราจรสาํ หรบั เก็บขอมูลจราจร และมกี าร ติดตั้งกลอง CCTV เพื่อนําไปพัฒนาและประมวลผลระบบจราจรอัจฉริยะ ไดแก 1) ระบบประเมินและ Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง 127

บทที่ 5 ระบบบริหาร ัจดการระบบขนสงและจราจร Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง ท่ีมา: โครงการศูนยการจราจร ัอจฉ ิรยะ (ITS Center) ระยะท่ี 2 โดยระบบจราจรอัจฉริยะมีการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัด สภาพจราจรสำหรับเก็บข้อมูลจราจร และมีการติดต้ังกล้อง CCTV เพื่อ ูรป ี่ท 5.4-2 โครงสรางการเช่ือม ตอและสถา ปตยกรรมโดยรวมของระบบขนจราจร ัอจฉ ิรยะ (ITS) นำไปพัฒนาและประมวลผลระบบจราจรอัจฉริยะ ได้แก่ 1) ระบบประเมิน โดยระบบจราจรอัจฉริยะมีการ ิตด ้ัตงอุปกร ณตรวจ ัวดสภาพจราจรสําหรับเก็บ ขอมูลจราจร และมีการ และคาดการณ์สภาพจราจร (State Estimation and Prediction System) 2) ระบบประมาณและคาดการณ์ระยะเวลาในการเดินทาง (Travel Time ิตด ั้ตงกลอง CCTV เ ่ืพอ ํนาไป ัพฒนาและประมวลผลระบบจราจรอัจฉริยะ ไ ดแก 1) ระบบประเมินและ Estimation and Prediction System) 3)ระบบตรวจจับอุบัติการณ์แบบ คาดการ ณสภาพจราจร (State Estimation and Prediction System) 2) ระบบประมาณและคาดการ ณ อัตโนมัติ (Automatic Incident Detection System) 4) ระบบเก็บข้อมูล จุดเริ่มต้นและจุดปลายทางการเดินทาง (Origin Destination Survey System) และ 5) ระบบบริหารจัดการท่ีศูนย์ควบคุมกลาง (Traffic Management Control System : TMC) 128

ระยะเวลาในการเดินทาง (Travel Time Estimation and Prediction System) 3)ระบบตรวจจับอุบัติการณ แบบอัตโนมัติ (Automatic Incident Detection System) 4) ระบบเก็บขอมูลจุดเริ่มตนและจุดปลาย ทางการเดินทาง (Origin Destination Survey System) และ 5) ระบบบริหารจัดการที่ศูนยควบคุมกลาง (Tรrูปaทff่ี ic5.M4-a3nแaสgดemงกeารnตtิดCตo้ังnอtุปroกรl ณSy์ตsรtวeจmวัด:สTภMาพCจ)ราจร (Sensor) บนทางพิเศษเพ่ือนำมาพัฒนาระบบจราจร อจั ฉริยะ (ITS) ทมี่ทาี่ม:าโ:ครโคงกรางรกศานูรศยกูนายร์กจารราจจรราอจัจรฉอรจัยิ ฉะร(ยิITะS (CIeTnSteCre)nรtะeยr)ะทรี่ ะ2ยะที่ 2 รปู ท่ี 5.4-3 แสดงการตดิ ตง้ั อุปกรณต รวจวดั สภาพจราจร (Sensor) บนทางพิเศษเพื่อนาํ มาพัฒนาระบบ จราจรอัจฉรยิ ะ (ITS) Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง 129

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง รปู ที่ 5.4-4 การรายงานสภาพจราจรบนเส้นทางบพบททเิ ทศที่ษ่ี55ผรระ่าะบนบบบกบบลรร้อหิ หิ งาารรจCจดั ัดCกกTาารVรรร ะะบบบบขขนนสสง งแแลละะจจรร :โโคครรงงกกาารรศศูนนู ยยก กาารรจทจรรม่ีาาจาจร:รออโจั ัจคฉฉรรรงิยยิ กะะา((IรTITศSSนู CCยee์กnnาtteรerจr))รรราะะจยยระะอททจัี่ ี่2ฉ2รยิ ะ (ITS Center) ระยะที่ 2 รรรูปปู ปู ททท่ีี่ ่ี 555...444---454กกกาาารรรรรราาายยยงงงาาานนนสสสภภภาาาพพพจจจรรราาาจจจรรรบเบปนน็นเเสเสสนน ้นททสาาีขงงพอพงเิ เิศรศษะษบผผบา านจนรกกาลลจออรงองัจCCฉCCรTTิยVVะ บน Web application 130:โโครครรูปรงปู งกทกทาาี่รี่ร5ศ5ศนู.ูน.4ย4ยก-ก-5า5ารรจทกจกรร่ีมาาาาจารจรร:รรอรอาโจัาัจคยฉยฉรรงรงงยิ ิยากะาะนาน((IรสTIสTศSภSนูภCาCยาeeพ์กพnnาtจtจeรeรrจรr)า)รารราจะจะจยรยรระเะอเทปทปัจี่ ่ีน2ฉน2เรเสิยสนะนสส(Iขี ขี TอSองงCรรeะะnบบteบบr)จจรรราะายจจะรรทออี่ จั 2จั ฉ ฉรริยยิ ะะบบนนWWeebb aapppplliiccaattiioonn

Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง รราาจจรร ท่มี า: โครรปู งกทารS่ีร5ศูปmูน.4ทยaก-ี่5าrร5tจกร.าา4Pจรh-รร6อoาัจยฉnกรงeิยาาะ นร (IสTร Sภา C ายeพ nง tจาe รนr )ารสจะยรภะเทปาี่ พน2 เจสรน าสจขี รอขงรอะงบรบะจบราบจจรรอาจั จฉรริยอะัจบฉนรWิยะeบbนapมpือlถicือation ทม่ี า: โครงการศูนยก ารจราจรอัจฉริยะ (ITS Center) ระยะท่ี 2 5-15 รทูปมี่ ทาี่ :5โ.4ค-ร6งการศราูนยยงก์ าานรสจภราจพรจอรจั าฉจรริยขะอง(รIะTบSบCจeรnาtจeรrอ)ัจรฉะรยยิ ะะทบ่ี น2ม อื ถอื Smart Phone Smart City: การพฒั นาแ ละปรับใชสร ะ่วบนบรITะใบนกบารบบรรหิิหาราจรัดจกาัดรเกมอื างรที่ศูนย์ควบคุมกลาง (Traffic Management Control System : TMC) ของ กทพ. มีระบบการบริหาร จัดการท่ีห้องศูนย์ควบคุมระบบจราจรอัจฉริยะ (ITS Center) ที่สำนักงาน ใหญ่จตุจักร ทำหน้าที่ควบคุมและส่ังการระบบประมวลผลและแสดงผล ต่าง ๆ ที่ได้จากระบบจราจรอัจฉริยะ (ITS) ผ่านระบบเครือข่ายสื่อสาร ข้อมูลของ กทพ. โดยที่ศูนย์ควบคุมกลางสามารถประสานการทำงาน ควบคุมและแสดงผลสถานะของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ได้ดำเนินการติดตั้งบนทาง พิเศษ เพ่ือประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและการซ่อมบำรุง ในการจัด ตั้งศูนย์ควบคุมกลางมีวัตถุประสงค์หลัก เพ่ือแก้ไขปัญหาการจราจรบนทาง พิเศษอย่างเป็นระบบ สามารถส่ังการและแก้ไขปัญหาจราจรได้ครอบคลุม ทางพิเศษท้ังหมด รวมทั้งยังเป็นศูนย์กลางในการประสาน และปฏิบัติงาน กับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาจราจร โดยมีการรายงาน สถานการณ์ การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารด้านการจราจรผ่านส่ือต่างๆ เพ่ือให้ผู้ใช้ทางพิเศษสามารถตัดสินใจในการเลือกใช้เส้นทางที่เหมาะสม ไดส้ ะดวกย่ิงขนึ้ 131

และการซอมบํารุง ในการจดั ตัง้ ศนู ยค วบคุมกลางมีวตั ถุประสงคหลัก เพื่อแกไขปญหาการจราจรบนทางพิเศษ อในSยmกา งาaเรปrtปนCรระะitสบyาบนกสารแาพมลาฒัะรปนถฏาสแิลั่งบกะัปตาริงรบัาแในชล้รกะะบัแบบกหไIนขTปวในยญกงหาารานบจรอรหิ่ืนาาจรทรจี่เไดักดก่ียคาวรรเขอมอบืองงค ใลนุมกทาารงแพกิเศปษญทหง้ั หามจดรารจวรมทโดัง้ ยยงัมเีปกนารศรนู ายยก งลาานง สถานการณ การประชาสัมพันธขอมูลขาวสารดานการจราจรผานสื่อตางๆ เพื่อใหผูใชทางพิเศษสามารถ ตัดสินใจในรกูปารทเลี่ ือ5ก.ใ4ชเ-ส7น ทกาางทร่ีเแหสมาดะสงมผไลดสขะอดวงกรยะิ่งบขน้ึ บ ITS ในห้องศูนย์ควบคุมระบบ จราจรอัจฉรยิ ะ (ITS Center) ของ กทพ. ที่มา: โครงการทศมี่นู ยาก:ารโจครารจงรกอจั าฉรรศิยะูน(IยTS์กCาeรnจteรrา) จระรยอะทัจ่ีฉ2 ริยะ (ITS Center) ระยะท่ี 2 รูปที่ 5. 4-7 การแสดงผลของระบบ ITS ในหอ งศูนยควบคุมระบบจราจรอจั ฉรยิ ะ (ITS Center) ของ C การตดิ ตั้งป้ายรากยทงพาน. สภาพจราจรอจั ฉริยะ  การตดิ ตงั้ ป าย รายงานสปภ้าายพรจารายจงราอนัจฉสรภิยะาพจราจรอัจฉริยะบนทางพิเศษ (Smart ปVายMราSย)งาเนปส็นภสาพ่วจนรหาจนร่ึงอขัจฉอรงิยกะาบรนเทพาื่องพเพิเศ่ิมษป(Sรmะสarิทt ธVิภMาSพ) รเะปบนบสทวนาหงนพึ่งิเขศอษงกแาลรเะพื่อเพิ่ม ประสทิอธำิภนาวพยระคบวบาทมาสงพะิเดศวษกแลใหะอ้แาํ กน่ผวยู้ใคชว้ทามาสงะดด้ววยกกใหาแรกใผหูใ้ขชท้อามงูลดวสยภกาาพรใจหรขาอจมรูลสทภาำพใหจร้ผาู้ใจชร้ ทําให ผูใชทาทงาไดงรไับดท้รรับาทบขรอามบูลขส้อภมาพูลจสรภาจารพบนจทรางจพริเบศษนทท่ีเปานงพปจิเจศุบษันทสี่เาปม็นารปถัจตจัดุบสินันใจสแลาะมวาารงแถผนการ เดนิ ทาตงัดไดสอ ินยาใงจถแูกลตะอ วงางแผนการเดินทางไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง Smart City: การพัฒนาและปรบั ใชระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง 5-16 132