2 องคป์ ระกอบและสถาปตั ยกรรม ของระบบ Smart City
องคป์ ระกอบของระบบ Smart City สถาปตั ยกรรมของระบบ Smart City รปู แบบสถาปัตยกรรมของระบบ Smart City
2.1 องค์ประกอบของระบบ Smart City Smart city มีองค์ประกอบได้อย่างกว้างขวาง ซ่ึงรวมไป ถึงต้ังแต่ระบบจัดการพลังงาน การจราจรไปจนถึงระบบจัดการน้ำ จัดการขยะ บริการสาธารณะ ระบบตรวจจับและเฝ้าระวังความ ปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในสังคมเมืองดังที่ได้กล่าวไปแล้ว ตัวอย่างมุมมองขององค์ประกอบท่ีสำคัญสำหรับการเป็น Smart City ไดแ้ ก่ 2.1.1 องค์ประกอบของระบบ Smart City ตามแนวคิด ของ IBM IBM ได้วิเคราะห์อนาคตของเมืองว่า เมืองอัจริยะ (Smart city) ทุกระดับจะใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีใหม่ ๆ และการเข้าถึงข้อมูลเชิงลึกที่จะเปล่ียนระบบการดำเนินงานและ การให้บริการ การแข่งขันระหว่างเมืองท่ีจะมีส่วนร่วมและ 35
คประกSอmบarขt CอiงtyระกาบรพบัฒนSาแmละปaรับrใtชร้ ะCบบitITyในตกาารบมริหแารนจดัวกคารดิเมือขงอ ง IBM Mหมไๆดวแิเลคะรกาาดอะรึยงหเด่าขอูงดาตนใถจ่อางึปเคขนรตอื่อะชงขมทาอลู ชี่จเงนะชเใใิงมหหลือ้บ้มกึ งรีททิกวี่อ่ีจาายระู่อทเเามป่ีมศือีคลัยุงณีย่ใหอนภมัจรา่ รพะธิยบสุระูกงบขิจก(อแSางลmชระีวดนaิตํัากrแเtทนล่อะินงcภเงiทาtาวyี่ยนะ)วเแศทคลรุืกอะษสรกฐนะากใดริจจับ ใ หจบะรใิกชาปรระก งทจี่ ะมสี วนรทว ีส่ มดแใสล12ะดซงึ่งึ ปดรูดะใกจอปบรดะ้วยชา3ชนส่วในหสมำีทคัญ่ีอยดูองั านศ ้ี ัยใหม ธุรกิจและนักทองเที่ยว คือส ะใหบ รกิ ารทมี่รูปคี ทุณี่ 2ภ.1า-พ1 สอูงงขคป์อรงะชกีวอิตบแขลอะงรภะาบวบะเSศmรษarฐtกCจิ itทyส่ี ตดาใมสแ1น2วซคง่ึิดปขรอะงกIอBMบด วย 3 สวนส รปู ที่ 2.1-1CองPคlaปnรnะinกgอบaขndองMรaะnบaบgeSmmenatrtเปC็นitกyารตวาางมแแผนนวพคัฒิดนขาอแงละI BM การใช้ทรัพยากรณอ์ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 1.teamgroup.c o.th/newsl8et teสPrาu/1มb4าli0รc1ถ/SเTขaH้าf/ถevึงitsyขio้อnมม.ีhรูลtะไmดบl้ใบนตเวรลวาจจจรับิงเเมฝ่ือ้าเรกะิดวเังหคตวุกาามรปณล์ฉอุกดเภฉินัย การพฒั นาและปรบั ใชระบบ ITเพใ่อื นสกาามราบรรถหิ สาง่ัรกจาดั รกแากรไ้เขมไอื ดง้ทนั ที 12 http://www1.teamgroup.co.th/newsletter/1401/TH/vision.html 36
Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง ะโยชนจาก 8 Government and Agency Administration หน่วยงานของ การแขงขัน รัฐสามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาให้บริการประชาชน สนใจอยาง และบรหิ ารประเทศ สาํ คญั ดงั นี้ 8 City Planning and Operations เน้นการจัดการวางแผน เมอื งและเชอ่ื มโยงกบั ระบบปฎบิ ตั ิการ 8 Buildings เป็นการจัดการพลังงานภายในอาคารและ อนรุ กั ษ ์ C Infrastructure เป็นการจัดสรรโครงสร้างพื้นฐาน การ คมนาคมขนส่งรวมถึงระบบส่ือสารอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 8 Energy การจัดการพลังงานทั้งไฟฟ้าและแก๊ส ตลอดจน ระบบสายส่ง 8 Water การผลิตและจัดส่งน้ำประปา ท่อระบายน้ำ และ การจดั การน้ำทว่ ม 8 Environmental เน้นการพัฒนาอย่างย่ังยืน เพื่อลด ผลกระทบทางดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม C People เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้ข้อมูลข่าวสารที่ฉับไว ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ ์ 8 Social Programs เป็นการบริหารจัดการด้านสังคม โดย การวางโครงการที่เหมาะสมสามารถขับเคล่ือนชุมชนได้ 2-1 อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 37
Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง เชน 8 Smarter care การวินิจฉัยสุขภาพโดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและมีการเช่ือมต่อระบบข้อมูลการดูแลสุขภาพ สามารถใชข้ อ้ มลู ร่วมกันไดใ้ นการตดั สนิ ใจ 8 Education ความก้าวหน้าในการจัดการศึกษาและการใช ้ เทคโนโลยีท่ีทันสมัย เป็นการฟ้ืนฟูโครงสร้างพ้ืนฐาน ท่ลี า้ สมยั ดว้ ยฟงั ก์ชนั การทำงานใหม่ 2.1.2 องค์ประกอบของระบบ Smart City ตามแนวคิดของ Schneider Electric Schneider Electric ได้กำหนด 5 ข้ันตอนท่ีจะทำให้เป็นเมือง อจั ริยะ13 C วิสยั ทัศน:์ การตงั้ คา่ เปา้ หมายและแผนงานที่จะได้รับ C ผลลพั ธ์: การนำเทคโนโลยเี พ่อื ปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพของระบบ ในเมอื ง C บู ร ณ า ก า ร : ก า ร ร ว ม ข้ อ มู ล แ ล ะ ก า ร ด ำ เ นิ น ง า น ใ ห้ มี ประสิทธิภาพโดยรวมของเมือง C นวัตกรรม: การสร้างรูปแบบธุรกิจที่เฉพาะเจาะจงของแต่ละ เมือง C ความร่วมมือ: ขับเคล่ือนการทำงานร่วมกันระหว่างผู้พัฒนา ทว่ั โลกและผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี ในทอ้ งถน่ิ 13 http://www2.schneider-electric.com/sites/corporate/en/solutions/ sustaina ble_solutions/smart-cities.page 38
Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง บทที่ 2 องคป ระกอบและสถาปต ยกรรมของระบบ Smart Ci รูปที่ 2.1-2 องค์ประกอบของระบบ Smart City ตามแนวคิดของ Schneider Electric รูปท่ี 2.1-2 องคอปงรคะ์กปอรบะกของบรขะอบงบระSบmบaเrมtือCงiอtyัจฉตราิยมะแขนอวงคิดSขcอhงneSicdhenr eEidleecrtrEicle ctric จงึ ต้องครอบคลุมบริการหลายๆ สว่ น เชน่ องคประกอ บของร1ะ)บบ พเลมังอื งงาอนัจฉ(รSยิ mะขaอrtง ESncehrngeyid)eพr ลEังleงcาtนriไcฟจฟึง้าตแอ ลงคะรแอกบ๊สคลตุม้ังบแรติก ่ ารหลายๆ สว เรอ่ื งสายสง่ ไปจนถึงการจดั การพลังงาน 1) กพกจนาาลรรถัง พขงึ งนรลาะังสนบงงาบ(น(S2รSm)อmงa ใกคaรrน่าrาับttอรทรนขMาถEนางยoคnดสนbeต่่วงตir นlgไi(tฟySyข)ฟm)้อา กaมใrพานtูลรลอจMจั งนรัดoงาากbาจคาiนรlตiรtไyรไฟ)ปะฟบจกานบาแถรจลจึงระัดราะแกจบการรบ สกรระาตอบรั้ งงเบรแกจับต็บรรเคารถจา่ื อยรทงนาสกตงาาด์ไรยฟวเสนกฟง็บ้าขไ ปอจมนูลจถึรงากจารร จไ 2) 3) นบาํ้ริก(SาmรสaาrธtาWรณatะer()SกmาaรผrtลิตPแuลbะlจicัดสSงeนrํา้vปicรeะsป) าคทวอารมะปบลาอยดนภํ้าัยแสลาะธกาารรณจะัดกบารริกน3า้ํา9รทปว มระชาช 4)
Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง 3) น้ำ (Smart Water) การผลิตและจัดส่งน้ำประปา ท่อระบาย น้ำ และการจดั การนำ้ ท่วม 4) บริการสาธารณะ (Smart Public Services) ความปลอดภัย สาธารณะ บริการประชาชนจำพวก eGovernment ต่างๆ และ การจัดการไฟถนน 5) ส่ิงปลูกสร้าง (Smart Buildings and Homes) เน้นการจัดการ พลังงานภายในอาคาร โดยเชือ่ มโยงกบั Smart Grid 2.2 สถาปัตยกรรมของระบบ Smart City Smart City เป็นความพยายามที่จะแก้ไขปัญหาด้านสภาพแวดล้อม ความปลอดภัยในการดำเนินชีวิตและบคททว่ี 2าอมงคสป ะระดกอวบกแลสะสบถาาปยตยผกร่ารมนขกองาระรบปบ SรmะaสrtาCนity งานของโครงสร้างพื้นฐาน ประกอบด้วยชั้นโครงสร้างพ้ืนฐานที่สนับสนุน 2.2 การสดถาำปเนตยินกชรรีวมิตขขอองรงะผบู้บบรSิโmภคarรt่วCมitกyับโครงสร้างพื้นฐานด้านการจัดการเมือง และคทวเี่ าชSมmอ่ืสะมaดrโtวยCกงiสtyกบาันเปยโนผดคาวนยากใมาชพร้ไยปอารยทะาสมี าทนี่จงะาแนกขไขอปงโญคหรางดสารนาสงพภื้านพฐแาวนดลปอรมะกคอวบามดปวยลอชั้ดนภโคยั รในงสกราราดงพําเ้ืนนฐนิ าชนีวทิต่ี สนบั รสนูปุนทกาี่ ร2ด.าํ 2เน-ิน1ชวีโติคขรองงผสูบ รร้าโิ ภงคขรอว มงกเบั มโคือรงงสอรฉั า งรพยิ ้ืนะฐา นดานการจดั การเมอื งทเ่ี ชือ่ มโยงกนั โดยใชไ อที 40 รูปที่ 2.2-1 โครงสรางของเมืองอฉั รยิ ะ 2.2.1 ช้ันโครงสรางพน้ื ฐานแหง ชาติ
Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง 2.2.1 ช้นั โครงสร้างพื้นฐานแหง่ ชาต ิ เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่หลายเมือง เป็นชั้นท่ีพ้ืนฐานมากที่สุดอาทิเช่น ระบบพลังงาน การขนส่งทาง ระบบ การส่ือสารโทรคมนาคม ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นฟังก์ชั่นที่เก่ียวข้องกับ โครงสร้างพื้นฐานในชีวิตประจำวันของผู้บริโภคในระดับชาติหรือระดับ ภมู ิภาค ซึ่งต้องการประสานงานกบั เมอื งอ่ืน ๆ กรณีของการขนส่งสาธารณะ บริการขนส่งระหว่างเมืองชินคัน เซ็นเป็นตัวอย่างของโครงสร้างพ้ืนฐานของชาติ ในขณะท่ีการให้บริการ ขนส่งผู้โดยสารที่ใช้สถานีชินคันเซ็นเป็นฮับ เช่น สถานีรถไฟใต้ดินและ รถบัส เป็นตัวอย่างของโครงสร้างพื้นฐานในเมือง การให้บริการในระดับ ภูมิภาคเช่นการประมวลผลของเสียและการส่ือสารโทรคมนาคมจะถือเป็น ส่วนหน่งึ ของโครงสรา้ งพนื้ ฐานในเมอื ง 2.2.2 พ้นื ฐานในชัน้ เมือง โครงสร้างพื้นฐานน้ีถูกสร้างมาจากหน่วยท่ีเล็กที่สุดในการ ทำงาน ซ่ึงขึ้นอยู่กับลักษณะทางภูมิศาสตร์และทางกายภาพของแต่ละเมือง โดยจะบูรณาการอย่างละเอียดกับโครงสร้างพ้ืนฐานของชาติ โครงสร้าง พ้ืนฐานในเมืองจะเช่ือมโยงกับเมืองในการให้บริการโครงสร้างพื้นฐานกับ ผู้บริโภค ได้แก่การส่งมอบการทำงานของโครงสร้างพื้นฐานแห่งชาติ เช่น พลงั งาน การขนส่งทางน้ำและการส่ือสารโทรคมนาคม 2.2.3 บริการโครงสรา้ งช้นั การบริการ โครงสร้างพื้นฐานน้ีถูกสร้างข้ึนจากสิ่งอำนวยความสะดวก ในเมืองและบริการอ่ืนๆ รวมท้ังยาและการดูแลสุขภาพ การศึกษา การบริหารและการเงิน โครงสร้างพ้ืนฐานบริการประสานงานกับโครงสร้าง พ้ืนฐานในเมืองที่จะจัดหาช่วงของการบริการที่แตกต่างและเหมาะสมให้กับ ผู้บริโภค 41
Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง (Mo โครง 2.2.4 การจดั การโครงสร้างพ้นื ฐานในเขตเมอื ง Dev โครงสร้างพื้นฐานการจัดการเมือง เป็นแพลตฟอร์มสำหรับ Smar การใช้ไอทีในการประสานงานการทำงานร่วมกันระหว่างโครงสร้างพ้ืนฐาน ระดับชาติ โครงสร้างพ้ืนฐานในเมืองและโครงสร้างพื้นฐานช้ันบริการ โดยมีบทบาทรวมถึงการจัดการข้อมูลการจัดการการดำเนินงานและ การดำเนนิ งานอปุ กรณภ์ ายในเมือง โครงสร้างพื้นฐานการจัดการเมืองระบบพิกัด ต้องจัดการกับ ข้อมูลและการควบคุมในภาคโครงสร้างพ้ืนฐานรวมทั้งสมาร์ทกริดในภาค พลังงาน ระบบนำทางและการเคลื่อนที่ การใช้ยานพาหนะไฟฟ้า (EVs) และระบบนำ้ อัจฉรยิ ะ 2.2.5 ส่วนวถิ ีการดำเนนิ ชีวิต หมายถึงการใช้ชีวิต การทำงาน การศึกษาและการเดินทาง ซึ่งขึ้นอยู่กับการประสานงานต่างๆของโครงสร้างพื้นฐาน ซ่ึงเก่ียวกับข้อง กับผู้บริโภคโดยการระบุความต้องการอย่างชัดแจ้ง เพ่ือให้สามารถนำมาใช้ เป็นพ้ืนฐานสำหรับการพัฒนาและปรับปรุงส่วนหนึ่งของโครงสร้างพ้ืนฐาน ของแตล่ ะคน ดังน้ันจึงสรุปได้ว่าโครงสร้างพ้ืนฐานของ Smart City จะประกอบด้วย พลังงาน (Energy) การขนส่ง(Mobility) น้ำ (Water) การส่ือสาร (Communications) เทคโนโลยี (IT Platform) ความร่วมมือ ทางโครงสร้างงพ้ืนฐาน (Coordination of Infrastructures) และ การพัฒนาระบบเทคโนโลยี (System Development Technology) 42
ดงั น้ันจงึ สรปุ ไดว า โครงสรางพนื้ ฐานของ Smart City จะประกอบดวย พลงั งาน (Energy) การขน obility) น้ํา (Water) การส่ือสาร (CommuSnmicaarttiCoitnys)กาเรทพคฒั โนนาแลโละปรยับี ใช(Iร้ Tะบบ IPT lในaกtาfรoบrรmหิ าร)จคัดกวาารเมมอื รงว มมือท งสรางงพื้นฐาน (Coordination of Infrastructures) และการพัฒนาระบบเทคโนโลยี (Syste velopment Tรeูปchทn่ี 2o.l2o-g2y)Smart City Infrastructure 2.3 รูปแบบรสูปถทา่ี 2ป.ตั2-ย2กSรmรaมrขt อCiงtyระInบfบrasStmrucatrutreCity 2 โครงสร้างพ้ืนฐานสาธารณะในอนาคต จะมีการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง มาเกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตประจำวันของมนุษย์ ท่ีสามารถลดภาวะ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซ่ึงการพัฒนาเทคโนโลยีจะมีความน่าเชื่อถือและ มีความยืดหยุ่นมากขึ้น โดยจะยึดตามต้นแบบเทคโนโลยีสารสนเทศหรือ IT platform โดยเทคโนโลยีรูปแบบน้ีจะสามารถสนับสนุนและเป็นรากฐาน rt City: การพฒั ขนาอแงลระะปบรบบั โใคชรระงบสบร้าITงพใน้นื กฐาารนบรไิหดา ้ รจดั การเมอื ง Smart City Platform14 จะเป็นการเชื่อมต่อระบบอุปกรณ์ ส่ิงอำนวยความสะดวก และแอพพลิเคชั่นอื่นๆ ของระบบโครงสร้าง พ้ืนฐานทุกอย่าง โดยจะทำการอธิบายตัวอย่างของวิธีการเช่ือมต่อของ สถาปัตยกรรมของเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมของบริษัท ฮิตาชิ ที่มีการ 14 http://www.smartcitiesoftomorrow.com/it-platform/ 43
2.3 รูปแบบสถาปต ยกรรมของระบบ Smart City ปSรmะaจrําtวโนัCคขiรtอyงงสมกรนาารุษงพยพฒั ้ืนทนฐสี่ าาาแนลมะสาปรารถธบั ลาใชดรร้ ภณะบาะบวใะIนTผอลในนกการาคะรบทตรบจิหตาะรอ มจสีกดั ิง่ กาแารวรใดเชมลือเอทงมค โซน่งึ โกลายรีพข้ันัฒสนูงามเทาคเกโนี่ยโวลขยอีจงะกมับีคกวาารมดนําารเชง่ือชีถวิตือ และมีความยืดหยุนมากขึ้น โดยจะยึดตามตนแบบเทคโนโลยีสารสนเทศหรือ IT platform โดยเทคโนโลยี รูปแบบนจ้ีอะอสกามแาบรถบสนตบั ้นสแนนุบแบละฟเปังนกร์ชากั่นฐขานอขงองSระmบบaโrคtรงCสiรtา yงพดื้นฐังารนูปไดท ่ี 2.3-1 โดยระบบ SโmคaรrtงสCiรty้างPพlaื้นtfoฐrาmน14จจะะทเปำนหกนาร้าเทชอื่ี่สมนตับอรสะนบุบนอหปุ รกือรณเป ส็น่งิ เอคาํ นรว่ือยงคมวาือมใสหะ้กดวับกปแรละะชแอาพกพรล เิ คชนั่ อ่ืนๆ ของทระ่ีเบปบ็นโคศรูงนสยรา์กงพลืน้ าฐงาในหท้กุ อับยเา มง ืโอดงยจทะที่มําีกาารรอใธิบชา้รยะตบวั อบยเาทงขคองโวนธิ กีโลารยเชีแื่อลมตะอ อขุปองกสรถาณป์ตทยี่ กรรม ขศ1เมอูนโอื งดยงเยคททรวคะม่ีบโบนกีคคหไบาโดุมวลลรโกท้บคใยาชลรีสีส่คกรางถาะสุมงาหมบรปกทาหบาต่ีสงลเรยลพทาาถกม้นืคางรปาโฐยรนรารทมแโนถับลข่ีสปจตอยปะารแีกงทระมบลตาํยุงราะหหุก่ิษาอรนตรัทุปงถาใือกกปชทฮรเแันติี่สรปณลานะไลทชะับยปิปย่ี่ีหทสุกลรนนีม่ ซตะาแกีุนหสึ่ง์ใาหปหาชกรรนลลอ้แาืองาองลเรายกทปนะแใแนั้งรตชปบรเวก้คงรบะมตราะตบกา่ือนนสงันบงกแาจใมไับนนนือะดบไแงใปม้ ตฟหาีลกงกซนกะับึ่งารชรกปร่วั่นะารเมบขระชอใบกชชื่องไาันงดมกSาใทmนรนต่ีสทจa่แอาี่เะrปมtตมอนาCีก่ลยรศiาtะถู่ทูนรyปรเย่ีศชดะรกื่องััูบนบลรมปาูปบยตงรท์อใุงี่หอห2กยร.3ับูืทอ-ี่ เปลยี่ นแปรลปู งทท้งั ี่ร2ะบ.3บ-ไ1ด รูปแบบสถาปตั ยกรรมของระบบ Smart City รปู ท่ี 2.3-1 รูปแบบสถาปต ยกรรมของระบบ Smart City 14http://www.smartcitiesoftomorrow.com/it-platform/ 2-6 44Smart City: การพฒั นาและปรับใชระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง
Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง บทที่ 2 องคประกอบและสถาปต ยกรรมของระบบ Smart City ตารางตท่ีา2ร.3า-ง1ทM่ี a2in.3F-u1nMctiaoinns oFfuSnmcatirot nCsityoPflaStfmormart City Platform ทม่ี า: httทp:ี่ม//wา:wwh.stmtpa:rt/c/iwtiewsowfto.msmorraorwt.coitmie/ist-opflattofomrmo/rrow.com/it-platform/ 45
3 ความรู้เบ้อื งต้น ในระบบสารสนเทศที่เก่ียวขอ้ ง
ความร้ทู ่ัวไปเกย่ี วกบั การส่ือสารขอ้ มูล การจดั ทำสารสนเทศจากขอ้ มูล
3.1 ความรู้ท่วั ไปเกี่ยวกับการสอ่ื สารข้อมลู 3.1.1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมีบทบาทมาก เช่น มีการใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงาน ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อสืบค้นข้อมูล หรือรับขส่งข้อมูลระหว่างกัน ตลอดใช่โทรศัพท์เคร่ืองท่ี (mobile phone) หรือโทรศัพท์มือถือในการติดต่อส่ือสารองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนได้นำ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารเข้ามาใช้งานในทุกระดับชั้นของ องค์กร คำว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) เรียกย่อว่า “ไอที” ประกอบด้วยคำว่า “เทคโนโลยี” และคำว่า “สารสนเทศ” นำมาร่วนกันเป็น “เทคโนโลยีสารสนเทศ” และคำว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology: ICT) หรือเรียกย่อว่า “ไอซีที” ประกอบด้วยคำที่มี ความหมายดังน้ี 49
Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง ทม่ี า: เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การนำความรู้ด้าน เคร วิทยาศาสตร์มาประยุกต์ในการพัฒนาเคร่ืองมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ วิธีการ และกระบวนการ สารสนเทศ (Information) หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกดจากการนำ ข้อมลู มาผ่านกระบวนการตา่ งๆ อยา่ งมรี ะบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การนำความรู้ทางด้าน วิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพ่ือสร้างหรือจัดการสารสนเทศอย่างเป็นระบบ และรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีทางด้านคอมพวิ เตอร์ 3.1.2 องคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ เป็นระบบช่วยเสริมประสิทธิภาพการทำงาน โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ระบบสารสนเทศประกอบด้วย 1) ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ตัวเคร่ืองคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เช่น คีย์บอร์ด (keyboand) เมาส์ (mouse) จอภาพ (monitor) เป็นต้น รวมทั้งอุปกรณ์ส่ือสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร ์ เขา้ เป็นเครอื ขา่ ย เชน่ โมเด็ม (modem) และสายสญั ญาณ 50
Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง บทท่ี 3 ความรูเบ้ืองตนในระบบสารสนเทศทเ่ี กี่ยว รปู ท่ี 3.1-1 อปุ กรณฮ์ าร์ดแวร์ (Hardware) : http://www.bgtoner-group.com/14533215/it-อุปกรณคอมพวิ เตอร- ทมี่ า: http://wwwร.ูปbgทtี่o3n.e1r--g1roอupุป.cกoรmณ/1ฮ45า3ร3ด 2แ1ว5/รit -(อHปุ aกรrdณwค์ อaมreพ)วิ เตอร์- 2) ชอฟต์แวร์ (software) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำส่ัง 2) ชอฟต(แ inวsรt r(suoctftiowna)reท)่ีใชห่คมวาบยถคึงุมกโปารรแทกำรงามนหขรอืองชเุดคครําื่อสงง่ัคอ(iมnsพtิวruเตcอtiรo์แnล)ะทอ่ีใุปชกค รวบณค์ มุ การทํางาน ร่ืองคอมพวิ เตอตรอ่แพล่วะงอตปุ า่ กงรๆณชตุดอคพำวสงงั่ ตจาะงถๆกู แชบดุ ง่คอาํ อสกงั่ จเปะน็ถกู 2แบปงรอะอเภกทเปใหนญ2่ๆปคระอื เ ภทใหญๆ คอื 2.1) ซอฟตแวรระบ บ ( s2y.s1t)e mซอฟsตof์แtวwรa์รrะeบบ) (หsมyาsยteถmึงชsุดoคfําtwส่ังaทreี่ท)ําหหมนาายทถี่คึงวชบุดคุมการทํางานข เคร่ืองคอมพวิ เตอรแ ละอปุ กรณคตำอ สพ่ังวทงตี่ทา ำงหๆนแ้าลทะี่คทวําหบนคาุมทก่ีเปารนทตัำวกงาลนางขรอะงหเวคารง่ือผูใงชกับคอมพิวเต ซอฟตแวรระบบแบงออกเปน คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ และทำหน้าที่ ระบบปฏบิ ัตกิ าร ( Opเeปr็นaตtiัวnกgลSาyงsรtะeหmว่:างOผSู้ใช)้กเับปคน อซมอพฟิตวเแ ตวอรรท์ ี่ทซําอหฟนตา์แทว่ีรค์วบคุมการทํา ของอุปกรณและซอฟระตบแบวแรบทง่ ั้งอหอมกดเปภ็นา ยในคอมพิวเตอร ตัวอยางระบบปฏิบัติการ เ คโวปินอรโมดแพวกิวสรเ(ตมWออรรinรหd ถรoปอื wรชะsวโย)ย4เลชสินนร เรุกิม ป(ะซก็นบuา(ซtบรiLอlทปiiฟtnําฏieuตงิบsาx์แันตวp)ิอกรrแ์ทoื่นาลgี่ทรๆะrำใa(หหแmOมนมpคีค้า)eทโวเอrี่าคปaเมวอtนiบสสnโปาคg(มุมรMาSแกรyกaาถsรcรใtทมชeOำทวmSง่ีชาา:น)วนยOไขดเอSสสง)ระิมดกวากรแทลําะงราวนด ย่งิ ข้ึน 51
Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง อปุ กรณแ์ ละซอฟตแ์ วรท์ งั้ หมดภายในคอมพวิ เตอร์ ตั ว อ ย่ า ง ร ะ บ บ ป ฏิ บั ติ ก า ร แเชล่นะแมวินคโโอดเอวใคสสช์วง าามยสแาลมะาสระถ (Windows) ลินุกซ์ (Linux) การสอื่ สารตา (Mac OS) 4 โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utilities program) 5) ข เ ป็ น โ ป ร แ ก ร ม ท่ี ช่ ว ย เ ส ริ ม ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง คอมพิวเตอร์ หรอื ช่วยเสรมิ การทำงานอนื่ ๆ ใหช้มีัดเจน เพื่อใ ความสามารถใช่วานได้สะดวกและรวดเร็วย่ิงขึ้นส ถานการณฉ 3) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) หมายถไึงด รบั ความเส ชุดคำส่ังท่ีเขียนขึ้นเพ่ือให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทำงานตามวัตถุประสงคค์วรไดร ับการ เฉพาะอย่าง ซอฟต์แวร์ประยุกต์อาจเขียนขึ้นโดยใช้โปรแกรม ภาษา คอมพิวเตอร์ เช่น เบสิก (Basic) ปาสคาล (Pascal) โคบอล (Cobol) ซี (C) ซีพลัสพลสั (C++) และจาวา (Java) 4) ข้อมูล (data) ข้อมูลจะถูกรวบรวมและป้อนเข้าสู่เครื่อง คอมพิวเตอร์โดยผ่านอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้า เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ และ สแกนเนอร์ (scanner) ข้อมูลต้องมีโครงสร้างในการจัดเก็บท่ีเป็นระบบ เพื่อการสืบค้นที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บอยู่ใน หน่วยความจำ (memory unit) ก่อนท่ีจะถูกย้ายไปเก็บที่หน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) เช่น ฮาร์ดดิสก์ และแผ่นซดี ี (Compact Disc: CD) 5) บุคลากร (people) บุคลากรเป็นองค์ประกอบท่ีสำคัญท่ีสุด ของระบบสารสนเทศ ในท่ีน้ีหมายถึงบุคลากรท่ีเป็นผู้ใช้ระบบสารสนเทศ ดังรูปท่ี 1.11 บุคลากรที่เป็นผู้พัฒนาระบบสารสนเทศ จะต้องมีความรู้ คทวำางมานสาไดม้ตาราถมใคนวกาามรพต้ัอฒงนกาารระขบอบงสผาู้ใรชส้ในชเ้งท่าศยใแหล้มะีปสระะดสวิทกธิภสา่วพนใผหู้ใ้สชา้ตม้อางรทมถ่มีี า: https://ww 52
Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง บทท่ี 3 ความรูเบอ้ื งตนในระบบสารสน ความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถในการใช้งานระบบสารสนเทศและ ถในการพัฒกนาารรสะอื่ สบาบรตสา่ างรๆสไนดเอ้ ทย่าศงใถหกู มตอ้ีปงรจะึงจสะิทเกธิดภิ สาารพสในหเทสศาทมเี่ าปรน็ ถปทระาํ โงยาชนน์ ไดต ามความตอง ะดวก สว นผใู ชต อ งมคี 6ว)ามข้ันรตู คอวนากมาเรขปาฏใิบจัตแิงาลนะม(pีคroวcาeมdสurาeม) ารระถบใบนสการาสรนใชเทงศา นระบบสาร างๆ ไดอ ยาตงถ้อกูงมตีขอ ั้นงตจอึงนจกะาเรกปดิ ฏสิบาัตริงสานนทเท่ีเปศ็นทล่เี ำปดนับปขั้นรชะัดโยเจชนนเ พื่อให้ผู้ใช้สามารถ ขั้นตอนการปเแขฏล้าะบิใจสตัไถดงิ า้งาน่านยกาแ(รpลณrะo์ดฉำcุกเeเนฉdินินงuาrเนeชไ่น)ด้อรขยะ้ัน่าบงตมบอีปสนรกาะราสรสิทบนธันิภเททาพึกศขตท้อั้องมใงนูลมสขขีถ้ันานั้ นตตกออานรนกณกา์ปรากทรตำปิ ฏบิ ัติงานท ใหผูใชสามาสรำถเนเาขขา้อใมจูลไดขง้ันาตยอนแกลาะรปดฏําิบเนัตินิเมงื่อาขน้อไมดูลอไดย้ราับงคมวีปามรเะสสียหิทาธยิภหารพือเทมั้่ืงอในสถานกา ฉุกเฉิน เหชรนือเตเคขม่ารง้ัน่ือ่ืๆอตเงคเคอหรอนลอื่มา่ กงนพาคคี้ิวรวอเตบรมไอันดพรร้ท์วิับแึกเกลตขาะอรออรรุปวม บกแูลรรลวณขะม์ั้ตนอแล่าุปตงะอกๆจดัรนเทณกกำิดาตใหกรา ้เาทงปรๆน็ําชรสำเูปรํากเุดเลดิ นเ่มสกา ียาขหรอชายมาํ รูลขดุ ั้นขเตส้ันอียตนหอานยกขานั้รปตอฏนิบ สียหาย รรวบรวมแลระูปจทัดี่ 3ท.1ํา-2ใหภเาปพน รรวมปู อเลงคม ป์ ระกอบของระบบสารสนเทศ ww.l3nr.org/pทo่ีมsาts:/h4t6tp8s3:/8/w6 ww.l3nr.org/posts/468386 รปู ท่ี 3.1-2 ภาพรวมองคประกอบของระบบสารสนเทศ 53
Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง 3.1.3 การทำงานพ้ืนฐานของระบบสื่อสารขบ้อทมทูล่ี 3 ความรูเ บ้ืองตนในระบบสารสนเทศท การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรือการแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง โดยใช้ การทาํ งานพอ้นืุปฐการนณข์ทอางงรอะิเบล็กบทสรื่ออสนาิกรขส์หอ มรือลู เคร่ืองคอมพิวเตอร์ ซ่ึงมีตัวกลาง เช่น วปเกตลาอารรยสสท่ือําาสหงารรโับขดซตกคอ ยฎ้อนมวใฟเทชกบูลตาณอค์งแหุปุมฑไวมปกรก์ใาน์ยครายกัองณรถปามสึงรทลพงสากาแิวง่ งยาเหลตอทรระอิเโาอื กลอรงร็าน์กสบั รนำทถขไหอาอ้รหรยกมอลับจลูน(ขคาTติกกอวrาสaบมนงnหคขรี้อsปูุมอราmแืกอจมบจาเiูลsคบระsจสทรมiาo่ง่ือ่ีตีผกแnอ้งู้รตล)คงับะกนขอผกาอทมิดรามา พรชลูงไอิวหไหบเปลตรใยขืออนังอกรกปงาาขซลรร้อ่ึงแากมมลยำูลีตกทหจัวเนาาปกงกดลล นีย่ าอนงกขเอจชมานกลู ซนระอ้ีอห ชอบในการกาํรหูปทนี่ด3ก.1ฎ-เ3กณภาฑพใ รนวกมากราสรงทหำงราือนรพับื้นขฐอ ามนลู ขตอางมระรบปู บแสบ่ือบสทาีต่รขอ้องมกลูาร ps://sites.googleท.cม่ี oาm: /hstittpes/:t/h/seitkehsn.goolooygilsea.rcsonmth/seisteb/ethuexknhgntno/lotayeiska-rtsanntghesbeuxngtn/taek-tang รปู ท่ี 3.1-3 ภาพรวมการทาํ งานพนื้ ฐานของระบบสื่อสารขอ มูล การสื่อสารขปอรมะกูลอท บาตงอา่ งกิเลาๆรก็ สทดื่อรังสตอา่อนรไิกขป้อสนมนี้ ูลั้นทจางะอทิเลาํ ็กไดทก ร็ตอนอิกเมส่ือ์นม้ันีอจงคะทป ำรไะดก้กอ็ตบ่อเตมาื่องมๆีองดคงั ์ ตอ ไปนี้ 1) ผูสงหรืออุปกรณสงขอมูล (Sender) เครื่อง5พ4มิ ขพอ มหูลรอืตอาปุ งกๆรณที่อค ยวบูตคนุมทตาา งงจๆะตจอานงไจมัดโคเตรรเวียฟมจนาํานเขดาาวสเูอทุปียมกรซณึ่งขสอํามหูลรเับหสลงาขนอั้นมถูลูกเปซ
ทเี่ กี่ยวของ Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง หวางตน 1) ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) ข้อมูลต่างๆ ท่ีอยู่ อฟตแวร ต้นทางจะต้องจัดเตรียมนำเข้าสู่อุปกรณ์สำหรับส่งข้อมูล ซ่ึงได้แก ่ อาจจะมี เคร่ืองพิมพ์ หรืออุปกรณ์ควบคุมต่าง ๆ จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ซึง่ ขอ้ มูลเหล่าน้ันถกู เปล่ียนให้อยูใ่ นรปู แบบท่ีสามารถสง่ ข้อมลู น้นั ได้ก่อน 2) ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) ข้อมูลที่ถูกส่งจาก อุปกรณ์ส่งข้อมูลต้นทาง เม่ือไปถึงปลายทางก็จะมีอุปกรณ์สำหรับรับข้อมูล เหล่านั้นเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป อุปกรณ์เหล่าน้ีได้แก่ เครื่องพิมพ์ คอมพวิ เตอร์ จานไมโครเวฟ จานดาวเทยี ม ฯลฯ 3) โปรโตคอล (Protocol) และ ซอฟต์แวร์ (Software) โปรโตคอล คือ กฎระเบียบ หรือวิธีการใช้เป็นข้อกำหนดสำหรับ การส่ือสาร เพ่ือให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกันได้ ซึ่งมีหลายชนิดให้เลือกใช้ เช่น TCP/IP, X.25, SDLC เปน็ ตน้ การส่งข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องมีโปรแกรมสำหรับ กำเนินการ และควบคุมการส่งข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลตามที่กำหนดไว้ ได้แก่ Novell’s NetWare UNIX Windows NT ฯลฯ 4) ข่าวสาร (Message) เป็นรายละเอียดซ่ึงอยู่ในรูปแบบ ตา่ ง ๆ ที่จะส่งผ่านระบบการส่ือสาร ซง่ึ มหี ลายรูปแบบดังน ี้ 4.1) ข้อมูล (Data) เป็นรายละเอียดของส่ิงต่าง ๆ ซึ่งถูก สร้างและจัดเก็บด้วยคอมพิวเตอร์ มีรูปแบบแน่นอน เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า เป็นต้น ข้อมูลสามารถนับจำนวนได้และส่งผ่าน ระบบส่อื สารไดเ้ ร็ว ซึ่งไดแก 55 ปลี่ยนให
Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง 4.2) ข้อความ (Text) อยู่ในรูปของเอกสารหรือตัวอักขระ ไม่มีรูปแบบท่ีแน่นอน ชัดเจนนับจำนวนได้ค่อนข้าง ยาก และมคี วามสามารถในการสง่ ปานกลาง 4.3) รูปภาพ (Image) เป็นข่าวสารท่ีอยู่ในรูปของ ภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ ได้แก่ รูปภาพนิ่ง ภาพ เคลื่อนไหว ภาพวีดีโอ ซ่ึงข้อมูลชนิดนี้จะต้องอาศัย สอื่ สำหรบั เกบ็ และใช้หน่วยความจำเป็นจำนวนมาก 4.4) เสียง (Voice) อยู่ในรูปของเสียงพูด เสียงดนตรี หรือเสียงอื่น ๆ ข้อมูลชนิดน้ีจะกระจัดกระจาย ไม่สามารถวัดขนาดที่แน่นอนได้ การส่งจะทำได้ด้วย ความเรว็ คอ่ นขา้ งตำ่ 5) ตัวกลาง (Medium) เป็นตัวกลางหรือสื่อกลางที่ทำหน้าท่ี นำข่าวสารในรูปแบบต่าง ๆ จากผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งต้นทางไปยังผู้รับหรือ อุปกรณ์รับปลายทาง ซึ่งมีหลายรูปแบบได้แก่ สายไป ขดลวด สายเคเบิล สายไฟเบอร์ออฟติก ตัวกลางอาจจะอยู่ในรูปของคล่ืนท่ีส่งผ่านทางอากาศ เช่น คล่ืนไมโครเวฟ คลน่ื ดาวเทียม หรือคลนื่ วทิ ยุ เปน็ ต้น 3.1.4 การเช่ือมต่อคอมพวิ เตอร์สำหรับสือ่ สารขอ้ มลู เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ต้นทางเข้ากับคอมพิวเตอร ์ ปลายทาง โดยใช้ตัวกลางหรือสื่อกลางสำหรับเช่ือมต่อ ซึ่งสามารถทำได้ หลายรปู แบบดงั รปู การต่อแบบสายตรงตามรูปน้ันอาจจะต่อตรงโดยใช้ช่องต่อ แบบขนานของเคร่ือง ท้ัง 2 เคร่ือง เพ่ือใช้สำหรับโอนย้ายข้อมูลระหว่าง เคร่ืองได้ หรืออาจจะต่อโดยใช้อินเทอร์เฟสคอร์ดใส่ไว้ในเคร่ืองสำหรับเป็น 56
Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง จุดต่อก็ได้ ข้ึนอยู่กับลักษณะของการใช้งานเป็นการเช่ือมต่อระยะไกลจาก คอมพวิ เตอรต์ น้ ทางไปยงั ปลายทาง โดยผา่ นเครือข่ายโทรศัพทส์ าธารณะ 3.1.5 การสง่ สัญญาณขอ้ มูล (Transmission Definition) การสง่ สัญญาณขอ้ มูล หมายถึง การสง่ ข้อมูลหรอื ข่าวสารตา่ งๆ จากอุปกรณ์สำหรับส่งหรือผู้ส่ง ผ่านทางตัวกลางหรือสื่อกลางไปยังอุปกรณ์ รับหรือผู้รับข้อมูลหรือข่าว ซ่ึงข้อมูลหรือข่าวสารที่ส่งไปอาจจะอยู่ใน รูปของสัญญาณเสียง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือแสงก็ได้ โดยท่ีส่ือกลางหรือ ตัวกลางของสัญญาณน้ันแบ่งเป็น 2 ชนิด คือชนิดที่สามารถกำหนด เส้นทางสัญญาณได้ เช่น สายเกลียวคู่ (Twisted paire) สายโทรศัพท์ สายโอแอกเชียล (Coaxial) สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) ส่วน ตัวกลางอีกชนิดหน่ึงนั้นไม่สามารถกำหนดเส้นทางของสัญญาณได้ เช่น สุญญากาศ น้ำ และ ชนั้ บรรยากาศ เป็นต้น 1) ลักษณะของสัญญาณที่ใช้ในการส่งสัญญาณข้อมูล การส่ง สญั ญาณขอ้ มลู หรือขา่ วสารต่าง ๆ สามารถทำได้ 2 ลกั ษณะดังน้ี 1.1) ก า ร ส่ ง สั ญ ญ า ณ แ บ บ อ น า ล็ อ ก ( A n a l o g Transmission) การส่งสัญญาณแบบอนาลอกจะไม่ คำนึงถึงสิ่งต่าง ๆ ท่ีรวมอยู่ในสัญญาณเลย โดย สัญญาณจะแทนข้อมลู อนาลอก เช่น สัญญาณเสยี ง เป็นต้น ซ่ึงสัญญาณอนาลอกท่ีส่งออกไปนั้นเม่ือ ระยะห่างออกไปสัญญาณก็จะอ่อนลงเรื่อย ๆ ทำให้ สัญญาณไม่ค่อยดี ดังนั้นเม่ือระยะห่างไกลออกไป ส า ม า ร ถ แ ก้ ไ ข ไ ด้ โ ด ย ใ ช้ เ ค รื่ อ ง ข ย า ย สั ญ ญ า ณ (Amplifier) แต่ก็มีผลทำให้เกิดสัญญาณรบกวน (Noise) ข้ึน ยิ่งระยะไกลมากข้ึนสัญญาณรบกวน 57
Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง ก็เพิ่มมากข้ึน ซ่ึงสามารถแก้ไขสัญญาณรบกวนนี้ได้ โดยใช้เครื่องกรองสัญญาณ (Filter) เพ่ือกรองเอา สัญญาณรบกวนออกไป 1.2) การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล(Digital Transmission) การส่งสัญญาณแบบดิจิตอลจะใช้เมื่อต้องการข้อมูล ที่ถูกต้องชัดเจนแน่นอน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องสนใจ รายละเอียดทุกอย่างที่บรรจุมากับสัญญาณ ใน ทำนองเดียวกันกับการส่งสัญญาณแบบอนาลอก กล่าวคือ เมื่อระยะทางในการส่งมากข้ึน สัญญาณ ดิจติ อลก็จะจางลง ซึง่ สามารถแกไ้ ขได้โดยใช้อปุ กรณ์ ทำสญั ญาณซ้ำ หรือรพี ตี เตอร(์ Repeater) ปัจจุบันการส่งสัญญาณแบบดิจิตอลจะเข้ามามี บทบาทสูงในการสื่อสารข้อมูล เน่ืองจากให้ความถูก ต้องชัดเจนของข้อมูลสูง และส่งได้ในระยะไกลด้วย สามารถเช่ือมต่อเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ได้ง่ายด้วย ท้ังน้ีเน่ืองจากสัญญาณจากคอมพิวเตอร์อยู่ในรูปของ ดิจิตอลนั่นเองแต่เดิมนั้นถ้าหากระยะทางในการ สื่อสารไกลมักจะใช้สัญญาณแบบอนาลอกเสียส่วน ใหญ่ เชน่ โทรศัพท์, โทรเลข เปน็ ต้น 2) ส่ือกลางท่ีใช้ในการสื่อสารข้อมูล องค์ประกอบที่สำคัญท่ีใช้ ในการส่ือสารข้อมูลอันหนึ่งท่ีขาดไม่ได้ คือสายส่ือกลาง ซ่ึงแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ ส่ือกลางที่กำหนดเส้นทางได้ เช่น สายโคแอกเซียล (Coaxial) สายเกลียวคู่ (Twisted-pair) สายไฟเบอร์ออฟติก (Fiber Optic) และสื่อกลางท่ีกำหนดเส้นทางไม่ได้ เช่น คล่ืนวิทยุ คล่ืนดาวเทียม คลื่นไมโครเวฟ เป็นต้น 58
Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง 3.1.6 อปุ กรณ์ท่ีใช้ในการสอ่ื สารขอ้ มูลคอมพิวเตอร ์ 1) โมเด็ม (MODEM) MODEM มาจากคำเต็มว่า Modulator – DEModulator ทำหน้าท่ีแปลงสัญญาณข้อมูลดิจิตอล ที่ได้รับจาก เคร่ืองส่งหรือคอมพิวเตอร์ เป็นสัญญาณแบบอนาลอกก่อนทำการส่งไปยัง ปลายทางต่อไป โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์ และเมื่อส่งถึงปลายทางก็จะมี โมเด็มทำหน้าท่ีแปลงสัญญาณจากอนาลอกให้เป็นดิจิตอล เพ่ือใช้กับ คอมพวิ เตอร์ปลายทาง 2) มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer) วิธีการเช่ือมต่อ การส่ือสารระหว่างผู้รับและผู้ส่งปลายทางท่ีง่ายท่ีสุดคือ การเชื่อมต่อแบบ จุดต่อจุด (Point to Point) แต่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงและใช้งานไม่เต็มท่ี จึงมีวิธีการเช่ือมต่อที่ยุ่งยากขึ้น คือการเช่ือมต่อแบบหลายจุดซึ่งใช้สาย ส่ือสารเพียงเสน้ 802.3 3) คอนเซนเตรเตอร์ (Concentrator) คอนเซนเตรเตอรเ์ ปน็ มัลติเพล็กซ์เซอร์ท่ีมีประสิทธิภาพสูง สามารถเพ่ิมสายหรือช่องทางการ ส่งข้อมูลไดม้ ากขนึ้ การส่งข้อมลู จะเป็นแบบอซงิ โครนัส 4) คอนโทรลเลอร์ (Controller) คอนโทรลเลอร์เป็น มัลติเพล็กซ์เซอร์ท่ีส่งข้อมูลแบบอซิงโครนัส ท่ีสามารถส่งข้อมูลด้วย ความเร็วสูงได้ดี การทำงานจะต้องมีโปรโตคอลพิเศษสำหรับกำหนดวิธีการ รบั สง่ ข้อมูล มีบอรด์ วงจรไฟฟ้าและซอฟต์แวรส์ ำหรบั คอมพิวเตอร ์ 5) ฮับ (HUB) ฮับเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทำหน้าท ่ี เช่นเดียวกับมัลติเพล็กซ์เซอร์ ซ่ึงนิยมใช้กับระบบเครือข่ายท้องถ่ิน (LAN) มรี าคาต่ำ ตดิ ต่อสือ่ สารข้อมูลตามมาตรฐาน IEEE 802.3 59
Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง 6) ฟรอนต์ – เอ็นโปรเซสเซอร์ FEP (Front-End Processor) FEP เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้เช่ือมต่อระหว่างโฮสต์คอมพิวเตอร์ หรือมินิคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์เครือข่ายสำหรับสื่อสารข้อมูล เช่น โมเด็ม มัลติเล็กซ์เซอร์ เป็นต้น FEP เป็นอุปกรณ์ทีมีหน่วยความจำ (RAM) และ ซอฟต์แวร์สำหรับควบคุมการทำงานเป็นของตัวเองโดยมีหน้าที่หลักคือ ทำหน้าท่ีแก้ไขข่าวสาร เก็บข่าวสาร เปล่ียนรหัสรวบรวมหรือกระจาย อักขระ ควบคุมอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูล จัดคิวเข้าออกของข้อมูล ตรวจสอบขอ้ ผดิ พลาดในการส่งข้อมลู 7) อิมูเลเตอร์ (Emulator) อิมูเลเตอร์เป็นอุปกรณ์ท่ีทำหน้าท่ี เปล่ียนกลุ่มข่าวสารจากโปรโตคอลแบบหน่ึงไปเป็นกลุ่มข่าวสาร ซ่ึงใช้ โปรโตคอลอีกแบบหนึ่ง แต่จะเป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์หรือเป็นโปรแกรม ซอฟต์แวร์ก็ได้ บางคร้ังอาจจะเป็นท้ัง 2 อย่าง โดยทำให้คอมพิวเตอร ์ ท่ีต่อเข้ามาน้ันดูเหมือนเป็นเคร่ืองเทอร์มินัลหนึ่งเครื่อง โฮสต์หรือ มินิคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนิยมนำเครื่อง PC มาใช้เป็นเทอร์มินัลของ เครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ท้ังน้ีเพราะประหยัดกว่าและเมื่อไรที่ไม่ใช้ ตดิ ต่อกับมนิ ิหรือเมนแฟรมกส็ ามารถใชเ้ ป็น PC ท่วั ไปได ้ 8) เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส ์ ท่ีมีหน้าท่ีหลักคือ ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกว่า ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน สามารถส่ือสารกันได้เสมือนกับเป็นเครือข่าย เดียวกัน โดยท่ัวไปแล้วระบบเครือข่ายแต่ละเครือข่ายอาจจะแตกต่างกัน ในหลายกรณี เช่น ลักษณะการเชื่อมต่อ (Connectivity) ท่ีไม่เหมือนกัน โปรโตคอลทีใ่ ชส้ ำหรับรับสง่ ข้อมลู ต่างกนั เป็นตน้ 9) บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ IWU (Inter Working Unit) ที่ใช้สำหรับเช่ือมเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network หรือ 60
Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง LAN) 2 เครือข่ายเข้าด้วยกัน ซ่ึงอาจจะใช้โปรโตคอลท่ีเหมือนกันหรือ ต่างกันกไ็ ด ้ 10) เราเตอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้เช่ือมต่อเครือข่าย เข้าด้วยกัน ซึ่งอาจจะเป็นเครือข่ายเดียวกันหรือข้ามเครือข่ายกัน โดยการ เชื่อมกันระหว่างหลายเครือข่ายแบบน้ีเรียกว่า เครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet) โดยเครือข่ายแต่ละเครือข่ายจะเรียกว่า เครือข่ายย่อย (Subnetwork) ส่วนอุปกรณ์ที่ใช้เชื่ออมต่อระหว่างเครือข่าย เรียกว่า IWU (Inter Working Unit) ไดแ้ ก่ เราเตอร์และบริดจ ์ 11) รีพีตเตอร์ (Repeater) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับ ส่งสัญญาณซ้ำ เพื่อส่งสัญญาณต่อไปนี้ในระยะไกลป้องกันการขาดหาย ของสัญญาณ ซ่ึงรูปแบบของเครือข่ายแต่ละแบบรวมท้ังสายสัญญาณท่ีใช้ เป็นตัวกลางหรือสื่อกลางแต่ละชนิดจะมีข้อจำกัดของระยะทางในการส่ง ดังน้ันเมื่อต้องการส่งสัญญาณให้ไกลกว่าปกติต้องเช่ือมต่อกับรีพีตเตอร ์ ดงั กล่าว เพ่อื ทำใหส้ ามารถสง่ สัญญาณ ได้ไกลยง่ิ ขน้ึ 3.1.7 เครอื ขา่ ย (Networks) เครือข่าย หมายถึง กลุ่มของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ที่ถูกนำมาเชื่อมต่อกันดังน้ันเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงประกอบ ด้วยส่ือการติดต่อสื่อสารอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ท่ีจำเป็นในการเชื่อมโยง คอมพิวเตอร์ตัง้ แต่ 2 ระบบเขา้ ดว้ ยกนั รวมท้ังอปุ กรณ์อ่ืน ๆ ความจำเป็นในการใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่าย คอมพวิ เตอร์มีความจำเป็นในการทำงานในยุคปัจจบุ นั ด้วยเหตุผลดงั นี้ - เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้การทำงานมีความคล่องตัว ยืดหยุ่น และปรับตัวให้เข้ากับเงื่อนไขต่างๆ ท่ีเปล่ียนแปลง ไปอยา่ งรวดเรว็ 61
Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง - เครือข่ายช่วยให้หน่วยงานประหยัดงบประมาณโดยช่วย สนับสนุนการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกัน เช่น ฮารด์ แวร์ ซอฟต์แวร์ และฐานขอ้ มลู - เครือข่ายทำให้พนักงานหรือทีมงานของหน่วยงานที่อยู่ห่าง ไกลกันสามารถใช้เอกสารร่วมกัน และแลกเปล่ียนแนวคิด ค ว า ม เ ห็ น ต ล อ ด จ น เ ส ริ ม ใ ห้ ก า ร ท ำ ง า น เ ป็ น ที ม มี ประสิทธิภาพดีขนึ้ และกระตนุ้ ให้เกิดความคิดใหม่ ๆ - เครือข่ายช่วยสร้างให้การติดต่อส่ือสารระหว่างหน่วยงานกับ ลูกคา้ หรอื องคก์ ารภายนอกมีความใกล้ชดิ กนั มากยิง่ ขน้ึ 1) ประเภทของเครอื ข่าย C จำแนกตามพื้นท่ี - เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network-LAN) เป็นการติดต่ออุปกรณ์สื่อสารต้ังแต่ 2 ชิ้นข้ึนไป ระยะ 2,000 ฟุต (โดยปกติจะอยู่ในอาคาร เดียวกัน) LAN จะช่วยให้ผู้ใช้จำนวนมากสามารถใช้ ทรัพยากรของหน่วยงานร่วมกัน เช่น พรินต์เตอร์ โปรแกรม และไฟล์ข้อมูล ในกรณีท่ี LAN ต้องการ เชื่อมต่อกับเครือข่ายสาธารณะภายนอก เช่น เครือข่ายโทรศัพท์หรือเครือข่ายของหน่วยงานอ่ืน จะต้องมี gateway ซ่ึงทำหน้าท่ีเหมือนประตูติดต่อ ระหว่างเครือข่ายท่ีแตกต่างกัน โดยช่วยแปล โปรโตคอลของเครือข่ายให้กับอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพ่อื จะทำงานรว่ มกันได้ 62
Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง - เครือข่ายเมือง (Metropolitan Area Network- MAN) เครือข่ายเป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ท่ีนำ มาเชื่อมต่อกันเป็นวงขนาดใหญ่ขึ้นภายในพ้ืนท่ี บรเิ วณใกลเ้ คียง เชน่ ในเมืองเดียวกัน - เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network- WAN) เป็นเครือข่ายที่ครอบคลุมพื้นที่ในบริเวณ กว้างโดยครอบคลุมท้ังประเทศหรือท้ังทวีป WAN จะอาศัยสื่อโทรคมนาคมหลายประเภท เช่น เคเบิ้ล ดาวเทยี ม และไมโครเวฟ C แบ่งตามความเป็นเจา้ ของ - เครือข่ายสาธารณะ (Public Network) เป็น เครือข่ายท่ีเปิดโอกาสให้ผู้ใช้โดยทั่วไปได้ใช้ประโยชน์ ดังนั้นผู้ใช้จะต้องแข่งกับผู้ใช้รายอื่น โดยเฉพาะ ช่วงเวลาท่ีมีผู้ใช้จำนานมาก เช่น ระบบโทรศัพท์ สาธารณะ ซ่ึงผู้ใช้ไม่มีหลักประกันว่าสายจะว่าง ในช่วงน้ีต้องการหรือไม่ - เครือข่ายเอกชน (Private Network) เป็นเครือข่าย ท่ีหน่วยงานสามารถเป็นเจ้าของเอง หรือ เช่าเพื่อ ประโยชน์ในการสื่อสาร กรณีนี้ก็จะเป็นหลักประกัน ว่าหน่วยงานจะมีโอกาสได้ใช้เครือข่ายเม่ือต้องการ เสมอ - เครือข่ายแบบมูลค่าเพ่ิม (Value-added Network- VAN) เป็นเครือข่ายกึ่งสาธารณะซึ่งให้บริการเพิ่มข้ึน 63
Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง ที่มา: จ า ก ก า ร ติ ด ต่ อ สื่ อ ส า ร ป ก ติ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร สื่ อ ส า ร (Communication service provider) เป็นเจ้าของ VAN อย่างไรก็ตาม VAN เร็วกว่าเครือข่าย สาธารณะและมีความปลอดภัยมากกว่า เครือข่าย สาธารณะ - เครือข่ายเอกชนเสมือนจริง (Virtual Private Network-VPN) เป็นเครือข่ายสาธารณะที่รับประกัน ว่าผู้ใช้จะมีโอกาสใช้งานเครือข่ายได้ตลอดเวลา แต่ไม่ได้ให้สายหรือช่องทางการสื่อสารแก่หน่วยงาน ผู้ใช้โดยเฉพาะ แต่จะใช้วิธีแปลงรหัสข้อมูลของ หน่วยงานผู้ใช้โดยเฉพาะ แต่จะใช้วิธีแปลงรหัส ข้อมูลของหน่วยงานเพื่อท่ีจะส่งไปพร้อม ๆ กับ หน่วยงานอื่น ๆ 3.1.8 Network Topology Network Topology คือ การออกแบบและการติดต่อเชื่อมโยง กันของเครือข่ายทางกายภาพ โดยท่ัวไปโทโปโลจีพ้ืนฐานมีอยู่ 3 ประเภท ดงั น้ี 1) แบบดาว (Star Network) เป็นเครือข่ายท่ีคอมพิวเตอร์ ทุกตัวและอุปกรณ์อ่ืนเชื่อมกับโฮสต์คอมพิวเตอร์ที่อยู่ และการสื่อสาร ทั้งหมดระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครือข่ายต้องผ่านโฮสต์คอมพิวเตอร์ เน่ืองจากโฮสต์คอมพิวเตอร์เป็นตัวควบคุมอุปกรณ์อื่นทั้งหมดในเครือข่าย เครือข่ายแบบดาวเหมาะสำหรับการประมวลผลท่ีมีลักษณะรวมศูนย์ อย่างไรก็ตามข้อจำกัดของแบบนี้ คือ หากใช้โฮสต์คอมพิวเตอร์ก็จะทำให้ ระบบทง้ั หมดทำงานไมไ่ ด ้ 64
ส่ือสารทั้งหมดระหวางอุปกรณตางๆ ภายในเครือขายตองผานโฮสตคอมพิวเตอร เนื่องจากโฮ คอมพิวเตอรเปนตัวควบคุมอุปกรณอS่ืนmทaั้งrtหCมitดyในกาเรคพรฒั ือนขาแาลยะปรเบั คใชรร้ ืะอบบขาITยในแกบารบบรดิหาารวจเดั หกามรเามือะงส ําหรับก ประมวลผลทม่ี ลี ักษณะรวมศูนย อยางไรก็ตามขอ จํากดั ของแบบนี้ คือ หากใชโฮสตคอมพิวเตอรก ทําใหร ะบรปูบท่ี้งั 3ห.ม1-ด4ทํากงาารนเชไมื่อไมดต ่อของระบบรูปแบบดาว (Star) : https://vanidas ท.wม่ี oาr:dphrtetpsssร.:c/ปูo/vmทa/n่ี ค3idว.าa1มs-ร.w4เู ทoคกrโdานpโรrลeเยชsสี sอื่า.รcมสoตนmเอท/คศขว/อามงรรู้เะทบคบโนรโูปลยแีสบาบรสดนาเวทศ(/S tar) 2) แบบบัส (Bus Network) เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ 2แเชแคช)บุดอยยี แเมบกลทบพวนา หบาวิี้นนเอรบิยัน้ตโ1ผกซคหเอืุปสัปมดอ็ู้ตอตรอดชใกนือยสรม้อา(ชฟังุดBอรกมางใพนใ uสตกณื่นเชยานชิว้ันทsาร์า้ใแสว่อเใอจยยเ่ราตงNดชวางึงใยใแนแอทช่ือยeยจรเากล้ักรน์้งาtมแคะวงวน์ตwดิางไกโงเอกนรใปัวดยปoจ้วน็กไยใพังญงกrนรดดรต็kคชรน็ไเหตใะ)าอ้ดอ่สดั้วนนบัมาวม้มัญียยรกจชรบสกพะวาแึัญบงอเัญันบริวคเยงขาจกซญเบทรณตกโอริ่ึืดองลทาาอามวสอ้งขมณปโจ่รูาใลปา่าาเัญรนโสหอมยโจดขรหาลุหาลแปจยอะมจราวบะาใกงบีแาถกจชบกขเรบรบสะปมสอนถาบณไเ่ือ็ีาคมนรสคี้สมนสย์ูลจอใื่อรสา่มี้นาวดไรือมสมาีผรงดิยาขจาาพยจไลใมจรรดาะนริเตวใไรถยกเเกชดเ่อ2ดขแจปตลใ้ร้คัีดยนอบ็ณอ2นทียอวกวงบราีทตวมงขทาตนงซคแั่มีพว้รอาใัี้่ึวสงลู่ีผสนรรงิวมอใานัใบัูตเเบาดูนาลมตค ขอยจขใเาไอร้องนคโ้จดรอือรกมครรถะ้์อใขมาือูลแะนเจื่นาูรปลขไบอัดยกใด่านชกกอบโรย้หคดสงยาเณลโราาายชร่ดาม้ังนยีรกมทงียยลเไับเพี่ีซมมมลหกะรขรอ ี ีีลลออ ฟียวมมตวจูกลคแะันไูวสไดรมาโคคยทมรอโโี้ัผงคยปลลแช 65
Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง บทท่ี 3 ความรเู บ้อื งตนในระบบสารสนเทศท่ีเกี่ยว รูปท่ี 3.1-5 การเชอื่ มต่อของระบบรูปแบบบสั (BUS) https://vanidas.ทw่ีมoาrd:phrettspss.c:o//mva/คnวidาaมsร.เูwทคoโrนdโpลrยeีสssาร.cสoนmเท/ศค/วามร้เู ทคโนโลยีสารสนเทศ/ รปู 3ท)่ี 3แ.บ1-บ5วกงาแรหเชวอื่นมต(RอขinอgงรNะบeบtwรปู oแrkบ)บบคสัอม(BพUิวSเต) อร์ทุกตัว ท่ีมา: h เชื่อมโยงเป็นวงจรปิด ทำให้การส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ตัวหนึ่งไปยัง 3) แบบวองแีกหตวัวนหน(Rึ่งinโดgยNเeดtินwทoาrงkไ)ปในทิศทางเดียว คอมพิวเตอร์แต่ละตัวทำงาน คโดอยมอพิสิวรเตะอหรทากุกมตีตวั เัวชใือ่ดมตโยัวงหเปนนึ่งเวสงียจรระปบดบทกาําใรหสก่ือาสราสรง ใขนอเมคูลรือจขาก่ายคไอดม้รพับวิ กเตารอรต วั หนึง่ ไปยัง ตัวหนงึ่ โดกยรเะดทินบทการงไะปเทในือทนศิ ยทกาเงวเด้นยีจวะมคีวองมแพหิววเนตคอู่ใรนแกตาลระรตับวั สท่งํางขา้อนมโูลดใยนอทิสิศรทะาหงตา่ากงมๆีตัวใด ตัวหนึ่งเ ระบบการกสันอ่ื สเาพรื่อในเปเค็นรเือสข้นา ทยไาดงรสับำกราอรงกใรนะกทาบรกปร้อะงเทกัือนนไมย่ใกหเ้วเคน รจือะมข่ีวางยแหหยวุดนทคำูใงนากนา รรับสง ขอมูล ทศิ ทางตาโดงๆยสก้นิ นั เชเพิง ื่อเปน เสน ทางสํารองในการปองกันไมใ หเ ครือขายหยุดทํางานโดยส้ินเชิง Smar 66
คอมพิวเตอรทกุ ตัวเชื่อมโยงเปนวงจรปด ทําใหก ารสง ขอมูลจากคอมพิวเตอรตวั หน่ึงไปยังอ ตัวหนึ่งโดยเดนิ ทางไปในทศิ ทางเดยี ว คอSมmพaิวrtเตCอityรแ กตารล พะัฒตนัวาทแลาํะปงราบั นใชโร้ ดะบยบอITิสในรกะารหบราหิ การมจัดีตกัวารใเดมือตง ัวหน่ึงเ วของ ระบบการส่อื สารในเครอื ขา ยไดร ับการกระทบกระเทือน ยกเวน จะมวี งแหวนคูในการรับสง ขอมูล ทศิ ทางตารงูปๆทก่ี ัน3.1เพ-6อื่ เกปาน รเสชนื่อทมาตงอ่ สขําอรงอรงะในบกบารรปู ปแอ บงบกวนั งไแมหใหวเนคร(ือRขinายgห) ยุดทาํ งานโดยสนิ้ เชงิ https://vanidas.wทoม่ี rาd:prhetstsp.cso:/m/v/aคnวiาdมaรsูเ.ทwคoโrนdโpลrยeสี sาsร.สcนoเmท/ศค/วามรู้เทคโนโลยสี ารสนเทศ/ รูปที่ 3.1-6 การเชื่อมตอ ของระบบรปู แบบวงแหวน (Ring) งลเอสในีีกยผแรจโคะะกสรยตไมงขะอสข(หงHรอพาาyบงนจิงbขกอเลแกรลาอrคอะรุักพบปาํ็ตiกdงรบณดษบกรา)จือบับnอมณารอาอขจชถงoณโื่นก ่ยะาใะทัน้ึงdนๆโย์าโหคตโeคทงก(ใปวน้อHไเรนรโแานชโรง่ึงงiปณมลกลพeกใ่สนอนเโจrะาต็ทีิจกรรaลีแรตรา้าาแจ่ีอ็วrจทะตมงนรcบาุปคคีบทณh่กโำลทบกทวลงบi้ัโะงุนาcโราทาโ้าปมคถaขณปมนย3โlรึีงรปอปเโตใคชะลงNงัดแญโห้นสเื่อวทลจeอบภรหไารถจแีง้ัtุปมือบมท้าwราทีือตก้กงตะเจท้ังลไo(รรลบดะาล่ีTกะ็วrณ3ำรมบkอrปลแดeแ)หีคขดรแาลeับกซ้อนวะจบว)ะช้ง่ึไาดเ่ึงนขบคภขมมั้นใหีแลาทนวขทีลเรลังกชา่ีก้รอัก(จือะตมื่อะษHลษบะมขนบสถ่าณiมณกีแ้อeวือาบขีบพrจะขอะมไaมอบำทา้ดรโาาrีปดงกค่cผอ้จารตแีญัhรดแงถสงจน้ลงiกลใแหขมcะสนะาะตaอาพอขรยคกl(ตกงาาบอHภวรเลNจตงคจาโyณาอจค่eามทํารbพะดงtลีกทือrสโwพกจiาัดป่ีขdอาเบันนยoช)แมุาปโโrลตผ่ยนลตาkทกอักนู้พใร)กจโรยนษรถไปัีฒตแณ่ามซกะณขโาบง่ึนงลยา์อใงไะ(บมดรจระาTกงททีีอrันาeําื่นผงeงกๆูพ)าานัฒหยเชรภนหือนาารมพรือแีแะกเบบบ หา่ งของ node และต้นทุนของทง้ั ระบบ rt City: การพัฒนาและปรบั ใชร ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง 3- 67
Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง รูปที่ 3.1-7 การเช่ือมตอ่ ของระบบรูปแบบผสบมทท(่ี H3yคbวrาiมdร)เู บ ื้อ ง ต น ในระบบสารสนเทศทเ่ี กี่ยวข https://vanidas.wทoม่ี rdาp: rhetstsp.cso:m//v/aคnวiาdมaรsูเท.wคoโนrdโลpยreสี sาsรส.cนoเmทศ/ค/ วามรเู้ ทคโนโลยีสารสนเทศ/ รปู ท่ี 3.1-7 การเช่ือมตอของระบบรปู แบบผสม (Hybrid) 3.2 การจัดทำสารสนเทศจากข้อมลู การจดั ทําสารสในนกเทารศจจดั าทกำสขาอรมสนูลเทศจากขอ้ มลู หรอื การทำขอ้ มลู ใหเ้ ปน็ สารสนเทศ ในการจัดทมํากี สาารรดสำนเนเทินศกจาารกตขาอ มมขูล้นั หตรออื นกหารรทอื วําธิขีกอามรลู ตใา่หงเๆปน ในสากราสรนปฏเทบิ ศตั ิม9ีกาวรธิ ดี ําดเงั นนินี้ การ ตามข้ันตอ วิธีการตางๆ ในการป1ฏ)บิ ัตกิา9รรววธิ บี ดรังวนมี้ (Capturing) เป็นการดำเนินการเพื่อรวบรวมและ 1) การรวบบันรวทมึกข(C้อaมpูลtใuหr้อinยgู่ใ)นรเปูปนแบกาบรใดดํารเูปนแินบกบาหรนเพ่ึงเื่อพรื่อวกบารรวปมรแะลมะวบลันผทลึกเขชอ่นมูลกใาหรอยูในรูปแบบ บบหนึ่งเพอื่ กาบรันปทระึกมไวว้ใลนผแลฟเ้มชเนอกกสาารรบหันรทือกึดไ้ววยใ เนคแรฟ่ือมงคเออกมสพาิวรเหตรออื รด์ กว ยารเครรวบอ่ื งรควมอมทพำไวิ ดเ้โตดอยร การรวบรวมท ดยการสังเกตกกาารรสสัมังพเกันตธก กาารรสทัมําพแันบธบ์ สกอารบทถำาแมบกบาสรอทบดถสาอมบกแาลระทกดาสรอใชบแแบลบะกสาํารรใวชจ้แบขอบมูลที่ไดจะตอง ลกั ษณะ สาํ คญั ส2ำรปวรจะกขา้อรมคูลือท่ีไคดว้จาะมตต้อรงงมตีคามุณคลวักาษมณตอ ะงกสาำรคทัญกี่ าํ 2หนปดรไะวกแ าลระมคคี ือวาคมวเาชม่ือตถรอื งได 2) การตรวตจาสมอคบวา(มVตe้อriงfyกiาnรgท)ก่ี เปำหนนขดน้ั ไตวอแ้ นลสะํมาคีคัญวาใมนเรชะอื่ บถบือไกดา้ร ผลิตสารสนเทศ ทําข้ึนเพ่ือใหม่ันใจ มลผไดิดรพบั ลกา6าดร8โรดวยบทรวั่วมไปแจละะกบระนั ททํากึ ไเดอ า3ไวลอ ักยษาณงถะกู คตืออ ง การตรวจสอบขอ มลู เปน การคน หารวบรวมขอ มูลทย่ี
Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง ขอ ง 2) การตรวจสอบ (Verifying) เป็นขั้นตอนสำคัญในระบบการ ผลิตสารสนเทศ ทำข้ึนเพื่อให้มั่นใจว่า ข้อมูลได้รับการรวบรวม และบันทึก เอาไว้อย่างถูกต้อง การตรวจสอบข้อมูลเป็นการค้นหารวบรวมข้อมูลที่ยังมี ความผดิ พลาด โดยท่ัวไปจะกระทำได้ 3 ลกั ษณะคือ 2.1) การตรวจสอบความเป็นไปได้ หรือความสมเหตุ สมผล ของข้อมลู 2.2) การตรวจสอบความสอดคล้องกนั 2.3) ตรวจสอบความสัมพันธ์ของข้อมูล เป็นการตรวจสอบ ความถูกต้องของข้อมูล โดยอาศัยความสัมพันธ์ของ ขอ้ มลู เป็นเกณฑ์ 3) การจำแนก (Classifying) เป็นการกำหนดหลักการแบ่ง ประเภทข้อมูลเป็นหมวดหมู่หรือ เป็นกลุ่มตามคุณสมบัติของข้อมูล ในลักษณ์ ท่ีเหมาะสมมีความหมายและเป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้ โดยการ กำหนดสง่ิ ท่ีเหมอื นกนั ไวด้ ว้ ยกัน 4) การจัดเรียงลำดับ (Arranging) ภายหลังที่มีการจำแนกข้อมูล และการกำหนดรหัสข้อมูลแล้ว จำเป็นต้องจัดวางโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล อน วา่ จะจดั เรียงลำดบั ระเบียบข้อมูลในแฟม้ ขอ้ มลู อย่างไร 5) การสรุป (Summarizing) เป็นการจัดรวบรวมข้อมูลเข้าด้วย กันหรือแบ่งกลุ่มข้อมูล และรวบยอดของแต่ละกลุ่ม เพ่ือเตรียมคำนวณ บใด หาค่าดัชนีหรือสารสนเทศในขั้นต่อไป การสรุปหรือการรวบรวมยอดข้อมูล ทํา นมี้ ีประโยชน์ในการตรวจสอบความแนบนัยของขอ้ มูลอีกด้วย งมี วา ยังมี 69
Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง 6) การคำนวณ (Calculating) เป็นข้ันตอนสำคัญท่ีจะจัดการทำ ข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ท่ีอาศัยกระบวนการของคณิตศาสตร์ มาจัด กระทำกับข้อมูลในรูปความสัมพันธ์กัน เช่น อัตราส่วน สัดส่วนและ เลขดัชนี เพ่ือให้ได้สารสนเทศที่มีความหมายตามความต้องการของผู้ใช้ที่ ได้กำหนดไว้แลว้ 7) การจัดเก็บ (Storing) หลังจากที่ได้คำนวณได้ค่าสารสนเทศ หรือดัชนีต่างๆ แล้ว ข้ันตอนต่อมาคือ การจัดเก็บเพ่ือการบริการว่าจะต้อง จัดเก็บทำข้อมูลพ้ืนฐานและสารสนเทศที่ผ่านการจัดกระทำด้วยมือหรือ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ 8) การเรียกใช้ (Retrieving) เป็นกระบวนการค้นหาและดึงข้อมูล ที่ต้องการออกจากส่ือท่ีใช้เพื่อปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันหรือเพื่อให้ บรกิ ารและคำตอบแก่ผู้ใช้ 9) การเผยแพร่ (Disseminating and Reproducing) เป็น เป้าหมายสดุ ท้ายของการดำเนินการสารสนเทศ คือการเผยแพร่สารสนเทศ ให้กับผู้ใช้ในรูปแบบต่างๆ ทำให้แบบ เอกสาร รายงานหรือการเสนอบน จอภาพ 3.3 ความปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ15 ปัจจุบันปัญหาด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยให้กับระบบ สารสนเทศมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นทั้งในประเทศ และต่างประเทศ และ มีแนวโน้มท่ีจะส่งผลกระทบต่อภาครัฐ และภาคธุรกิจมากขึ้น ทําให้ ผปู้ ระกอบการ ตลอดจนองคก์ ร ภาครฐั และภาคเอกชน ทม่ี กี ารดาํ เนนิ งาน โดยการนําระบบสารสนเทศและการสื่อสาร มาประยุกต์ใช้ต้องตระหนักถึง 15 คมู่ ือการจดั ทําระบบรักษาความมนั่ คงปลอดภยั ด้านสารสนเทศ 70
Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง ค ว า ม มั่ น ค ง ป ล อ ด ภั ย ข อ ง ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ ซึ่ ง ช่ ว ย ป ก ป้ อ ง เ ค ร่ื อ ง คอมพิวเตอร์รวมไปถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และท่ีสําคัญยังสามารถ ชว่ ยปกปอ้ งข้อมูลท่ีไดจ้ ัดเก็บไวภ้ ายในระบบอีกด้วย 3.3.1 จุดประสงค์ของการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านระบบ สารสนเทศ จุดประสงค์หลักของการรักษาความม่ันคงปลอดภัยด้านระบบ สารสนเทศ คือ ความลับ (confidentiality) ความสมบูรณ์ (integrity) ความพร้อมใช้ (availability) และการห้ามปฏิเสธความรับผิดชอบ (non- repudiation) ของข้อมูลตา่ ง ๆ ภายในองค์กร โดยมีรายละเอียดดังน้ี 1) การรักษาความลับ (confidentiality) คือการรับรองว่า จะมีการเก็บข้อมูลไว้เป็นความลับ ทําให้มั่นใจว่ามีเฉพาะผู้มีสิทธิหรือได้รับ อนญุ าตเท่านั้นทีส่ ามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มูลได ้ 2) การรักษาความสมบูรณ์ (integrity) คือการรับรองว่า ข้อมูลท่ีปกป้องนั้น ต้องมีความถูกต้องสมบูรณ์จะไม่ถูกแก้ไข เปล่ียนแปลง หรือทาํ ลาย จากผู้ไมม่ สี ทิ ธิไมว่ า่ จะเปน็ โดยอุบัติเหตุหรอื โดยเจตนา 3) ความพร้อมใช้ (availability) คือการรับรองว่าข้อมูลและ บริการการส่ือสารต่าง ๆพร้อมใช้งานสามารถตอบสนองความต้องการของ ผู้ใชง้ านท่มี สี ิทธเิ ข้าถึงระบบได้เม่ือต้องการ 4) การห้ามปฏิเสธความรับผิดชอบ (non-repudiation) คือ วิธีการสื่อสารซึ่งผู้ส่งข้อมูลได้รับหลักฐานว่าได้มีการส่งข้อมูลแล้วและผู้รับ ก็ได้รับการยืนยันว่าผู้ส่งเป็นใคร ดังน้ันทั้งผู้ส่งและผู้รับจะไม่สามารถ ปฏิเสธไดว้ า่ ไม่มคี วามเก่ยี วข้องกบั ขอ้ มูลดังกล่าวในภายหลัง 71
Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง 5) การรักษาความปลอดภัยด้านข้อมูล ระบบคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่าย การรักษาความปลอดภัยด้านข้อมูล ระบบ คอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายมีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมบุคคลท่ีไม่ เกี่ยวข้องมิให้เข้าถึง ล่วงรู้ (access risk) หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลง (integrity risk) ข้อมูลหรือการทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ในส่วนท่ีมิได้ มีอํานาจหน้าท่ี ส่วนการป้องกันการบุกรุกผ่านระบบเครือข่ายมี วัตถุประสงค์เพ่ือป้องกันบุคคล ไวรัส รวมทั้ง malware ต่างๆ มิให้เข้าถึง หรือสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือการทํางานของระบบคอมพิวเตอร์โดย มีเนื้อหาครอบคลุมรายละเอียดเก่ียวกับแนวทางในการรักษาความ ปลอดภัยข้อมลู ระบบคอมพิวเตอรเ์ ครอ่ื งแม่ข่าย และระบบเครือข่าย 3.3.2 การบรหิ ารจดั การข้อมลู 1) ต้องกําหนดชั้นความลับของข้อมูล วิธีปฏิบัติในการจัดเก็บ ข้อมูลแต่ละประเภทชั้นความลับ และวิธีปฏิบัติในการควบคุมการเข้าถึง ข้อมูลแต่ละประเภทชั้นความลับท้ังการเข้าถึงโดยตรงและการเข้าถึงผ่าน ระบบงาน รวมถงึ วิธกี ารทาํ ลายข้อมลู แต่ละประเภทชนั้ ความลบั 2) การรับส่งข้อมูลสําคัญผ่านเครือข่ายสาธารณะ เช่น การใช้ SSL VPN เป็นต้น ข้อมูลต้องได้รับการเข้ารหัส (Encryption) ท่ีเป็น มาตรฐานสากล 3) ต้องมีมาตรการควบคุมความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บ นําเข้าประมวลผล และแสดงผล นอกจากน้ีในกรณีที่มีการจัดเก็บข้อมูล เดียวกันไว้หลายที่ หรือมีการจัดเก็บชุดข้อมูลท่ีมีความสัมพันธ์กัน ต้องมี การควบคุมใหข้ อ้ มูลมคี วามถกู ตอ้ งครบถ้วนตรงกัน 4) ควรมีมาตรการรักษาความปลอดภัยข้อมูลในกรณีที่นํา เคร่ืองคอมพิวเตอร์ออกนอกพื้นที่ เช่น ส่งซ่อม หรือทําลายข้อมูลท่ีเก็บอยู่ 72
Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง ในสื่อบันทึกกอ่ น เปน็ ตน้ 3.3.3 การควบคุมการกําหนดสิทธิให้แกผ่ ู้ใชง้ าน (User Privilege) 1) ต้องกําหนดสิทธิการใช้ข้อมูลและระบบคอมพิวเตอร์เช่น สิทธิการใช้โปรแกรมระบบงานคอมพิวเตอร์สิทธิการใช้งานอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ให้แก่ผู้ใช้งานให้เหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบ โดยต้อง ให้สิทธิเฉพาะเท่าที่จําเป็นแก่การปฏิบัติหน้าท่ี และได้รับความเห็นชอบจาก ผู้มีอํานาจหน้าที่เป็นลายลักษณ์อักษร รวมท้ังทบทวนสิทธิดังกล่าวอย่าง สมำ่ เสมอ 2) ในกรณีมีความจําเป็นต้องใช้ User ท่ีมีสิทธิพิเศษ ต้องมี การควบคุมการใช้งานอย่างรัดกุม โดยใช้ปัจจัยดังต่อไปนี้ประกอบการ พจิ ารณา - ควรได้รับความเห็นชอบจากผู้มีอํานาจหน้าท่ี และควร กําหนดระยะเวลาการใช้งาน และระงับการใช้งานทันที เมื่อพ้นระยะเวลาดงั กลา่ ว - ควรควบคุมการใช้งาน User ที่มีสิทธิพิเศษอย่างเข้มงวด เช่น กําหนดให้มีการควบคุมการใช้งาน User ดังกล่าว ในลักษณะ Dual Control โดยให้เจ้าหน้าที่ 2 ราย ถือรหัสผ่านคนละคร่ึง หรือเก็บ Password ไว้ในตู้เซฟ เป็นตน้ และจาํ กัดการใช้งานเฉพาะกรณจี ําเปน็ เท่านัน้ - ควรมีการเปลี่ยนรหัสผ่านอย่างเคร่งครัด เช่น ทุกคร้ัง หลังหมดความจําเป็นในการใช้งาน หรือในกรณีที่มีความ จําเป็นต้องใช้งานเป็นระยะเวลานาน ก็ควรเปลี่ยนรหัส ผา่ นทกุ 3 เดอื น เป็นต้น 73
Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง 3) ในกรณีท่ีไม่มีการปฏิบัติงานอยู่ที่หน้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ต้องมีมาตรการป้องกันการใช้งานโดยบุคคลอ่ืนท่ีมิได้มีสิทธิและหน้าท่ี เก่ียวข้อง เช่น กําหนดให้ผู้ใช้งานออกจากระบบงาน (Log out) ในช่วง เวลาที่มิได้อยู่ปฏิบัตงิ านทห่ี นา้ เคร่อื งคอมพวิ เตอรเ์ ป็นตน้ 4) ในกรณีท่ีมีความจําเป็นที่ผู้ใช้งานซ่ึงเป็นเจ้าของข้อมูลสําคัญ มีการให้สิทธิผู้ใช้งานรายอ่ืนให้สามารถเข้าถึงหรือแก้ไขเปล่ียนแปลงข้อมูล ของตนเองได้เช่น การ Share files เป็นต้น จะต้องเป็นการให้สิทธิเฉพาะ รายหรือเฉพาะกลุ่มเท่าน้ัน และต้องยกเลิกการให้สิทธิดังกล่าวในกรณีท่ีไม่ มคี วามจาํ เปน็ แล้ว และเจา้ ของข้อมลู ต้องมีหลักฐาน 3.3.4 การควบคมุ การใชง้ านบญั ชีรายช่ือผู้ใช้งาน (User Account) 1) ต้องมีระบบตรวจสอบตัวตนจริงและสิทธิการเข้าใช้งานของ ผู้ใช้งาน (Identification and authentication) ก่อนเข้าสู่ระบบงาน คอมพิวเตอร์ท่ีรัดกุมเพียงพอเช่น กําหนดรหัสผ่านให้ยากแก่การคาดเดา เป็นต้น และต้องกําหนดให้ผู้ใช้งานแต่ละรายมี User account เป็นของ ตนเอง ทั้งนี้การพิจารณาว่าการกําหนดรหัสผ่านมีความยากแก่การคาดเดา และการควบคุมการใช้รหัสผ่านมีความรัดกุมหรือไม่นั้น สํานักงานจะใช้ ปัจจยั ดังตอ่ ไปนป้ี ระกอบการพจิ ารณาในภาพรวม 2) ต้องมีระบบการเข้ารหัส (Encryption) ไฟล์ท่ีเก็บรหัสผ่าน เพือ่ ปอ้ งกันการลว่ งรหู้ รือแกไ้ ขเปล่ียนแปลง 3) ต้องตรวจสอบรายชื่อผู้ใช้งานของระบบงานสําคัญ อย่าง สม่ำเสมอ และดําเนินการตรวจสอบบัญชีรายชื่อผู้ใช้งานที่มิได้มีสิทธิใช้งาน ระบบแล้ว เช่น บัญชี รายชื่อของพนักงานท่ีลาออกแล้ว บัญชีรายชื่อที่ติด มากับระบบ (Default user) เป็นต้น พร้อมท้ังระงับการใช้งานโดยทันที 74
Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง เม่ือตรวจพบ เช่น Disable ลบออกจากระบบ หรือ เปลี่ยน Password เปน็ ต้น 3.3.5 การรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอรแ์ มข่ า่ ย (Server) 1) ต้องมีข้ันตอนหรือวิธีปฏิบัติในการตรวจสอบการรักษา ความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย และในกรณีที่พบว่ามีการใช้งาน หรือเปล่ียนแปลงค่า Parameter ในลักษณะท่ีผิดปกติจะต้องดําเนินการ แก้ไข รวมทั้งมีการรายงานโดยทันท ี 2) ต้องเปิดใช้บริการ (Service) เท่าที่จําเป็น ท้ังนี้หากบริการ ท่ีจําเป็นต้องใช้มีความเส่ียงต่อระบบรักษาความปลอดภัย ต้องมีมาตรการ ปอ้ งกันเพมิ่ เตมิ 3) ต้องดําเนินการติดตั้ง Patch ที่จําเป็นของระบบงานสําคัญ เพื่ออุดช่องโหว่ต่าง ๆ ของโปรแกรมระบบ (System software) เช่น ระบบปฏิบัตกิ าร DBMS และ web server เป็นต้น อยา่ งสมำ่ เสมอ 4) ควรทดสอบ System software เก่ียวกับการรักษาความ ปลอดภัย และประสิทธิภาพการใช้งานโดยทั่วไปก่อนติดต้ัง และหลังจาก การแกไ้ ขหรอื บาํ รุงรกั ษา 5) ควรมีแนวทางปฏิบัติในการใช้งาน Software utility เช่น Personal firewall password cracker เป็นต้น และตรวจสอบการใช้งาน Software utility อยา่ งสม่ำเสมอ 6) ควรกําหนดบุคคลรับผิดชอบในการกําหนด แก้ไข หรือ เปลี่ยนแปลงค่า Parameter ตา่ งๆ ของโปรแกรมระบบอย่างชัดเจน 75
Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง 3.3.6 การบริหารจัดการและการตรวจสอบระบบเครือข่าย (network) 1) ผู้ดูแลระบบต้องมีการออกแบบระบบเครือข่ายตามกลุ่มของ บริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารท่ีมีการใช้งานกลุ่มของ ผู้ใช้ และกลุ่มของระบบสารสนเทศ เช่น โซนภายใน (Internal zone) โซนภายนอก (External zone) เป็นต้น เพ่ือทําให้การควบคุมและป้องกัน การบุกรุกได้อย่างเป็นระบบ 2) ผู้ดูแลระบบต้องมีวิธีการจํากัดสิทธิการใช้งาน เพื่อควบคุม ผู้ใช้ใหส้ ามารถใชง้ านเฉพาะเครือขา่ ยท่ไี ด้รบั อนญุ าตเทา่ นน้ั 3) ผู้ดูแลระบบควรมีมีวิธีการจํากัดเส้นทางการเข้าถึงเครือข่าย ท่มี ีการใชง้ านร่วมกัน 4) ผู้ดูแลระบบต้องจัดให้มีวิธีเพ่ือจํากัดการใช้เส้นทางบน เครือข่าย (Enforced path) จากเครื่องลูกข่ายไปยังเคร่ืองแม่ข่ายเพ่ือไม่ให้ ผู้ใช้สามารถใช้เส้นทางอ่ืน ๆ ได้ กําหนดบุคคลท่ีรับผิดชอบในการกําหนด แก้ไขหรอื เปลีย่ นแปลงค่า Parameter ต่าง ๆ ของระบบ 5) การป้องกันเครือข่ายและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เช่ือมต่อกับ ระบบเครือข่ายอย่างชัดเจนและต้องทบทวนการกําหนดค่า Parameter ต่าง ๆ อย่างน้อยปีละครั้งนอกจากน้ีการกําหนดแก้ไขหรือเปล่ียนแปลงค่า Parameter ต้องแจ้งบุคคลที่เกี่ยวขอ้ งใหร้ ับทราบทกุ ครง้ั 6) ระบบเครือข่ายท้ังหมดของกรมฯ ที่มีการเชื่อมต่อไปยัง ระบบเครือข่ายอ่ืน ๆ ภายนอกกรมฯ ต้องเชื่อมต่อผ่านอุปกรณ์ป้องกันการ บุกรุกหรือโปรแกรมในการทํา Packet filtering เช่น การใช้ไฟร์วอล (Firewall) หรือฮาร์ดแวร์อ่ืน ๆ รวมทั้งต้องมีความสามารถในการตรวจจับ มัลแวร์ (malware) ดว้ ย 76
Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง 7) ต้องมีการติดต้ังระบบตรวจจับการบุกรุก (IPS/IDS) เพื่อ ตรวจสอบการใช้งานของบุคคลท่ีเข้าใช้งานระบบเครือข่ายของกรมฯ ในลักษณะท่ีผิดปกติผ่านระบบเครือข่าย โดยมีการตรวจสอบการบุกรุก ผ่านระบบเครือข่ายการใช้งานในลักษณะที่ผิดปกติและการแก้ไข เปลย่ี นแปลงระบบเครือข่าย โดยบุคคลทีไ่ ม่มีอํานาจหนา้ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 8 ) ก า ร บ ริ ห า ร ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ร ะ บ บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ (Configurationmanagement) 9) การวางแผนการรองรับประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ (Capacity planning) 10) การปอ้ งกนั ไวรสั และ Malicious code 11) บนั ทึกเพื่อการตรวจสอบ (Audit logs) 3.3.7 การสํารองขอ้ มูล 1) ต้องสํารองข้อมูลสําคัญที่ใช้ในการปฏิบัติงาน รวมถึง โปรแกรมระบบปฏิบัติการ โปรแกรมระบบงานคอมพิวเตอร์และชุดคําสั่ง ทใี่ ชท้ ํางานให้ครบถว้ น ให้สามารถพร้อมใช้งานได้อย่างต่อเนอ่ื ง 2) ควรมีขั้นตอนและวิธีปฏิบัติในการสํารองข้อมูลเพื่อเป็น แนวทางให้แก่ผปู้ ฏิบัติงาน โดยอยา่ งน้อยควรมีรายละเอยี ด ดงั น ้ี - ขอ้ มลู ท่ีตอ้ งสาํ รอง และความถ่ใี นการสํารอง - ประเภทส่ือบนั ทกึ (media) - จาํ นวนท่ตี อ้ งสํารอง (copy) 77
Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง - ขนั้ ตอนและวิธกี ารสาํ รองโดยละเอียด - สถานทีแ่ ละวิธีการเก็บรกั ษาสื่อบนั ทึก 3) ควรมีการบันทึกการปฏิบัติงาน เก่ียวกับการสํารองข้อมูล ของเจ้าหน้าท่ีเพ่ือตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน และควรมีการตรวจสอบ บนั ทึกดังกลา่ วอย่างสมำ่ เสมอ 3.3.8 การทดสอบและการเกบ็ รกั ษาข้อมลู 1) ต้องทดสอบข้อมูลสํารองอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง เพื่อให้ ม่ันใจได้ว่าข้อมูล รวมทั้งโปรแกรมระบบต่าง ๆ ท่ีได้สํารองไว้มีความ ถกู ตอ้ งครบถ้วนและใช้งานได ้ 2) ควรมีขั้นตอนหรือวิธีปฏิบัติในการทดสอบและการนําข้อมูล สาํ รองจากส่ือบนั ทกึ มาใช้งาน 3) ต้องจัดเก็บสื่อบันทึกข้อมูลสํารอง พร้อมทั้งสําเนาข้ันตอน หรือวิธีปฏิบัติต่างๆไว้นอกสถานที่ เพื่อความปลอดภัยในกรณีที่สถานท่ี ปฏิบัติงานได้รับความเสียหาย โดยสถานที่ดังกล่าวต้องจัดให้มีระบบ ควบคุมการเข้าออกและระบบป้องกันความเสียหายตามที่กล่าวในข้อ Physical Security ดว้ ย 4) ในกรณีท่ีจําเป็นต้องจัดเก็บข้อมูลเป็นระยะเวลานาน ก็ต้อง คํานึงถึงวิธีการนําข้อมูลกลับมาใช้งานในอนาคตด้วย เช่น ถ้าจัดเก็บข้อมูล ในสื่อบันทึกประเภทใด ก็ต้องมีการเก็บอุปกรณ์และซอฟท์แวร์ท่ีเก่ียวข้อง สาํ หรบั ใชอ้ ่านส่ือบนั ทกึ ประเภทนนั้ ไวด้ ว้ ยเช่นกัน เปน็ ตน้ 5) ควรติดฉลากที่มีรายละเอียดชัดเจนไว้บนส่ือบันทึกข้อมูล สํารอง เพื่อให้สามารถค้นหาได้โดยเร็ว และเพ่ือป้องกันการใช้งาน สื่อบันทกึ ผิดพลาด 78
Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง 6) การขอใช้งานส่ือบันทึกข้อมูลสํารองควรได้รับอนุมัติจาก ผู้มีอํานาจหน้าที่ และควรจัดทําทะเบียนคุมการรับและส่งมอบสื่อบันทึก ข้อมูลสํารอง โดยควรมีรายละเอียดเกี่ยวกับผู้รับ ผู้ส่ง ผู้อนุมัติประเภท ข้อมูล และเวลา 7) ควรมีขั้นตอนการทําลายข้อมูลสําคัญและสื่อบันทึกที่ไม่ได้ ใช้งานแล้ว ซ่ึงรวมถึงข้อมูลสําคัญต่างๆ ในฮาร์ดดิสก์ท่ียังค้างอยู่ใน Recycle bin 79
4 การวเิ คราะห์ความต้องการ และวางแผนการพฒั นาระบบ Smart City
ภาพรวมความต้องการของเทคโนโลย ี ความต้องการพฒั นาเทคโนโลยีในประเทศไทย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290