Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Smart City มิติใหม่ของการจัดการท้องถิ่นยุคไอที

Smart City มิติใหม่ของการจัดการท้องถิ่นยุคไอที

Description: Smart City เป็นแนวคิดการพัฒนาเมืองที่เกิดขึ้นในปลายศตวรรษที่ 20 โดยมาจากการนำเอาเทคโนโลยีด้านข้อมูลและโทรคมนาคมมาใช้ร่วมกับการวางโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิผลที่ได้รับแนวคิดดังกล่าวได้ถูกพัฒนาต่อจนในปัจจุบันกลายเป็นแนวคิดในการพัฒนาและวางแผนเมืองอย่างชาญฉลาดในบริบทของโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด เพื่อให้ประชาชนของเมืองมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น.

Search

Read the Text Version

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง 9.2.2 โรงงานแปรรูปขยะชุมชนอย่างครบวงจรในเชิงบูรณาการด้วย เทคโนโลยีชีวภาพ (Mechanical and Biological Waste Treatment, MBT) เทคโนยีการการบำบัดขยะด้วยวิธีการแบบเชิงกล-ชีวภาพ (MBT, Mechanical and Biological Waste Treatment) ซึ่งเป็นอีก เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ ส า ม า ร ถ ป รั บ เ ส ถี ย ร ภ า พ ข อ ง ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ไ ด้ อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพ โดยอาศัยขบวนการทางชีววิทยาของแบคทีเรียในการย่อย สลายอินทรียวัตถุที่มีอยู่ในขยะมูลฝอย ด้วยอาศัยแอโรบิคแบคทีเรีย (Aerobic Bacteria) ภายใต้สภาวะที่เหมาะสมในด้านความช้ืน อุณหภูมิ ปริมาณออกซิเจน รวมทั้งสัดส่วนระหว่างคาร์บอนและไนโตรเจน ร่วมกับ การพลิกกลบั กองดว้ ยเทคนคิ เชงิ กล โดยอาศัยเทคโนโลยีการกลับกองขยะด้วยสกรูในแนวต้ัง (Vertical Agitators) ซึ่งจะทำให้กองขยะท่ีอยู่ทางด้านล่างมีโอกาสสัมผัส กับอากาศได้มากข้ึน ทำให้เกิดกระบวนการย่อยสลายทางชีวภาพได้ดีข้ึน และยังป้องกันการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนทางด้านล่างของกองขยะที่ ก่อให้เกิดกลิ่นเหม็น คุณสมบัติของขยะที่ผ่านกรรมวิธีการบำบัดโดยวิธี MBT จะมีน้ำหนักลดลงประมาณร้อยละ 65 และมีความช้ืนเฉล่ียที่ร้อยละ 20 โดยองค์ประกอบส่วนใหญ่ท่ีเหลือจะเป็นขยะจำพวกพลาสติกประมาณ ร้อยละ 80 ซ่ึงมีความเหมาะสมท่ีจะนำมาผลิตเป็นเชื้อเพลิงขยะ RDF (Refuse-derive Fuel) และเศษที่เหลือคืออินทรียวัตถุ หรือปุ๋ยอินทรีย์ท่ีมี ปริมาณคาร์บอนสูง สามารถนำไปใช้เป็นวัสดุปรับปรุงดินได้ ซ่ึงเป็น รูปแบบของการบริหารจัดการขยะชุมชุนแบบครบวงจรและเป็นรูปธรรม ท้ัง การคัดแยก การกำจัด และการนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่อย่างมี ประสทิ ธิภาพ และไมส่ ง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดลอ้ ม 233

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง ตวั อยา่ งเทคโนโลยี MBT ที่มกี ารพฒั นาข้นึ ในประเทศไทย38 แนวคิดในการออกแบบกระบวนการบำบัดขยะด้วยวิธีการแบบ เชิงกล-ชีวภาพ (MBT, Mechanical and Biological Waste Treatment) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี คือ ดำเนินการปรับสภาพของขยะ โดยวิธีการหมัก (ทางชีวภาพ) ก่อนทำการคัดแยก (ทางกล) โดยจะ ทำการแยกขยะออกจากถุงบรรจุและคัดแยกขยะที่สามารถรีไซเคิลได้ เช่น กระป๋อง อลูมิเนียม ขวดแก้ว และ พลาสติก รวมถึงเศษเหล็ก ออกก่อน โดยใช้แรงงานคนบนสายพานคัดแยก (Hand Sort Conveyer) ขยะท่ีผ่าน การคัดแยกแล้วจะถูกนำไปย่อยหยาบโดยใช้เครื่องสับ โดยใช้เคร่ืองสับ แบบ Hammer Mill เพื่อลดปริมาตรให้เหมาะต่อการจัดการ ขยะท่ีถูกฉีกน้ี จะถูกลำเลียงเข้าสู่โรงบำบัดทางกลและชีวภาพ (Mechanical and Biological Treatment) รวมกันทั้งขยะอินทรีย์ เช่น เศษอาหาร และขยะอ นินทรีย์ เช่น ถุงพลาสติก เศษกระดาษ เพื่อปรับเสถียรภาพของขยะให้ เหมาะสมสำหรับการนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิง ท้ังน้ี โรงบำบัดทางกลและ ชีวภาพ (Mechanical and Biological Treatment) ถูกออกแบบให้เป็น โรงปิดที่มีระบบกวน ทำหน้าที่ผสมและเติมอากาศ ทำให้ประสิทธิภาพ การย่อยสลายสูง ทำให้ระยะเวลาการย่อยสลายเร็ว ท้ังนี้ ประมาณ 1 เดือน การหมักจะส้ินสุดลงและขยะมีเสถียรภาพปราศจากกล่ิน และ ทำการคัดแยกโดยใช้เครื่องคัดแยกแบบตะแกรงหมุน (Trommel Separator) จะได้ส่วนประกอบ คือ 1) อินทรีย์สารผงละเอียด (ปุ๋ยอินทรีย์) ซ่ึงสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการเป็นวัสดุปรับปรุงดิน 2) อินทรีย์สารผสมพลาสติก และ พลาสติก หรือเชื้อเพลิง RDF ซ่ึงเป็น เช้อื เพลิงท่ีสามารถนำไปทดแทนเช้อื เพลงิ ฟอสซสิ ในภาคอุตสาหกรรมได้ 38 http://biomass.sut.ac.th/biomass/index.php?page=WebInfoMenu/ webInfoShow&id=18 234

รปู ท่ี 9.2-3 ตวั อย่างระบบคัดแยกขยะแบบ MBT ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นบทาทร่ี ี 9 ระบบบรหิ ารจดั การขยะ ทีม่ า: http://wwwร.uูปbทbe่ี 9ss.2ex-3.coต.uวั kอ/tยeาchงnรoะloบgบyค/ ดั แยกขยะแบบ MBT ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง 235

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง รปู ทรูป่ี ท9่ี .92.2-4-3 กตัวรอะยบา วงรนะบกบาครัดคแัดยแกขยยกะขแบยบะแMบBบT ขMองBมTห าวิทยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี ท่มี า: http://www.ubbessex.co.uk/technology/ 9.3 เทคโนโลยรกีปู ทาี่ร9.ก2-ำ4จกัดระขบวยนะกมารลูคัดฝแยอกยขย ะแบบ MBT Smart City: การพเฒั ทนคาแโลนะปโลรบั ยใชกี ราะบรบกIำTจใดันกขารยบะรหิมาลูรจฝดั กอายรเมสืองามารถแบง่ ออกเปน็ 3 ระบบใหญ่ 9-8 คือ 9.3.1 ระบบหมักทำปุย๋ (Biological Conversion Technology) เป็นการย่อยสลายอินทรีย์สารโดยขบวนการทางชีววิทยาของ จุลินทรีย์เป็นตัวการย่อยสลายให้แปรสภาพเป็นแร่ธาตุท่ีมีลักษณะค่อนข้าง คงรูป มีสีดำค่อนข้างแห้ง และสามารถใช้ในการปรับปรุงคุณภาพของดิน ขบวนการหมกั ทำปุ๋ยสามารถแบง่ เปน็ 2 ขบวนการ คือ 236

Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง ขบวนการหมักแบบใช้ออกซิเจน (Aerobic Decomposition) ซึ่งเป็นการสร้างสภาวะท่ีจุลินทรีย์ชนิดที่ดำรงชีพโดยใช้อบอทกที่ ซ9 ริเะจบบนบยริห่อารยจัดสกาารรขยะ อาหารแล้วเกิดการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และกลายสภาพเป็นแร่ธาตุ 9.เ3ป็นขเทบควโนนโกลยากี ราทรก่ีไํามจ่เัดกขิดยะกม๊าลู ฝซอกยล่ินเหม็น สามารถหมักขยะอินทรีย์ เช่น เศษอเทาคหโนาโลรยกี เาศรกษาํ จผดั ขักยะมใลูบฝไอมย ้สาใมหา้รเถปแ็นบงผอองกสเปานร3สรี ะนบบ้ำใหตญา ลคอื เรียกว่า ปุ่ยหมัก 9.(3c.1omรpะบoบsหtมกัpทroาํ ปdยุ u(cBti)o logical Conversion Technology) เปน การยอยสลายอนิ ทรียสารโดยขบวนการทางชีววิทยาของจุลินทรียเปนตัวการยอยสลายใหแปร ขสบภเปาวพน็นกเปกานขราหบแร รมวธสนกั ากทรตาําทุ้ารปข่มีงหยุ บีลสมสกัักวาภษแมนาณบากรวบะถะใคาแชอรใบอ นหหอง ขเก้เมปา กซงนกั เิคิดจ2แงนจรบขปู ุล(บAบมินวeไีสนrทมoดีกbาํราใ่ คiรชียcอ คอ้์ชDนืออeขนcากoิดงแซmทหเิpงี่ดจoนแำsลiรtะi(งoสAชnา)มnีพซาaรโึง่ eเถดปใrยชนoใกbในาชiกรc้อาสรรอDปากรงeสับcซภปoิเารจmวุงะคนทpุณจี่oภเลุ sปานิ iพtท็นiขoรตอยีnงชัว)ดนินิด ทชดี่ ํา่วรยงชยพี ่อโดยใสชอาอรกอซาเิ จหนายอรยสแาลรอะาแหาปรรแลสวภเกาิดพกากรเลจาริญยเเตปิบ็นโตแอยรา่ธงารวตดุขเรบ็ว วแนละกกาลรายนสี้มภาักพจเปะนเแกริดธาตุ รเนปียํา้กขสนชตา๊บาขนามบลิซดววทเานทนรขี่ดรียกบ่ีํมกาถกาวรรวนีากงนทา ชกร่ีไลำีพาปมนรไุยิ่โนเหดปกหี้จมยดิเมใะักใหกักชชแามอม้ปซบ(cอีกผบ็oรนกลไmะลมซนิ่ ใิโpเเดเชจหยoชอนีมทsชอ่น็นtเ่ีกเนปpสกซนr์เากิเoิปจดตมd๊นัาวา็นuกชรซ(cถวเA๊าtหยชไ)nซยมขaื้ออักeม่เเยขrนพoีเสยbทะ่าาลiรอcนิงอนิ (DไาทดeHหร(cาีย้Myoรตเmdชแeัวนprลtอooะเhsศแยgiaษปt่าieoอรnงสnาneเหภ)ชาเาSปร่นพgนuเกaศกลlรษsาfาระผi)ยสdกับเรปeซาใบนบง:ึ่งสแไมภรเAHธปาใnาวห2็นตะaเใSุขปeหกบน)เr๊วกาoผนิดซงแbกจสiทตุาลาcริรน่่ี นสที้ี มมีกัDเทจiนะgเeก(Mิดsกteeาthซraทnท่ีมeีกี่ ลเิ่ทนgaเศหs)มบ็นาซลเ่ึงชเเนปมนกือกางาซซรไขทะเ่ีสนยาาอม(งาHร yถdนroําgไปenใชSปuรlfะidโยeช: Hน2เปSน) แเชตื้อขเบพวลนิงกไาดร นต้ีจัวะอมยีผาลงเดชีทน่ีเกริดะกบาบซ Anรaปู eทroี่b9ic.D3ig-e1stกerรทะ่ี เบทศวบนากลเามรืองหระมยักองย่อยแบบใช้อากาศ รปู ที่ 9.3-1 กระบวนการหมักยอยแบบใชอากาศ 237

Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง 9.3.2 ระบบการเผาในเตาเผา (Thermal Conversion Technology) เป็นการทำลายขยะมูลฝอยด้วยวิธีการเผาทำลายในเตาเผาที่ได้ รับการออกแบบก่อสร้างที่ถูกต้องและเหมาะสม โดยต้องให้มีอุณหภูมิใน การเผาที่ 850 - 1,200 องศาเซลเซียส เพื่อให้การทำลายท่ีสมบูรณ์ที่สุด แต่ในการเผามักก่อให้เกิดมลพิษด้านอากาศได้แก่ ฝุ่นขนาดเล็ก ก๊าซพิษ ต่างๆ เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfer dioxide: SO2) เป็นต้น นอกจาก นี้แล้วยังอาจเกิดไดออกซิน (Dioxins) ซ่ึงเป็นสารก่อมะเร็งและเป็นสารที่ กำลังอยู่ในความสนใจของประชาชน ดังนั้น จึงจำเป็นจะต้องมีระบบ ควบคุมมลพิษทางอากาศและดักมิให้อากาศที่ผ่านปล่องออกสู่บรรยากาศ มีค่าเกินกว่าค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศจากเตาเผาท่ีกำหนด ระบบ การเผาขยะทีม่ ีหลายเทคโนโลยี เช่น เตาเผาระบบ Mass burn เปนการเผาท่ีถูกออกแบบใหเผา ทําลายขยะโดยไมตองมีการคัดแยก หรือปรับปรุงคุณภาพขยะ (processing) กอนเผา เชน รถเก็บขยะมาจากบานเรือนเปนถุงดํา ก็นํา ขยะทั้งถุงเขาไปเผาทันที ซึ่งเตาเผาแบบ Mass burn ถาดําเนินการไมดี เชน ความรอนไมสูงพอ เน่ืองจากขยะมีความช้ืนก็จะกอใหเกิดมลพิษ อากาศจากการเผาไมสมบูรณ และมีขอเสีย คือ ตองใชเชื้อเพลิง ชวยในการเผาขยะ ทําใหสิ้นเปลืองคา operate มากๆ ที่ใชอยูในไทยไดแก เตาเผาที่ สมุย และภูเก็ต หรือเตาเผาขนาดเล็กใน เทศบาล หรือ อบต. ตางๆ เตาเผาระบบ Gasification เปนระบบการเผาท่ีใชออกซิเจน ต่ำกวาคา ตามทฤษฎีทําใหเกิดการเผาไหมไมสมบูรณ โดยขยะจะถูก ทําลายเปนเถาถาน สวนกาซท่ีเกิดจากการเผาไหมไมสมบูรณ เชน CO H2 จะถูกนําไปทําปฏิกิริยากับ catalytic converter substance ทําใหไดน้ำมัน หรืออาจจะนํากาซท่ี เกิดขึ้นไปเตาทําลายก็จะใหค วามรอน 238

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง สูง ซ่ึงนําพลังงานความรอนไปใชประโยชน เชน ผลิตไฟฟาจากไอน้ำ (Steam Turbine Generator) เตาเผาแบบไพโรไลซิส (Pyrolysis) เปนการเปลี่ยนของเสีย ประเภทพลาสติกใหเปนน้ำมัน โดยวิธีการเผาในเตาเผาแบบไพโรไลซิส (Pyrolysis) ดวยการควบคุมอุณหภูมิและความดัน และใชต ัวเรงปฏิกิริยา (Catalysis) ท่ีเหมาะสม ทําเกิดการสลายตัวของโครงสรางของพลาสติก (Depolymerization) และจะไดผลิตภัณฑเปนเชื้อเพลิงเหลว ที่สามารถ นําไปผานกระบวนการกล่ันเพื่อใชเปนเชื้อเพลิงเหลวในเชิงพาณิชยได กระบวนการไพโรไลซิสจะทําใหเกิดผลิตภัณฑใดออกมาน้ัน ข้ึนอยูกับ ปจจัยหลายประการ ท้ังอัตราการใหความรอน (Heating Rate) อุณหภูมิที่ทําปฏิกิริยา (Temperature) และเวลาที่ทําปฏิกิริยา (Residence Time) โดยหากตองการผลิตภัณฑหลัก คือ ของเหลว ซ่ึงอยูในรูปของน้ำมัน จะตองทําปฏิกิริยาไพโรไลซิสแบบเร็ว (Fast Pyrolysis) ซ่ึงอัตราการใหความรอนสูงมากกวา 1,000 0C ตอวินาที ทั้งมีอุณหภูมิปานกลางและระยะเวลาที่ทําปฏิกิริยา โดยเฉพาะของสาร ไอระเหยจะตองสั้นมาก แตหากตองการผลิตภัณฑหลัก คือถานชาร จะตองใชอัตราการใหความรอนต่ำ อุณหภูมิปานกลางและระยะเวลาที่ทํา ปฏกิ ริ ยิ านาน หรอื ทเ่ี รยี กวา ปฏกิ ริ ยิ าไพโรไลซสิ แบบชา (Slow Pyrolysis) ระบบพลาสมาอารค (Plasma Arc) โดยพลาสมา คือ ละอองกาซรอน ซ่ึงเปนผลมาจากการปลอยกระแสไฟฟา เพื่อใหควา มรอนกับกาซ เชน ออกซิเจน หรือไนโตรเจน ท่ีมีความรอนสูง มากกวา 3,000 0C สามารถประยุกตใชกับงานการเชื่อม การตัดหรือการจัดการ กากของเสียได ในการประยุกตใชกับกระบวนการกําจัดของเสีย เชน ขยะชุมชนน้ันเปนการใชกาซรอนจากพลาสมาอารคทําใหเกิดการ หลอมละลาย โดยสารอนินทรียจะกลายเปนเศษแกว สวนสารอินทรียและ 239

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง บทที่ 9 ระบบบริหาร ัจดการขยะ ไฮโดรคารบอน เชน พลาสติกหรือยาง จะกลายเปนกาซ ขอดีของระบบนี้ ี้น ืคอ ความรอนที่มีอุณห ูภมิสูงมาก สามารถใ ชในการเผาทําลายขยะมูลฝอยไ ดอ ยางมี ประสิท ิธภาพ แ ต ตองใ ช คือ ความรอนท่ีมีอุณหภูมิสูงมาก สามารถใชในการเผาทําลายขยะมูลฝอย เงินลงทุนสูง และ ัยงอ ูยใน ้ัขนของ การ ัพฒนา ไดอยางมีประสิทธิภาพ แตตองใชเงินลงทุนสูง และยังอยูในขั้นของ 9.3.3 ระบบ ฝงกลบอยาง ูถกสุขา ิภบาล (Sanitary Landfill) การพัฒนา เปนการกําจัดขยะมูลฝอยโดยการ ํนาไปฝงกลบในพื้นท่ีที่ไ ดจัดเตรียมไ ว ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีที่ไ ดรับการ 9.3.3 ระบบฝังกลบอย่างถูกสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) ัคดเลือกตามหลัก ิวชาการท้ังทาง ดาน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม ิวศวกรรม สถาปตยกรรม และการ ิยนยอม จากประชาชน จาก ั้นนจึงทําการออกแบบและกอสราง โดยมีการวางมาตรการปองกันผลกระทบท่ีอาจเกิด ้ึขน เป็นการกำจัดขยะมูลฝอยโดยการนำไปฝังกลบในพื้นท่ีท่ีได้จัด เ ชน การปนเปอนของ ํ้นาเสียจากกองขยะมูลฝอยท่ีเรียก วา ้ํนาชะขยะมูลฝอย (Leachate) ซึ่ง ืถอ วาเปน ํ้นาเสีย เตรียมไว้ ซึ่งเป็นพ้ืนที่ท่ีได้รับการคัดเลือกตามหลักวิชาการทั้งทางด้าน ที่มี คาความสกปรกสูงไหลซึมลงสู ้ัชน ้ํนาใ ต ิดน ทําให ุคณภาพ ้ํนาใ ต ิดนเส่ือมสภาพลงจนสงผลกระทบ ตอ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วิศวกรรม สถาปัตยกรรม และการยินยอม ประชาชนท่ีใ ช ้ํนาเ ่ืพอการอุปโภค และบริโภค จากประชาชน จากนั้นจึงทำการออกแบบและก่อสร้าง โดยมีการวาง มาตรการป้องกันผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึน เช่น การปนเปื้อนของน้ำเสียจาก กองขยะมูลฝอยที่เรียกว่า น้ำชะขยะมูลฝอย (Leachate) ซ่ึงถือว่าเป็น น้ำเสียท่ีมีค่าความสกปรกสูงไหลซึมลงสู่ช้ันน้ำใต้ดิน ทำให้คุณภาพ น้ำใต้ดินเสื่อมสภาพลงจนส่งผลกระทบต่อประชาชนท่ีใช้น้ำเพื่อการอุปโภค และบริโภค นอกจากนี้ยังต้องมีมาตรการป้องกันน้ำท่วม กลิ่นเหม็น และ ผลกระทบต่อสภาพภูมิทัศน์ รูปแบบการฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล อาจใช้วิธีขุดให้ลึกลงไปในชั้นดินหรือการถมให้สูงข้ึนจากระดับพ้ืนดิน หรือ อาจจะใช้ผสมสองวธิ ี ซง่ึ จะข้ึนอยู่กบั สภาพภูมปิ ระเทศ 240

นอกจากนีย้ ังตองมมี าตรการปอ งกนั น้ําทวม กล่ินเหม็น และผลกระทบตอ สภาพภมู ิทศั น รูปแบบการ ฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล อาจใชวิธีขุดใหลึกลงไปในช้ันดินหรือการถมใหสูงขึ้นจากระดับพื้นดิน หรือ อาจจะใชผ สมสองวธิ ี ซึง่ จะขึน้ อยกู ับสภาพภูมิประเทศ รปู ที่ 9.3-2 องค์ประกอบของบอ่ ฝงั กลบ (Landfill) รูปที่ 9.3-2 องคประกอบของบอฝงกลบ (Landfill) Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง 241

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง 242 ตารางท่ี 9.3-1 ตารางแสดงสรปุ ข้อเปรยี บเทียบวิธกี ารกำจดั ขยะมลู ฝอย ขอ้ พจิ ารณา การเผา วธิ กี ารกำจดั มลู ฝอย การฝั่งกลบ การหมักปุ๋ย ข้อดี -ใช้เทคโนโลยีไม่สงู หนกั 1.ด้านเทคนิค ข้อดี ขอ้ ดี 1.1 ความยากง่ายในการดำเนิน -ใช้เทคโนโลยีค่อนข้างสูงการเดิน -ใช้เทคโนโลยสี งู พอควร การและซ่อมบำรุง เครอ่ื งยงุ่ ยาก ข้อเสยี ขอ้ เสยี ขอ้ เสีย -เจ้าหน้าท่ีควบคุมต้องมีความ -เจ้าหน้าที่ควบคุมต้องมีระดับความ -เจ้าหน้าท่ีควบคุมระดับความรู้ ชำนาญสงู รู้สงู พอควร ธรรมดา 1.2 ประสทิ ธภิ าพในการกำจดั ได ้ ข้อดี ขอ้ ดี ข้อด ี - ปรมิ าณมลู ฝอยท่กี ำจัดได้ -ลดปรมิ าตรได้ 60-65% -ลดปรมิ าตรได้ 30-35% -สามารถกำจัดได้ 100% ที่เหลอื ตอ้ งนำไปฝังกลบหรือเผา ท่ีเหลือต้องนำไปฝังกลบ - ความสามารถในการฆา่ เชอ้ื โรค -กำจัดได้ 100 % -กำจดั ได้ 70 % -กำจดั ได้เพยี งเลก็ นอ้ ย 1.3 ความยืดหยนุ่ ของระบบ ขอ้ เสยี ขอ้ เสยี ข้อดี -ต่ำ หากเกิดปัญหาเคร่ืองจักรกล -ต่ำ หากเคร่ืองจักรกลชำรุดไม่ -สูง แม้ว่าเครื่องจักรกลจะชำรุดยัง ชำรุดไมส่ ามารถปฏิบตั ิการได้ สามารถปฏิบตั ิการได้ สามารถกำจดั หรือรอการกำจดั ได้

ขอ้ พจิ ารณา วิธกี ารกำจัดมูลฝอย 1.4 ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม -นำ้ ผวิ ดนิ การเผา การหมักปุ๋ย การฝงั่ กลบ -น้ำใตด้ นิ -อากาศ -กลิน่ แมลง พาหนะนำโรค -ไมม่ ี -อาจมไี ด้ -มคี วามเป็นไปไดส้ งู 1.5 ลักษณะสมบตั ิของมูลฝอย -ไมม่ ี -อาจมไี ด้ -มคี วามเปน็ ไปได้สูง 1.6 ขนาดทดี่ นิ -มี -ไมม่ ี -อาจมไี ด้ 2. ด้านเศรษฐกจิ 2.1 เงนิ ลงทนุ ในการก่อสรา้ ง -ไม่มี -อาจมไี ด้ -ม ี Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง ข้อเสีย ข้อเสยี ข้อดี 243 -ต้องเป็นสารท่ีเผาไหม้ได้มีค่าความ -ต้องเป็นสารที่ย่อยสลายได้มี -รับมูลฝอยได้เกือบทุกประเภท ร้อนไม่ต่ำกว่า 4,500 kl/kg และ ความชนื้ 50-70% ยกเว้นมลู ฝอยติดเชอื้ หรือสารพิษ ความชื้นไมม่ ากกวา่ 40% ข้อด ี ขอ้ ด ี ข้อเสยี -ใช้เนือ้ ทีน่ อ้ ย -ใชเ้ นอ้ื ท่ปี านกลาง -ใชเ้ นอื้ ท่ีมาก ข้อด้อย ข้อดอ้ ย ขอ้ ดี -สูงมาก -ค่อนขา้ งสงู -คอ่ นขา้ งตำ่

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง ขอ้ พิจารณา วิธกี ารกำจดั มลู ฝอย 2.3 ผลพลอยไดจ้ ากการกำจดั 244 การเผา การหมกั ปุ๋ย การฝง่ั กลบ ข้อดี ขอ้ ด ี ข้อด ี -ไดพ้ ลังงานความรอ้ นจากการเผา -ปุ๋ยอินทรีย์จากการหมักและพวก -ได้กา๊ ซมีเทนเป็นเชอ้ื เพลงิ โลหะท่ีแยกกอ่ นหมัก -ปรบั พื้นทเ่ี ป็นสวนสาธารณะ ท่ีมา : กรมควบคมุ มลพิษ (2536) “การศกึ ษาเปรยี บเทยี บความเหมาะสมของวธิ กี ารกำจัดมลู ฝอย”

10 ระบบบรหิ ารการให้บรกิ าร ของหนว่ ยงานราชการ

ระบบบริหารงานแบบ Smart Government การพัฒนาการใหบ้ รกิ ารของหนว่ ยงานราชการไทย ตวั อยา่ งโครงการ Smart Government

Smart Government ถือเป็นแนวคิดในการพัฒนาการ บริหารงานภาครัฐจากแบบเดิมไปสู่รูปแบบการบริหารงานภาครัฐ แบบใหม่ด้วยการนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ ปฏิบัติงานและให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ การนํา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้จะทําให้เกิดการพัฒนาฐาน ข้อมูลของหน่วยงานของภาครัฐต่างๆ ในทุกระดับ ตั้งแต่ ส่วนกลางจนถึงส่วนท้องถ่ินให้สามารถเชื่อมโยงกัน ทําให ้ ห น่ ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ ส า ม า ร ถ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ง า น ไ ด้ อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล และท่ีสําคัญสามารถขยาย ขีดความสามารถของหน่วยงานของรัฐในการให้บริการประชาชน เพราะการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็นเครื่องมือในการให้ บริการประชาชนโดยวิธีการใช้งานผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์หรือ ท่ีรู้จักกันในนาม e-Government ระบบบริหารแบบน้ีจะทําให้ บริการประชาชนได้อย่างรวดเร็ว ประชาชนเกิดความพึงพอใจ ก่อให้เกิดทัศนคติ ท่ีดีต่อหน่วยงานของรัฐ เป็นการเปิดโอกาสให้ 247

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง ประชาชนรับรู้ถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว เป็นการยกระดับความ โปร่งใสและสร้างความเช่ือม่ันในการบริหารราชการแผ่นดินท่ีประชาชนมี ตอ่ ภาครัฐ 10.1 ระบบบริหารงานแบบ Smart Government Smart Government หรือที่เรียกว่ากันในประเทศไทยว่า e-government คือ การท่ีภาครัฐทุกระดับต้ังแต่ส่วนกลางจนถึงส่วน ท้องถิ่นได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ และพัฒนาหน่วยงานของรัฐ โดยการให้บริการประชาชนผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานให้เกิดประโยชน์ สูงสุดแก่ประชาชน ดังนั้น รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์จึงถือว่าเป็นวิธีการบริหาร จัดการภาครัฐสมัยใหม่ หรือเรียกง่ายๆ ว่าเป็นวิธีการบริหารจัดการ หน่วยงานของรัฐสมัยใหม่เพราะเป็นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและ เครือข่ายสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ การดำเนินงานของภาครัฐ ปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน บริการ ข้อมูลต่างๆ แก่ประชาชน ทำให้ประชาชนได้รับการบริการจากภาครัฐที่ดี ขึ้นและมีความใกล้ชิดกับภาครัฐมากขึ้น อีกท้ังทำให้ประเทศมีความ สามารถในการแขง่ ขนั กับนานาประเทศไดด้ ีขึน้ ดว้ ย กระบวนการทำงานของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ คือ การนำบริการ ต่าง ๆ ของภาครัฐมาทำการออนไลน์ผ่านระบบเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต นั่นเอง ดังน้ัน ส่ืออิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นเคร่ืองมือสำคัญในการเข้าถึงบริการ ของภาครัฐ ความสำเร็จของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์จะเกิดข้ึนได้จากความ ร่วมมือท้ังจากภาครัฐ และภาคประชาชน ซ่ึงผลลัพธ์ท่ีได้นอกจากการ บริการท่ีมีประสิทธิภาพแล้ว การเกิดธรรมาภิบาลและความโปร่งใสท่ีมีเพิ่ม มากข้ึนในกระบวนการทำงานของระบบราชการก็เป็นผลลัพธ์ประการหน่ึง 248

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง เพราะหน่วยงานของรัฐมีการเปิดเผยข้อมูลของตน และประชาชนสามารถ เข้าไปตรวจสอบได้ ซึ่งจะนำไปสู่การลดการคอร์รัปชันได้ ซ่ึงตัวอย่าง รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ท่ีสามารถเห็นได้ในกรณีนี้ คือ เว็บไซต์ www.gprocurement.go.th ซึ่งเป็นแหล่งรวมการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ นนั่ เอง โดยสรุปแม้ว่ารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์จะถูกมองว่าเป็นเพียงเคร่ืองมือ หน่ึงในการเข้าถึงบริการของหน่วยงานของรัฐ แต่ในความเป็นจริงแล้ว รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ถือเป็นรูปแบบการทำงานใหม่ของหน่วยงานของรัฐ ในการพัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน เพื่อเสริมและสร้างให้เกิดความ ทันสมัยในการบริหารงานของภาครัฐ และนำไปสู่การให้บริการเพ่ือ ประโยชน์สุขของประชาชนโดยรวมนนั่ เอง 10.1.1 ประเภทการใหบ้ ริการของรฐั บาลอิเลก็ ทรอนิกส ์ นอกจากรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์จะทำให้เกิดการปรับเปล่ียน กระบวนการและวิธีการทำงานของหน่วยงานของรัฐแล้ว รัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ยังทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการให้บริการของ หน่วยงานของรัฐเช่นเดียวกัน โดยสามารถแบ่งกลุ่มผู้รับบริการออกเป็น 4 ประเภท (ทิพวรรณ หลอ่ สุวรรณรัตน์, 2549) ดังน ้ี 1. การให้บริการจากภาครัฐสู่ประชาชน (Government to Citizen : G2C) เป็นการให้บริการพ้ืนฐานจากภาครัฐหรือหน่วยงานของ รัฐไปสู่ประชาชนโดยตรง ประชาชนสามารถทำธุรกรรมโดยผ่านเครือข่าย สารสนเทศของภาครัฐ อินเทอรเ์ น็ตจึงกลายเปน็ เครื่องมือสำคัญท่ีจะรองรับ และสามารถตอบสนองกับกิจกรรมท่ีประชาชนขอรับบริการได้ เช่น การชำระเงินภาษี การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และการค้นหา ขอ้ มูลซึ่งภาครัฐดำเนินการให้บริการขอ้ มลู ผา่ นเวบ็ ไซต์ เป็นตน้ 249

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง 2. การให้บริการจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน (Government to Business : G2B) เป็นการให้บริการพ้ืนฐานจากภาครัฐหรือหน่วยงาน ของรัฐไปสู่ภาคเอกชน โดยภาครัฐจะต้องให้การบริการที่รวดเร็ว โปร่งใส เป็นธรรม และตรวจสอบได้ รวมถึงมีความถูกต้องของข้อมูล เช่น การจด ทะเบียนการค้า การจัดซ้ือจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ และการชำระภาษี เป็นตน้ 3. การให้บริการจากภาครัฐสู่ภาครัฐ (Government to Government : G2G) เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการ ทำงานระหว่างหน่วยงานของรัฐหรือภายในหน่วยงานของรัฐ โดย เปลี่ยนแปลงรูปแบบการทำงานใหม่ด้วยการใช้ระบบสารสนเทศของภาครัฐ ร่วมกัน เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ มีความรวดเร็วและสามารถเช่ือมโยงข้อมูล ภาครัฐ รวมทั้งสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน ทำให้เกิด การทำงานร่วมกัน เช่น ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบบัญชี และการเงิน ระบบจดั ซือ้ จัดจา้ งดว้ ยอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เป็นตน้ 4. การให้บริการจากภาครัฐสู่ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีของรัฐ (Government to Employee : G2E) การสร้างรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์จะ ทำให้เกิดการให้บริการแก่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพราะรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์จะเป็นเครื่องมือที่จำเป็นเพื่อช่วยในการปฏิบัติงาน เช่น ระบบการพฒั นาบคุ ลากรภาครัฐระบบสวสั ดิการ เปน็ ต้น 10.1.2 ระดบั การใหบ้ ริการของรัฐบาลอิเล็กทรอนกิ ส์ เม่ือภาครัฐได้ริเริ่มการพัฒนาระบบราชการโดยการนำระบบ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์มาใช้งาน หน่วยงานของรัฐจึงต้องมีพัฒนาการ ให้บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์เพ่ิมขึ้นตามลำดับ เช่น การพัฒนาระบบ การให้บริการให้ทันสมัยมากข้ึน เพ่ือให้สามารถรองรับกับการพัฒนา 250

Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง ประเทศในยุคโลกาภิวัตน์ รวมท้ังยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยหน่วยงานของรัฐจะต้องเร่ิม ปรับเปลี่ยนข้ันตอนการดำเนินงานและโครงสร้างการทำงาน โดยเริ่ม พัฒนาระดับการใหบ้ ริการตามลำดับ ดงั น้ี 1. ระดับท่ีหน่ึง ระดับการให้บริการข้อมูลพ้ืนฐาน เป็นระดับ การเผยแพร่ข้อมูล โดยหน่วยงานของรัฐต่างๆ จะต้องจัดให้มีเว็บไซต์เพ่ือ ให้บริการข่าวสารข้อมูลสู่ประชาชน โดยเป็นข้อมูลท่ีถูกต้อง มีคุณค่า ต่อการใช้งาน และมีความทันสมัย ซึ่งปัจจุบันหน่วยงานของรัฐมีบริการ ข้อมูลพืน้ ฐานทางออนไลนผ์ ่านเว็บไซตข์ องหนว่ ยงาน 2. ระดับท่ีสอง ระดับการให้ข้อมูลที่มีการปฏิสัมพันธ์กับ ผู้ใช้บริการ เป็นระดับท่ีมีการตอบโต้โดยหน่วยงานของรัฐจะต้องจัดให้มี เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์กับประชาชนได้ ประชาชน สามารถเข้าไปสืบค้นข้อมูล หรือแม้กระท่ังสร้างกระดานสนทนา เพ่ือให้ ประชาชนได้ร้องทุกข์ ฝากปัญหาต่างๆ และมีการตอบกลับมาของ หนว่ ยงานของรัฐในเวลาทเ่ี หมาะสม 3. ระดับท่ีสาม ระดับการให้บริการธุรกรรมออนไลน์ เป็น ระดับที่มีการทำธุรกรรมออนไลน์ โดยหน่วยงานของรัฐจะต้องจัดให้มี เว็บไซต์หน่วยงานของรัฐที่ประชาชนสามารถดำเนินธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์เสมือนกับติดต่อกับหน่วยงานของรัฐเอง เว็บไซต์ต่าง ๆ ของหน่วยงานของรัฐต้องสามารถดำเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ได้โดย สมบูรณ์เหมือนร้านค้าอิเล็กทรอนิกส์โดยท่ัวไป ซึ่งจะเป็นการตัดขั้นตอน การให้บริการ โดยท่ีประชาชนไม่ต้องเดินทางไปทำธุรกรรมด้วยตัวเอง ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดเจน ได้แก่ ระบบ e–Revenue เป็นระบบการรับชำระ ภาษีประเภทต่าง ๆ ผ่านระบบอนิ เทอรเ์ น็ตของหน่วยงาน 251

Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง 4. ระดับท่ีสี่ ระดับการเช่ือมโยงข้อมูลและธุรกรรมออนไลน์ ข้ามหน่วยงาน เป็นระดับการบูรณาการข้ามหน่วยงาน โดยหน่วยงานของ รัฐจัดให้มีการรวมการให้บริการต่าง ๆ ที่ประชาชนต้องไปดำเนินการหลาย ๆหน่วยงานของรัฐ ให้มาดำเนินการภายในหน่วยงานของรัฐเพียงหน่วยงาน เดียว เพื่อให้ประชาชนมีความสะดวกในการดำเนินธุรกิจของตัวเองได้อย่าง รวดเรว็ อย่างไรก็ตาม หน่วยงานของรัฐส่วนใหญ่มีการพัฒนาถึงระยะ ท่ีสาม คือ ในหลายๆ หน่วยงานสามารถให้บริการทางด้านธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ได้ เช่น ประชาชนสามารถยื่นแบบชำระภาษีผ่านทาง เวบ็ ไซต์ไดโ้ ดยไมต่ ้องเดินทางไปท่กี รมสรรพากร เป็นต้น แต่ยงั มีหน่วยงาน ของรัฐอ่ืนท่ียังคงอยู่ในระยะท่ีหน่ึงและระยะที่สองอยู่ ซ่ึงยังคงต้องใช้เวลา ในการพัฒนาเพ่อื ให้ผ่านไปสู่ระยะท่สี ่ไี ด้ในท่ีสุด 10.1.3 ประโยชน์ของรฐั บาลอิเลก็ ทรอนิกส์ สามารถแบ่งออกเปน็ 2 ดา้ น ดงั น้ี 1. ด้านประโยชน์ต่อประชาชน รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ทำให้ ประชาชนได้ใช้ระบบสารสนเทศท่ีดีกว่าเดิมสามารถเข้าถึงการบริการของ รัฐได้มากข้ึน ประชาชนมีช่องทางในการรับบริการที่สะดวก รวดเร็ว และ สามารถรับบริการไดท้ ุกที่ทกุ เวลา 2. ด้านประโยชน์ต่อหน่วยงาน รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ทำให้ หน่วยงานของรัฐสามารถลดต้นทุนในการดำเนินงาน สามารถปรับปรุง คุณภาพการให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพ่ิมประสิทธิภาพในการให้บริการพ้ืนฐานของรัฐ การทำงานของหน่วยงาน ของรัฐมีช่องทางการส่ือสารท่ีมากขึ้นท้ังภายในหน่วยงานของรัฐและ ระหว่างหน่วยงานของรัฐ และสร้างความโปร่งใสในการดำเนินงาน รวมท้ัง 252

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง เกิดการผลักดันให้หน่วยงานของรัฐให้บริการข้อมูลที่ดี มีมาตรฐาน และ มีคุณภาพแก่ประชาชน รวมท้ังเป็นช่องทางการส่ือสารภายในหน่วยงาน ของรัฐและระหวา่ งหนว่ ยงานของรัฐดว้ ย 10.2 การพัฒนาการใหบ้ ริการของหนว่ ยงานราชการไทย 10.2.1 รฐั บาลอเิ ล็กทรอนิกสก์ บั การพฒั นาระบบราชการไทย จากปัญหาที่สั่งสมมายาวนานของระบบราชการไทย ท้ังปัญหา โครงสร้าง ปัญหาการบริหารงาน ปัญหาระบบบริหารงานบุคคลและ บุคลากร ปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบ รวมไปถึงนโยบายทาง การเมืองและกระแสเรียกร้องการปฏิรูปของกลุ่มต่าง ๆ ท่ีต้องการพัฒนา และปรับปรุงระบบราชการให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ ปัจจุบันท่ีมีการเปล่ียนแปลงทั้งสภาพแวดล้อมของประเทศ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ประชากร และเทคโนโลยี อย่างรวดเร็ว และเพื่อให้ตอบ สนองต่อความต้องการของประชาชนท่ีมีความต้องการและความคาดหวัง ต่อการได้รับการบริการจากภาครัฐเพิ่มสูงข้ึน การพัฒนาระบบราชการ จึงกลายเป็นส่ิงจำเป็น และได้มีการนำหลักธรรมาภิบาลของการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) และหลักการบริหารงานภาครัฐ แนวใหม่ (New Public Management) เข้ามาประยุกต์ใช้กับระบบ ราชการ ปัจจุบันรัฐบาลไทยได้มีการกำหนดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 – 2561) มาเป็นกรอบแนวทางหลัก ในการพัฒนาระบบราชการไทย ซึ่งหนึ่งในแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าว คือ การพัฒนาองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย บุคลากรมีความเป็น มืออาชีพ ซึ่งกลยุทธ์สำคัญที่จะนำไปสู่ความสำเร็จของยุทธศาสตร์ดังกล่าว คือ การส่งเสริมและพัฒนาหน่วยงานของรัฐไปสู่การเป็นรัฐบาล อิเลก็ ทรอนิกส ์ 253

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง การส่งเสริมและพัฒนาหน่วยงานของรัฐไปสู่การเป็นรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์นั้น เป็นการส่งเสริมให้ส่วนราชการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ภายในหน่วยงาน เพ่ือปรับปรุงระบบบริหารจัดการงานภาครัฐ ทำให้ การบริหารงานของภาครัฐมีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิ่งขึ้น และนำไปสู่ การยกระดับคุณภาพการให้บริการแก่ประชาชน โดยประชาชนสามารถ เขา้ ถึงบริการของรัฐได้งา่ ยขน้ึ ดังน้ัน รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์จึงถือเป็นกลยุทธ์และมาตรการ หน่ึงในการพัฒนาระบบราชการไทยเพราะสร้างวิธีการปฏิบัติงานใหม่ท่ีลด ข้ันตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน ส่งผลให้ประชาชนผู้รับบริการเกิด ความพึงพอใจในคณุ ภาพการให้บรกิ ารของหนว่ ยงานของรฐั มากข้นึ รฐั บาล อิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นเครื่องมือปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานและ พัฒนาการให้บริการประชาชนให้เกิดความสะดวก รวดเร็วอย่างเป็น รูปธรรมชดั เจน 10.2.2 ปจั จยั ส่งเสริมสคู่ วามสำเร็จของรัฐบาลอิเลก็ ทรอนิกส ์ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์จะประสบความสำเร็จไม่ได้หากไม่ได้รับ ความร่วมมืออย่างเต็มใจจากท้ังภาครัฐและภาคประชาชน การจะเป็น รัฐบาลอเิ ล็กทรอนิกส์ได้นัน้ จะต้องมคี วามพรอ้ มในหลาย ๆ ด้าน ดงั น้ี 1. ผู้บริหารระดับสูง การสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงของ หน่วยงานจะเป็นแรงผลักดันให้มีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์เป็นเรื่องใหม่ที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ทุกฝ่าย และการนำเทคโนโลยีมาใช้เพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการทำงานของ หน่วยงานของรัฐจะต้องมีการสนับสนุนด้านงบประมาณจากผู้บริหาร ระดับสูง เพื่อส่งเสริมบุคลากรในการฝึกอบรมเรียนรู้การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศใหม่ ๆ ในการนำมาใช้พัฒนาและปรับปรุงระบบบริหารจัดการ ของหน่วยงาน 254

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง 2. บคุ ลากรและความรคู้ วามเขา้ ใจของบคุ ลากร หากหนว่ ยงาน ของรัฐมีบุคลากรท่ีมีทักษะ มีความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เพียงพอ และช่วยพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับ บุคลากรอ่ืน ๆ ในหน่วยงาน รวมทั้งบุคลากรมีความพร้อมในการ เปลย่ี นแปลงด้านวัฒนธรรมองคก์ ร ยอมรับการเปลย่ี นแปลงดา้ นนวตั กรรม มีการแบ่งปันข้อมูลสารสนเทศให้แก่กันแล้ว จะนำไปสู่ประโยชน์ในการ ปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน ท้ังน้ี เน่ืองจากบุคลากรของ หน่วยงานของรัฐ ถือได้ว่าเป็นผู้ปฏิบัติ หากขาดความรู้ความเข้าใจหรือ ไม่ยอมรับการเปล่ียนแปลงก็จะทำให้เกิดความล่าช้า และมีผลต่อความ สำเร็จในทางปฏิบตั ิได ้ 3. นโยบายภาครัฐและความชัดเจนของกฎระเบียบที่รองรับ การมีนโยบายภาครัฐและความชัดเจนของกฎระเบียบที่รองรับ จะทำให้ เกิดการกำหนดกรอบแนวทางมาตรฐานในการแลกเปล่ียนข้อมูลที่ชัดเจน และนำไปสู่การแลกเปล่ียนและเช่ือมโยงข้อมูลสารสนเทศได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ดังน้ัน ควรระบุความชัดเจนในการแบ่งปันข้อมูลสารสนเทศ ในระดับต่าง ๆ ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงาน เพื่อให้การ บริการเป็นไปอย่างรวดเร็ว รวมถึงต้องมีการกำหนดกรอบงบประมาณ กรอบดา้ นกฎหมาย และความปลอดภัยดา้ นขอ้ มลู สารสนเทศดว้ ย 4. การพัฒนาระบบสารสนเทศภาครัฐและโครงสร้างพื้นฐาน ด้านส่ือสารโทรคมนาคม ถือเป็นปัจจัยที่สำคัญ เพราะหากมีการจัดระบบ งานอิเล็กทรอนิกส์ ระบบการให้บริการภาครัฐ และระบบเครือข่าย สารสนเทศภาครัฐท่ีสมบูรณ์แล้ว จะสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพในการ บริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ตรงเวลา และถูกต้อง ทั้งน้ี ความพร้อมของอุปกรณ์และเคร่ืองมือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์และฐานข้อมูล ต้องมีความเพียงพอ ทันสมัย สะดวก 255

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง ใช้งาน รวมทั้งต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ของหน่วยงานของรัฐ ให้ได้มาตรฐานและสามารถเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานของรัฐได้ เพราะ หากสามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกันในลักษณะ โครงข่ายข้อมูลที่เช่ือมต่อถึงกันได้แล้ว จะทำให้เกิดกระบวนการทำงานที่มี ประสิทธภิ าพมากขน้ึ รูปท่ี 10.2-1 Smart Governance suppบlyทที่c1h0aรiะnบ บบริหารการใหบริการของหนว ยงานราชการ ที่มา: https://avobทloม่ี gาuj:e.hwtotrpdsp:r/e/sasv.coobmlo/2g0u1j5e/0.w6/ordpress.com/2015/06/ รปู ที่ 10.2-1 Smart Governance supply chain 10.3 ตัวอยา่ งโครงการ Smart Government 10.3 ตวั อยางโครงการ Smart Government เโปดยน กกาารรนตปาํอจรบจะสุบบนอทันบอิเัหนกลงนาตส็กรวอ ใมทยนหงปัยรโบ ายอัจนรบสจนกิขาุบาิะกอยรันงดสรทรฐัห์วซาัฐบงนกม่ึงาอมกี่วลเิ ารยลีคอรก็วงเิวปลาทดารก็นรมเับทอรขสเรนป็วออะิกลมงนดส่ียราิกวซนัฐกสกึ่งวมมขธิแซีกีคกีึ้นล่ึงาวาเะปารรรโมใปน หดวสกรบดะยรับรดเะกเกิรวบปาา็กววลรรมแนใี่ยลนหากะนใามำรหรวคีรวหิธ้บวะดนีากรเบมรงึ่าิกว็ใบทรนามนัใกรกาหสแใาาห้บมรรกบัยพรใ่ปริกหัฒสรกิ า้บะนะารดราชรใแวริหกากกะช้มาบปรนรีครบวะแทวรดชลาาาเารมชะงช็วกนมาแารลกแะขลย้ึนะัง สนบั สนนุ กระบยวังนเกปา็นรทกํางราตนอขบองสภนาอครงัฐตใ่อหนมปีโยรบะสาทิยธริภัฐาบพาลโดอยิเใลช็กเททครโอนโนลิกยสี ์าซรส่ึงนเปเท็นศกเรขะามบาวปนรกับาปรรุงระบบ การทาํ งานและหขนั้ ตึ่งอในกาารรใพหบัฒรนิการรปะรบะบชารชานชกซางึ่ เรรแาสลาะมสานรถับทสํานควุนากมรเขะาบใจวรนัฐกบารลทอิเำลงก็ าทนรขออนงิกภสอายคา งงาย ๆ จากตัวอยางระรบัฐบใรหัฐ้มบาีปลรอะเิ สล็กิททธริภอานพกิ สโทดเ่ี ปยนใชรปู้เทธครรโมนโดลงั ยตัวีสอายราสงตนอ เทไปศนเี้ข้ามาปรับปรุงระบบการ 10.3.1 การจัดซ้ือจดั จางของภาครฐั ดว ยระบบอเิ ล็กทรอนิกส (e-Procurement) 256ปจ จบุ นั มกี ารจดั ซือ้ จดั จางของภาครฐั ดวยระบบอิเล็กทรอนิกส โดยใชร ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศมา สนบั สนนุ การใหบ ริการที่เกยี่ วขอ งกับกิจกรรมการจัดซอื้ จดั จา งของภาครัฐ เชน การตกลงราคา การสอบราคา

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง ทำงานและขั้นตอนการให้บริการประชาชน ซ่ึงเราสามารถทำความเข้าใจ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย ๆ จากตัวอย่างระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ที่เปน็ รูปธรรม ดังตัวอยา่ งต่อไปน ้ี 10.3.1 การจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส ์ (e-Procurement) ปัจจุบันมีการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการให้บริการท่ีเกี่ยวข้องกับ กิจกรรมการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ เช่น การตกลงราคา การสอบราคา การประกวดราคา การจัดซื้อแบบออนไลน์ การแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร ระหว่างหน่วยงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ การลงทะเบียนบริษัทผู้ค้า การทำงานอื่น ๆ ที่เก่ียวข้องในกระบวนการจัดซ้ือจัดจ้างที่เป็น อิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบออนไลน์ทั้งในลักษณะที่เป็นระบบปิด เช่น อินทราเน็ต หรือระบบเปิด เช่น อินเทอร์เน็ต การจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์จะช่วยป้องกันการทุจริต ช่วยลดต้นทุนการจัดซื้อ เพิม่ ประสิทธิภาพ ทำใหก้ ารทำงานของหน่วยงานของรัฐเป็นระบบ 257

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง รูปที่ 10.3-1 ตัวอยา่ งเวปไซตร์ ะบบการจดั ซบ้ือททจ่ี 1ัด0จระ้าบงบบภริหาาครกรารฐั ให บ รกิ ารของหนว ยงานราชการ ข้ันตอรูปนทสี่ 10ำ.ค3-ัญ1 ตขัว้ันอยตา งอเวนปหไซนตรึ่งะขบบอกงารกจาดั รซอ้ืจจัดัดจซา้ืองภจาัดครจฐั ้างของภาครัฐ (ดผาe้วน-ยรAะรบuขะบcั้นอบtติเiลอบo็กนnอทสําร)ิเคอลัญนซ็กิกขึ่งน้ัสทตเ(ปอeรน-็อนAหuนนกcง่ึtิกาขioอรnสงจ)ก์ ซาัดครึ่งจเซือปัด้ือนซกือ้กจจาัดราัดจจรจัดา ป้งซาขื้องรอจดงะัดภ้จวมาาคยูงลรดวัฐผวดิธยว่าีวสยิธนรีอสะรอบบบะบรรอบาาิเคลบคา็กแอทาบริแเบอลอบน็อกิกบนสทไอ ลครนอืออโนดกนยาไรผิกลปานรนสะท์ ์ มา ู ลง โระดบยบอผิเล่าก็ นทรทอานกิงสร ะซ่ึงบเปบน กอาิเรลจดั ็กซ้ือทสรนิ อคา นทว่ีิกางสข์ายซใน่ึงทเอปง็ตนลกาดาทรั่วไจปัดหซรือื้อจสัดจินา งคบร้ากิ ทาร่ีวซาึ่งสงาขมาารยถกใาํ นห นด ทกลกาั ้อรษจงณัดตะซไ้อืลดจแาัดนดจชา ทัดงสั่โวนิดไยคปผาหเู สรหนืออบรรรือากิ คาจารทัดที่ดมี่ จที ีม้าสี่ ูลุดงคจบา ะสรไงู ดหิกร รับาือกมราีคซรวคึ่งาดั มสเตลาออื งมกกกาารารใรนถปปรกระมิมำาูลหณผนามนาดรกะแลบลักบะลอษกัิเลษณก็ ณทะะรไอสดนินิกค้แสานไเ หม่ชมมาีคัดะวกาับม โซดาํ้ ซยอนผมู้เาสกนนกั ดอว รยาคาท่ีดีท่ีสุดจะได้รับการคัดเลือก การประมูลผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์เหมาะกับการจัดซ้ือจัดจ้างสินค้าหรือบริการท่ีมีมูลค่าสูง หรือมีความต้องการในปริมาณมากและลักษณะสินค้าไม่มีความซ้ำซ้อน มากนกั ด้วย 258 10-7 Smart City: การพฒั นาและปรับใชระบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง 10.3.2 ระบบการบริหารงานการเงินการคลังภาครัฐแบบ อิเล็กทรอนิกส์ (Government Fiscal Management Information System – GFMIS) ระบบการบริหารงานการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ ถือเป็นการดำเนินงานปรับปรุงระบบการจัดการด้านการเงินการคลังของ ภาครัฐให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน โดยนำระบบโปรแกรม สำเร็จรูปมาใช้เช่ือมโยงข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ี ติดต้ังที่ส่วนกลางของส่วนราชการทุกแห่ง และหน่วยงานหลักทุกหน่วยงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือจัดทำระบบงานหลัก 5 ระบบให้มีความเช่ือมโยงกัน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ คือ ระบบบริหารงบประมาณ ระบบจัดซ้ือจัดจ้าง ระบบการเงินและบัญชี ระบบบัญชีต้นทุน และระบบบริหารบุคคล ให้เป็น ไปในทิศทางเดียวกับการพัฒนาระบบราชการท่ีเน้นประสิทธิภาพและ ความคล่องตัวในการดำเนินงาน รวมทั้งทำให้เกิดการใช้ทรัพยากรภายใน หน่วยงานอย่างคุ้มค่าเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลสถานภาพการเงินการคลัง ภาครัฐท่ีถูกต้องรวดเร็ว และสามารถตอบสนองนโยบายการบริหาร เศรษฐกจิ ของประเทศได้ 259

สําเร็จรูปมาใชเ ชื่อมโยงขอมูลและตดิ ตอสอื่ สารผานเคร่ืองคอมพวิ เตอรที่ติดต้ังทสี่ ว นกลางของสว นราชการทุก แหง และหนว ยงานหลักทกุ หนวยงาน โดยมีวตั ถปุ ระสงคเพอ่ื จดั ทําระบบงานหลกั 5 ระบบใหม คี วามเชื่อมโยง Smart Cกitนั yดว กยราระพบบัฒอนเิ ลาแ็กลทะปรอรนับิกใชสร้  คะบอื บรIะTบใบนบกรารหิ บารรงิหบารปจรดัะมกาารณเมรอื ะงบ บจดั ซื้อจัดจา ง ระบบการเงินและบัญชี ระบบ บัญชีตนทนุ และระบบบริหารบุคคล ใหเ ปนไปในทิศทางเดยี วกบั การพัฒนาระบบราชการที่เนนประสิทธิภาพ และความคลองตัวในการดาํ เนินงาน รวมทั้งทาํ ใหเกดิ การใชทรพั ยากรภายในหนวยงานอยางคมุ คาเพือ่ ใหไดม า รซูึ่งปขทอม่ี ูล1ส0ถา.น3ภ-า2พกตารัวเงอนิ กยา่ารคงลเังวภปาคไรซฐั ทต่ถี ูก์รตะอบงรบวดบเรรว็ ิหแลาะรสกามาารถเตงอินบกสนาอรงคนโลยบังาภยกาาครบรรัฐิหแารบศรบษฐ อกิจิเขลอก็ งปทรระเอทศนไดิก ส์ ทท่มี ีม่ า า: ht:tp:h//twtwpw:./g/fmwisw.gow.th./ggffmmis_isus.1g.hotm.tlh/gfmis_us1.html รปู ท่ี 10.3-2 ตัวอยา งเวปไซตระบบบริหารการเงินการคลังภาครฐั แบบอิเลก็ ทรอนกิ ส 10.3.3 การชำระภาษผี ่านอินเทอร์เน็ต (e-Revenue) การชำระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ตเป็นการให้บริการแก่ผู้เสียภาษี ดว้ ยการมีโครงการยนื่ แบบแสดงรายการเสยี ภาษผี ่านเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อเพิ่มทางเลือกในการบริการให้แก่ผู้เสียภาษี และเพ่ืออำนวยความ สะดวกและรวดเร็วให้กับผู้เสียภาษี เป็นการลดต้นทุนของผู้เสียภาษีในการ เSดmaินrtทCiาtyง: ไกาปรพเัฒสนียาแภละาปษรบั ีใชแระลบบะเITปใน็นกากรบารริหาลรจดดั กภาราเมรือะง ลดขั้นตอน และลดเวลาในกา1ร0-8 ดำเนินงานรับแบบแสดงรายการเสียภาษี ชำระภาษี งานบันทึกข้อมูล และ งานจัดเก็บเอกสาร ตลอดจนเป็นการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน รวมทั้งลดต้นทุนด้านบุคลากรของหน่วยงาน ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพ ในการบริหารงานจัดเก็บภาษีอากร รวมท้ังทำให้เกิดระบบงานเพ่ือใช้ในการ ควบคุม ติดตามผล และตรวจสอบการทำงานของเจ้าหน้าท่ีได้ทุกระดับชั้น 260

10.3.3 การชําระภาษผี า นอินเทอรเน็ต (e-Revenue) รายการเกสยีารภชาําษรีผะา ภนาเคษรีผือาขนาอยินอเินทเอทรอเรนเ็ตนเ็ตปนเSพกื่mอาเรaพใrหิ่มtทบCารงิiกtเาyลรือแกกกใาผรนูพเกสาฒั ียรภบนาารแษิกลี าะปรดรใวหับยใแชกก้ราผะรบูเมบสีโียคITภรางในษกกีาแารรลยบะื่นรเแหิพบา่ือรบอจแําัดนสกดวารยงเมือง ความสะดวกและรวดเรว็ ใหก ับผเู สยี ภาษี เปนการลดตน ทุนของผูเสียภาษีในการเดินทางไปเสียภาษี และเปน ขกบอาุครมลเแลปูลาลดก็นภแะราลขมทระอะาุกงงาตลหขนดนร้ันจขวฐัด้ันตยเาตงกอนอา็บนนนเเอดแกกสลียาสงะวารผลรกลทดใเตันำหวลลงเทอกาาด้ัิงใดนนจปปกนรราแเะประสลดนเิทําะทกธเาสนิภศรินารลเงพก้าดาใตงนิดนนมรกคับทาาวุแนรตบาบครมบารใิหฐแชโาสาปจรดานงรงยาร่ใงตนานใาจยสงดัดกใๆเา้ากนรน็บเทรสภ่ีกเะียกาาภิดบษราขีอบษึ้นปาีงกชฏรารําวินบรมะัทรตภวแั้งิงามลลษาทดีนะั้ตงงทาเนกนําทใใบหิดุนหันด้เทกาินึดก ระบคบวงาานมเเพป่ือ็นใชธในรกรามรคตวอ่ บผคุมู้เสตียิดภตาามษผ ี ล และตรวจสอบการทํางานของเจาหนาท่ีไดทุกระดับชั้นและทุก ขัน้ ตอนการทํางาน และสรา งมาตรฐานในดานการปฏิบัติงาน ใหเปนมาตรฐานเดียวกันท้ังประเทศเกิดความ โปรรงใูปสทในี่ร1ะบ0บ.3งา-น3แลตะัวเกอิดยคว่าางมเเวปปนธไรซรมตตร์ อะผบเู สบียภกาษารี ชำระภาษผี ่านอนิ เทอร์เน็ต ที่มา: https://rdserver.rd.go.th/publish/index.php ทมี่ า: https://rรdปู sทeี่r1v0e.r3.-r3d.ตgัวoอ.tยhา/งpเuวbปlไisซhต/รinะdบeบxก.าpรhชpํา ระภาษผี านอินเทอรเน็ต 10.3.4 ระบบการทำหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Passport หรอื E-passport) แนวคิดนี้เป็นการพัฒนาหนังสือเดินทางจากแบบเดิมมาเป็น หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามปกติแล้วหนังสือเดินทางเป็นเสมือน บัตรประจำตัวใบหน่ึงของประชาชนที่นำมาใช้เป็นสิ่งยืนยันความเป็นตัวตน ของเราได้หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นหนังสือเดินทางที่มีคุณลักษณะ Smaเrฉt Cพityา:ะกาทรพาัฒงนเาทแลคะปนรบั ิคใชร ตะบาบมITขใน้อกการบำรหิหานรจดดั กขารอเมงืออง งค์การการบินพลเรือนระหว่าง10-9 261

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง ประเทศ (ICAO) ที่มีแนวคิดการสร้างมาตรฐานความปลอดภัยเรื่อง เอกสารเดินทาง ซึ่งจะเป็นมาตรฐานท่ีใช้ไบดท้ทท่ี ั่1ว0โลระกบบบโรดิหยารมกาีกรใาหบรรนิกาำรขรอะงหบนบวยงานราชการ แเ1รล0า.วไ3ดห.ห4นนงั รสแอลอมังะนสือ่ิาาเบีกอืเวลยนดบาคเ็กนดินกไรดิ ดินทาทติ้วนรทา้ดมเ้ีรรทปงา้ววืออเํางนปยจอหนกนพริเเนาิลกคเูปรสงัิสก็ สรพสมใทูจ่ือบือ์ฒัมอื รนเงนหอนาด์โบนใาินนดAหชตักิท้ายuรสน้ใาอปtนเงังไปoสรัตอวกนะmอืิเ้ใโลจหาเนนaดาํก็รนชมtินตทบังiวัิพทcัสตรันใาอือซบิเงGนทพเหึ่งจดกิaึฝกื่อนาินสtกึ่งเทังขeแปขอ(า้อบอEงรยณlมงทบียeู่ใปีม่เูลนcบดรคีจtชะิมเเrุณุดลทoชมีวลา่มผnาียภชักเiห่าบปcานษนนนพทขPณแหี่น้อังaะนดสําsม(เsมฉังbนือูลpสาพiเรoใใoือาดชนะrะเmเินtดหปทหินหeทนาวนทรtงาส่าrังอืเาง่งิงiทสงcยปEคอือืนแ-รนิเpdยเลละิคดaันa็กะเsินคtททตสsaวทาpราศา)มอoมมาขนrงเเโาtปอิกชกด)รกนส่นับถยําต ตหวั าตนมนดปขขกออตงงิ องคก ารกผาู้ถรบือนิ หพนลังเรสอื ือนเรดะินหวทาางงปรปะรเทะศโย(IชCนAO์ท)่ีไทด่ีม้รีแับนวคคือิดกเากริดสรคาวงามมาตรรวฐดาเนรค็ววแาลมะปแลมอด่นภยัยำเใรน่ืองเอกสาร เดินทาง ซก่ึงาจระตเปรน วมจาสตรอฐบานเทพใ่ี ่ือชไพดิสท ่วัูจโนลก์ตัโวดบยุคมกีคาลรนเํากระิดบคบวอาิเลม็กสทะรดอนวิกกสตม่อากใชาในรกเดารินบทันาทงึกขขอ มงูลชีวภาพ (เขbคอiรoมื่อmูลงใeAนtuปแหritลcนรoังะะmdสไชaaือดtาtaเ้รiชดc)บัินนเGชกทaน าาสteงรลากยามณับยอานผจมรูถิว้ ุดถรมือผับอืปหาในน้อรนแัปูงงสดรใกบือนะันหเรดดกะนบัินหาาสทวรไาาาวปงงกใปลนลปรชอ ระพิ มะเซทโแ่งึยศปฝชโงลนดอทงยยไ่ีมไใู ดดนีกรเ้สาลับรูงมตคหรทือวนจำังเพใสกหือสิิดเ้เูจคดกนวนิ ิดโาทดมคายรงวอวาัตแดมโลเนระน็มวส่าแัตาเลเิมชพะาื่อื่อแรเถมถปอนือรายียนําบไใดนเทดกียวาบยร ไตดรสวูงจสทอําบใรหเปู พเกทอ่ื ิดพี่ ค1ิสว0จู าน.ม3ตน-วัา4บเชุคต่อื คถวัลืออเกแยลิด่าะคงไวหดารมนับสังกะสาดรือวยกเอดตมอินรกบัทาใรานเงดรอะนิ เิดทลับาก็สงขาทอกรงลอปรนะกิชาสช์ น สามารถปอ งกนั การปลอมแปลง 262 รปู ที่ 10.3-4 ตัวอยา งหนังสอื เดินทางอิเลก็ ทรอนกิ ส

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง 10.3.5 ระบบบัตรประชาชนอิเล็กทรอนิกส์ หรือบัตรสมาร์ทการ์ด (Smart Card) ระบบบัตรประชาชนอิเล็กทรอนิกส์เป็นแนวคิดท่ีจะให้ ประชาชนใช้บัตรเพียงใบเดียวแทนบัตรประเภทต่างๆ ที่ภาครัฐออกให้ ท้ังหมด เพื่อให้เกิดความสะดวกต่อประชาชนในการพกพาบัตรและ เป็นการประหยัดงบประมาณของภาครัฐในการออกบัตรประเภทต่างๆ ตลอดจนทำให้เกิดความเป็นมาตรฐานเดียวกันในสังคมไทย บัตรประชาชน อิเล็กทรอนิกส์จะมีชิพสำหรับจัดเก็บข้อมูลสำคัญของบุคคลผู้ซึ่งเป็นเจ้าของ บัตรพร้อมลายพิมพ์นิ้วมือเจ้าของบัตร ซ่ึงสามารถนำมาใช้ในการตรวจสอบ พิสูจน์ยืนยันตัวบุคคลในการขอรับบริการต่าง ๆ จากหน่วยงานของรัฐ และจะมีสัญลักษณ์สำหรับตรวจสอบป้องกันการปลอมแปลงบัตรที่มี ประสิทธิภาพ ทำให้ยากแก่การปลอมแปลง รายการในบัตรจะมีทั้งภาษา ไทยและภาษาอังกฤษกำกับในส่วนที่เป็นสาระสำคัญ เพื่อให้ใช้งานได้อย่าง สากล หากในอนาคตหน่วยงานของรัฐมีการนำบัตรประจำตัวประชาชน อิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ใช้กับภารกิจของหน่วยงานให้มากข้ึน จะย่ิงทำให้ ประชาชนได้รับบริการที่สะดวกรวดเร็ว และประหยัดงบประมาณในการจัด เกบ็ และดูแลเอกสารได้เปน็ จำนวนมาก 263

บริการตาง ๆ จากหนวยงานของรัฐ และจะมีสัญลักษณสําหรับตรวจสอบปองกันการปลอมแปลงบัตรที่มี ประสิทธภิ าพ ทําใหย ากแกก ารปลอมแปลง รายการในบัตรจะมที ง้ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษกํากับในสวนท่ี SเmปนaสrtารCะitสyาํ คกัญารเพพัฒื่อในหาแใ ลชะงปารนับไใชดร้อะบยบางIสTาใกนลการหบารกิหใานรอจนัดกาาครตเมหอื นงว ยงานของรัฐมกี ารนําบตั รประจําตวั ประชาชน อเิ ล็กทรอนกิ สม าประยุกตใชกับภารกิจของหนวยงานใหมากขึ้น จะยิ่งทําใหประชาชนไดรับบริการที่สะดวก รวดเร็ว รแลปู ะทป่ีร1ะ0ห.ย3ัด-ง5บปตระวั มอายณา่ ใงนบกาตั รรจปดั เรกะ็บชแลาะชดนแู อลเเิ อลก็กสทารรไดอเ นปนิกจสํา ์นวนมาก ท่ีมา : httpท:/ี่/มwwาw:.mahntatgper:.c/o/.twh/wDaiwly/.VmiewaNneawgs.aesprx.?cNoew.stIhD=/9D53a0i0l0y0/10V6i1e04wNews.aspx?NewsID= 9530000106104 รูปท่ี 10.3-5 ตัวอยางหนังสอื เดินทางอเิ ล็กทรอนิกส 10.3.6 ระบบทะเบยี นราษฎรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-Registration) ระบบทะเบียนราษฎรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Registration) เป็นการจัดทำระบบให้บริการประชาชนทางด้านการทะเบียนด้วยระบบ คอมพิวเตอร์ ประชาชนสามารถใช้บริการทางทะเบียนราษฎร อิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้ ในรูปแบบของการขอรับบริการ ต่าง ๆ เพื่อใช้ตรวจสอบข้อมูลด้านการทะเบียนของผู้ใช้แต่ละคนได้ เช่น การตรวจสอบประวัติการสมรส ประวัติการหย่า การตรวจสอบรายการ Smart Ciทtyะ: กเาบรพียัฒนนชาแ่ือละสปกรับุลใชกระาบรบตITรใวนจกาสรบอรบหิ ารราจดัยกชารื่อเมบืองุคคลทะเบียนบ้านกลาง ซึ่งจะมี 10-11 ระบบฐานข้อมูลทะเบียนกลางเปน็ ระบบฐานข้อมลู หลกั 264

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง ในการดำเนินงาน การจัดทำระบบข้อมูลดังกล่าวถือว่าเป็นการ พัฒนาระบบทะเบียนของประเทศ เพราะได้นำระบบคอมพิวเตอร์ และ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้ ซ่ึงทำให้สามารถจัดทำระบบ บริการประชาชนท่ีทันสมัย มีประสิทธิภาพ สมบูรณ์ ถูกต้อง สะดวก รวดเรว็ และสอดคลอ้ งตอ่ การดำเนนิ ชวี ติ ในปัจจุบนั ของประชาชน ท้ังน้ี ยังมีการดำเนินการพัฒนาระบบโดยมีการขยายการใช้งาน ระบบฐานข้อมูลทะเบียนกลางไปสู่หน่วยงานต่าง ๆ ในภาครัฐท้ังใน ส่วนกลาง ส่วนภมู ิภาค สว่ นท้องถ่นิ รฐั วสิ าหกิจ และองคก์ รอิสระดว้ ยการ เช่ือมโยงระบบคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้หน่วยงานต่าง ๆ ในภาครัฐสามารถ ร่วมใช้ประโยชน์จากระบบทะเบียนอิเล็กทรอนิกส์ในการประกอบการ ทำงาน ท้ังในรูปแบบของการขอตรวจสอบรายการข้อมูลบุคคล เพื่อใช้ ประกอบการให้บริการประชาชนผู้มาขอรับบริการกับหน่วยงาน และใน รูปแบบของสถิติข้อมูลทางด้านการทะเบียน สถิติข้อมูลความหนาแน่น ในการเคลื่อนไหวอพยพย้ายถิ่นของประชากร เป็นต้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์ ต่อการกำหนดนโยบาย การวางแผนปฏิบัติงาน การกำหนดแผนดำเนิน งานของหน่วยงานของรัฐต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในด้านความม่ันคง ของประเทศ และการป้องกันปราบปรามอาชญากรรมและการรักษา ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน รวมทั้งการวางแผนจัดสรรระบบ สาธารณูปโภค และระบบบริการต่าง ๆ ให้เหมาะสมและสอดคล้อง ตอ่ ประชาชนซึ่งอาศยั อยู่ในท้องถนิ่ ตา่ ง ๆ ทว่ั ประเทศ 265

บรรณานุกรม ภาษาไทย กรมควบคุมมลพิษ “การศึกษาเปรียบเทียบความเหมาะสมของวิธีการกำจัด มูลฝอย”, 2536 สำนกั วชิ าการสำนกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร “การบรหิ ารจดั การภาครฐั : รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)”, เวปไซด์: http:// www.parliament.go.th/library จิระ จิตสุภ, ความม่ันคงปลอดภัยทางเทศโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือ การศกึ ษา. การอาชีวะและเทคนิคศึกษา, 3(6), 34-42. ,2556 ฐิติมา จันทรวิสิทธิ์, การวิเคราะห์งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน: กรณีศึกษาเทศบาลตำบลไผ่กองดิน อำเภอบางปลาม้า จังหวัด สุพรรณบรุ ี, มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ, 2553. นพมาศ พูลศิริ, กระบวนการจัดสรรงบประมาณขององค์การบริหารส่วนจังหวัด นราธิวาส, วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 3, 2556 266

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง เผด็จ ประดิษฐเพชร, การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการขนส่ง. สำนักงาน นโยบายและแผนการขนส่งและจราจร, กระทรวงคมนาคม, 2557 มนต์ศักดิ์ โซ่เจริญธรรม, กานตวี ปานสีทา. ITS เทคโนโลยีปฎิรูปการเดินทาง. วันที่ค้นข้อมูล 20 สิงหาคม 2558, จากศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ เวปไซด์: http:// nectec.or.th/index.php?option=com_content&task=view&id= 111&Itemid=83 รัชนิดา นิติพัฒนาภิรักษ์, ระบบการขนส่งอัจฉริยะในยานยนต์ไทย. โครงการ สารสนเทศยานยนต์, 2555. วัฒนา ชัยสวัสดิ์, การเมืองในกระบวนการจัดทำงบประมาณของเทศบาลนคร เชียงใหม่: กรณีศึกษาปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2540, มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่, 2541 สิรินทร อินทร์สวาท, การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของกรุงเทพมหานคร และ ความสามารถในการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ในทอ้ งถิน่ , มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,์ 2542 สรวิศ นฤปิติ, ความรู้เร่ืองระบบขนส่งอัจฉริยะ. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2543. อาทิตย์ บูรณสิงห์, การประมาณระยะเวลาการเดินทางบนท้องถนนในระบบ ข น ส่ ง อั จ ฉ ริ ย ะ . วิ ท ย า นิ พ น ธ์ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม ห า บั ณ ฑิ ต , มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , 2554. อดุลย์ คันทะเรศร์, การเมืองในกระบวนการจัดทำงบประมาณในองค์การบริหาร ส่วนตำบล, มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่, 2542 267

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง ภาษาอังกฤษ A.D. Guerrero-Perez, A. Huerta, F. Gonzalez and D. Lopez, Network Architure based on Virtualized Networks for Smart Cities Aharony, N. et al., 2011, Social fMRI: Investigating and shaping social mechanisms in the real world. Pervasive and Mobile Computing 7 643-659. Brabham, D.C.,“Crowd Sourcing as a Model for Problem Solving: AnIntroduction and Cases”, Convergence: International Journal of Research into New Media Technologies, February 2008, 14(1), p76-90. City Dashboard, London, http://citydashboard.org/london/, accessed May 25th, 2015. “Delivering Urban Efficiency through Collaboration: Smart Cities & IT”. November 2013 Foundations for Smarter Cities. IBM Journal of Research and Development, 2010. Jose Camou, urban forecast: An analysis of a crowdsourced mobile app for crisis management, Iowa State University, 2013. Laurila, J.K. The Mobile Data Challenge: Big Data for Mobile Computing Research. Mobile Data Challenge Workshop in conjunction with Pervasive’12, 2012. Martin Hauske, “Smarter Energy for Smarter Cities”, IBM Global Energy and Utilities Industry, 2009. 268

Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง M. Hamilton, F.Salim, E. Cheng and S. L. Choy, Transafe: A Crowdsourced Mobile Platform for Crime and Safety Perception Management, 2012. Oliver O’Brien, Suprageography: CityDashboard, http://oobrien.com/ citydashboard/, accessed May 25th, 2015. Palen, L., Vieweg, S., Sutton, J., Liu, S. B., & Hughes, A. L. Crisis informatics: Studying crisis in a networked world.”. In Proceedings of the Third International Conference on E-Social Science, 2007. “Smarter Cities Series: A Foundation for Understanding IBM Smarter Cities”, Redguides for Business Leaders. Michael Kehoe, Michael Cosgrove, Steven De Gennaro,Colin Harrison, Wim Harthoorn, John Hogan, John Meegan, Pam Nesbitt, Christina Peters.Copyright IBM Corp. All rights reserved. 2011. “Smart trash: Study on RFID tags and the recycling industry”. February 2012. Schmidt, L.A., Crowdsourcing for Human Subjects Research. CrowdConf., 2010. Thomas Jenny, Smart Cities: Mission Control, http://xlgroup.com/fast- fastforward/articles/smart-cities-solve-urban-challenges, XL Catlin, October 10th, 2014. Toppeta, D., The Smart City Vision: How Innovation and ICT Can Build Smart, “Livable”, Sustainable Cities., 2010. 269

ประวตั ผิ ้เู ขยี น รศ. ดร.เอกชยั สมุ าล ี ประวตั ิ รศ ดร เอกชยั สมุ าลี รศ. ดร.เอกชัย สุมาลี (www.agachai-sumaleeดร..cเอoกmชยั )สุมจาลบี (wกwาwร.ศagึกacษhaาi -sumalee.com) จบการศ ในระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) จากสถาบันเทพคระโจนอมโเลกลยา เีพจาครุณะทจหอารมลาเดกกรละบ้าัง (วิศวกรรมโยธา) ระดับปร เเจอ้ากคจุณาทกหมาหราลวาิดทกยราะลบัยังล(ีดวิสศ์วปกรระรเมทโศยธอาัง)กรฤะษดับปปเทปัจกหจรลจจาาิญบุรเุจบลนั าญาคดันดุณาํ การทรดงโะตหทบำําาแังรรแหลแนาลงลดงะตะกรผรอปำะูองบศํารแนัางิญสวหตยกกญรนอาาจรน่างศาหร นู นยยทา วทีภ่ ิจ่ีจายั คะนดวคิชํารราองวตัจิศฉําวแรกหยิระนรมง(Sปโยmจธจaาบุ rนัค รองศาสตราจารย์ท่ีภาควิชาวิศวกรรมโยธา คศณาสะตรวาจิศารวย กภารควริชมาวิศศวากรสรมตโยรธ์าและส่ิงแวดลอ ม มหาวทิ ยาล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกรFeะllบowัง แท่ีลInะsผtitอู้ uำteนวfoยr กTาraรnsport Studies มหาวิท ศูนย์วิจัยนครอัจฉริยะ (Smart City ResearcIhnstCituetenotef Irn)duทst่ีrสiaถl Sาciบenันce มหาวทิ ยาลัยโตเกยี ว ประเท เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบดังร. เกอก่อชยันหมีคนวา้ามสทนี่จใจะแลดะคำวรามงเชย่ี วชาญในหวั ของานวิจยั ท่เี ก ตำแหน่งปัจจุบัน ดร เอกชัย มีประสบการณ์ใภนาครตัฐดำาแนโหครนงส่งราองพ่ืน้นื ๆฐานเแชล่นะ เศ รษฐศาสตรโครงสรา งพ้ืนฐ รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและส่ิงแ9ว0ดชล้นิ ้อในมวรสมารหวชิ าากวาิทร ย(Joาuลrnัยal) นานาชาติตางๆที่มชี ือ่ เสยี HTPrroaonnfgesspKsooornrt gทSt่ีPuIodnlyisettseitcuมhtenหiาcoวfิทSIยenาndลiuoัยsrลtrีRดiaeสls์ eSปacรriะcehเnทcFศeeอโวHมลlชิหมaัlงกาoาnกกใวหwsนาทิ ร-ฤสายตJาาuาวษลชทงrัยิาทๆgวเ่ี บeศิแยเInอชวnรล-กนาEลรsละwนิรรtมาัยeiงปขtVrวโนsรuัละตiสนtsเทงeกัเPใiศวกtนrเจิiiยดzfีnยยัอาeoยนรgวอมrผดันลสเยงาํ ย่ีารหมนารงแวับวหจิ งลั ัยงาโเนอSดวเmยชิจียัยeแดeMปเี ดdซiนcฟิ ดrPคoาrปนsizรoeะfI ประเทศญ่ีป่นุ รางวลั เอกสารวิชาการดเี ดนจากการประชมุ วิชาการ EASTS con รางวลั นกั วจิ ัยยอดเย่ยี มของ Faculty of Construction 270 Polytechnic ดร เอกชยั ปจจบุ นั ดํารงตําแหนง ผูชว ยอธิการบดีดานจราจรและร ทหารลาดกระบัง อนุกรรมการกลัน่ กรองของการเคหะแหงชา

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง ดร.เอกชัย มีความสนใจและความเช่ียวชาญในหัวข้องานวิจัย ท่ีเก่ียวกับการพัฒนานวัตกรรมเมือง (Smart City) นโยบายภาครัฐ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์โครงสร้างพ้ืนฐาน โดยที่ได้ตี พิมพ์เอกสารทางวิชาการในหัวข้อต่างๆมากกว่า 90 ชิ้นในวรสารวิชาการ (Journal) นานาชาติต่าง ๆ ท่ีมีช่ือเสียง ดร.เอกชัย ได้รับการจัดอันดับ เป็นลำดับ 2 จากนักวิจัยทั่วโลกในสาชาวิศวกรรมขนส่งในด้านผลงานวิจัย โดย Microsoft Research Database นอกจากนั้นยังได้รับรางวัลทาง วิชาการต่าง ๆ เช่น รางวัลนักวิจัยยอดเยี่ยมแห่งเอเชียแปซิฟิคประจำปี 2014 (ASPIRE Prize) มอบโดย APEC รางวัล Hans-Jurgen-Ewers Prize สำหรับงานวิจัยดีเด่นด้าน Infrastructure Economics ในระดับ นานาชาติ จากมหาวิทยาลัยเบอร์ลิน ประเทศเยอรมัน รางวัล Smeed Prize สำหรับงานวิจัยดีเด่นในประเทศอังกฤษในระดับปริญญาเอก รางวัล เอกสารวิชาการดีเด่นจากการประชุมวิชาการ EASTS conference ศรคึกิญณษญาะใวานโศิ ทรวะแกดลรับระมปปศรราญิิญสญญตาารตเสขอรสกอีอถจ(าางเงกบกคยีนัมรFหเรตทaานิคั้งวcโยิิททนมuย)โาี่ปlลลtจยัยyรากลีพะสีดรoสเะถทจปfาบอรศมนัะCเเเกทญทoลศคnาอ่ีปโเจนังsกุ่านโtคฤลrณุษยuแี cลtiะonปaรnะdเทEศnไvทirยonแmลeะntราทงี่ วมัลหนาักววิทิจยัยายลอัยดHเยoี่ยnมg rt City Research CKeonntegr) Pท่สีoถlาyบtนั eเทcคhโnนโicลยีพ ระจอม น ดร เอกชัย มปี ระสบการณในตําแหนงอ่นื ๆ เชน รอง ลัย Hong Kong ดร.Polytechnic เSอenกioชrัยReปseัจarจchุบันดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยอธิการบดีด้านจราจร ทยาลัยลดี ส ประเทศองั แกฤลษะแรละะบVบisiขtinนgส่งPrมoวfeลssชorนขที่ องสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ทศญปี่ ุน ลาดกระบัง อนุกรรมการกล่นั กรองของการเคหะแหง่ ชาติ รองประธานและ กี่ยวกับ การพฒั นานวตัเลกรขรมาเมธือิกง า(Sรmคaณrt ะCกityร) รนมโยกบาายรระบบรางของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ฐาน โดยทไ่ี ดตพี มิ พเอกกสรารรทมางกวชิ าากราครใวนาหวัมขปอตลา งอๆมดากภกัยวา ทางถนนรัฐบาลฮ่องกง กรรมการระบบโครงข่าย ยง ดร. เอกชัย ไดรับกUารจSดั อนัTดrับaเปnน sลpําดoับr2taจtาiกoนnกั วจิ Rัยทe่วั search Board ในอดีตเคยดำรงตำแหน่งอ่ืน ๆ eะfIจtnําสfปRrาํ aหe2ssรt0eับr1uaง4าcrนctuhว(ิจAreัยSDดPaีเดIEtRนacเไอEใboชทนนan่นปPยsoุกeรrm,iะzรเอeทนiอcร)ศอนsนอกมมุกังจุกกอาใกรกฤบนรนษโรารรดะใน้ั รมนดยมยับรพังกAะไกนดดัPฒาาาัรบนEับรปรCานรชรพราาญิ งาตะัฒวญริ ธัลบาาทงจเุนรอวบาากกัลงกาสพิจาก้ืนรสาทรน่ีใรนเทถเขศไฟตแลทฟะา้านงขขวนัอตสงก่กงรมารรวมทลขาชองงนพกแิเาหศร่ษงเคปแหรหะะ่งแเปทหร่ศงะชไเาททตศยิ, onference สองคร้งั ทนปี่ อระกเทจศาญกปี่ นุ นแ้ันลแะ ลปร้วะยเทังศไไทดย้รแับละเกียรติให้เป็น Editor in Chief ของวรสารวิชาการ and Environment ที่ มหาวิทยาลยั Hong Kong ระบบขนสง มวลชนของสถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาเจา คุณ 271 าติ รองประธานและเลขาธิการคณะกรรมการระบบรางของ

Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง Transportmetrica B: Transport Dynamics, Editor ของ Journal of Transport Policy, Associate Editor ของ Networks and Spatial Economics และ ยังเป็นสมาชิกของ Editorial Board ของวรสารทาง วิชาการนานาชาติที่มีช่ือเสียงอื่นๆเช่น Transportation Research Part B, Transportation, Journal of Advanced Transportation, Transportmetrica A: Transport Science, และ International Journal of Urban Science 272