Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Smart City มิติใหม่ของการจัดการท้องถิ่นยุคไอที

Smart City มิติใหม่ของการจัดการท้องถิ่นยุคไอที

Description: Smart City เป็นแนวคิดการพัฒนาเมืองที่เกิดขึ้นในปลายศตวรรษที่ 20 โดยมาจากการนำเอาเทคโนโลยีด้านข้อมูลและโทรคมนาคมมาใช้ร่วมกับการวางโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิผลที่ได้รับแนวคิดดังกล่าวได้ถูกพัฒนาต่อจนในปัจจุบันกลายเป็นแนวคิดในการพัฒนาและวางแผนเมืองอย่างชาญฉลาดในบริบทของโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด เพื่อให้ประชาชนของเมืองมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น.

Search

Read the Text Version

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง กระทำเหล่าน้ัน การระบุตัวตนของผู้ใช้มีความเป็นไปได้ในการสร้างความ รับผิดชอบ เช่น การระบุตัวตนในการศึกษาออนไลน์สามารถอธิบายได ้ ในสามระดับ 1. ระดับทห่ี นงึ่ ทางกายภาพ ผา่ นทางหมายเลข IP Address หรือ MAC Address ที่ถูกระบุอยู่ในคอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองท่ีถูกใช้ งานออกไป 2. ระดับท่ีสองทางกฎหมาย เป็นการระบุการตอบสนองอย่างหนึ่ง ของผู้ใช้ อาจจะเป็นชื่อ และรหัสผ่าน ท่ีใช้ในการเข้าสู่ระบบ รวมถึงลายเซ็นดิจติ อลดว้ ย 3. ระดับท่ีสามทางบุคคล คือการสร้างความม่ันใจว่าส่ิงที่ถูกเขียน หรือสร้างขึ้นและถูกส่งส่งออกไปได้ถูกสร้างข้ึนมาโดยบุคคล ผเู้ ปน็ เจา้ ของช่อื ผ้ใู ช้จริงๆ ซงึ่ เปน็ การตรวจสอบที่ยากทส่ี ดุ ความรับผิดชอบท่ีมีต่อการเข้าถึงข้อมูลและการส่ือสารผ่านการ Login เข้าระบบด้วยช่ือและรหัสผ่านกับการเรียนออนไลน์สามารถติดตาม ร่องรอย การร่วมกิจกรรมของผู้เรียนได้ว่าผู้เรียนมีการตอบสนองต่อ บทเรียน หรือต่อการเรียนมากน้อยแค่ไหน เช่น ผู้เรียนใช้เวลาในการอยู่ ในบทเรียนนานแค่ไหน และทำกิจกรรมอะไรบ้างในขณะอยู่ในบทเรียน เป็นต้น ผู้เรียนทุกคนจะมีการตอบสนองชัดเจนต่อการกระทำของตน ถ้าผู้เรียนสามารถระบุชื่อและรหัสผ่านได้อย่างชัดเจน ความเสี่ยงต่อ พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมจะลดลงเมื่อมีการติดต่อส่ือสารกับผู้สอนและ ผูเ้ รียนคนอ่นื ๆ 5. การควบคุมการเข้าถึง (Accesibility) คือการที่ผู้ใช้ระบบ คอมพวิ เตอร์ไม่สามารถส่งผ่านหรือเพิม่ สิทธิใ์ นการเข้าถงึ ข้อมลู โดยไมไ่ ดร้ บั 183

Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง อนุญาต การเข้าถึงข้อมูลจำเป็นต้องมีการควบคุมบนพ้ืนฐานของการรักษา ความปลอดภัย การกำหนดสิทธิการทำงานและเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้จะต้อง มีการกำหนดท่ีชัดเจนบนนโยบายของหน่วยงาน ผู้ใช้ควรจะได้รับการ กำหนดสิทธิให้เข้าถึงข้อมูลหรือระบบเฉพาะส่วนท่ีจำเป็นและอนุญาตให้ใช้ เท่านั้น การควบคุมการเข้าถึงเป็นการทำให้ม่ันใจได้ว่าทรัพยากรต่างๆ ของ ระบบเครือข่ายจะได้รับอนุญาตให้ถูกใช้โดยผู้ที่มีสิทธิ์ในการเข้าถึงหรือ ในการใช้ข้อมลู เท่านนั้ ประกอบด้วย - ความเป็นส่วนตัว (Privacy) ข้อมูลรวบรวม จัดเก็บและใช้งาน น้ันควรถูกใช้เพ่ือจุดประสงค์ท่ีเจ้าของข้อมูลระบุตอนที่เก็บ รวบรวมเท่านั้น ถ้าถูกใช้เพื่อจุดประสงค์อ่ืนก็แสดงว่าเป็นการ ละเมดิ สิทธ์ิสว่ นบคุ คลของเจา้ ของข้อมลู น้ัน - การระบุตัวตน (Identification) เป็นกลไกท่ีจัดเตรียม สารสนเทศของบุคคลที่จะเข้าใช้ระบบ หรือเรียกว่า Identifier ซง่ึ ผู้ใช้แต่ละคนจะตอ้ งมีคา่ ท่ีไมเ่ หมอื น หรอื ไมซ่ ำ้ กนั - การพิสูจน์ทราบตัวตน (Authentication) เป็นกลไกการ ตรวจสอบว่าผู้ใช้เป็นใคร และเป็นผู้ที่ได้รับอนุญาตหรือ ไม่ผา่ นทางการล็อกอนิ และรหสั ผ่าน (Password) - การกำหนดสิทธ์ิ (Authorization) เป็นกลไกการอนุญาต หรือ ให้สิทธ์ิในการเข้าถึงระบบและเข้าใช้ข้อมูลในระบบของผู้ที่ผ่าน การพิสูจน์ตัวตนมาแล้ว โดยกลไกจะพิจารณาว่าผู้ใช้แต่ละคน ได้รับอนญุ าตใหเ้ ข้าถงึ ระบบในระดบั ใดบา้ ง - การจัดทำประวัติการเข้าใช้ระบบ (Accountability) เป็นการ บันทึกการเข้าใช้ระบบของผู้ใช้ เพื่อจัดทำเป็นหลักฐานการ ตรวจสอบท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อการติดตามพฤติกรรมที่น่า สงสยั ได้ 184

Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง 7.3 การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อใช้ควบคุมความปลอดภัย และความม่ันคงในประเทศไทย ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการนำความก้าวหน้าของเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้ในการควบคุมความปลอดภัยของพลเมือง และความมั่นคง ของประเทศ โดยส่วนใหญ่เทคโนโลยีที่นำมาใช้อย่างแพร่หลาย คือ กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ซึ่งเป็นการพัฒนาเทคโนโลยีที่กลายเป็น โครงสร้างพื้นฐานของเมืองต่างๆ ท่ีเป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจของ ภูมิภาคที่มีกลุ่มคนหลายๆ กลุ่มอยู่ร่วมกัน เพ่ือกำกับดูแลด้านความ ปลอดภัยท้ังชีวิตและทรัพย์สินของพลเมือง นอกจากนี้กล้องโทรทัศน์ วงจรปิด หรือ CCTV จะถูกติดต้ังท่ีสาธารณะเป็นส่วนใหญ่ เพื่อเป็น เคร่ืองมือเสริมช่วยสอดส่องดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยและความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน รวมท้ังยังใช้เพื่อสนับสนุน การทำงานของหน่วยงานท่ีทำหน้าท่ีรักษาความปลอดภัยของประชาชน โดยตรง คือ เจ้าหน้าท่ีตำรวจและและเจ้าหน้าที่เทศกิจชุมชน ในการดูแล ความสงบเรียบร้อยในชุมชนของพ้ืนที่น้ันๆ ระบบดังกล่าวจะช่วยลดภาระ งานและจำนวนเจ้าหน้าที่ท่ีต้องปฏิบัติงานตรวจตราความเรียบร้อยในบาง พน้ื ทล่ี งไดอ้ ยา่ งมนี ยั สำคญั ตวั อยา่ งของการใชก้ ลอ้ ง CCTV ในกรงุ ลอนดอน สามารถลดจำนวนเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัยและเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการจับตวั อาชญากรและผู้กระทำความผิดได้อย่างถูกต้องแม่นยำ นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างการใช้กล้อง CCTV ในกรุงเทพฯ พบว่าได้มี การติดตั้งกล้องในเขตตัวเมืองชั้นในบริเวณรอบเขตพระราชฐาน (พระบรม มหาราชวัง พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน วังสระปทุม วังเลอดิส และ วังเทเวศร์) รวม 213 กล้อง ติดต้ังรอบเขตพระราชฐานและสถานที่สำคัญ จำนวน 6 แห่ง (พระท่ีน่ังอัมพรสถาน วังศุโขทัย วังทวีวัฒนา บ้านอัคร พงศ์ปรีชา ร้านศิลปาชีพ 904 และศูนย์พัฒนาเด็กทีปังกร) รวม 185

Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง 111 กลอ้ ง นอกจากนยี้ งั ตดิ ตงั้ ครอบคลมุ พนื้ ท่ี 37 เขต จำนวน 1,023 กลอ้ ง ได้แก่บริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร สะพานลอยคนเดินข้าม ลานจอด รถยนต์ชั่วคราวสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส รอบสนามหลวง รอบซอยอันตราย ท่าเรือแม่น้ำเจ้าพระยา คลองแสนแสบ และสถานีขนส่ง อย่างไรก็ดี การมี กล้องจำนวนมากไม่ได้หมายความโดยตรงว่าจะเป็นประโยชน์กับประชาชน ชาวกรุงเทพฯ อย่างเต็มท่ี เพราะการใช้ประโยชน์จากกล้อง CCTV เหล่านี้ ส่วนใหญ่ยังจำกัดการใช้งานเพียงในแวดวงของส่วนราชการ และยังถูกใช้ เพียงในแง่ของการเฝ้าระวัง แต่ยังไม่ได้ใช้เทคโนโลยีอย่างเต็มรูปแบบ โดยเช่ือมบูรณาการเข้ากับระบบการแก้ปัญหาเมืองเรื่องอื่น ๆ เช่น เรื่อง การจราจร เร่อื งการเฝา้ ระวงั และบรรเทาสาธารณภยั เป็นตน้ ในขณะเดียวกนั ประเทศไทยได้มีการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีเพื่อความ มั่นคงของประเทศ โดยการต้ังศูนย์ปฏิบัติการความมั่นคงปลอดภัยทาง ไซเบอร์ (Cyber Security Operation Center : CSOC) เพื่อมุ่งเน้น การดำเนินการติดตามเฝ้าระวังตรวจสอบวิเคราะห์เว็บไซต์ และข้อมูล อินเทอร์เน็ตท่ีไม่เหมาะสม หรือผิดกฎหมายต่างๆ โดยเฉพาะเว็บ หมิ่นสถาบัน และในปัจจุบันรัฐบาลได้ตระหนักถึงภัยคุกคามด้านไซเบอร์ ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะมีมาตรการทางกฎหมาย และมีหน่วยงานของรัฐ กำกับดูแลภัยคุกคามด้านนี้มาแล้วหลายปี แต่แนวโน้มความรุนแรงและ การขยายตัวของภัยคุกคามยังมีความต่อเน่ืองและแพร่หลายไปกระทบ ความเชื่อมั่นด้านความมั่นคงของประเทศในด้านต่างๆ ดังนั้นรัฐบาลจึงได้ แต่งต้ัง คณะกรรมการความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (National Cyber Security Committee : NCSC) ซ่ึงมีนายกรัฐมนตรีฯ เป็นประธาน และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องด้านความม่ันคง กระบวนการยุติธรรม และ ด้านเศรษฐกิจ ร่วมเป็นกรรมการโดยมีเจ้ากรมเทคโนโลยีสารสนเทศและ กิจการอวกาศกลาโหม เป็นเลขานุการฯ โดยมีหน้าที่หลักในการจัดทำ นโยบายความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ เพื่อให้ประเทศไทยมีขีด 186

Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง ความสามารถในการปกป้อง ป้องกัน รับมือ และลดความเส่ียงจาก สถานการณ์ด้านภัยคุกคามในไซเบอร์ ที่กระทบต่อความม่ันคงของชาต ิ ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ครอบคลุมถึงความมั่นคงทาง การทหาร ความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ และความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ ตลอดจนติดตามและประเมินผลการปฏิบัติที่เก่ียวข้องเพื่อให้ เกิดการบูรณาการการทำงานของหน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวข้อง อันจะก่อให้ เกดิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลในการบริหารจัดการความมนั่ คงปลอดภัย ไซเบอร์ สอดคล้องกับแนวทางการจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สารของประชาคมอาเซยี น ส่วนของวงการทหาร นายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหม ได้อนุมัติหลักการให้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการไซเบอร์กลาโหมขึ้นโดย กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ เตรียมจัดตั้งหน่วยงานด้านไซเบอร์โดยตรง (Cyber Command) เพื่อข้ึน มารองรับการปฏิบัติงานความมั่งคงปลอดภัยของประเทศจากภัยคุกคาม ด้านไซเบอร์ที่ส่งผลกระทบต่อความม่ันคงของชาติทั้งจากภายในและ ภายนอกประเทศ ครอบคลุมถึงความม่ันคงทางการทหาร ความสงบ เรียบร้อยภายในประเทศ โดยศูนย์ปฏิบัติการไซเบอร์กลาโหม (Cyber Operations Center) จะเป็นแกนหลักในด้านการพัฒนาบุคลากรด้านน ้ ี ให้กับกำลังพลสังกัดกระทรวงกลาโหม โดยจะมีห้องปฏิบัติการสำหรับ การฝึกปฏบิ ตั ดิ า้ นสงครามไซเบอร์ (Cyber Warfare) รวมถงึ การสร้างภาคี เครือข่าย ประชาคม ท้ังภาครัฐและเอกชน เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพของ ประเทศดา้ นไซเบอร์ในการรับมอื กับภยั คุกคามดา้ นไซเบอร ์ กองทัพบก ได้มีนโยบายและอนุมัติหลักการให้ศูนย์เทคโนโลยีทาง ทหาร (ศทท.) ดำเนินการปรับปรุงภารกิจและโครงสร้างการจัดหน่วย โดยเพิ่มเติมภารกิจด้านการปฏิบัติการสงครามไซเบอร์และปรับสาย 187

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง การบังคับบัญชาจากเดิมเป็นหน่วยขึ้นตรงกรมการทหารส่ือสาร มาเป็น หน่วยขึ้นตรงกองทัพบก (นขต.ทบ.) เพื่อเตรียมรองรับการปฏิบัติงาน ความม่ังคงปลอดภัยด้านไซเบอร์ท่ีอาจส่งผลกระทบต่อความม่ันคงของชาติ ท้ังจากภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะความมั่นคงทางการทหาร และการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ รวมถึงการปฏิบัติการ ที่ประสานสอดคล้องกับกระทรวงกลาโหม กองบัญชาการกองทัพไทย และ เหล่าทัพต่างๆ ตลอดจนรองรับการปฏิบัติการท่ีใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations ; NCO) โดยแนวความคิดเบ้ืองต้น ในการเตรียมการดำเนินการพฒั นาปรับปรุงภารกิจ โครงสรา้ งการจัดหน่วย และการพัฒนาศักยภาพของกำลังพลให้มีคุณวุฒิการศึกษา คุณลักษณะ ขีดความสามารถ ประสบการณ์ และความถนัดเฉพาะด้านท่ีสอดคล้องกับ ตำแหน่งหน้าท่ีการงาน (put the right to the right job) เพ่ือให้การ ปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการปรับ เกล่ีย โยกย้าย และการบรรจุกำลังพลด้านปฏิบัติการเป็นหลักมากกว่างาน ทางธุรการ ในสัดส่วนไม่น้อยกว่า ๗๐ : ๓๐ สำหรับในด้านการปรับปรุง โครงสร้างการจัดหน่วย  โดยแปรสภาพ กองการสงครามสารสนเทศ เป็น กองปฏิบัติการไซเบอร์ (Cyber Operations Division) ซ่ึงเป็นหน่วยปฏิบัติ การด้านไซเบอร์เชิงรุก (Cyber Offensive Operations) ดำเนินการด้าน การตรวจสอบสภาพแวดล้อมของภัยคุกคาม การวางแผนควบคุมการ ปฏิบัติ และการปฏิบัติการไซเบอร์ โดยจะมีการบรรจุและพัฒนากำลังพล ท่ีมีความรู้ ความเช่ียวชาญ และได้รับการฝึกฝนด้านการปฏิบัติการไซเบอร์ ปฏิบัติหน้าที่เป็นนักรบไซเบอร์ (Cyber Warriors) อยู่ในชุดปฏิบัติการ ไซเบอร์ (Cyber Operation Teams ; COT) และชุดเตรียมพร้อมเผชิญ เหตุฉุกเฉินด้านไซเบอร์ ( Cyber Emergency Response Teams ; CERT) เป็นหน่วยปฏิบัติการ  และเตรียมจัดต้ังกองรักษาความปลอดภัย ด้านไซเบอร์ (Cyber Security Division) ซ่ึงเป็นหน่วยปฏิบัติการด้าน ไซเบอร์เชิงรับ (Cyber Defensive Operations) ดำเนินการด้านระเบียบ 188

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง การรักษาความปลอดภัยสารสนเทศ การป้องกัน เฝ้าระวัง ตรวจสอบ ช่องโหว่ โดยใช้เครื่องมือระบบตรวจหาการบุกรุก (Intrution Detection System : IDS) และระบบป้องกันการบุกรุก (Intrution Protection System : IPS) รวมถงึ การกคู้ ืนสภาพเมื่อถูกโจมตี (Recovery) ตลอดจน การพัฒนาโปรแกรมและเคร่ืองมือต่างๆ เพื่อรองรับงานด้านไซเบอร์ นอกจากน้ียังได้เตรียมการด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมต่างๆ ด้านไซเบอร์ โดยแสวงความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ท้ังภายในและ ภายนอกกองทัพ ท้ังภาครัฐและองค์กรเอกชนในด้านวิชาการ การวิจัย พฒั นา (R&D) การสัมมนาเชงิ ปฏิบตั ิการ (Workshop) และการฝึกปฏบิ ัติ ต่างๆ โดยเฉพาะการฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุด้านไซเบอร์ (Cyber Incident Action Plan Exercise) การฝึกซ้อมแผนฉุกเฉินด้านไซเบอร์ (Cyber Emergency Response Exercise) การฝึกซ้อมการปฏิบัติการไซเบอร์ (Cyber Operations Exercise) และการฝึกจำลองสงครามไซเบอร์ (Cyber Warfare Simulation Exercise) เป็นตน้ 7.4 ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการควบคุม ด้านม่ันคงและความปลอดภยั 7.4.1 โครงการจัดทำระบบเฝ้าระวังและรักษาความปลอดภัย ด้วยระบบกล้องวงจรปิด (สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ กระทรวง พาณิชย)์ เป็นโครงการท่ีทางกระทรวงฯ ต้องการจดั ทำระบบเฝา้ ระวังและ รักษาความปลอดภัยด้วยการติดต้ังกล้องวงจรปิด (CCTV) เพื่อปรับปรุง การรักษาความปลอดภัยให้กับเจ้าหน้าท่ีที่ปฎิบัติงานต่างๆ รวมถึงความ ปลอดภัยต่อทรัพย์สินและสามารถป้องกันแก้ไขปัญหาของเหตุการณ์ร้าย หรือการก่อวินาศภัยท่ีอาจจะเกิดขึ้นในอนาคตให้มีประสิทธิภาพสูงสุด สำหรับกระทรวงพาณิชย์ ซ่ึงโครงการนี้ได้นำเอาเทคโนโลยีกล้องวงจรปิด 189

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง (CCTV System) และระบบควบคุมการเข้า-ออก (Access Control) มาประยุกต์ใช้ในการตรวจการพื้นที่ของอาคารกระทรวงพาณิชย์ และ พัฒนาระบบส่งข้อมูลภาพของตัวกล้องจากระยะไกลท่ีสามารถถ่ายภาพน่ิง และภาพเคลื่อนไหวได้ท้ังในเวลากลางวันและกลางคืน และยังสามารถ นำข้อมูลภาพนี้ไปใช้ในโปรแกรมประยุกต์อ่ืนๆ ในอนาคตได้ เช่น โปรแกรมวิเคราะห์ใบหน้า (Face Recognitions) ซึ่งเมื่อนำเทคโนโลยี กล้องมาประยุกต์ใช้ในการตรวจการพื้นที่จะทำให้สามารถควบคุมสั่งการ เฝ้าระวัง แก้ไขปัญหาในพ้ืนที่ภาพรวมได้ชัดเจน มีเอกภาพ และ ประสทิ ธภิ าพในการส่ังการบงั คับบัญชามากยงิ่ ข้นึ 7.4.2 โครงการรักษาความปลอดภัยและแก้ไขปัญหาอุบัติภัยทางถนน ในเขตเทศบาลเมอื งเกาะสมุย พร้อมระบบจดั การและบำรงุ รักษา CCTV เป็นโครงการท่ีเกิดข้ึนโดยเทศบาลเมืองเกาะสมุย ซึ่งม ี เป้าหมายเพ่ือรักษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินให้กับประชาชนและนักท่องเท่ียว รวมท้ังการสร้างความเชื่อมั่น ในความปลอดภัยและต้องการเดินทางมาท่องเท่ียวมากข้ึน โดยโครงการน้ี จะมีการติดต้ังระบบโทรทัศน์วงจรปิด จำนวน 185 จุด และมีการต้ัง ศูนย์ควบคุม เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลภาพจากระบบโทรทัศน์วงจรปิดของ ภาครัฐและเอกชนมารวมไว้ท่ีศูนย์ควบคุมและส่ังการ ซึ่งมีเจ้าหน้าท่ี ปฏิบัติงานตลอด 24 ช่ัวโมง และเม่ือเกิดเหตุในสถานท่ีใด ๆ เจ้าหน้าที่ สามารถตรวจสอบสถานท่ีเกิดเหตุได้ทันทีและให้การปฎิบัติงานในการ รักษาความปลอดภัยมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้ ระบบโทรทัศน์วงจรปิดนี้สังเกตการณ์สภาพจราจร ตรวจจับการฝ่าฝืน สัญญาณจราจร และการเฉี่ยวชนแล้วหลบหนี รวมถึงการนำภาพการเกิด อบุ ตั ิเหตุทบ่ี นั ทึกไว้ไปประกอบการเจรจาตกลงสำหรบั คู่กรณีท่เี กิดเหตุได้ 190

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง รปู ท่ี 7.4-1 ศูนยค์ วบคมุ ระบบ CCTV แลบะทกท่ี า7รระตบบิดควตบั้งคุมดCานCควTามVป ลอดภัยและความม่นั คง ท่ีมา: http://samuiprogress.wix.com/samuiprogress#!-cctv/cyjv ที่มา: http://samuiรpูปrทogี่ 7r.e4s-1s.ศwูนiยxค.cวoบmคมุ/sรaะmบบuiCpCroTgVreแsลsะ#กา!ร-cตcดิ tตv้งั /cCyCjTvV 7 .4.3 7.โ4คร.ง3กา รโสคงเรสรงมิ กแลาะรสนสับ่งสเนสุนกราิมรดแาํ ลเนะินงสานนกับารสติดนตุนั้งกกลอางรทีวดีวำงจเรนปินด ง(CาCนTVก)าในรเขตติดเทตศบ้ังา ล กล้องนทคีวรขีวองนจแรกปนิด (CCTV) ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ทรัพยส ินเขป อนงโปครระงเกชปาารช็นทนโ่ีเทกคีอ่ ดิ ารขศง้ึนยั กโอดายยูใรเนททพศน้ืบี่เกทาล่เีิดขนตขคเร้ึนทขศโอบดนาแยลกเรนทวซมศงึ่ถมบงึ กเี ปาาาลรหสนมราาคงยเรใมนขอื กงอาขรนอดนแแู แลกกค่นนวาใหมซมปีคึ่งลวมอาดีเมภปปัย้าลทอหั้งดชมภีวิัตายแแยลละะ แนปใพลารนอะะื้นกชยสทาูมนาชาบั่ีเรนกขสดแยนตลิง่ นุูแขะเใ้ีนลจทหงั คโมหศดีกววยบาดั เารฉามตพแลิดาลปตะะลั้องจรกยะอวลามงมดอกี ยงาภถิ่งรบCึสังยคุCงกทคTตลVาอ้ังภใร1ชหา,สยสี0วท0ถริต0าเ่ี ้าขนแจางตี ลมุดเาํ ามะรทดวทือํา่ัวจเพรภนงื้นูธนิัพขรทกอเยี่เจิมขนก์สือตรงแเินรทขมกอขศในนบ่นอแพางใกลนื้ หปนทซใ้มรน่ี่ึงนจะี้ ีคกโะดชาวอยราาาโบคศชมรรัยิหนงคปกาทวราลาจรี่อมอนัดราี้จกดวศะามภมรัยมใีกัยืนออาจสรแยสาวลกนงู่ใเภนขะสาอร คิมง กปเนใทาลนศร่าอบตพดอิดาภลื้ตยนัยนั้งู่มมทแคาลรา่ีกนะขขกดอี้ ้นึ ูแนยโลแด่ิงคกวขยน าี้นโมอคเกี รทยีรโงั้บดงโรคกยอ รยงาเกฉเราพรนพ่อื นปี้จา้ยี อ ังะะงเปกอมดันยีกโกอ่าาากรงารกสยอสใอิ่งห่งาบปเชรสุญคะราชคกาิมลรชรแนภมมลหาีสระวยือนสทเรหนว่ีเตมขับุรใา้นาสยกมตนาาารงุนดดๆูแใำลทหเร่ีอนัก้มาษจินีกจาเะกามเืรอกิจิงดตกใขหิดึ้นรมใรตีคนมวเั้งขา มต กล้อง CCTV 1,000 จุด ท่ัวพื้นที่เขตเทศบาล ซึ่งจะอาศัยความร่วมมือจาก 7ภ.4า.4คปโครระงชกาารชปอนงกแันลและะจแังกหไ ขวปัญดหาแอลาชะญจาะกรมรีมกดาว รยรสะ่งบตบก่อลใอหงโ้ทสรถทศัานนว ีตงจำรปรดวจCCภTูธVรSเyมstือemง ขอนแแกบ่นบเใคนลกอื่ นาทร่ีขบอรงติหําารวรจจภัดธู รกจางั หรวใัดนสสพุ ่วรรนณขบอุรีงการติดตั้งและดูแลความเรียบร้อย เเใเกปนพ่ยีาวหเื่อกขมับปาตสยเ้ปอ่งิหเผนทลงิดโักศคกกใรฎนบันงหกกามกาาลารรยาทปนภี่เอรกาคงกดิยกรขใั่นอน้ึนขแพจออล้ืนาะากทนแคชี่จกแวังปาญหกมญว่รนดัาหวสกมาพุ ออมรราือีกรชรรณญทะมบหาั้งุรหกวโี ารซครงรึ่งตมืโอรคําทงรรเ่ีองกวหากจจาาตภจรรูธนุะรรน้ีจเ้สากะี้ยุพิดยทัรงขําตรึ้นเกณปา่ารรบิดวงตุรมิดโๆี ถแตอึงลงั้ กกอทะาปุจาี่รอังกสเหรฝาณใวาจัดหต Cสิดจ้ปCุพตะTรารVเมระณกเชตคบิดรลาุรว่อืขชีจโนส้ึดนนทอย่ีไ มบวี ปสมัญรีสะญจ่วาํานณทีร่ วรถีด่วติโมูรอาใชจนกอามกรอขานอริเงตดตอําูแรรลวตจรัวภักแธู ปรษสลาพุงไเรฟมรณ1ือบ2งุรใโี วหโดล้มยตอเีคปุปนวการ2ณม20ปCโCลวTลอVตดเ คชภุลดัยื่อระนมบทาบี่นกกี้จลขะอปน้ึ งรโ ะทกรอทบัศดนววยงจเครรปื่อดงบชนันิดททึกี่ สส กะามลดาว้อรก7ถดงม.รา4โอนะทงบก.เ4บารหรกน็ ทจลไรโดัศอาคทงจนโัง้รรทชใ์วรนงว ทงงชกเัศวจวนงาลรเวาทรงกปศจปลกิรดา้ปาองลดวCงบันCนแกCCลถันTะนTVกนแVลเสลคาางลSะยค่ือหืนแyนลกทsแักน่ีล้tไก้จีะeขอะาmรถปุปสกูกัญืบใรชณสแใ วหนคบนกราบแาอรอลบเระคกกัาปลษลชออางื่งอญคกปวันนอ าางอมทกากปันี่ชขลรฝญออนุ ราดหงกภมรรตัยือรดแลมำละ้บวระอรยอวอิเวํางรจณนนะภา้ํวจยุบดูธคเบสวราี่ย มง เจชนงั หตลวาัดดนสดั ุพเปรด ทราณยขบางรุ ห ีางโลตัสสุพรรณบรุ ี และตลาดนดั สวนนํ้าสมอรณุ ซงึ่ บริเวณดงั กลาวนีม้ ีความเสี่ยงท่ี จะเกิดการโจรกรรมจกั รยานยนตม ากทีส่ ุด เป็นโครงการท่ีเกิดข้ึนจากความร่วมมือระหว่างตำรวจภูธร Smart City: การพัฒนาและปรับใชร ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง 191 7-7

Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง สุพรรณบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีเป้าหมายหลักในการป้องกันและ แก้ปัญหาอาชญากรรมท่ีอาจจะเกิดข้ึน รวมถึงการเฝ้าติดตาม ตรวจสอบ เกี่ยวกับสิ่งผิดกฎหมายภายในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งโครงการน ้ี จะทำการติดต้ังอุปกรณ์ CCTV เคลื่อนที่ไว้ประจำที่รถตู้ราชการของตำรวจ ภูธรสุพรรณบุรี โดยอุปกรณ์ CCTV เคลื่อนท่ีนี้จะประกอบด้วย เครื่องบันทึกสัญญาณวีดิโอ จอมอนิเตอร์ ตัวแปลงไฟ 12 โวลต์เป็น 220 โวลต์ ชุดระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ชนิดที่สามารถมองเห็นได้ทั้ง ช่วงเวลากลางวันและกลางคืน และอุปกรณ์ครอบกล้องป้องกันฝุ่นหรือ ละอองนำ้ ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด CCTV เคลื่อนท่ีน้ีจะถูกใช้ในการ รักษาความปลอดภัยและอำนวยความสะดวกด้านการจราจรในช่วงเทศกาล บนถนนสายหลกั การสืบสวนและป้องกันอาชญากรรมบริเวณจดุ เสี่ยง เช่น ตลาดนัดเปิดท้ายข้างห้างโลตัสสุพรรณบุรี และตลาดนัดสวนน้ำสมอรุณ ซ่ึงบริเวณดังกล่าวนี้มีความเส่ียงท่ีจะเกิดการโจรกรรมจักรยานยนต์มาก ทส่ี ดุ รปู ท่ี 7.4-2 ระบบกลอ้ งโทรทศั น์วงจรปดิ บCททC่ี 7TระVบบคเวคบลคุม่อื ดานนคทวา่ี มปลอดภยั และความมั่นคง ท่ีมทา:่มี htาtp:://hwtwtwp.:s/u/pwhawnbwuri.pรsoปู uliทcpeี่ h.c7oa.m4n-/b2Pruoรrjeะipcบto_บclcกictลve.hอ.tงcmโoทmรท/Pัศrนoว jeงจcรtป_cด cCtvC.ThVtmเค ล่ือนท่ี 192

8 ระบบตรวจสอบสถานะและจัดการ โครงสรา้ งพ้ืนฐานเมอื ง

การศึกษาเทคโนโลยที เ่ี กีย่ วข้องกับระบบตรวจสอบสถานะ และจัดการโครงสรา้ งพืน้ ฐานเมอื ง การตรวจสอบระบบสารสนเทศ ระบบตรวจสอบสถานะและจดั การโครงสร้างพ้นื ฐานเมอื ง ในประเทศไทย เทคโนโลยกี ารรับขอ้ มูลข่าวสารโดยใช้ Smart Application การพัฒนาระบบสนับสนุนการตดั สินใจในการจดั สรรงบประมาณ ระดับท้องถ่นิ

8.1 การศึกษาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับระบบ ตรวจสอบสถานะและจัดการโครงสร้างพ้นื ฐานเมอื ง การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้มีประสิทธิภาพ เป็นปัจจัย สำคัญหลักที่สามารถสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน การเพ่ิมศักยภาพการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเตรียม ความพร้อมทางด้านเศรษฐกิจ ให้มีความเข้มแข็งและเอื้ออำนวย ต่อการบรรลุวัตถุประสงค์การพัฒนาในทุก ๆ ด้านของประเทศ โดยมีโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นสิ่งสำคัญในการเดินหน้าของ ประเทศ และรวมถึงการพัฒนาด้านระบบต่างๆ ไปสู่เมือง อัจฉริยะได้แก่ โครงสร้างระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้าง ระบบการส่ือสาร โครงสร้างการให้บริการทางด้านอินเทอร์เน็ต โครงสร้างด้านพลังงาน รวมถึงโครงสร้างด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี และอ่ืนๆ ซ่ึงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเหล่านี้ จำเป็นต้องอาศัยระบบการตรวจสอบสถานะและระบบการจัดการ 195

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง โครงสร้างพื้นฐานเมือง ซ่ึงในปัจจุบันประเทศไทยได้นำเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้และมาช่วยในการประกอบตัดสินใจ แต่ก็ยังไม่สามารถแก้ปัญหาได้ อย่างแท้จริง อย่างไรก็ตามเพื่อให้สามารถเห็นภาพรวมและปัญหาท่ีเกิดข้ึน เพ่ือให้สามารถบริหารจัดการระบบงานต่างๆ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การที่จะนำเทคโนโลยีหรือระบบต่างๆ มาใช้จะต้องสอดคล้องกับลักษณะ งานและมีแนวทางการแก้ไขปัญหาท่ีตรงจุด ซ่ึงผู้ที่มีบทบาทสำคัญสามารถ ประเมินและชี้วัดของปัญหาได้ เพื่อนำไปสู่การหาแนวทางการแก้ไขปัญหา ไดส้ ะดวกและรวดเรว็ ขึ้นและมีประสทิ ธภิ าพสูงสุด ก่อนท่ีเราจะรู้จักกับระบบตรวจสอบสถานะของระบบ เราต้องรู้จัก กับกระบวนการตรวจสอบระบบสารสนเทศก่อน ซึ่งการตรวจสอบระบบ สารสนเทศ คือ กระบวนการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมและประเมินหลักฐาน เพ่ือท่ีจะพิจารณาว่าระบบมีประสิทธิภาพเพียงใด ที่สามารถป้องกัน สินทรัพย์จากการทุจริต ผิดพลาด รักษาความถูกต้องของข้อมูล ความมี ประสิทธผิ ลของระบบงาน และความมปี ระสิทธิภาพในการใชท้ รพั ยากรของ ระบบ ซึง่ กระบวนการตรวจสอบระบบสารสนเทศ ดงั น ี้ - การควบคุมการเปลี่ยนแปลงแก้ไขระบบ ต้องมีการกําหนด ระเบียบวิธีปฏิบัติในการแก้ไขระบบท่ีเป็นลายลักษณ์อักษร มีการศึกษาถึงผลกระทบต่าง ๆ มีการทดสอบระบบท่ีแก้ไข แล้วก่อนนําไปใช้ มีการจัดทําเอกสารคู่มือประกอบการแก้ไข มีประเมินผลและสอบทานระบบงานภายหลังเรม่ิ ใช ้ - การควบคุมการปฏิบัติงานในศูนย์คอมพิวเตอร์ สามารถ ควบคุมการประมวลผลข้อมูลของระบบงานต่าง ๆ การสํารอง ข้อมูล และการจัดการกับปญั หาของระบบได้ 196

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง - การควบคุมเข้าถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สถานท่ีมิดชิด มีการ รักษาความปลอดภัยหนาแน่น มีการกำหนดเข้าออกได้เฉพาะ ผู้เกี่ยวข้องและนโยบายรักษาความปลอดภัยท่ีชัดเจน มีติด ระบบเตือนภัยกรณีมีผู้บุกรุก จํากัดให้ใช้โทรศัพท์เฉพาะเร่ือง ท่ีเกี่ยวกับงาน ติดอุปกรณีป้องกันเคร่ืองคอมพิวเตอร์ และ ควบคมุ สภาพแวดล้อมในการทาํ งาน - การควบคุมการเข้าถึงข้อมูลและทรัพยากรสารสนเทศ ต้องกําหนด มุมมองของผู้ใช้ (User Views or Subschema) กำหนดตารางแสดงสิทธิในการเข้าถึงฐานข้อมูล (Database Authorization Table) กำหนดการเข้ารหัสข้อมูล (Data Encryption) และกำหนดการควบคุมการอนุมานข้อมูล (Inference Controls) - การควบคุมการเข้าถึงระบบงาน มีการพิสูจน์ตัวจริง (Authentication) รหัสผ่าน (Password) การระบุตัวตนด้วย สิ่งท่ีมีทางกายภาพ (Physical Possession Identification) การระบุตัวตนด้วยค่าทางชีวภาพ (Biometric Identification) การกําหนดสิทธิ (Authorization) และมีการบันทึกกิจกรรม ต่าง ๆ ในระบบเพือ่ การตรวจสอบ (Audit Logging) 20 8.2 การตรวจสอบระบบสารสนเทศ การตรวจสอบระบบสารสนเทศ หรือ IT Audit จากการสัมภาษณ ์ ผู้ตรวจสอบระบบสารสนเทศ หรือ IT Auditor ท้ังหน่วยงานภาครัฐและ เอกชนหลายแห่ง พบว่าการตรวจสอบระบบสารสนเทศในทุกวันน้ี ถือเป็น 20 เอกสารประกอบการบรรยาย หัวข้อการตรวจสอบระบบสารสนเทศ โดย ผศ. ดร.ประจิต หาวตั ร 197

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง เร่ืองสำคัญที่ทุกองค์กรต้องปฏิบัติ ท้ังการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) โดยพนักงานตรวจสอบขององค์กรเองโดยเฉพาะ ตลอดจน การตรวจสอบจากภายนอก (External Audit) เช่น การตรวจสอบจาก บริษัทแม่ในต่างประเทศ หรือ การตรวจสอบจากหน่วยงานท่ีมีหน้าที่ใน การควบคุม เช่น กลต. มีหน้าที่ตรวจสอบบริษัทหลักทรัพย์ หรือธนาคาร แหง่ ประเทศไทยมีหน้าทีต่ รวจสอบธนาคารพาณชิ ย์ เปน็ ตน้ หลักการในการตรวจสอบระบบสารสนเทศท่ีถูกต้องก็คือ ต้องมีการ ประเมินความเส่ียง (Risk Assessment) ขององค์กรเสียก่อน ซ่ึงมีข้ันตอน สำคัญที่ต้องปฏิบัติ เช่น การระบุปัจจัยท่ีมีผลทำให้เกิดความเส่ียง และ การระบุความเสี่ยงท่ีมีโอกาสเกิดขึ้น (Risk Identification), การวิเคราะห์ ความเส่ียง (Risk Analysis) และการบริหารจัดการกับความเส่ียง (Risk Management) การตรวจสอบระบบสารสนเทศต้องพิจารณาเรื่องของ Control หรือ การควบคุม ว่าได้มีการจัดการอย่างถูกต้องหรือไม่ การตรวจสอบ การควบคมุ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ - การควบคมุ แบบปอ้ งกนั ลว่ งหนา้ (Preventive Control) - การควบคุมแบบค้นหาประวัติเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน (Detective Control) - การควบคุมแบบแก้ไขปัญหาจากเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้น (Corrective Control) IT Auditor ควรจะพิจารณาการควบคุม (Control) ไปพร้อม ๆ กัน ท้งั 3 มุมมอง ได้แก่ 198

Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง - มุมมองทางดา้ นการบริหารจัดการ (Administrative Control) - มุมมองทางด้านเทคนคิ (Technical Control) - มมุ มองทางดา้ นกายภาพ (Physical Control) IT Auditor ต้องมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนกระบวนการ ตรวจสอบระบบสารสนเทศ (IT Audit Process) ตลอดจนมีความรู้ด้าน เทคนิคเชิงลึก (IT Audit Technical Know-how) ในระบบท่ีต้องเข้าไป ตรวจสอบ เราสามารถแบ่งประเภทของงานตรวจสอบระบบสารสนเทศออกเป็น 7 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ 1) การตรวจสอบระบบปฏบิ ตั กิ าร (NOS Audit) เชน่ การตรวจสอบ ระบบ Server ที่ใช้ MS Windows เช่น Windows NT, Window 2000 Server ตลอดจน Workstation ที่ใช้ Windows XP เป็นต้น การตรวจสอบควรจะครอบคลุมถึง ระบบปฏิบัติการอื่นด้วย เช่น การตรวจสอบระบบปฏิบัติการ Unix เช่น Sun Solaris, HP/UX, IBM AIX และ ระบบปฏิบัติ การ Linux ทีไ่ ดร้ ับความนิยมเพิ่มขึน้ เร่อื ยๆ 2) การตรวจสอบอุปกรณ์เครือข่าย (Network Devices Audit) เช่น การตรวจสอบ Router, การตรวจสอบ Switching และ การตรวจสอบ Remote Access Server ตลอดจน การตรวจสอบ โครงสร้างของเครือข่าย (Network Infrastructure Audit) และ ประสิทธิภาพของเครือข่าย (Network Performance Audit) โดยใช้โปรแกรมตรวจสอบประเภท Packet Sniffer หรือ RMON Probe เปน็ ตน้ 199

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง 3) การตรวจสอบอุปกรณ์รักษาความปลอดภัย (Security Devices Audit) เช่น การตรวจสอบ Firewall, การตรวจสอบ Intrusion Detection System (IDS), การตรวจสอบ Intrusion Prevention System (IPS), การตรวจสอบ โปรแกรม Enterprise Anti-Virus, การตรวจสอบ VPN Server เปน็ ต้น การตรวจสอบอุปกรณร์ ักษาความปลอดภยั น้นั เปน็ ส่งิ ท่ี มีความจำเป็นอย่างสูง เพราะถ้าอุปกรณ์รักษาความปลอดภัย มีปัญหาเสียเอง หรือโดน Hacker เจาะเข้ามา compromised ก็จะทำให้เกิดปัญหากับความปลอดภัยของระบบโดยรวม ผู้ตรวจสอบควรเป็นผู้ชำนาญงานด้านการใช้งาน Firewall หรือ IDS/IPS มากอ่ นด้วยจะช่วยได้มาก 4) การตรวจสอบโปรแกรมฐานข้อมูล (RDBMS Audit) เช่น การ ตรวจสอบ Oracle, IBM DB2, Microsoft SQL Server, Informix, SYBASE หรือ MySQL RDBMS การตรวจสอบ โปรแกรมฐานข้อมูลควรกระทำควบคู่ไปกับการตรวจสอบระบบ ปฏิบัติการที่โปรแกรมฐานข้อมูลทำงานอยู่ เช่น Oracle ทำงาน บน Unix เป็นต้น เพื่อท่ีจะเจาะลึกลงไปในด้านความปลอดภัย ของตัวโปรแกรมฐานข้อมูลเองว่ามีช่องโหว่หรือไม่ ผู้ตรวจสอบ ควรเป็นผู้เชี่ยวชาญการใช้งานโปรแกรมฐานข้อมูลนั้น ๆ มาก่อน เพราะการตรวจสอบต้องใช้ความรู้เชิงลึกทางด้าน RDBMS ดว้ ย 5) การตรวจสอบโปรแกรมประยุกต์และโปรแกรมท่ีให้บริการ ในลักษณะ Server (Application Specific Audit) เช่น การ ตรวจสอบ Web Server IIS บน Microsoft Windows Platform และ การตรวจสอบ Web Server Apache บน Unix/Linux Platform ซ่ึงท้ัง 2เป็นโปรแกรม Web Server 200

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง ยอดนิยมอยู่ในขณะน้ี นอกจากการตรวจสอบ Web Server แล้ว IT Auditor ควรตรวจสอบ Mail Server, FTP Server, LDAP Server, RADIUS Server ตลอดจน DNS Server ซ่ึงถือเป็นหัวใจหลักของระบบ หาก DNS Server มีปัญหาจะ ทำให้ระบบไม่สามารถอ้างอิง Hostname ได้ ซ่ึงจะก่อให้เกิด ปญั หาใหญก่ บั ระบบโดยรวม 6) การตรวจสอบกระบวนการบริหารจัดการควบคุมด้าน สารสนเทศ (Administrative Control) จากข้อ 1 ถึง ข้อ 5 เป็นการตรวจสอบในมุมมองทางด้านเทคนิค (Technical Control) การตรวจสอบในมุมมองการบริหารจัดการนั้น ได้แก่ การตรวจสอบ Policy, Standard, Guideline และ Procedure ที่องค์กรมี อยู่ว่าครอบคลุม และ มีการปฏิบัติตามหรือไม่ ในข้ันตอนนี้รวมถึงการตรวจสอบว่าองค์กรมีการจัด ฝึกอบรม ด้านการรักษาความปลอดภัย (Security Awareness Training) หรือไม่ ซ่ึงตามปกติควรจะ มีเป็นประจำทุกป ี การตรวจสอบการบริหารจัดการนั้นต้องพิจารณาจากโครงสร้าง หน่วยงาน, การแบ่งแยกหน้าที่ต่างๆในหน่วยงาน, การจัดทำ แผนสำรองฉุกเฉิน และแผนรับเหตุการณ์ (Business Continuity Planning , Disaster Recovery Planning and Incident Response Procedure) ตลอดจนการควบคุมการ เปลีย่ นแปลงระบบงาน (Change Control Management) 7) การตรวจสอบด้านกายภาพ (Physical Control) ได้แก่ การตรวจสอบระบบควบคุมการเข้า-ออกศูนย์คอมพิวเตอร์, การตรวจสอบ Hardware ระบบ Backup/Restore และระบบ ไฟสำรอง เช่น มี UPS เพียงพอหรือไม่ การตรวจสอบอุปกรณ์ เฝ้าระวงั เช่น กล้องวงจรปิด (CCTV) เปน็ ต้น 201

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง ปัญหาที่แท้จริงของการตรวจสอบระบบสารสนเทศในทุกวันน ี้ คือ การขาดบุคลากรที่มีความรู้และประสบการณ์ในการตรวจสอบด้าน สารสนเทศโดยเฉพาะ หรือ บุคลากรที่มีอยู่ยังขาดการอบรมความรู้ใหม่ ๆ ทางด้านเทคนิค เช่น ความรู้ด้าน Vulnerability Assessment และ Penetration Testing ตลอดจนยังขาดความรู้พ้ืนฐานทางด้านเครือข่าย เช่น ISO OSI Layer Model, TCP/IP Protocol Suite และ ความรู้การ ใชง้ านระบบปฏิบัตกิ ารพ้นื ฐาน คือ Microsoft Windows และ Unix/Linux ตลอดจนความรู้พ้ืนฐานในการใช้งานอุปกรณ์เครือข่าย Router หรือ Switching ซ่ึง IT Auditor ควรมีความรู้พ้ืนฐานในระดับ CCNA (Cisco Certified Network Associate) ความรู้ทางด้านความปลอดภัยข้อมูลก็เป็นเร่ืองสำคัญเช่นกัน IT Auditor ควรเข้าใจ Concept ของ CIA TRIAD (Confidentiality, Integrity and Availability), การทำงานของ Firewall และ IDS ในบริเวณ Network Perimeter ขององค์กร ตลอดจนวิธีการบุกรุกของ Hacker และ การทำงานของ Virus ดังน้ัน IT Auditor นอกจากควรจะมี CISA Certification เพื่อ แสดงถึงความรู้ในด้าน IT Audit Process แล้ว ก็ควรจะมีความรู้พื้นฐาน ทางด้านเทคนิคด้วย ทั้งด้านระบบเครือข่ายและระบบปฏิบัติการที่ตนเอง ต้องเข้าไปตรวจสอบ ทางแก้ปัญหาในเชิงบูรณาการก็คือ IT Auditor ต้อง เข้ารับการฝึกอบรมทางด้านเทคนิคเพิ่มเติม หรือ หาความรู้เพิ่มด้วย ตนเองจากการติดตามข่าวสารเทคโนโลยีด้านความปลอดภัยใหม่ ๆ อยู่ ตลอดเวลา เพื่อให้ทันกับยุคที่การสื่อสารไร้พรมแดน และ ภัยอินเตอร์เน็ต ไม่วา่ จะเปน็ Hacker และ Virus ทีน่ ับวันจะทวคี วามรนุ แรงมากข้นึ 21 21 หนงั สอื eWeek Thailand 202

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง 8.3 ระบบตรวจสอบสถานะและจัดการโครงสร้างพ้ืนฐาน เมอื งในประเทศไทย 1) ระบบการตรวจสอบของไปรษณยี ไ์ ทยระบบตดิ ตามและตรวจสอบ ส่ิงของฝากส่งทางไปรษณีย์ ซึ่งระบบนี้เป็นบริการสำหรับการติดตามและ ตรวจสอบส่ิงของที่มีการฝากส่งภายในประเทศไทยและระหว่างประเทศ โดยที่ผู้ใช้บริการสามารถติดตามผลของการฝากส่งสิ่งของทางไปรษณีย์ของ ผู้ใช้บริการด้วยข้ันตอนง่ายๆ เพียงกรอกหมายเลขสิ่งของจากใบเสร็จรับ ฝาก แล้วเล่ือนล็อคเพื่อค้นหา ผู้ใช้บริการก็จะทราบข้อมูลสถานะของ สงิ่ ของได้ 22 22 http://track.thailandpost.co.th/tracking/default.aspx 203

1) ระบบการตรวจสอบของไปรษณยี ไทยระบบติดตามและตรวจสอบส่ิงของฝากสงทางไปรษณีย ซึ่ง ระบบนS้ีเปmนaบrtริกCาitรyสํากหารรพับฒั กานราแตลิดะปตราบั มใชแ้ระลบะบตITรวในจกสารอบบรสิห่ิงารขจอัดงกทาร่ีมเมีกือางร ฝากสงภายในประเทศไทยและระหวาง ประเทศ โดยท่ีผใู ชบ รกิ ารสามารถติดตามผลของการฝากสงส่ิงของทางไปรษณียของผูใชบริการดวยข้ันตอน งสาถยาๆนะเพขอียงงสกิ่งรขออกรงหปูไมดทา2 2ย่ี 8เล.ข3ส-1ิ่งขตอวั งอจายกา่ ใงบรเะสบร็บจรกับาฝราตกรวแจลสวเอลบ่ือสนถล็อานคเะพขื่ออคงนสหงิ่ าขผอูใงชฝบารกิกไาปรรกษ็จะณทยี รไ์าทบยขอ มูล ที่มา: http://track.tรhท ปูailทมี่ anี่าd8:p.3ohst-tt1.pco:ต/.t/ัวht/อrtarยacาckkง.itnรhgะ/adบileaบfanกudาltpร.aoตsspรtxว.cจoส.tอhบ/tสraถcาkนinะgข/dอeงfสaิ่งuขltอ.aงsฝpาxก ไปรษณียไทย 2) ระบบทะเบียนและประมวลผลสำหรับสถาบันการศึกษา ระบบ นธสุรถักกาศบากึ รันษตกา2าาแ)งรลๆรศะะกึ อบใษานบาจทสใรในทานาะะระมรบปเยบเะบราบสะียบรผียเาถนาทบนมนอแศผแาำไลรลU่าทนถะะsนยลวeปปงยเrรรปUทคะะนIะsnมวมรเetวาบะeวrลมบียrลผfนสบIaผลnเทcะลรสetด่สีียํขeาาวนหอrมใกกfนรางaาใับรรสหcรถูปสถสeอ้กแถอาําับบาบนในบบนนวันันตยักรWกากคูปศราาeวาึกแรรbางศศษมบกึกสึกาAาบษะรแpษดเาลpWราวlียะรใiกceนนคะใabกบหปณtiากบoรราAับทnะสจpนเะอาสทัpกเรนาบศศlยมiียเึกcไา์ทปนทษaรน่ีทแtถายสiลำแบoวธะลงเnนปุรปะบทกคร็นอสี่รณะากราวมรสาะมมตวจถบขาลาา่าอบรรผนงมยทถลๆะูลทขข ่ี ท่ีทออุกํางง อยางเก่ียวกับกาบร่งศบึกอษกาไสวถในารนะะบขบองเชนนักศระึกบษบาหแอลงะสอมาุดจอาอรนยไ์ ลสนา มระาบรถบรลับงทสมะัคเบรนียักนศเรึกียษนา กราะรบสบอกนารขึ้น ทะเบยี นบณั ฑติ รตะาบรบากงากราแรจเง รขียอ มนูลกขาา รวสาอรนตา งเๆป็นเปสน่วตนน ท่ีรวมข้อมูลทุกอย่างเก่ียวกับการศึกษา 20422 http://track.thailandpost.co.th/tracking/default.aspx

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง ไว้ในระบบ เช่น ระบบห้องสมุดออนไลน์ ระบบรับสมัครนักศึกษา ระบบ การขน้ึ ทะเบยี นบัณฑติ ระบบการแจ้งข้อมูลขา่ วสารต่างๆ เป็นต้น รปู ที่ 8.3-2 ตวั อยา่ งระบบการตรวจสอบบทสทถี่ 8ารนะะบขบตอรงวสจสถอาบบสนัถากนาะรแลศะกึ จดัษกาาไรทโคยรงสร างพื้นฐานเมอื ง ทม่ี า: http://wทwีม่w.าre:gh.ktmtpit:l/.a/wc.twh/win.dreexg/.inkdmeixt.lp.ahcp.th/index/index.php รปู ที่ 8.3-2 ตวั อยางระบบการตรวจสอบสถานะของสถาบันการศึกษาไทย ปพระยรดาาับกกรฏกณรก3มอา)ราเรอรสรณกทาาะัุงตาธยยกบคศุนรัดงงบโใิยรนาานกพมนนมชร3โยชวะลพปวา)างทิทกยรยเตรวรรายีสาิตลวณกะกาาางาฏอบรงรเทเทาๆสณกปีก่บกคนาํา็นเ์อาพโรลชเศนาหณังทนยโกจรนลศา์ธาะะแ่ยวกแศรมบผียสรลาปบรนางถมะพณดรรางึ ชกะสิยนน์อราจานาไขวตกหำราเมอทรวิตสวกทงณันศื่่าอารคง้ั แแองสอัฐศวลๆาลอาาบกะะมกรราาเกพปสชศละาทูงรย่นขรไบขะำอทาสกอบหกง่ืแอยากงรสพผนศครณาร่น้เายมลรตะทดอ์่ือนาือดท่ีุตใินากนันบรําุนกไตราหกกิยหาายณนมศรงาวงๆาวมรใ์าอทิทน2คพน3าี่ยใชวสพยนกาา่วังยากมงาเกากาปเสศกัดรวรนูงรพลขกณหขณยารอนอ์อทาอะงว งกาี่ทกายกครกกงำรณลราาาลวน่ืนมศศอังงขปาอกรงาะรศจฐั ําบรวาาันยลแงไทลานะย จะมาถึง รวมทัง้ ออกประกาศเตือนต่างๆ23 23 https://th.wikipedia.org/wiki/กรมอุตนุ ิยมวิทยา 205

Sm3a)rtรCะiบtyบพกยาราพกฒั รณนาแอลาะปกราับศใช้รระะบบบบITพในยกาากรบรรณหิ าอราจกัดกาาศรขเมอืองงก รมอุตนุ ยิ มวทิ ยา เปน หนว ยงานของรัฐบาลไทย ระดับกรม สังกัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทําหนาที่ในการพยากรณอากาศ รายงาน พปรยาากกรฏณกอาราณการธศูปรใทรนมี่ชช8วาง.3เตว-ิตล3าางทตๆี่กวั าํอเลชยงันา่จงะแรมผะานบถดึงบินพรไวหยมวาทกค้งั รอวณอามก์อปสาูงรกขะากอศางขศคอเลตง่ืนอื กนรรตามายองงๆตุ า2นุน3พิยยมาวกิทรยณาอ า ก า ศประจําวันและ ทีม่ า: http://wwwท .t่ีมmาd:.ghot.รtthpปู /:tท/h/wี่a8ilwa.3nwd-.3.ptmhตpdวั .gอoย.tาhง/รthะaบilบanพdย.pาhกpร ณอากาศของกรมอุตนุ ิยมวทิ ยา 8-6 23 https://th.wik8Aipe.pd4iap .olrเgi/cทwaikคi/tกiโรoนมอnตุโุน ลิยมยวทิีกยาารรับข้อมูลข่าวสารโดยใช้ Smart Smart City: การพัฒนาแงลาะนปรวับิจใชัยรขะบอบงITEใ.นwกาeรlบbรoิหuารrจnัดeก,ารเPมaอื งng.wu, X.bao และ E.tapia24 พัฒนาวิธีการเก็บข้อมูลท่ีมีปริมาณมาก ใช้เวลาน้อย ท้ังยังเป็นการติดต่อ ส่ือสารระหว่างผู้ให้ข้อมูลโดยตรง ผ่านทางโทรศัพท์มือถือ โดยข้อมูล เหล่านั้นจะเป็นพ้ืนฐานสำหรับงานวิจัยเก่ียวกับกิจกรรม การจัดกลุ่มข้อมูล หรือทำเหมือนข้อมูล (Data mining) และข้อมูลการเคล่ือนไหวหรือ 24 Evan Welbourne, Pang Wu, Xuan Bao, Emmanuel Munguia-Tapia, Crowdsourced Mobile Data Collection: Lessons Learned from a New Study Methodology 206

Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง เครือข่ายทางสังคมในพื้นท่ี อย่างไรก็ตามการศึกษาและพัฒนาระบบน้ีจะมี ค่าใช้จ่ายสูงและต้องใช้เวลานานในการปรับปรุงเทคโนโลยี วิธีการรับและ ส่งข้อมูล วิธีการคัดกรองข้อมูล และการโฆษณาประชาสัมพันธ์เพื่อ ฝกึ อบรมผใู้ ช้งานระบบ เป็นต้น วิธีการเก็บข้อมูลโดยใช้โทรศัพท์มือถือในปัจจุบัน เช่น การศึกษา ของ Laurila, 2012 25 และ Aharony, N., 201126 ที่มีการพัฒนา แอพพลิเคช่ันติดต้ังบนโทรศัพท์มือถือ เพ่ือให้ผู้ใช้บริการหรือผู้แจ้งข้อมูล ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการแจ้งหรือให้ข้อมูลในแต่ละครั้ง การติดตั้ง แอพพลิเคช่ันเพ่ือเร่ิมใช้งานจะมีการลงชื่อผู้ใช้งานพร้อมเบอร์โทรติดต่อ เพ่ือให้สะดวกต่อการควบคุม โดยท่ัวไปองค์ประกอบของการเก็บข้อมูลด้วย วิธีน้ี ประกอบด้วย กลุ่มคนที่ใช้ และระบบการสื่อสารระหว่างกลุ่มคนกับ หน่วยจัดเก็บข้อมูล ซ่ึงนักวิจัยหรือผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถท่ีจะเข้าถึงหรือ ดึงข้อมูลที่ต้องการมาทำการวิเคราะห์เพื่อใช้ประโยชน์ข้อมูลต่อได้ ดังรูปที่ 8.4-1 25 Brabham, D.C.,“Crowd Sourcing as a Model for Problem Solving: AnIntroduction and Cases”, Convergence: International Journal of Research into New Media Technologies, February 2008, 14(1), p76-90. 26 Aharony, N. et al., 2011, Social fMRI: Investigating and shaping social mechanisms in the real world. Pervasive and Mobile Computing 7 643-659. 207

Aharony, N.,201126 ทมี่ กี ารพฒั นาแอพพลิเคช่นั ตดิ ตั้งบนโทรศพั ทม อื ถือ เพอ่ื ใหผูใชบริการหรือผูแจงขอมูล ไมSเสmียaคrtาใCชitจyายกใานรกพาัฒรนแาจแลงะหปรรับือใชใหร้ ะขบบอมITูลใในนกแารตบลริหะาครรจั้งดั กการาเรมตอื ิดง ตั้งแอพพลิเคช่ันเพื่อเริ่มใชงานจะมีการลงช่ือ ผใู ชงานพรอ มเบอรโ ทรตดิ ตอ เพอ่ื ใหส ะดวกตอการควบคมุ โดยท่ัวไปองคป ระกอบของการเก็บขอมูลดวยวิธีนี้ เ8ปก.ร4ีย่ ะ-ว1กขออบงสดารโวมทูปยารทรกศถี่ลัพท8ุมีจ่.คท4ะน์มเ-ทข1อื า่ีใถถชรึงะือแหบ ลรบะือรดกะึงาบขรบอจมกัดูลาเรทกส่ีต็บ่ืออสขงาก้อรามรระูลมหจาวทาาํกางกฝกาลูงรุมชวคิเนคนรก(าับะCหหroนเพwวื่อยdใจชัดปSเรกoะ็บuโขยrอcชมiนnูลขgอซ)ม่ึงูลนผตัก่าอวนิไจดัย หดรังือรูปผูทที่ี่ ท่ีมา : Crowdsทoี่มurาced: MCorboiwle dDsatoauCrocleledctioMn,oLbeislseonDs aLetarnCedolflreomctiaonne,wLsetusdsyomnesthLoedoalrongey d from a new ร sปู tuทdี่ y8.4m-e1thรoะdบoบloกgาyร จดั เก็บขอ มลู จากฝูงชน (Crowd Sourcing) ผา นโทรศพั ทม ือถือ ดังท่ีกล่าวไว้เบื้องต้นวิธีการเก็บข้อมูลจากฝูงชน สามารถลดค่าใช้ จ่ายในการเก็บข้อมูล เก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมากโดยใช้เวลาน้อย 24 Evan Welbสouาrมneา, PรaถngคWัดu,กXรuaอnงBแaoล, Eะmเmลaือnกueใl ชM้uขn้อguมiaู-ลTaโpดiaย, Cเroฉwพdsาouะrกceลd ุ่มMoปbiรleะDชatาaกCoรllเeปct้iาonห: มLeาssยon s Learned 2fJr5oouBmrrnabaalhNaoemfwR,eไเSDstดช.euCad่้.สน,r“ycะChMrดoโienwtทวthodกoรNSdoeoศเuwloชัrพcgM่นiyneทgd์aiมอasาTืaอeชMcถhีพonื dอoelอloแfgาoierยลsP,ุ rะFoแebคbลler่ าuะmaสตrSy่oงำ2lแv0ขi0nห้ 8อg,:นม1A4่nงู(ลI1ทn)t,่ีrอpoเ7dยน6uู่-c่ื9อเt0iปo.งn็นจaตnาd้นกC2aเ7sปesไ็ น”ม, Cก่มoาnีคvร่eาrสอgeุ่ปงncกผe:ร่ าInณนter ์ national 26 Aharony, 7Nแไ.6มอe4t่ส3พ-a6าl5.พ,ม92.ล0า1ิรเ1ค,ถSชเoกcั่นia็บlแfไMบดR้คIบ: Iรnอvอeอsบtนigคaไtลลinุมgนaท์ndุกอsกยha่ลาpงุ่มinไgปรsoรกcะi็aตชl mาาeมกchรขa้อnเisจชmำ่นsกinักดthลขeุ่มrอeทaงlว่ีไwมิธorี่มกld.ีโาPทรerรนvaศี้siัพvคeืทอan์ d Mobile Computing Smart City:สกมาราพรฒั ์ทนโาฟแลนะปรเับปใช็นรตะบ้นบ IสTำในหกรารับบคริหวาารมจดั ทก้าารทเมาือยงของวิธีการน้ี เช่น การตรวจสอบ 8-7 และยนื ยนั ขอ้ มลู จำนวนมากซง่ึ ต้องมกี ารคดั กรองข้อมลู ทีบ่ ิดเบอื น 27 Schmidt, L.A.,2010, Crowdsourcing for Human Subjects Research. CrowdConf. 208

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง งานวิจัยของ M. Hamilton, F.Salim, E.Cheng และ S. L.Choy28 เก่ียวกับการพัฒนาระบบรับแจ้งเหตุอาชญากรรมหรือปัญหาต่างๆ ในการ เดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะผ่านโทรศัพท์มือถือและสื่อสังคม ออนไลน์ (Social Media) เพ่ือบริหารจัดการและเพ่ิมความปลอดภัย ในการเดินทางให้กับผู้โดยสารในเมืองเมลเบิร์นประเทศออสเตรเลีย โดยผู้โดยสารสามารถท่ีจะรับรู้เหตุการณ์หรือสถานการณ์ต่างๆ ผ่านทาง แอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์มือถือ นอกจากนี้ข้อมูลการวิเคราะห์พฤติกรรม ทางสังคมหรือประชาชน ยังสามารถช่วยให้ผู้มีอำนาจตัดสินใจหรือ ผู้บริหารพ้ืนที่ใช้ในการวางแผนกำหนดนโยบาย และกลยุทธ์ในการ เพิ่มความปลอดภัยในอนาคต การออกแบบและพัฒนาระบบการรับข้อมูลจากฝูงชน (Crowd Sourcing) น้ีจะใช้แอพพลิเคช่ันบนโทรศัพท์มือถือเป็นหลักในการรวบรวม ข้อมูล โดยการสนับสนุนหรือส่งเสริมให้ประชาชนรู้สึกปลอดภัยเม่ือร่วมมือ หรือมีส่วนร่วมในการรายงานปัญหาอาชญากรรมท่ีพบเจอและร่วมให้ข้อมูล เกี่ยวกับการขนส่งและบริการฉุกเฉินช่วยเหลือโดยรอบ เพ่ือเป็นข้อมูล สำหรับผู้โดยสารหรือผู้เดินทางคนอื่นๆ บนแผนท่ี ซึ่งเป็นรูปแบบการนำ เทคโนโลยีมาใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างมีศักยภาพ สามารถรับข้อมูลได้ ในปริมาณมาก โดยใช้เวลาน้อย ลดค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูล และ สามารถคัดกรองขอ้ มลู ตามท่ตี ้องการได้ 29 28 M. Hamilton, F.Salim, E. Cheng and S. L. Choy, 2012, Transafe: A Crowdsourced Mobile Platform for Crime and Safety Perception Management 29 Laurila, J.K. The Mobile Data Challenge: Big Data for Mobile Computing Research. Mobile Data Challenge Workshop in conjunction with Pervasive’12, 2012 209

Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง การแจ้งข้อมูลแต่ละครั้งผู้ใช้แอพพลิเคชั่น สามารถส่งภาพถ่าย ระบุ ก. E รายละเอียดข้อมูลปัญหาท่ีพบ ตำแหน่งสถานที่ พร้อมให้สัญลักษณ์แสดง ระดับความรุนแรงหรือสำคัญของปัญหา เรียกว่า “Emometer” ดังรูปที่ ที่มา : 8.4-2 (ซ้าย) โดยข้อมูลจาก Emometer สามารถแสดงถึงระดับความ รุนแรงหรือความคิดเห็นต่อปัญหาต่างๆ ว่าอยู่ในระดับไหน สามารถใช้เป็น ตําแ ข้อมูลพ้ืนฐานประกอบการตัดสินใจในการจัดลำดับความสำคัญและความ ตดั ส จำเป็นเร่งด่วนของปัญหา หรือใช้ในการกำหนดนโยบาย สำหรับผู้บริหาร เหตุก พ้ืนท่ีต่อไป โดยหน้าจอแสดงรายการปัญหาและระดับของ Emometer ถูกค ที่รบั แจง้ จากประชาชน แสดงดังรูปท่ี 8.4-2 (ขวา) และ Sutt รูปท่ี 8.4-2 แสดงตัวอย่างสัญลักษณ์ของ Emometer เพื่อวัดระดับ ความรสู้ ึกของประชาชน บทที่ 8 ระบบตรวจสอบสถานะและจดั การโครงสรา งพน้ื ฐานเมอื ง กที่ม.าE:ทmA่ีมoCรrmาปูowทe:d่ีts8eoAก.ru4.rคแc-C2eสEวdrดาmแoMงมสowoรรดbะmidนุงดleตesับแPtวัoครleaอuวงtrยfาขroามcแrอmงรeสงสุนdfปดoญั แrัญงCรลMrรงiกัmหะขoษeาอดbณ aงับinปlขd eญอSหaงPfeาEltaymขtPf.oeorสmcreรmpุปettiรoeาnfrยoMกขเraพCา.nพร่ือarสปgรวiemญรอ้ดัmุปรมeหeะnรราดtาaตะับยาnดคงกdบัๆวาาSพรEมปรamรอfญัสู eมoกึ หtรmขyะาอeดตงtPับeา่ปeงrรE rๆะmcชeo าpmชtนeiotenr Management ตําแ หนงงจาุดนอวันิจตัยรขาอยง Jose Camou30 ไดพัฒนาแอพพลิเคช่ัน ที่เรียกวา “Urban Forecast” สําหรับแสดง 30 Jos เพื่อใหประชาชนไดหลีกเล่ียงสถานที่ท่ีเปนอันตราย ตรวจเช็คเสนทางบนแผนที่เพ่ือ mana ตดั สนิ ใจกอ นออกจากบา น และสามารถแจง เหตกุ ารณต างๆ ที่พบเจอพรอมกบั กําหนดระดับความรุนแรงของ Sma เหตุการณ โดยสงเปนขอ ความพรอ มระบตุ ําแหนงลงบนแผนท่ี ขอมลู ท้งั หมดจะถูกจัดเก็บในฐานขอ มลู และจะ 210ถูกคดั กรองโดยเจาหนาทีห่ รือผพู ฒั นาระบบ งานวิจัยนี้เปนการประยุกตใชขอมูลสารสนเทศมาชวยปรับปรุง และบริหารจัดการความเสี่ยงผานทางสื่อสังคม (Social Media) ในการเผยแพรขอมูล (Palen, Vieweg, Sutton, Liu, & Hughes, 2007 [13]) ดงั รูปที่ 8.4-3

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง E:mA oCrmowedtseorurแceสไ“dดดUM้หงrobรลbะaกี iดlnงeเับลาPFน่ยีคloaงววtrสfิาจeoถมัrยcmารaขนุนsfอotทแrง”Cรท่ี rงสiJี่เmปขoำeอน็หsaงeอรnปนัับdCญ ตแSaหaรสmfาeาดยtoyงuขตPต3.eำร0rสแcวeไรหจpดุปเนtช้พiรo่ง็คาnัฒจเยุMสดกนน้aอาาnัทนรaแปgาตอeงญรmพบาหeนพยnาแลtตผเิเพาคนง่ือชทๆใั่นีเ่ หพพ้ป่ือทรรตอ่ีเะรมัดีชยรสาะกนิ ชดวในจับ่า Emometer รูปที่ 8.4-2กแ่อสนดองอตกัวจอายกา บง้าสนัญลแกัลษะสณาข มอางรถEแmจo้งเmหeตtุกeาrรเณพ์ตือ่ ่วางัดๆระทด่ีพับบควเจาอมพรสูร้อึกมขอกงับประชาชน กำหนดระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ โดยส่งเป็นข้อความพร้อมระบุ แคสกหดันิ ากนใรจรงณกงอจาองุดโนโนดอดวอยันยิจอสเตัยจกงรขเาจขคตสSปาอหาu้อ่ืัดำอยนงกนtแมกสtขบาเoหJูลัรงพอทoาnนอคสคื่นอ,sหี่ ่งงามวeใLรลโรแาหดือiงCสuมล(ปผบย,aพSนะรูพเนmส&oรเจะัฒทแาอc้าoชมHผศiมหนuาaานuมรนาช3lรgะ0รทา้นาถMhบะช่ีทไไแeบดขุต่วeด่ีหsจ้อพบยําd,หงรแมปัฒiเื2อลaงหหูลร0ผีกา)นตนัทบ0นู้เพากุงลใั้งป7วแัฒลนาหี่ยิจรอรง[กมงุนงั1ยบณพส3แาดนานพต]ถลรรจ)ี้เแาลเปะาะะผผงดนิบเบถนๆคนยงัทูบกรกชรทแิหท่ีจทาูป่ันี่งพัดร่ีพาี่เขทาปปรเรทบอน่ีกจ่นขร8ม่ีเเว็บัดจระ้ออ.ลูิจ4ีใยอกยันมทันย-กพุกา3ูตลั้งนฐรวตร หราี้เคาอใป(ามนชวมPย“็นดขขากaUจ้อกมอตบัlะrมeาเมรbกถสรnูลวูลaําูกป่ีย,จสหnจแรงเVานชดัผะลFรiด็ยคเ่ะoาeสกรุนจกเwrน็บสะeะตทeเใดนcถ์ทในาgaับูทชกงศฐs,้ค าtาม”งวนาบาขชสมนอวํารแมยหุนผูลปรแนับรแรทับแงล่ีเปขสะพ ะบริหารจัดการรูคปวทา่ี ม8เ.ส4่ีย-3งผตานัวอทยา่งาสงหื่อนสัง้าคแมอพ(Sพoลcิเiaคlช่ันMeUdribaa) nในFกoาreรcเผaยsแt พสรำขหอรมับูลรับ(Palen, View ton, Liu, & Hแuจg้งhขe้อsม, 2ลู 0 07 [13]) ดังรูปที่ 8.4-3 ก.หน้าอธิบายการใช้งาน ข. ไอคอนการแจ้งเหตกุ ารณ ์ se Camou, Iowa Stat3e0 UJnoivseersitCy,a2m0o13u,,uIrboawnafoSretcaatset: AUnnaivnealryssiitsyo,f 2a 0cr1o3w, dusor buracnedf omroebcilaesat :ppAfnor crisis agement analysis of a crowdsourced mobile app for crisis management art City: การพฒั นาและปรบั ใชระบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง 211

บทท่ี 8 ระบบตรวจสอบสถานะและจัดการโครงสรางพน้ื ฐานเ Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง ก.หนาอธิบายการใชง าน ข. ไอคอนการแจง เหตกุ ารณ คค..ปปอ อ้ นนรราายยลละะเเออียียดดเเหหตตกุ กุ าารรณณ์  : Urban forecastmท: ี่มAannาaag:neUamlrybesanisnt offoarecrcoawsdt:soAunrceadnamlyosbisileoafpap fcorrocwridsissomuracneadgemmoebntile app for crisis รูปท ี่ 8.4-3 ตวั อยางหนา แอพพลเิ คชัน่ Urban Forecast สาํ หรบั รับแจง ขอมลู จากรูปท่ี 8.4-3 แอพพลิเคช่ันสามารถแสดงตำแหน่งเหตุการณ์ได้ ตากุ การรณณจไ าวIกDลรวขูปงอหทงนเทนขี่ ผห8าอ้ังำใูต.ทงเช4กเขุก่ีเงห-าก้3าาารติดขรนอแุกณ้อขออเา้ึนมวก์รพลจIูลแณDพราบ์3ิทงลป1บขเี่ิเรแเกรคอปะะลิดงชน็กบะผเั่นหตเอบู้ใสหชตน้บนาต้งุก ดาํมาุกาเ้วนาขรายรณารถเขณวขแอแล์ท้อสมลา่ีพมดลูะทยงูรล่ีเปตะกาพกํดาริดิกแะรับเัดหณหกคตอนว์ไชุบากวง่ือม้ลเาดหเ่รวรวหุนตงณยหตุกแ์ นขุรากแงรอ้าาลขณมระกอูลณรไงาดะพเร์ ดหทิกอคับตั้งัอดำทุกคกอชี่เาวแธกร่ือาิบบิดณมเบหาขร3ยรึ้น1ตุนะขุกจแเบปอารรบนริงงงณตแน ลคะําเอหธติบุกาายรข 5 การพฒั นาระบบสนับสนนุ การตัดสินใจในการจัดสรรงบประมาณระดับทองถิ่น การจดั ทาํ งบประมาณ หมายถงึ การทําแผนการปฏิบัติงานในรอบระยะเวลาหนึ่งๆ ขององคกรห วยงาน ท่แี สดงเปา หมาย วตั ถปุ ระสงค และกิจกรรมหรือโครงการท่ีหนวยงานหรือองคกร จะดําเนินก บงปปรระงุ ชกาอชสนรซา ึ่งง Ctกhรreาiะsรi3บTs1จh บัดiinrPสdทfaoาําlIreธmnงnาtบ,aeรtrปLณinc.รa,sปู t:ะVioโมSiภnetาawuคlณdeแCygลio,เnะnปgSfสน.e,cาrกerSธinsาuาictรsรetวoณinnาo,nูงปaแJกE.ผn,-าSeนLรtoiwทucเ,ioพาarlSงk่ือ.กSeชcdBาiว.eร,wยnเ&cงoเหeิrนl.Hdลท.u”ือ่ีถ g.แhือIeลnเsปะ,PนบAroอร.cรงLeคเ.eทdป(iา2nรป0gะ0sญก7o)อห.fบาคทวี่จาํามเปเดนือนแลร ามสําคญั ตอความสําเร็จในการดําเนินงานหรือกิจกรรมตาง ๆ โดยปกติองคกรปกครองสวนทองถ่ินจะ ประมา2ณ1เป2น เคร่อื งมอื ทางการคลังท่ีสําคัญในการบริหารจัดการ การดําเนินกิจกรรมขององคกรใหบร าหมาย

เมือง Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง 8.5 การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการจัดสรร งบประมาณระดบั ทอ้ งถ่นิ การจัดทำงบประมาณ หมายถึง การทำแผนการปฏิบัติงานในรอบ ระยะเวลาหน่ึงๆ ขององค์กรหรือหน่วยงาน ท่ีแสดงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และกิจกรรมหรือโครงการที่หน่วยงานหรือองค์กร จะดำเนินการปรับปรุง ก่อสร้าง ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ เพ่ือช่วยเหลือและ บรรเทาปัญหาความเดือนร้อนของประชาชน ซ่ึงการจัดทำงบประมาณ เป็นการวางแผนทางการเงินท่ีถือเป็นองค์ประกอบท่ีจำเป็น และมีความ สำคัญต่อความสำเร็จในการดำเนินงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ โดยปกติ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะใช้งบประมาณเป็นเคร่ืองมือทางการคลัง ท่ีสำคัญในการบริหารจัดการ การดำเนินกิจกรรมขององค์กรให้บรรล ุ เปา้ หมาย กระบวนการจัดสรรงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีความสำคัญต่อการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาท้องถิ่นเป็นอย่างมาก เนื่องจากงบประมาณเป็นปัจจัยสำคัญในการบริหารงานขององค์กรปกครอง รณท่ี ส่วนท้องถ่ิน เป็นสิ่งท่ีกลุ่มต่างๆ ในท้องถ่ินต้องการได้รับการจัดสรรเพื่อให้ ของ เกิดประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาท้องถ่ิน ดังน้ัน การจัดสรร งบประมาณจึงเป็นภารกิจท่ีผู้เกี่ยวข้องจะต้องใช้หลักการและกระบวนการ ท่ีเหมาะสม เพ่ือให้งบประมาณท่ีถูกจัดสรรไปแก้ปัญหาและพัฒนาท้องถ่ิน ได้ตรงจดุ ข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณาจัดสรรงบประมาณท้องถ่ินต้องมา หรือ จากการสำรวจความต้องการ หรือความเดือดร้อนเร่งด่วนภายในพ้ืนท่ีเสมอ การ เพื่อท่ีจะสามารถวางแผนงานหรือดำเนินโครงการต่างๆ ท่ีรัดกุม และ รอน มีความชัดเจน สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นท่ี และเกิด ละมี ความพึงพอใจต่อประชาชนมากท่ีสุด โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามา ะใช รรลุ 213

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง มีส่วนร่วมในการดำเนินงานขององค์กรท้องถ่ิน เช่น ให้ข้อมูลปัญหาของ ท้องถ่ิน ข้อมูลการร้องเรียน รับแจ้งจากภาคประชาชน ส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของประชาชน และคำนึงถึงความต้องการของประชาชน ตามวิธี การจัดสรรงบประมาณแบบมีส่วนร่วม เพื่อจะได้ส่งผลต่อการพัฒนา ท้องถ่ินให้เป็นไปอย่างรวดเร็ว และตรงกับความต้องการของประชาชนและ ชมุ ชนมากท่ีสุด (ฐติ ิมา จันทรวสิ ิทธ,ิ์ 2553 32) อย่างไรก็ตามการจัดสรรงบประมาณขององค์กรส่วนท้องถิ่น ในปัจจุบัน มีปัญหาอุปสรรค เช่น งบประมาณจะข้ึนอยู่กับผู้ท่ีมีบทบาท สำคัญ ความเท่ียงธรรมในการจัดสรร และความเหลื่อมล้ำในการจัดสรร (นพมาศ พูลศิริ, 2556 33) บ่อยคร้ังท่ีไม่ได้เป็นไปตามแผนหรือความ จำเป็นเร่งด่วน แต่ข้ึนอยู่กับปัจจัยทางการเมือง อำนาจ อิทธิพล และระบบ อุปถัมภ์ บทบาทในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณหรือโครงการตกอยู่ใน กลุ่มของบรรดาผู้มีอำนาจและอิทธิพล (อดุลย์ คันทะเรศร์, 254234) ที่ให้ ความสำคัญกับการพัฒนาท้องถ่ินน้อยมากแต่กลับแสวงหาผลประโยชน์ ส่วนตัว ไม่ปฏิบัติตามหลักการและเหตุผลที่ถูกต้อง สมาชิกของหน่วยงาน หรือองค์กรไม่ได้ทำหน้าที่ตามบทบาทในการตรวจสอบการจัดทำงบ ประมาณ (วัฒนา ชัยสวัสด์ิ, 254135) และการจัดทำงบประมาณยังคงยึด 32 ฐิติมา จันทรวิสิทธิ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ตุลาคม 2553, การวิเคราะห์งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน: กรณีศึกษาเทศบาลตำบล ไผ่กองดนิ อำเภอบางปลาม้า จงั หวัดสพุ รรณบุร ี 33 นพมาศ พูลศิริ, กระบวนการจัดสรรงบประมาณขององค์การบริหาร ส่วนจังหวัดนราธิวาส, วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ปีท่ี 5 ฉบับท่ี 3, 2556 34 อดุลย์ คันทะเรศร์, การเมืองในกระบวนการจัดทำงบประมาณในองค์การ บริหารส่วนตำบล, มหาวิทยาลยั เชียงใหม่, 2542 35 วัฒนา ชัยสวัสด์ิ, การเมืองในกระบวนการจัดทำงบประมาณของเทศบาลนคร เชยี งใหม:่ กรณศี กึ ษาปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2540, มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม,่ 2541 214

Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง ตามงบประมาณในปีที่ผ่านมา โดยที่โครงสร้างของงบประมาณไม่มีการ เปลี่ยนแปลงมากนัก แสดงให้เห็นถึงการจัดสรรงบประมาณที่ไม่ได้ตอบ สนองต่อความต้องการของประชาชนเท่าท่ีควร (สิรินทร อินทร์สวาท, 254236) การจัดสรรงบประมาณของท้องถิ่นที่สำคัญที่สุด คือ ด้านโครงสร้าง พ้ืนฐาน เนื่องจากมีความเก่ียวข้องกับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพ้ืนที่ ซึ่งปัญหาและอุปสรรคท่ีพบมากท่ีสุดคือ ไม่ตอบสนองความต้องการของ ประชาชน พ้ืนท่ีกว้างการรับข้อมูลไม่ท่ัวถึง ผลประโยชน์ ระบบอุปถัมภ์ การมองไม่เห็นประโยชน์ส่วนรวม งบประมาณกับโครงการในพื้นท่ีไม่ สอดคล้องกัน แนวทางแก้ไขปัญหา ควรเน้นถึงความต้องการและประโยชน์ ที่ประชาชนได้รับแท้จริง เอาประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ต้ัง (นพมาศ พูลศิริ, 255637) ดังน้ัน หน่วยงานหรือองค์กรบริหารส่วนท้องถ่ิน จำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องเร่งรัดพัฒนาประสิทธิภาพในกระบวนการจัดสรรงบประมาณ ตลอดจนเร่งส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถ่ินเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหาร ท้องถิ่น สนับสนุนและตรวจสอบการดำเนินงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยกระบวนการจัดสรรงบประมาณจะต้องชัดเจนและมีท่ีมาท่ีไป จัดสรร ตามความจำเป็นและเร่งด่วน ลำดับความสำคัญของปัญหา กระจาย งบประมาณให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ไม่กระจุกตัวอยู่เฉพาะพื้นที่ และจะต้อง พิจารณาตามวัตถุประสงค์ของประชาชน มากกว่าวัตถุประสงค์ของฝ่าย บริหาร 36 สิรินทร อินทร์สวาท, การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของกรุงเทพมหานคร และความสามารถในการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในท้องถ่ิน, มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,์ 2542 37 นพมาศ พูลศิริ, กระบวนการจัดสรรงบประมาณขององค์การบริหารส่วน จงั หวดั นราธวิ าส, วารสารมหาวทิ ยาลยั นราธวิ าสราชนครนิ ทร์ ปที ่ี 5 ฉบบั ที่ 3, 2556 215

Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง ด้วยความสำคัญของกระบวนการจัดสรรงบประมาณ ผู้ที่เกี่ยวข้อง และปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในกระบบวทนท่ี 8กราะบรบจตัดรวสจสรอรบสงถบานปะแรละะจมัดกาาณรโครพงสรรา ้องพมื้นฐกาันบเมือง นำเสนอกรอบแนวคิดการพัฒนาระบบสนับสนุนการจัดสรรงบประมาณ ปงบระปชรเเากะพชมย่ีนื่ดอาววณใมยขชาใคอ้กห้เวกคงปาวรมา็นอ สวบํัตาขคคถ้อัญปุลมุมรขะทอูลสุกงงสกพครื้ำนข ะอทหบง่ีไวรฝมนาับกยกรบชาะรร่จวจิหุกยัดาตรสใัวรนอรยงกบูเฉาปพรราะตะมัพดา้ืนณสทินผ่ี แูทใล่ีเจกะข่ีจยะวอขตงออผงงแพู้บลิจะราปริหญณาหารตาแาอมุปลวสะัตรถรผุปคู้มทระีี่เสกส่วิดงขคน้ึนขอในง กงบรปะรบระวูปมนาทกณา่ี รเ8พจ.ัดื่อ5ใสช-รเ1รปงน บกขปอารมระลู พมสาาํัฒหณรนับพชารวอรยมะในกบักบบานรําสตเัดสนสนับินอใกสจรขนออบงุนผแกูบนราวิหคราิดตรกแัดลาระสพผินมูัฒีสในวจานรแเกะลย่ีบวะบขสกอนงรับะสบนุนวกนากรจาัดรสรร จัดสรรงบประมาณ ศกึ ษากระบวนการจัดสรรงบประมาณ ศึกษาทบทวนวิธีการนําเทคโนโลยี มาชว ยในการพฒั นาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ กระบวนการจดั สรรงบประมาณ แนวทางการพัฒนาระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจและ  ข้นั ตอนการจัดทํางบประมาณ กระบวนการจัดสรรงบประมาณ  ผูทเ่ี กยี่ วของ  หลักการจัดสรรและกระจาย งบประมาณ ปญ หาและอปุ สรรค ในกระบวนการจัดสรรงบประมาณ รูปท1่ี 8).5ก-1รกะาบรพวัฒนนกาาระรบจบัดสสนับรสรนงุนบกปารรตะดั มสนิาใณจแขลอะกงรอะงบควน์กกาารรจบัดรสิหรรางบรปสร่วะนมาจณังหวัด ผูท้ 1ี่ม) บีกรทะบบวานทกสารำจคดั สัญรรใงนบกปาระรมจาัดณสขอรงรองงบคก ปารรบะรมิหาารณสวนสจาังมหวาดั รถสรุปไดด้ ังน้ ี ผทู ีม่ ีบทบ-าท นสําาคยญั กในอกงารคจ์กดั สารรรบงบรปิหระามราณส่วสนามจาัรงถหสวรุปัดไดดมังีบนี้ ทบาทสำคัญโดยจะทำ - บนราหิยกาหรอแนงลค้าะกทกาากี่รรบจำรัดหิหสนารรรดงสบนวปนโรยจะังบมหาาวณยัดใมนีบกทาบราบทสรําหิ คาัญรโแดยลจะะกทาํารหจนดัาทสี่กรํารหงนบดปนโรยะบมายาใณนก าร - สมปขมอาล-เางดัขชรอ านคสากิ งทชอคณมำป่ี กงก รคคาาะาะกรรวกชชบาุมดาิรรกรํคาบหิรมเณอรานมิหตระงินกสาก้คอกรวราสาน์รงกรรวมจกตนาังกแาจหาารมงัรวลรหบรัดะแะวขรลมรัดเบอะีบิห่วมรียทมงวีบาบบมปทกรขากบทบัรอสับาสบะปปท่วําังรชสครคนะําัญะับาชคจชโาตชัญดัชงาายโนนมหดชใกทยในนวํา่ีกนพนกัใดร้ืนําบันพมคทแสพว้ืมรี่นลงาับะนื้เมีบทสปทตทรรร่ีทอ ิมะา่รี มงบสบกับกาปาาาาทนรญรเใทปขรขหหอกาาเส้างปคบปทำรนปรอไคี่ะปปงัญชัสญตราาหวชะมนโนารดชทใ ะนอุมเยพบง ถ้นืีย ่ินบท่ี - กําหนด 216 - ฝายบริหารและฝายนิติบัญญัติ มีบทบาทสําคัญโดย พิจารณาจัดสรรงบประมาณรายจาย ประจําป

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง - ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีบทบาทสำคัญโดย กำกับ และประสานให้เป็นไปตามระเบียบของราชการ ดำเนินการ ต า ม ร ะ เ บี ย บ ข้ อ บั ง คั บ ต า ม ที่ ก ร ม ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ป ก ค ร อ ง สว่ นท้องถ่ินกำหนด - ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ มีบทบาทสำคัญโดย พิจารณา จัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจำปี รูปท่ี 8.5-2 โครงสร้างของผู้ท่ีมอี ำนาจจดั สรรงบประมาณของ อบจ. นายก อบจ. ปลดั อบจ. กําหนดนโยบายการบริหาร ประชาชน สมาชิก อบจ. ประชุม ฝา ยบรหิ ารและ ประชุมใหค วาม ประชาชน คณะกรรมการ ฝา ยนิตบิ ญั ญัติ เห็นชอบ ประชาชน งบประมาณ 217

Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง 2) การจัดสรรงบประมาณลงในพ้ืนที่ต่างๆ จะยึดความเดือดร้อน ของประชาชนในพ้ืนท่ี ปัญหาวิกฤตมากน้อยตามลำดับ ตามอำนาจหน้าท่ี ของ อบจ. กระจายงบประมาณลงในพื้นที่อำเภอต่างๆ ตามขนาดของพื้นท่ี จำนวนประชากร สถานการณ์การคลังของ อบจ. หลักนโยบายและความ จำเป็น แต่ในปัจจุบันยังขาดข้อมูลจากภาคประชาชนท่ียังไม่ท่ัวถึง การรับ แจ้งข้อมูลจากประชาชนยังคงเป็นการแจ้งผ่านโทรศัพท์สายตรง (Call Center) ที่รับเร่ืองผ่านเจ้าหน้าท่ีส่ือสาร และต้องใช้เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติ การเข้าไปตรวจสอบข้อมูลหรือดูพ้ืนท่ี (เพ่ือยืนยันข้อมูล) แล้วจึงดำเนิน การหรือรับเรื่องแจ้งปัญหา ซึ่งกระบวนการรับแจ้งข้อมูลข่าวสารมีความ ลา่ ช้าและคอ่ นข้างใชเ้ วลานาน การนำระบบตรวจสอบมาสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารงาน และการจัดสรรงบประมาณ เนื่องจากในกระบวนการจัดสรรงบประมาณ ผู้มีอำนาจจัดสรรจะต้องรับรู้สภาพปัญหาท่ีแท้จริงในพื้นท่ีอย่างครอบคลุม อีกทั้งยังเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการ จัดสรรงบประมาณโดยเป็นฝ่ายให้ข้อมูลแก่เจ้าหน้าท่ี และติดตาม การดำเนินงานของเจ้าหน้าท่ีเพื่อให้กระบวนการจัดสรรงบประมาณ มีประสิทธิภาพ และสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ภายในพื้นที่ได้อย่างตรงจุด โดยสามารถสรุปกรอบแนวคิดในการพฒั นาระบบได้รูปที่ 8.5-3 218

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง รูปท่ี 8.5-3 ภาพรวมการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการ จดั สรรงบประมาณ บทท่ี 8 ระบบตรวจสอบสถานะและจัดการโครงสรา งพน้ื ฐานเมือง ประชาชน แจงปญ หา ระบบ การวเิ คราะหขอมูล ประชาชน ฐานขอมลู คดั กรองขอ มลู การ แจง คาํ นวณเชงิ สถิต ปญห แจงปญหา จัดลําดบั ความสาํ คัญ า ประเมนิ คา ใชจา ย การ นาํ ขอ มลู ไปใชป ระโยชน ประชาชน ฐานขอมลู ในการวเิ คราะหงบประมาณกอสราง/ ทาํ แผนงบประมาณประจําป ปรับปรงุ /บํารุงรกั ษา รปู ท่ี 8C.5 -3 อภางพคร์ปวรมะกากรอพบฒั ขนาอรงะรบะบบสนบบั สนุนการตัดสินใจในการจดั สรรงบประมาณ 1) ผู้ใช้งานโดยตรง (Direct User) : เป็นผู้โต้ตอบกับ  แอองคพป พระลกิเอคบชขั่นองโรดะยบบตรงท้ังในการรับทราบข้อมูล และแจ้งข้อมูลปัญหาต่างๆ คือ 1ป)รผะูใชงาาชนนโดย ตรง (Direct User) : เปนผูโตตอบกับแอพพลิเคชั่นโดยตรงทั้งในการรับทราบ ขอมลู และแจง ขอ มูลปญหาตา งๆ คือ ประชาชน 2) แ อพพล2ิเ)คชแั่นอ(MพoพbลileิเคAชp่ันplic(aMtioonb)il:eเปAน สp่ือpกliลcาaงtใiนoกnา)รต:ิดตเอปส็นือ่ สาื่อรกระลหาวงาใงนปรกะาชราชนใน แตพออยาํน้ื แาพทอหตฝงหพี่กนย่ิาัวดนลับอย่ขางตเิเย3คงจ้อบรป่)อชนาูปเรรรห่ันรสภ้อะะิหนื่อาโื่กบยอาดาพองบทปสยรปบทฐี่ดรรขราดาะีู่แแะะนอรวบลกจยขกรรบงอ้งอะอพชฐะบมบาือ่บหสื้นลูนบรผดาถขวูใท(หยชDอ้่วาาี่ลงรaมยนงาแอืะtลู นaปฝเทอจอชาS(ะร่ียีพหยตeื่อตดะบอรพrอผขvงรชืองอeมลหิู้ใมาตงrีชกาิเีห)ปชรคาำ้ง:นญขรแนาชเวลอหปนหยั่นใงงานคพทนนทศดั (้นืะี่แจนูพ่งกตเทจบยะร้ืนี่้งออกรีแยตงลงแูอปทน้อขลมาพผ่ีภกองงะพูใีกใมรชอาับนละลูางพกอิเเดารคา(จปกนับDลชร้ราคaจั่นแรงะวtัดหะทบaจบาเกกมนะะบบfi็บตรอเl้)ามtุนอบแeบหทแงลาีrยัวอรiะ่ีเดnขนองรพรgขูอแกวาผ)ื่ออเบแยลหรู้งใบรรื่อปชนลรวบองญวม้งะะมทงยขาหเบา่ีแปรออนเาจัรพบบมียรงะเือู่ลปขมดะรสทนห้อวอบขถั้งตลงมราหบอนผรนือูมลับลง)ทดขข ี่หจออรมามือกูลูล (Daปtaญั Pหroาcทesีแ่ siจnง้g) แลละะหรนะวดยรบั าคยงวาานมผรลนุ (Rแeรpงoขrtอ) งปญั หา เป็นตน้ 4) ผูท่ีมีอํานาจตัดสินใจ (City Manager) : หนวยงานหรือองคกรตางๆ เชน นายกหรือฝาย บริหารขององคก ารบริหารพ้ืนที่ ท่จี ะนําผลการวิเคราะหข อมลู มาใชป ระกอบการแกไขปญหาพรอมกบั การ 219จัดสรรงบประมาณ ในแตล ะระยะ เชน ระยะเรงดวน ระยะกลาง และระยะยาว เปนตน และหนวยงาน งานภาครฐั ที่เกี่ยวของกับระบบโครงสรา งพน้ื ฐาน หนวยงานที่เกี่ยวกับการบังคับใชกฎหมาย สามารถนํา

Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง 3) ระบบฐานข้อมูล (Data Server) : เป็นศูนย์กลางในการจัด เก็บและรวบรวมข้อมูลท้ังหมดจากแอพพลิเคช่ัน โดยระบบฐานข้อมูลจะ ต้องมีหน่วยคัดกรองข้อมูล (Data filtering) หน่วยประมวลผลข้อมูล (Data Processing) และหน่วยรายงานผล (Report) 4) ผู้ท่ีมีอำนาจตัดสินใจ (City Manager) : หน่วยงานหรือ องค์กรต่างๆ เช่น นายกหรือฝ่ายบริหารขององค์การบริหารพื้นที่ ท่ีจะนำ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลมาใช้ประกอบการแก้ไขปัญหาพร้อมกับการจัดสรร งบประมาณ ในแต่ละระยะ เช่น ระยะเร่งด่วน ระยะกลาง และระยะยาว เป็นต้น และหน่วยงานงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้องกับระบบโครงสร้างพื้นฐาน หน่วยงานที่เก่ียวกับการบังคับใช้กฎหมาย สามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ได้ 5) ผู้ปฏิบัติงาน (Worker) : ดำเนินการแก้ไข ปรับปรุง ปัญหาต่างๆ ตามผลการวิเคราะห์และวางแผน พร้อมกับรายงานผลการ ดำเนนิ งานใหก้ บั ผูใ้ ช้งานและฝา่ ยบรหิ ารได้ทราบ จากที่ได้ทำการทบทวนรูปแบบการนำเทคโนโลยีมาช่วยในการ พัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เพ่ือเป็นข้อมูลให้ผู้บริหารหรือผู้ท่ี เก่ียวข้องใช้ประกอบการวางแผนจัดทำงบประมาณ ซ่ึงจากผลการศึกษา กระบวนการจัดสรรงบประมาณในปัจจุบัน แสดงให้เห็นว่าข้อมูลที่เป็น ปญั หาและความตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ที่ มีความสำคญั เปน็ อย่างมาก ต่อกระบวนการจัดสรรงบประมาณ แต่เน่ืองด้วยข้อจำกัดต่างๆ ทำให้ ผู้บริหารหรือผู้ท่ีมีอำนาจตัดสินใจในการจัดสรรงบประมาณ ไม่สามารถ ท่ีจะรับรู้ข้อมูลจากประชาชนได้อย่างครอบคลุมและท่ัวถึงทุกพื้นที่ และ กระบวนการหรือช่องทางรับแจ้งปัญหาต่างๆ ในปัจจุบันผ่านทางโทรศัพท์ สายตรง อาจจะไม่เพียงพอ ไม่มีกระบวนการจัดลำดับความสำคัญและ ความเร่งด่วนของปัญหา และประมาณการงบประมาณดำเนินโครงการ 220

Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง ต่างๆ ที่ชัดเจน จึงได้เสนอรูปแบบวิธีการรับแจ้งข้อมูลจากฝูงชน (Crowd Sourcing) ผ่านทางโทรศัพท์สมาร์ทโฟน (Mobile Application) ซ่ึงเป็น ช่องทางที่สะดวก รวดเร็ว และสามารถรับข้อมูลจากประชาชนได้เป็น จำนวนมาก ไม่มีค่าใช้จ่ายในการแจ้งข้อมูล อย่างไรก็ตามข้อมูลท่ีเข้าสู่ ระบบฐานข้อมูลเป็นจำนวนมากนั้นจำเป็นต้องมีระบบสนับสนุนเพื่อ คัดกรอง วิเคราะห์ และจัดลำดับความสำคัญของข้อมูล เพ่ือให้ข้อมูล สามารถใช้ประโยชนไ์ ดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ โดยองค์ประกอบหลักของระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการจัดสรร งบประมาณ ประกอบด้วย 1) ผู้ใช้งานโดยตรง ในที่น้ีคือประชาชนที่เป็นผู้แจ้งหรือรายงาน ปัญหาต่างๆ 2) แอพพลิเคช่ันบนโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ที่จะเป็นส่วนสื่อกลาง ระหว่างประชาชนและฝ่ายบริหารหรอื ผูม้ ีอำนาจตัดสินใจ 3) ระบบฐานข้อมูล เป็นส่วนรวบรวมข้อมูลจากแอพพลิเคชั่น เพ่ือ มาประมวลผล และรายงานผล 4) ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจ ได้แก่ นายก อบจ. และผู้บริหารที่มี อำนาจในการวางแผนจดั ทำงบประมาณ 5) ผู้ปฏิบัติงาน คือ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานตามแผนในการแก้ไข หรือปรับปรุงปัญหาต่างๆ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของ ประชาชน เป็นตน้ 221

โดยองคประกอบหลักของระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการจัดสรรงบประมาณ ประกอบดวย 1) SmarผทtูใโชฟCง นiาtนyทโจ่ีดกะยเาตรปรพนงสฒั ใวนนนทาสแน่ี ลื่อี้คะกปือลรปับารงใะชรช้ระาะหบชบวนาทIงTี่เปปใรนนะกผชาูแราบจชรงนหิหแารลรือะจรฝัดาากยยางรบาเมรนิหอืปางญร หหารตือาผงูมๆีอํา2น) าแจอตพัดพสลินิเใคจชั่น3)บรนะโบทบรศฐัพานทขสอมมาูลร เปน สว นรวบรวมขอมลู จากแอพพลเิ คช่ัน เพ่ือมาประมวลผล และรายงานผล 4) ผูที่มีอํานาจตัดสินใจ ไดแก ปนาฏยบิ สรกัตูปนิงอาบบัทนจตส่ี.าแ8นมลแ.นุะผ5ผกนูบ-ใารน4ริหกาตากรรดิทแาก่ีมสรไีอขินทําหนใรำจาือจงจปใาดัรนับนกสปารรรรวงุร่วปางงมญ บแหกผปานันตรจา ะัดขงทมๆอําาเงพงณบื่ออปบ รงระรคมเท์าปาณครวแะาลมกะเดอ5อื )บดผรตูปอ นฏ่าขิบงอัตงๆิงปารนใะชคนาือชรเนะจาเบปหนนบตานที่ที่ รปู ท่ี 8.5-4 การทํางานรว มกนั ขององคประกอบตา งๆ ในระบบสนับสนุนการติดสนิ ใจจดั สรรงบประมาณ Smart City: การพฒั นาและปรับใชระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง 8-15 222

9 ระบบบริหารจัดการขยะ

เทคโนโลยกี ารรวบรวมและขนสง่ ขยะ (Waste Collection and Transport System) เทคโนโลยีการแปรรปู ขยะ เทคโนโลยกี ารกำจดั ขยะมลู ฝอย

บทท่ี 9 ระบบบรหิ ารจดั การขยะ บทที่ 9 ระบบบริหารจัดการขยะ  เทคโนโลยีการคราวดบกรวามรแณละ์วข่านจสะงมขีปยะริ(มWาaณstขeอCงoเlสleียcทtiั่วoโnลaกnเdพT่ิมrขa้ึnนsเpกoือrtบ Syste5m0)% ในช่วงทศวรรษหน้า การนำเทคโนโลยีที่เป็นนวัตกรรมใหม่  เทคโนมโลายใชีก้าจระแสป่งรผรูปลขใยนะการแก้ปัญหาการจัดการขยะแบบบูรณาการ  เทคโนมโลายกกี ขา้ึนรกนําจอัดกขเยหะนมูลือฝไอปยจากการใช้วิธีการจัดการขยะแบบดั้งเดิม เช่น การนำรถบรรทุกออกไปวิ่งเก็บขยะและนำมาฝังฝังกลบ เปน นวตั กครารดมกใาหแใรหมณบมมว บาา ่ใใจเชนดะจ มกิะมปีสารงรใิมผนาลจณใัสดนข่วกกอานงารเนรแสกยีกี้จปทับะญ่วั นโขหลำยากกเเะพสาแรม่ิ นจบขดัอ้ึนบกเเกากอรอื ั่ีขฉยบยวระ5กิยแ0บ%ับะบกใบเนาปูรชณร็นวเางทวกทิาธคศรีวกโมรนาารกรษโขลหทึ้นนยี่จานีทะอก่ีนเกากเำรหิดนไนําปขือเ้ึนทสไปคู่ จโนาโกลกยาีทร่ี ใชว ิธีการจัดการเขมยืะอแงบทบ่ีดยัง้ ่ังเดยิมืนเชมน ากกาขรนึ้นํารถซบ่ึงรหรท่วกุ งอโอซกไ่ขปอวิ่งงเกกบ็ รขยะะบแวละนนกํามาารฝงจฝัดงกกลาบรแบขบยเะดิม ในสวน ทรนวีจ้่ียบะั่งรนยวืนํามเมส, านกกอาขรเกข้ึนยี่นสกวซสาากึ่งง รมบัห, ขกกวานาางรรรโสซแเถทขป่งแคอร,โบรงนกูปก่โงขรลาอะยยระบอที แวเี่กแปกนลดิเรกะปขรากนึ้ ็รนูาปใจรหขสรัดมีไยี่กขซในาะเั้นครกลิขตาแหยรอลจะรดัือนะสกกากทาามารรี่สากนรรบัำาํรถไขคีไแปยซบัญกะเงําแคอจบอดัไิลบดกหดอเ้แงััฉปรแรกนือสิยส่ดกะี่ขงกาเใั้นปนราตนภนรอวารำนธิพีกวไทดปาบ่ีสารนกําทรคลำจ่ีวัาญะจงมนัดไ,าํ ดไแป กสเู กมอืารง ดังแสดงในภาพดา้ นลา่ ง 9.1 เทคโนโลยีการรวบรวมและขนสง ขยะ (Waste Collection and Transport System) ปญ หาขยะมลู ฝอย ถอื เปนปญ หาใหญข องเมืองตางๆ ทว่ั โลก หลายๆ เมอื งตา งกม็ ีวิธีการจัดการขยะ 225ท่ีแตกตางกันออกไป ตั้งแตการรณรงคใหมีการคัดแยกขยะ เพื่อสะดวกในการนํามารีไซเคิล หรือการลดใช

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง 9.1 เทคโนโลยีการรวบรวมและขนส่งขยะ (Waste Collection and Transport System) ปัญหาขยะมูลฝอย ถือเป็นปัญหาใหญ่ของเมืองต่างๆ ทั่วโลก หลายๆ เมืองต่างก็มีวิธีการจัดการขยะที่แตกต่างกันออกไป ตั้งแต่การ รณรงคใ์ ห้มกี ารคัดแยกขยะ เพอ่ื สะดวกในการนำมารไี ซเคิล หรือการลดใช้ บรรจุภัณฑ์ต่างๆ เป็นต้น การรวบรวมขยะจากแหล่งชุมชนต่างๆ ภายใน เมือง จึงเป็นขั้นตอนแรกสำหรับการนำขยะไปกำจัด โดยทั่วไปองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องจำเป็นต้องมีรถบรรทุกเพ่ือ ไปขนขยะจากถังขยะที่แหล่งต่างๆ อยู่เป็นประจำ ดังนั้น ถ้ามีเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมต่างๆ มาช่วยในการจัดการก็จะทำให้การรวบรวมขยะ มีความสะดวกและลดการใชท้ รพั ยากรได้มากขึ้น 9.1.1 การจัดการขยะดว้ ยเทคโนโลยีเซ็นเซอร์ ระบบจัดเก็บขยะอัจฉริยะสามารถทำได้โดยการติด Sensor ไว้ด้านในฝาถังขยะให้ลับสายตาผู้คน เพ่ือให้รู้ปริมาณของขยะแต่ละถังว่า ถึงระดับท่ีรถขนขยะสมควรจะเข้าไปเก็บได้หรือยัง นอกจากน้ี Sensor ยัง สามารถตรวจสอบประเภทของขยะได้อีกด้วย ซ่ึงในเบ้ืองต้นจะคัดแยกเป็น ถังขยะในแต่ละประเภท เช่น กระดาษ แก้ว อินทรียวัตถุ เป็นต้น โดย ระดับขยะในแต่ละถังจะถูกส่งผ่านเครือข่าย 3G กลับไปยังระบบประมวล ผลบน Cloud แบบ Real Time จากน้ันซอฟท์แวร์จะวิเคราะห์ข้อมูลจาก ฐานข้อมูลขนาดใหญ่หรือ Big Data ระบบจะแจ้งสถานะปริมาณขยะท่ีนำ มาทิ้งตามความเป็นจริง สามารถแจ้งเตือนสำหรับเหตุการณ์ท่ีผิดปกติ เช่น อุณหภูมิสูง มีการเคล่ือนไหวแปลกปลอม เป็นต้น นอกจากนี้ยังคาดการณ์ วนั ทข่ี ยะจะเต็มถงั จากสถติ ิท่ีเก็บผา่ นมา 226

บทที่ 9 ระบบบรหิ ารจดั การขยะ Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง 9.1.1 การจัดการขยะดวยเทคโนโลยีเซน็ เซอร เพือ่ ใหร ปู รร ะมิ บาบณจขัดอเเงกมข็บย่ือขะยทแะตรอล ัจาะฉถบรงั ิยวตาะถสำงึ าแรมะหาดรับนถทท่งี่รําถทไขดนี่ตโดขั้งยยกขะาสอรมตคงิดวถรจังSะeขเnขยsาoไะปr ทเไกว็บดี่มาไดีรนห ใะนรดอืฝยาับังถังจนขอะยกะตจใหา้อกลงนับี้เสSขาeย้าnตsไาoปผrูคยทนังำการ กเปกสกราำรมะะ็บหมดารใวานลถษนผตดแลสรกกบวถวจนาสอาCรอินlนบขoทปuรอทdรียะงี่วตแเัตรบภ่าถถบทุ งเขเRปๆอกeนงaตข็บlแนยTขะiลโmไดยด้วeยอะรีกะจรดดาโวกะับดยนขบัน้ยยซซะบึ่งใอใใหนนฟจแเท้ใบะตแชื้อลทวงะร้เตจำถสนะังก้นวจจิเะะาคทถครรูกัดาาะปสแงหงยรผทขกาอเะี่สนปมมเนูล้ันคถจรวัทงาือขลกขี่สยฐาผาะยุดนใลนข3แอGเจตมสลำูลก้นะขนลปนับทวราไะดปนาเใยภหงรังทญรแถะหเผบชใรหนบือน้นก้อายร ทBผiิด่ีสgปDุดกaตtิaเแชรนละบอะบุณอจหะอภแมูจกิสงสงูไถปมาีกนเาะกรปเค็บรลิมใ่ือาณนนไขหเยววะแลทป่ีนลาํากทมปาลี่เทอหิ้งมตมาเมปาคน วะตานสมเนปมอนกทจจร่ีสาิงกุสดนาีย้ หมงั าคลราถดีกแกจาเงรลเณต่ียือวนันงทสชํา่ีขหย่วะรงัจบะเเหเวตตล็มุกถาาังรเจณราทก่งี่ ด่วน ซส่ึถงิตริทะเี่ กบบ็ ผบา ยนมังาสามารถแจ้งวันเวลาล้วงหน้าไปยังคนขับรถขยะทราบถึงตาราง กปกแลาราระะรปอรหอทะกยมเไำมปวัดอ่ืงลเกทผพาบ็ลรนใาเลนสบนเขังตวทาํงลอแาาางหทงแนนเ่ี ผหแงหนมทตกาีต่ระา้ัง่ลอืรสขกมอใะําทงนหถคส่ี นังเุดขดนชหยกลือ้ะไาีกทรดเขมี่ลพอ้รีด่ียงะลงร้ดชวถงิับว เยงสกจเะ็บวะตลขทออายเงะ้ัรงาเขงโนดดดา ไวยดี้ปรนใหทว้ถซใํายชงึ่กเรเาสกกะรนบเ็ไ็บกทบด็บายขงใงั ้นทสยส่สีาถม้นั ะาาทนรอ่ีสถทดุ าแตี่ จจาจงงําๆวนจันวแะเนลวรใลวถชารใลหะ้เวนบทงอบหยจคนทะาี่สโทไปุดํนา โลยี ยงั คนขบั รถขยะทราบถงึ ตารางการทํางานของแตละคนไดดวย ทั้งนี้รถเก็บขยะอาจจะใชเทคโนโลยีประหยัด รพูปลังทงา่ีน9หร.อื1ใ-น1เชื้อตเพัวลองิ สยะอ่าางดดถวงัยกข็ไดย ะอจั ฉรยิ ะในเมืองต่างๆ รูปที่ 9.1-2 กระบวรนูปทกี่ 9า.1ร-1ทตำวั งอายานงถขังขอยงะถอจั ังฉขรยิ ยะใะนอเมฉัอื งรตายิ งๆะ บทที่ 9 ระบบบรหิ ารจัดการขยะ Smart City: การพฒั นาและปรับใชระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง 9-2 รปู ท่ี 9.1-2 กระบวนการทํางานของถังขยะอฉั ริยะ 227 ระบบบริหารการจดั การขยะแบบนี้จะชวยทาํ ใหลดจาํ นวนเทีย่ วของรถเกบ็ ขยะใหนอยลง จัดเสนทาง

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง ระบบบริหารการจัดการขยะแบบนี้จะช่วยทำให้ลดจำนวนเที่ยว ของรถเก็บขยะให้น้อยลง จัดเส้นทางให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ใช้เวลา ในการเก็บลดลง และลดต้นทุนในการกำจัดขยะได้ด้วย ท้ังลดจำนวนคน และรถเก็บขยะ ประหยัดน้ำมัน ลดมลพิษจากรถบรรทุก เพื่อช่วยลด มลภาวะของเมรือูปงท่ี 9ไ.ม1-่ม2ีภการะชบนวนะกใสาร่ขทยํางะาทนข่ีเตอง็มถจงั ขนยละอ้นัฉรขยิ ะยะกระจัดกระจาย น้อยลง ช่วยให้คุณภาพชีวิตของคนในเมืองดีข้ึนและเพ่ิมประสิทธิภาพที่ดี รขะึ้นบบตบ่อรสหิ า่ิงรแกวารดจลดั ้กอามรขยเมะแือบงบทนี่จ้ีนะำชเวทยทคาํ โในหลโดลจยาํ ีนนวี้มนาเทใี่ยชว้ ขไอดงร้แถกเก่ บ็ นขยคะรใหบนาอรย์เลซงโจลัดนเส่านทาง ใหมีประสปทิ รธะภิ เาทพศมาสกเขปึ้นนใ,ชเ นวลคารในเฮกาลรซเกิง็บกลิ ดปลงระแเลทะลศดฟตนิ ทแุนลในกดา์ รเกปาํ ็นจดั ตขน้ ยะได ดว ย ทั้งลดจํานวนคนและ รถเกบ็ ขยะ ประหยัดนํ้ามนั ลดมลพษิ จากรถบรรทกุ เพื่อชว ยลดมลภาวะของเมอื ง ไมม ีภาชนะใสข ยะท่เี ต็มจน ลน ขยะกรรูปะทจัดี่ ก9ร.ะ1จ-3ายนรอะยบลบง แชสวยดใหงผคุณลภกาาพรชจีวัดิตขกอางรคขนยในะเมทือ่ีนงดคีขร้ึนบแาลระ์เเพซ่ิมโปลรนะ่าสิทปธิภราะพเทที่ดศีข้ึนตอ เสปง่ิ นแตวดน ลอ สมเปเมนอื ง ท่ีนําเทคโนโลยีนมี้ าใช ไดแ ก นครบารเซโลนา ประเทศสเปน, นครเฮลซงิ กิ ประเทศฟนแลนด 9ร.1ปู ท.2่ี 9 .ก1-า3รรจะดับบกแาสรดขงยผะลดกาว้ รยจัดรกะาบรบขยทะอ่ ทสนี่ ูญครบญาราเกซาโลศน า ประเทศสเปน Smart City: การพฒั นาและกปราบั รใชรระวบบบรITวใมนกขายรบะริหดา้วรจยดั รกาะรเบมือบงท่อสุญญากาศ (Vcuum) เป็นวิธี 9-3 การทไ่ี ม่ตอ้ งใชร้ ถขยะออกไปเกบ็ ขยะ แต่วธิ กี ารนี้มกี ารลงทุนทีส่ งู โดยการ ออกแบบวางโครงข่ายระบบท่อภายในเมืองจากชุมชนหรืออาคารต่างๆ 228

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง ไปยังสถานีพักขยะ ต้องมีการติดตั้งที่ใส่ขยะใหม่ในตำแหน่งท่ีต้องการจาก น้ันก็เดินท่อพลาสติกชนิด HDPE ที่มีความหนาและทนทบทาทนี่ 9อรยะู่บใตบบ้ดริิหนารจดั การขยะ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 30-50 เซนติเมตร หลักการทำงานของ 9.1.2 การรจะดั บกาบรคขือยะดขวยยะรทะี่นบบำมทอาสทูญ้ิงจญะาตก้อาศงบรรจุอยู่ในถุงห่อหุ้มให้มิดชิด เพื่อไม่ให้มี การกรวาบรรฉวีกมขขยาะดดหวรยือระมบีเบศทษอ ขสยญุ ะญตากกาคศ้าง(Vรcะuหuวm่า)งเกปานรวขธิ ีกนาสรท่งใ่ีไมนตทอ ่องใชเรมถ่ือขรยะะบออบกเไซป็นเกบ็ ขยะ แต วิธกี ารนี้มกี าเรซลองทร์ใุนนททส่ี งูี่ใสโด่ขยยกะาตรรอวอจกจแบั บพวบางวโ่าคมรีปงขราิมยาระณบขบยทะอทภี่มายาใกนพเมอือทงจ่ีจาะกลชำุมเชลนียหงรผือ่าอนาคทาารงตางๆ ไปยัง สถานีพักขยะท่อตอแงลม้วกี การ็จตะดิ สต่งงั้ สทัญใี่ สญขยาะณใหม3ใ Gนตําไแปหยนังงรทะี่ตบอ บงกคาวรบจาคกุมนทน้ั ี่กสเ็ถดานิ นทีพอพักลขายสะติกใหชน้ทิดำกHาDรPE ที่มีความ วหจขขิธะนยนนีสะสาวิทงแง เสใลี่นมนญั ะาํตทมทญิกอ าน)าทซขจเทณเจมปงิ้ อาาึงึ่งจอ่ืทินด3กรงะรGอาํเะเทตะคใคยยอบห่ีไใรใูรปสงะบขตื่อ่ือบยย่ทดขเงซรังงะนิยดารร็นดจงะะจดูขเาูดขซบอุถกอนอออยบทูกาารใูาคดงกใ่ีดนใกสสวเนาถูสดบขาถศทงุนยคมศหี่ใเาะผมุสปาออนถาทขย็นหอูกศีพยีส่ ังุมหกดูนะถักสใดูลยตจาหขถมกนรักามยาวาลกีพิดยจนะา ักทงัชจงไีขพส่ิบัอดปปยถักพรถะเา(ะพบขในึงบมห่ืวอยพีทาทาาไะกั่ีณใมมงาํ กขสีปเกใยมห่่อ3ขาระรม0ืมิอนยกเ-ีกางปะท5อณาใด0จนี่จรชขเะทฉะคเ้วยซขีีจ่กถริธะนึ้ะน่ือขูทกีนถตงาอมี่นิวดูกดิเายมเูนดำหกมตู่กออํารพรอตัืาอบอออกิมกหกขทกาีเล)นไีจ่ศศไักปปะษอาจกลกกดอขึงาําํากยำคทรเจลจจะทัดวำียตาัดํตาาใกงกหงตอมผทคาไ้่ขอาแนปอานยไรงขทป(ซระงอบะ่ึาง งางรห รงทะวะเยอมาบะแงือบกทลงควาาใือชกรง็ ของสถานพี กั รขูปยทะไ่ี ป9ถ.1ึง-ท4ีใ่ สกข ยาะรจจะัดขก้ึนาอรยขกู ยบั ะขดนา้วดยครวะาบมแบรทงข่ออสงญูเคญรอื่ างกดดูาศอา กาศเปนหลัก รูปที่ 9.1-4 การจดั การขยะดว ยระบบทอสญู ญากาศ ปจจบุ นั มกี ารวางระบบโครงขายการขนสงขยะทางทอ หลายเมืองในยุโรปในระดับเทศบาลหรือเมืองท่ี 229มขี นาดไมใหญม าก เชน เมอื ง Härkingen ประเทศสวสิ เซอรแ ลนด, เมอื ง Vuores ประเทศฟนแลนด เปนตน

Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง ปัจจุบันมีการวางระบบโครงข่ายการขนส่งขยะทางท่อ หลายเมืองในยุโรปในระดับเทศบาลหรือเมืองท่ีมีขนาดไม่ใหญ่มาก เช่น เมือง Härkingen ประเทศสวิสเซอร์แลนด์, เมือง Vuores ประเทศ ฟินแลนด์ เป็นต้น นอกจากน้ีการขนส่งขยะด้วยระบบท่อสูญญากาศยังได้ รับความนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในอาคารที่ทันสมัยและอาคารสูงๆ ทว่ั ทง้ั โลก บทท่ี 9 ระบบบรหิ ารจัดการขยะ รูปที่ 9.1-5 โครงข่ายระบบท่อขนส่งขยะท่ีเมือง Vuores, Tampere ประเทศฟนิ แลนด ์ บทท่ี 9 ระบบบรหิ ารจดั การขยะ รูปรทปู ที่ ี่99ร..ปู11ท--6ี่59.โ1ทค-5ร่ีใงสโขค่ขรา งยยขราะะยใบรนบะบทเบมอ ทขอื อ นงขสนงสVขงuขยยoะะทrทeี่เเี่มมsอืือ,งงTVVauuomorrepes,se,TraTemampปepรreeะrปเeทระปศเทรฟะศเฟินทน ศแแฟลลนนนดแดลน์ ด รปู ที่ 9.1-6 ท่ใี สข ยะในเมือง Vuores, Tampere ประเทศฟนแลนด รปู ท่ี 9.1-6 ที่ใสข ยะในเมอื ง Vuores, Tampere ประเทศฟนแลนด 9.2 เทคโนโลยีการแปรรูปขยะ 239.02 เทคโนกาโรลแยปีกรราปู รขแยปะจระรตูปองขมยีโระงจัดการแปรรปู ขยะ ซึ่งควรจะมีคณลกํ ษณะดงั นี้ การแปรรูปหตงั้รขอือยยเะชไู มื้อจไโะกรตคลไอจปางไกมกแลีโหรใลนงจงกทรัดณี่เกกีเาิดกรขิดแยกปะารรเรพรั่ว่ืูปอไหจขละยรไะดะหไซมวสงึ่าคง้ินกวเาปรรลจขือะนงมสคงคี า(ขณภนาลสคกํ งรษฐั แตณลอะะงไอดมนังเปญุ นนา้ี ตกใาหรตแง้ัพใรนกเขรตะชจมุายชนกลไดิ่น)

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง 9.2 เทคโนโลยีการแปรรูปขยะ การแปรรูปขยะจะต้องมีโรงจัดการแปรรูปขยะ ซึ่งควรจะมี คุณลกั ษณะดังน้ ี 8 ตั้งอยู่ไม่ไกลจากแหล่งที่เกิดขยะ เพื่อจะได้ไม่ส้ินเปลือง ค่าขนส่ง และไม่เป็นการแพร่กระจายกลิ่นหรือเช้ือโรคไปไกล ในกรณีเกิดการร่ัวไหลระหว่างการขนส่ง (ภาครัฐต้องอนุญาต ใหต้ งั้ ในเขตชุมชนได้) 8 ต้องเป็นโรงงานแปรรูปขยะท่ีมีระบบการจัดการท่ีเหมาะสม ไม่ก่อให้เกิดภาวะใดๆ ไม่ปล่อยน้ำเสีย, กล่ินเหม็น, ควันไฟ, เสยี งดงั เป็นท่รี บกวนผูอ้ าศยั รอบๆ โรงงาน 8 ต้องสามารถคัดแยกขยะออกเป็นประเภทต่างๆ ได้ตาม ลักษณะการจัดการ ในกรณีที่ขยะไม่ได้คัดแยกมาจากแหล่ง ทเี่ กดิ 8 ต้องมีระบบเครื่องจักรช่วยในการแปรรูปขยะทั้ง 4 กลุ่ม ให้เปล่ียนไปเป็นวัตถุดิบเพ่ือการผลิตหรือพลังงานทดแทนได้ เพื่อสร้างมูลค่าทดแทนค่าใช้จ่ายดําเนินการและสร้างผลกําไร ตอบแทนผู้ลงทนุ ได ้ 9.2.1 โรงจดั การแปรรปู ขยะ (Material recovery facilities, MRF) ระบบโรงจัดการแปรรูปขยะที่ดีและเหมาะสม จะต้องมีกำลัง การผลิตที่สามารถรองรับปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนท่ีในแต่ละวันได้โดยไม่ เกิดการสะสมข้ามวัน ดังนั้นจึงจะต้องมีเคร่ืองจักรและระบบท่ีสามารถ จัดการขยะได้อย่างต่อเนื่องวันต่อวัน มีการจัดการขยะมูลฝอยได้อย่างครบ วงจร จัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ตัวอย่าง เช่น มีการ 231

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง บทท่ี 9 ระบบบริหารจัดการขยะ 9.2.1 โรงจดั การแปรรปู ขยะ (Material recovery facilities, MRF) บทท่ี 9 ระบบบรหิ ารจดั การขยะ 9น.2ํา.1รขะยบโรบะงโมจรดังูลกจาดัฝรกแอาปรยรแรมปูปรขารยใูปะชข(้ปยMะaรทtะe่ีดrโีแiaยลlะชrเeหนcมo์ทาvะe้ังสrใyมนfจaสะciต่วliอtนiงeมขsีก,อMาํ ลงRงักFก)ารรผใลชิต้ทซ่ีส้ำาแมลาระถกรอางรับแปปรริมารณูปขยะท่ี ห(จเปRกัดรรeิดือะกuขสาห(จปเรป(sRพก้ึนริทดัรรeRปูeิดขรลใือะกธuนขยสัง&าะeทิภsพ้ึนงรพะิทeโาuาขลRี่ใไธ้ืนยพนนดยงั&eร9ภิsทงสพะะชอcาeา.เRไบงูี่ใ้ืนพyยป2นนดeนสบcทสาอนc-ดุเแ&l์ใโงงูี่ใy1ยปeตรหนสตตcางนต)นดุแlลองจมตeตัวรRตตดัะเต)อนวน่วัลอกeวัวรมย(ะเื่าออัวอนถนาcรวRมยงไงงึื่อแยันyถวาดกeปงเไงังึน่าcโวชาดcรกดเตังนรนรโlชาoยดกeปูตอโรนvมยไกํารขอว)มมจไeาํกียัวนงมจเกีดััะนาrงกรเัดาทyมรทกาิดมรทนวด่ีี)กิด่ีไนนีกกี่ไดีแาํกมาดําาาลขผรเาคขผรระถยชลรจยลจสเดัสะพัะดหพัดน่ึงะะมมกลมกแลกสสูลลูาาอาอยมมปฝะฝรรายยขอขสขอขกไุย่ไราดยมยาดยยมขหมกะนมมะนจวมาํายวมาะมำํัานใูกลันชใตูกละจลฝชกัปดอ ลฝับอทปัดดังรงับอยมมนะังรหี่แทยไมโนีกาะั้นดยใไาํคโราั้จน่ีไชชอดยลใึงือจนปลดยชงัชอจึกทงารนปะยฟิ้ผจงาะั้งพตทารครใโะอลองนะยผั้งรลตคงใชสบลโรพอนมงัยรนิตววเ์ ีงเงชสบนทในลคมหจานขว่ีสวรอีเรยีมนนองาื่ใอคหมจงขจงย(รการจRัมดอส่ือเรไาัeกกงปจรถงหดc(รากใจRรัดoแ็นรชา้อรนัeกvกลขซรตงceฐัรยะาํํ้าาใรorแรระช้นแัyบอกvะลมข)ลซป เeบูละยะเล้ํามรชrบฝรกะแิyมันบทอะารม)ลารยบ่ีสูณลกิปะเมแอชาบฝุกยขปามยานทอหยาร าาใระยม่ีรสรงปแชทูปมักถอาุยปี่ีมย้ หราามรรงูปมักถี รปู ที่ 9.2-2รปู กรทูปร่ี ท9ะี่.29บ.-21ว-1นตตัวกัวอาอยรยาาคงงโโัดรรงงแงงาายนนกคคดัดัขแแยยยกะกขแขยยบะะทบทแ่ี ีแ่คลคMิฟลอิฟRรอFเนร ียเ นสียหสรัฐหอรเัฐมอริกเมาริกา รปู ที่ 9.2-2 กระบวนการคดั แยกขยะแบบ MRF 9-6 9-6 Smart City: การพฒั นาและปรับใรชูปร ะทบี่บ9I.T2ใ-น2กากรรบระหิ บาวรจนดั กกาารรเมคือัดงแยกขยะแบบ MRF 232 Smart City: การพัฒนาและปรบั ใชระบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง