Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโด

คู่มือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโด

Description: คู่มือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโด

Search

Read the Text Version

3.1 การกระท�ำรุนแรงของนักกีฬา (Potential violations on Conduct of a Contestant) 3.1.1 ปฏเิ สธค�ำส่ังของผู้ตัดสนิ ในการจบการแขง่ ขนั รวมไปถึงการไม่โค้ง เคารพคู่ตอ่ สู้ การแสดงการประกาศผลชนะหรือไม่เข้ารว่ ม 3.1.2 ขว้างปาอุปกรณ์ เช่น ถุงมือ ถุงเท้า เฮดการ์ด และอุปกรณ์อื่น เพอ่ื เป็นการแสดงความไม่พอใจการตัดสิน 3.1.3 ไมย่ อมออกจากสนามหลังจบการแข่งขัน 3.1.4 ไม่ยอมเขา้ แข่งขนั หลงั จากกรรมการสั่งให้เขา้ แขง่ ขันหลายครัง้ 3.1.5 ไมป่ ฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บ หรือค�ำสงั่ ต่างๆ 3.1.6 ปรบั เปลยี่ น แกไ้ ขอปุ กรณใ์ นการท�ำคะแนน ระดบั เซน็ เซอรข์ องเกราะ หรอื อปุ กรณ์ PSS อ่ืนๆ 3.1.7 มพี ฤตกิ รรมทแ่ี สดงความไมม่ นี ำ้� ใจนกั กฬี าขน้ั รนุ แรง หรอื ประพฤติ ก้าวร้าวต่อเจา้ หน้าท่ีในการแขง่ ขัน 3.2 การกระท�ำรนุ แรงของผฝู้ กึ สอน เจา้ หนา้ ที่ และพนกั งานของผเู้ ขา้ รว่ มการแขง่ ขนั 3.2.1 พูดจา ด่าทอ หรือโต้แย้งเกี่ยวกับการตัดสินใจของกรรมการและ เจ้าหนา้ ท่ี ในระหวา่ งหรอื หลังท�ำการแข่งขนั 3.2.2 โตแ้ ย้ง ทะเลาะวิวาทกบั กรรมการหรือเจา้ หน้าท่ี 3.2.3 แสดงพฤติกรรมรุนแรง หรือความคิดเห็นที่รุนแรงต่อเจ้าหน้าที่ ฝ่ายตรงข้าม ผทู้ ่ไี ม่เห็นดว้ ย หรือผู้ชมในระหวา่ งการแขง่ ขัน 3.2.4 ยัว่ ยุปลุกปัน่ คนดู หรอื สรา้ งกระแสข่าวลอื เกีย่ วกับความผดิ ต่างๆ 3.2.5 สง่ั ใหน้ ักกฬี าประพฤตไิ มด่ ี เช่น หา้ มไมใ่ หเ้ คารพคู่ต่อสู้ หรือไมอ่ อก จากสนาม เปน็ ต้น 3.2.6 มีพฤตกิ รรมรนุ แรง เปน็ การขวา้ งปาอปุ กรณ์ หรือเตะอปุ กรณข์ อง ตนเองหรือของคูแ่ ข่งขัน หรอื ของใช้อนื่ ๆ 3.2.7 ไมเ่ ชอ่ื ฟงั ค�ำสงั่ ใหอ้ อกจากสนามแขง่ ขนั หรอื บรเิ วณอน่ื ๆ ของเจา้ หนา้ ท่ี 3.2.8 พฤตกิ รรมรุนแรงอยา่ งอื่นท่ีกระท�ำตอ่ เจา้ หนา้ ทผ่ี จู้ ัดการแขง่ ขัน 3.2.9 การติดสินบนเจา้ หน้าทีจ่ ัดการแข่งขันในทกุ วธิ ี 4. การก�ำหนดโทษ : คณะกรรมการลงโทษพเิ ศษไดม้ กี ารก�ำหนดโทษตามระดบั ความผดิ ดงั นี้ 4.1 ใหย้ กเลิกสถานการณ์เปน็ นักกีฬา 4.2 ตักเตอื น และใหก้ ระท�ำการขอโทษอย่างเปน็ ทางการ 4.3 การเพกิ ถอน การรบั รอง 4.4 ถูกส่งั ห้ามไมใ่ ห้เขา้ ไปในเขตของการจัดการแขง่ ขัน คมู่ อื ฝกึ อบรมผ้ฝู ึกสอนกฬี าเทควันโด 243

1) ห้ามเข้าสนามการแข่งขนั 1 วนั 2) หา้ มเขา้ ตลอดการแขง่ ขนั 4.5 การยกเลกิ ผลการแขง่ ขนั 1) ยกเลิกเพยี งผลของการแขง่ ขันในรายการนนั้ และรายการท่ีเกย่ี วข้อง 2) ตดั ออกจากตารางคะแนนของระบบ Ranging 4.6 ถูกระงับสภาพความเป็นนกั กฬี า ผูฝ้ กึ สอน หรอื เจา้ หนา้ ท่ีของทมี จากกจิ กรรม ทกุ อย่างทจ่ี ดั โดย WTF (รวมไปถึง CU และ MNA-Level Activities ดว้ ย) 1) ระยะเวลา 6 เดือน 2) ระยะเวลา 1 ปี 3) ระยะเวลา 2 ปี 4) ระยะเวลา 3 ปี 5) ระยะเวลา 4 ปี 4.7 ห้ามลงท�ำการแข่งขนั ในรายการท่รี บั รองโดย WTF 1) รายการทส่ี �ำคัญตา่ งๆ Specified Championships 2) ทุกรายการแข่งขนั ตลอดระยะเวลา 4 ปี 4.8 โทษปรบั เป็นจ�ำนวนเงนิ 100 - 5,000 ดอลลารต์ ่อ 1 การกระท�ำรนุ แรง 5. คณะกรรมการควบคมุ การแขง่ ขนั พเิ ศษ อาจชแ้ี นะไปยงั WTF เกย่ี วกบั การก�ำหนดโทษ ท่ีมากกว่าน้ันแก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยไม่มีก�ำหนดโทษท่ีเพ่ิมระยะเวลาหรือการเพิ่มจ�ำนวนเงิน ในโทษปรบั และหรอื ตลอดชีวติ 6. การรอ้ งขอใหล้ งโทษของคณะกรรมการควบคมุ การแขง่ ขนั พเิ ศษ อาจท�ำใหส้ อดคลอ้ ง กบั ข้อบงั คบั ของการระงับข้อพิพาทและการลงโทษทางวนิ ัยของ WTF ขอ้ 6 กไ็ ด้ ขอ้ ที่ 25 กติกาอื่นๆท่ไี ม่ปรากฏในระเบยี บการแขง่ ขนั (Other matters not specified in Competition Rules) 1. ในกรณีท่ีเกิดเหตุการณท์ ไี่ มเ่ ขา้ ตามระเบยี บการแข่งขันใด ให้ปฏบิ ัติดังนี้ 1.1 เรือ่ งเก่ียวกบั นักกฬี า ให้พิจารณาโดยคณะกรรมการทเ่ี กยี่ วข้องกับการแข่งขนั นัน้ ๆ 1.2 เรื่องท่ัวไปไม่ได้เก่ียวกับนักกีฬาโดยตรง ให้คณะกรรมการ Technical Delegate การแข่งขนั เป็นผพู้ จิ ารณา 244 คู่มือฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโด

บทเฉพาะกาล : คำ� ชีแ้ จงโดยประธานเทคนิค (WTF) และประธานผู้ตัดสนิ โลก ได้อธบิ ายไวใ้ นคำ� ชี้แจงในการแข่งขัน เมื่อวนั ท่ี 7 - 8 มิถนุ ายน 2557 Some High Lights: 1. นักกีฬาสามารถใช้เทปพนั ขอ้ มอื และเท้าไดส้ งู สดุ ไม่เกิน 3 ช้ัน 2. ใหเ้ จ้าหนา้ ทค่ี วบคมุ คอมพิวเตอร์รอ 1 วินาที ก่อนหยุดเวลาเมือ่ ผ้ตู ัดสนิ กลางสนาม ส่งั คลั -เลยี ว เพอื่ ให้คะแนนบริเวณศรี ษะแสดงผลกอ่ น 3. การท�ำคะแนนบริเวณศีรษะให้จ�ำกัดอยู่ที่การโจมตีเหนือสายรัดของเฮดการ์ด โดยการโจมตที ม่ี าจากเทา้ ของคแู่ ขง่ ขนั (กตกิ าเดมิ ใหโ้ จมตศี รี ษะไดต้ งั้ แตก่ ระดกู คอขนึ้ ไปใหย้ กเลกิ ) 4. ผู้ตัดสินกลางสนาม สามารถหยุดเกมส์การแข่งขันเพ่ือประชุมกับกรรมการในการ ใหค้ ะแนน (Technical-Point) และการตดั สนิ ใหค้ ะแนนตอ้ งไดร้ บั การอนมุ ตั จิ ากกรรมการ 2 ใน 3 คน 5. ผตู้ ดั สนิ กลางสนามจะนบั ถงึ 8 ส�ำหรบั นกั กฬี าทถ่ี กู นอ็ กดาวน์ ถา้ ไมม่ คี ะแนนเกดิ ขน้ึ และกรรมการใหค้ ะแนนไม่มใี ครยกมือสนบั สนุนการให้คะแนนน้ัน หลงั จากการนับผู้ตดั สินกลางสนาม ส่ัง ชิ-กัน เพ่ือหยุดเวลาและขอใช้ Instant Video Replay (IVR) ขอดูการเตะน้ัน ผู้ตัดสิน กลางสนาม สามารถใช้โควตาการ์ด เพื่อตรวจสอบการท�ำคะแนนได้ ถ้าการขอ Video Replay เปน็ ผล ผตู้ ดั สนิ กลางสนาม สามารถเพม่ิ คะแนนเตะใหน้ กั กฬี าทที่ �ำคะแนนได้ โปรดจ�ำไวว้ า่ กรรมการ ผ้ตู ัดสนิ (Referee) จะมโี ควตาการ์ดซง่ึ ใช้ได้โดยไม่ตอ้ งค�ำนึงถงึ ผลลัพธข์ องการตรวจสอบ Instant Video Replay (IVR) 6. ผตู้ ดั สนิ กลางสนามให้ เคยี ง-โก กบั นกั กฬี าทย่ี กขาคา้ งไวเ้ พอ่ื ขดั ขวางการโจมตนี าน 3 วนิ าที ขน้ึ ไป 7. ถา้ นกั กฬี าจงใจวง่ิ หนใี หล้ งโทษ “กมั -เจมิ ” ถา้ นกั กฬี าขยบั ถอยหลงั หรอื ถอยแลว้ ถบี เพอ่ื หลกี เลี่ยงการตอ่ สใู้ ห้ลงโทษ “เคียง-โก” ทันที 8. การใหส้ ญั ญาณมอื “คลั -เลยี ว” ของกรรมการผตู้ ดั สนิ (Referee) กรรมการตอ้ งแสดง สญั ญาณมอื ดว้ ยการเหยียดแขนให้ตรง และการออกค�ำสั่ง “คลั -เลยี ว” กบั การให้สญั ญาณมอื ตอ้ งพร้อมกัน 9. การปะทะกนั แลว้ ล้มให้กรรมการยึดถือคะแนนเดมิ (ถา้ ฝ่ายท่ีท�ำคะแนนได้ แต่สว่ น หน่ึงของร่างกายนอกจากเท้าแตะพื้นให้ยกเลิกคะแนนที่ได้รับ และให้ “กัม-เจิม” ทันที การให้ “เคียง-โก”กระท�ำไดเ้ มอ่ื นกั กฬี าฝ่ายหนึง่ พยายามท�ำให้ค่ตู อ่ สลู้ ้มลง ถึงแมว้ ่าเท้าจะไม่ถูกตวั ค่ตู อ่ สู้ ก็ตาม (ถือวา่ ไม่มจี ิตวญิ ญาณของการเป็นนักกีฬาทด่ี ี) 10. ในกรณที เ่ี กดิ ปญั หาการบนั ทกึ ภาพไมท่ นั หรอื กลอ้ งก�ำลงั ถา่ ยภาพไมท่ �ำงาน สามารถ ปฏิเสธการดวู ดี โิ อได้ เนอ่ื งจากวิดีโอน้ันไม่ไดถ้ ูกบันทึก โควตาการ์ดตอ้ งคืนใหโ้ คช้ ในกรณที ภ่ี าพไม่ชดั หรอื ถกู บดบงั เนอื่ งจากมมุ กลอ้ ง กรรมการ Instant Video Replay (IVR) สามารถปฏเิ สธค�ำขอและ ใหก้ ารตดั สนิ เปน็ ไปตามกรรมการกลางและกรรมการใหค้ ะแนน ถา้ ไมเ่ ปน็ ผล กรรมการกลางสนาม สามารถยึดการ์ดได้เลย 11. โคช้ ต้องแต่งกายให้เหมาะสมดงั ตอ่ ไปนี้ คู่มือฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าเทควนั โด 245

1. ต้องสวมใส่เสอ้ื ผ้าทสี่ ภาพเรียบรอ้ ยตามระเบียบการแขง่ ขัน 2. ไม่สวมหมวก ไมใ่ ส่กางเกงขาสนั้ ไมใ่ สร่ องเท้าแตะ หรือรองเทา้ ส้นสงู 3. ไม่ใช้หรอื ใส่อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ใดๆ 4. ต้องนั่งใหถ้ ูกตอ้ ง ไมน่ ง่ั ไขวห่ ้าง หรอื เปดิ ฝ่าเท้าไปยงั ผอู้ ืน่ กรณที ี่นกั กฬี าลม้ มีรายละเอยี ดดังต่อไปน้ ี 1. นกั กฬี าท่เี ตะแลว้ ลม้ หรือโดนเตะแล้วลม้ ตอ้ งโดนตัดคะแนน “เคียง-โก” 2. ยกเวน้ กรณที น่ี กั กฬี าถกู ผลกั ดงึ ดนั ใหเ้ สยี การทรงตวั แลว้ ลม้ ถงึ จะไมโ่ ดนตดั “เคยี ง-โก” กรณีลม้ และแนวทางการปฏบิ ตั ิ 1. กรณีที่นักกีฬาบาดเจ็บแล้วล้ม กรรมการตัดสิน (Referee) จะใช้สัญญาณมือ แล้วออกค�ำส่ังให้ทา่ นลกุ ขน้ึ (Stand up) เปน็ จ�ำนวน 3 ครั้ง ถา้ นกั กีฬาลกุ ขึน้ ตามท่ีกรรมการเรยี ก จะไม่ถูกตดั เคยี ง-โก 2. กรณีท่ีนักกีฬาบาดเจ็บแล้วล้ม กรรมการตัดสิน (Referee) จะใช้สัญญาณมือแล้ว ออกค�ำสงั่ ใหท้ า่ นลกุ ขน้ึ (Stand up) เปน็ จ�ำนวน 3 ครงั้ ถา้ นกั กฬี าลกุ ชา้ กวา่ ทกี่ รรมการเรยี ก นกั กฬี า จะถูกตัด เคยี ง-โก 3. กรณีท่ีนักกีฬาบาดเจ็บแล้วล้ม กรรมการตัดสิน (Referee) จะใช้สัญญาณมือแล้ว ออกค�ำส่ังให้ท่านลุกข้ึน (Stand up) เป็นจ�ำนวน 3 คร้ัง (ในกรณีนี้กรรมการต้องดูว่านักกีฬา มอี าการบาดเจบ็ มาก หรือนอ้ ยเพียงใด กรณีท่มี อี าการบาดเจบ็ ให้เรยี กหมอมาดอู าการ โดยไมต่ อ้ ง ตัดคะแนน เคียง-โก 4. กรณีท่ีนักกีฬาบาดเจ็บแล้วล้ม กรรมการตัดสิน (Referee) จะใช้สัญญาณมือ แลว้ ออกค�ำสงั่ ใหท้ า่ นลกุ ขนึ้ (Stand up) เปน็ จ�ำนวน 3 ครง้ั ถา้ นกั กฬี ายงั ไมล่ กุ ขนึ้ โดยไมไ่ ดม้ อี าการ บาดเจบ็ แตอ่ ยา่ งใด ให้กรรมการส่ัง คือ-มาน ประกาศผลนกั กฬี าอกี ฝั่งชนะไดเ้ ลย ** นกั กฬี าเมอ่ื ท�ำคะแนนไดแ้ ลว้ แตไ่ มม่ ผี ลคะแนนเกดิ ขน้ึ นกั กฬี าสามารถสง่ สญั ญาณ ใหผ้ ู้ฝกึ สอนเพื่อใช้ Video Replay ได้ ** กรณใี ช้เฮดการด์ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ผ้ฝู กึ สอนสามารถใช้ Video Replay ไดเ้ ฉพาะการเตะ บรเิ วณใบหน้าเท่าน้ัน ** กรณใี ชเ้ ฮดการด์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ กรรมการใหค้ ะแนนไมม่ สี ทิ ธใ์ิ นการยกมอื ใหค้ ะแนน ในกรณที นี่ ักกฬี าเตะบรเิ วณใบหน้าหรอื กรณใี ดๆ ยกเว้นคะแนนพเิ ศษ 1 คะแนน จากเทคนิค ** การลงโทษนกั กีฬาการตัดคะแนน เคียง-โก (10) และ กัม-เจมิ (5) หมายเหตุ : บทเฉพาะกาลอาจจะมกี ารเปลย่ี นแปลง สมาคมเทควนั โด จะประกาศใหท้ ราบกอ่ นให้ ผู้ตัดสนิ ของสมาคมเทควันโดปฏบิ ัติ 246 ค่มู อื ฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าเทควนั โด

บรรณานกุ รม กรมพลศกึ ษา. (2552). คมู่ อื ผฝู้ กึ สอนกฬี าเทควนั โด T-Licence. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกดั . กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2539.โภชนาการกับการกีฬา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพอ์ งคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก. กองโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . 2557. กนิ อยา่ งฉลาดในยคุ 2000. กรุงเทพฯ: โรงพิมพอ์ งคก์ ารสงเคราะหท์ หารผ่านศกึ . จนิ ตนา สรายุทธพิทกั ษ์. 2556. เอกสารค�ำสอน วชิ า 2723247 การปฐมพยาบาล. คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ชาติชาย อสิ รมั ย์. (2525). หลกั และวธิ ีการฝึกกฬี า. กรงุ เทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย รามค�ำแหง. ชูศักดิ์ เวชแพทย์และกันยา ปาละวิวัธน์. สรีรวิทยาของการออกก�ำลังกาย. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: ธรรกมลการ พมิ พ์, 2536. เทพวาณี หอมสนทิ . 2543. การบาดเจบ็ ทางการกฬี า: ค่มู ือป้องกนั การบาดเจบ็ และการพยาบาล ฉุกเฉิน. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั บพธิ การพิมพ์ จ�ำกดั . เทพวาณี หอมสนิท. (ผู้แปล)2537. โภชนาการส�ำหรับนักกีฬา: คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬา. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์คุรสุ ภา. พวงทอง ไกรพิบูลย์. 2555. ตะครวิ (Muscle cramp) [ออนไลน]์ . แหลง่ ทมี่ า: http://haamor. com/th/%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B4 %E0%B8%A7 [2555, สงิ หาคม 18] ยุทธศาสตร์การพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 2555. การปฐมพยาบาล[ออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี า: http://www.swu.ac.th/journal/swuvision/ v1n3/article07.htm [2555, กรกฎาคม 20] โรงพยาบาลมหาชนะชยั . 2555. การชว่ ยฟน้ื คนื ชพี [ออนไลน]์ . แหลง่ ทมี่ า: http://www.mhhos.com /article_view.php?id=20[2555, กันยายน 19] วรรธนะ แถวจันทึก. 2555. การบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา. [ออนไลน์]. งานกายภาพบ�ำบัด สถานพยาบาล มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ แหลง่ ทมี่ า: http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/ ศลิ ปชัย สุวรรณธาดา. (2548). การเรยี นรู้ทกั ษะการเคลอื่ นไหว ทฤษฎีและปฏบิ ตั ิการ. กรงุ เทพฯ : ส�ำนกั วิชาวิทยาศาสตรก์ ารกฬี า, จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. คมู่ ือฝกึ อบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาเทควนั โด 247

ศิลปชยั สุวรรณธาดา. (ม.ป.ป.). จิตวทิ ยาการกีฬา 1. กรงุ เทพฯ : ส�ำนกั วิชาวิทยาศาสตร์การกฬี า, จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . สถาบนั พฒั นากีฬาตะกรอ้ นานาชาติ (INTA). (ม.ป.ท.). คู่มอื การฝกึ สอนกีฬาเซปักตะกรอ้ (เลม่ 1). สถาบนั พัฒนากีฬาตะกรอ้ นานาชาติ (INTA). (ม.ป.ท.). คู่มอื ผ้ฝู กึ สอนเซปักตะกรอ้ B-License. สมชาย ประเสริฐศิรพิ ันธ์. (2557) เพศและการเจริญเติบโต, (ม.ป.ท.). สทิ ธา พงษ์พบิ ลู ย์. (2557) การประเมินองค์ประกอบของร่างกาย, (ม.ป.ท.). Allerheiligen, W.B. and Rogers, R. (1995). Plyometrics program Design. National Strength and Conditioning Association Journal. Allerheiligen, W.B. and Rogers, R. (1995). Plyometrics program design. Part 2. National Strength and Conditioning Association Journal. American College of Sports Medicine. (2000). ACSM’s Guidelines for Exercise Testing and Prescription. 6th ed. Baltimore : Williams & Wilkins, inc. Arik W., Carl.D. and Tim A. (2010). Level one Certification. Keiser Training Institute. Bompa, T.O. (1993) Periodization of strength; the new wave in strength training. Veritas publishing inc. Bernardot, Dan. (editor)1993. Sport Nutrition: A Guide for the Professional Working with Active People. (2nd ed.). USA: The American Dietic Association. Burke, Louis. 1995. The Complete Guide to Food for Sports Performance: A Guide to Peak Nutrition for Your Sport. (2nd ed.). St. Leonard NSW Australia: Allen & Unwin.Chu, D.A. (1992) Jumping into plyometrics. Champaign, IL: Human Kinetic. McArdle, D.,Katch, I., and Katch, L. (1996) Exercise physicology. 4 th ed. Baltimore: Williams & Wilkins. Gascoigne, Hester. (editor) 1996. Smart Sport: The Ultimate Reference Manual for Sports People. Chapman Aet Australia: RWA Publishing Pty Ltd. Goldberger, E. 1990. Treatment of cardiac emergency. (5 th ed.) St. louis: The C.V. mosby Company. Hawley, J.,and Burke, L. (1998) Peak Performance : Training and Nutritional Strategies for Sport. NSW: Allen & Unwin. Kukkiwon ,Taekwondo Master Course Textbook . Seoul : Hangang C&C ,2013 Lee, K.M. and Jeong , K.H.(1996). Dynamic Taekwondo Kyourugi. Seoul : Oh-seoung Publishing. 248 คูม่ อื ฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกีฬาเทควนั โด

Martens, R. (2012). Successful Coaching 3rd edition. Champaign Illinois, Human Kinetics. Maughan, Ronald J. (editor) 2000. Nutrition in Sport. London: Blackwell Science Ltd. McAdrdle WD, Katch FL, Katch VL. (2001). Exercise Physiology: Energy, Nutrition, and Human Performance. 5th ed. Williams & Wilkins, inc. Mirkin, Gabe and Hoffman. 1978. The Sport Medicine Book. O’Shea, P. (1999). Toward an understanding of power. National Strength and Conditioning Association Journal. Pressman, Alan H. 1997. The Complete Idiot’s Guide to Vitamins and Mineral. New York: Alpha Books. Pyke, F. S., & Australian Sports Commission. (2001). Better coaching: Advanced coach’s manual 2nd edition. Australia: Australian Sports Commission. Speryn, Peter N. 1983. Sport and Medicine. Borough Green, England: Butterworths. Tao T. Le and Kendall Krause. 2012. First aid for the basic sciences. General principles. editor, Vinita Takiar 2nd ed. New York: McGraw-Hill Medical. William, Melvin H. 2010. Nutrition for Health, Fitness and Sport. Ninth Edition. McGrew-Hill International Edition. NewYork: McGrew-Hill Companies, Inc. World Taekwondo Federation. Taekwondo [Online].2002 Avilable from : http:// www.wtf.org[2012,June] ค่มู อื ฝึกอบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าเทควนั โด 249

คณะกรรมการจัดทำ�คู่มือ ผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโด ท่ปี รึกษา ดร. กิตตพิ งษ ์ โพธิม ู อธบิ ดกี รมพลศกึ ษา รองอธบิ ดีกรมพลศึกษา นายนวิ ตั น์ ล้มิ สขุ นริ ันดร ์ รองอธิบดกี รมพลศึกษา ดร.ปัญญา หาญล�ำยวง ผอู้ �ำนวยการสถาบนั พัฒนาบคุ ลากร นายสนั ติ ป่าหวาย การพลศึกษาและการกฬี า ผูท้ รงคุณวุฒแิ ละคณะผจู้ ัดทำ� รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนี ขวญั บญุ จนั รองศาสตราจารย์ ดร.เทพวาณี หอมสนทิ รองศาสตราจารย์ ดร.จนิ ตนา สรายทุ ธพิทักษ์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศลิ ปชัย สวุ รรณธาดา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วนั ชัย บุญรอด ดร.สมชาย ประเสรฐิ ศิริพนั ธ์ ดร.ไวพจน์ จนั ทรเ์ สม อาจารยส์ ิทธา พงษ์พพิ ูลย์ นายรังสฤษฏ์ จ�ำเรญิ นายปรชี า ต่อตระกลู นายธนา สินประสาธน์ นายกิตพิ งศ์ สทิ ธิกุล นายอ�ำนาจ นาคละออ นายตณิ ณ์ เผ่าวงศากลุ นายทววี ฒั น์ ของสริ ิวัฒนกุล นายอนนั ต์ เมฆสวรรค์ นายอดิศรดิ์ มษิ เกตุ นายภวิชน์กรณ ์ พฒั นสวสั ดิ์ นายวรเทพ เตชะวณิชย์ 250 คูม่ ือฝกึ อบรมผูฝ้ ึกสอนกีฬาเทควนั โด

คณะกรรมการจัดทำ�คู่มือ ผู้ฝึกสอนกีฬาเทควันโด บรรณาธกิ ารและผูเ้ รยี บเรียง ผอู้ �ำนวยการกลมุ่ วชิ าการและมาตรฐานวชิ าชพี นกั พัฒนาการกีฬาปฏบิ ตั กิ าร นางบงกชรัตน์ โมลี นักพฒั นาการกีฬาปฏิบัตกิ าร นายณัฏฐนันท์ ศศะรมย ์ นกั พฒั นาการกฬี าปฏิบัตกิ าร นางสาวชารสิ า วดั ตาล นางสาววรศิ รา ฟงุ สงู เนิน นางสาวนงค์ณภัส ปาแกว้ นายฉตั รพนั ธ์ ดสุ ิตกลุ คู่มอื ฝึกอบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าเทควันโด 251

252 ค่มู ือฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าเทควนั โด