Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน การบัญชีชั้นกลาง 1

เอกสารประกอบการเรียน การบัญชีชั้นกลาง 1

Published by sr.khamporn, 2020-06-22 00:30:37

Description: เอกสารประกอบการเรียน การบัญชีชั้นกลาง 1

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา การบัญชีชั้นกลาง 1 ขนิษฐา ศักดิ์สุรีย์มงคล สาขาวิชาการบญั ชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2557

2 เอกสารประกอบการสอน รายวิชา การบัญชีชั้นกลาง 1 ขนิษฐา ศักด์ิสุรีย์มงคล บธ.ม.( การบัญชี) สาขาวิชาการบญั ชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2557

คำนำ เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการบัญชีชั้นกลาง 1 รหัส AC 20102 น้ี ได้แบ่งเน้ือหา ในการเรียนการสอนไว้ 8 หัวข้อเรื่อง ประกอบด้วย เงินสด ลูกหนี้ เงินลงทุน สินค้าคงเหลือ ท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ต้นทุนการกู้ยืมและการด้อยค่าของสินทรัพย์ โดยใน ภาพรวมเป็นเนื้อหาของการศึกษาและวิธีปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ท้ังส้ิน เริ่มต้ังแต่ ศึกษาความหมาย การรับรู้ การวัดมูลค่า ตลอดจนการนาเสนอสินทรัพย์ในงบการเงินและการ เปดิ เผยขอ้ มูลในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ เอกสารประกอบการสอนนี้ได้เรียบเรียงขึ้นจากตาราหลายเล่ม หากผู้ศึกษาต้องการ ตวั อย่างอื่นๆ ควรศึกษาตาราอ่ืนเพิ่มเติม รวมถึงศึกษามาตรฐานการบัญชีที่เก่ียวข้องกับสินทรัพย์ เพ่ือความสมบูรณ์ในการศึกษาหาความรู้ และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารประกอบการสอนนี้จะ เปน็ ประโยชน์ต่อผศู้ กึ ษาไมม่ ากก็น้อย ขนิษฐา ศักดสิ์ ุรยี ม์ งคล ธันวาคม 2557

สารบญั คานา .....................................................................................................................................ก สารบัญ..................................................................................................................................ข สารบญั ตาราง ...................................................................................................................... ฌ สารบญั ภาพ......................................................................................................................... ญ แผนบรหิ ารการสอนประจารายวิชา ......................................................................................... ฎ แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 1............................................................................................1 บทที่ 1 พฒั นาการทางการบัญชแี ละความรทู้ ่ัวไปเกยี่ วกับสินทรพั ย์ ..........................................3 ประวัติทางการบญั ชี...................................................................................................3 พฒั นาการทางการบัญชใี นประเทศไทย .......................................................................6 แนวคิดพื้นฐานของการบญั ชี.......................................................................................6 มาตรฐานการบัญชแี ละมาตรฐานการรายงานทางการเงิน.............................................8 มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกจิ การทีม่ ีสว่ นไดเ้ สียสาธารณะและมาตรฐาน การรายงานทางการเงินสาหรับกิจการท่ไี ม่มสี ว่ นได้เสยี สาธารณะ..................................9 กรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงนิ ..............................................................11 ความรูท้ ่ัวไปเกีย่ วกับสินทรัพย์...................................................................................12 ความหมายของสินทรัพย์ ..........................................................................................12 ประเภทของสินทรพั ย์ ...............................................................................................14 การรับรู้รายการสนิ ทรัพย์ ..........................................................................................15 การวัดมลู ค่าของสินทรัพย์.........................................................................................17 การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงินและการเปิดเผยข้อมลู ในหมายเหตุประกอบ งบการเงนิ ................................................................................................................17 สรุป.........................................................................................................................19

ค สารบัญ (ตอ่ ) แบบฝกึ หดั ท้ายบท................................................................................................... 20 เอกสารอา้ งองิ ......................................................................................................... 21 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 2......................................................................................... 23 บทที่ 2 เงินสดและการควบคมุ เงนิ สด ................................................................................... 25 ความหมายของเงนิ สดและรายการเทียบเท่าเงนิ สด.................................................... 25 รายการที่ไมน่ บั รวมเป็นเงนิ สด.................................................................................. 27 การรบั รู้รายการเกี่ยวกับเงนิ สด ................................................................................. 29 การควบคุมเงินสด ................................................................................................... 29 ระบบใบสาคญั จ่าย.................................................................................................. 34 ระบบเงนิ สดย่อย ..................................................................................................... 38 สมดุ เงนิ สด.............................................................................................................. 42 การจัดทางบพิสจู นย์ อดเงินฝากธนาคาร.................................................................... 45 การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงนิ และการเปิดเผยขอ้ มูลในหมายเหตปุ ระกอบงบ การเงิน ................................................................................................................... 75 สรุป ........................................................................................................................ 77 แบบฝึกหัด .............................................................................................................. 78 เอกสารอา้ งอิง ......................................................................................................... 84 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 3 ......................................................................................... 86 บทที่ 3 ลูกหน้แี ละต๋ัวเงินรับ .................................................................................................. 88 ความหมายและประเภทของลกู หนี้ ........................................................................... 88 การรับรู้และการวัดมลู คา่ ลกู หนี้ ................................................................................ 91 การบันทึกบญั ชลี ูกหนที้ ่ีคาดการณ์วา่ จะเก็บเงนิ ไมไ่ ด้ ................................................. 99 การบนั ทกึ บญั ชลี ูกหนที้ ี่เก็บเงินไม่ได้....................................................................... 105

ง สารบัญ (ตอ่ ) หนสี้ ญู ไดร้ ับคนื ......................................................................................................107 การจัดหาเงินโดยใชบ้ ญั ชีลูกหนก้ี ารคา้ ....................................................................109 ความหมายและประเภทของตัว๋ เงนิ รับ .....................................................................124 การจดั หาเงินโดยใช้ตวั๋ เงินรับ..................................................................................143 การแสดงรายการในงบแสดงฐานะและการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน ทางการบัญชี .........................................................................................................147 มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาหรับกจิ การทีไ่ มม่ สี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ...............153 สรุป.......................................................................................................................153 แบบฝึกหัด.............................................................................................................154 เอกสารอา้ งองิ ........................................................................................................161 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 4........................................................................................163 บทที่ 4 เงินลงทนุ ................................................................................................................165 ความหมายของเงินลงทุน .......................................................................................165 การจัดประเภทเงนิ ลงทนุ .........................................................................................166 ต้นทนุ ของเงนิ ลงทุน................................................................................................169 การรบั รู้และการวัดมูลค่าเงนิ ลงทนุ ..........................................................................170 การปรับมลู ค่าตามบญั ชีของเงนิ ลงทุนใหเ้ ป็นมลู ค่ายุตธิ รรม......................................172 การจาหน่ายเงินลงทุน ............................................................................................175 การด้อยค่าของเงนิ ลงทนุ ........................................................................................224 การโอนเปลี่ยนประเภทเงนิ ลงทุน.............................................................................231 การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงินและการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตปุ ระกอบงบ การเงิน ..................................................................................................................241 มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการทไี่ ม่มีส่วนไดเ้ สียสาธารณะ...............242

จ สารบัญ (ตอ่ ) สรปุ ...................................................................................................................... 247 แบบฝึกหัด ............................................................................................................ 249 เอกสารอา้ งอิง ....................................................................................................... 265 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 5....................................................................................... 267 บทท่ี 5 สินคา้ คงเหลือ......................................................................................................... 269 ความหมายและประเภทของสนิ คา้ คงเหลอื .............................................................. 269 การรบั รู้และการวัดมลู คา่ สนิ คา้ คงเหลือ................................................................... 273 การบันทกึ บัญชีเก่ียวกับสินค้าคงเหลอื .................................................................... 273 การตรวจนบั สินค้าคงเหลอื เป็นจานวนหน่วย ........................................................... 279 การวัดมูลค่าสินคา้ คงเหลอื ให้เปน็ บาท.................................................................... 281 การคานวณสนิ ค้าคงเหลอื โดยประมาณ .................................................................. 290 การคานวณสินค้าคงเหลอื วิธีราคาทุนหรือมลู คา่ สุทธทิ ีจ่ ะไดร้ บั แล้วแต่ราคาใดจะต่ากว่า ............................................................................................................................. 301 การคานวณสนิ ค้าคงเหลือวธิ ีอ่ืน ............................................................................. 305 การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงนิ และการเปิดเผยขอ้ มลู ในหมายเหตปุ ระกอบงบ การเงิน ................................................................................................................. 306 มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาหรับกจิ การท่ีไม่มีส่วนได้เสยี สาธารณะ .............. 307 สรุป ...................................................................................................................... 308 แบบฝกึ หดั ............................................................................................................ 309 เอกสารอ้างองิ ....................................................................................................... 316 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 6....................................................................................... 317 บทที่ 6 ทดี่ นิ อาคารและอุปกรณ์ ......................................................................................... 319 ความหมายของท่ีดิน อาคารและอปุ กรณ์................................................................. 320

ฉ สารบัญ (ตอ่ ) ราคาทุนของท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์ ......................................................................321 การจัดหาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ..........................................................................324 การรบั รู้และการวัดมูลคา่ ของรายการที่ดิน อาคารและอปุ กรณ์ ..................................335 คา่ เสอื่ มราคา.........................................................................................................336 การระบรุ ายจา่ ยทเี่ กิดขนึ้ ภายหลังจากการใชง้ านสินทรพั ย์แล้ว..................................350 การวัดมลู คา่ ทดี่ ิน อาคารและอปุ กรณ์ ภายหลังการใชง้ านแล้ว..................................356 การทบทวนอายุการให้ประโยชนแ์ ละมูลคา่ คงเหลือ ..................................................372 การตัดรายการท่ีดิน อาคารและอปุ กรณ์ออกจากบัญชี..............................................373 การแสดงรายการในงบแสดงฐานะและการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน .............................................................................................................................377 มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรบั กจิ การทไี่ ม่มสี ่วนไดเ้ สียสาธารณะ...............378 สรปุ .......................................................................................................................379 แบบฝกึ หัด.............................................................................................................380 เอกสารอา้ งอิง........................................................................................................385 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 7........................................................................................386 บทที่ 7 ต้นทุนการกู้ยืม........................................................................................................388 ความหมายของตน้ ทนุ การกู้ยมื และสินทรัพยท์ ีเ่ ข้าเงื่อนไข .........................................388 ตน้ ทนุ ท่ีสามารถหลีกเลีย่ งได้...................................................................................390 การเร่มิ ต้นการรวมตน้ ทุนการกยู้ มื เป็นราคาทนุ ของสนิ ทรัพย์ .....................................391 การหยุดพกั การรวมตน้ ทุนการกู้ยืมเป็นส่วนหนึ่งของสนิ ทรัพย์...................................392 การพิจารณาวัตถุประสงค์ในการกูเ้ งิน .....................................................................393 การสิน้ สุดการรวมต้นทุนการกู้ยมื เปน็ สว่ นหน่ึงของสินทรัพย์ .....................................395 การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงินและการเปิดเผยข้อมลู ในหมายเหตปุ ระกอบงบ การเงิน ..................................................................................................................396

ช สารบัญ (ตอ่ ) สรุป ...................................................................................................................... 402 แบบฝึกหดั ............................................................................................................ 404 เอกสารอา้ งองิ ....................................................................................................... 409 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 8....................................................................................... 410 บทท่ี 8 ทรัพยากรธรรมชาติและสนิ ทรัพย์ไม่มตี วั ตน.............................................................. 412 ความหมายของทรพั ยากรธรรมชาติ ........................................................................ 413 ต้นทนุ ของทรพั ยากรธรรมชาติ ................................................................................ 413 การจาหน่ายทรัพยากรธรรมชาติ............................................................................. 414 ความหมายของสินทรพั ย์ไม่มตี ัวตน ........................................................................ 416 การรบั รู้และการวัดมูลค่าของสินทรัพย์ไมม่ ตี วั ตน..................................................... 417 การตัดจาหน่ายสนิ ทรัพยไ์ ม่มตี ัวตน ........................................................................ 418 ประเภทของสินทรพั ยไ์ ม่มีตัวตน.............................................................................. 419 การวัดมูลคา่ สินทรพั ยไ์ ม่มตี ัวตนหลงั จากรบั รูร้ ายการ............................................... 432 การด้อยคา่ และการกลับรายการด้อยค่าของสนิ ทรัพยไ์ ม่มีตัวตน ............................... 437 การเลกิ ใชแ้ ละการจาหน่ายสินทรพั ยไ์ มม่ ีตัวตน........................................................ 438 การแสดงรายการในงบการเงินและการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 439 สรุป ...................................................................................................................... 441 แบบฝกึ หดั ............................................................................................................ 442 เอกสารอา้ งองิ ....................................................................................................... 444 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 9....................................................................................... 445 บทที่ 9 การด้อยค่าของสนิ ทรัพย์ ......................................................................................... 447 ความหมายของการด้อยค่า .................................................................................... 448

ซ สารบัญ (ตอ่ ) ขอ้ บ่งชีท้ ีท่ าให้สินทรพั ย์เกดิ การด้อยค่า....................................................................449 การทดสอบการดอ้ ยค่า...........................................................................................450 การบันทึกบญั ชีการดอ้ ยค่า.....................................................................................451 การกลับบญั ชีรายการขาดทุนจากการด้อยคา่ ..........................................................455 การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงินและการเปิดเผยขอ้ มลู ในหมายเหตุประกอบงบ การเงนิ ..................................................................................................................461 สรปุ .......................................................................................................................464 แบบฝกึ หัด.............................................................................................................465 เอกสารอ้างอิง ........................................................................................................470 บรรณานุกรม......................................................................................................................471 ภาคผนวก ..........................................................................................................................475

สารบญั ตาราง ตารางที่ 1.1 วิวฒั นาการของการบญั ชีในตา่ งประเทศ............................................................... 4 ตารางท่ี 1.2 พัฒนาการทางการบัญชใี นประเทศไทย ................................................................ 6 ตารางท่ี 2.1 สาเหตุท่ีทาใหจ้ านวนเงินระหวา่ งกจิ การและธนาคารไม่เทา่ กนั ............................. 45 ตารางที่ 3.1 การแสดงผลของอัตราดอกเบี้ยกับมูลค่าของตั๋วเงินตามท่ีระบุไว้กับอัตราดอกเบ้ียใน ท้องตลาด ....................................................................................................... 137 ตารางท่ี 5.1 การเปรยี บเทียบการบันทึกบัญชีเกย่ี วกับสินคา้ คงเหลือทง้ั 2 วธิ ี.......................... 277 ตารางที่ 5.2 สรปุ การเปรยี บเทยี บการบนั ทกึ บญั ชเี ก่ยี วกับสินคา้ คงเหลือท้งั 2 วธิ ี. .................. 278

สารบญั ภาพ ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคดิ สาหรับการจัดทาและนาเสนอรายงานทางการเงนิ ...............................11 ภาพท่ี 1.2 แสดงความหมายของรายจ่าย ...............................................................................16 ภาพที่ 2.1 ระบบใบสาคัญจ่าย ..............................................................................................35 ภาพท่ี 2.2 ขัน้ ตอนของระบบเงินสดย่อย.................................................................................41 ภาพที่ 3.1 วงจรการนาลูกหน้ีการคา้ ไปขาย ..........................................................................110 ภาพที่ 3.2 วงจรการนาลูกหนก้ี ารคา้ ไปขาย ประเภทไลเ่ บยี้ ไม่ได้............................................111 ภาพท่ี 3.3 วงจรการนาลูกหนี้การคา้ ไปขาย ประเภทไลเ่ บ้ยี ได้................................................116 ภาพท่ี 3.4 ตัวอยา่ งต๋ัวแลกเงิน.............................................................................................126 ภาพท่ี 3.5 ตวั อยา่ งต๋ัวสัญญาใช้เงนิ .....................................................................................126 ภาพท่ี 3.6 ตัวอย่างเชค็ .......................................................................................................127 ภาพท่ี 4.1 แสดงการลงทุนในระหวา่ งงวดดอกเบ้ยี ................................................................200 ภาพที่ 5.1 สนิ ค้าคงเหลือสาหรับกจิ การซือ้ สินคา้ มาเพือ่ ขาย..................................................271 ภาพท่ี 5.2 สินคา้ คงเหลอื สาหรบั กิจการอุตสาหกรรม ............................................................271 ภาพท่ี 5.3 การแสดงบญั ชสี ินคา้ คงเหลอื ในงบกาไรขาดทนุ และงบแสดงฐานะการเงิน .............272 ภาพท่ี 6.1 การตรี าคาสนิ ทรัพย์เพ่ิมขึน้ ในครั้งแรก .................................................................359 ภาพที่ 6.2 การตรี าคาสนิ ทรัพย์ลดลงในครง้ั แรก ...................................................................360

ฎ แผนบรหิ ารการสอนประจาวิชา รหสั วิชา AC 20102 รายวิชา จานวนหนว่ ยกติ การบญั ชชี ั้นกลาง 1 (Intermediate Accounting ) 3 (2-2-5) คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาหลักการและวิธีการบัญชีเก่ียวกับสินทรัพย์ การจาแนกประเภทสินทรัพย์ การรับรู้ และการวัดมูลค่าสินทรัพย์ การตีราคา การจัดแบ่งส่วนสินทรัพย์เป็นต้นทุน และค่าใช้จ่ายตาม หลักการบัญชี การด้อยค่าของสินทรัพย์ การแสดงรายการของสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงิน และการเปิดเผยข้อมูล วตั ถุประสงค์ทว่ั ไป เพอ่ื ให้ผู้ศึกษามีความรู้ ความเข้าใจหลักการและวิธีปฏิบัติทางการบัญชีเก่ียวกับสินทรัพย์ ได้แก่ การรับรู้รายการ, การวัดมูลค่าและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน รวมถึงวิธีปฏิบัติตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการท่ีมีส่วนได้เสียสาธารณะและกิจการท่ีไม่มีส่วนได้ เสียสาธารณะ

ฏ เน้อื หาวชิ า บทที่ 1 พัฒนาการทางการบัญชแี ละความรทู้ ั่วไปเก่ยี วกับสนิ ทรัพย์ 4 ช่ัวโมง ประวตั ิทางการบัญชี พัฒนาการทางการบัญชีในประเทศไทย แนวคดิ พน้ื ฐานของการบญั ชี มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาหรับกิจการทมี่ สี ว่ นไดเ้ สียสาธารณะ และมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาหรับกิจการท่ีไมม่ สี ่วนไดเ้ สียสาธารณะ กรอบแนวคดิ สาหรบั การรายงานทางการเงนิ ความรูท้ ัว่ ไปเกยี่ วกบั สินทรพั ย์ ความหมายของสินทรพั ย์ ประเภทของสนิ ทรัพย์ การรับรรู้ ายการสินทรัพย์ การวัดมลู ค่าสินทรพั ย์ การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงนิ และการเปิดเผยข้อมลู ใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน บทที่ 2 เงนิ สดและการควบคมุ เงนิ สด 8 ชว่ั โมง ความหมายของเงนิ สดและรายการเทียบเทา่ เงินสด รายการที่ไม่นบั รวมเป็นเงินสด การรับรรู้ ายการเก่ยี วกับเงนิ สด การควบคุมเงินสด ระบบใบสาคัญส่ังจ่าย ระบบเงนิ สดยอ่ ย สมดุ เงินสด การจัดทางบพิสจู น์ยอดเงินฝากธนาคาร การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงินและการเปิดเผยข้อมูลใน หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน

ฐ บทที่ 3 ลูกหนีแ้ ละตวั๋ เงนิ รบั 8 ช่ัวโมง ความหมายและประเภทของลกู หนี้ การรบั รแู้ ละการวดั มูลค่าลกู หน้ี การบนั ทึกบญั ชลี กู หน้ที ่ีเก็บเงนิ ไม่ได้ หน้ีสญู ไดร้ บั คนื การจดั หาเงินโดยใชบ้ ญั ชลี กู หนกี้ ารค้า ความหมายและประเภทของตว๋ั เงินรบั การจัดหาเงนิ โดยใชต้ วั๋ เงินรับ การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงินและการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุ ประกอบงบการเงนิ มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาหรับกจิ การทไี่ มม่ ีส่วนได้เสยี สาธารณะ บทท่ี 4 เงินลงทุน 8 ช่วั โมง ความหมายของเงินลงทนุ การจัดประเภทของเงินลงทนุ ตน้ ทุนของเงนิ ลงทุน การรับรแู้ ละการวดั มลู คา่ ของเงนิ ลงทนุ การปรบั มลู ค่าตามบญั ชีของเงินลงทุนใหเ้ ป็นมลู ค่ายุตธิ รรม การจาหนา่ ยเงนิ ลงทุน การดอ้ ยคา่ ของเงินลงทนุ การโอนเปล่ยี นประเภทเงนิ ลงทนุ การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงนิ และการเปิดเผยข้อมลู ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาหรบั กิจการทไ่ี ม่มีสว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ บทที่ 5 สินคา้ คงเหลือ 8 ชั่วโมง ความหมายและประเภทของสนิ คา้ คงเหลอื การรับร้แู ละการวดั มูลค่าสินค้าคงเหลือ การบนั ทกึ บัญชเี ก่ียวกบั สินค้าคงเหลือ การตรวจนับสินค้าคงเหลอื เป็นจานวนหน่วย

ฑ การวดั มลู ค่าสินคา้ คงเหลือใหเ้ ป็นบาท การคานวณสนิ คา้ คงเหลอื โดยประมาณ การคานวณสินคา้ คงเหลือวิธรี าคาทุนหรือมูลคา่ สุทธทิ จี่ ะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะต่ากวา่ การคานวณสินค้าคงเหลอื วธิ ีอืน่ การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงินและการเปิดเผยข้อมลู ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาหรบั กจิ การทีไ่ ม่มสี ว่ นได้เสียสาธารณะ บทที่ 6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 12 ชั่วโมง ความหมายของที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ ราคาทนุ ของทดี่ ิน อาคารและอปุ กรณ์ การจดั หาทด่ี ิน อาคารและอปุ กรณ์ การรับรู้และการวดั มลู ค่าของรายการที่ดิน อาคารและอปุ กรณ์ คา่ เสื่อมราคา การระบุรายจา่ ยท่ีเกดิ ขนึ้ ภายหลงั จากการใชง้ านสินทรัพย์แล้ว การวัดมลู ค่าทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ ภายหลงั การใช้งานแล้ว การทบทวนอายกุ ารใหป้ ระโยชน์และมูลคา่ คงเหลอื การตัดรายการทด่ี ิน อาคารและอุปกรณอ์ อกจากบญั ชี การแสดงรายการในงบแสดงฐานะและการเปดิ เผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบ การเงนิ มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรบั กิจการท่ไี มม่ สี ่วนไดเ้ สยี สาธารณะ บทท่ี 7 ตน้ ทนุ การกู้ยมื 6 ช่วั โมง ความหมายของต้นทุนการกยู้ มื และสนิ ทรัพย์ท่ีเข้าเงอื่ นไข ต้นทุนท่ีสามารถหลีกเล่ียงได้ การเริ่มตน้ การรวมต้นทุนการกู้ยืมเปน็ ราคาทุนของสนิ ทรพั ย์ การหยดุ พกั การรวมต้นทนุ การกูย้ ืมเปน็ สว่ นหน่ึงของสินทรพั ย์ การพจิ ารณาวตั ถปุ ระสงค์ในการกู้เงนิ การส้ินสุดการรวมตน้ ทนุ การก้ยู ืมเปน็ ส่วนหน่งึ ของสนิ ทรพั ย์ การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงินและการเปิดเผยข้อมูลใน

ฒ หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ บทท่ี 8 ทรพั ยากรธรรมชาติและสินทรพั ยไ์ มม่ ตี ัวตน 8 ชว่ั โมง ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ ตน้ ทุนของทรพั ยากรธรรมชาติ การจาหนา่ ยทรัพยากรธรรมชาติ ความหมายของสินทรพั ยไ์ มม่ ตี ัวตน การรับรแู้ ละการวดั มลู คา่ ของสินทรัพยไ์ มม่ ตี ัวตน การตัดจาหนา่ ยสินทรพั ยไ์ มม่ ตี ัวตน ประเภทของสนิ ทรัพย์ไมม่ ตี วั ตน การวัดมลู ค่าสนิ ทรพั ยไ์ มม่ ตี ัวตนหลงั จากรบั ร้รู ายการ การดอ้ ยค่าและการกลับรายการด้อยคา่ ของสินทรพั ยไ์ มม่ ีตัวตน การเลิกใช้และการจาหน่ายสนิ ทรัพย์ไมม่ ีตวั ตน การแสดงรายการในงบการเงนิ และการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน บทที่ 9 การด้อยค่าของสินทรพั ย์ 6 ชวั่ โมง การด้อยค่าของสินทรพั ย์ ความหมายของการดอ้ ยคา่ ขอ้ บ่งช้ีทีท่ าให้สนิ ทรัพย์เกดิ การด้อยค่า การทดสอบการดอ้ ยค่า การบนั ทึกบญั ชกี ารด้อยคา่ การกลับบญั ชรี ายการขาดทนุ จากการดอ้ ยค่า การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงนิ และการเปิดเผยข้อมลู ใน หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน

ณ วธิ ีสอนและกจิ กรรม 1. แนะนาเนอื้ หารายวชิ า แนะนาตารา เอกสารอื่น เว็บไซตท์ ี่เกี่ยวขอ้ ง เพอ่ื ศกึ ษาเพ่ิมเตมิ 2. แนะนากิจกรรมการเรยี นการสอน การวดั ผลและการประเมนิ ผล 3. บรรยายโดยใช้หนังสือและยกตัวอย่างประกอบ ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการ วิเคราะห์เน้ือหาที่เรียนและนักศึกษามีส่วนร่วมในการซักถามแทรกระหว่างการ บรรยาย 4. ให้นักศึกษาศกึ ษาและทาแบบฝึกหดั ทั้งในหอ้ งเรยี นและเปน็ การบ้าน 5. การจาลองเหตกุ ารณท์ างธุรกิจ โดยใหน้ กั ศกึ ษาได้ฝึกปฏิบตั ิเลยี นแบบเหตุการณ์จรงิ สอื่ การเรยี นการสอน 60% 1. เอกสารประกอบการสอน 10% 2. เอกสารจรงิ จากสถานประกอบการ 3. งบการเงนิ ของกจิ การต่างๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง 40% 10% การวัดและประเมินผล การวดั ผล 40% 1. คะแนนระหวา่ งภาคเรียน 1.1 แบบฝกึ หัด ได้ระดบั A 1.2 ทดสอบกลางภาคเรียน ไดร้ ะดบั B+ 1.3 การเขา้ ชั้นเรยี น ไดร้ ะดับ B 2. คะแนนสอบปลายภาคเรียน ได้ระดบั C+ ได้ระดับ C การประเมนิ ผล ได้ระดับ D+ คะแนนระหวา่ ง 80 – 100 ได้ระดบั D คะแนนระหว่าง 75 – 79 ไดร้ ะดบั F คะแนนระหว่าง 70 – 74 คะแนนระหว่าง 65 – 69 คะแนนระหว่าง 60 – 64 คะแนนระหว่าง 55 – 59 คะแนนระหวา่ ง 50 – 54 คะแนนระหว่าง 0 – 49

แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 1 เรอื่ ง พัฒนาการทางการบัญชีและ ความรู้ท่วั ไปเกยี่ วกับสนิ ทรพั ย์ หัวขอ้ เนื้อหาประจาบท 1. ประวตั ทิ างการบัญชี 2. พัฒนาการทางการบัญชีในประเทศไทย 3. แนวคิดพ้ืนฐานของการบัญชี 4. มาตรฐานการบญั ชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ 5. มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการท่ีมีส่วนได้เสียสาธารณะและมาตรฐาน การรายงานทางการเงนิ สาหรับกิจการท่ีไม่มสี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ 6. กรอบแนวคดิ สาหรับการรายงานทางการเงิน 7. ความรูท้ ่วั ไปเกี่ยวกับสนิ ทรัพย์ 8. ความหมายของสนิ ทรัพย์ 9. ประเภทของสนิ ทรพั ย์ 10. การรบั รรู้ ายการสนิ ทรัพย์ 11. การวัดมูลค่าสินทรัพย์ 12. การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงินและการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบ การเงิน วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เมื่อศกึ ษาบทนี้แล้ว ผ้ศู ึกษาสามารถ 1. สามารถอธบิ ายความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับพฒั นาการทางการบัญชีได้ 2. อธิบายได้ว่าประเทศไทยได้ออกกฎหมายบังคับใช้คือมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และธรุ กจิ แต่ละประเภทจะตอ้ งนามาตรฐานการรายงานทางการเงินมาใช้ใหเ้ หมาะสมและถกู ต้อง 3. สามารถอธิบายว่ากรอบแนวคดิ สาหรับการรายงานทางการเงินว่ามีเนื้อหาอะไรบ้างและมี ความสาคญั อยา่ งไรตอ่ งานบัญชี

2 4. สามารถอธิบายความหมายของสินทรพั ย์ได้ และบอกประเภทของสนิ ทรัพยไ์ ด้ 5. เข้าใจความหมายของคาว่า “การรับรสู้ นิ ทรัพย”์ ไดแ้ ละนาไปใช้ได้อย่างถกู ต้อง 6. สามารถอธิบายวิธีการนาเสนอสินทรัพย์และการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบ การเงนิ งบการเงนิ ได้ วธิ กี ารสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอนประจาบท 1. แนะนาเนอ้ื หารายวิชา 2. แนะนากจิ กรรมการเรียนการสอน การวดั ผลและการประเมนิ ผล 3. บรรยายโดยใช้หนงั สือและยกตวั อยา่ งประกอบ ให้นักศกึ ษามีส่วนร่วมในการ วเิ คราะหเ์ นอื้ หาทเี่ รียนและนักศึกษามสี ่วนร่วมในการซกั ถามแทรกระหวา่ งการบรรยาย 4. ใหน้ ักศึกษาทาแบบฝึกหัดในห้องเรยี นและเฉลย ส่ือการเรียนการสอน 1. ตารา และเอกสารประกอบการสอน วิชา บญั ชชี น้ั กลาง 1 2. มาตรฐานการบัญชี ฉบบั ที่ 1 ( ปรบั ปรุง 2557 ) เรอ่ื ง การนาเสนองบการเงนิ 3. กรอบแนวคดิ สาหรบั การรายงานทางการเงนิ (ปรับปรงุ 2557) 4. ภาพยนตรเ์ ร่อื ง Titanic บางตอน การวัดและประเมนิ ผล 1. สงั เกตจากการเขา้ เรียนตรงเวลาและความสนใจในห้องเรียน 2. สอบถามเพอ่ื ประเมินความเขา้ ใจในเนือ้ หาทเี่ รียนโดยสุม่ ถามเป็นรายบุคคล 3. เฉลยแบบฝึกหดั ในชัว่ โมงเรียนและให้สมาชกิ ในกลมุ่ ดูแลกันเองโดยการเปล่ียนกันตรวจ และใหค้ ะแนน

บทที่ 1 เร่ือง พัฒนาการทางการบญั ชีและความรทู้ วั่ ไปเกี่ยวกบั สนิ ทรพั ย์ ประวัตทิ างการบัญชี เจริญ เจษฎาวัลย์ (2556: 72) กล่าวว่า “Bookkeeping History ในโลกประวัติศาสตร์การ บัญชี ต้งั แตย่ คุ โบราณกาล ไล่ละมาจนถงึ ยุคปจั จบุ ัน มกี ารทาบัญชกี นั อยู่ 2 ระบบ คอื 1. การบญั ชีระบบ Single – entry 2. การบัญชรี ะบบ Double – entry ความสาเรจจของงานบัญชี ไม่ว่าระบบใด นอกจากข้ึนอยู่กับมนุษย์ – คนทาบัญชีและคนวาง ระบบบัญชีแลว้ ยังต้องมีปจั จัยเหลา่ นดี้ ว้ ยคือ 1. ตวั เลขและตวั อกั ษร ท่ตี ้องจดบนั ทกึ ลงบัญชี 2. อุปกรณเ์ ครอื่ งเขยี น ในกรณีลงบญั ชดี ว้ ยมือ 3. เคร่ืองมือทาบัญชี เพ่ือช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการทาบัญชี ปัจจัยเหล่านี้ล้วนมี ววิ ัฒนาการมายาวนานทง้ั ส้ิน ตามคากล่าวข้างต้น แสดงให้เหนจ วา่ การบัญชีมีประวัติมายาวนาน เร่ิมตั้งแต่ระบบบัญชีเดี่ยว ซึ่งเป็นการบันทึกข้อมูลเพียงด้านเดียว ไม่ได้ระบุที่มาที่ไปของเหตุการณ์ทางบัญชีที่เกิดข้ึนได้ท้ังหมด ในเวลาต่อมาจึงเกิดระบบบัญชีคู่และถือปฏิบัติมาจนถึงปัจจุบัน เน่ืองจากว่าระบบบัญชีคู่เป็นระบบที่ ตอ้ งบนั ทึกบัญชีท้ังสองด้าน สามารถระบุท่ีมาและท่ีไปของเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นทางการบัญชีได้ท้ังหมด ทาให้ได้ข้อมูลครบถ้วน สามารถนามาสรุปและวิเคราะห์เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนได้ การศึกษาการบัญชีใน ข้ันแรกๆ จึงควรศึกษาประวัติการบัญชีเพื่อจะได้ตระหนักถึงความย่ิงใหญ่และยาวนาน แม้กระทั่งใน ปัจจุบันการบัญชีกจมิได้หยุดนิ่ง ยังมีการเปล่ียนแปลงอย่างต่อเน่ืองทาให้นักบัญชีต้องตื่นตัวอยู่ ตลอดเวลาเพื่อให้ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงทั้งทางด้านเทคโนโลยี ความซับซ้อนของธุรกิจ ความต้องการ ใช้ช่องโหว่ให้เกิดประโยชน์มากที่สุดของนักบัญชี จะได้รับมือได้ทัน เมธากุล เกียรติกระจาย และ ศิลปะพร ศรีจั่นเพชร (2547: 1-1) กล่าวถึง ประวัติความเป็นมาของการบัญชีสามารถแบ่งตามช่วง ระยะเวลาของการเปลยี่ นแปลงที่สาคญั ได้ ดังน้ี

4 ตารางท่ี 1.1 วิวัฒนาการของการบัญชใี นต่างประเทศ ยคุ การเปล่ียนแปลง 1.ยคุ กอ่ นระบบบญั ชคี ู่ -สมัยอียิปต์ พ บหลักฐานการจดบันทึกข้อมูลสินทรัพย์ใน ( ก่ อ น ค . ศ . 3 ,0 0 0 ปี – ทอ้ งพระคลัง ศตวรรษท่ี 13) - สมยั โรมัน พบหลกั ฐานการบนั ทึกรายไว้ท้งั สองดา้ น คล้ายบัญชีคู่ 2.ยคุ ระบบบญั ชีคู่ - ยุคนี้เร่ิมมีการใช้หลักการบัญชีคู่ (Double Entry Book-keeping (ศตวรรษที่ 17 -18) System) เกดิ ขึ้นในปลายศตวรรษท่ี 13 -ในปี ค.ศ. 1494 Luca Pacioli พระนักคณิตศาสตร์ชาวอิตาลี ได้ เขียนหนังสือ “Summa de Arithmetica Geometria Proportioniet Proportionalita” เป็นหนังสือ 3. ยุคปจั จุบนั -เนื่องจากผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรมในสหราชอาณาจักรและ (ศตวรรษที่ 18-19-20) เร่ิม สหรัฐอเมริการวมทั้งสภาพทางสังคมและเศรษฐกิจมีความ ตัง้ แตศ่ ตวรรษท่ี 19 สลับซับซ้อนมากข้ึน และมีผู้ต้องการใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพิ่มมาก ขึ้น เชน่ ผู้ลงทุน เจา้ หน้ี รัฐบาล วิวัฒนาการของการบัญชีเกิดข้ึนในต่างประเทศ จุดเร่ิมต้นจากการจดบันทึกซ่ึงถือว่าเป็นการ เกจบข้อมูลทางการบัญชีตั้งแต่ ก่อน ค.ศ. 3,000 ปี มาจนถึงศตวรรษที่ 13 มีสาเหตุของการ เปล่ียนแปลง ดงั น้ี ก. การลงทุนทางการค้า ผู้ประกอบการค้ามักลงทุนในรูปเจ้าของคนเดียวโดยหวังผลกาไร เปน็ ผลตอบแทน ข. สภาพทางเศรษฐกิจ สภาพทางเศรษฐกิจส่งผลให้การประกอบการค้าธุรกิจ เปล่ียนแปลงจากระบบแลกเปล่ียน (Barter System) เป็นระบบการซ้ือขาย (Trading System) และ ระบบการผลิต (Manufacturing System) ซ่ึงต้องอาศัยการจดบันทึกข้อมูลทางการบัญชีในการ รวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับผลิต เพอื่ คานวณราคาขาย ค. การพัฒนาทางดา้ นเทคโนโลยี มีการค้นควา้ ทางด้านคณิตศาสตร์ ซึ่งทาให้การทาบัญชี สะดวกยงิ่ ขนึ้ นอกจากนผ้ี ู้ประกอบการยงั เริ่มใช้เหรียญเงินและทองคาเปน็ ส่ือในการแลกเปลย่ี น

5 ปจั จัยที่มีอิทธพิ ลต่อการบญั ชี ในปีค.ศ. 1800-1930 (เมธากุล เกยี รตกิ ระจาย, 2538: 1-7) 1. ตาราทางการบัญชี ศตวรรษท่ี 19 (ค.ศ. 1801-1900) การประกอบการค้าเปล่ียนจาก ธรุ กิจเจ้าของคนเดยี วมาเปน็ ห้างห้นุ ส่วน 2. การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมและอทิ ธพิ ลตอ่ การบญั ชตี น้ ทุนคา่ เส่ือมราคา 2.1 การบัญชีต้นทุน เน่ืองจากปริมาณการผลิตมากข้ึน ปัจจัยการผลิตมีต้นทุนสูงขึ้น และมีการใช้การจัดการทางวิทยาศาสตร์ เริ่มมีการใช้ต้นทุนมาตรฐาน ผลจากความเจริญรุ่งเรือง ทางการบัญชีต้นทุน ทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงวิธีการคานวณกาไรในอุตสาหกรรม การตีราคาสินค้า คงเหลือ และการเปรยี บเทยี บรายไดแ้ ละคา่ ใช้จ่าย 2.2 การคิดค่าเสอ่ื มราคา มผี ู้คดิ คน้ วิธกี ารคดิ ค่าเส่ือมราคา ก่อนสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 3. ความเจรญิ และววิ ัฒนาการทางรถไฟ ศตวรรษที่ 19 การรถไฟในสหรฐั อเมรกิ าเจรญิ อยา่ งรวดเรวจ ส่งผลใหม้ กี ารใชเ้ งนิ ทุนจานวนมากในการลงทนุ ในสินทรพั ย์ทมี่ ีอายกุ ารใชง้ านยาวนาน 4. อิทธิพลจากข้อบังคับของรัฐต่อกิจการสหรัฐอเมริกา เร่ิมตั้งแต่ปี ค.ศ.1916 รัฐบาล ของสหรัฐอเมริกาเริ่มออกกฎข้อบังคับสาหรับกิจการสาธารณูปโภค การบัญชีจึงได้รับอิทธิพลจาก กฎเกณฑ์เหลา่ นี้ 5. อิทธพิ ลจากการจดั เก็บภาษีเงินได้ในประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมรกิ า ในประเทศ อังกฤษและสหรฐั อเมริกาเรมิ่ ออกกฎหมายภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา ผลจากกฎหมายเหล่าน้ีทาให้เกิด การคานวณกาไรเพ่ือเสียภาษี กฎหมายเหล่าน้ีมีผลต่อความคิดทางการบัญชีในเรื่องการปฏิบัติทาง บญั ชีให้ไดม้ าตรฐานและมคี วามสมา่ เสมอ การคิดคา่ เส่ือมราคา 6. อิทธิพลจากความเจริญเติบโตทางธุรกิจ เม่ือขนาดของการลงทุนในภาคธุรกิจท่ีมาก ขึ้นแนวคิดทางการบัญชีกจเปลี่ยนไป มีการลงทุนร่วม มีการขยายกิจการ ดังนั้น จึงเกิดแนวคิดในการ จัดทางบการเงนิ รวม 7. อทิ ธิพลจากทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ เน่ืองจากนักเศรษฐศาสตรส์ นใจในราคา ตน้ ทุน กาไร ซง่ึ ส่งผลต่อการวัดมลู ค่ารายการในงบการเงิน

6 พัฒนาการทางการบญั ชใี นประเทศไทย (นิพันธ์ เหจนโชคชยั ชนะ และ ศลิ ปพร ศรจี ัน่ เพชร, 2554: 1-17) ตารางที่ 1.2 พฒั นาการทางการบญั ชใี นประเทศไทย ยคุ สมัย เหตุการณ์ รัชกาลที่ 5 มีการเปิดสอนวิชาการค้าขาย และเร่ิมสอนวิชาการบัญชีตามแบบบัญชีคู่ โดยบาทหลวงชาวฝรัง่ เศส รัชกาลท่ี 6 มพี ระราชบญั ญตั ลิ ักษณะเขา้ ห้นุ ส่วนและบรษิ ทั รชั กาลที่ 7-8 ออกประมวลรัษฎากรในการจัดเกจบภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้ บคุ คลธรรมดา รัชกาลปัจจุบัน จดั ตั้งตลาดหลักทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2517 (ยกเลิกในปี พ.ศ. 2535) รัชกาลปจั จุบนั ออกมาตรฐานการบญั ชฉี บบั แรกของประเทศไทย พ.ศ. 2522 รัชกาลปัจจุบัน เกดิ วิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 ส่งผลใหป้ ระเทศไทยต้องปฏิรปู การบัญชี รชั กาลปัจจุบัน ยกเลกิ ปว. 285 เกิด พระราชบัญญัติการบัญชี 2543 รชั กาลปัจจุบนั จัดตง้ั สภาวชิ าชพี บัญชี ตามพระราชบัญญตั ิการบญั ชี พ.ศ. 2547 รัชกาลปัจจุบัน ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสีย สาธารณะ สาหรบั ธรุ กิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ. 2554 แนวคิดพื้นฐานของการบัญชี สิง่ แรกสุดสาหรับการบญั ชคี ือการทาความเข้าใจถึงความเป็นมาของการบัญชี หมายความว่า การท่ีจะเหจนความสาคัญของการบัญชีและนาไปปฏิบัติจนเหจนถึงประโยชน์ของการบัญชีนั้น จะต้อง เกิดจากความเชื่อมั่นในความมีมาตรฐานของการบัญชีก่อน ดังน้ัน การบัญชีจึงต้องมีกฎเกณฑ์อย่าง เปน็ ระบบ และสามารถตรวจสอบได้ แนวคิดหนง่ึ ของการบัญชคี ือขอ้ สมมตฐิ าน ดงั ตอ่ ไปนี้

7 ขอ้ สมมติขนั้ มูลฐานของการบัญชี เมื่อการบัญชีมกี ารปฏิบตั ิทไี่ ดม้ าตรฐาน การเขา้ สกู่ ระบวนการทางการบัญชีจะเร่ิมต้นขึ้น และ ผู้ประกอบการต้องดาเนินการตามข้ันตอน เพื่อเจ้าของกิจการจะได้ข้อมูลท่ีมีคุณภาพ ในเบ้ืองต้น จะต้องทาความเข้าใจให้ตรงกับกันนักบัญชีในเรื่องของการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ทางบัญชี ซ่ึงกจคือ ข้อ สมมติข้ันมูลฐานของการบัญชี ซึ่งมีความหมายว่า กิจการควรยึดเป็นหลักปฏิบัติตามข้อสมมตินี้ทุก ประการ ถึงแม้ว่าจะลาบากในทางปฏิบัติกจตามท่ี นิพันธ์ เหจนโชคชัยชนะ และ ศิลปพร ศรีจ่ันเพชร (2554:2-16) กล่าวถงึ ข้อสมมติขัน้ มูลฐานของการบัญชี มี 4 ข้อ ดังน้ี 1. หลักความเป็นหน่วยงานของกิจการ (Accounting/ Business/ Separate Entity Assumption) หมายถึง การแยกออกจากกันระหว่างเรื่องเฉพาะบุคคลกับเร่ืองเฉพาะของการดาเนิน กจิ การ ไมค่ วรนามาปะปนกัน เพ่ือความถกู ต้องของข้อมลู 2. หลักการดาเนินงานต่อเนื่อง (Going Concern or Continuity Assumption) หมายถึง การดาเนินกิจการ กิจการจะต้องมีการวางแผนในการดาเนินงานและดาเนินงานให้บรรลุตามแผนที่ วางเอาไว้ 3. หลักการใช้หน่วยเงินตรา (Monetary Unit Assumption หรือ Unit of Measure Assumption) หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลทางบัญชี ซ่ึงจะต้องบันทึกเป็นจานวนเงิน คาว่า จานวน เงิน หมายถึง มูลค่าของรายการนั้นๆ ซึ่งการรายงานเป็นจานวนเงินจะทาให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจ สถานการณข์ องกิจการตามความเปน็ จริงท่ีเกิดขนึ้ 4. หลักงวดเวลา (Time Period or Periodicity Assumption) หมายถึง การดาเนินกิจการ กิจการต้องทราบถึงความเป็นไปของกิจการว่าเกิดผลอย่างไร กิจการต้องกาหนดระยะเวลาข้ึนมาเอง ตามความต้องการทราบข้อมูลจากเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนข้ึนอยู่กับความต้องการใช้ข้อมูลของกิจการเอง อาจกาหนดงวดเวลาเป็น รายเดือน รายไตรมาส รายหกเดือน เช่น งวดเวลารายไตรมาส เร่ิมวันท่ี 1 มกราคม ส้ินสุดงวดเวลาคือวันที่ 31 มีนาคม วันที่ 1 มกราคมจะเป็นวันต้นงวด วันท่ี 31 มีนาคม จะ เป็นวันสิ้นงวด ในวันสิ้นงวดกิจการต้องสรุปผลอออกมาว่า กิจการมีผลการดาเนินงานเป็นอย่างไร

8 กิจการมีฐานะทางการเงินเป็นอย่างไร เป็นต้น แต่ทั้งน้ีจะต้องปฏิบัติตามที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ประกาศอีกดว้ ย จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในตอนแรกเรยี กว่าการบัญชีมีวิวัฒนาการ คือมีการเปล่ียนแปลงอย่าง ช้าๆ ค่อยเป็นค่อยไป แต่หลังจากเกิดการเปล่ียนแปลงในหลายสาเหตุ เช่น การจัดเกจบภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา การเปลี่ยนรูปแบบจากกิจการเจ้าของคนเดียวมาเป็นห้างหุ้นส่วนจากัด การปฏิวัติ อุตสาหกรรมทาใหเ้ กิดบัญชีต้นทุน การรถไฟท่ีเจริญอย่างรวดเรจวทาให้เกิดบัญชีค่าเสื่อมราคา เป็นต้น ทาให้การบัญชีไม่ได้เป็นวิวัฒนาการอีกต่อไป แต่กลายมาเป็นพัฒนาการทางการบัญชี คือมีการ เปลยี่ นแปลงอย่างรวดเรจวและการเปล่ยี นแปลงน้ันเป็นไปในทางท่ีดีขนึ้ มาตรฐานการบัญชแี ละมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เม่ือนักบัญชีพบปัญหาในทางปฏิบัติจึงได้หาทางแก้ปัญหาจนออกมาเป็นแนวทางในการ ปฏิบัติทางบัญชีท่ีได้รับการยอมรับ และสุดท้ายจึงออกเป็นข้อบังคับเพ่ือให้การทาบัญชีเป็นมาตรฐาน เดียวกัน เรียกว่า “มาตรฐานการบัญชี” หลายประเทศมีความเหจนตรงกันในเร่ืองของการท่ีจะ พัฒนาการบัญชีให้มีระบบและได้มาตรฐาน จึงเกิดวิธีปฏิบัติทางการบัญชีเรียกว่า “มาตรฐานการ บัญชีระหว่างประเทศ (International Accounting Standard: IAS)” ข้ึน เพื่อเป็นวิธีปฏิบัติทางการ บัญชีสาหรับนานาประเทศ การนามาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศน้ีไปใช้ไม่มีการบังคับ ซ่ึงกจ แล้วแต่ว่าจะนาฉบับภาษาอังกฤษไปแปลเป็นภาษาของตนเอง หรือนาฉบับภาษาอังกฤษไปใช้ใน ประเทศของตนเอง หรือจะนาฉบับภาษาอังกฤษไปดัดแปลงให้เข้ากับสภาพของประเทศตนเองกจ สามารถทาได้ท้ังนั้นและในภายหลังคาว่า “มาตรฐานการบัญชี” ได้ถูกเปล่ียนช่ือเรียกเป็น “มาตรฐาน การรายงานทางการเงิน” ทาให้เกิด “มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ” (International Financial Reporting Standard: IFRS) เพ่ือระบุว่าในการปฏิบัติงานทางบัญชี นอกจากจะตอ้ งทาบัญชีตามขน้ั ตอนแล้วยังต้องนาเสนอคือสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจข้อมูลที่ต้องการนาเสนอ อกี ด้วย ในปัจจุบัน ประเทศไทยได้มีวิธีปฏิบัติทางการบัญชีที่ได้มาตรฐาน โดยประเทศไทยได้นา มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม สภาพเศรษฐกิจของ ประเทศไทยและแปลเป็นภาษาไทย ตราเป็นกฎหมาย เป็นมาตรฐานการบัญชีของไทย คือ Thai Accounting Standard (TAS) และ มาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย Thai Financial

9 Reporting Standard (TFRS) ฉะน้ันวิธีปฏิบัติทางการบัญชีทั้งหมดในประเทศไทย จะถูกนามาจาก TAS และ TFRS สามารถเรียกได้ท้ัง 2 ชื่อ เพราะนามาใช้ปฏิบัติท้ัง 2 ชื่อ แต่ส่วนใหญ่มักเรียกว่า “มาตรฐานการรายงานทางการเงิน” จัดทาโดยคณะกรรมการกาหนดมาตรฐานการบัญชี สภาวิชาชีพ บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งสภาวิชาชีพบัญชีน้ีมีหน้าที่ดูแลผู้ที่ประกอบวิชาชีพบัญชี ออก กฎระเบียบ ให้ความรู้เพ่ือพัฒนาความรู้ทางวิชีพบัญชีอย่างต่อเน่ือง เป็นต้น ในเวลาต่อมานักบัญชีจึง ได้จัดทา “แม่บทการบัญชี” ภายหลังเปลี่ยนช่ือเป็น “กรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน” ขึ้น เพื่อตีกรอบวิธีปฏิบัติทางการบัญชีให้อยู่ภายใต้กรอบแนวคิดน้ี อันจะนาไปสู่การสรุปข้อมูลทางการ บญั ชที ี่เกิดข้นึ ทั้งหมดคือ “งบการเงนิ ” มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการท่ีมีส่วนได้เสียสาธา รณะและ มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาหรบั กิจการทีไ่ ม่มีสว่ นได้เสียสาธารณะ มาตรฐานการรายงานทางการเงินและมาตรฐานการบัญชีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันของไทย เป็นวิธี ปฏิบัติทางการบัญชีท่ีเหมาะกับกิจการขนาดใหญ่ที่มีส่วนได้เสียสาธารณะเป็นกิจการที่มีส่วนได้ส่วน เสียต่อคนจานวนมาก จึงเป็นมาตรฐานการรายงานทางการเงินท่ีมีความซับซ้อนหลายข้ันตอนเพราะ ต้องรายงานขอ้ มลู อย่างละเอยี ด แต่กิจการในประเทศไทยเป็นกิจการขนาดกลางและกิจการขนาดเลจก ที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะเป็นส่วนใหญ่ โดยท่ีกิจการท่ีไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะเหล่าน้ีจะต้องทา บัญชีให้ได้ตามมาตรฐานการบัญชีของกิจการขนาดใหญ่ท่ีมีส่วนได้เสียสาธารณะ ซ่ึงการจัดทาบัญชี ใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานเป็นเร่อื งลาบากและเสียคา่ ใชจ้ ่ายมาก ดงั นนั้ คณะกรรมการกาหนดมาตรฐานการ บัญชีจึงได้ออก “มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการท่ีไม่มีส่วนไดเสียสาธารณะ” เพื่อให้ กิจการขนาดกลางและกิจการขนาดเลจกที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะมีแนวทางในการปฏิบัติท่ีลดภาระ ลง ซ่งึ ความหมายของกิจการท่ไี มม่ ีสว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ มีดงั น้ี ตามประกาศสภาวิชาชีพ ฉบับท่ี 20/2554 เร่ือง มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับ กจิ การท่ไี ม่มสี ่วนไดส้ าธารณะ กาหนดว่า กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียต่อสาธารณะ หมายถึง กิจการท่ี ไมใ่ ช่กิจการดงั ต่อไปนี้ 1. กิจการท่มี ีตราสารทุนหรือตราสารหนี้ของกิจการซึ่งมีการซ้ือขายในตลาดสาธารณะ ไม่ว่า จะเป็นตลาดหลักทรัพย์ในประเทศหรือต่างประเทศหรือการซื้อขายนอกตลาดหลักทรัพย์ (Over the Counter) รวมทั้งตลาดในท้องถ่ินและในภูมิภาค หรือกิจการท่ีนาส่งหรืออยู่ในกระบวนการของการ

10 นาส่งงบการเงินของกิจการให้แก่สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์หรือหน่วยงานกากับดูแล อน่ื เพอื่ วัตถุประสงค์ในการออกขายหลกั ทรัพยใ์ ดๆ ตอ่ ประชาชน 2. กิจการที่ดาเนินธุรกิจหลักในการดูแลสินทรัพย์ของกลุ่มบุคคลภายนอกในวงกว้าง ได้แก่ สถาบนั การเงิน บรษิ ทั ประกนั ภยั บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ กองทุนรวม ตามกฎหมายวา่ ด้วยการนั้น เป็นตน้ 3. บรษิ ัทมหาชน ตามกฎหมายว่าดว้ ยบริษัทมหาชน 4. กิจการอนื่ ทจี่ ะกาหนดเพิม่ เตมิ ดังนั้น ตั้งแต่วันท่ี 1 มกราคม 2554 มาตรฐานการบัญชีของไทยถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการท่ีไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะหรือ เรียกวา่ “TFRSs for NPAEs” เป็นมาตรฐานการบัญชีสาหรับกิจการขนาดกลางและขนาดเลจกที่ไม่มี สว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ ซ่งึ กจิ การที่ไมม่ ีส่วนไดเ้ สียสาธารณะมีแนวทางในการปฏิบัติดังนี้ (วรศักดิ์ ทุมมา นนท,์ บรรยาย 20 มีนาคม 2558) 1.1 ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการท่ีไม่มีส่วนได้เสีย สาธารณะ 1.2 ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสีย สาธารณะเปน็ หลกั แต่ ปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินท่ีมีส่วนได้เสียสาธารณะเพียงแค่ 2 ฉบับ คือ TAS 12 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง ภาษีเงินได้ และ TAS 19 มาตรฐานการบญั ชีฉบับท่ี 19 (ปรบั ปรุง 2557) เร่ือง ผลประโยชนพ์ นกั งาน 1.3 ปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาหรับกิจการท่ีมีส่วนได้เสียสาธารณะ ทั้งหมด 2. มาตรฐานการบัญชสี าหรบั กจิ การท่ีมสี ่วนไดเ้ สียสาธารณะ เรยี กว่า “TFRSs for PAEs” กิจการที่เป็นกิจการขนาดใหญ่ท่ีมีส่วนได้เสียสาธารณะ กิจการนี้จะต้องปฏิบัติตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงนิ ทั้งหมดท่ปี ระเทศไทยประกาศใช้โดยไม่ไดร้ ับการยกเว้น

11 กรอบแนวคิดสาหรบั การรายงานทางการเงนิ งบการเงิน คือ การรายงานข้อมูลทางบัญชีท่ีได้รวบรวมไว้ การจัดทางบการเงินจะต้องจัดทา ภายใต้มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เพื่อความน่าเชื่อถือของงบการเงิน มาตรฐานการรายงาน ทางการเงินทุกฉบับจะถูกกาหนดขอบเขตด้วยกรอบแนวคิดทางการบัญชี ทาให้งบการเงิน อยู่ภายใต้ แนวคิดเดียวกัน จึงจะสามารถนางบการเงินมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้ น่ันกจคือ“กรอบแนวคิด สาหรับการรายงานทางการเงนิ ” สง่ิ ทถี่ ูกกาหนดในกรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน คือ 1. วตั ถุประสงคข์ องการรายงานทางการเงินเพอื่ วัตถุประสงค์ท่ัวไปหมายความว่าอย่างไร 2. มีลักษณะใดบา้ งของข้อมลู ทางการเงินท่จี ะทาให้ข้อมูลทางการเงินมีประโยชน์ 3. คานิยาม การรับรู้รายการและการวัดมูลค่าองค์ประกอบของโครงสร้างของงบการเงินมี อะไรบา้ ง 4. แนวคดิ เกย่ี วกบั ทุนและการรกั ษาระดับทุน ทาให้การจัดทาและนาเสนองบการเงินจะต้องทาภายใต้กรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทาง การเงิน ซ่ึงภายใต้กรอบแนวคิดฯ คือ มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน การ ตีความมาตรฐานการบัญชี และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เพ่ือประโยชน์ต่อที่ผู้มี ความจาเปน็ ตอ้ งใช้ขอ้ มลู จากงบการเงิน ดงั ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคดิ สาหรบั การรายงานทางการเงนิ มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชี การตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ภาพท่ี 1.1 กรอบแนวคิดสาหรับการจดั ทาและนาเสนอรายงานทางการเงนิ

12 ความรทู้ ่วั ไปเกยี่ วกบั สนิ ทรพั ย์ ชีวิตประจาวันของมนุษย์ สิ่งที่ต้องทาเป็นประจา เช่น การอาบน้า ซึ่งการอาบน้าต้องอาศัย อปุ กรณ์ เช่น ขนั อาบนา้ เป็นต้น ขันอาบนา้ มีประโยชน์คือเอาไว้ใช้ตักน้าเพ่ือราดน้าลงบนร่างกาย และ สามารถราดลงบนส่วนใดกจได้ตามต้องการ อีกตัวอย่างหน่ึงคือการเดินทางโดยใช้รถจักรยาน รถจักรยานมีประโยชน์คือใช้ปั่น การปั่นรถจักรยานทาให้ถึงที่หมายได้เรจวกว่าการเดินเพ่ือ ประหยัดเวลาอีกท้ังยังเป็นการออกกาลังกายส่งผลให้ร่างกายแขจงแรง เป็นต้น ที่กล่าวมาเป็นเพียง ตัวอย่างที่จะทาให้เหจนถึงความจาเป็นของมนุษย์ในการกระทากิจกรรมใดๆ จะต้องมีตัวช่วย หรือ หมายความว่า มนุษย์มีความจาเป็นที่จะต้องมีส่ิงที่มนุษย์คิดข้ึนมาและนามาใช้เพื่อก่อให้เกิด ประโยชน์ไม่ว่าจะเป็นการใช้ชีวิตประจาวันเพ่ือให้การดาเนินชีวิตเป็นไปได้โดยสะดวก ตัวช่วยในการ อาบน้าคือ ขันอาบน้า ตัวช่วยในการเดินทางโดยใช้รถจักรยาน คือรถจักรยาน หากเป็นการดาเนิน ธุรกิจกจมีความจาเป็นต้องมีตัวช่วยเช่นกันซ่ึงไม่แตกต่างจากการดาเนินงานในชีวิตประจาวันแต่อย่าง ใด เช่น การรับชาระเงนิ ค่าสินคา้ ของรา้ นสะดวกซ้ือ 7-11 พนกั งานจะบนั ทึกรายการขายลงในเคร่ืองรับ เงินสด เครื่องรับเงินสดจะบันทึกรายการสินค้าที่ขาย จานวนหน่วยที่ขายและมูลค่าของสินค้าที่ขาย และรายงานออกมาว่าจานวนเงินท่ีพนักงานได้บันทึกไว้กับจานวนเงินสดที่มีอยู่จริงมีจานวนตรงกัน หรือไม่ เพ่ือจะทาให้สามารถตรวจสอบการทางานของพนักงานได้ในทันที ดังน้ัน ตัวช่วยของร้าน สะดวกซื้อ 7-11 ในการเกจบข้อมูลการขายสินค้าคือเคร่ืองรับเงินสด ซึ่งในการดาเนินธุรกิจกจควรต้องมี ตัวชว่ ยเพ่ือให้ธุรกิจประสบผลสาเรจจ ในย่อหน้าถัดไปจะศึกษาความหมายของคาว่า “สินทรัพย์” ซึ่งมี ความหมายใกล้เคียงกับ “ตัวช่วย” เพื่อจะได้ทราบว่าส่ิงท่ีมนุษย์คิดข้ึนมาและนามาใช้เพื่อก่อให้เกิด ประโยชน์ทั้งในชีวิตประจาวนั และการดาเนนิ ธรุ กจิ แท้ทจ่ี รงิ แล้วมีความหมายวา่ อยา่ งไร ความหมายของสินทรัพย์ กรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2557) ได้ให้ความหมายของสินทรัพย์ ไวด้ ังนี้ สนิ ทรพั ย์ หมายถงึ ทรพั ยากรที่อยใู่ นความควบคมุ ของกิจการ ทรพั ยากรดังกลา่ วเปน็ ผลของ เหตุการณ์ในอดีตซ่ึงกิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจาก ทรพั ยากรน้นั ในอนาคต ประโยชน์เชิงเศรษฐกจิ ในอนาคตของสนิ ทรพั ย์ หมายถึง ศักยภาพของสนิ ทรัพย์ในการ

13 ก่อ ใ ห้ เ กิ ด กร ะ แ ส เ งิ น ส ด แ ล ะ ร า ย กา ร เ ที ย บ เ ท่ า เ งิ น ส ด แ ก่กิ จ ก าร ทั้ ง ท า ง ต ร ง แ ล ะ ทางอ้อม ศักยภาพดังกล่าวอาจอยู่ในรูปของการเพิ่มประโยชน์ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของ กิจกรรมดาเนนิ งาน หรืออาจอยู่ในรูปของความสามารถในการเปลี่ยนเป็นเงินสดหรือ รายการเทียบเท่าเงินสด หรือความสามารถในการลดกระแสเงินสดจ่าย เช่น กระบวนการผลิตใหมท่ ่ชี ว่ ยลดตน้ ทนุ การผลิต กิจการอาจได้รบั ประโยชน์เชงิ เศรษฐกจิ ในอนาคตจากสินทรัพยใ์ นหลายลักษณะ เช่น 1. กจิ การอาจใชส้ ินทรัพยร์ ายการใดรายการหนึง่ หรือใช้สนิ ทรพั ย์รายการนน้ั ร่วมกบั สนิ ทรัพย์ รายการอ่ืนเพ่อื ผลติ สินคา้ หรอื บริการที่จะนาไปขาย 2. กิจการอาจนาสินทรัพย์ที่มีอยไู่ ปแลกกับสนิ ทรพั ย์อ่ืน 3. กิจการอาจนาสินทรพั ยไ์ ปชาระหนสี้ ิน 4. กจิ การอาจนาสินทรพั ยม์ าจ่ายใหก้ บั เจา้ ของ ศัพท์บญั ชี (2538: 15) ได้ให้ความหมายของสินทรพั ย์ไวด้ งั น้ี Asset - สินทรัพย์ ในทางบัญชี หมายถึง สิทธิและทรัพยากรท่ีกิจการมีอยู่ซ่ึงเกิดจากการ ประกอบการ สามารถแสดงค่าเป็นตัวเงินได้จะให้ประโยชน์ในอนาคต ซึ่งได้แก่ ทรัพย์สินท่ีเป็นตัวเงิน เช่น เงินสด หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดและลูกหนี้ เป็นต้น ทรัพย์สินที่มีรูปร่าง เช่น สินค้า คงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ หรือสินทรัพย์ถาวร เป็นต้น ต้นทุนที่คาดว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์ และรายไดใ้ นอนาคต เช่น สินค้าคงเหลือ ค่าสิทธิต่างๆ ค่าใช้จ่ายล่วงหน้าและรายจ่ายรอการตัดบัญชี เป็นต้น Asset - สินทรัพย์ ในทางกฎหมาย หมายถึง วัตถุมีรูปร่างและวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคา และอาจถือเอาได้ จากความหมายของสินทรัพย์ข้างต้น สรุปได้ว่า สินทรัพย์มีลักษณะ คือ “ส่ิงของท่ีกิจการมีไว้ ใช้ในการดาเนินธุรกิจเพื่อจะได้รับประโยชน์ในอนาคตอย่างเตจมที่จากส่ิงของน้ัน” โดยจะเน้นในส่วน ของการทาธุรกิจมากกว่าเร่ืองส่วนตัว และทุกกิจการจะต้องมีสินทรัพย์ไว้ใช้ในการดาเนินธุรกิจ ฉะน้ัน “ตัวช่วย” ท่ีทุกกิจการจะต้องมีกจคือ “สินทรัพย์” นั่นเอง จากตัวอย่างข้างต้น ร้านสะดวกซ้ือ 7-11 ใช้ เครื่องรับเงินสด ในการรับชาระเงินค่าสินค้า จะทาให้สามารถตรวจสอบการทางานของพนักงานได้ ในทันที ซ่ึงสร้างความสะดวก รวดเรจว ทาให้ธุรกิจสามารถดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่ตัว

14 ช่วยของร้านสะดวกซื้อ 7-11 คือเคร่ืองรับเงินสด ในเรื่องของการรับชาระเงินจากการขายสินค้า หมายความว่า เครื่องรับเงินสด คือ “สินทรัพย์” ของร้านสะดวกซื้อ 7-11 น่ันเอง ตัวอย่าง สินทรัพย์ที่ ร้านสะดวกซ้ือ 7-11 มีไว้ใช้เพ่ือจะได้รับประโยชน์ในอนาคตอย่างเตจมที่ในการดาเนินธุรกิจจากสิ่งของ นน้ั ไดแ้ ก่ ต้นู ง่ึ ซาลาเปา เครือ่ งยา่ งไสก้ รอก เคร่ืองทาสเลอปี้ เคร่ืองกดน้าหวาน เป็นต้น ประเภทของสนิ ทรพั ย์ มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 1 (ปรับปรุง 2557) เร่ือง การนาเสนองบการเงิน ได้จัดประเภท สินทรพั ย์ ดังน้ี สนิ ทรัพยห์ มุนเวยี น 66 กจิ การต้องจดั ประเภทสินทรพั ย์เป็นสนิ ทรพั ยห์ มนุ เวียน เมอื่ สินทรพั ย์นัน้ เป็นไปตาม เงื่อนไขขอ้ ใดข้อหน่งึ ต่อไปนี้ 66.1 คาดว่าจะไดร้ ับประโยชน์หรือต้ังใจจะขาย หรอื ใชภ้ ายในรอบระยะเวลาการ ดาเนินงานตามปกติของกจิ การ 66.2 ถือไวโ้ ดยมวี ัตถุประสงค์เบื้องตน้ คือมีไวเ้ พอ่ื ค้า 66.3 คาดวา่ จะไดร้ บั ประโยชนภ์ ายในระยะเวลา 12 เดือนนบั จากรอบระยะเวลา รายงานกิจการ 66.4 สินทรพั ย์ดังกลา่ วเป็นเงินสดหรอื รายการเทียบเท่าเงนิ สด (ตามท่ีนิยามไว้ใน มาตรฐานการบญั ชีฉบบั ท่ี 7 (ปรบั ปรุง (2557) เรอื่ ง งบกระแสเงนิ สด) และ ไม่มีข้อจากัดในการแลกเปล่ียนหรือการใช้ชาระหนี้สินภายในระยะเวลาอย่าง น้อย 12 เดอื นนบั จากรอบระยะเวลารายงาน สินทรพั ย์ทไ่ี มเ่ ป็นไปตามเง่อื นไขขา้ งต้นใหจ้ ดั ประเภทเป็นสนิ ทรพั ย์ไมห่ มุนเวยี น ตามที่มาตรฐานการบัญชีได้จัดประเภทสินทรัพย์ เม่ือกิจการได้สินทรัพย์มาไว้เพื่อใช้งานแล้ว กจิ การตอ้ งจดั ประเภทสนิ ทรพั ย์ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สินทรพั ย์หมุนเวยี น หมายถึง 1.1 สินทรัพย์ที่เปน็ ไปตามข้อกาหนดต่างๆ นเ้ี พยี งขอ้ เดียว ซึง่ กิจการคาดวา่ จะ 1.1.1 ได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์น้ันภายในรอบระยะเวลาการดาเนินงาน ตามปกตขิ องกิจการ

15 1.1.2 มีไวเ้ พอื่ ขาย ภายในรอบระยะเวลาการดาเนนิ งานตามปกติของกิจการ 1.1.3 นาสินทรัพย์นั้นมาใช้เองภายในรอบระยะเวลาการดาเนินงานตามปกติของ กิจการ (รอบระยะเวลาการดาเนินงานของกิจการ หมายถึง การซื้อสินทรัพย์มาเพื่อใช้ในการ ดาเนินงานของกิจการจนกิจการได้รับเงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสดจากสินทรัพย์น้ันกลับมายัง กิจการ หากเป็นการยากที่จะระบุรอบระยะเวลาการดาเนินงานของกิจการได้ ให้กาหนดว่ารอบ ระยะเวลาการดาเนินงานมรี ะยะเวลา 12 เดือน) 1.2 กิจการมีสินทรัพย์นน้ั ๆ ไว้โดยมวี ัตถุประสงค์คือเพื่อค้า 1.3 กิจการคาดว่าจะไดร้ บั ประโยชนจ์ ากสนิ ทรพั ยน์ น้ั ภายในระยะเวลา 12 เดือน นับจาก รอบระยะเวลารายงาน 1.4 สินทรัพย์หมุนเวียนน้ีเป็นเงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสด และจะต้องไม่มี ข้อจากัดในการจะนาไปแลกเปล่ียนหรือการใช้ชาระหนี้สินภายในระยะเวลาอย่างน้อย 12 เดือนนับ จากรอบระยะเวลารายงาน 2. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หากกิจการพิจารณาแล้วพบว่า สินทรัพย์ไม่เข้าเง่ือนไขของ สินทรัพย์หมุนเวียนให้จัดประเภทสินทรัพย์นั้นเป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ซึ่งกิจการจะได้รับประโยชน์ จากสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนมากกว่ารอบระยะเวลาการดาเนินงานตามปกติของกิจการ สินทรัพย์ไม่ หมุนเวียนยังหมายความถึง สินทรัพย์มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน และสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งมี ลักษณะทเี่ ป็นระยะยาว อีกดว้ ย การรับรรู้ ายการของสินทรพั ย์ กรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2557) ได้ให้ความหมายของการรับรู้ รายการของสินทรพั ยไ์ ว้ดังนี้ 4.44 กิจการต้องรับรู้สินทรัพย์ในงบดุลเม่ือมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ท่ีกิจการจะได้รับ ประโยชน์เชงิ เศรษฐกจิ ในอนาคตและสนิ ทรัพยน์ นั้ มีราคาทุนหรือมูลค่าท่ีสามารถวัดได้ อยา่ งน่าเช่อื ถอื 4.45 กจิ การต้องไม่รับรูส้ นิ ทรัพย์ในงบดุลจากรายจ่ายท่ีเกิดข้ึน หากไม่น่าเป็นไปได้ที่กิจการ จะได้รับ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากรายจ่ายที่เกิดขึ้นเกินกว่ารอบระยะเวลาบัญชีท่ี เกิดรายจ่ายนั้น แต่กิจการต้องรับรู้รายจ่ายดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน

16 แทน รายจ่ายท่ีเกิดข้ึนมิได้แสดงว่าฝ่ายบริหารมิได้มุ่งหวังประโยชน์เชิงเศรษฐกิจใน อนาคตหรอื แสดงวา่ ฝ่ายบรหิ ารผิดพลาดในการจา่ ยรายจา่ ยนั้น เพียงแต่แสดงว่าระดับ ความแน่นอนที่กิจการจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเกินกว่ารอบระยะเวลาบัญชี ปจั จุบนั นนั้ ไม่เพียงพอที่กิจการจะรบั รู้รายจ่ายเปน็ สินทรัพย์ในงบดลุ ตามที่มาตรฐานการบัญชีกล่าวถึง การรับรู้รายการของสินทรัพย์ หมายความว่า เม่ือ กิจการแนใ่ จวา่ จะไดร้ บั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายจ่ายน้ัน กิจการต้องบันทึกบัญชีว่าสิ่ง น้ันเป็นสินทรัพย์ลงในสมุดบัญชี และต้องบันทึกจานวนเงินของรายจ่ายนั้นด้วย โดยท่ีจานวนเงิน จะต้องเป็นจานวนเงินท่ีสมเหตุสมผล มีความน่าเชื่อถือ สุดท้ายบัญชีสินทรัพย์จะไปปรากฏที่งบแสดง ฐานะการเงิน และกิจการจะต้องไม่บันทึกบัญชีรายจ่ายนั้นเป็นสินทรัพย์ หากกิจการเหจนว่าจะไม่ได้รับ ประโยชน์จากรายการในอนาคตนั้น กิจการต้องบันทึกบัญชีรายจ่ายดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่าย แสดงให้ เหจนความแตกต่างของคา่ ใชจ้ ่ายและสินทรพั ย์ ดังภาพท่ี 1.2 รายจา่ ย สนิ ทรพั ย์ หมนุ เวียน ...ใชไ้ ป, คา่ ..... ใหป้ ระโยชนใ์ น ไมห่ มุนเวยี น ค่าเส่อื มราคา คา่ .. (ระบุชื่อ) อนาคต ค่าใช้จ่าย ให้ประโยชน์ใน ขณะนน้ั ภาพท่ี 1.2 แสดงความหมายของรายจ่าย

17 การวัดมูลค่าของสินทรัพย์ กรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2557) ได้ให้ความหมายของการวัด มลู ค่าองค์ประกอบของงบการเงนิ ไวด้ งั นี้ 4.54 การวัดมูลค่าคือ กระบวนการกาหนดจานวนทเ่ี ป็นตัวเงนิ เพื่อรบั รู้องค์ประกอบของงบ การเงนิ ในงบดุลและงบกาไรขาดทุน การวัดมูลค่าจะเกี่ยวข้องกับการเลือกใช้เกณฑ์การ วัดมูลคา่ ตามที่มาตรฐานการบัญชีกาหนด สินทรัพย์เป็นองค์ประอบหน่ึงของงบการเงิน เม่ือกิจการ ไดร้ ับรูร้ ายการนัน้ เป็นสินทรัพย์แล้ว รายการทุกรายการต้องมีมูลค่า ซ่ึงการกาหนดมูลค่าของสินทรัพย์ จะเปน็ ไปตามทม่ี าตรฐานการบญั ชแี ต่ละฉบบั กาหนด ความแตกต่างระหวา่ งรายการหมุนเวยี นกบั รายการไม่หมุนเวยี น ตามทม่ี าตรฐานการบัญชีกล่าวไว้ว่า การนาเสนอสินทรัพย์และการเปิดเผยข้อมูลสินทรัพย์ใน งบการเงินของสินทรัพย์ สามารถอธิบายได้ ดงั น้ี 1. เม่อื กิจการแนใ่ จวา่ กิจการจะได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากสินทรัพย์น้ัน และ เม่ือบันทึกบัญชีสินทรัพย์กิจการต้องบันทึกจานวนเงินของสินทรัพย์นั้นด้วย และข้ันตอนสุดท้ายของ งานบัญชี บญั ชีสินทรัพย์จะไปปรากฏที่งบแสดงฐานะการเงิน 2. การแสดงรายการสินทรัพย์แต่ละรายการน้ันกิจการต้องใช้ดุลยพินิจว่ารายการใดมี รายละเอียดมากต้องแยกแสดงเพิ่มเติมตามเกณฑ์ท่ีมาตรฐานการบัญชีกาหนด คือ 1. ตามลักษณะ ของสินทรัพย์ 2. ตามสภาพคลอ่ งและการใชง้ านของสนิ ทรัพย์ 3. กิจการต้องแยกแสดงสินทรัพย์เป็นรายการหมุนเวียนและไม่หมุนเวียนในงบแสดงฐานะ การเงินและการจัดลาดบั ของสินทรัพย์จะต้องแสดงตามลาดับของสภาพคล่องของสินทรัพย์น้ันเอง คือ รายการไหนสามารถเปล่ียนเปน็ เงนิ สดได้กอ่ นจะถูกจัดลาดับก่อน รายการที่เปลี่ยนเป็นเงินสดได้ช้าจะ ค่อยๆ เรยี งลงไปตามลาดบั การแสดงรายการในงบการเงินและการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบ การเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง การนาเสนองบการเงิน กาหนดถึงการ นาเสนอสินทรัพย์และการเปดิ เผยขอ้ มลู ในงบการเงิน ดังนี้

18 งบแสดงฐานะการเงิน ข้อมูลท่ตี ้องนาเสนอในงบแสดงฐานะการเงนิ 54. งบแสดงฐานะการเงินต้องมีรายการท่แี สดงจานวนเงินทุกข้อดังต่อไปนี้ เปน็ อย่างน้อย 54.1 เงินสดและรายการเทยี บเทา่ เงินสด 54.2 ลูกหน้ีการค้าและลูกหนี้อื่น 54.3 สินคา้ คงเหลือ 54.4 สนิ ทรพั ยช์ ีวภาพ (ดมู าตรฐานการบญั ชี ฉบับที่ 41 เรอื่ ง เกษตรกรรม หมายเหตุ เม่อื มีการประกาศใช้) 54.5 เงินลงทุนซ่ึงบันทึกโดยใชว้ ธิ สี ่วนไดเ้ สีย 54.6 สินทรพั ย์ทางการเงิน (ไมร่ วมจานวนเงินท่แี สดงในขอ้ 54.1 54.2 และ 54.5) 54.7 สินทรัพยไ์ ม่มีตัวตน 54.8 อสังหารมิ ทรพั ยเ์ พ่ือการลงทุน 54.9 ทดี่ นิ อาคารและอปุ กรณ์ 54.10 ยอดรวมของสนิ ทรัพยท์ จ่ี ัดประเภทเปน็ สนิ ทรพั ย์ท่ีถือไว้เพือ่ ขายและสนิ ทรพั ย์ 58. การใช้ดลุ ยพินิจว่ารายการใดต้องแยกแสดงเพ่มิ เติมใหพ้ ิจารณาโดยถือเกณฑ์ดงั น้ี 58.1 ลักษณะและสภาพคลอ่ งของสนิ ทรพั ย์ 58.2 การใช้งานของสินทรพั ยภ์ ายในกจิ การ และ 58.3 จานวนเงนิ ลักษณะและจังหวะเวลาของหนสี้ นิ กิจการต้องแสดงข้อมูลสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินและเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินตามท่ีมาตรฐานการบัญชีกาหนด โดยการแสดงรายการตามสภาพคล่องของ สนิ ทรัพย์ ลักษณะการใช้งานสินทรัพย์ ซึ่งต้องเป็นไปตามประกาศของกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากาหนด ไว้ในเรื่องของการกาหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินอีกด้วย เพื่อให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจข้อมูลท่ี กิจการต้องการนาเสนอ และเน่ืองจากสินทรัพย์แต่ละรายการมีความแตกต่างกัน ประโยชน์ใช้สอยไม่ เหมือนกัน จึงต้องมีมาตรฐานการบัญชีว่าด้วยเรื่องสินทรัพย์นั้นๆ ซ่ึงในมาตรฐานการบัญชีจะมี ขอ้ กาหนดและวิธปี ฏิบัติอยู่แลว้

19 สรปุ การบัญชีช้นั กลาง 1 เป็นการศึกษาเจาะลึกรายการสินทรัพย์ทีละรายการ โดยเรียงตามลาดับ จากงบแสดงฐานะการเงิน ผู้ศึกษาจึงต้องทาความเข้าใจในเบื้องต้นเก่ียวกับพัฒนาการทางบัญชีและ ในภายหลังการปฏิบัติงานทางบัญชีถูกกาหนดโดยกฎหมายทางการบัญชีซ่ึงอยู่ภายใต้กรอบแนวคิด ทางการบญั ชเี พอ่ื ให้งานบัญชีมแี นวปฏิบัตไิ ปในทศิ ทางเดียวกนั เพ่อื ให้การดาเนินธุรกิจราบรื่น รวดเรจว และแม่นยา ต้องอาศัย เครื่องมือและอุปกรณ์มาเป็นตัวช่วย ส่ิงเหล่าน้ี ถูกเรียกว่า “สินทรัพย์” เมื่อ สินทรัพย์มีความจาเป็นในการดาเนินธุรกิจ การเข้าใจความหมายของสินทรัพย์และสามารถแบ่ง ประเภทของสินทรัพย์ได้ถูกต้อง จะทาให้การบันทึกบัญชีต้ังแต่เริ่มต้นได้สินทรัพย์มา การนาสินทรัพย์ มาใช้งานและการนาเสนอสินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินมีความถูกต้องและน่าเชื่อถือมากย่ิงข้ึน ซึ่งสิ่งเหล่าน้ีจะส่งผลดีแก่กิจการ เช่น กิจการสามารถวางแผนเกี่ยวกับการใช้งานสินทรัพย์ได้ กิจการ ทราบถงึ ความคุ้มคา่ ในการลงทุนกับสนิ ทรัพยไ์ ด้ เป็นต้น ในบทต่อไปจะเร่ิมต้นด้วยสินทรัพย์ลาดับแรก ของกิจการ ซ่ึงเป็นสินทรัพย์ท่ีต้องมีการวางแผนและควบคุมอย่างรอบคอบ เพราะเป็นสินทรัพย์ท่ี สามารถนามาใช้ไดใ้ นทนั ทที ี่ตอ้ งการ เชน่ นาไปซื้อสง่ิ ของ นาไปชาระหน้ี เป็นต้น

20 แบบฝึกหดั บทที่ 1 พฒั นาการทางการบัญชแี ละความรทู้ ัว่ ไปเกี่ยวกบั สินทรัพย์ ขอ้ 1. กรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน คอื อะไร มีประโยชน์อย่างไรตอ่ งานบัญชี ข้อ 2. “สินทรัพย์” ตามท่ีกรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2557) ได้ให้ ความหมายไวว้ ่าอยา่ งไร ขอ้ 3. ตามทม่ี าตรฐานการบัญชีกาหนด สนิ ทรพั ย์แบ่งออกเป็นกปี่ ระเภท อะไรบ้าง ขอ้ 4. ให้ระบุสนิ ทรัพย์หมุนเวียนและสนิ ทรัพยไ์ ม่หมุนเวียนของกจิ การต่อไปนี้มาอย่างละ 3 รายการ 1.1 ร้านสะดวกซ้อื 7-11 1.2 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี 1.3 รา้ นเสริมสวยแดงครีเอชั่น ข้อ 5. จากความหมายของคาว่า “การรับรู้สินทรัพย์” ให้บันทึกบัญชีรายการต่อไปนี้ในแบบฟอร์ม สมุดรายวันทั่วไป 2557 ม.ี ค. 1 กจิ การซอ้ื เครอื่ งจกั รมาใช้ในการผลิตสนิ ค้า มลู คา่ ของเคร่ืองจกั ร 5 100,000 บาท โดยจ่ายเปน็ เชคจ กิจการซอ้ื เครอื่ งถา่ ยเอกสารมาใช้ในสานักงาน มลู ค่า 12,000 บาท โดย ยังไมไ่ ดช้ าระเงิน

21 เอกสารอา้ งองิ กอบแก้ว รัตนอุบล. (2555). การบัญชีชัน้ กลาง 1. พิมพค์ ร้ังท่ี 4. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เจริญ เจษฎาวลั ย์. (2556). ประวัติศาสตร์โลก การบญั ชี-การตรวจสอบ. นนทบุรี: บริษัท พอดี จากัด. ธารินี พงศ์สุพัฒน์. (2555). การบัญชีข้ันกลาง 1. พิมพ์ครั้งท่ี 12. กรุงเทพมหานคร: วชิรินทร์สาส์น พร้นิ ทต์ ้ิง จากัด. นพิ ันธ์ เหจนโชคชยั ชนะ และ ศลิ ปพร ศรีจ่นั เพชร. (2554). ทฤษฏีการบญั ชี. กรงุ เทพมหานคร: หจก. ทพี เี อนจ เพรส. เมธากุล เกียรตกิ ระจาย. (2538). ทฤษฎีการบัญช.ี กรุงเทพมหานคร: อักษรสยามการพิมพ์. เมธากลุ เกียรตกิ ระจาย และ ศิลปพร ศรีจ่ันเพชร. (2547). ทฤษฎีการบัญชี. กรุงเทพมหานคร: หจก. ทพี เี อจน เพรส. วรศักด์ิ ทุมมานนท์. (2558). “สรุปประเด็นการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินไทย” เอกสารประกอบการสัมมนาในโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการด้านการ เรยี นการสอนวชิ าการบญั ชี วันที่ 20-21 มนี าคม 2558 ณ โรงแรมตวันนา กรงุ เทพมหานคร. สภาวชิ าชพี บัญชใี นพระบรมราชูปถัมภ์. (2554) มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการ ที่ไม่มีส่วนไดเ้ สียสาธารณะ. สืบค้นเมอ่ื 26 พฤษภาคม 2558, จาก http://fap.or.th.a33.readyplanet.net/images/column_1359010309/NPAE_web_0605 54.pdf . (2557). กรอบแนวคิดทางการบัญชีสาหรับการรายงานทางการเงิน. สบื ค้นเมือ่ 1 กุมภาพันธ์ 2558, จาก http://www.fap.or.th/images/column_1359010309/framework_clean- PostWeb_Up_031057.pdf

22 . (2557). มาตรฐานการบญั ชีฉบบั ที่ 1 เรอ่ื ง การนาเสนองบการเงนิ . สืบค้นเมื่อ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2558, จาก: http://www.fap.or.th/images/column_1412565962/TAS%201%20web%20- %20run%20%E0%B8%A5%E0%B8%B3%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%9A %E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%20137- 140%20Up%206_1_58.pdf สมาคมนกั บัญชแี ละผู้สอบบัญชรี ับอนุญาตแห่งประเทศไทย.(2538). ศัพท์บัญชี. กรงุ เทพมหานคร: บริษัท พ.ี เอ. ลีฟว่ิง จากัด.

23 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 2 เรอื่ ง เงนิ สดและการควบคุมเงินสด หวั ขอ้ เน้ือหาประจาบท 1. ความหมายของเงินสดและรายการเทยี บเท่าเงินสด 2. รายการท่ีไมน่ บั รวมเป็นเงินสด 3. การรับรรู้ ายการเกยี่ วกับเงินสด 4. การควบคุมเงินสด 5. ระบบใบสาคัญสัง่ จา่ ย 6. ระบบเงนิ สดย่อย 7. สมุดเงนิ สด 8. การจัดทางบพสิ จู นย์ อดเงินฝากธนาคาร 9. การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบ งบการเงนิ วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม เมอื่ ศึกษาบทน้ีแล้ว ผ้ศู ึกษาสามารถ 1. สามารถบอกความหมายของเงินสดและรายการเทียบเทา่ เงนิ สดได้ 2. สามารถบอกได้ว่ามรี ายการใดบ้างทีไ่ ม่นับรวมเป็นเงินสด 3. สามารถวางแผนการควบคุมเงินสดด้านรับและการควบคุมเงินสดด้านจ่ายสาหรับกิจการ ได้ 4. สามารถอธิบายถึงความจาเป็นในการนาเงินสดไปฝากธนาคารประเภทกระแสรายวนั 5. สามารถอธิบายถึงความจาเป็นท่ีต้องจัดทางบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารและสามารถ จัดทางบพสิ จู นย์ อดเงนิ ฝากธนาคารได้

24 6. สามารถบอกได้ว่ารายการเงินสดและรายการเทยี บเท่าเงินสดเป็นสินทรัพย์ลาดับแรกที่จะ ถูกแสดงในงบแสดงฐานะการเงิน และสามารถเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับรายการเงินสดและรายการ เทยี บเท่าเงนิ สดได้ วิธกี ารสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอนประจาบท 1. แนะนาเนื้อหารายวชิ า แนะนาตารา เอกสารอื่น เว็บไซตท์ ่ีเก่ยี วข้อง เพื่อศึกษาเพม่ิ เตมิ 2. แนะนากิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผลและการประเมนิ ผล 3. บรรยายโดยใช้หนังสือและยกตัวอย่างประกอบ ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ เนอื้ หาทีเ่ รยี นและนกั ศึกษามสี ว่ นร่วมในการซักถามแทรกระหว่างการบรรยาย 4. ให้นักศึกษาทาแบบฝกึ หดั ท้ังในห้องเรยี นและเปน็ การบ้าน 5. การจาลองเหตกุ ารณ์ทางธุรกจิ โดยให้นักศกึ ษาได้ฝึกปฏิบัตเิ ลยี นแบบเหตกุ ารณจ์ ริง 6. อาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษาช่วยกันเฉลยแบบฝกึ หัดและการบ้าน สอื่ การเรียนการสอน 1. ตาราหลัก และเอกสารประกอบการสอน 2. ข้อมูลจากธนาคารพาณิชย์ใน Website ของธนาคารในเร่ือง เงินฝากธนาคารกระแส รายวัน 3. ตวั อย่างเอกสารจริงจากธนาคาร เช่น ใบนาฝาก ใบถอนเงนิ เช็ค เปน็ ตน้ 4. คาชีแ้ จงกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรอ่ื ง กาหนดรายการย่อท่ตี ้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2554 5. มาตรฐานการบัญชีฉบบั ที่ 7 (ปรบั ปรุง 2557) เรื่อง งบกระแสเงนิ สด การวดั และประเมินผล 1. สงั เกตจากการเข้าเรียนตรงเวลา ความสนใจในห้องเรียนและการช่วยกันเฉลยแบบฝึกหัด และการบา้ น 2. สอบถามเพอื่ ประเมินความเข้าใจในเนอื้ หาทเ่ี รยี นเปน็ รายบุคคล 3. เฉลยแบบฝึกหัดในห้องและให้สมาชิกในกลุ่มดูแลกันเองหากมีนักศึกษาที่ทาผิด จะต้อง ทาการแก้ไขใหถ้ ูกต้องทนั ที

25 บทที่ 2 เงินสดและการควบคุมเงนิ สด สินทรัพย์รายการแรกที่มีความสาคัญสาหรับกิจการ คือ เงินสด การศึกษาให้เข้าใจ ความหมายของเงินสดจึงเปน็ สิ่งจาเปน็ เพราะเงนิ สดเปน็ สินทรัพย์ที่มีความสะดวก คล่องตัว สามารถ นามาจับจ่ายได้ทันที จากความสะดวกของเงินสดในการจับจ่ายน้ีเองท่ีทาให้กิจการมีความจาเป็นท่ี จะต้องมีการวางแผนในการใช้เงินสดให้ดี เช่น การจัดทางบประมาณเงินสด การควบคุมภายใน เกี่ยวกับเงินสดทั้งด้านรับและด้านจ่าย เป็นต้น นอกจากนี้การวางแผนข้างต้นยังยังสามารถป้องกัน การสูญหายและการทุจริตที่จะเกิดข้ึน ดังนั้นกิจการควรเก็บเงินสดไว้ใช้เท่าท่ีจาเป็น ให้เพียงพอกับ ความต้องการใช้จ่ายในแต่ละหน่ึงวัน หากมีเงินสดเหลือมากเกินกว่าที่ต้องการใช้ กิจการควรจะมีการ บรหิ ารจัดการอยา่ งไร ดงั น้ัน การศึกษากระบวนการของเงินสด ควรเริ่มจากการเข้าใจความหมายของ เงินสดก่อน จากน้ันจึงศึกษาข้ันตอนของวิธีปฏิบัติต่างๆ ตลอดจนการบันทึกบัญชีให้ถูกต้อง เพื่อให้ ทราบวิธกี ารทจี่ ะทาให้เกิดประสิทธภิ าพสงู สดุ แก่กิจการ ความหมายของเงนิ สดและรายการเทียบเท่าเงินสด ศัพท์บญั ชี (2538:28) ไดใ้ หค้ วามหมาย ดังน้ี เงินสด (Cash) คือ เงินสดในมือและเงินฝากธนาคารทุกประเภท แต่ไม่รวมเงินฝากประเภทท่ี ต้องจา่ ยคนื เมอ่ื สิ้นระยะเวลาอนั กาหนดไว้ เงนิ สดในมือรวมถึงเงินเหรียญ ธนบัตร เช็คท่ียังมิได้นาฝาก ดรา๊ ฟทข์ องธนาคารและธนาณตั ิ เงินสดในมือ (Cash on hand) คือ เงินสดท่ีกจิ การมไี ว้เพื่อใช้ในการประกอบธุรกจิ ประจาวนั มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง งบกระแสเงินสด ได้ให้ความหมายของ เงินสด ดงั นี้ เงนิ สด ประกอบดว้ ย เงินสดในมอื และเงินฝากธนาคารทีต่ ้องจา่ ยคนื เม่ือทวงถาม รายการเทียบเทา่ เงินสด หมายถงึ เงนิ ลงทุนระยะสัน้ ท่มี สี ภาพคล่องสูง ซง่ึ พรอ้ มที่จะ เปล่ยี นเป็นเงินสดในจานวนทีท่ ราบไดแ้ ละมคี วามเสี่ยงทไี่ มม่ ีนยั สาคญั ต่อการเปล่ยี นแปลงในมูลค่า

26 คาชี้แจงกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เร่ือง กาหนดรายการย่อท่ีต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554 (2554: อ. 1-1) ไดใ้ หค้ วามหมายของเงนิ สดและรายการเทยี บเท่าเงนิ สด ดงั น้ี เงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงินสด (Cash and cash equivalents) 1.1 เงนิ สด หมายถงึ เงินสดในมอื และเงินฝากธนาคารทกุ ประเภท แต่ไม่รวมเงินฝากประเภท ทต่ี อ้ งจา่ ยคนื เมอ่ื ส้ินระยะเวลาที่กาหนด เชน่ 1.1.1 ธนบตั รและเหรียญกษาปณท์ ก่ี ิจการมีอยู่ รวมท้ังเงินสดย่อย ธนาณัติ ตั๋วแลกเงิน ไปรษณยี ์ 1.1.2 เงินฝากกระแสรายวนั และออมทรพั ย์ ทงั้ น้ีไมร่ วมเงนิ ฝากธนาคารประเภทจ่ายคืน เม่ือสิ้นระยะเวลา (เงินฝากประจา) รวมทั้งบัตรเงินฝากท่ีออกโดยธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงิน อน่ื ซง่ึ กาหนดให้แสดงไว้ในรายการท่ี 1.2 และ 2.5 แล้ว 1.1.3 เช็คทีถ่ งึ กาหนดชาระแตย่ งั มไิ ด้นาฝาก เชค็ เดินทาง ดราฟต์ของธนาคาร รายการเทยี บเทา่ เงินสด หมายถึง เงินลงทนุ ทีม่ สี ภาพคลอ่ งสงู ซ่งึ พร้อมท่ีจะเปล่ียนเป็นเงินสด ในจานวนที่ทราบได้และมีความเส่ียงต่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าน้อย หรือไม่มีนัยสาคัญ ทั้งน้ีให้ เป็นไปตามท่ีกาหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินทเ่ี กี่ยวข้อง กอบแกว้ รัตนอุบล (2555: 3-1) ได้กล่าวถึงเงินสด ว่าเงินสดหมายถึง เงินเหรียญ ธนบัตร เช็ค ของลกู คา้ ท่ยี ังไม่ได้นาฝาก เช็คเดินทาง ดร๊าฟท์ของธนาคาร ธนาณัติ ท่ีกิจการได้รับเพื่อเป็นการชาระ หน้ี เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวันและออมทรัพย์ประเภทไม่มีกาหนดเวลา นอกจากนี้เงินสด ยงั รวมถึงรายการดงั กล่าวท่ีอยู่ในรปู ของเงินตราตา่ งประเทศด้วย จากความหมายของเงนิ สดและรายการเทียบเท่าเงนิ สดจะเห็นไดว้ า่ เงนิ สด คือ เงินสดในมอื ที่สามารถนามาใช้ไดท้ กุ เมอ่ื ได้แก่ 1. ธนบัตร 2. เหรยี ญกษาปณ์ 3. เงนิ ฝากธนาคารทกุ ประเภท ทส่ี ามารถถอนเงนิ สดออกมาใช้ได้ทันทที ่ตี ้องการใช้ 4. เงนิ สดย่อย 5. เอกสารท่ีสามารถเปลีย่ นเปน็ เงินสดไดท้ นั ที คอื ธนาณัติ ดร๊าฟท์ และเชค็

27 หากกิจการมีเงนิ สดเหลือใช้เกินความจาเป็น กิจการต้องนาเงินสดที่เหลือนี้ไปหาผลตอบแทน ในรูปของการลงทุนและต้องเป็นการลงทุนในระยะส้ันเพ่ือสามารถนาเงินสดกลับมาใช้ได้ทันทีเม่ือมี ความจาเป็น ระยะสั้นคือในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนหรือน้อยกว่า เน่ืองจากในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง งบกระแสเงินสด กล่าวว่า “โดยปกติเงินลงทุนจะถือเป็นรายการ เทียบเท่าเงินสดได้ก็ต่อเมื่อเงินลงทุนนั้นมีวันครบกาหนดในระยะส้ัน กล่าวคือ 3 เดือน หรือน้อยกว่า นบั จากวนั ทไ่ี ดม้ า” ลกั ษณะการลงทุนนค้ี ือการนาเงินสดท่ีมีอยู่เกินความจาเป็นไปลงทุนดีกว่าที่จะเก็บ เงนิ สดไวโ้ ดยไม่เกิดประโยชนอ์ ยา่ งใด รายการน้คี ือ “รายการเทียบเทา่ เงินสด” ไดแ้ ก่ 1. เงินลงทุนในหลกั ทรพั ยเ์ พอ่ื ค้า 2. ตว๋ั เงินคลงั 3. ตั๋วสัญญาใชเ้ งิน รายการท่ีไมน่ ับรวมเป็นเงนิ สด กอบแก้ว รัตนอุบล.(2555: 3-3, 3-5) ได้กล่าวถึงรายการที่ไม่นับรวมเป็นเงินสดว่า รายการที่ ไม่จัดเป็นเงินสดคือ เงินสดที่กิจการไม่ตั้งใจจะนามาใช้จ่ายชาระหน้ีสินหมุนเวียน หรือมีข้อจากัดใน การใช้จึงจะไม่แสดงรวมเป็นเงินสด ตัวอย่างรายการท่ีไม่สามารถนามารวมแสดงเป็นเงินสด ได้แก่ วงเงินประกันข้ันต่ากับธนาคาร เงินกองทุน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เช็คของลูกค้าท่ีเป็นเช็คคืน ดวง ตราไปรษณียากร เงินล่วงหน้าค่าเดินทางให้แก่พนักงาน เงินฝากธนาคารในต่างประเทศท่ีถูกจากัด การใช้ เป็นต้น บุญเสรมิ วิมกุ ตะนันท์, ดษุ ฎี สงวนชาติ, นันทพร พิทยะ และ พิมพ์พนา ปีตธวัชชัย (2556:48) กลา่ วถึงเอกสารทางการเงนิ ทไี่ มน่ ับรวมเป็นรายการเทยี บเท่าเงนิ สด ณ วันใดวันหน่ึง ไดแ้ ก่ 1. เชค็ ท่ีเคยนาฝากธนาคาร และธนาคารส่งคืนมา เนอื่ งจากไม่สามารถเกบ็ เงินได้ 2. เช็คท่ีรับจากผู้อื่น แต่ลงวันท่ีล่วงหน้า ทาให้กิจการไม่สามารถนาไปเข้าบัญชีเงินฝาก ธนาคารได้ เนือ่ งจากยงั ไม่ถึงกาหนด 3. เงินมัดจาตามสัญญาที่กิจการจ่ายให้ผู้อื่นเพื่อประโยชน์ทางธุรกิจ แม้ว่ากิจการมีสิทธิจะ ได้คนื ภายหลงั กต็ าม 4. เงินสดท่ีให้พนักงานยืมไปใช้ในการปฏิบัติงานให้กิจการ ซึ่งจัดอยู่ในประเภทรายการ ลูกหนีพ้ นักงาน

28 5. เงินฝากธนาคารท่ีมีข้อจากัดการใช้เงิน เช่น กิจการใช้เงินฝากประจาเป็นหลักประกันการ ก้ยู มื เป็นต้น จากความหมายของรายการท่ไี มน่ บั รวมเปน็ เงนิ สดจะมคี วามหมายว่า 1. มขี อ้ จากดั ในการนามาใช้ 2. ไมส่ ามารถเปลี่ยนเปน็ เงนิ สดเพื่อนามาใช้ได้ในทันที และ 3. กจิ การไม่ได้มีการวางแผนท่ีจะนามาใช้จา่ ยชาระหนีส้ นิ หมนุ เวียนได้ รายการทไ่ี ม่ควรนบั รวมเปน็ เงินสด ได้แก่ 1. เงนิ ฝากธนาคารทกุ ประเภททม่ี ีเง่อื นไข 2. เงนิ สดของกิจการท่ใี ห้พนักงานของกิจการยืมไปใช้จ่ายในการปฏิบตั ภิ ารกจิ ให้กับกิจการ พนักงานของกิจการจะกลายเป็นลูกหน้ีอื่นของกิจการ จนกว่าพนักงานจะปฏิบัติภารกิจเสร็จและนา เอกสารการใช้เงินมารายงานต่อกิจการ ถึงเงินจานวนนี้จะเป็นเงินของกิจการ แต่กิจการไม่สามารถ นามาใชไ้ ด้ เพราะให้พนักงานของกิจการยืมไปแล้ว 3. เชค็ ทก่ี จิ การได้รบั มา และนาเช็คไปฝากธนาคาร แตธ่ นาคารสง่ คืนเช็คมา เนอื่ งจาก ธนาคารไม่สามารถเรียกเกบ็ เงนิ จากเข้าของเชค็ ได้ แสดงวา่ กจิ การไมไ่ ด้รับเงินตามที่ระบุในเชค็ 4. เชค็ ทก่ี ิจการได้รบั มา แตเ่ ปน็ เช็คลงวันทล่ี ว่ งหน้า ทาใหก้ ิจการไม่สามารถเบกิ เงินจากเชค็ มาใช้ได้ในทันที ต้องรอให้เช็คถงึ กาหนด จึงจะสามารถเบิกเป็นเงินสดได้ เมือ่ ศกึ ษาความหมายของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดและรายการที่ไม่นับรวมเป็นเงิน สดแล้ว จะเห็นว่ากิจการต้องมีการวางแผนว่า กิจการมีเงินสด เงินฝากธนาคาร ที่ต้องใช้หมุนเวียนอยู่ เท่าใด การกนั เงนิ สดใหเ้ พยี งพอกับความต้องการใช้ การนาเงินสดไปลงทุนในระยะส้ัน การบริหารเงิน สดให้ปลอดภยั ล้วนแล้วแตต่ อ้ งเกดิ จากการวางแผนก่อนทั้งน้นั

29 การรบั ร้รู ายการเกี่ยวกับเงนิ สด เม่ือกิจการได้รบั เงินสด อาจได้รับมาจากการขายสินค้าหรือลูกหนี้นามาชาระหนี้ และจ่ายเงิน สด อาจนาไปจ่ายชาระหน้ใี หเ้ จ้าหนี้หรอื จา่ ยชาระคา่ ใชจ้ า่ ยตา่ งๆ กิจการต้องบันทึกบัญชีเงินสดซึ่งเป็น สินทรพั ย์ของกจิ การ ดังน้ี เดบิต เงินสด xx เครดติ ลกู หนก้ี ารค้า หรือ ขายสินคา้ xx บันทกึ รับเงินสดจากการขายสินค้าหรือรับเงินสดจากลกู หนี้ เดบิต คา่ ใช้จา่ ยหรอื เจ้าหน้ี xx เครดิต เงินสด xx บนั ทึกจา่ ยเงนิ สดเป็นคา่ ใช้จ่ายหรือจา่ ยเงนิ สดชาระหนใ้ี ห้เจา้ หน้ี การควบคมุ เงินสด เงินสดเป็นสินทรัพย์ที่มีผู้ต้องการมากท่ีสุดชนิดหน่ึงเพราะ มีความสะดวกในการจับจ่าย ใน กรณีท่ีกิจการมีเงินสดเข้าออกในแต่ละวันเป็นจานวนมาก กิจการจาเป็นต้องวางแผน จะมีวิธีบริหาร จัดการ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการดาเนินงานสาหรับกิจการเองและกิจการอ่ืนที่เกี่ยวข้อง มี ความสาคัญต่อการดาเนินงานท้ังเงินสดเข้าและเงินสดออก ถือได้ว่าเงินสดเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนท่ี เข้าและออกจากกิจการได้หลายๆ ครัง้ ในแตล่ ะวนั อาจเกิดการสญู หายหรือถูกโจรกรรมได้ กิจการต้อง ควบคุมเพอื่ ความปลอดภัย ทาให้เกิดความเป็นระบบและสามารถตรวจสอบได้ การควบคุมเงินสดใน เบ้อื งตน้ มดี ังนี้ 1. การกาหนดหน้าที่ของพนักงานให้ชัดเจน กิจการต้องกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของ พนักงานแต่ละคนทาให้พนักงานได้ทราบถึงความรับผิดชอบท่ีมีต่อองค์กรของตนเองอย่างชัดเจน หากกิจการไม่กาหนดหนา้ ทแี่ ละแบง่ แยกหนา้ ท่ีของพนักงานให้ชัดเจน อาจส่งผลให้เกิดปัญหาตามมา เช่น ความซ้าซ้อนของงานท่ีทา ความล่าช้าเน่ืองจากไม่รู้ลาดับขั้นของงาน การทางานท่ีไม่ได้แบ่งแยก หนา้ ทีท่ าใหย้ ากต่อการตรวจสอบ เป็นตน้ 2. การวางแผนการควบคุมโดยใช้เอกสาร เช่น การวางแผนทิศทางเดินของเอกสาร การ ตรวจสอบใหต้ รงกนั การตั้งข้อกาหนดในการปฏบิ ัติอยา่ งชัดเจน เป็นต้น

30 3. การสุ่มตรวจ โดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า เป็นการตรวจสอบการทางานของพนักงานโดยไม่ ต้องแจ้งพนักงานก่อน อาจเป็นการสุ่มตรวจเอกสารการรับเงิน การสุ่มตรวจจานวนเงินสดที่มีอยู่จริง เปน็ ต้น 4. การใชเ้ ทคโนโลยเี พือ่ ความทนั สมยั ทาให้เกดิ การประหยัดเวลาและสามารถตรวจสอบได้ อย่างรวดเร็ว เช่น โปรแกรมสาเร็จรูปในการประมวลผล การติดต้ังกล้องวงจรปิดเพื่อตรวจสอบการ ทางานของพนักงาน เปน็ ต้น อาจแบ่งการควบคุมเก่ียวกับเงินสดได้เป็น 2 ด้าน คือ การควบคุมเงินสดด้านรับ และการ ควบคุมเงนิ สดด้านจา่ ย การควบคุมเงินสดด้านรบั เม่ือกิจการได้รับเงินสด ซึ่งหมายถึงมีเงินสดเข้ามายังกิจการ อาจได้รับจากการขายสินค้าหรือ ลูกหน้ีนาเงินสดมาชาระ กิจการมีความจาเป็นต้องมีวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับเงินสดให้ถูกต้อง เพื่อการ ตรวจสอบได้ ปอ้ งกนั การสูญหาย ปอ้ งกันการทจุ รติ กจิ การควรปฏิบัติ ดงั น้ี 1. กาหนดหน้าที่ในการรับผิดชอบอย่างชัดเจน เช่น พนักงานรับเงินสดจะมีหน้าท่ีรับเงินสด อย่างเดยี วไมม่ ีหน้าท่ีบนั ทกึ บัญชแี ละพนกั งานบนั ทึกบญั ชีจะบันทึกบัญชีอย่างเดียวไม่มีหน้าท่ีเก็บเงิน สด ในแต่ละสิ้นวันพนักงานบัญชีและพนักงานรับเงินสดก็จะนายอดเงินสดจากรายงานท่ีได้ทาไว้มา ตรวจสอบซง่ึ กนั และกนั โดยท่ีจานวนเงินในรายงานจะตอ้ งตรงกัน เป็นตน้ 2. สุม่ ตรวจการทางานของพนกั งานในช่วงระหว่างวันโดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า เพื่อตรวจสอบ จานวนเงินสดท่มี อี ยจู่ รงิ กับจานวนเงนิ สดทถ่ี กู บันทึกบัญชไี ว้ 3. สาหรับกิจการท่ีใช้เครื่องรับเงินสด(Cash Register) เม่ือขายสินค้า เม่ือได้ขายสินค้า พนักงานขายสินค้าจะบันทึกรายการขายสินค้าลงในเคร่ืองรับเงินสดว่าได้ขายสินค้าชนิดใดไป มูลค่า เท่าใดและจานวนกช่ี ้นิ จากน้ันพนักงานจะรับเงินสดจากลูกค้าและออกใบเสร็จรับเงินให้กับลูกค้าเพื่อ เปน็ การยืนยันการขายสนิ ค้า ในระหว่างวนั ตอ้ งมกี ารสุม่ ตรวจสอบ จานวนเงินสดที่เครื่องบันทึกรับเงิน สดได้บันทึกไว้กับจานวนเงินสดที่มีอยู่จริง เมื่อถึงส้ินวันทาการกิจการจะต้องทาการตรวจสอบจานวน เงินสดท่ีเครื่องรับเงินสดบันทึกไว้กับจานวนเงินสดท่ีมีอยู่จริง โดยท่ีจานวนเงินของท้ังสองที่จะต้องมี จานวนตรงกนั เมอ่ื กจิ การนาเครอ่ื งบนั ทึกรับเงินสดมาใช้ อาจพบปัญหาว่าจานวนเงินในตอนส้ินวันไม่ เท่ากัน อาจเกิดเงินสดขาดหรือเงินสดเกิน ซ่ึงหากเกิดเงินสดขาด คือเงินสดที่มีอยู่จริงมีจานวนน้อย

31 กว่าเงินสดท่ีเครื่องรับเงินสดบันทึกไว้หรือเงินสดเกิน คือเงินสดที่มีอยู่จริงมีจานวนมากกว่าเงินสดที่ เคร่ืองรบั เงินสดบันทกึ ไว้ ดังตวั อย่าง ตัวอย่างที่ 2-1 เมื่อส้ินวันในวันที่ 31 ต.ค. 2557 พนักงานขายของบริษัท ซีพี แอลล์ จากัด ได้ทา รายงานสรุปผลการขายสินค้า พบว่าเงินสดที่มีอยู่จริง 9,999 บาท แต่เงินสดที่รายงานจากเคร่ืองรับ เงินสดมจี านวน 10,000 บาท กิจการจะต้องบนั ทกึ บญั ชี ดังนี้ สมุดรายวันทัว่ ไป บรษิ ทั ซพี ีแอลล์ จากัด พ.ศ.2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต บญั ชี 9,999 - ต.ค. 31 เงนิ สด 1- คา่ ใช้จ่ายอืน่ (เงนิ สดสว่ นท่ขี าด) 10,000 - ขายสนิ ค้า บันทกึ รายได้จากการขายสินคา้ และเงนิ ขาดบัญชี แต่ถ้าหากพบว่าจานวนเงินสดที่นับได้จริง 10,002 บาท โดยท่ีเงินสดท่ีรายงานจากเครื่องรับ เงนิ สดมจี านวน 10,000 บาท กิจการจะต้องบนั ทกึ บัญชี ดังน้ี สมดุ รายวันทว่ั ไป บริษัท ซพี ี แอลล์ จากดั พ.ศ.2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต บญั ชี ต.ค. 31 เงินสด ขายสนิ ค้า 10,002 - 10,000 - รายไดอ้ ่ืน (เงินสดส่วนทเี่ กิน) 2- บันทึกรายได้จากการขายสินค้าและเงนิ ขาดบัญชี ตามกรณที ่ีมีเงนิ สดขาดและเงินสดเกินเช่นนี้ วิธีปฏิบัติขึ้นอยู่กับแต่ละกิจการว่าจะมีวิธีปฏิบัติ อย่างไร บางกิจการอาจให้กิจการรับผิดชอบความแตกต่างที่เกิดข้ึน บางกิจการอาจให้พนักงาน รับผิดชอบความผิดพลาดที่เกิดข้ึน ตามตัวอย่างน้ีเป็นกรณีท่ีกิจการรับผิดชอบในเงินสดส่วนท่ีขาด และเงินสดส่วนท่ีเกินเอง โดยบันทึกเงินสดส่วนท่ีขาดเป็นค่าใช้จ่ายอ่ืน เงินสดส่วนที่เกินบันทึกเป็น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook