Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการเรียนรู้อิสลามศึกษา

การจัดการเรียนรู้อิสลามศึกษา

Published by Ismail Rao, 2020-06-24 09:24:00

Description: การจัดการเรียนรู้อิสลามศึกษา

Search

Read the Text Version

อสิ กาลรจาัดกมารศเรียึกนษรู้ า ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

การจดั การเรียนร ู้ อสิ ลามศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 พมิ พค์ รัง้ ที่ 1 พ.ศ. 2553 จำนวนพมิ พ ์ 40,000 เล่ม ISBN 978-616-202-164-0 ลิขสิทธขิ์ องสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ถนนราชดำเนนิ นอก เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ 10300 พิมพ์ท่ี โรงพมิ พ์ชมุ นุม หกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด 79 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรงุ เทพมหานคร 10900 โทร. 0-2561-4567 โทร าร 0-2579-5101 นายโชคดี ออ วุ รรณ ผ้พู มิ พ์ผู้โฆษณา

คำนำ อิสลามเป็นวิถีชีวิตที่มุสลิมทุกคนจะต้องเรียนรู้และถือปฏิบัติ ซ่ึงสอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่กำหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ศาสนาท่ีตนนับถือ ในสาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เพื่อนำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่าง สันติสขุ เอกสารการจัดการเรียนรู้อิสลามศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงได้กำหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ในสิ่งท่ีผู้เรียนพึงปฏิบัติได้ในแต่ละ ระดบั ช้ันท่สี ะทอ้ นถงึ มาตรฐานการเรียนรู้ การจัดทำคำอธบิ ายรายวชิ า แนวการจดั หน่วยการเรยี นรู้ แบบบูรณาการในสาระอิสลามศึกษา คือ อัล-กุรฺอาน หลักศรัทธา ศาสนบัญญัติ จริยธรรม และ ศาสนประวัติ พร้อมตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อิสลามศึกษา เพื่อให้สถานศึกษานำไป ใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนท่ีนับถือศาสนาอิสลาม ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ยึดมนั่ ศรทั ธา และปฏบิ ัตติ นตามหลักการของศาสนาอสิ ลาม สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ท่ีให้ความรว่ มมอื ในการจัดทำเอกสารเลม่ นี้ให้สำเร็จลลุ ่วงดว้ ยดี และหวังเป็นอยา่ งย่ิงว่า หน่วยงาน สถานศึกษา และผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับการจัดการเรียนรู้อิสลามศึกษาจะมีโอกาสนำไปรังสรรค์ เพื่อกอ่ ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อการพัฒนาผเู้ รยี นให้มีคณุ ภาพและมาตรฐานตามท่ีสังคมคาดหวงั ต่อไป (คุณหญงิ กษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยา) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

ดุอาอฺขอใหม้ ีชวี ิตทดี่ ี “ ” “โอ้พระผู้อภบิ าลของเรา โปรดประทานคณุ ความดีแหง่ ดนุ ยาน้ีแก่เราเถดิ และคณุ ความดีแหง่ อาคิเราะฮดฺ ้วย และไดโ้ ปรดคุม้ ครองเราจากไฟนรก”

สารบัญ หน้า คำนำ สารบัญ บทนำ Z ทำไมตอ้ งจัดการเรยี นรู้อิสลามศึกษา.......................................................................... 1 Z เรียนรอู้ ะไรในอิสลามศึกษา......................................................................................... 1 คณุ ภาพผเู้ รียน.................................................................................................................................. 2 การจดั การเรยี นรูอ้ สิ ลามศึกษา........................................................................................................ 3 โครงสรา้ งเวลาเรยี น......................................................................................................................... 4 ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรอู้ สิ ลามศกึ ษารายวิชาพ้นื ฐาน.............................................................. 5 คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐานสาระอสิ ลามศกึ ษา.................................................................................. 29 แนวการจัดหน่วยการเรยี นรู้อสิ ลามศกึ ษารายวิชาพน้ื ฐาน............................................................. 41 ผลการเรยี นรู้และสาระการเรียนรรู้ ายวชิ าเพ่มิ เตมิ ......................................................................... 101 คำอธิบายรายวิชาเพม่ิ เติม................................................................................................................ 111 แนวการจดั หนว่ ยการเรยี นรู้รายวชิ าเพิ่มเติม.................................................................................. 125 สื่อและแหลง่ เรยี นร้อู ิสลามศกึ ษา..................................................................................................... 139 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้อสิ ลามศกึ ษา............................................................................... 139 อภธิ านศัพท์อสิ ลามศกึ ษา................................................................................................................. 145 คณะผู้จัดทำ....................................................................................................................................... 151

ดุอาอฺใหแ้ กพ่ ่อแม ่ “ ” “โอ้ อลั ลอฮฺ ทรงโปรดอภยั โทษให้แก่ฉันและพอ่ แม่ของฉนั และทรงโปรดเมตตาท่านทั้งสอง ดุจดังที่ท่านท้ังสองเลีย้ งดฉู ันมาตัง้ แต่เยาว์วัย”

บทนำ Z ทำไมตอ้ งจัดการเรียนรู้อิสลามศึกษา อิสลามเป็นวิถีชีวิต หรือระบอบการดำเนินชีวิตที่มุสลิมทุกคนจะต้องเรียนรู้และปฏิบัติ เพ่ือ การดำรงชีวิตประจำวนั ในฐานะปจั เจกบคุ คล และการอยู่ร่วมกนั ในสงั คม การเรียนรู้เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม หรืออิสลามศึกษา หรือศาสตร์ต่าง ๆ เพ่ือการดำรงชีพ อยู่ในโลกน้ีอย่างสันติสุข ถือเป็นหน้าที่ของมุสลิมทุกคนที่จะต้องศึกษาและปฏิบัติต้ังแต่อยู่ในเปล จนถงึ หลมุ ฝังศพ โดยไม่ต้องพะวงถึงปัจจยั ระยะเวลา อปุ สรรค และสถานท่ี ถงึ แม้จะไกลหรือยาก เพียงใดก็ต้องขวนขวายมาให้ได้ เพราะสรรพส่ิงที่อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทรงสร้างไว้ท้ังปวงน้ัน ล้วนเปน็ ขมุ พลังแห่งความรู้ที่มากมายมหาศาล ซึ่งประชาชาติท้ังมวลต้องแสวงหา ดังน้ัน การเรียนรู้ศาสตร์ต่าง ๆ ที่อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา กำหนดไว้ จึงถือเป็นภารกิจ ของปัจเจกบุคคลและอเนกบุคคลท่ีจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาทางด้านกาย วาจา และใจของผศู้ รทั ธาให้ดำรงอยู่ในฐานะบา่ วที่ศรทั ธาต่ออัลลอฮฺ สบุ หานะฮุวะตะอาลา อยา่ งม่ันคง ปฏบิ ัติ และมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ ความสขุ แก่ตนเองและสว่ นรวมตามท่ศี าสนากำหนด พัฒนาการท่ีเกิดจากกระบวนการเรียนรู้นี้ จะสร้างความเป็นภราดรภาพ ความสันติสุข ในหมูป่ ระชาชาตขิ องนบีมฮุ มั มัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ทุกชาติ ภาษา และเผา่ พันธ์ุ ในโลกปจั จบุ ัน และอาคเิ ราะฮอฺ ยา่ งแนน่ อน Z เรยี นรู้อะไรในอิสลามศกึ ษา สาระการเรียนรู้อิสลามศึกษา ว่าด้วยการดำเนินชีวิตของมนุษย์ให้อยู่ในแนวทางของ อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทั้งโดยส่วนตัวและส่วนรวม โดยมีอัล-กุรฺอานเป็นธรรมนูญชีวิต และ นบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เป็นแบบอย่าง ท่ีจะก่อให้เกิดคุณธรรม จริยธรรม สามารถ อยรู่ ่วมกนั ในสังคมได้อยา่ งมคี วามสขุ โดยกำหนดสาระการเรยี นรู้ ดงั น ้ี Z อัล-อะกีดะฮฺ (หลักศรัทธา) ว่าด้วยความเชื่อ การยึดเหน่ียวทางจิตใจของมนุษย์ต่อ อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา มีเจตจำนงอันแน่วแน่ต่ออัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา และสิ่งท่ีอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทรงบัญญัติไว้ เพ่ือขัดเกลาจิตใจของมนุษย์ให้ปฏิบัติในส่ิงดีงาม มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมอนั พึงประสงค ์ Z อัล-ฟิกฮฺ (ศาสนบัญญัติ) เป็นหลักปฏิบัติของมนุษย์ ท่ีศรัทธาตามบทบัญญัติทั้งโดย ปจั เจกบคุ คลและส่วนรวม เพ่อื ใหส้ ามารถดำเนนิ ชีวติ ประจำวันและอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีความสขุ การจัดการเรยี นรู้อสิ ลามศึกษา  ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

Z อัต-ตารีค (ศาสนประวัติ) เรียนรู้ในชีวประวัติของนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เศาะหาบะฮฺ และผู้เสยี สละทีท่ รงคณุ ูปการอย่างอเนกอนนั ต์ในโลกอิสลาม อาณาจักรและอารยธรรม ของโลกอิสลามที่เป็นมรดกโลก เพ่ือเป็นคติเตือนใจและนำคุณลักษณะต่าง ๆ มาเป็นแบบอย่าง ในการดำเนินชวี ติ Z อัล-อคั ลาก (จรยิ ธรรม) เรยี นรู้หลกั ปฏิบัติตอ่ ตนเอง ผอู้ ื่น และสิ่งแวดล้อมทีบ่ ัญญัติไว้ใน อัล-กุรฺอานและอัล-หะดีษ เรียนรู้มารยาทต่าง ๆ ตามแบบอย่างนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เพ่ือนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน อันนำไปสู่ความดีงามของตนเอง สังคม ชุมชน และประเทศชาติ สืบไป Z อัล-กุรฺอาน มุสลิมทุกคนต้องสามารถอ่านอัล-กุรฺอานได้ เรียนรู้หลักการอ่านพร้อม ความหมาย และนำหลักคำสอนไปเป็นแนวทางปฏบิ ัตใิ นชวี ติ ประจำวนั คุณภาพผเู้ รยี น Z จบช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 มีความรู้ ความเข้าใจ ยอมรับ และปฏิบัติตามองค์ความรู้ ในระดับพื้นฐานเบ้ืองต้น ตามสมควรแก่วัย เพียงพอท่ีจะเร่ิมสัมผัสกับข้อกำหนดต่าง ๆ ตามหลักศาสนาเกี่ยวกับอีมาน อิสลาม อิหฺสาน หลักศรัทธา หลักปฏิบัติ หลักคุณธรรม จริยธรรม สาระและข้อกำหนดตามหลัก ศาสนบัญญัติ (ฟิกฮฺ) อัสมาอุลหุสนา ลำดับท่ี 1-39 ชีวประวัตินบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ช่ือรสูล 25 ท่าน จริยธรรมตามแบบอย่างนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม การอ่านอัล-กุรฺอาน และทอ่ งจำสเู ราะฮตฺ ามทีก่ ำหนด จนเกิดการยอมรับ มพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย สติปญั ญา และอารมณ์ สามารถคดิ ปฏบิ ตั ิ และแก้ปญั หาดว้ ยตนเอง และร่วมงานกับผอู้ น่ื เปน็ กิจนิสัยตามควรแก่วยั Z จบช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 มีความรู้ ความเข้าใจ ยอมรับ มีความซาบซ้ึง และปฏิบัติตามองค์ความรู้ระดับพื้นฐาน เบ้ืองต้นตามสมควรแก่วัย เพียงพอท่ีจะเร่ิมสัมผัสกับข้อกำหนดต่าง ๆ ตามหลักศาสนาเกี่ยวกับอีมาน อิสลาม อิหฺสาน หลักศรัทธา และการต้ังภาคี (ชิรกฺ) หลักปฏิบัติ หลักคุณธรรม จริยธรรม สาระ และข้อกำหนดต่าง ๆ ตามหลักศาสนบัญญัติ (ฟิกฮฺ) อัสมาอุลหุสนา ลำดับท่ี 40-99 ชีวประวัต ิ นบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เศาะหาบะฮฺ เหตุการณ์ในการเผยแผ่และบทบาทนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ในนครมักกะฮฺและนครมะดีนะฮฺ จริยธรรมตามแบบอย่างนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม การอ่านอัล-กุรฺอานและท่องจำสูเราะฮฺตามท่ีกำหนด จนเกิดการยอมรับ  การจดั การเรยี นรู้อสิ ลามศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551

ปฏิบัติตาม และฝึกฝนตนเองจนเป็นกิจนิสัย นำไปเป็นบทสรุปเพ่ือเป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิต และศึกษาต่อในระดับทส่ี งู ข้นึ Z จบมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความรู้ ความเข้าใจ ยอมรับ มีความซาบซ้ึง และปฏิบัติตามองค์ความรู้ระดับพื้นฐาน เบ้ืองต้น มีความศรัทธาต่ออัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา อย่างม่ันคง มีเหตุผลเกี่ยวกับเตาฮีดอุลูฮิยะฮฺ รุบูบียะฮฺ อัสมาอฺวัศศิฟาต ชิรกฺ ปฏิบัติศาสนกิจได้ถูกต้องตามหลักศาสนบัญญัติ การละหมาด การถอื ศลี อด การจ่ายซะกาฮฺ การปกปดิ เอาเราะฮฺ การจดั การญะนาซะฮฺ รู้และเขา้ ใจเก่ียวกับหจั ญ์ ชีวประวัตินบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคาะลีฟะฮฺท้ังส่ี ศาสนสถาน อุลุลอัซมียฺ มีจริยธรรม เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นในการเป็นผู้นำ ผู้ตาม และสาระที่เก่ียวข้องกับการอ่านอัล-กุรฺอาน และ การทอ่ งจำสเู ราะฮทฺ ี่กำหนด เพอ่ื เป็นหลักในการดำเนินชวี ติ และการศึกษาตอ่ ในระดับทส่ี ูงขึน้ Z จบมัธยมศึกษาปที ี่ 6 มีความรู้ ความเข้าใจสาระท่ีกำหนดอย่างลึกซ้ึง สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และปฏิบัต ิ ได้อย่างถูกต้อง เป็นแบบอย่างแก่ผู้อ่ืนเกี่ยวกับวิธีคิดแบบอิสลาม ปรัชญาอิสลาม การดำเนินชีวิต ตามระบบอิสลาม กฎหมายอิสลาม และหลักเศรษฐศาสตร์อิสลาม โดยมีคุณลักษณะเป็นมุสลิมท่ีดี ตามแบบอย่างนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และรากฐานจากอัล-กุรฺอาน รวมทั้งสามารถ ลำดับเหตุการณ์ต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์อิสลามได้ เพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการดำเนินชีวิตและ การศึกษาต่อในระดับทีส่ ูงขึน้ การจดั การเรียนรูอ้ สิ ลามศึกษา สถานศึกษาต้องจัดการเรียนการสอนสาระอิสลามศึกษาให้กับผู้เรียนที่นับถือศาสนาอิสลาม เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้หลักธรรมและการปฏิบัติตนตามคำสอนของศาสนาท่ีตนนับถือ เพ่ือให้บรรลุ ตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ในสาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซ่ึงเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน โดยได้กำหนดตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง อิสลามศึกษา ตลอดจนจัดทำคำอธิบายรายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้สถานศึกษาสามารถ นำไปปรบั ใช้ให้เกดิ ประโยชน์ต่อผู้เรยี นสูงสดุ นอกจากน้ี สถานศึกษาต้องจัดการเรียนการสอนอิสลามศึกษาในรายวิชาเพิ่มเติม คือ รายวิชาอัล-กุรฺอานในทุกระดับช้ัน ซ่ึงเป็นรายวิชาที่นักเรียนมุสลิมทุกคนต้องเรียนรู้เพื่อนำไปใช ้ ในการปฏิบตั ิศาสนกิจในชีวิตประจำวนั และปฏิบตั ิตนเป็นมสุ ลมิ ท่ีดที ัง้ ในโลกนแี้ ละโลกหนา้ การจัดการเรยี นรอู้ สิ ลามศึกษา  ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

โครงสรา้ งเวลาเรียน กลมุ่ สาระการเรียนรู้/ เวลาเรยี น กจิ กรรม ระดับประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.1 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 Zกล่มุ สาระการเรียนร ู้ ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 120 120 120 240 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.) คณิตศาสตร ์ 200 200 200 160 160 160 120 120 120 240 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.) วทิ ยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80 120 120 120 240 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.) สงั คมศึกษา ศาสนา 120 120 120 120 120 120 160 160 160 320 และวฒั นธรรม (4 นก.) (4 นก.) (4 นก.) (8 นก.) - ศาสนา (40) (40) (40) (40) (40) (40) (40) (40) (40) (80) - หน้าท่ี เศรษฐศาสตร ์ (40) (40) (40) (40) (40) (40) (80) (80) (80) (120) ภูมิศาสตร ์ - ประวัติศาสตร ์ (40) (40) (40) (40) (40) (40) (40) (40) (40) (80) สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 80 80 80 80 80 80 80 80 80 120 (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) (3 นก.) ศิลปะ 80 80 80 80 80 80 80 80 80 120 (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) (3 นก.) การงานอาชีพและเทคโนโลย ี 40 40 40 80 80 80 80 80 80 120 (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) (3 นก.) ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 80 80 80 120 120 120 240 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.) รวมเวลาเร ียน (พ้ืนฐา น) 840 8 40 84 0 84 0 84 0 840 880 880 880 1,640 (22 นก.) (22 นก.) (22 นก.) (41 นก.) Z กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 120 120 120 120 120 120 360 Z รายวิชา/กจิ กรรม ทสี่ ถานศกึ ษาจดั เพิม่ เติม ปลี ะไมเ่ กิน 40 ช่ัวโมง ปลี ะไมเ่ กิน 200 ช่วั โมง ไม่นอ้ ยกวา่ 1,600 ชั่วโมง ตามความพร้อมและจดุ เนน้ (อิสลามศกึ ษา 40 ชัว่ โมง) (อสิ ลามศกึ ษาปลี ะ 40 ช่วั โมง) (อิสลามศึกษา 160 ช่วั โมง) ร วมเวลาเร ยี นทง้ั หมด ไ ม่เกิน 1,00 0 ช่วั โมง/ ปี ไม เ่ กิน 1,200 ชวั่ โมง/ปี รวม 3 ปี ไมน่ อ้ ยกวา่ 3,600 ชัว่ โมง สถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้อิสลามศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น ต้องจัดการเรียนการสอน อสิ ลามศกึ ษาไม่น้อยกว่า 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (80 ช่วั โมง/ป/ี ห้องเรียน) โดยจัดเป็นรายวชิ าพ้นื ฐานในกลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 40 ช่ัวโมง/ปี และรายวิชาเพ่ิมเติมในรายวิชา/กิจกรรมท่ีสถานศึกษาจัดเพ่ิมเติมตามความพร้อม และจุดเน้น 40 ชั่วโมง/ปี สำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนปลายต้องจัดการเรียนการสอนอิสลามศึกษาไม่น้อยกว่า 240 ช่ัวโมง/3 ปี โดยจัดเป็นรายวิชาพ้ืนฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 ชั่วโมง/3 ปี และรายวิชาเพิ่มเติมในรายวิชา/ กจิ กรรมทีส่ ถานศกึ ษาจัดเพ่ิมเติมตามความพร้อมและจุดเน้น 160 ช่วั โมง/3 ปี  การจัดการเรยี นรอู้ ิสลามศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้อิสลามศกึ ษา รายวชิ าพืน้ ฐาน สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรอู้ ิสลามศกึ ษา (รายวชิ าพ้ืนฐาน) สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รแู้ ละเขา้ ใจความเปน็ มา ความสำคัญ หลกั การของศาสนาอิสลาม มีศรทั ธา ที่ถูกตอ้ ง ยดึ มั่นและปฏบิ ัตติ ามหลักธรรม เพอ่ื อยู่รว่ มกนั อยา่ งสันตสิ ขุ ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ ป.1 1. บอกความหมาย ความเป็นมา 1. อิสลาม ความสำคญั ของโครงสร้างอิสลาม - ความหมาย และพระนามของอัลลอฮ ฺ - ความเปน็ มา สบุ หานะฮุวะตะอาลา ทก่ี ำหนด - ความสำคญั 2. โครงสรา้ งอสิ ลาม อีมาน อสิ ลาม อหิ ฺสาน - ความหมาย - ความสำคญั 3. พระนามของอลั ลอฮฺ สบุ หานะฮุวะตะอาลา ลำดับที่ 1-10 พร้อมความหมาย 2. บอกประเภทของนำ้ สะอาด 1. ประเภทของน้ำสะอาด และวธิ กี ารอาบน้ำละหมาด 2. การอาบนำ้ ละหมาด 3. บอกเวลาและวธิ ีการละหมาดฟัรฎ ุ - วิธีการอาบน้ำละหมาด 3. การละหมาดฟรั ฎุ - เวลาในการละหมาดฟรั ฎุ - วธิ กี ารละหมาด 4. บอกประวัติของนบีมุฮมั มัด ประวตั นิ บีมฮุ ัมมดั ศอ็ ลลลั ลอฮุอะลัยฮวิ ะสัลลัม ศอ็ ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลมั โดยสงั เขป - วัน เดือน ปีเกิด - วงศ์ตระกลู - บดิ า มารดา ชวี ิตในวัยเดก็ - แม่นม - ปู่ - ลุง  การจดั การเรยี นรูอ้ สิ ลามศกึ ษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้ ชวี ิตสมรส - ภรรยาคนแรก - บตุ ร ธิดา การสิน้ ชวี ิต - อายุ - ท่ฝี ังศพ ป.2 1. บอกความหมาย ความสำคัญ 1. โครงสรา้ งอสิ ลาม ของโครงสร้างอสิ ลามและพระนาม - หลักศรทั ธา 6 ประการ ของอลั ลอฮฺ สุบหานะฮวุ ะตะอาลา - หลกั ปฏบิ ัติ 5 ประการ ทกี่ ำหนด - หลักคณุ ธรรม (อหิ สฺ าน) 2. พระนามของอัลลอฮฺ สบุ หานะฮุวะตะอาลา - ลำดบั ที่ 11-24 พร้อมความหมาย 2. บอกความหมาย ความสำคญั บทบัญญัตอิ สิ ลาม ตามบทบัญญตั อิ สิ ลามท่กี ำหนด 1. นะญิส - ความหมาย - ประเภท 2. การละหมาด - ความหมาย ความสำคัญ - วธิ กี ารละหมาด - ประโยชน์ 3. บอกประวัติของนบมี ุฮมั มดั ประวตั ขิ องนบมี ุฮมั มัด ศ็อลลลั ลอฮอุ ะลัยฮิวะสลั ลมั ศ็อลลลั ลอฮอุ ะลัยฮิวะสลั ลัม 1. เหตุการณ์ในปที ี่นบมี ุฮมั มัด ตง้ั แต่เกดิ จนถงึ การสมรส ศอ็ ลลลั ลอฮอุ ะลัยฮิวะสัลลมั เกิด กบั ทา่ นหญงิ เคาะดีญะฮ ฺ 2. การใช้ชวี ิตในวัยเดก็ ขณะทีอ่ าศยั อยูก่ ับ บุคคลตา่ ง ๆ - วงศต์ ระกูล - มารดา การจดั การเรยี นรู้อิสลามศกึ ษา  ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ 3. ผู้อุปการะ - แมน่ ม - ปู่/ลงุ 4. ชวี ิตสมรส - ภรรยาคนแรก - บตุ ร ธิดา ป.3 1. อธิบายโครงสรา้ งอสิ ลาม 1. โครงสร้างอสิ ลาม และบอกพระนามของอลั ลอฮฺ - หลกั ศรทั ธา 6 ประการ สบุ หานะฮวุ ะตะอาลา ท่ีกำหนด พร้อมรายละเอียดโดยสงั เขป - หลักปฏบิ ัติ 5 ประการ พรอ้ มรายละเอยี ดโดยสังเขป - หลกั คณุ ธรรม (อิหฺสาน) พร้อมรายละเอียดโดยสงั เขป 2. พระนามของอัลลอฮฺ สบุ หานะฮวุ ะตะอาลา ลำดับที่ 25-39 พร้อมความหมาย 2. บอกช่ือของบรรดารสลู 1. ชอื่ บรรดารสลู 25 ท่าน และประวตั ขิ องนบีมุฮมั มดั 2. ประวตั ิของนบีมุฮมั มดั ศอ็ ลลัลลอฮอุ ะลัยฮวิ ะสลั ลมั ศอ็ ลลัลลอฮอุ ะลยั ฮวิ ะสลั ลมั ตง้ั แตส่ มรสจนถงึ การรับวะหฺยุ ตง้ั แตส่ มรสกับทา่ นหญงิ เคาะดญี ะฮ ฺ จนถงึ การรบั วะหยฺ ุ ป.4 1. อธบิ ายการศรัทธาต่ออัลลอฮ ฺ 1. การศรทั ธาตอ่ อลั ลอฮฺ สบุ หานะฮุวะตะอาลา สุบหานะฮุวะตะอาลา และบอกพระนาม - คุณลกั ษณะ 20 ประการ ของอัลลอฮฺ ของอลั ลอฮฺ สบุ หานะฮวุ ะตะอาลา สบุ หานะฮุวะตะอาลา ลำดบั ท่ี 1-13 ท่กี ำหนด พรอ้ มความหมาย - พระนามของอัลลอฮฺ สุบหานะฮวุ ะตะอาลา 2. อธบิ ายการศรัทธาตอ่ มลาอิกะฮฺ ลำดับท่ี 40-59 พร้อมความหมาย จำนวน ช่ือ และหน้าท ่ี 2. การศรัทธาตอ่ มลาอกิ ะฮ ฺ - จำนวนและชอ่ื - หนา้ ท่ี  การจัดการเรียนรอู้ ิสลามศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

ชัน้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นร้ ู 3. อธิบายความหมาย ความสำคญั ความหมาย ความสำคัญ และการปฏิบัติ เหน็ คณุ คา่ และปฏบิ ตั ติ ามบทบัญญัติ ตามบทบญั ญัติอิสลาม อิสลาม - มกุ ัลลฟั - การอาบนำ้ วาญบิ - การถอื ศีลอด 4. สรปุ ประวตั กิ ารเผยแผอ่ สิ ลาม 1. การเผยแผอ่ สิ ลาม ณ นครมักกะฮ ฺ ณ นครมักกะฮฺของนบมี ฮุ ัมมดั - อปุ สรรค ศอ็ ลลลั ลอฮุอะลยั ฮิวะสัลลัม - ผ้เู ข้ารบั อิสลามยุคแรก 5. เหน็ คณุ คา่ และประพฤติตน - ความเสยี สละของเศาะหาบะฮ ฺ ตามแบบอย่างของนบมี ฮุ ัมมัด - เศาะหาบะฮฺรนุ่ แรก ศอ็ ลลัลลอฮุอะลัยฮวิ ะสลั ลมั - ทา่ นหญงิ เคาะดญี ะฮแฺ ละอบูฏอลิบ เสียชีวิต 2. แบบอยา่ งของรสูล - ความเปน็ ผูน้ ำ - ความกตญั ญ ู - ความสามัคค ี ป.5 1. อธิบายการศรัทธาต่ออลั ลอฮฺ 1. การศรัทธาตอ่ อัลลอฮฺ สุบหานะฮวุ ะตะอาลา สบุ หานะฮุวะตะอาลา บอกพระนาม - คุณลักษณะ 20 ประการของอัลลอฮฺ และคุณลักษณะของอลั ลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ลำดบั ที่ 14-20 สบุ หานะฮวุ ะตะอาลา ทกี่ ำหนด - พระนามอลั ลอฮฺ สุบหานะฮวุ ะตะอาลา 2. อธบิ ายการศรัทธาตอ่ คัมภีร ์ ลำดับที่ 60-79 พร้อมความหมาย การศรทั ธาตอ่ นบีและรสูล 2. การศรัทธาตอ่ คมั ภรี ์ - จำนวน ช่ือ และการประทาน 3. การศรทั ธาต่อนบแี ละรสลู - ความหมาย - จำนวนและชื่อ - คุณลกั ษณะของรสลู การจดั การเรยี นรอู้ ิสลามศกึ ษา  ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

ชนั้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนร ู้ 3. อธิบายความหมาย ความสำคัญ บทบญั ญัตอิ ิสลาม และเห็นคณุ คา่ ของบทบญั ญตั อิ สิ ลาม 1. การปกปิดเอาเราะฮ ฺ - ความหมาย ความสำคัญ - หลักการ/เงอ่ื นไข - ประโยชน ์ 2. การอาบน้ำวาญบิ - ความสำคัญ - ประเภท 3. การละหมาดวนั ศกุ ร์และคฏุ บะฮ ฺ - ความหมาย ความสำคญั 4. การถอื ศีลอด - ความหมาย ความสำคญั - หลักปฏิบตั ิ - สทิ ธิและการยกเวน้ 5. การตะยัมมุม - ความหมาย ความสำคัญ - ประโยชน ์ - วธิ กี าร - เง่อื นไข 4. สรุปประวัติเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ 1. การเผยแผอ่ ิสลาม ณ นครมักกะฮ ฺ ในช่วงการอพยพของนบีมฮุ ัมมดั - อิสรออฺ มอิ ฺรอจญ ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮวิ ะสลั ลัม - การเขา้ รับอิสลามของชาวมะดนี ะฮฺ 5. เหน็ คุณค่าและประพฤติตน ก่อนนบีมฮุ มั มดั ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮวิ ะสัลลมั ตามแบบอย่างการดำเนนิ ชวี ิต อพยพ ของนบมี ุฮมั มดั ศอ็ ลลลั ลอฮอุ ะลัยฮิวะสลั ลมั - บยั อะฮฺ อะกอบะฮฺ และเคาะลีฟะฮทฺ ้ัง 4 - การอพยพของชาวมสุ ลิมไปยงั นครมะดีนะฮ ฺ - การลอบสังหารนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮอุ ะลยั ฮวิ ะสลั ลัม 10 การจดั การเรียนรอู้ ิสลามศกึ ษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนร้ ู - นบมี ุฮมั มดั ศอ็ ลลัลลอฮอุ ะลยั ฮวิ ะสลั ลมั อพยพไปยังนครมะดีนะฮฺ 2. แบบอย่างเคาะลีฟะฮอฺ บูบกั รและอุมัร - ความเปน็ ผนู้ ำ - แบบอยา่ งความเปน็ ผนู้ ำของเคาะลีฟะฮ ฺ - คำสอนเกี่ยวกับการเปน็ ผูน้ ำ - ความเปน็ ผูน้ ำของเคาะลฟี ะฮ ฺ ในครอบครัวและสงั คม - ความเปน็ ประชาธปิ ไตยของเคาะลีฟะฮ ฺ ป.6 1. บอกพระนามของอลั ลอฮ ฺ 1. หลักการศรัทธา สุบหานะฮวุ ะตะอาลา ที่กำหนด - การศรัทธาตอ่ อัลลอฮฺ สบุ หานะฮวุ ะตะอาลา และคุณลกั ษณะมสุ ตะฮีล ญาอิซ - คุณลักษณะมุสตะฮีล ญาอซิ 2. อธบิ ายการศรัทธาตอ่ อาคิเราะฮฺ - พระนามของอัลลอฮฺ สบุ หานะฮวุ ะตะอาลา เกาะฎออฺและเกาะดรั ลำดับที่ 80-99 พรอ้ มความหมาย 3. อธบิ ายการชิรกฺต่ออัลลอฮฺ - การศรทั ธาต่อโลกอาคิเราะฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา และการสน้ิ สภาพ - การศรัทธาต่อเกาะฎออฺและเกาะดรั จากการเปน็ มสุ ลมิ 2. การชิรกฺต่ออัลลอฮฺ สบุ หานะฮุวะตะอาลา - ความหมาย - ประเภท - บทลงโทษ 3. การสน้ิ สภาพจากการเป็นมสุ ลมิ - สาเหตุ - บทลงโทษ 4. อธบิ ายและเหน็ คณุ ค่าความสำคญั บทบญั ญัติอิสลาม ของบทบัญญัตอิ ิสลาม 1. การอาบน้ำวาญบิ - ความหมาย ความสำคญั - วิธีการ - ประเภท/เงอื่ นไข การจดั การเรยี นรอู้ ิสลามศกึ ษา 11 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ชน้ั ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้ 2. การจัดการญะนาซะฮฺ - การละหมาดญะนาซะฮฺ - ข้นั ตอนการละหมาดญะนาซะฮ ฺ - วธิ กี ารการละหมาดญะนาซะฮฺ 3. การถือศลี อด - ประโยชน ์ - คณุ ธรรมที่ไดร้ บั - การถือศีลอดสุนนะฮ ฺ 4. การละหมาดสุนนะฮ ฺ - การละหมาดตะรอวหี ฺ - การละหมาดวติ ร ฺ - การละหมาดอีดุลฟฏิ รฺ และการละหมาดอีดลุ อัฎหา 5. ซะกาฮฺ - ความหมาย - ประเภท - ผทู้ ่ีมีสิทธริ บั ซะกาฮฺ 6. หจั ญ ์ - ความหมาย ความสำคญั - องคป์ ระกอบ - เง่อื นไข 5. สรุปประวตั ิของนบมี ฮุ มั มัด 1. บทบาทของนบีมฮุ มั มดั ศ็อลลลั ลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ศอ็ ลลลั ลอฮุอะลัยฮวิ ะสลั ลมั ในนครมะดนี ะฮ ฺ ต้งั แต่อพยพจนถงึ การเสยี ชวี ติ - การเข้าเมืองมะดีนะฮ ฺ 6. เห็นคณุ คา่ และประพฤตติ น - การสร้างมัสญิดอัล-นะบะวยี ฺ ตามแบบอยา่ งการดำเนินชีวิต - การสรา้ งความสัมพนั ธข์ อง ของนบมี ฮุ ัมมัด ศ็อลลลั ลอฮุอะลัยฮวิ ะสัลลัม ชาวมฮุ าญิรนี กับชาวอันศอร ฺ และเคาะลีฟะฮฺทง้ั 4 - การทำสนธสิ ญั ญาของชาวมะดนี ะฮ ฺ กบั กล่มุ ต่าง ๆ 12 การจัดการเรยี นรูอ้ สิ ลามศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้ - การรบั วะหฺยใุ หป้ อ้ งกนั และปกป้อง อิสลามและมุสลิม - การทำสนธสิ ัญญาหุดยั บียะฮฺ การส่งสาส์นไปยงั เมอื งตา่ ง ๆ - การทำหนา้ ทีข่ องนบมี ฮุ ัมมดั ศ็อลลัลลอฮอุ ะลัยฮวิ ะสลั ลมั และรสลู ในฐานะผ้นู ำรฐั - ความสำเรจ็ ของการดะอวฺ ะฮฺ - การทำหัจญส์ ุดท้ายของนบมี ฮุ มั มดั ศ็อลลัลลอฮอุ ะลยั ฮิวะสลั ลัม - การเสยี ชีวิตของนบีมฮุ มั มดั ศ็อลลัลลอฮุอะลยั ฮวิ ะสลั ลมั 2. เคาะลีฟะฮทฺ งั้ 4 - ความเปน็ ผูน้ ำ - แบบอยา่ งของเคาะลีฟะฮ ฺ - คำสอนเก่ียวกบั การเปน็ ผูน้ ำ - ความเป็นผ้นู ำของเคาะลฟี ะฮฺ ในครอบครัวและสงั คม - ความเปน็ ประชาธิปไตยของเคาะลฟี ะฮ ฺ ม.1 1. อธบิ ายความหมาย คุณลักษณะ 1. การศรัทธาต่ออลั ลอฮฺ สุบหานะฮวุ ะตะอาลา ของอัลลอฮฺ สบุ หานะฮวุ ะตะอาลา และคุณลกั ษณะของอลั ลอฮฺ สบุ หานะฮวุ ะตะอาลา และการชิรกตฺ ามเตาฮดี อรั -รบุ ูบยี ะฮ ฺ ตามเตาฮีดอรั -รุบบู ียะฮฺ 2. เชอื่ มัน่ ยอมรบั และปฏบิ ตั ิตน - ความหมาย เปน็ ผู้ทีม่ คี วามศรัทธาตอ่ อลั ลอฮฺ - ประโยชน ์ สบุ หานะฮวุ ะตะอาลา - หลกั ฐานอ้างองิ ตามเตาฮีดอัร-รุบบู ยี ะฮ ฺ 2. ชิรกฺอัร-รุบูบียะฮ ฺ - ความหมาย - บทลงโทษ - หลักฐานอา้ งอิง การจดั การเรยี นร้อู ิสลามศึกษา 13 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู ้ 3. อธิบายและเห็นคุณคา่ บทบัญญตั ิ 1. การละหมาด เก่ียวกบั การละหมาดและการปกปิด - วาญิบในการละหมาด เอาเราะฮ ฺ - ฟัรฎแุ ละชัรฏฺในการละหมาด - สนุ นะฮใฺ นการละหมาด - ส่ิงที่ทำให้เสียการละหมาด - ดุอาอฺหลงั การละหมาด 2. การละหมาดสุนนะฮฺ ตะรอวีหฺ และวิตรฺ - ความหมาย ความสำคญั - บทบัญญัติ - วิธกี าร 3. การปกปดิ เอาเราะฮ ฺ - ขณะละหมาด - ขณะอยู่ในบา้ น - เมอื่ ออกนอกบ้าน 4. อธบิ ายความเปน็ มา ความสำคัญ 1. ประวัตินบมี ุฮมั มัด ศอ็ ลลัลลอฮุอะลยั ฮวิ ะสัลลมั ประวตั ิของนบีมฮุ ัมมัด ศ็อลลัลลอฮ ุ - ชวี ประวัติก่อนและหลงั การรับวะหยฺ ุ อะลัยฮิวะสัลลมั และเคาะลฟี ะฮทฺ ง้ั 4 - สงั คมอาหรับก่อนกำเนิดมฮุ มั มัด 5. เห็นคณุ คา่ คุณธรรม จรยิ ธรรม ศ็อลลัลลอฮอุ ะลยั ฮวิ ะสลั ลัม ทีด่ งี ามของนบีมฮุ มั มัด ศอ็ ลลัลลอฮ ุ - สภาพทางด้านสงั คม การเมือง อะลัยฮวิ ะสลั ลัม และเคาะลีฟะฮฺท้งั 4 และ เศรษฐกิจ ความเช่ือทางศาสนา นำแบบอย่างไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน - นครและอาณาจักรต่าง ๆ 2. นบีและรสลู - ความหมาย ความสำคัญ - ความเปน็ มา - คุณลักษณะ - บทบาทหนา้ ท ี่ - คำสงั่ สอน - การศรัทธา 14 การจดั การเรยี นรอู้ ิสลามศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ 3. เคาะลฟี ะฮทฺ ง้ั 4 - ความหมาย ความสำคญั - ความเป็นมา - เชือ้ สายวงศ์วาน - คุณธรรมและจริยธรรมทดี่ งี าม ของเคาะลีฟะฮทฺ ั้ง 4 6. วเิ คราะห์ความสำคัญและ สถานท่ีสำคญั บำเพญ็ ประโยชนต์ ่อสถานที่สำคญั - สถานท่ีปฏบิ ัตศิ าสนกิจ ของศาสนาอิสลาม - กุบูรฺ (สุสาน) - สำนกั งานคณะกรรมการอสิ ลาม ประจำจงั หวดั - ศูนยบ์ ริหารกิจการดา้ นศาสนาอิสลาม แหง่ ชาติ เฉลิมพระเกียรตฯิ - สำนกั จฬุ าราชมนตร ี ม.2 1. อธิบายความหมาย คุณลกั ษณะ 1. การศรัทธาต่ออลั ลอฮฺ สบุ หานะฮวุ ะตะอาลา ของอลั ลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา และคุณลกั ษณะของอลั ลอฮฺ สบุ หานะฮุวะตะอาลา และการชิรกฺตามเตาฮีดอลุ ูฮียะฮ ฺ ตามเตาฮดี อุลฮู ยี ะฮฺ 2. เชื่อมน่ั ยอมรบั และปฏิบตั ติ น - ความหมาย เปน็ ผู้ศรทั ธาตอ่ อัลลอฮฺ สบุ หานะฮ ุ - ประโยชน ์ วะตะอาลา ตามเตาฮีดอลุ ูฮยี ะฮฺ - หลักฐานอา้ งอิง 3. วเิ คราะหแ์ ละเชื่อมโยงความสมั พันธ ์ 2. ชิรกฺอุลูฮยี ะฮฺ ตามโครงสร้างของอิสลาม - ความหมาย - บทลงโทษ - หลักฐานอา้ งองิ 3. โครงสร้างของอสิ ลาม (อมี าน อสิ ลาม อหิ สฺ าน) - ความหมาย ความสำคัญ - ความสมั พนั ธ์ การจัดการเรยี นรู้อสิ ลามศกึ ษา 15 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ช้ัน ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้ 4. อภปิ รายความหมาย ความสำคญั 1. การละหมาดสนุ นะฮฺ บทบัญญตั ิ วิธีการ เห็นคุณค่า - ฎุฮา ตะฮจั ญดุ และอสิ ตคิ อเราะฮฺ และปฏิบัติตนในการละหมาดสุนนะฮ ฺ - ความหมาย ความสำคญั และการถอื ศลี อดสุนนะฮ ฺ - บทบัญญัติ - วธิ ีการ 2. การละหมาดญัมอ-ฺ ก็อศร ฺ - ความหมาย ความสำคัญ - บทบญั ญตั ิ - วธิ ีการ 3. การถอื ศลี อดสนุ นะฮ ฺ - ความหมาย - ความสำคัญ - บทบัญญตั ิ - ประเภท - วธิ กี าร 5. อภิปราย ความหมาย ความสำคัญ การจ่ายซะกาฮฺฟฏิ ร ฺ เหน็ คณุ คา่ และปฏิบัตติ นในการจ่าย - ความหมาย ความสำคญั ซะกาฮฺฟฏิ ร ฺ - บทบญั ญตั ิ - วธิ ีการ 6. อภิปรายความหมาย ความสำคญั การจัดการญะนาซะฮ ฺ ในการจดั การญะนาซะฮฺ - ความหมาย ความสำคญั - บทบัญญตั ิ เงือ่ นไข - วิธกี าร 7. วิเคราะห์ประวตั ิของนบีมุฮัมมดั ประวัตินบมี ฮุ มั มดั ศ็อลลัลลอฮอุ ะลัยฮิวะสัลลัม ศอ็ ลลลั ลอฮุอะลยั ฮิวะสลั ลมั และเคาะลีฟะฮฺ และเคาะลฟี ะฮทฺ ง้ั 4 ทงั้ 4 เหน็ คุณคา่ ปฏบิ ตั ติ าม และ - สภาพก่อนและหลังอพยพ เชิญชวนผอู้ ื่นใหป้ ฏบิ ัติตามจริยวตั ร - การเผยแผ่ศาสนาอสิ ลามสดู่ นิ แดน ของนบีมุฮมั มดั ศอ็ ลลัลลอฮอุ ะลัยฮวิ ะสัลลมั ตา่ ง ๆ และเคาะลีฟะฮทฺ ง้ั 4 - จริยวัตรของนบมี ุฮัมมดั ศ็อลลัลลอฮ ุ 16 การจัดการเรยี นรอู้ สิ ลามศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นร ู้ อะลยั ฮวิ ะสลั ลัม และเคาะลฟี ะฮฺท้งั 4 - ผลงานท่ีโดดเด่นทางดา้ นศาสนา/ ความเชื่อ การเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจ 8. อธบิ ายประวตั ิความเปน็ มา ศาสนสถานที่สำคัญในอิสลาม ความสำคัญของศาสนสถานทีส่ ำคัญ - มสั ญดิ อลั -หะรอม ในอสิ ลาม - มัสญดิ อัน-นะบะวียฺ - มสั ญดิ อลั -อักศอ - ประวตั ิความเป็นมา - ความสำคัญ - สถานทต่ี ้ัง ม.3 1. อธิบายความหมาย คุณลกั ษณะ 1. การศรัทธาตอ่ อลั ลอฮฺ สบุ หานะฮุวะตะอาลา ของอัลลอฮฺ สบุ หานะฮุวะตะอาลา และ และคณุ ลักษณะของอัลลอฮฺ สุบหานะฮวุ ะตะอาลา การชริ กตฺ ามเตาฮีดอสั มาอฺวัศศฟิ าต ตามเตาฮีดอัสมาอฺวัศศิฟาต 2. วิเคราะหห์ ลักการเตาฮีด - ความหมาย อัร-รุบบู ียะฮฺ อลุ ูฮยี ะฮฺ - ประโยชน ์ อสั มาอฺวัศศิฟาตตามแนวสะลฟั - หลักฐานอ้างอิง และปฏบิ ตั ิตนใหห้ ่างไกลจากชิรกฺ - เตาฮดี ตามแนวสะลฟั 3. เชอ่ื ม่ัน ยอมรับ และปฏิบัตติ นเป็น - เตาฮีดอรั -รุบูอยี ะฮ ฺ ผ้ศู รัทธาต่ออลั ลอฮฺ สบุ หานะฮวุ ะตะอาลา - เตาฮดี อุลูฮียะฮฺ ตามเตาฮีดอัสมาอวฺ ศั ศิฟาต - เตาฮีดอัสมาอวฺ ศั ศฟิ าต 2. ชิรกอฺ สั มาอฺวัศศิฟาต - ความหมาย - บทลงโทษ - หลกั ฐานอ้างองิ การจดั การเรยี นรอู้ ิสลามศึกษา 17 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นร ู้ 4. ปฏิบัตติ ามบทบัญญัตเิ ก่ียวกับ 1. การประกอบพิธีหัจญแ์ ละอมุ เราะฮฺ การประกอบพธิ ีหจั ญ์ การทำอมุ เราะฮ ฺ - ความหมาย ความสำคัญ กรุ บฺ าน อากเี กาะฮฺ และการจดั การ - บทบญั ญัต ิ ญะนาซะฮ ฺ - วิธีการ 2. การทำกรุ ฺบานและอากเี กาะฮฺ - ความหมาย ความสำคญั - บทบัญญตั ิ - วิธีการ 3. การจัดการญะนาซะฮ ฺ - ความหมาย ความสำคัญ - บทบญั ญตั ิ - วธิ กี าร 5. วิเคราะหแ์ ละเห็นคุณค่าในการเลอื ก การอุปโภคบรโิ ภคสิ่งที่หะลาลและหะรอม อุปโภคบริโภคส่งิ ท่หี ะลาลและหะรอม - ความหมาย ความสำคญั - ประเภท 6. วิเคราะหป์ ระวัติ ความเป็นมา 1. ชีวประวัตบิ รรดารสูล “อลุ ลุ อัซมยี ”ฺ ความสำคญั ของบรรดารสูล - นบนี ูหฺ อะลัยอสิ สลาม อุลุลอซั มยี ฺที่ปรากฏอยู่ในอัล-กรุ ฺอาน - นบีอบิ รอฮมี อะลัยอิสสลาม และนำข้อคดิ ท่ีได้ไปประยกุ ต์ใช ้ - นบมี ซู า อะลยั อิสสลาม ในชีวติ ประจำวนั - นบอี ีซา อะลัยอสิ สลาม 7. วิเคราะห์เหตุการณ์ในประวตั ศิ าสตร์ - นบมี ุฮมั มดั ศ็อลลัลลอฮอุ ะลยั ฮิวะสัลลัม ของนบีมฮุ ัมมัด ศอ็ ลลัลลอฮุอะลยั ฮิวะสลั ลมั 2. ยทุ ธศาสตร์การแก้ปัญหาของนบีมุฮมั มดั และเคาะลีฟะฮฺทัง้ 4 พร้อมนำข้อคดิ ศอ็ ลลัลลอฮอุ ะลยั ฮวิ ะสัลลัม ท่ีได้ไปใช้ในชวี ิตประจำวนั - การเมอื ง การปกครอง - เศรษฐกจิ - สังคม - ความเชือ่ - การเผยแผ่ - คำกลา่ วปราศรยั 18 การจัดการเรียนรูอ้ สิ ลามศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ชนั้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรู้ - การยนื หยัดในความสมบรู ณข์ อง คำสั่งสอนของอลั ลอฮฺ สุบหานะฮวุ ะตะอาลา และลบล้างความเช่ืออน่ื ๆ - แนวทางท่เี ทยี่ งตรงทัง้ โลกนแี้ ละโลกหน้า - แนวทางการแก้ปญั หาของนบมี ุฮัมมัด ศอ็ ลลลั ลอฮุอะลัยฮวิ ะสลั ลมั กับชนเผ่าอ่นื ๆ ทีม่ ีความเช่อื แตกต่างกับชาวมะดนี ะฮฺ - ภราดรภาพระหวา่ งชนเผ่าต่าง ๆ 3. เคาะลีฟะฮฺทั้ง 4 - ความหมาย - ประวัติ ความเปน็ มา - ความสำคัญ - คณุ ลักษณะ - บทบาทหน้าที่ - คำสอน - จริยธรรม - การเผยแผศ่ าสนา - การเปิดดินแดน - ความขัดแยง้ แนวทางการแกป้ ญั หา - ความเจรญิ รุง่ เรืองในดา้ นต่าง ๆ เช่น - การเมือง - เศรษฐกจิ - สงั คม - ศาสนา - ศิลปวฒั นธรรมและสถาปัตยกรรม - นครรฐั และอาณาจักรต่าง ๆ ในสมัยเคาะลฟี ะฮฺทง้ั 4 - คุณธรรมและจริยธรรมทีด่ ีงาม ของเคาะลฟี ะฮฺทั้ง 4 การจัดการเรยี นร้อู ิสลามศึกษา 19 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ชนั้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้ 8. ตระหนักถงึ ความสำคัญ ศาสนสถานท่สี ำคญั และเหน็ คณุ คา่ ประวตั คิ วามเป็นมา - มัสญดิ อัล-หะรอม ของศาสนสถานท่ีสำคัญในอสิ ลาม - กะอฺบะฮฺ - มะกอมอิบรอฮีม - บอ่ นำ้ ซัมซมั - ประตบู าบสุ สลาม - ลานสะแอ - เนินเขาเศาะฟา - เนนิ เขามรั วะฮฺ - มสั ญิดอัน-นะบะวยี ฺ - ทุ่งอะเราะฟะฮฺ - เสาหนิ ที่มินา - กุบูรฺท่านรสลู ฯ - มสั ญดิ อัล-อักศอ ม.4-6 1. วเิ คราะหข์ อ้ ปฏบิ ัติเชงิ กฎหมาย กฎหมายอิสลาม อสิ ลาม - ความหมาย ความเป็นมา และ ความสำคญั ของกฎหมายอิสลาม - ลกั ษณะการซ้อื ขาย แลกเปล่ียน กฎเกณฑ์ เงอ่ื นไข ประเภทการซอ้ื ขาย ดอกเบ้ีย การประกันภยั การจำนอง จำนำ ขายฝาก หนุ้ สว่ น การให้ การอทุ ิศ และการมอบฉนั ทะ - ลกั ษณะครอบครัวในเรอ่ื ง การสมรส การหยา่ รา้ ง และการคนื ดี สิทธิและ หนา้ ทขี่ องบดิ า มารดา สามี ภรรยา บุตรและบตุ รบุญธรรม - ลักษณะมรดกในเรอ่ื ง ความหมาย กฎเกณฑ์ การแบง่ การสบื ทอด การสละมรดก พินัยกรรม กรรมสทิ ธิ์ และการไดม้ าซึง่ กรรมสิทธ ิ์ 20 การจดั การเรียนรู้อิสลามศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้ - สงิ่ ตอ้ งหา้ มสำหรบั มุสลมิ ในเร่ือง การผดิ ประเวณี การลักขโมย การประทุษร้าย และการเสพส่ิงเสพติด - ขอ้ ห้ามเกย่ี วกบั การใสร่ ้าย การละทิ้ง ละหมาด และข้อปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับ การแตง่ กายตามศาสนบญั ญัต ิ 2. วเิ คราะหล์ กั ษณะระบบสงั คมอิสลาม 1. ระบบสังคมอิสลาม และหลกั ธรรมสำคัญในการอย่รู ่วมกนั 2. สถาบนั ครอบครัว อย่างสนั ติสขุ - ญาตแิ ละเพ่ือนบ้าน 3. ภาวะผู้นำและผู้ตามในอิสลาม - คุณสมบัติของผู้นำ ผ้ตู าม - บทบาทของผนู้ ำ - การตามผนู้ ำ - เงอื่ นไขการตามผู้นำ 3. วิเคราะหก์ ารฝกึ ฝนและพฒั นา ระบบชวี ิตของอสิ ลาม ตนเอง การพึง่ ตนเอง การมอบหมาย - แบบแผนของชีวิต ต่ออัลลอฮฺ สุบหานะฮวุ ะตะอาลา - ลักษณะของแบบแผนการดำเนินชีวติ - ชวี ติ และศีลธรรมของอสิ ลาม - ระเบยี บทางศีลธรรมของอสิ ลาม - คุณธรรมในการปฏบิ ัตติ น ตามหลักการอสิ ลาม - การใช้สิทธใิ นการปฏบิ ัตติ น ตามหลักการอิสลาม - กฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้องกับชวี ติ ประจำวนั 4. วิเคราะห์คำสอนอสิ ลามกับปรัชญา 1. เศรษฐศาสตร์อสิ ลาม เศรษฐกจิ พอเพียงและการพฒั นา - พน้ื ฐานสำคัญของเศรษฐศาสตรอ์ ิสลาม ประเทศแบบยงั่ ยืน - การอปุ โภคบรโิ ภค - ระบบสหกรณอ์ สิ ลาม การจดั การเรยี นรูอ้ ิสลามศกึ ษา 21 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนร ู้ 2. การแกป้ ัญหาทางเศรษฐกจิ ในระบอบ อสิ ลาม 3. ดอกเบย้ี และธนาคารอสิ ลาม 5. วเิ คราะห์ความสำคัญของระบอบ ระบอบการศกึ ษาและการเมืองอิสลาม อิสลามเกย่ี วกบั การศกึ ษา การเมอื ง และสนั ติภาพ 6. บอกประวตั ศิ าสดาของศาสนาอนื่ ๆ ประวตั ิศาสดาของศาสนาอนื่ ๆ โดยสงั เขป 7. เห็นคณุ คา่ เชือ่ มั่น และมุ่งม่ัน 1. การมอี มี านที่สมบรู ณ ์ พัฒนาชีวิต อีมานที่สมบูรณแ์ ละพฒั นา 2. พฒั นาการเรยี นรู้ดว้ ยวิธีคิดแบบอิสลาม การเรียนรู้ดว้ ยวิธีคดิ แบบอสิ ลาม 8. ปฏบิ ตั ิชะฮาดะฮฺ ละหมาด ซะกาฮฺ 1. วธิ ีปฏบิ ตั แิ ละประโยชน์ของการชะฮาดะฮฺ อัศเศามฺ หจั ญ์ และอหิ สฺ าน ละหมาด ซะกาฮฺ อัศเศามฺ หัจญ ์ 2. การนำอหิ สฺ านใช้ในการพฒั นาการเรยี นร ู้ คณุ ภาพชีวติ และสังคม 9. วเิ คราะหค์ ำสอนอิสลามเกยี่ วกบั คำสอนอสิ ลามเกย่ี วกับการชักชวน สง่ เสริม การอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ ุข สนบั สนนุ ใหบ้ คุ คลอนื่ เหน็ ความสำคัญ และชักชวน ส่งเสริม สนับสนุนให ้ ของการทำความดี และการอยรู่ ว่ มกัน บุคคลอืน่ เหน็ ความสำคญั ของการทำ อยา่ งสนั ตสิ ขุ ความดี 10. เสนอแนวทางการจดั กจิ กรรม สภาพปญั หาในชุมชนและสังคม ความร่วมมือของทุกศาสนา ในการแก้ปญั หาและพฒั นาสังคม 22 การจดั การเรยี นรอู้ ิสลามศกึ ษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนกั ปฏบิ ัตติ นเปน็ มุสลิมท่ีดี และธำรงรักษาไว้ซ่งึ ศาสนาอิสลาม ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นร ู้ ป.1 1. ปฏบิ ัตติ นตามบทบญั ญตั ิอสิ ลาม 1. การอาบน้ำละหมาด 2. การละหมาดฟัรฎ ุ - เวลาในการละหมาดฟรั ฎุ - วธิ กี ารละหมาดฟัรฎุ 2. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ มสุ ลิมท่ีดี การปฏิบตั ิตนเป็นมสุ ลมิ ที่ดี มีคณุ ธรรม จริยธรรมตามแบบอยา่ ง - การกลา่ วสลามและการตอบรับสลาม ของนบีมฮุ มั มดั ศ็อลลัลลอฮอุ ะลยั ฮิวะสลั ลัม - การรกั ษาความสะอาด - มารยาทและการกลา่ วดอุ าอฺ - ดอุ าอกฺ ่อนและหลงั รับประทานอาหาร - ดุอาอกฺ อ่ นนอนและตน่ื นอน - การบำเพ็ญประโยชนต์ ่อมสั ญดิ สถานที่ละหมาด กบุ รู ฺ โรงเรยี น เชน่ การพัฒนา การทำความสะอาด การบรจิ าค เปน็ ตน้ 3. การปฏบิ ตั ิตนในวันสำคัญ บอกประวตั ิและขอ้ ควรปฏิบตั ิในวันสำคัญ ทางศาสนา ตา่ ง ๆ - วนั อดี ลุ ฟิฏรฺ - วันอีดุลอฎั หา - วันศุกร ์ ป.2 1. ปฏบิ ตั ติ นตามบทบญั ญัตอิ สิ ลาม การชำระล้างนะญสิ การอาบนำ้ ละหมาด วิธกี ารละหมาด 2. ปฏบิ ตั ิตนเป็นมุสลมิ ทดี่ ี การปฏบิ ตั ิตนเป็นมสุ ลิมท่ีด ี มีคณุ ธรรม จริยธรรมตามแบบอย่าง - การกล่าวปฏญิ าณตน ของนบมี ุฮัมมดั ศ็อลลลั ลอฮุอะลยั ฮวิ ะสลั ลมั - การละหมาด - มารยาทและการกล่าวดุอาอ ฺ - ดอุ าอเฺ ขา้ และออกจากหอ้ งนำ้ - ดุอาอเฺ ขา้ และออกจากบา้ น การจดั การเรียนรอู้ สิ ลามศกึ ษา 23 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนร ู้ 3. การปฏบิ ตั ิตนในวนั สำคญั บอกประวตั แิ ละข้อควรปฏิบัติ ทางศาสนา ในวันสำคัญต่าง ๆ - วันอีดลุ ฟฏิ รฺ - วันอดี ลุ อัฎหา - วนั ศกุ ร์ ป.3 1. ปฏบิ ตั ิตนตามบทบัญญัติอิสลาม การปฏิบัติตนตามบทบัญญัติอสิ ลาม - การปฏญิ านตน - การละหมาด - การถือศลี อดในเดอื นเราะมะฎอน - การจ่ายซะกาฮฺ - การประกอบพธิ หี จั ญ ์ 2. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ มสุ ลมิ ท่ีดี การปฏิบัติตนเป็นมุสลิมท่ีดี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมตามแบบอยา่ ง - การแต่งกาย ของนบมี ฮุ มั มัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม - การมีระเบียบวินยั - การมสี ัจจะ - การมีความซื่อสัตย ์ 3. ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของมารยาท มารยาทและการกลา่ วดอุ าอ ฺ และปฏบิ ัตติ นตามมารยาททีก่ ำหนด - ดอุ าอสฺ วมใส่เสอ้ื ผา้ - ดุอาอฺเพิม่ พูนความร้ ู ป.4 1. ปฏบิ ตั ิตนตามบทบญั ญัตอิ สิ ลาม การอาบน้ำสุนนะฮใฺ นวันศุกร ์ การฟงั คฏุ บะฮฺในวนั ศุกร ์ 2. เห็นคณุ ค่าและปฏิบัตติ น 1. การปฏบิ ัตติ นเป็นมสุ ลิมทีด่ ี เป็นมุสลิมท่ีดี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม - ความสามัคค ี ตามแบบอย่างของนบมี ุฮัมมัด - ความเปน็ ผนู้ ำ ผู้ตาม ศอ็ ลลัลลอฮุอะลัยฮวิ ะสัลลมั - มารยาทและการกล่าวดุอาอ ฺ 3. อภปิ รายความสำคัญและการมี - ดุอาอฺเขา้ -ออกมัสญดิ สว่ นร่วมในการทำนบุ ำรงุ ศาสนสถาน - ดอุ าอฺหลงั ละหมาด 2. มสั ญดิ - ความหมาย - ความสำคัญ 24 การจดั การเรยี นรู้อิสลามศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ชัน้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนร้ ู ป.5 1. ปฏิบัติตนตามบทบญั ญตั อิ ิสลาม การปกปิดเอาเราะฮ ฺ การอาบน้ำวาญบิ การละหมาดวันศกุ รแ์ ละคุฏบะฮฺ การถอื ศลี อด การตะยัมมุม 2. อภิปรายพฤติกรรม เห็นคุณค่า มารยาทของมุสลิมท่ดี ี และปฏิบัติตนเป็นมุสลมิ ที่ดี 1. มารยาทตอ่ บดิ า มารดา มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามแบบอยา่ ง - หลักฐานจากอลั -กรุ ฺอานและอลั -หะดีษ ของนบีมุฮัมมดั ศ็อลลลั ลอฮุอะลยั ฮวิ ะสลั ลัม - ดุอาอใฺ หก้ บั บดิ า มารดา 3. อภิปรายความสำคัญและการม ี 2. มารยาทตอ่ ครูและผูอ้ าวุโส ส่วนรว่ มในการทำนุบำรงุ ศาสนสถาน - ดอุ าอฺใหก้ ับครูและผอู้ าวโุ ส 3. มัสญิด - ความหมาย ความสำคญั - การใช้และการทำนบุ ำรุงรกั ษา ป.6 1. ปฏิบัตติ นตามบทบญั ญตั อิ ิสลาม การละหมาดอีดลุ ฟิฏรฺ การละหมาดอดี ลุ อฎั หา - บทบญั ญตั ิ - วธิ กี าร 2. ปฏบิ ัติตนเป็นมุสลมิ ทด่ี ี การปฏิบตั ิตนเป็นมุสลมิ ทีด่ ี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามแบบอย่าง - การแตง่ กาย ของนบมี ฮุ ัมมัด ศอ็ ลลลั ลอฮอุ ะลยั ฮิวะสัลลัม - การมีระเบยี บวินัย - การมีสัจจะ - การมคี วามซ่ือสัตย ์ - มารยาทและการกล่าวดุอาอฺ - ดุอาอฺขอให้อัลลอฮฺ สุบหานะฮวุ ะตะอาลา คมุ้ ครอง - ดอุ าอขฺ ณะขับข่ีและโดยสารยานพาหนะ 3. อภิปรายความสำคญั และการม ี มัสญิดและกบุ ูรฺ สว่ นร่วมในการทำนุบำรุงศาสนสถาน - ความหมาย ความสำคญั - การบำรงุ รักษา การจัดการเรยี นรูอ้ สิ ลามศึกษา 25 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนร ู้ ม.1 1. ปฏิบัติตนตามบทบญั ญตั เิ กยี่ วกบั การละหมาด การละหมาดและการปกปิดเอาเราะฮฺ การปกปิดเอาเราะฮ ฺ 2. วเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมและปฏิบตั ิตน คุณธรรม จรยิ ธรรมตามแบบอยา่ ง เปน็ มุสลิมที่ดี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ของนบีมฮุ ัมมดั ศ็อลลัลลอฮอุ ะลยั ฮิวะสัลลัม ตามแบบอยา่ งของนบมี ฮุ ัมมดั - การเป็นผู้นำ ผู้ตามในทัศนะอสิ ลาม ศอ็ ลลลั ลอฮอุ ะลยั ฮวิ ะสัลลัม - การปฏบิ ตั ิตนตามระเบียบวินัย 3. ยอมรับผอู้ ่ืนทป่ี ฏิบัติตน - การตรงต่อเวลา ตามแบบอย่างของนบมี ุฮมั มดั - การรจู้ กั พอเพยี งและพอใจในส่ิงที่ตนมี ม.2 ศ็อลลลั ลอฮุอะลยั ฮวิ ะสลั ลัม 1. ปฏิบัติตนตามบทบัญญัตเิ กีย่ วกบั การละหมาดสนุ นะฮแฺ ละญมั อฺ-ก็อศรฺ การละหมาดสุนนะฮฺ และญมั อฺ-กอ็ ศร ฺ การถอื ศีลอดสนุ นะฮ ฺ 2. ปฏิบตั ิตนตามบทบัญญตั เิ กี่ยวกบั การจา่ ยซะกาฮฺฟฏิ รฺ การถอื ศลี อดสนุ นะฮฺ การจดั การญะนาซะฮฺ 3. ปฏิบตั ติ นตามบทบัญญตั ิเกีย่ วกบั การจ่ายซะกาฮฟฺ ฏิ ร ฺ 4. ปฏิบัติตนตามบทบัญญัตเิ ก่ยี วกับ ม.3 การจัดการญะนาซะฮ ฺ 5. วิเคราะห์พฤติกรรมและปฏิบตั ิตน คุณธรรม จริยธรรมตามแบบอยา่ ง เปน็ มุสลิมท่ดี ี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ของนบีมฮุ มั มัด ศอ็ ลลัลลอฮอุ ะลัยฮิวะสัลลมั ตามแบบอย่างของนบีมุฮัมมัด - การขออภยั โทษ ศ็อลลลั ลอฮอุ ะลยั ฮิวะสัลลมั - การอดกลนั้ และการใหอ้ ภัย 6. ยอมรับและชืน่ ชมผ้อู นื่ ที่ปฏิบตั ิตน - ความกล้าหาญ ตามแบบอย่างของนบมี ุฮัมมัด - การเปน็ ผู้มจี ติ อาสา ศอ็ ลลลั ลอฮุอะลัยฮวิ ะสัลลมั 1. วเิ คราะห์พฤติกรรมและปฏิบตั ิตน คุณธรรม จริยธรรมตามแบบอย่าง เปน็ มุสลิมทดี่ มี ี คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ของนบมี ุฮมั มดั ศอ็ ลลัลลอฮอุ ะลยั ฮิวะสัลลัม ตามแบบอย่างของนบีมุฮมั มดั - ความยตุ ิธรรม ศ็อลลัลลอฮุอะลยั ฮิวะสัลลมั - ความใฝ่รู้ใฝเ่ รยี น 26 การจัดการเรียนร้อู ิสลามศกึ ษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

ช้ัน ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้ 2. ยอมรบั ช่ืนชม และแนะนำผอู้ ่นื - ความสามัคค ี ใหป้ ฏิบตั ติ นตามแบบอยา่ ง - การเผยแผ่ ของนบมี ุฮัมมดั ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮวิ ะสลั ลัม ม.4-6 1. ปฏิบตั ติ นเป็นมุสลิมท่ดี ี การปฏิบัติตนเปน็ มสุ ลมิ ทด่ี ตี ่ออลั ลอฮฺ สบุ หานะฮุวะตะอาลา การปฏบิ ัตติ นเปน็ มุสลมิ ท่ีดตี อ่ รสูล การปฏบิ ัติตนเปน็ มุสลิมทด่ี ีตอ่ ครอบครัว การปฏบิ ตั ติ นเปน็ มุสลิมทีด่ ตี อ่ สงั คม การปฏบิ ตั ติ นเปน็ มสุ ลิมทดี่ ตี อ่ สิ่งแวดลอ้ ม การปฏิบตั ิตนเปน็ มุสลิมท่ดี ตี ่อประเทศชาต ิ 2. ปฏบิ ัติตนถูกตอ้ งตามศาสนบญั ญตั ิ อมี าน อสิ ลาม อิหฺสาน 3. แสดงตนเปน็ มสุ ลมิ หลกั ปฏิบตั ิ 5 ประการ 4. วเิ คราะหค์ วามสำคญั และปฏบิ ตั ิตน วันสำคญั ทางศาสนาอิสลาม ในวนั สำคญั ทางศาสนาอสิ ลาม - เดอื นเราะมะฎอน - หจั ญ ์ - วันอีดุลฟิฏรฺและวันอดี ุลอฎั หา ฯลฯ 5. สมั มนาและเสนอแนะแนวทาง - การปกปอ้ ง คมุ้ ครอง ธำรงรักษา ในการธำรงรักษาศาสนาอิสลาม ศาสนาอิสลามในสังคมไทย อันส่งผลถึงการพฒั นาตน พฒั นาชาติ และสังคมโลก และพฒั นาโลก - การปลูกจิตสำนึก และการมสี ่วนร่วม ในสงั คมมุสลิม การจดั การเรยี นรู้อิสลามศึกษา 27 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ดุอาอฺขณะเขา้ มัสญิด “ ” “โอ้ อลั ลอฮ ฺ ทรงโปรดเปดิ ประตูแหง่ ความเมตตา ของพระองคใ์ ห้แกฉ่ ันดว้ ยเถดิ ”

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน สาระอิสลามศกึ ษา สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม กลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน ส 11101 อิสลามศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 เวลา 40 ชม./ป ี .......................................................................................................................................................... ศึกษา ความหมาย ความสำคัญของหลักการอิสลาม และพระนามของอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ลำดับที่ 1-10 พร้อมความหมาย ประเภทของน้ำสะอาด วิธีการอาบน้ำละหมาด เวลาและวิธีการละหมาดฟัรฎุ ประวัติของนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ประวัติและข้อควร ปฏบิ ัติในวันสำคญั ตา่ ง ๆ เชน่ วันอีดลุ ฟฏิ รฺ วนั อีดลุ อฎั หา วนั ศุกร์ ปฏบิ ตั ิตนตามบทบญั ญัติอสิ ลาม ในเร่ืองการละหมาดฟัรฎุ การเป็นมุสลิมท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรมตามแบบอย่างของนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เช่น การกล่าวสลามและการตอบรับสลาม การรักษาความสะอาด มารยาท และการกล่าวดุอาอฺก่อนและหลังรับประทานอาหาร ดุอาอฺก่อนนอนและตื่นนอน การบำเพ็ญ ประโยชน์โดยการพัฒนาและการทำความสะอาดต่อสาธารณสถาน เช่น มัสญิด สถานที่ละหมาด กบุ รู ฺ โรงเรยี น การบรจิ าค เป็นต้น โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดความร ู้ ความเขา้ ใจ เห็นความสำคัญ เห็นคุณคา่ สามารถปฏิบัติตามหลกั การศาสนา มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั อยา่ งมคี วามสขุ รหสั ตัวชี้วดั ส 1.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ป.1/4 ส 1.2 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 รวมทั้งหมด 7 ตัวช้ีวดั 30 การจัดการเรียนรอู้ สิ ลามศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน ส 12101 อสิ ลามศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 2 เวลา 40 ชม./ป ี .......................................................................................................................................................... ศึกษา ความหมาย ความสำคัญของหลักการอิสลาม หลักศรัทธา 6 ประการ หลักปฏิบัต ิ 5 ประการ หลักคุณธรรม และพระนามของอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ลำดับท่ี 11-24 พร้อมความหมาย ความสำคัญ วิธีการ และประโยชน์ของการละหมาด ประวัติของนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ต้ังแต่เกิดจนถึงสมรสกับท่านหญิงเคาะดีญะฮฺ การปฏิบัติตนตามบทบัญญัติ อิสลาม การกล่าวปฏิญาณตน การชำระล้างนะญิส การอาบน้ำละหมาด การละหมาด การเป็น มุสลิมท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรมตามแบบอย่างของนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ในเรื่อง มารยาทและการกล่าวดุอาอฺ เช่น ดุอาอฺขณะเข้าและออกจากห้องน้ำ ดุอาอฺขณะเข้าและออกจากบ้าน เปน็ ตน้ โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความร ู้ ความเข้าใจ เห็นความสำคัญ เห็นคุณค่า สามารถปฏิบัติตนตามหลักการอิสลาม มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั อยา่ งมคี วามสุข รหัสตวั ชว้ี ดั ส 1.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ส 1.2 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 รวมท้งั หมด 6 ตวั ช้วี ดั การจัดการเรียนรูอ้ สิ ลามศกึ ษา 31 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน ส 13101 อิสลามศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 เวลา 40 ชม./ป ี .......................................................................................................................................................... ศึกษาพระนามของอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ลำดับที่ 25-39 พร้อมความหมาย ช่ือของ บรรดารสูล และประวัติของนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ตั้งแต่สมรสจนถึงการรับวะหฺยุ อธิบายความหมาย ความสำคัญของหลักการอิสลาม ช่ืนชม เห็นคุณค่า และปฏิบัติตน ตามบทบัญญัติอิสลาม ในเรื่องหลักศรัทธา 6 ประการ การศรัทธาต่ออัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา การศรัทธาต่อบรรดามลาอิกะฮฺ การศรัทธาต่อบรรดาคัมภีร์ การศรัทธาต่อบรรดารสูล การศรัทธา ต่ออาคิเราะฮฺ การศรัทธาต่อกฎเกาะฎออฺเกาะดัร หลักปฏิบัติ 5 ประการ การปฏิญาณตน การละหมาด การถือศีลอด การจ่ายซะกาฮฺ การประกอบพิธีหัจญ์ หลักคุณธรรม การปฏิบัติตน เป็นมุสลิมที่ดีมีคุณธรรม จริยธรรมตามแบบอย่างของนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เชน่ การแต่งกาย การมีระเบยี บวินยั การมีสัจจะ การมีความซื่อสตั ย์ มารยาท และการกลา่ วดุอาอฺ เช่น ดุอาอขฺ ณะสวมใส่เสือ้ ผ้า ดอุ าอฺเพม่ิ พนู ความรู้ เปน็ ต้น โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดความร ู้ ความเข้าใจ เห็นความสำคัญ เห็นคุณค่า สามารถปฏิบัติตนตามหลักการอิสลาม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอยา่ งมีความสุข รหัสตวั ชีว้ ัด ส 1.1 ป.3/1 ป.3/2 ส 1.2 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 รวมทัง้ หมด 5 ตวั ชี้วดั 32 การจัดการเรยี นรอู้ ิสลามศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน ส 14101 อิสลามศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 เวลา 40 ชม./ป ี .......................................................................................................................................................... ศกึ ษาค้นคว้าคุณลกั ษณะ 20 ประการของอัลลอฮฺ สบุ หานะฮุวะตะอาลา ลำดบั ท่ี 1-13 พระนาม ของอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ลำดับท่ี 40-59 หลักศรัทธา 6 ประการ หลักปฏิบัติ หลักคุณธรรม ความหมาย ความสำคัญ และการปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของมุกัลลัฟ การอาบน้ำวาญิบ การถือศีลอด การอาบน้ำสุนนะฮฺ และการฟังคุฏบะฮฺในวันศุกร์ การเผยแผ่อิสลาม ณ นครมักกะฮฺ และแบบอย่างของนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม การปฏิบัติตนเป็นมุสลิมท่ีดี ในเร่ือง ความสามัคคี ความเปน็ ผ้นู ำ ผ้ตู าม ความกตญั ญู มารยาท การกลา่ วดอุ าอใฺ นขณะเข้า-ออกมสั ญิด ดุอาอฺหลังการละหมาด และมสี ่วนรว่ มในการทำนบุ ำรงุ ศาสนสถาน โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดความร้ ู ความเข้าใจ สามารถอธิบายสิ่งที่เรียนรู้และเห็นคุณค่าในการนำความรู้ไปปฏิบัติตนให้เกิดประโยชน์ ในชีวติ ประจำวัน มคี ณุ ธรรม จริยธรรม รหสั ตวั ช้วี ัด ส 1.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ส 1.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 รวมทัง้ หมด 8 ตวั ชว้ี ดั การจดั การเรยี นรูอ้ สิ ลามศกึ ษา 33 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ส 15101 อสิ ลามศึกษา กลุม่ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 40 ชม./ป ี .......................................................................................................................................................... ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปหลักศรัทธา 6 ประการ คุณลักษณะ 20 ประการของอัลลอฮฺ สบุ หานะฮุวะตะอาลา ลำดบั ที่ 14-20 พระนามของอัลลอฮฺ สุบหานะฮวุ ะตะอาลา ลำดับท่ี 60-79 การศรัทธา ต่อคัมภีร์ การศรัทธาต่อนบีและรสูล การปกปิดเอาเราะฮฺ การอาบน้ำวาญิบ การตะยัมมุม การละหมาดวันศุกร์ การฟังคุฏบะฮฺ การถือศีลอด การเผยแผ่อิสลาม ณ นครมักกะฮฺ และ การอพยพของชาวมุสลิมไปยังนครมะดีนะฮฺ แบบอย่างของเคาะลีฟะฮฺอบูบักร และเคาะลีฟะฮฺอุมัร ในการเป็นผู้นำและความเปน็ ประชาธปิ ไตย มารยาทตอ่ บิดา มารดา ครู และผอู้ าวุโส พรอ้ มหลักฐาน จากอัล-กุรอฺ านและอลั -หะดษี การมสี ่วนรว่ มในการทำนบุ ำรุงศาสนสถาน การกล่าวดุอาอฺ โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดความร ู้ ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สิ่งที่เรียนรู้ มีทักษะการอ่าน และเห็นคุณค่าในการปฏิบัติตน เปน็ มุสลิมท่ีดี รหัสตวั ชวี้ ัด ส 1.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 ส 1.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 รวมทัง้ หมด 8 ตวั ชวี้ ัด 34 การจัดการเรียนร้อู สิ ลามศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน ส 16101 อิสลามศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 เวลา 40 ชม./ป ี .......................................................................................................................................................... ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปหลักศรัทธา 6 ประการ พระนามของอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ลำดับท่ี 80-99 คุณลักษณะวาญิบมุสตะฮีลและญาอิซ การศรัทธาต่ออาคิเราะฮฺ การศรัทธา ต่อเกาะฎออฺเกาะดัร การต้ังภาคีต่ออัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา การส้ินสภาพจากการเป็นมุสลิม การอาบน้ำวาญิบ การจัดการญะนาซะฮฺ การถือศีลอด การละหมาดสุนนะฮฺ การจ่ายซะกาฮ ฺ การประกอบพิธีหัจญ์ บทบาทของนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ในนครมะดีนะฮฺ ชาวมุฮาญีรีน และอันศอรฺ การทำสนธิสัญญาของชาวมะดีนะฮฺกับกลุ่มต่าง ๆ การทำหัจญ์สุดท้าย ความสำเร็จ และการเสียชีวิตของนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคาะลีฟะฮฺอุษมาน เคาะลีฟฮฺอะล ี ศาสนสถาน การปฏิบัติตนเป็นมุสลิมที่ดีในเร่ืองการแต่งกาย การมีระเบียบวินัย การมีสัจจะ ความซ่อื สัตย์ มารยาท และการกลา่ วดุอาอฺในสถานการณต์ ่าง ๆ โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สิ่งท่ีเรียนรู้ มีทักษะการอ่าน และเห็นคุณค่าในการปฏิบัติตน เป็นมสุ ลมิ ทีด่ ี รหสั ตัวช้ีวัด ส 1.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ส 1.2 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 รวมทง้ั หมด 9 ตวั ชีว้ ดั การจัดการเรียนรูอ้ ิสลามศกึ ษา 35 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน ส………อิสลามศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลา 40 ชม./ปี จำนวน 1 หนว่ ยกิต .......................................................................................................................................................... ศึกษาการศรัทธาต่ออัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา คุณลักษณะของอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ประโยชน์ของเตาฮีดอัร-รุบูบียะฮฺ และบทลงโทษของชิรกฺ ส่ิงที่วาญิบ ฟัรฎุ ชัรฺฏ สุนนะฮฺ และ ส่ิงที่ทำให้เสียการละหมาด วิธีการละหมาดสุนนะฮฺ ตะรอวีหฺและวิตรฺ การปกปิดเอาเราะฮฺ นบ ี และรสลู ชีวประวตั ิ สภาพสงั คม การเมือง เศรษฐกิจ ความเช่ือ ก่อนและหลงั รับวะหฺยุ คณุ ลกั ษณะ บทบาทหนา้ ท่ี คำสง่ั สอน คณุ ธรรม จริยธรรมของนบีมฮุ ัมมัด ศ็อลลลั ลอฮอุ ะลัยฮวิ ะสลั ลมั และเคาะลีฟะฮฺ ทง้ั 4 ศาสนสถานทส่ี ำคญั เหน็ คณุ ค่า และปฏิบัติตนในการเป็นผนู้ ำ ผู้ตาม การรักษาระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา การรู้จักความพอเพียงและพอใจในสิง่ ทีต่ นมีตามทศั นะอสิ ลาม โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ และกระบวนการสร้างนิสัย เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คณุ คา่ และสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติในชวี ติ ประจำวนั รหัสตวั ช้วี ดั ส 1.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ส 1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 รวมท้งั หมด 9 ตวั ช้วี ัด 36 การจัดการเรียนร้อู ิสลามศกึ ษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน ส………อิสลามศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศานาและวฒั นธรรม ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 เวลา 40 ชม./ปี จำนวน 1 หนว่ ยกิต .......................................................................................................................................................... ศึกษาการศรัทธาและคุณลักษณะของอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ตามเตาฮีดอุลูฮียะฮ ฺ บทลงโทษของชริ กฺอลุ ูฮียะฮฺ ความสมั พันธ์ของโครงสร้างอิสลาม จริยวตั ร สภาพกอ่ นและหลงั อพยพ การเผยแผ่ศาสนาอิสลามของนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และเคาะลีฟะฮฺท้ัง 4 ประวัติ ความเป็นมาของมสั ญิดอลั -หะรอม มัสญิดอัน-นะบะวยี ฺ และมัสญิดอัล-อกั ศอ เหน็ คณุ ค่าและปฏบิ ัติ ละหมาดสนุ นะฮฺ และญมั อ-ฺ ก็อศรฺ การจ่ายซะกาฮฺฟิฏรฺ การถอื ศีลอดสุนนะฮฺ การจัดการญะนาซะฮฺ การขออภยั โทษ การอดกล้นั การใหอ้ ภยั ความกลา้ หาญ และการเป็นผมู้ ีจติ อาสา โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ และกระบวนการสร้างนิสัย เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ ค่า และสามารถนำความรู้ไปปฏบิ ตั ิในชวี ิตประจำวัน รหัสตวั ช้วี ัด ส 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ส 1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 รวมทงั้ หมด 14 ตวั ชี้วดั การจดั การเรียนร้อู ิสลามศกึ ษา 37 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน ส………อสิ ลามศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศานาและวัฒนธรรม ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 เวลา 40 ชม./ปี จำนวน 1 หนว่ ยกติ .......................................................................................................................................................... ศึกษาการศรัทธาและคุณลักษณะของอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ตามเตาฮีดอัสมาอฺวัศศิฟาต ประโยชน์ของเตาฮีดอุลูฮียะฮฺ หลักการเตาฮีดตามแนวสะลัฟ เตาฮีดอัร-รุบูบียะฮฺ เตาฮีดอุลูฮียะฮฺ เตาฮีดอัสมาอฺวัศศิฟาต บทลงโทษของชิรกฺอัสมาอฺวัศศิฟาต เห็นคุณค่าและปฏิบัติการประกอบ พิธีหัจญ์และอุมเราะฮฺ การทำกุรฺบานและอากีเกาะฮฺ การจัดการญะนาซะฮฺ การบริโภคอาหาร และเครี่องดื่มที่หะลาล หะรอม ชวี ประวตั ิ คุณลักษณะ บทบาทหนา้ ที่ จริยธรรม การเผยแผศ่ าสนา ของบรรดารสูล “อุลุลอัซมียฺ” ยุทธศาสตร์ของนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ในการแก้ปัญหา และประวัติความเป็นมา ความเจริญรุ่งเรืองในสมัยเคาะลีฟะฮฺท้ัง 4 ศาสนสถานที่สำคัญในศาสนา อสิ ลาม ความยุติธรรม ความใฝ่รู้ใฝ่เรยี น และความสามคั คี โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ และกระบวนการสร้างนิสัย เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ เห็นคณุ คา่ และสามารถนำความรู้ไปปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจำวนั รหัสตัวชวี้ ัด ส 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ส 1.2 ม.3/1 ม.3/2 รวมทัง้ หมด 10 ตวั ชี้วดั 38 การจัดการเรียนร้อู ิสลามศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ส…………อสิ ลามศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม (กฎหมายอสิ ลาม) ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 เวลา 40 ชม./ปี จำนวน 1 หนว่ ยกติ .......................................................................................................................................................... ศึกษา ความเป็นมา ความหมาย ความสำคัญของกฎหมายอิสลาม ลักษณะครอบครัว ในเรือ่ งการสมรส การหย่าร้าง และการคืนดี สทิ ธิและหน้าท่ีของบิดา มารดา สามี ภรรยา บุตรและ บุตรบุญธรรม ลกั ษณะมรดกในเร่ืองความหมาย กฎเกณฑ์ การแบง่ การสืบทอด และการสละมรดก พินัยกรรม กรรมสิทธิ์ และการได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ สิ่งต้องห้ามสำหรับมุสลิมในเรื่องการผิดประเวณี การลกั ขโมย การประทุษร้าย และการเสพสง่ิ เสพตดิ ขอ้ ห้ามเก่ียวกบั การใส่ร้าย การละทิง้ ละหมาด และขอ้ ปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับการแตง่ กายตามศาสนบญั ญัติ ประโยชน์ของการชะฮาดะฮฺ ละหมาด ซะกาฮฺ อัศเศามฺ หัจญ์ เศรษฐศาสตร์อิสลาม พ้ืนฐานสำคัญของเศรษฐศาสตร์อิสลาม ลักษณะการซื้อขาย แลกเปล่ียน กฎเกณฑ์ เงอ่ื นไข และประเภทการซ้อื ขาย ดอกเบยี้ การประกนั ภยั การจำนอง จำนำ ขายฝาก หุ้นส่วน การให้ การอุทิศ และการมอบฉันทะ การอุปโภคบริโภค ระบบสหกรณ์อิสลาม การแกป้ ญั หาทางเศรษฐกิจในระบบอสิ ลาม และธนาคารอิสลาม โดยใช้กระบวนการศึกษา ค้นคว้า ฝึกฝน เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะในการปฏบิ ัติ ศาสนกิจตามบทบัญญัตอิ สิ ลาม และการอย่รู ่วมกันอย่างสนั ตสิ ุข รหัสตวั ช้ีวดั ส 1.1 ม.4-6/1 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/8 ส 1.2 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5 รวมทง้ั หมด 9 ตวั ชวี้ ดั การจัดการเรียนรู้อสิ ลามศกึ ษา 39 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน ส………อิสลามศกึ ษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ระบอบชวี ิตในอสิ ลาม) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เวลา 40 ชม./ปี จำนวน 1 หน่วยกติ .......................................................................................................................................................... ศึกษาระบอบชีวิตในอิสลาม แบบแผนของชีวิต ลักษณะของแบบแผนการดำเนินชีวิต ชีวิตและศีลธรรมในอิสลาม ระเบียบทางศีลธรรมในอิสลาม คุณธรรมในการปฏิบัติตนตาม หลักอีมาน อิสลาม อิหฺสาน โดยเป็นมุสลิมที่ดีต่ออัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา รสูล ครอบครัว สังคม ส่ิงแวดล้อม และประเทศชาติ การใช้สิทธิในการปฏิบัติตนตามหลักการอิสลาม กฎหมาย ท่ีเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน คุณค่าและความสำคัญของค่านิยมและจริยธรรม ความเป็นเอกภาพ ภราดรภาพ และการขจัดความขัดแย้งเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิด แบบอิสลาม ระบบการศึกษาและการเมืองอิสลาม ระบบสังคมอิสลาม วันและเทศกาลสำคัญ ทางศาสนาอิสลาม สถาบันครอบครวั ญาตแิ ละเพื่อนบ้าน การศกึ ษาในอิสลาม ภาวะผูน้ ำและผตู้ าม ในอิสลาม คุณสมบัติของผู้นำ ผู้ตาม บทบาทของผู้นำ ผู้ตาม การปกป้อง คุ้มครอง ธำรงรักษา ศาสนาอสิ ลามในสังคมไทยและสังคมโลก การปลูกจติ สำนึกและการมีสว่ นรว่ มในสงั คมมสุ ลิม โดยใช้วิธีการศึกษา ค้นคว้า อภิปราย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก เห็นคุณค่าความสำคัญในอิสลาม และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันให้อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมโลก ได้อย่างมคี วามสุข รหัสตัวชี้วัด ส 1.1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/5 ม.4-6/6 ม.4-6/7 ม.4-6/8 ม.4-6/9 ม.4-6/10 ส 1.2 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5 รวมทัง้ หมด 13 ตัวช้ีวัด 40 การจัดการเรยี นรู้อิสลามศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

แนวการจัดหนว่ ยการเรียนรอู้ ิสลามศกึ ษา รายวชิ าพ้ืนฐาน สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

42 แนวการจัดหนว่ ยการเรยี นรู้อสิ ลามศึกษา ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง การจดั การเรียนรู้อสิ ลามศกึ ษา มาตรฐาน/ ช่อื หนว่ ย สาระการเรยี นร ู้ สาระสำคัญ ช้ินงาน/ภาระงาน การประเมนิ ผล กจิ กรรม เวลา/ ตัวชี้วดั ชว่ั โมง ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 มฐ.ส 1.1 หนว่ ยที่ 1 1. อสิ ลาม ศาสนาอสิ ลาม - ใบงาน/แบบฝึก - การสังเกต - สนทนา/ซักถาม 6 ตชว. 1 อิสลามทีฉ่ นั รกั - ความหมาย เปน็ ศาสนาที่ - ภาพวาด - การสอบถาม - บรรยาย/อธิบาย มฐ.ส 1.2 - ความเป็นมา ส่งเสริมใหม้ นษุ ย ์ - เลา่ เร่อื ง - การตรวจ - การวาดภาพ ตชว. 2 - ความสำคญั รักความสงบและ - การสาธิต ผลงาน ระบายสี 2. พระนามอัลลอฮฺ มีความสมั พนั ธ์ที่ด ี - การระดม สบุ หานะฮุวะตะอาลา กับบคุ คลอน่ื ความคิด ลำดบั ที่ 1-5 - การสาธิต พร้อมความหมาย - การขบั ร้อง 3. การกล่าวสลาม อะนาชดี และการตอบรับสลาม มฐ.ส 1.1 หน่วยท่ี 2 1. น้ำสะอาด น้ำสะอาด - ภาพวาด - การสังเกต - สนทนา/ซกั ถาม 5 ตชว. 2 น้ำสิ่งจำเป็น - ประเภทของ สามารถนำไปใช้ - เขียนบรรยาย - การสอบถาม - บรรยาย/อธบิ าย มฐ.ส 1.2 สำหรบั ชวี ิต นำ้ สะอาด ในการอาบน้ำ ภาพ - การตรวจ - การวาดภาพ ตชว. 1 2. การอาบนำ้ ละหมาด - การสาธติ ผลงาน ระบายสี ละหมาด - การทดสอบ - การขบั รอ้ ง - วธิ กี ารอาบน้ำ อะนาชีด ละหมาด

แนวการจัดหน่วยการเรยี นรอู้ ิสลามศึกษา ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง มาตรฐาน/ ช่ือหนว่ ย สาระการเรียนร ู้ สาระสำคญั ชนิ้ งาน/ภาระงาน การประเมินผล กจิ กรรม เวลา/ ตัวชี้วัด ชวั่ โมง มฐ.ส 1.1 หน่วยที่ 3 1. การละหมาดฟัรฎ ุ การละหมาด - ภาพวาด - การสงั เกต - การสนทนา/ 7 ตชว. 2 ไปละหมาด - เวลาในการ เป็นบทบญั ญตั ิ - เล่าเร่อื ง - การสอบถาม ซกั ถาม มฐ.ส 1.2 กนั เถอะ ละหมาดฟัรฎุ ทบี่ งั คบั (วาญบิ ) - ทอ่ งจำ - การตรวจ - การวาดภาพ ตชว. 1, 3 - วธิ ีการละหมาด สำหรบั มุสลิมชาย - การสาธติ ผลงาน ระบายสี การจัดการเรยี นร้อู สิ ลามศกึ ษา ฟัรฎ ุ - ชมวดี ิทัศน ์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 2. วันสำคัญ - การขับรอ้ ง ในอสิ ลาม อะนาชีด - ที่มาและข้อควร ปฏบิ ตั ใิ นวนั ศกุ ร ์ มฐ.ส 1.2 หน่วยที่ 4 การเปน็ มสุ ลิมทีด่ ี มสุ ลมิ ทีด่ ตี ้อง - ภาพวาด - การสงั เกต - การสนทนา/ 6 ตชว. 2 มาทำความด ี 1. การรกั ษา รักษาความสะอาด - ใบงาน/แบบฝึก - การสอบถาม ซกั ถาม กนั เถอะ ความสะอาด และมจี ิตบำเพ็ญ - เลา่ เร่ือง - การตรวจ - การบรรยาย/ 2. การบำเพ็ญ ประโยชน์ ผลงาน อธิบาย ประโยชนต์ อ่ มสั ญดิ - การวาดภาพ สถานที่ละหมาด กุบูรฺ ระบายสี โรงเรียน - การขับร้อง - การพฒั นา อะนาชดี 43 และการทำ - การศึกษา ความสะอาด นอกสถานท่ี - การบริจาค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook