Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มุศเฏาะละหฺอัลหะดีษ โดย ผศ. ดร. อับดุลเลาะ การีนา

มุศเฏาะละหฺอัลหะดีษ โดย ผศ. ดร. อับดุลเลาะ การีนา

Published by Ismail Rao, 2021-01-22 16:17:09

Description: มุศเฏาะละหฺอัลหะดีษ
โดย ผศ. ดร. อับดุลเลาะ การีนา

https://drive.google.com/file/d/1d2cezUFpkyssBWiJx43KgylE1IwQSjdk/view?usp=sharing

Search

Read the Text Version

โครงการแปลและเรยี บเรยี งตาํ ราอสิ ลาม วทิ ยาลยั อสิ ลามศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร วทิ ยาเขตปต ตานี มุศเฏาะละหฺ อลั หะดีษ โดย ดร.อบั ดลุ เลาะ การนี า ภาควชิ าอสิ ลามศกึ ษา วทิ ยาลยั อสิ ลามศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร วทิ ยาเขตปต ตานี 2549



ISBN 974-9944-75-5 มุศเฏาะละหฺ อลั หะดษี พมิ พค ร้งั ที่ 1 จํานวน 300 เลม พ.ศ. 2549 วิทยาลยั อสิ ลามศึกษา ภาควชิ าอสิ ลามศกึ ษา วทิ ยาลยั อสิ ลามศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร วทิ ยาเขตปต ตานี

sa i กติ ตกิ รรมประกาศ (( ‫)) ﻭﻣﺎ ﺗﻮﻓﻴﻘﻲ ﺇ ﹼﻻ ﺑﺎﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﺗﻮﻛﻠ ُﺖ ﻭﺇﻟﻴﻪ ﺃﻧﻴﺐ‬ ‫ ﺍﳊﻤﺪ ﷲ ﺑﻨﻌﻤﺘﻪ ﺗﺘﻢ ﺍﻟﺼﺎﳊﺎﺕ‬ชุกรู ตออัลลอฮฺ  ทไ่ี ดทรงใหเตา ฟคฺและฮิดายะฮฺแกผูแตงจนสามารถเรียบเรียงหนังสือเลมน้ีเสร็จสิ้นอยาง สมบรู ณ ขอแสดงความขอบคุณเปนอยางสูงแกภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ท่ี รับหนังสือเลมนี้ไวใหเปนสวนหน่ึงของโครงการแปลและเรียบเรียงตํารา ของวทิ ยาลยั ฯ ขอขอบคุณ น.ส. คอดีญะห วิง ที่ไดทําหนาท่ีพิมพตนฉบับเปนอยาง ดมี าตลอดและไดท าํ หนา ท่ีตรวจทานอกี ดวย ขอขอบคุณอ.ดร.มะรอนิง สะแลมิง อ.ฮามีดะฮฺ อาแด และอ.อัสมัน แตอาลี ท่ีไดเสียสละท้ังเวลาและความคิดตรวจทานใหขอเสนอแนะและ เพิม่ เตมิ สวนท่เี กย่ี วของเพื่อความสมบูรณข องหนังสอื เลม น้ี สุดทายนี้ขอขอบคุณผูที่มีสวนเก่ียวของ ทั้งท่ีเอยนามและไมเอยนาม ทช่ี ว ยเหลือใหหนังสือเลม นีส้ าํ เรจ็ ลลุ วงไปดวยดี ‫ﺟﺰﺍﻫﻢ ﺍﷲ ﻋﲏ ﻭﻋﻦ ﲨﻴﻊ ﺍﳌﺴﻠﻤﲔ ﺧﲑ ﺍﳉﺰﺍﺀ‬ ขอวิงวอนตออัลลอฮฺ  พระผูเปนเจาใหดลบรรดาลเราะหฺมัต บะเราะกัต นิอฺมัตและบุญกุศลของพวกเขาจะเปนที่ประจักษในวันกิยามัต ดวยเถดิ ‫ﻭﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻰ ﻧﺒﻴﻨﺎ ﺍﳌﺼﻄﻔﻰ ﳏﻤﺪ ﻭﻋﻠﻰ ﺁﻟﻪ ﻭﺻﺤﺒﻪ‬

sa ii คํานาํ ‫ ﻭﻧﻌﻮﺫ ﺑﺎﷲ‬،‫ﺇﻥ ﺍﳊﻤﺪ ﷲ ﳓﻤﺪﻩ ﻭﻧﺴﺘﻌﻴﻨﻪ ﻭﻧﺴﺘﻬﺪﻳﻪ ﻭﻧﺴﺘﻐﻔﺮﻩ ﻭﻧﺘﻮﺏ ﺇﻟﻴﻪ‬ ‫ ﻣﻦ ﻳﻬﺪ ﺍﷲ ﻓﻼ ﻣﻀﻞ ﻟﻪ ﻭﻣﻦ‬،‫ﻣﻦ ﺷﺮﻭﺭ ﺃﻧﻔﺴﻨﺎ ﻭﻣﻦ ﺳﻴﺌﺎﺕ ﺃﻋﻤﺎﻟﻨﺎ‬ ‫ ﻭﺃﺷﻬﺪ ﺃﻥ ﻻ ﺇﻟﻪ ﺇ ﹼﻻ ﺍﷲ ﻭﺣﺪﻩ ﻻ ﺷﺮﻳﻚ ﻟﻪ ﻭﺃﺷﻬﺪ‬،‫ﻳﻀﻠﻞ ﻓﻼ ﻫﺎﺩﻱ ﻟﻪ‬ ‫ ﺍﻟﻠﻬﻢ ﺻﻞ ﻭﺳﻠﻢ ﻋﻠﻰ ﳏﻤﺪ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬،‫ﺃﻥ ﳏﻤﺪﹰﺍ ﻋﺒﺪﻩ ﻭﺭﺳﻮﻟﻪ‬ :‫ ﺃﻣﺎ ﺑﻌﺪ‬،‫ﻭﻋﻠﻰ ﺁﻟﻪ ﻭﺻﺤﺒﻪ ﺃﲨﻌﲔ‬ หนังสือเลมน้ีไดรวบรวมหัวขอตาง ๆ สอดคลองกับเน้ือหาวิชามุศ เฏาะละหฺ อัล หะดษี ท่ีควรคาแกการศกึ ษา โดยไดยึดหลักการศึกษาของอุ ละมาอฺผูเช่ียวชาญเฉพาะทาง ดานหะดีษทั้งอุละมาอฺมุตะกอดดิมูนและอุ ละมาอฺมุตะอัคคิรูน และอุละมาอฺรวมสมัย เน้ือหาของหนังสือเลมน้ี ประกอบดวยแปดบท คือ บทที่หนึ่งกลาวถึงหนาที่ที่มีตอหะดีษและการนํา หะดีษมาใชเปนหลักฐาน บทที่สองกลาวถึงถึงวิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ บทท่ีสามกลาวถึงความหมายของหะดีษและคําท่ีมีความหมายเหมือนกับ หะดีษ บทที่สี่กลาวถึงหะดีษในฐานะเปนแหลงท่ีมาของบทบัญญัติอิสลาม บททห่ี ากลา วถงึ สะนัดและมะตนั บททหี่ กกลาวถึงการจาํ แนกประเภทของ หะดีษ บทที่เจ็ดกลาวถึงชนิดตาง ๆ ของหะดีษ และบทที่แปดกลาวถึงการ ยอมรบั หะดษี

sa iii ขอวิงวอนตอ อลั ลอฮฺ  ผูท รงดลบรรดาลความรูดวยพระประสงค ของพระองคใหหนังสือเลมน้ีอํานวยประโยชนแกทุกทานท่ีไดศึกษา หากมี คําผิดพลาดและบกพรองประการใดผูแตงขออภัยมา ณ ท่ีนี้ดวยและขอ รับผิดชอบเพียงผเู ดยี ว ‫ﻭﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻰ ﻧﺒﻴﻨﺎ ﻭﺣﺒﻴﺒﻨﺎ ﳏﻤﺪ ﻭﻋﻠﻰ ﺁﻟﻪ ﻭﺻﺤﺒﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬ อับดุลเลาะ การนี า 7 มกราคม 2549

sa สารบญั iv เนอ้ื หา หนา กิตตกิ รรมประกาศ (3) คาํ นาํ (4) บทท่ี 1 บทนํา 1 บทที่ 2 วิชามุศเฏาะละหฺ อลั หะดษี 5 บทท่ี 3 หะดษี และคาํ ทมี่ คี วามหมายเหมือนหะดษี 10-17 11 3.1 ความหมายของหะดีษ 13 3.2 ความหมายของอัสสนุ นะฮฺ 15 3.3 ความหมายของเคาะบัร 16-17 3.4 ความหมายของอะษรั 18-27 บทท่ี 4 หะดษี ในฐานะเปน แหลงทมี่ าของบทบัญญัติอสิ ลาม 18 4.1 ความเปนจรงิ ของหะดีษ 19 4.2 ฐานะของหะดีษ 20 4.3 การยึดมนั่ ในหะดษี 23-27 4.4 การรายงานหะดีษ 28-41 บทท่ี 5 สะนดั และมะตนั 29 5.1 นิยามของสะนดั 30 5.2 ความประเสรฐิ ของสะนัด 31 5.3 รนุ ของผรู ายงาน 32 5.4 ประเภทของสะนดั 33 5.5 นิยามของมะตนั 34 5.6 ลกั ษณะของมะตัน

sa v บทที่ 6 การจําแนกหะดษี โดยพิจารณาผทู ่ถี กู พาดพงิ 42-56 6.1 หะดีษกดุ สยี  6.2 หะดีษมัรฟอู ฺ 43 6.3 หะดีษเมากูฟ 44 6.4 หะดีษมกั ฏอ ฺ 49 54 บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพจิ ารณาทม่ี าถึงเรา 57-151 7.1 หะดีษมตุ ะวาตริ 7.2 หะดษี อาหาด 59 65 7.2.1 หะดษี มชั ฮรู 66 7.2.2 หะดษี อะซซี 68 7.2.3 หะดษี เฆาะรบี 70 7.3 หะดีษมกั บลู 75 7.3.1 หะดษี เศาะหหี ลฺ ซิ าตฮิ ฺ 76 7.3.2 หะดษี เศาะหหี ลฺ ิฆัอยริฮฺ 80 7.3.3 หะดษี หะสันลิซาติฮฺ 83 7.3.4 หะดษี หะสนั ลฆิ อั ยรฮิ ฺ 85 7.3.5 หะดษี มะอฺรูฟ 88 7.3.6 หะดษี มะหฺฟศู 89 7.4 หะดษี มรั ดดู 91 7.4.1 หะดษี เฎาะอฟี 92 97 1) หะดษี มอุ ลั ลกั้ 100 2) หะดษี มรุ สัลตาบอิ นี 102 3) หะดษี มรุ สลั เศาะหาบีย 104 4) หะดีษมรุ สลั เคาะฟย  106 5) หะดษี มอุ ฎฺ อล 108 6) หะดษี มนุ เกาะฏิอฺ

sa 7) หะดีษมดุ ลั ลสั้ vi 8) หะดีษมอุ ลั ลล้ั บทที่ 8 บทสง ทาย 9) หะดีษมดุ รอจญ 108 บรรณานุกรม 10) หะดษี มกั ลบู 113 11) หะดษี มตุ เฏาะรอ บ 116 12) หะดีษชา ซ 121 13) หะดีษมุเศาะหหฺ ฟั 124 14) หะดษี มหุ ัรรอ ฟ 127 7.4.2 หะดษี ฎออฟี ญดิ ดนั 131 1) หะดีษมนุ กรั 133 2) หะดีษมตั รูก 135 7.4.3 หะดษี เมาฎอ ฺ 138 1) หะดีษเมาฎอ ฺ 140 2) อิสรออลี ิยา ต 140 142 151 154 157

บทที่ 1 บทนาํ 1 บทท่ี 1 บทนาํ อลั ลอฮฺ  ทรงตรัสไวใ นอัลกุรอานวา : ‫ ﻓﻼ ﻭﺭﺑﻚ ﻻ ﻳﺆﻣﻨﻮﻥ ﺣﱴ ﳛﻜﻤﻮﻙ ﻓﻴﻤﺎ ﺷﺠﺮ ﺑﻴﻨﻬﻢ ﰒ ﻻ ﳚﺪﻭﺍ‬  ‫ﰲ ﺃﻧﻔﺴﻬﻢ ﺣﺮﺟﹰﺎ ﳑﺎ ﻗﻀﻴ َﺖ ﻭﻳﺴﻠﻤﻮﺍ ﺗﺴﻠﻴﻤﹰﺎ‬ ความวา : “มิใชเชนน้ันดอก ขาขอสาบานดวยพระเจาของเจาวา เขาเหลาน้ันจะ ยังไมศรัทธา (ตออัลลอฮฺ) จนกวาพวกเขาจะใหเจาตัดสินในสิ่งที่ขัดแยง กันระหวางพวกเขา แลวพวกเขาไมพบความคับใจใด ๆ ในจิตใจของ พวกเขาจากส่งิ ท่ีเจาไดตดั สินไป และพวกเขายอมจํานนดว ยดี”(1) มีรายงานจากญาบิร เบญ็ อับดุลเลาะ  กลา ววา รสลู ลุ ลอฮฺ  ไดกลา ววา ‫ ﻓﺈﻥ ﺃﺻﺪﻕ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﷲ ﻭﺃﻥ ﺃﻓﻀﻞ ﺍﳍﺪﻱ ﻫﺪﻱ‬،‫))ﺃﻣﺎ ﺑﻌﺪ‬ (( ‫ ﻓﺈﻥ ﳏﺪﺛﺔ ﺑﺪﻋﺔ‬،‫ ﻭﺷﺮ ﺍﻷﻣﻮﺭ ﳏﺪﺛﺎﺗﻬﺎ‬،‫ﳏﻤﺪ‬ ความวา : “อัมมา บะอฺดุ! แทจริงคําพูดที่สัจจะนั้นคือกิตาบอัลลอฮฺ (อัลกุรอาน) และ แนวทางอนั ประเสรฐิ ยง่ิ คือ แนวทางของทานนบมี ุฮมั มัด  และส่ิงท่ีเลวที่สุด (1) ซูเราะฮอฺ ันนิสาอฺ อายะฮฺที่ 65

บทท่ี 1 บทนาํ 2 คือ สิ่งอุปโลกนท้ังหลาย เน่ืองจากแทจริงสิ่งอุปโลกนน้ันลวนเปนสิ่งอุตริ ทง้ั ส้ิน”(2) มกี ระแสรายงานทานนบีมฮุ ัมมดั  กลา ววา \"‫ ﻓﺈﻥ ﺧﲑ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﷲ ﻭﺧﲑ ﺍﳍﺪﻱ ﻫﺪﻯ ﳏﻤﺪ‬،‫\" ﺃﻣﺎ ﺑﻌﺪ‬ ความวา :“อัมมา บะอฺดฺ ! แทจริงคําพูดที่เลิศท่ีสุด คือ กิ ตาบอัลลอฮฺ  (อัลกุรอาน) และแนวทางท่ีดีท่ีสุด คือ แนวทางของ ทา นนบีมุฮัมมัด ”(3) หะดีษเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม ซ่ึงศาสนาของอัลลอฮฺ  จะไม สมบูรณและจะไมครอบคลุมเน้ือหาตาง ๆ ท่ีเก่ียวของหากปราศจากหะดีษ ดังน้ันหะ ดีษของทานนบี  จึงมีความสัมพันธกันอยางใกลชิดกับอัลกุรอานโดยไมสามารถแยก ออกจากกันได ความรูเก่ียวกับเร่ืองน้ีทั้งหมดไดมีการกลาวถึงในอัลกุรอานมากมาย การกลาวน้ันเปนทั้งประโยคบอกเลาในรูปของคําสั่งใหเช่ือฟง ปฏิบัติตาม ตลอดจน การยึดมน่ั ในหะดษี พรอมกบั นาํ มาใชเ ปนหลักฐาน และในรูปของการหา มไมใหปฏิบัติ ขัดแยงกันในทุก ๆ ดานที่เก่ียวของกับการดํารงชีวิตของปวงบาวท้ังหลาย ซึ่งการ ยอมรับหะดีษในลักษณะเชนน้ีเปนการยอมรับของบรรดาอุละมาอฺมุสลิมอยางเปนเอก ฉันท ดังนั้น หนาที่สวนหนึ่งของมุสลิมที่มีตอหะดีษหรืออัสสุนนะฮฺก็คือ การอีมานและ การปฏบิ ัติตามนัน่ เอง อุละมาอฺอะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัลญะมาอะฮฺตางก็ยอมรับวา หะดีษอันประเสริฐนั้น จะตองมีการฟงและการรับ หรืออีกแงมุมหนึ่งจะตองรายงานใหผูอ่ืนทราบอยางท่ัวถึง พรอ มกบั เรยี นรคู วามหมายของหะดีษอยางถองแทและถูกตอง วิเคราะหสถานภาพของ ผูรายงานหะดีษแตละบท อิมามอลั เคาะฏบี อลั บัฆดาดียกลา ววา “หะดษี ทุกบทที่มีการ (2) เปนสวนหน่ึงของหะดีษบนั ทึกโดยอะหฺมดั : 3/31, 319, 371, 4/126-127 หะดีษเศาะหีหฺ (3) เปนสวนหน่ึงของหะดีษบันทึกโดยมสุ ลมิ : 1/392

บทท่ี 1 บทนาํ 3 รายงานดวยสายรายงานท่ีติดตอกันตั้งแตผูรายงานคนแรกจนถึงทานนบีมุฮัมมัด  ใชวาจําเปนท่ีจะตองนํามาเปนหลักฐาน ยกเวนเมื่อมีการวิเคราะหคุณลักษณะของ ผูรายงานแตละคนในดานคุณธรรมและความบกพรอง มีการพิจารณาสถานภาพของ ผูรายงานทุกทานท่ีกลาวพาดพิงหะดีษถึงทานนบี  เวนแตบรรดาเศาะหาบะฮฺ เทาน้ัน เนื่องจากบรรดาเศาะหาบะฮฺเปนคนท่ีมีคุณธรรม บริสุทธ์ิใจ และนอมรับทุกสิ่ง ทุกอยางท่มี กี ารกลาวไวในอัลกรุ อาน” การปฏิบัติตามหะดีษอยางเครงครัดและการรายงานหะดีษน้ันมุสลิมมีความรูสึก วา เปน หนา ทท่ี ี่จะตอ งรบั ผดิ ชอบรว มกัน โดยเฉพาะในสภาพสงั คมมุสลมิ ทีเ่ ต็มไปดวยส่ิง บิดอะฮฺตาง ๆ ความเชื่อที่ขัดแยงกับอะกีดะฮฺอิสลาม ผิดศีลธรรมอันดีงามของมนุษย และการบดิ เบอื นหลกั คาํ สอนของศาสนาอสิ ลามที่แทจ รงิ ،‫ ﻋﻀﻮﺍ ﻋﻠﻴﻬﺎ ﺑﺎﻟﻨﻮﺍﺟﺬ‬،‫)) ﻋﻠﻴﻜﻢ ﺑﺴﻨﱵ ﻭﺳﻨﺔ ﺍﳋﻠﻔﺎﺀ ﺍﻟﺮﺍﺷﺪﻳﻦ ﺍﳌﻬﺪﻳﲔ‬ (( ‫ ﻭﻛﻞ ﺑﺪﻋﺔ ﺿﻼﻟﺔ‬،‫ ﻓﺈﻥ ﻛﻞ ﳏﺪﺛﺔ ﺑﺪﻋﺔ‬،‫ﺇﻳﺎﻛﻢ ﻭﳏﺪﺛﺎﺕ ﺍﻷﻣﻮﺭ‬ ความวา : “วาญิบสําหรับพวกเจายึดมั่นในสุนนะฮฺของฉันและ สุนนะฮฺของ บรรดาเคาะลีฟะฮฺ อัรรอชิดีนท่ีไดรับทางนํา พวกเจาจงกัดมันแนน ๆ ดวย ฟน กราม และพวกเจาจงระมดั ระวังสง่ิ ท่ีอุปโลกนขึ้นใหม เน่ืองจากบรรดาสิ่ง อุปโลกนน ้ันเปนบิดอะฮฺ และบรรดาสิง่ บิดอะฮฺนั้ คอื การหลงทาง”(1) นอกจากน้ันแลว บรรดาอุละมาอฺมุสลิมยังใหความสําคัญกับหะดีษเปนอยางสูง ตลอดระยะเวลาของพวกเขา โดยการสนับสนุนใหมีการทองจําหะดีษพรอมกับเตือน ไมใหโกหกตอทานนบี  และมักงายตอหะดีษของทาน เชน กลาวในส่ิงท่ีทานนบี  ไมไดกลาวไว หรือกลาวพาดพิงถึงส่ิงที่ไมสมควรแกทาน ไมวาที่เก่ียวของกับคําพูด การกระทํา การยอมรับและอ่ืน ๆ เพราะการโกหกตอหะดีษไมใชธรรมชาติของผู ยอมรับตัวเองวาเปนผูศรัทธาตออัลลอฮฺ  และทานนบี  แตเปนการกระทําของผู ไรซง่ึ การศรัทธาอยา งแทจรงิ และไรจ ิตสํานกึ ท่ฝี ง ลกึ ในหัวใจท่ีเปยมดวยวิญญาณแหงสัจ ธรรม (1) เปน สวนหน่งึ ของหะดษี บนั ทึกโดยอะบูดาวูด : 5/13 หะดีษเศาะหหี ฺ

บทที่ 1 บทนาํ 4 การทุมเทความพยายามกับหะดีษถือวาเปนเร่ืองท่ีดีเลิศในบรรดาวิชาการ อิสลาม อันเน่ืองจากวาหะดีษน้ันเปนแหลงท่ีมาในการบัญญัติหุกมตาง ๆ ของ กฏหมายอิสลาม อิมามอันนะวะวียกลาววา “สิ่งที่สําคัญบางอยางเกี่ยวกับวิชาการ คือ การยืนยันในหะดีษของทา นนบี  ทุกบท กลาวคือ พิสูจนมะตัน (ตัวบท) หะดีษวา เปนตัวบทท่ีเศาะหีหฺหะซัน หรือเฎาะอีฟ” เปนตน เพราะหะดีษทุกบทที่มาถึงเราโดย ผานสายรายงานนั้นมิใชวาทั้งหมดถูกตอง แตมีทั้งหะดีษเศาะหีหฺ หะดีษหะซัน หะดีษ เฎาะอฟี หะดษี เมาฎอ ฺและเรือ่ งราวของอิสรออลี ยิ าต จากขอเท็จจริงพบวา บรรดาอุละมาอฺมุสลิมไดพยายามวิเคราะหสถานภาพของ ผูรายงานหะดีษท้ังในดานคุณธรรมและดานความบกพรอง ซ่ึงพวกเขาก็ไดอธิบายไว ถึงบุคคลที่สามารถยอมรับการรายงานและผูท่ีไมควรใหการยอมรับ บางทานเปนผูท่ี เช่ือถือไดและบางทานไมใชเชนน้ัน ดวยเหตุดังกลาว บรรดาอุละมาอฺไดคิดคน หลักการทางวิชาการและวางกฎเกณฑอยางละเอียดเพ่ือเปนเคร่ืองมือในการจําแนก แยกแยะประเภทของหะดษี และเพือ่ ใชในการวิเคราะหชนิดตาง ๆ ของหะดีษ ตลอดจน สถานะของหะดีษแตละชนิดดวย รวมทั้งเร่ืองอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของกับ หะดีษอีก มากมาย หลักฐานชิ้นสําคัญท่ีทําใหบรรดาอุละมาอฺมุสลิมพิถีพิถันในเร่ืองหะดีษ คือ การ รายงานของอิมามอัชชาฟอียในหนังสือ “อัลริสาละฮฺ” ทานกลาววา “แทจริงอุมัร เบ็ญ อัลคอฎฎอบไดตัดสินในเรื่องของการตัดน้ิวน้ันสมควรแกการจายอูฐสิบหาตัว เม่ืออุมัร ไดอานคําบันทึกของอะบูอาลิอัมรฺ เบ็ญ หัซมฺ ที่ไดบันทึกการปฏิบัติของรสูลุลลอฮฺ  ในเรื่องดงั กลา ว ความวา : “และทุกๆ นิ้วท่ีเสียนั้น คือ อูฐสิบตัว” อุมัรกลาววา : “พวก เจาทั้งหลายอยาไดใหการยอมรับคําบันทึกของอะบูอาลิอัมรฺ เบ็ญ หัซมฺ อัลลอฮฺ  เทาน้ันที่ทรงรูความจริงจนกวาพวกเขาสามารถยืนยันส่ิงน้ันวามาจากรสูลุลลอฮฺ  จรงิ ” อิมามอัชชาฟอียกลาวอีกวา “จากหะดีษแสดงใหเห็นสองประการท่ีสําคัญคือ การยอมรับหะดีษที่มาจากการรายงานของบุคคลเพียงคนเดียว หรือท่ีเรียกวา อาหาด และการยอมรับหะดีษเม่ือมีการพิสูจนความจริงของมันแลว ถึงแมวาเนื้อหาของหะดีษ นนั้ ยังไมมีใครคนหน่ึงคนใดใหการยอมรับก็ตาม หากมีการปฏิบัติของนักวิชาการแตมัน

บทท่ี 1 บทนาํ 5 ขัดแยงกับหะดีษ แนนอนการปฏิบัติน้ันถือเปนโมฆะโดยปริยายดวยบทบัญญัติของหะ ดษี ซึง่ มอี ยใู นเนอื้ หาของมนั อยูแลว ” อิบนุ อัลกอยยิมกลาววา “หะดีษที่มาจากรสูลุลลอฮฺ  ดวยวิธีการรายงาน อยางถูกตองและไมมีหะดีษอ่ืนมายืนยันวาเปนหะดีษมันสูค (ถูกยกเลิกไปแลว) จําเปน จะตองใหการยอมรับและปฏิบัติตามหะดีษนั้น โดยไมจําเปนตองคํานึงถึงสิ่งท่ีขัดแยง กับหะดีษวามาจากไหนและเปนของใคร” อิมามอัลบุคอรียและอิมามมุสลิมไดรายงาน หะดีษบทหน่ึงมาจากมุอาซ เบ็ญ ญะบัลเลาวา ฉันเดินตามหลังทานนบี  ทานกลาว วา .‫ ﻭﻣﺎ ﺣﻖ ﺍﻟﻌﺒﺎﺩ ﻋﻠﻰ ﺍﷲ؟‬،‫)) ﻳﺎ ﻣﻌﺎﺫ! ﻫﻞ ﺗﺪﺭﻱ ﻣﺎ ﺣﻖ ﺍﷲ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﻌﺒﺎﺩ‬ ‫ ﻓﺈﻥ ﺣﻖ ﺍﷲ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﻌﺒﺎﺩ ﺃﻥ ﻳﻌﺒﺪﻭﻩ ﻭﻻ‬: ‫ ﻗﺎﻝ‬.‫ ﺍﷲ ﻭﺭﺳﻮﻟﻪ ﺃﻋﻠﻢ‬: ‫ﻗﻠﺖ‬ ‫ ﻭﺣﻖ ﺍﻟﻌﺒﺎﺩ ﻋﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﺰﻭﺟﻞ ﺃﻥ ﻻ ﻳﻌﺬﺏ ﻣﻦ ﻻ ﻳﺸﺮﻙ‬،‫ﺗﺸﺮﻛﻮﺍ ﺑﻪ ﺷﻴﺌﺎ‬ ‫ ﻻ‬: ‫ ﺃﻓﻼ ﺃﺑﺸﺮ ﺑﻪ ﺍﻟﻨﺎﺱ؟ ﻗﺎﻝ‬،‫ ﻳﺎ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬: ‫ ﻗﻠ ُﺖ‬: ‫ ﻗﺎﻝ‬،‫ﺑﻪ ﺷﻴﺌﹰﺎ‬ ((‫ﺗﺒﺸﺮﻫﻢ ﻓﻴﺘﻜﻞ‬ ความวา : “โอมุอาซ! เจารูไหม อะไรคือสิทธิของอัลลอฮฺตอบาวของ พระองคและอะไร คือ สิทธิของบาวตออัลลอฮฺ? ฉันตอบวา อัลลอฮฺและร สูลเทานั้นที่รูดีย่ิง ทานนบี กลาววา “สิทธิของอัลลอฮฺจากบาวคือ การ ทําอิบาดะหของบาวตอพระองคและไมตั้งภาคีกับสิ่งอื่นใด สวนสิทธิของ บาวจากพระองคคือ ไมลงโทษผูไมตั้งภาคีตอพระองคแมแตนิดเดียว” ฉันตอบวา โอรสูลุลลออฮฺ! ฉันจะบอกใหกับมนุษยท้ังหลายเพ่ือใหพวกเขา ช่ืนใจไดหรือไม? ทานนบีตอบวา “เจาอยาไดบอก เพราะจะทําใหพวกเขา ไดใ จ”(1) (1) บันทึกโดยบุคอรีย : 4/430 และมุสลิม หนา 49

บทท่ี 1 บทนาํ 6 ถึงอยางไรก็ตาม หะดีษทุกบทนาจะมีการวิเคราะหดวยความกระจางระหวาง หะดีษเศาะหีหฺ หะดีษหะซัน หะดีษเฎาะอีฟ และหะดีษเมาฎอฺ เน่ืองจากหะดีษ คือ สัจจะอันแทจริงมิใชส่ิงท่ีงมงาย หมายความถึง หะดีษเศาะหีหฺไมใชหะดีษเมาฎอฺ ซึ่ง ดวยวิธีเชนน้ีเทานั้นบรรดามุสลิมจะสามารถปฏิบัติในเรื่องตาง ๆ ของศาสนาดวยความ ถูกตองและปราศจากขอ ครหาตาง ๆ ตอบทบญั ญัติของอัลลอฮฺ  และคําสอนของรสู ลลุ ลอฮฺ  ซง่ึ เปน การปฏิบตั ิตามแนวทางอนั เทยี่ งตรง

7บทที่ 2 วชิ ามศุ เฏาะละหฺ อลั หะดษี บทที่ 2 วิชามุศเฏาะละหฺ อลั หะดษี 1. นยิ าม วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ คือ วิชาที่วาดวยหลักการและกฏเกณฑตาง ๆ ท่ีสามารถทราบถึงสถานภาพของสะนัด (กระบวนการรายงาน) และมะตัน (ตัวบทหะดีษ) ในแงของการยอมรับและการปฏเิ สธหะดษี จากนิยามขางตนเปนที่ประจักษวาการใหการยอมรับหะดีษแตละบทน้ัน จําเปนท่ีจะตองผานการวิเคราะหทั้งกระบวนการรายงานและสภาพของตัวบท หะดีษอยางละเอียดกอนท่ีจะใหการยอมรับหะดีษ และนําหะดีษนั้น ๆ มาใชเปน หลกั ฐาน 2. เร่อื งท่ีพูดถึง วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษจะพูดถึงเร่ืองราวสองประการ คือ ที่เกี่ยวของ กบั สายรายงานและตัวบทหะดีษในแงของการยอมรับนํามาใชเปนหลักฐาน และ บางทัศนะมีความเห็นวา เปนวิชาที่พูดถึงรสูลุลลอฮฺ  โดยตรงในแงที่วาทาน เปนศาสนทูตของอัลลอฮฺ  ซึ่งเปนแบบ อยางในทุก ๆ ดานในการดําเนินชีวิต ของประชาชาติ 3. วตั ถุประสงค 1. เพ่ือแยกแยะระหวางหะดีษที่มีการรายงานอยางถูกตองกับหะดีษท่ีมี การรายงานดวยสายรายงานท่ีออ นหรืออุปโลกนต อ ทา นนบมี ฮุ มั มดั 

8บทที่ 2 วชิ ามุศเฏาะละหฺ อัลหะดษี 2. เพ่อื สามารถทราบที่มาของบทบัญญตั ิตางๆที่เกี่ยวกบั กฎหมายอิสลาม เปน ตน 4. ผลทีค่ าดวาจะไดร ับ 1. สามารถทราบถึงระดับของหะดีษแตละบท เชน ระดบั หะดษี เศาะหหี ฺ หะดษี หะสนั หะดีษเฎาะอฟี หะดีษเฎาะอฟี ญิดดัน หรอื หะดษี เมาฎอฺ 2. สามารถทราบถึงประเภทตา งๆ ของหะดีษนบี เชน หะดีษกดุ ซีย หะดษี มัรฟูอฺ หะดษี เมากฟู และหะดษี มักฏอฺ 3. สามารถทราบถึงสถานะของหะดษี ทสี่ ามารถนาํ มาใชเ ปนหลกั ฐานได หรอื ไมได ซงึ่ จะทาํ ใหก ารปฏบิ ัติศาสนกจิ เปนไปอยา งถูกตอง 5. ศพั ทเ ฉพาะ สําหรับวิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษจะพบศัพทมากมายท่ีถูกนํามาใช บอยครั้งในทางปฏิบัติและเปนท่ีทราบกันอยางแพรหลายในหมูนักวิชาการ หะดษี คําเหลานนั้ คือ 1. อัลมุสนัด (‫ )ﺍﳌﺴَﻨﺪ‬ตัวอกั ษร “‫ ”ن‬อานสระขางบนซึง่ มี 2 ความหมาย ความหมายท่ี 1 หมายถึง หะดษี ทม่ี ีการรายงานดว ยสะนัดติดตอกัน ตง้ั แตผ ูรายงานคนแรกจนถงึ คนสดุ ทาย เชน หะดษี มัรฟูอฺ หะดีษเมากูฟและหะ ดีษมกั ฏอ ฺแตอิมามอัลหากิมมคี วามเห็นทีต่ า งกันซงึ่ ทา นกลา ววา “คําน้อี นุญาต ใหใ ชก ับหะดษี มัรฟอู ฺทีม่ กี ารรายงานดวยสะนดั ทต่ี ดิ ตอ กนั เทานั้น” ทัศนะนี้ไดร บั การสนบั สนุนจากอัลหาฟศ อิบนุ หะญัร อลั อัสเกาะลานยี ใ น หนังสอื ชรั หฺ อนั นุคบะฮฺ ความหมายท่ี 2 หมายถงึ หนงั สือที่รวบรวมคาํ พูด การกระทาํ และการ ยอมรบั ของบรรดาเศาะหาบะฮฺ

9บทที่ 2 วชิ ามศุ เฏาะละหฺ อลั หะดีษ 2. อลั มสุ นิด (‫ )ﺍﳌﺴِﻨﺪ‬ตวั อักษร “‫ ”ن‬อานดว ยสระขา งลา ง หมายถงึ ผูรายงาน หะดษี ดว ยสายรายงานของเขาเอง ไมว าเขาจะมคี วามรูเ ก่ยี วกับ หะดษี หรอื ไมกต็ าม 3. อัลมหุ ดั ดิษ (‫ )ﺍﶈﺪﺙ‬แปลวา นักหะดีษ หมายถึงผูเ ชี่ยวชาญในเร่อื งของ วธิ ีการยนื ยันหะดีษ มีความรูเ ก่ียวกับสถานภาพของผูร ายงานแตละคนทัง้ ทางดา นคุณธรรมและความบกพรอ งไมใ ชแ คฟงหะดีษเพียงอยา งเดียวเทา นนั้ อมิ ามอบิ นุ ซัยยดิ ินนาส กลา ววา “นกั หะดษี ในสมยั ของเราจะมีความสามารถ คอื เปนผูรายงานและอธิบายหะดษี รวบรวมชวี ประวัตขิ องนักรายงานหะดีษ สามารถพจิ ารณาการรายงานหะดีษของนักหะดษี รวมสมยั สามารถแยกประเภท และชนิดของหะดษี และเปน ผทู ี่รูกันอยางแพรห ลายในสังคมมุสลิมวา เปนผูทมี่ ี ความศรทั ธาทหี่ นักแนน ” 4. อัลหาฟศ (‫ )ﺍﳊﺎﻓﻆ‬หมายถึง ผูท ่ีมีความรใู นเรื่องรนุ ตา งๆ ของนกั หะดีษมากกวา ที่ไมรู อัลกอฎีย มุฮัมมัด อัตตะฮานะวีย มีความเห็นวา “ผูที่ทองหะดีษตั้งแต 100,000 ข้ึนไป หะดีษท้ังสะนัดและมะตัน มีความรูเก่ียวกับประวัติของนักหะดีษ และสถานภาพของพวกเขา ทง้ั ทางดานคุณธรรมและความบกพรอ ง” อัลหุจญะฮ (‫ )ﺍﳊﺠﺔ‬หมายถึง ผูท่ีทองหะดีษตั้งแต 300,000 หะดีษขึ้นไป ทั้งตัวบทและสายรายงาน 1. อัลหากิม (‫ )ﺍﳊﺎﻛﻢ‬หมายถงึ ผทู ีท่ อ งหะดษี ตง้ั แต 1,000,000 หะดีษ (ทัง้ ตัวบท และสายรายงาน 2. อัลรอวีย (‫ )ﺍﻟﺮﺍﻭﻱ‬หมายถึง ผรู ายงานหะดษี ดวยสายรายงานของเขา เอง

10บทที่ 2 วิชามศุ เฏาะละหฺ อลั หะดษี 3. อัลฏอลิบ (‫ )ﺍﻟﻄﺎﻟﺐ‬หมายถึง ผูท ี่เรียนหะดษี ดว ยความประสงคเพื่อ เขา ใจ ความหมายของหะดีษ ในความจริงแลว คําน้ีไมไดใชเฉพาะบุคคลท่ีเรียนวิชา หะดีษเทานั้น แตยังสามารถใชกับผูที่เรียนวิชาอ่ืน ๆ ดวย เชน ผูเรียนวิชา เตาหีด วชิ าฟกฮแฺ ละวชิ าอคั ลาก เปนตน 6. ประวัตคิ วามเปน มา เปนที่ยอมรับในหมูนักวิชาการอิสลามวา วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษยัง ไมมีการบันทึกเปนการเฉพาะในสามศตวรรษแรก (300 ปแหงฮิจเราะฮฺศักราช) แตวิชาน้ีถูกบันทึกไวรวมกับวิชาอื่น ๆ อาทิเชน วิชาฟกฮฺและวิชาอุศูล อัลฟกฮฺ ผูที่ทําการบันทึกเปนคนแรกคือ อิมามอัชชาฟอียซ่ึงบันทึกไวในหนังสืออัลริ สาละฮฺและหนังสืออัลอุม และอิมามมาลิกในหนังสืออัลมุวัตเฏาะอฺ ครั้นเม่ือวิชา ความรูของหะดีษไดมีการพัฒนาการขึ้น ความรูไดแตกแขนงมากมายและศัพท ตา ง ๆ เร่ิมเปนท่ีรจู ักกันอยา งแพรหลายจนสามารถใหการยอมรับในแตละแขนง วิชา อุละมาอฺก็ไดแยกวิชาตาง ๆ เหลาน้ันออกเปนรายวิชาตางหากและหน่ึงใน วิชาเหลา น้นั คือ วชิ ามุศเฏาะละหฺ อัลหะดษี อุละมาอฺทานแรกที่ไดเรียบเรียงหลักสูตรวิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษตาม ความ หมายของมัน คือ อิมามอัรรอมฮุรมุซยี  (360 ฮ.ศ.)ในศตวรรษที่ส่ี หลังจาก นั้นวิชานี้กไ็ ดรับความสนใจจากบรรดาอลุ ะมาอใฺ นแตล ะสมัยจนถึงปจจบุ ัน โดยมี การพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวของและไดมีการอธิบายอยางละเอียด จนในที่สุดวิชา น้ีไดแตกแขนงตาง ๆ มากมาย เชน วิชาตัครีจหะดีษ วิชาอิลัลหะดีษ วิชาอัลญัรฮฺวะอัตตะอฺดีล วิชาวาตุลหะดีษ วิชาอัลอัสมาอฺวัลกุนนา และอื่น ๆ แตล ะสาขาวชิ ามกี ารรวบรวมเน้ือหาทีเ่ กยี่ วของกับวิชาน้ันอยา งสมบรู ณ

‫ี‪11บทที่ 2 วิชามศุ เฏาะละหฺ อัลหะดษ‬‬ ‫‪7. ตาํ ราท่เี ก่ยี วขอ ง‬‬ ‫‪ .1‬ﻛﺘﺎﺏ ﺍﶈﺪﺙ ﺍﻟﻔﺎﺻﻞ ﺑﲔ ﺍﻟﺮﺍﻭﻱ ﻭﺍﻟﻮﺍﻋﻲ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻟﻘﺎﺿﻲ ﺃﺑﻮ ﳏﻤﺪ‬ ‫ﺍﳊﺴﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﲪﻦ ﺑﻦ ﺧ ﹼﻼﺩ ﺍﻟﺮﺍﻣﻬﺮﻣﺰ ّﻱ )ﺕ‪360‬ﻫـ(‪.‬‬ ‫‪ .2‬ﻛﺘﺎﺏ ﻣﻌﺮﻓﺔ ﻋﻠﻮﻡ ﺍﳊﺪﻳﺚ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﺑﻮ ﻋﺒﺪﺍﷲ ﺍﳊﺎﻛﻢ‬ ‫ﺍﻟﻨﻴﺴﺎﺑﻮﺭ ّﻱ )ﺕ‪405‬ﻫـ(‬ ‫‪ .3‬ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳌﺴﺘﺨﺮﺝ ﻋﻠﻰ ﻣﻌﺮﻓﺔ ﻋﻠﻮﻡ ﺍﳊﺪﻳﺚ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺃﺑﻮ ﻧﻌﻴﻢ ﺃﲪﺪ ﺑﻦ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﷲ ﺍﻷﺻﺒﻬﺎ ﹼﱐ )ﺕ‪430‬ﻫـ(‬ ‫‪ .4‬ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﻜﻔﺎﻳﺔ ﰲ ﻣﻌﺮﻓﺔ ﺍﻟﺮﻭﺍﻳﺔ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﺑﻮ ﺑﻜﺮ ﺃﲪﺪ ﺑﻦ ﻋﻠ ّﻲ ﺑﻦ‬ ‫ﺛﺎﺑﺖ ﺍﻟﺒﻐﺪﺍﺩ ّﻱ )ﺕ‪463‬ﻫـ(‬ ‫‪ .5‬ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳉﺎﻣﻊ ﻷﺧﻼﻕ ﺍﻟﺮﺍﻭﻱ ﻭﺁﺩﺍﺏ ﺍﻟﺴﺎﻣﻊ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﳋﻄﻴﺐ‬ ‫ﺍﻟﺒﻐﺪﺍﺩ ّﻱ‪.‬‬ ‫‪ .6‬ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻹﳌﺎﻉ ﺇﱃ ﻣﻌﺮﻓﺔ ﺃﺻﻮﻝ ﺍﻟﺮﻭﺍﻳﺔ ﻭﺗﻘﻴﻴﺪ ﺍﻟﺴﻤﺎﻉ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ‬ ‫ﺍﻟﻘﺎﺿﻲ ﻋﻴﺎﺽ ﺑﻦ ﻣﻮﺳﻰ ﺍﻟﻴﺤﺼ ّﱯ )ﺕ‪544‬ﻫـ(‬ ‫‪ .7‬ﻛﺘﺎﺏ ﻣﺎ ﻻ ﻳﺴﻊ ﺍﶈﺪﺙ ﺟﻬﻠﻪ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﺑﻮ ﺣﻔﺺ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻋﺒﺪ‬ ‫ﺍﻟﻤﺠﺒﺪ ﺍﳌﻴﺎﳒ ّﻲ )ﺕ‪580‬ﻫـ(‬ ‫‪ .8‬ﻛﺘﺎﺏ ﻋﻠﻮﻡ ﺍﳊﺪﻳﺚ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﺑﻮ ﻋﻤﺮﻭ ﻋﺜﻤﺎﻥ ﺑﻦ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﲪﻦ‬ ‫ﺍﻟﺸﻬﺮﺯﻭﺭ ّﻱ‪ ،‬ﺍﳌﺸﻬﻮﺭ ﺑﺎﺑﻦ ﺍﻟﺼﻼﺡ )ﺕ‪643‬ﻫـ(‬ ‫‪ .9‬ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﺘﻘﺮﻳﺐ ﻭﺍﻟﺘﻴﺴﲑ ﳌﻌﺮﻓﺔ ﺳﻨﻦ ﺍﻟﻨﺬﻳﺮ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﻔﻘﻴﻪ ﳏﻲ‬ ‫ﺍﻟﺪﻳﻦ ﳛﻲ ﺍﺑﻦ ﺷﺮﻑ ﺍﻟﻨﻮﻭ ّﻱ )‪676‬ﻫـ(‬

‫ี‪12บทที่ 2 วิชามุศเฏาะละหฺ อลั หะดษ‬‬ ‫‪ .10‬ﻛﺘﺎﺏ ﻧﻈﻢ ﺍﻟﺪﺭﺭ ﰲ ﻋﻠﻢ ﺍﻷﺛﺮ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﳊﺎﻓﻆ ﺯﻳﻦ ﺍﻟﺪﻳﻦ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﺣﻴﻢ‬ ‫ﺑﻦ ﺍﳊﺴﲔ ﺍﻟﻌﺮﺍﻗ ّﻲ )‪806‬ﻫـ(‬ ‫‪ .11‬ﻛﺘﺎﺏ ﳔﺒﺔ ﺍﻟﻔﻜﺮ ﰲ ﻣﺼﻄﻠﺢ ﺃﻫﻞ ﺍﻷﺛﺮ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﳊﺎﻓﻆ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻋﻠ ّﻲ‬ ‫ﺑﻦ ﻋﻠ ّﻲ ﺍﺑﻦ ﺣﺠﺮ ﺍﻟﻌﺴﻘﻼ ﹼﱐ )ﺕ‪825‬ﻫـ(‬ ‫‪ .12‬ﻛﺘﺎﺏ ﻓﺘﺢ ﺍﳌﻐﻴﺚ ﰲ ﺷﺮﺡ ﺃﻟﻔﻴﺔ ﺍﳊﺪﻳﺚ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻋﺒﺪ‬ ‫ﺍﻟﺮﲪﻦ ﺍﻟﺴﺨﺎﻭ ّﻱ )ﺕ‪902‬ﻫـ(‬ ‫‪ .13‬ﻛﺘﺎﺏ ﺗﺪﺭﻳﺐ ﺍﻟﺮﺍﻭﻱ ﰲ ﺷﺮﺡ ﺗﻘﺮﻳﺐ ﺍﻟﻨﻮﻭ ّﻱ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺟﻼﻝ‬ ‫ﺍﻟﺪﻳﻦ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﲪﻦ ﺍﺑﻦ ﺃﰊ ﺑﻜﺮ ﺍﻟﺴﻴﻮﻃ ّﻲ )ﺕ‪911‬ﻫـ(‬ ‫‪ .14‬ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳌﻨﻈﻮﻣﺔ ﺍﻟﺒﻴﻘﻮﻧﻴﺔ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﻋﻤﺮ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ ﺍﻟﺒﻴﻘﻮ ﹼﱐ )ﺕ‪1080‬ﻫـ(‬ ‫‪ .15‬ﻛﺘﺎﺏ ﺗﻮﺟﻴﻪ ﺍﻟﻨﻈﺮ ﺇﱃ ﺃﺻﻮﻝ ﺍﻷﺛﺮ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﻃﺎﻫﺮ ﺑﻦ ﺻﺎﱀ ﺍﳉﺰﺍﺋﺮ ّﻱ‬ ‫)ﺕ‪1320‬ﻫـ(‪.‬‬ ‫‪ .16‬ﻛﺘﺎﺏ ﻗﻮﺍﻋﺪ ﺍﻟﺘﺤﺪﻳﺚ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﲨﺎﻝ ﺍﻟﺪﻳﻦ ﺍﻟﻘﺎﲰ ّﻲ )ﺕ‪1333‬ﻫـ(‪.‬‬ ‫‪ .17‬ﻛﺘﺎﺏ ﻗﻮﺍﻋﺪ ﰲ ﻋﻠﻮﻡ ﺍﳊﺪﻳﺚ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻟﻔﻘﻴﻪ ﻇﻔﺮ ﺃﲪﺪ ﺍﻟﻌﺜﻤﺎﱐ‬ ‫ﺍﻟﺘﻬﺎﻧﻮ ّﻱ )ﺕ‪1394‬ﻫـ(‬

13บทท่ี 3 หะดษี และคําที่มีความหมายเหมือนหะดีษ บทท่ี 3 หะดษี และคําทมี่ ีความหมายเหมอื นหะดษี 1. ความหมายของหะดษี (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ‬ ตามหลกั ภาษาศาสตร คําวา “‫ ”ﺣﺪﻳﺚ‬เปนอาการนามเอกพจน แปลวาใหม พหูพจน คือ ‫ ﺃﺣﺎﺩﻳﺚ‬เหมือนกับคําวา “‫ ”ﻗﻄﻴﻊ‬แปลวาตัดขาด พหูพจน คือ ‫ ﺃﻗﺎﻃﻴﻊ‬ซ่ึงมี ความหมายตรงกนั ขา มกับคาํ วา “‫ ”ﻗﺪﱘ‬แปลวา ถาวร(1) คําวา “‫ ”ﺣﺪﻳﺚ‬ตามรากศัพทเดิมนั้นมีความหมายหลายนัยดวยกัน อาทิ เชน สิ่งใหม หรือของใหม ซึ่งตรงกันขามกับคําวา เกา(2) คําพูดท่ีกลาวออกมา มากหรือนอย แมแตคําพูดที่เปลงออกมาเฉย ๆ มีความหมายหรือไมก็ตาม การใหความหมายเชน น้ี นํามาจากคําตรสั ของอัลลอฮฺ   ‫ ﺇﻥ ﱂ ﻳﺆﻣﻨﻮﺍ ﺑﻬﺬﺍ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺃﺳـﻔﹰﺎ‬ ความวา : “หากพวกเขาไมศ รทั ธาตอหะดีษน้ีแลว แนน อนจะพบกับความ เสียใจ”(3) (1) อลั อะซีม อะบาดยี  : 1/164 (2) อัสสยุ ฏู ยี  : 1/6 (3) ซเู ราะฮอฺ ลั กะฮฺฟฺ อายะฮทฺ ่ี6

14บทที่ 3 หะดีษและคําท่ีมีความหมายเหมือนหะดีษ แตค าํ น้ี (‫ )ﺣﺪﻳﺚ‬ถกู ใชเปนการเฉพาะเจาะจงกับทานนบมี ุฮมั มดั  เทา นนั้ จะเปนคําพูด การกระทาํ การยอมรับและอ่ืน ๆ ทานอิบนมุ ัสอูด  กลาววา “‫ ﻭﺧﲑ ﺍﳍﺪﻯ ﻫﺪﻯ ﳏﻤﺪ‬،‫”ﺇﻥ ﺃﺣﺴﻦ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﻛﺘـﺎﺏ ﺍﷲ‬ แปลวา : “แทจ ริงหะดีษ (คําพดู ) ทด่ี ที ี่สุดน้ัน คอื กติ าบอลั ลอฮแฺ ละ แนวทางทป่ี ระเสริฐที่สุด คอื แนวทางของทานนบมี ุฮมั มดั ”(4) จากนิยามขางตนพอสรุปไดวา คําวา หะดีษสามารถใชอยางกวางๆ กับ คําพูดของใครก็ไดเชน หะดีษมัรฟูอฺ หะดีษเมากูฟ หะดีษมักฏอฺแมแตหะดีษ เมาฎอฺ เน่ืองจากเปนการใชในลักษณะทั่วไปไมจํากัดความหมายเจาะจงกับใคร คนหนง่ึ คนใดเทานนั้ อิมามอัตฏีบีย กลาววา “หะดีษ ตามหลักภาษาน้ันมีความหมาย ครอบคลุมมากกวาท่ีจะใชเฉพาะเจาะจงกับคําพูดของทานนบี หรือคําพูดของ เศาะหาบะฮฺ หรือคําพูดของ ตาบิอีนเทาน้ัน แตรวมถึงการกระทําและการ ยอมรับของพวกเขาเหลา น้ันดว ย(1) ตามหลักวชิ าการ การนิยามความหมายของหะดีษตามหลักวิชาการพบวา มีหลายทัศนะท่ี ตางกนั พอสรุปไดดังนี้ (4) บันทึกโดยมุสลิม : 1/189 (1) อตั เฏาะหานะวยี  หนา 24

15บทท่ี 3 หะดีษและคาํ ที่มีความหมายเหมือนหะดีษ 1. อุละมาอฺหะดีษไดนิยามวา ทุกสิ่งทุกอยางที่พาดพิงถึงทานนบีมุฮัมมัด  ไมวาจะเปนคําพูด การกระทํา การยอมรับ คุณลักษณะตลอดจนชีวประวัติ ของทา น ทงั้ กอ นไดรับการแตง ตง้ั เปน นบีหรือหลงั จากการเปนนบี(2) ความหมายหะดีษเชนนี้ก็เหมือนกับความหมายของอัสสุนนะฮฺตาม ความเหน็ ของอลุ ะมาอหฺ ะดษี สวนใหญ 2. อิมามอันนะวะวีย กลาววา “หะดีษ คือ ทุก ๆ ปรากฏการณท่ีสามารถ พาดพิงถึงทานนบีมุฮัมมัด  แมวาทานไดปฏิบัติเพียงคร้ังเดียวเทานั้นตลอด ชีวติ หรือถกู บนั ทึกไวโดยบุคคลเพียงคนเดยี วก็ตาม”(3) ตามทัศนะของอมิ ามอันนะวะวยี  การทีจ่ ะเรียกวาอัลหะดีษน้ันไมเฉพาะที่ เปนคําพูด การกระทําเทา นน้ั แตจะครอบคลุมทุกสิ่งทุกอยางที่มีความเก่ียวพัน กับทา นนบี  แมแตช ่ัวขณะหน่ึงเทานนั้ ก็ตาม 3. มีทัศนะอ่ืนกลาววา หะดีษ คือ คําพูดของทานนบีมุฮัมมัด  เทาน้ัน ไมวาทานจะกลาวในเหตุการณใดก็ตาม ไมรวมถึงการกระทํา การยอมรับและ อ่นื ๆ(4) ทัศนะนี้ใหความหมายตางกันกับอิมามอันนะวะวีย ซึ่งเปนการให ความหมายท่ีแคบเปนการเฉพาะ คอื คําพดู ของทานนบีมฮุ ัมมดั  เทา นน้ั จากหลาย ๆ ทัศนะขางตนพบวา ความหมายของหะดีษตามหลักวิชาการ น้ันเปนคําท่ีใชเฉพาะเจาะจงสําหรับทานนบีมุฮัมมัด  เทาน้ันไมสามารถจะใช กับบุคคลอ่ืนไดเสมือนวาคําๆน้ีถูกกําหนดขึ้นมาเปนคําเฉพาะ ดังรายงานจาก หะดษี บทหนง่ึ (2) มฮุ มั มดั อะญาจญ อัลเคาะฏบี หนา 21-22 (3) ซยั ยิด สลุ ัยมาน อันนะดะวยี  หนา 18 (4) มฮุ ัมมดั อะญาจญ อัลเคาะฏีบ หนา 22

16บทที่ 3 หะดีษและคําท่มี ีความหมายเหมือนหะดีษ !‫ ﻳﺎ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬: ‫ﺳﺄﻝ ﺃﺑﻮ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﻓﻘﺎﻝ‬ :  ‫ﻣﻦ ﺃﺳﻌﺪ ﺍﻟﻨﺎﺱ ﺑﺸﻔﺎﻋﺘﻚ ﻳﻮﻡ ﺍﻟﻘﻴﺎﻣﺔ؟ ﻓﻘﺎﻝ ﻟﻪ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫)) ﻟﻘﺪ ﻇﻨﻨ ُﺖ ﻳﺎ ﺃﺑﺎ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺃﻻ ﻳﺴﺄﻟﲏ ﻋﻦ ﻫﺬﺍ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺃﺣ ٌﺪ ﺃﻭﻝ‬ (( ‫ ﳌﺎ ﺭﺃﻳ ُﺖ ﻣﻦ ﺣﺮﺻﻚ ﻋﻠﻰ ﺍﳊﺪﻳﺚ‬،‫ﻣﻨﻚ‬ ความวา : ทานอะบูฮุรอยเราะฮฺ  ไดถามรสูลุลลอฮฺ  วา โอ รสูลุลลอฮฺ! ผูใดในหมูมนุษยเปนผูที่มีความสุขที่สุดที่ไดรับ ความเอ้ือเฟอเผื่อแผจากทานในวันกิยามะฮฺ? รสูลุลลอฮฺ  กต็ อบเขาวา “โออะบูฮรุ อยเราะฮฺ ทจี่ รงิ แลว ฉันรสู ึกวาคําถาม น้ียังไมมีผูใดกอนเจาที่ถามฉันเกี่ยวกับหะดีษ (คําพูด) นี้ เนือ่ งจากฉนั เห็นวา เจา มคี วามตง้ั ใจอยา งแนว แนตอหะดษี ”(1) ในทํานองเดียวกันมีรายงานจากอะบูฮารูนกลาววา “เม่ือพวกเราไดพบ กบั อะบู สะอีด อลั คุดรีย ทานมักจะกลาวสมํ่าเสมอวา ยินดีตอนรับสูการส่ังเสีย ของรสูลุลลอฮฺ  เขากลาววา พวกเราไดถามอะบูสะอีด  วา การสั่งเสีย ของทานนบีน้ันคอื อะไร? ทานอะบู สะอีดตอบวา รสูลลุ ลอฮฺ  ไดก ลาววา ‫ ﻓﺈﺫﺍ ﺟﺎﺀﻭﻛﻢ‬،‫)) ﺇﻧﻪ ﺳﻴﺄﰐ ﺑﻌﺪﻱ ﻗﻮﻡ ﻳﺴﺄﻟﻮﻧﻜﻢ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﻋﲏ‬ (( ‫ﻓﺄﻟﻄﻔﻮﻫﻢ ﻭﺣﺪﺛﻮﻫﻢ‬ (1) มุฮมั มดั อะญาจญ อัลเคาะฏีบ หนา 22

17บทที่ 3 หะดีษและคาํ ที่มีความหมายเหมือนหะดีษ ความวา : “แทจริงจะมีกลุมหนึ่งจากประชาชาติของฉันจะมาพบกับ พวกเจา (ณ เมืองมะดีนะห) ซ่ึงพวกเขาเหลานั้นจะถาม เกี่ยวกับหะดีษของฉัน ดังนั้น เมื่อพวกเขาไดมาพบพวกเจา แลวกจ็ งนอมรับและจงสอนพวกเขาใหถกู ตอง”(2) การนําคําวา “หะดีษ” มาใชน้ันอาจจะแบงออกเปนสองลักษณะดวยกัน คือ ใชในลักษณะเฉพาะเจาะจงกับทานนบีมุฮัมมัด  เทานั้น และบางคร้ัง อาจจะใชใ นลักษณะท่วั ไปกบั บคุ คลอน่ื ๆ ที่สมควรจะพาดพิงดว ย 2. ความหมายของอสั สุนนะฮ (‫)ﺍﻟﺴﻨﺔ‬ ตามหลกั ภาษาศาสตร คําวา “‫ ”ﺍﻟﺴﻨﺔ‬แปลวา การปฏิบัติท่ีถูกกําหนดมาหรือแนวทาง สวน ความหมายตามหลกั ภาษาศาสตรมหี ลายความหมายดวยกันแตที่จะยกมาในท่ีน้ี เพยี งบางสว นเทานนั้ 1. อสั สุนนะฮฺ คอื แนวทางทีด่ ีหรือแนวทางท่เี ลว ทานนบี กลาววา ‫)) ﻣﻦ ﺳ ّﻦ ﰲ ﺍﻹﺳﻼﻡ ﺳﻨﺔ ﺣﺴﻨﺔ ﻛﺎﻥ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺯﺭﻫﺎ ﻭﻭﺯﺭ ﻣﻦ‬ ،‫ﻋﻤﻞ ﺑﻬﺎ ﻣﻦ ﺑﻌﺪﻩ ﻣﻦ ﻏﲑ ﺃﻥ ﻳﻨﻘﺺ ﻣﻦ ﺃﺟﻮﺭﻫﻢ ﺷﻲﺀ‬ ‫ﻭﻣﻦ ﺳ ّﻦ ﰲ ﺍﻹﺳﻼﻡ ﺳﻨﺔ ﺳﻴﺌﺔ ﻛﺎﻥ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺯﺭﻫﺎ ﻭﻭﺯﺭ ﻣﻦ‬ (( ‫ﻋﻤﻞ ﺑﻬﺎ ﻣﻦ ﺑﻌﺪﻩ ﻣﻦ ﻏﲑ ﺃﻥ ﻳﻨﻘﺺ ﻣﻦ ﺃﻭﺯﺍﺭﻫﻢ ﺷﻲﺀ‬ (2) อัลอสั เกาะลานีย : 1/204

18บทท่ี 3 หะดษี และคาํ ทมี่ ีความหมายเหมือนหะดีษ ความวา : “ผใู ดก็ตาม(1)ไดคิดแนวทางท่ีดีในอิสลามแลว ดังนั้น เขาจะ ไดรับผลตอบแทนจากการปฏิบัติของคนอื่นหลังจากเขาโดยที่ ผลตอบแทนนั้นไมลดหยอนแมแตนิดเดียว และผูใดก็ตามได คิดแนวทางที่เลวในอิสลาม เขาจะไดรับผลตอบแทนจากการ ปฏิบัติของคนอ่ืน หลังจากเขาเชนเดียวกันโดยที่ผลตอบแทน นั้นไมลดหยอน แมแตนิดเดียวเชนกันจากการปฏิบัติใน แนวทางนน้ั ”(2) 2. อัสสนุ นะฮฺ คอื หนทาง อัลลอฮฺ  ทรงตรสั ไววา ‫ ﻗﺪ ﺧﻠ ْﺖ ﻣﻦ ﻗﺒﻠﻜﻢ ﺳﻨﻦ ﻓﺴﲑﻭﺍ ﰲ ﺍﻷﺭﺽ ﻓﺎﻧﻈﺮﻭﺍ ﻛﻴﻒ‬  ‫ﻛﺎﻥ ﻋﺎﻗﺒﺔ ﺍﳌﻜﺬﺑﲔ‬ ความวา : “แนน อนไดผ านพน มาแลวกอนพวกเจา ซงึ่ หนทางตา ง ๆ ดงั น้ัน พวกเจา จงทอ งเที่ยวในพ้ืนแผน ดนิ แลว จงดูวาบน้ั ปลายของบรรดาผูปฏเิ สธนัน้ เปนอยางไร”(3) คาํ วา “‫ ” ُﺳَﻨ ٌﻦ‬ในอายะฮขฺ า งตนเปนคํานามในรปู พหูพจนของ “‫” ُﺳﱠﻨﹲﺔ‬ หมายถงึ หนทางของบรรดาประชาชาตกิ อนสมัยทานนบีมฮุ ัมมัด  (1) ตามหลักภาษาอาหรบั คําวา “‫ ”َﻣﻦ‬เปน คาํ นะกิเราะฮทฺ ่มี ีลักษณะทวั่ ไป (อุมมู ) ใชไดกับเพศชายและเพศหญงิ ซึ่ง แสดงถึงจาํ นวนมาก ดังนน้ั ความหมายของคําน้ีคือ ใครกต็ ามจะเปนชายหรอื หญิงก็ได (2) บนั ทึกโดยมุสลิม : 1/134 (3) ซเู ราะฮฺอาลิอิมรอน อายะฮทฺ ี่ 137

19บทที่ 3 หะดษี และคาํ ทมี่ ีความหมายเหมือนหะดีษ ตามหลกั วชิ าการ บรรดาอุละมาอฺมีความเห็นแตกตางกันเก่ียวกับนิยามของอัสสุนนะฮฺ ทมี่ าจากการพจิ ารณา การเนน และการใหความสาํ คญั ของแตล ะสาขาวิชา 1. อลุ ะมาอหฺ ะดีษ อัสสุนนะฮฺ คือ ทุกส่ิงทุกอยางที่มาจากทานนบีมุฮัมมัด  ไมวาจะเปน คําพูด การกระทํา การยอมรับ คุณลักษณะและชีวประวัติท้ังกอนที่ทานไดรับ การแตง ตง้ั ใหเปนนบีหรอื หลังจากไดรับการแตง ตงั้ ใหเปน นบี ความหมายของอัสสุนนะฮฺเชนน้ีเหมือนกับความหมายของหะดีษตาม ทัศนะของอุละมาอฺหะดีษสวนใหญ(1) ทั้งอุละมาอฺมุตะกอดดิมูน เชน อัลบุคอรีย มสุ ลิม อะบดู าวูด อัตติรมิซยี  อนั นะสาอยี  และอิบนุมาญะฮฺ และอุละมาอฺมุตะ อัคคิรูน เชน อิมามอิบนุ อัลกอยยิม อัลหาฟศ อัลอัสเกาะลานีย เปนตน เพราะฉะน้ัน บางคร้ังอุละมาอฺหะดีษใชคําวา “หะดีษ” และบางคร้ังใชคําวา “อสั สนุ นะฮฺ” เชน สนุ นะฮฺรสลู ุลลอฮฺ หรือหะดีษนบี อุละมาอฺกลุมนี้ใหความสําคัญกับอัสสุนนะฮฺในดานของการเปนรสูล ซ่ึง เปนแบบ อยางอันดีงามสําหรบั ประชาชาตทิ ้งั มวล 2. อลุ ะมาออฺ ะกดี ะฮแฺ ละอลุ ะมาอฺดะฮวฺ ะฮฺ อัสสุนนะฮฺ คือ สิ่งท่ีสอดคลองกับหลักการอัลกุรอานและอัลหะดีษและ สอดคลองกับการอิจญมาอฺของชาวสะลัฟในดานอะกีดะห อิบาดาต ซ่ึงตรงกัน ขา มกับบดิ อะฮฺ(2) (1) อลุ ะมาอฺบางทานมีความเห็นวา ระหวางหะดษี กบั อัสสุนนะฮมฺ ีขอ แตกตาง คือ หะดีษมักจะใชกับคําพูดของ ทานนบี  สว นอสั สุนนะฮฺใชกับการกระทําเปนประจําหรือสว นมากเปนการปฏิบตั ขิ องทา น ทศั นะนี้เปน ทศั นะของอับดุลเราะหมฺ าน อัลมะฮฺดยี  (2) อมุ รั หะสัน ฟลุ ลาตะฮฺ : 1/39

20บทที่ 3 หะดษี และคาํ ที่มีความหมายเหมือนหะดีษ อุละมาอฺกลุมน้ีใหความสําคัญกับอัสสุนนะฮฺในดานความสอดคลอง หรือไมขดั กับหลักการศรัทธาและวิธีการปฏิบัติของชาวสะลัฟ ตามทัศนะนี้เร่ือง ตา งๆ ที่เกี่ยวขอ งกบั อะกีดะฮฺและอิบาดาตจะมสี องแงเทาน้ัน คือ ส่ิงท่ีเปนอัสสุน นะฮฺหรอื สิ่งท่ีเปนบิดอะฮฺ 3. อุลามาอฺฟก ฮฺ อัสสุนนะฮฺ คือ ส่ิงที่เปนแนวทางปฏิบัติในเร่ืองศาสนาที่ไมใชหุกมวาญิบ (บังคับใหท ํา) และไมใ ชท เี่ ปน ฟรฎ(3) อุละมาอฟฺ กฮจฺ ะใหน ยิ ามอัสสุนนะฮฺในสงิ่ ท่เี ปนหกุ ม สนุ ตั เทา นั้น อุละมาอฺกลุมนี้จะใหความสําคัญตออัสสุนนะฮฺในดานหุกมขอบัญญัติท่ี เปนสุนัต เม่ือมีการปฏิบัติจะไดรับผลตอบแทนและหากไมปฏิบัติก็ไมเปนบาป แตประการใด โดยไมมีการแยกระหวางสิ่งท่ีทานนบี  ปฏิบัติอยางปกติหรือ เปนประจาํ หรือปฏิบัติบางครง้ั บางคราวเทา น้ัน บางครัง้ จะใชอัสสนุ นะฮฺตรงขาม กบั สงิ่ ท่เี ปน บิดอะฮฺ 4. อลุ ะมาออฺ ุศูล อัลฟก ฮฺ อัสสุนนะฮฺ คือ ทุกสิ่งทุกอยางท่ีมาจากทานนบี  ที่ไมไดระบุในอัลกุ รอาน ไมวาจะเปนคําพูด การกระทํา หรือการยอมรับ ซึ่งสามารถอางเปน หลกั ฐานไดแ ละยงั สามารถบญั ญตั ิหุกมอกี ดว ย(1) อุละมาอฺกลุมน้ีใหความสําคัญกับอัสสุนนะฮฺในดานการบัญญัติหุกมที่ ไมไดระบุในอัลกุรอาน แตมาจากทานนบี  โดยตรง สวนมากแลวพวกเขาจะ เนนในสิ่งที่มีความเก่ียวของกับหุกมตักลีฟยท้ังหาคือ หุกมวาญิบ หุกมหะรอม หกุ ม สนุ ัต หกุ ม มบุ าหฺ และหกุ ม มักรูฮฺ (3) มุฮัมมดั อะญาจญ อัลเคาะฏีบ หนา 21 (1) อัชเชากานีย หนา 33

21บทที่ 3 หะดีษและคาํ ที่มีความหมายเหมือนหะดษี 3. ความหมายของเคาะบรั (‫)ﺍﳋﱪ‬ ตามหลักภาษาศาสตร คําวา “ ‫ ” ﺧﱪ‬เปนคําเอกพจนซึ่งแปลวา ขาว(2) คําพหูพจน คือ อัคบาร หมายถึง ขา วหลายเร่อื ง หรือเรื่องราวตา ง ๆ ท่ีไดรายงานสบื ทอดกนั มา ตามหลกั วชิ าการ เคาะบรั ตามหลักวชิ าการ อุละมาอฺมีความเห็นทีแ่ ตกตางกันดังนี้ 1. อุละมาอฺหะดีษมีความเห็นวา ความหมายของเคาะบัรเหมือนกับ ความหมายของหะดีษหรืออัสสุนะฮฺ(3) ตามทัศนะของอุลามาอฺกลุมน้ีคําวา เคาะบัรอาจจะใชกับการรายงานโดยทั่วไป สวนหะดีษและอัสสุนนะฮฺใชกับ คําพูด การกระทํา และการยอมรบั 2. อุละมาอฺบางทานมีความเห็นวา เคาะบัร คือ ส่ิงที่พาดพิงถึงบรรดา เศาะหาบะฮฺหรือตาบิอีน(1) ตามทัศนะของอุละมาอฺกลุมน้ี การใชเคาะบัรนั้น ใชไดเฉพาะกับคํากลาว และการกระทําของเศาะหาบะฮฺหรือตาบิอีนเทาน้ันไม รวมถึงสิ่งทถี่ ูกพาดพิงไปยังทานนบมี ุฮมั มัด  แตประการใด 3. มีบางทัศนะกลาววา หะดษี คอื ส่งิ ทพี่ าดพิงถึงทานนบี สวนเคาะบัร คือ ส่ิงที่มาจากนบีมุฮัมมัด  และคนอ่ืน ๆ(2) ทัศนะนี้มีความเห็นวา อัลหะดีษ และอัลเคาะบัรใชไดทั้งกับทานนบี เศาะหาบะฮฺ และตาบิอีนโดยไมไดแยกออก จากกัน (2) อลั อะซีม อะบาดีย : 2/17 (3) ดู อัสสุยฏู ีย : 1/9 (1) ดู อสั สยุ ฏู ยี  : 1/9 (2) ดู หนังสอื เดิม

22บทที่ 3 หะดีษและคําท่มี ีความหมายเหมือนหะดีษ 4. ความหมายของอะษัร (‫)ﺍﻷﺛﺮ‬ ตามหลกั ภาษาศาสตร คําวา “ ‫ ” ﺃﺛﺮ‬เปนคําเอกพจนซ่ึงแปลวา รองรอย หรือแผล คําพหูพจน คือ อัลอาษาร(3) แปลวา รองรอยมากมาย หรือหลายบาดแผล และสามารถใช กับการติดตาม เชน คนหน่ึงเดินตามอีกคนหน่ึง หรือรุนหน่ึงเดินตามคนรุนกอน หนาพวกเขา เปน ตน ตามหลักวชิ าการ อะษรั ตามหลักวิชาการมหี ลายความหมายดวยกนั ดงั น้ี 1. อุละมาอฺหะดีษสวนใหญมีความเห็นวา อะษัรมีความหมายเหมือนกับ หะดีษ อัสสนุ นะฮฺ และเคาะบัร 2. อุละมาอฺฟกฮฺ(4) กลาววา อะษัร คือ หะดีษเมากูฟ(5) ของเศาะหาบะฮฺ สว นเคาะบรั คอื หะดีษมรั ฟูอ(ฺ 6) ของทานนบีมฮุ ัมมัด  อิมามอัสสุยูฏีย กลาววา “บรรดาอุละมาอฺหะดีษเรียกส่ิงที่เปนมัรฟูอฺและ เมากฟู วา อัลอะษรั สวนอลุ ะมาอฟฺ กฮฺเมอื งคุรอซานสวนมากเรียกสิ่งที่เปนมัรฟูอฺ วา อะษัร และส่งิ ทีเ่ ปนเมากฟู วา เคาะบัร(1) 5. ความหมายในทางปฏบิ ัติ ในทางปฏิบัติหรือการใชจริงของบรรดาอุละมาอฺจะเห็นอยางชัดเจนถึง ความแตก ตางของการใชศ พั ททงั้ ส่ี ซง่ึ พอสรุปไดดงั ตอน้ี (3) อลั อะซมี อะบาดีย : 1/362 (4) อสั สยุ ฏู ยี  : 1/6 (5) หะดษี เมากูฟ คอื หะดีษที่พาดพิงถึงเศาะหาบะฮฺ ดรู ายละเอยี ดหนา 49-53 (6) หะดษี มรั ฟอู ฺ คือ หะดีษที่พาดพงิ ถึงทานนบมี ุฮัมมดั  ดรู ายละเอียดหนา 45-49 (1) อัสสยุ ฏู ีย : 1/6

23บทท่ี 3 หะดีษและคําท่มี ีความหมายเหมือนหะดษี 1. อุละมาอฺหะดีษสวนใหญมีความเห็นวา หะดีษและอัสสุนนะฮฺใชกับ ทานนบีมุฮัมมัด  และคุละฟาอฺอัรรอชิดีนเทาน้ัน สวนเคาะบัรใชกับบรรดา เศาะหาบะฮฺ และอะษัรใชกับบรรดาตาบิอนี และตาบิอฺตาบิอนี 2. อุละมาอฺฟกฮฺและอุละมาอฺอุศูล อัลฟกฮฺใชคําวา หะดีษกับคําพูด การ กระทํา และการยอมรับของทานนบีมุฮัมมัด  สวนอัสสุนนะฮใชกับการปฏิบัติ ของทานนบี  เคาะบัรใชกับบรรดาเศาะหาบะฮฺ และอะษัรใชกับบรรดาตา บอิ นี และตาบิอตฺ าบิอีน

24บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปน แหลงท่ีมาของบทบัญญัติอสิ ลาม บทท่ี 4 หะดีษในฐานะเปน แหลงทีม่ า ของบทบัญญตั ิอิสลาม 1. ความเปนจริงของหะดษี หะดีษเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลามอันดับสองรองจากอัลกุรอาน เนอื่ ง จากหะดีษถอื เปนสวนหนง่ึ ของวะหฺยูเชน กนั ดงั ท่ปี รากฏในอลั กรุ อาน  ‫ ﺇﻥ ﻫﻮ ﺇﻻ ﻭﺣﻲ ﻳﻮﺣﻰ‬ ความวา : “มันมิใชสิ่งอ่ืนใด เวนแตมันก็เปนวะฮฺยูท่ี พระองคท รงประทานลงมา”(1) ท้ังสองประการนี้ – อัลกุรอานและหะดีษ – เปนแหลงที่มาของบทบัญญัติ อิสลามท่ีเปนพื้นฐาน แมนวาท้ังสองประการจะมีความแตกตางทางดานของตัว บทก็ตาม กลาวคืออัลกุรอานถูกประทานลงมาประกอบดวยมุอฺญิซาตท้ังที่เปน ตัวบทและความหมาย สวนหะดีษน้ันถูกประทานลงมายังทานนบีมุฮัมมัด  ใน ดานความหมายโดยผานมลาอิกะฮฺญิบรีล และทานนบีก็กลาวดวยสํานวนของ ทานเองโดยยึดตามความหมายน้ันตามสภาพเหตุการณตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนตอหนา ทาน หรือเปนการตอบคําถามของบรรดาเศาะหาบะฮฺ หรือตอบขอซักถาม เก่ียวกับเหตุการณท่ีเกิดขึ้นท่ีทานไมไดเห็นดวยตนเอง อิมามอัชชาฟอียกลาววา (1) ซูเราะฮฺอันนัจญม ฺ อายะฮทฺ ่ี 4

25บทที่ 4 หะดษี ในฐานะเปน แหลงท่ีมาของบทบัญญัติอิสลาม “ทุก ๆ บทบัญญัติที่ทานนบีมุฮัมมัด  ไดตัดสินไปน้ันเปนผลมาจากการเขาใจ ในอลั กุรอานอยางถูกตองท่สี ุด” ทานยังกลาวเพ่ิมเติมอีกวา “คําพูดของอุละมาอฺ ทัง้ หมดเปนการอธบิ ายอสั สนุ นะฮฺและอสั สนุ นะฮเฺ ปนการอธบิ ายอัลกุรอาน”(2) จากคํากลาวนี้สอดคลองกับอัลกุรอานที่มีการหามปฏิบัติในสิ่งท่ีตรงกัน ขามกับการปฏิบัติของทานนบี  และในส่ิงที่ไมใชเปนหุกมเฉพาะเจาะจง สําหรับทานเทาน้ัน อิมาม อิบนุกะษีร(3) ไดอธิบายอายะฮฺ  ‫ﻓﻠﻴﺤﺬﺭ ﺍﻟﺬﻳﻦ‬ ‫ﳜﺎﻟﻒ ﻋﻦ ﺃﻣﺮﻩ‬ กลาววา “การหามปฏิบัติในลักษณะท่ีขัดแยงกับคําส่ังของ ทานนบีมุฮัมมัด  คือ ขัดแยงกับแนวทาง วิธีการ บทบัญญัติ แนวคิดตลอดจน หลักสูตรการสั่งสอนของทาน ดังนั้น สมควรเปนอยางยิ่งท่ีจะตองเปรียบเทียบ เพ่ือใหสอดคลองกับคําพูดและการปฏิบัติของทาน ส่ิงท่ีสอดคลองกับมันก็ตอง ยอมรับมันเสียโดยปราศจากเง่ือนไขใด ๆ ทั้งสิ้น และสิ่งที่ขัดแยงจะตองปฏิเสธ ไปอยางสิ้นเชิง ดังท่ีปรากฏในหะดีษเศาะหีหฺบทหนึ่งบันทึกโดยอัลบุคอรียและ มุสลิม จากทานนบีมุฮัมมัด  กลาววา (‫) ﻣﻦ ﻋﻤﻞ ﻋﻤ ﹰﻼ ﻟﻴﺲ ﻋﻠﻴﻪ ﺃﻣﺮﻧﺎ ﻓﻬﻮ ﺭﺩ‬ ความวา “ผูใดไดปฏิบัติในสิ่งที่ไมใชเปนเรื่องที่ศาสนาบัญญัติไว สิ่งน้ันจะตอง ปฏเิ สธไป”(1) ดวยเหตุนี้ อัสสุนนะฮฺจึงอยูในลําดับที่สองรองจากอัลกุรอาน อยางไรก็ ตาม สําหรับอิมามอัชชาฟอียแลวหะดีษตองตามหลังอัลกุรอานเสมอ แมวาทาน จะจัดลาํ ดับของท้งั สองอยูในระดับเดยี วกันก็ตาม 2. ฐานะของหะดีษ (2) อลั กอสิมยี  หนา 59 (3) อิบนุกะษีร : 3/131 (1) บนั ทึกโดยอัลบุคอรีย : 13/56 และมุสลมิ : 2/1243

26บทท่ี 4 หะดษี ในฐานะเปน แหลง ที่มาของบทบญั ญัติอสิ ลาม ฐานะในที่นี้ คือ บทบาทและหนาที่ หมายความถึงหนาที่ของหะดีษนบีใน ฐานะท่เี ปน คาํ สอนของศาสนาอิสลาม หะดีษมีหนาที่อธิบายบทบัญญัติตางๆ ใหสมบูรณยิ่งข้ึน ชี้แจง วัตถุประสงคของแตละอายะฮฺ การขยายความอัลกุรอานท่ีมีลักษณะเปนอายะฮฺ มุจมัล (ท่ีมีความหมายส้ันๆ) อายะฮฺท่ีมีลักษณะเปนอายะฮฺมุฏล้ัก (อิสระ) และ อายะฮฺทีม่ ีลกั ษณะเปนอายะฮฺอมุ มู (ทั่วไป) การอธิบายบทบัญญัติใหสมบูรณ เชน การอธิบายอายะฮฺท่ีเกี่ยวกับ อิบาดาต อายะฮฺ มอุ ามะลาต อายะฮฺนิกาหฺ อายะฮฺหะลาลและหะรอม เปน ตน การชี้แจงวัตถุประสงคหรือเจตนารมณของอายะฮฺบางอายะฮฺ เชน อายะฮฺท่ีพูดถึงการสั่งเสียใหแกคนท่ีไมใชญาติพ่ีนองในการยกทรัพยสินใหพวก เขา และอนื่ ๆ การระบุถึงหุกมตางๆ ท่ียังไมไดกลาวไวอยางชัดเจนในอัลกุรอาน หุกม นั้นไมสามารถเปลี่ยนแปลงเปนอยางอื่น เวนแตจะมีหะดีษอ่ืนมาบงช้ีวาเปนหุก มอน่ื เทาน้ัน เน่ืองจากเปนการอธบิ ายของทานนบีน่ันเอง อิมามอัลบัยฮากียได บันทึกหะดีษบทหน่ึงจากการรายงานของอุมัร เบ็ญ อัลคอฏฏอบ กลาววา “โอมนุษยทั้งหลาย แทจริงความคิดท่ีถูกตองน้ันมาจากรสูลุลลอฮฺ  เน่ือง จากอัลลอฮฺไดชี้แจงใหแกทาน แตความคิดของเราบางครั้งเปนการคาดคะเน และเปนความคดิ ทอ่ี อนแอดวย” การบรรยายวิธีการปฏบิ ัตติ า ง ๆ ทเ่ี กย่ี วของกับเรือ่ งศาสนาท่ียังไมไดระบุ ไวใน อลั กรุ อาน หรือเปนการกลาวถึงเร่อื งน้นั ไวอ ยา งกวาง ๆ ไมค รอบคลุม ประการท้ังปวงที่ไดกลาวขางตนไมมีขอสงสัยใด ๆ สําหรับบรรดา อุละมาอฺทั้งสมัยกอนและรุนหลัง หรือแมแตอุละมาอฺสมัยปจจุบัน ตางก็ยอมรับ วา หะดีษนั้นไดทําหนาที่อยางสมบูรณในการอธิบายอัลกุรอาน อยางไรก็ตาม ในอัลกุรอานจะพบแตการกลาวถึงหลักใหญหรือกลาวถึงอยางสังเขปเทานั้น โดยไมม กี ารอธบิ ายรายละเอยี ดเก่ยี วกับวิธกี ารปฏิบัตแิ ตประการใด

27บทท่ี 4 หะดีษในฐานะเปนแหลง ท่ีมาของบทบญั ญัตอิ ิสลาม 3. การยึดมัน่ ในหะดีษ ในอัลกุรอานไดกลาวถึงอยางชัดเจนเกี่ยวกับการยึดมั่นในหะดีษ หรือ อัสสุนนะฮฺในลักษณะตาง ๆ เชน การเคารพภักดีตอรสูล การปฏิบัติตาม การ ยอมรับในส่ิงที่ทานนบี  ไดดําเนินการมาในชวงท่ีทานนบียังมีชีวิตอยูหรือ หลงั จากท่ีทา นเสียชวี ิตไปแลว หลกั ฐานตาง ๆ ทเี่ กี่ยวของมีดังนี้ หลกั ฐานจากอัลกุรอาน ขอยกตวั อยา งเพยี งบางอายะฮฺเทาน้ัน 1. อัลลอฮฺ  ทรงตรสั ไววา  ‫ ﻭﻣﺎ ﺁﺗﺎﻛﻢ ﺍﻟﺮﺳﻮﻝ ﻓﺨﺬﻭﻩ ﻭﻣﺎ ﻧﻬﺎﻛﻢ ﻋﻨﻪ ﻓﺎﻧﺘﻬﻮﺍ‬ ความวา : “และสิ่งที่ทานรสูลไดนํามาแกพวกเจาก็จงรับมันไว และส่ิงที่ทาน (รสลู ) หามกจ็ งหลีกเลี่ยงมนั เสีย”(1) การนอมรับในส่ิงท่ีทานรสูลนํามาถือเปนการแสดงถึงการนําหะดีษ สนุ นะฮใฺ ชเ ปนหลกั ฐานและการยึดมัน่ ในหะดีษอกี ดว ย 2. อลั ลอฮฺ  ทรงตรสั ไวว า ‫ ﻳﺎ ﺃﻳﻬﺎ ﺍﻟﺬﻳﻦ ﺁﻣﻨـﻮﺍ ﺃﻃﻴﻌﻮﺍ ﺍﷲ ﻭﺃﻃﻴﻌﻮﺍ ﺍﻟﺮﺳـﻮﻝ ﻭﺃﻭﱃ‬ ‫ﺍ ﻷ ﻣﺮ ﻣﻨﻜﻢ ﻓﺈ ﻥ ﺗﻨﺎ ﺯ ﻋﺘﻢ ﰲ ﺷـﻲ ﺀ ﻓﺮ ﺩ ﻭ ﻩ ﺇ ﱃ ﺍﷲ‬  ‫ﻭﺍﻟﺮﺳـﻮﻝ ﺇﻥ ﻛﻨﺘﻢ ﺗﺆﻣﻨﻮﻥ ﺑﺎﷲ ﻭﺍﻟﻴﻮﻡ ﺍﻵﺧﺮ‬ ความวา : “โอศรัทธาชนทั้งหลาย พวกเจาจงเคารพภักดีตออัลลอฮฺ และจงเคารพภักดีตอ รสูล และผูนําในหมูพวกเจา ฉะน้ัน หากพวกเจามีการขัดแยงกันในสิ่งใดก็จงยอนส่ิง (1) ซูเราะฮฺอลั หัชรฺ อายะฮฺท่ี 7

28บทท่ี 4 หะดีษในฐานะเปน แหลง ท่ีมาของบทบญั ญัติอิสลาม น้ันไปยังอัลลอฮฺและรสูลเถิด หากพวกเจาทั้งหลาย ศรทั ธาตอ อัลลอฮแฺ ละวนั กยิ ามะฮฺ”(1) การยอนกลับไปยังอัลลอฮฺและรสูลนั้นหมายความวา การปฏิบัติตาม แนวทางทีเ่ ทีย่ งตรงและเปนการแสดงถึงการมอี มี านอยางแทจ ริง 3. อัลลอฮฺ  ทรงตรสั ไวว า ‫ ﻗﻞ ﺇﻥ ﻛﻨﺘﻢ ﲢﺒﻮﻥ ﺍﷲ ﻓﺎﺗﺒﻌﻮﱐ ﳛﺒﺒﻜﻢ ﺍﷲ ﻭﻳﻐﻔﺮ ﻟﻜﻢ‬  ‫ﺫﻧﻮﺑﻜﻢ‬ ความวา : “จงกลาวเถิด (โอมุฮัมมัด)! หากพวกเจารักอัลลอฮฺก็จง ปฏิบัติตามฉัน แนนอนพวกเจาจะเปนที่รักใครของอัลลอ ฮฺ และพระองคจ ะอภัยแกพ วกเจา ในบาปทกุ ประการ”(2) การรักอัลลอฮฺ  ที่แทจริง คือ การปฏิบัติตามทานนบีมุฮัมมัด  ใน ทุก ๆ เร่ืองท่ีทานไดปฏิบัติ เวนแตบางส่ิงบางอยางเทานั้นท่ีไมจําเปนตอง ปฏิบัตติ าม หลักฐานจากหะดีษ ทา นนบมี ฮุ มั มดั  กลา ววา ‫)) ﻋﻠﻴﻜﻢ ﺑﺴﻨﱵ ﻭﺳﻨﺔ ﺍﳋﻠﻔﺎﺀ ﺍﻟﺮﺍﺷﺪﻳﻦ ﺍﳌﻬﺪﻳﲔ ﻋﻀﻮﺍ ﻋﻠﻴﻬﺎ‬ (( ‫ﺑﺎﻟﻨﻮﺍﺟﺬ ﻭﺇﻳﺎﻛﻢ ﻭﳏﺪﺛﺎﺕ ﺍﻷﻣﻮﺭ ﻓﺈﻥ ﻛﻞ ﺑﺪﻋﺔ ﺿﻼﻟﺔ‬ (1) ซเู ราะฮฺอันนิสาออฺ ายะฮทฺ ่ี 59 (2) ซเู ราะฮอฺ าลิอิมรอน อายะฮฺที่ 31

29บทท่ี 4 หะดีษในฐานะเปนแหลง ท่ีมาของบทบัญญัตอิ ิสลาม ความวา : “จําเปนอยางย่ิงสําหรับพวกเจายึดในสุนนะฮฺของฉันและ สุนนะฮฺบรรดาเคาะลีฟะฮฺอัรรอชิดีนท่ีไดรับการช้ีนําทาง พวกเจาจงกัดมันดวยฟนกรามแนนๆ และจงระมัดระวัง สิ่งใหมๆ (อุปโลกนข้ึนมา) เนื่องจากแทจริงการอุตริ กรรมทุกประเภทนัน้ คือ การหลงทาง”(3) คําวา “‫ ”ﻋﻠﻴﻜﻢ‬ในภาษาอาหรับจะมีหุกมเปนวาญิบ ฉะน้ัน การยึดม่ันใน หะดีษเปน หกุ มวาญิบสาํ หรบั มุสลมิ ทุกคนทบ่ี รรลศุ าสนภาวะ 4. ทานนบมี ฮุ มั มัด  กลาววา ‫)) ﺗﺮﻛ ُﺖ ﻓﻴﻜﻢ ﺃﻣﺮﻳﻦ ﻟﻦ ﺗﻀﻠﻮﺍ ﺑﻌﺪﳘﺎ ﺇﻥ ﲤﺴﻜﺘﻢ ﺑﻬﻤﺎ؛ ﻛﺘﺎﺏ‬ (( ‫ﺍﷲ ﻭﺳﻨﺔ ﺭﺳﻮﻟﻪ‬ ความวา : “ฉันไดคงไว (มอบ) ในหมูพวกเจาสองประการ ซ่ึงพวกเจาจะ ไมหลงทาง (อยางแนนอน) หากพวกเจาไดยึดมั่นกับสอง ประการน้ี: กิตาบของอัลลอฮแฺ ละสุนนะฮฺของรสูล”(1) หะดีษบทน้ีแสดงถึงการใหยึดม่ันในหะดีษดวยวิธีการออกคําส่ังโดย ทางออม กลาวคือ ทานนบี  ไดกลาวดวยประโยคบอกเลาแตมีเจตนารมณ เปนคําส่ังใหปฏิบัติตาม ซึ่งเปนการรับรองตอการปฏิบัติตามหะดีษวาจะไมหลง ทางอยา งแนน อน (3) หะดีษเศาะหีหฺ บนั ทึกโดยอะบูดาวดู : 5/34, อตั ตรั มิซีย : 5/39, อบิ นุมาญะฮฺ : 2/254 และอะหฺมดั : 2/245 (1) หะดีษหะซัน บันทกึ โดยมาลิก : 1/123 และอัลหากมิ : 1/345 สํานวนหะดษี เปนของอลั หากมิ

30บทท่ี 4 หะดีษในฐานะเปนแหลง ท่ีมาของบทบัญญัติอิสลาม 3. ทา นนบีมุฮัมมดั  กลา ววา ،‫ ﻓﺈﳕﺎ ﺃﻫﻠﻚ ﻣﻦ ﻛﺎﻥ ﻗﺒﻠﻜﻢ ﺳﺆﺍﳍﻢ‬،‫)) ﺩﻋﻮﱐ ﻣﺎ ﺗﺮﻛُﺘﻜﻢ‬ ‫ ﻓﺈﺫﺍ ﻧﻬﻴُﺘﻜﻢ ﻋﻦ ﺷﻲﺀ ﻓﺎﺟﺘﻨﺒﻮﻩ‬،‫ﻭﺍﺧﺘﻼﻓﻬﻢ ﻋﻠﻰ ﺃﻧﺒﻴﺎﺋﻬﻢ‬ (( ‫ﻭﺇﺫﺍ ﺃﻣﺮﺗﻜﻢ ﺑﺸﻲﺀ ﻓﺄﺗﻮﺍ ﻣﻨﻪ ﻣﺎ ﺍﺳﺘﻄﻌﺘﻢ‬ ความวา : “พวกเจาจงปลอยไวในส่ิงที่ฉันปลอย เพราะแทจริงความ พนิ าศของชนรนุ กอ นพวกเจา นน้ั เนอื่ งจากมีการถามมาก มี การขัดแยงกับบรรดานบีของพวกเขาเอง ดังน้ันเม่ือฉัน หามพวกเจาจากการกระทําส่ิงใดก็จงหลีกหางมัน และ เม่ือฉันส่ังพวกเจาใหกระทําสิ่งใดแลวก็จงปฏิบัติเถิดตาม ความสามารถของพวกเจา”(2) การปฏิบัติตามคําส่ังของทานนบีในทุกเร่ือง แสดงใหเห็นวาเปนการกลับ สูการปฏิบัติตามหะดีษ ในทํานองเดียวกันการหลีกหางจากสิ่งท่ีทานนบีหาม ปฏบิ ตั กิ ็ถือเปนการแสดงใหเ หน็ ถงึ การกลบั สูหะดีษเชน เดียวกนั คํายืนยันของอุละมาอฺ 1. อิมามอัชชาฟอยี มีความเห็นวา ในเม่ือทานนบสี นบั สนุนใหฟงหะดีษของ ทาน และยังสนับสนุนใหคนท่ีมีความรูเก่ียวกับหะดีษทองจําและรายงานหะดีษ ใหคนอ่ืนฟงดวย อันน้ีถือเปนเรื่องจําเปนอยางย่ิงยวดที่จะชี้ใหเห็นวาการ สนับสนุนน้ันเปนหลักฐานประการหนึ่งที่เปนหนาที่ของผูรู เนื่องจากการปฏิบัติ เชนน้ันจะไดรับผลบุญและการหลีกเลี่ยงมันเปนที่ตองหามในขอบเขตท่ีจะตอง (2) มุตตะฟก อะลัยฮฺ บันทกึ โดยอัลบคุ อรีย : 13/20 และมุสลมิ : 15/107

31บทท่ี 4 หะดีษในฐานะเปน แหลงที่มาของบทบญั ญัติอิสลาม ปฏิบัติเปรียบเสมือนทรัพยสินเมื่อมีการรับยอมมีการแจกจายใหผูท่ีมีสิทธ์ิไดรับ และตกั เตอื นซ่ึงกันและกันท้งั เร่ืองศาสนาและเรื่องดนุ ยาทกุ ประการ(1) ดังน้ัน การช้ีทางของสุนนะฮฺหรือหะดีษในเร่ืองตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับ บทบัญญัติอิสลามน้ันเปนการตัดสินที่เด็ดขาดหากประโยคเหลาน้ันสามารถ พาดพิงถึงทานนบี  อยางถูกตอง อิมามอัชชาฟอียไดกลาวย้ําวา “แทจริง บรรดาอุละมาอฺตั้งแตสมัยเศาะหาบะฮฺและตาบิอีน พวกเขาไขวควาหะดีษในทุก ๆ เรื่อง หากพวกเขาไมพบหะดีษพวกเขาจะนําสิ่งอื่น ๆ มาใชเปนหลักฐาน หลังจากนั้นหากพวกเขาพบหะดีษที่เก่ียวของแลวพวกเขาจะกลับตัวและปฏิบัติ ตามหะดษี ทเี่ ขารดู ว ยความมนั่ ใจ”(2) จากขอเท็จจริงที่กลาวมาขางตนสามารถยืนยันวา การกลับสูหะดีษโดย วิธีการใดก็ตามเปนเร่ืองที่จําเปนอยางย่ิงท้ังทางดานอะกีดะฮฺ ดานอิบาดะฮฺ ดานมุอามะลาต ดาน มุนากะฮาต และดานอื่นๆ ประการหนึ่งที่สําคัญ คือ บรรดาอุละมาอฺในทุกยุคทุกสมัยตางก็มีความเห็นพองกันวา การกลับสูหะดีษ เปนการปฏิบัติท่ีถูกตองที่สุด ไมสามารถปฏิเสธได ไมเฉพาะสําหรับผูที่มีความรู เทานั้น แมแตคนท่ีอานไมออกเขียนไมไดก็จําเปนเหมือนกัน เพราะเปนการ แสดงถงึ การมีความรักตอ ทา นนบี  3. การรายงานหะดษี 1. หุกม ของการรายงานหะดีษ การรายงานหะดีษของทานนบี  ใหแกผูอ่ืนเปนหนาที่อยางหน่ึงสําหรับ มุสลิมและมุสลิมะฮฺโดยเฉพาะผูท่ีมีความรูเก่ียวกับหะดีษจะมีความรูมากหรือ นอยก็ตาม แตท วา ผทู ม่ี คี วามรูมากหรอื ผูเชี่ยวชาญในสาขาหะดีษจะมีหนาท่ีหนัก (1) อัสสุยฏู ยี  หนา 99 (2) อสั สยุ ูฏีย หนา 99

32บทที่ 4 หะดษี ในฐานะเปนแหลง ที่มาของบทบัญญัตอิ ิสลาม กวาคนอ่ืน เพราะเขาเขาใจความหมายของหะดีษ อับดุลเลาะ เบ็ญ อัมรฺ เบ็ญ เอาศฺ  ไดรายงานจากรสลู ุลลอฮฺ  ทา นกลา ววา ،‫ ﻭﺣﺪﺛﻮﺍ ﻋﻦ ﺑﲏ ﺇﺳﺮﺍﺋﻴﻞ ﻭﻻ ﺣﺮﺝ‬،‫)) ﺑﻠﻐﻮﺍ ﻋﲏ ﻭﻟﻮ ﺁﻳﺔ‬ (( ‫ﻭﻣﻦ ﻛﺬﺏ ﻋﻠ ّﻲ ﻣﺘﻌﻤﺪﹰﺍ ﻓﻠﻴﺘﺒﻮﺃ ﻣﻘﻌﺪﻩ ﻣﻦ ﺍﻟﻨﺎﺭ‬ ความวา : “จงเผยแผจากฉันถึงแมวาหน่ึงอายะฮฺก็ตาม และจงรายงาน จากบะนี อสิ รออลี เถดิ และไมใ ชเร่ืองหนกั หนาสาหัสอะไร และ ผูใดโกหกตอฉันโดยเจตนาก็จงเตรียมท่ีนั่งของเขาไวในไฟ นรก”(1) จากหะดีษขางตนชี้ใหเห็นวา การรายงานหะดีษของทานนบี  ใหแก ผูอ่ืนน้ันเปนหุกมวาญิบสําหรับทุกคนโดยเฉพาะอยางย่ิงสําหรับผูท่ีมีความรู เก่ียวกับหะดีษตามขีดความ รูความสามารถของแตละคนดังหะดีษบันทึกโดย อัลบุคอรยี แ ละมสุ ลมิ มีรายงานอีกกระแสหน่ึง จากุบัยรฺ เบ็ญ มุฏอิม ไดรายงานจากทาน รสูลลุ ลอฮฺ  กลา วถงึ ความประเสริฐของผูทรี่ ายงานและผูฟงหะดีษของทาน ‫ ﰒ ﺃ ّﺩﺍﻫﺎ ﺇﱃ ﻣﻦ ﱂ‬،‫)) ﻧ ّﻀﺮ ﺍﷲ ﻋﺒﺪﹰﺍ ﲰﻊ ﻣﻘﺎﻟﱵ ﻓﻮﻋﺎﻫﺎ‬ ‫ ﻭﺭ ّﺏ ﺣﺎﻣﻞ ﻓﻘﻪ ﺇﱃ‬،‫ ﻓﺮ ّﺏ ﺣﺎﻣﻞ ﻓﻘﻪ ﻻ ﻓﻘﻪ ﻟﻪ‬،‫ﻳﺴﻤﻌﻬﺎ‬ (( .. ‫ﻣﻦ ﻫﻮ ﺃﻓﻘﻪ ﻣﻨﻪ‬ (1) บันทึกโดยอัลบคุ อรยี  : 2/374, อตั ติรมิซยี  : 5/40 อะบูอซี ากลา ววา หะดษี บทนี้เปนหะสนั เศาะหีหแฺ ละ อะหมฺ ดั : 3/159, 203, 314

33บทที่ 4 หะดษี ในฐานะเปน แหลงที่มาของบทบญั ญัตอิ ิสลาม ความวา : “อัลลอฮฺทรงใหเกียรติแกบาวที่ยอมฟงคําพูด (หะดีษ) ของฉนั และเขาไดทอ งจาํ มัน หลังจากน้ันเขาไดเผยแพรแก คนอ่ืนท่ียังไมไดฟง ดังน้ัน บอยคร้ังผูที่เผยแพรไมเขาใจ มัน และบอยครั้งผูถูกถายทอดเขาใจมากกวาผู เผยแพร”(2) จากหะดีษขางตนพอสรุปไดวา หนาท่ีของมุสลิมท่ีมีตอหะดีษของทานนบี  นั้นก็คือ ฟงหะดีษ ทองจําหะดีษ และรายงานหะดีษใหแกผูอ่ืนท่ียังไมไดฟง หรือยังไมมีความรูเก่ียวกับหะดีษ ที่สําคัญยิ่ง คือ ผูท่ีทําหนาที่รายงานหะดีษ ตองเปนคนท่ีมีความรูเร่ืองหะดีษซึ่งอาจจะมีลักษณะท่ีหลากหลายแตกตางกัน เชน บางคนมีท้ังความรูและเขาใจเนื้อหาของแตละหะดีษ บางคนมีความรู แตไม เขาใจความหมายของหะดีษ บางคนมีความรูมากและบางคนมีความรูนอย ไมจาํ เปน ตอ งเปน คนอาลมิ เสมอไป 2. วธิ กี ารรายงานหะดีษ เนื่องจากวิธีการรายงานหะดีษยังไมมีขอเสนอแนะจากทานนบี  เปน รูปธรรมอยางชัดเจน บรรดาเศาะหาบะฮฺก็ไดใชความพยายาม (อิจญติฮาด) ใน การอธิบายถึงวิธี การรายงานที่สอดคลองกับฐานะที่เปนหะดีษของทานนบี  ใหมากท่ีสุด มุฮัมมัด เบ็ญ สีรีนไดกลาวถึงวิธีการรายงานอยางกวาง ๆ ดังนี้ ‫ ﻭﺍﻷﻟﻔﺎﻅ‬،‫ ﺍﳌﻌﲎ ﻭﺍﺣﺪ‬،‫ﻛﻨ ُﺖ ﺃﲰﻊ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﻣﻦ ﻋﺸﺮﺓ‬ ‫ﳐﺘﻠﻔﺔ‬ (2) หะดีษเศาะหีหฺ บันทึกโดยอะบดู าวดู : 3/322, อตั ตรั มซิ ยี  : 5/33-34, อบิ นุมาญะฮฺ : 1/85, อะหมฺ ดั : 1/437, 3/225, 4/80,82, 5/183 และอดั ดาริมยี  : 1/86 สํานวนขา งตนเปนของอะหฺมดั

34บทที่ 4 หะดษี ในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบญั ญัตอิ ิสลาม แปลวา : “ฉันไดยินหะดีษจากสิบคน (เศาะหาบะฮฺซึ่งพวกเขาได รายงาน) เปนความหมายเดยี วกัน และหลากหลายตัวบท”(1) จากอะษัรบทน้ีพอสรปุ ไดว า การรายงานหะดษี นั้นมี 2 วธิ ีใหญ ๆ คอื วธิ กี ารท่ี 1 การรายงานตวั บทหะดีษ การรายงานตามวิธีการน้ีจะเห็นไดจากการปฏิบัติของบรรดาเศาะหาบะฮฺ ท่ีรายงานหะดีษจากทานนบี  กลาวคือ บางคนไดรายงานหะดีษอยาง สมบูรณท้ังประโยคที่ไดฟงจากทานและบางคนไดรายงานหะดีษอยางสมบูรณที่ ไดฟ ง จากเศาะฮาบะฮฺทานอื่น ซึ่งแตละคนน้ันไดรายงานดวยความซื่อสัตยตอหะ ดีษ โดยไมมีการโกหกและเพ่ิมเติมในสิ่งท่ีพวกเขาไดฟงจากทานนบี  การ รายงานหะดีษในหมูเศาะหาบะฮฺมีทั้งการรายงานตัวบทและมีการรายงานตัวบท พรอมกับสะนัดของหะดีษ การรายงานดวยวิธีการเชนน้ีไดมีมาตั้งแตสมัย เศาะหาบะฮฺจนถึงสมัยตาบิอฺ อัตบาอฺอัตตาบิอีน และไดมีการถายทอด อยา งตอ เนื่องเร่ือยมาจนถึงสมัยอลุ ะมาอมฺ ุตะอคั คิรนู (2) การรายงานหะดษี ดวยวิธนี ้สี ามารถจําแนกออกเปน 3 วิธกี าร ดงั น้ี 1. วิธกี ารรายงานแบบสมบูรณ หมายถึง การรายงานหะดีษทั้งสะนัดและมะตันโดยไมมีการตัดตอและ เพิ่มเติมจากประโยคเดิมท่ีไดฟงกันมาตั้งแตตนจนจบหะดีษ เชน การรายงาน (1) อัลกอสิมยี  หนา 222 (2) คือ ต้ังแตส มัยอมิ ามอนั นะสาอียจ นถงึ สมยั ของอัตฏอบะรอนยี 

35บทท่ี 4 หะดษี ในฐานะเปน แหลง ที่มาของบทบัญญัตอิ สิ ลาม ของบรรดานักหะดีษทั้งหก(3) และทานอ่ืนๆจะมีการวิพากษวิจารณสถานะของ สายรายงานในดา นความสมบูรณห รือไมกต็ าม แมแตการวิเคราะหตวั บทหะดีษ(4) 2. วธิ ีการรายงานแบบยอ หมายถึง การรายงานเฉพาะตัวบทหะดีษบางสวนเทานั้น ไมมีการ กลาวถึงในสวนอ่ืน ๆ ที่เก่ียวกับตัวบท การรายงานเชนน้ีเปนการปฏิบัติของ อุละมาอฟฺ ก ฮฺ ตามทัศนะของอุละมาอฺสวนใหญแลวมีความเห็นวา การรายงานหะดีษ ดวยวิธีนี้สามารถทําไดแตข้ึนอยูกับเง่ือนไขสําคัญ คือ ผูท่ีรายงานหะดีษตอง เปนคนท่ีมีความรูในเรื่องหะดีษเปนอยางดี เนื่องจากการยอหะดีษของคนอาลิม มิอาจทําใหความหมายหรือจุดประสงคของหะดีษเพ้ียนไปจากเดิม ไมทําให ขัดแยงในการบัญญัติหุกมและขอความหะดีษไมขาดหายไปจนทําใหกลายเปน คนละตัวบท ผิดจากการยอของคนญาฮิล ซึ่งจะทําใหเกิดความสับสนใน ความหมายของหะดีษได เชน การละเลยเร่อื งอสิ ติษนาอฺ(1) 3. วธิ ีการรายงานแบบตัดสะนัด หมายถึง การรายงานเฉพาะตัวบทหะดีษเทาน้ันไมมีการกลาวถึงสะนัด หรือกลาวผูรายงานเพียงเศาะหาบะฮฺเทานั้น สวนผูรายงานคนอื่น ๆ ถัดจาก เศาะหาบะฮฺจนถึงสน้ิ สุดสะนดั ไมไ ดกลาวถึงแมแ ตคนเดยี ว การรายงานเชนน้ีเปนการปฏิบัติของอุละมาอฺฟกฮฺและอุละมาอฺอุศูล อัลฟกฮฺ อิมามอันนะวะวียกลาววา “สวนการรายงานเฉพาะตัวบทหะดีษอยาง เดียวที่สอดคลองกับหัวขอฟกฮฺสามารถทําได ซึ่งถือเปนการปฏิบัติที่ดีและ (3) นักหะดษี ทง้ั หกทา น คือ อลั บคุ อรยี  มสุ ลิม อะบูดาวดู อัตติรมซิ ีย อันนะสาอยี  และอิบนุมาญะฮฺ หรือท่เี รยี กวา อศั หาบ อัลกุตุบ อัซซติ ตะฮฺ (4) รายละเอยี ดเร่ืองสะนัดและมะตนั จะมีการอธิบายในบทที่ 4 (1) อลั อสั เกาะลานีย หนา 48

36บทท่ี 4 หะดษี ในฐานะเปน แหลงที่มาของบทบญั ญัตอิ ิสลาม อาจจะสามารถหลีกเล่ียงจากการขัดแยงไดอีกดวย”(2) ไมวาดานตัวบทหะดีษ หรอื การรับหกุ มตา ง ๆ จากหะดษี วิธีการที่ 2 การรายงานความหมายของหะดีษ การรายงานหะดีษดวยวธิ กี ารนอ้ี ลุ ะมาอมฺ คี วามเห็นที่แตกตางกัน พอสรุป ไดดงั น้ี กลุมที่หน่ึง ไมเห็นดวยกับการรายงานความหมายหะดีษ โดยที่ไมได รายงานตัวบทท่ีมาจากทานนบี  ทัศนะนี้เปนทัศนะของอุละมาอฺหะดีษ อุละมาอฺฟกฮฺและอุละมาอฺอุศูลุลอัลฟกฮฺบางทาน เชน มุฮัมมัด เบ็ญ สีรีน อะบู บักรฺ อิบนุอะบชี ัยบะฮฺ และทา นอืน่ ๆ กลุมท่ีสอง เห็นดวยกับการรายงานความหมายหะดีษ โดยไมจําเปนตอง ยกตัวบทก็ได ทัศนะน้ีเปนทัศนะของอุละมาอฺสวนใหญท้ังสะลัฟหรือคอลัฟจากอุ ละมาอฺฟกฮฺหรืออุละมาอฺอุศูลฟกฮฺ เชน อิมามอะบูหะนีฟะฮฺ อิมามมาลิก อิมามอัชชาฟอีย และ อิมาม อะหฺมัด เบ็ญ หันบัล แตมีเง่ือนไขวาผูที่จะรายงาน หะดีษดว ยความหมายนัน้ จะตองประกอบดว ยคณุ ลักษณะ 2 ประการ 1. ผรู ายงานจะตองเขา ใจตัวบทและเจตนารมณของหะดษี เปน อยา งดี 2. ผูรายงานจะตอ งเช่ยี วชาญในการตคี วามหมายหะดีษไดอ ยา งถูกตอ ง นอกจากสองประการขางตนแลว ผูรายงานหะดีษจะตองกลาวอยาง สม่ําเสมอดวยกับคําวา “‫ ”ﺃﻭ ﻛﻤﺎ ﻗﺎﻝ‬แปลวา หรือดังที่ทานนบี  ไดกลาวไว หรือกลาวคําวา “‫ ”ﺃﻭ ﳓﻮﻩ‬แปลวา หรือเสมือนคําพูดของทานนบี  หรือกลาว คําวา “‫ ”ﺃﻭ ﺷﺒﻬﻪ‬แปลวา อุปมากับคําพูดของทานนบี ทุกครั้งเม่ือจบการรายงาน หะดษี (1) (2) อัลกอสิมีย หนา 224-225 (1) มะหฺมดู อัตเฏาะหฺหาน กลาววา “ทั้งหมดท่ีกลา วน้นั อนญุ าตแกผูท ไ่ี ดยินจากปากอาจารยท ่เี ขารับหะดษี เทาน้นั สวนผูท่ีรบั หะดีษโดยวิธกี ารอานเองจากตําราหะดีษ ไมอนญุ าตใหร ายงานดว ยความหมายแมแตต ัวอกั ษรเดยี ว

37บทที่ 4 หะดษี ในฐานะเปน แหลง ที่มาของบทบัญญัติอิสลาม อิมามอัสสุยูฏียกลาววา “หากผูรายงานไมมีความรูและไมเช่ียวชาญใน การแปลความหมายหะดีษไมอนุญาตใหรายงานหะดีษดวยความหมายโดยไมมี ขอสงสัยใด ๆ ท้ังส้ิน แตเขาจะตองรายงานตัวบทหะดีษเหมือนท่ีเขาไดฟงหะดีษ หรอื รับมาจากอาจารยด ว ยตนเอง”(2) ดังน้ัน วิธีการท่ีดีที่สุดในการรายงานหะดีษของทานนบี  คือ สมควร อยางย่ิงที่จะตองรายงานตัวบทหะดีษ และไมมีความจําเปนท่ีจะรายงานหะดีษ ดวยความหมาย เน่ือง จากปจจุบันตัวบทและสะนัดหะดีษถูกบันทึกไวในตํารา หะดีษตาง ๆ อยางสมบูรณ ไมวาการบันทึกท้ังสะนัดและมะตัน หรือทําการ บันทึกโดยเริ่มตนจากเศาะหาบะฮฺผูรับหะดีษโดยตรงจากทานนบี  และ ตําราหะดีษถูกตีพิมพอยางแพรหลายสามารถหาซื้อไดไมยาก หากตองการ แสวงหาความรทู ่มี ีคุณคา เน่อื งจากการอนุญาตใหร ายงานดวยความหมายนนั้ เปนการอนุญาตในกรณจี ําเปนหรอื ยงั ไมมกี ารบนั ทกึ หะดีษ เปนเลม แตใ นกรณีทหี่ ะดษี ตางๆ ถกู บันทึกไวใ นตําราหะดษี อยา งสมบรู ณแ ลวก็ไมมคี วามจําเปนอกี แลวทีจ่ ะ รายงานหะดษี ดวยความหมายดังเชนในปจจุบันน้ี” (ดู หนา 171-172) (2) อลั กอสมิ ีย หนา 222

38บทที่ 5 สะนัดและมะตนั บทท่ี 5 สะนัดและมะตนั พึงรเู ปน การเบ้ืองตนไวว า หะดีษของทานนบี ท่ีถูกถายทอดมาถึงตัวเรา นั้นตอ งประกอบดวยสองสว น คอื สะนดั และมะตนั ตวั อยา ง ‫ ﺃﺧﱪﻧﺎ‬،‫ ﺃﺧﱪﻧﺎ ﺍﺑﻦ ﺃﰊ ﻣﺮﱘ‬،‫ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺃﺑﻮ ﺑﻜﺮ ﺑﻦ ﺇﺳﺤﺎﻕ‬ ‫ ﻗﺎﻝ ﺃﺧﱪﱐ ﺍﻟﻌﻼﺀ ﺑﻦ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﲪﻦ ﺑﻦ‬،‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺟﻌﻔﺮ‬ ‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬،‫ ﻋﻦ ﺃﺑﻴﻪ‬،‫ﻳﻌﻘﻮﺏ ﺑﻦ ﺍﳊﹸ َﺮﹶﻗﺔ‬ ‫ )) ﻣﻦ‬: ‫ ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬: ‫ﻗﺎﻝ‬ ‫ ﻭﺇﺫﺍ ﻭﻋﺪ‬،‫ﻋﻼﻣﺎﺕ ﺍﳌﻨﺎﻓﻖ ﺛﻼﺛﺔ؛ ﺇﺫﺍ ﺣﺪﺙ ﻛﺬﺏ‬ (( ‫ ﻭﺇﺫﺍ ﺍﺋﺘﻤﻦ ﺧﺎﻥ‬،‫ﺃﺧﻠﻒ‬ ความวา : “จากอะบูฮรุ ยั เราะฮฺ  กลา ววา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา “เคร่ืองหมายบางอยางของคนมุนาฟกนั้นมี 3 ประการ คือ เมื่อเขาพูดเขาจะพูดโกหก เมื่อเขาสัญญา เขาจะผิดสัญญา และเม่ือเขาไดร ับความไวว างใจ เขากบ็ ดิ พลิ้ว” (รายงานโดยมสุ ลมิ : 2/47)

39บทท่ี 5 สะนัดและมะตนั คาํ อธบิ ายตวั อยาง - สะนัดหะดษี ،‫ ﺃﺧﱪﻧﺎ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺟﻌﻔﺮ‬،‫ ﺃﺧﱪﻧﺎ ﺍﺑﻦ ﺃﰊ ﻣﺮﱘ‬،‫ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺃﺑﻮ ﺑﻜﺮ ﺑﻦ ﺇﺳﺤﺎﻕ‬ ،‫ ﻋﻦ ﺃﺑﻴـﻪ‬،‫ﻗـﺎﻝ ﺃﺧﱪﱐ ﺍﻟﻌﻼﺀ ﺑﻦ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﲪﻦ ﺑﻦ ﻳﻌﻘﻮﺏ ﺑﻦ ﺍﳊﹸ َﺮﹶﻗـﺔ‬ ‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬ - มะตนั หะดีษ ،‫ ﻭﺇﺫﺍ ﻭﻋـﺪ ﺃﺧﻠﻒ‬،‫)) ﻣﻦ ﻋﻼﻣـﺎﺕ ﺍﳌﻨـﺎﻓﻖ ﺛﻼﺛـﺔ؛ ﺇﺫﺍ ﺣـﺪﺙ ﻛﺬﺏ‬ (( ‫ﻭﺇﺫﺍ ﺍﺋﺘﻤﻦ ﺧﺎﻥ‬ การรายงานหะดีษทั้งสะนัดและตัวบทเชนน้ีก็ไดมีการปฏิบัติกันในกลุม ของ นักหะดีษต้ังแตสมัยเศาะหาบะฮฺจนถึงปจจุบัน แตก็มีอุละมาอฺบางทาน ไดรายงานหะดีษ โดยมิไดกลาวอางสะนัดนอกจากกลาวเพียงศอหาบะฮฺเทานั้น ซึ่งการรายงานเชนน้เี ปนทีอ่ นุญาตเชน กัน สวนท่ี 1 สะนดั หะดีษ อลั ลอฮทฺ รงตรัสไววา  ‫ ﺇﺋﺘﻮﱐ ﺑﻜﺘﺎﺏ ﻣﻦ ﻗﺒﻞ ﻫﺬﺍ ﺃﻭ ﺃﺛﺎﺭﺓ ﻣﻦ ﻋﻠﻢ‬

40บทที่ 5 สะนัดและมะตนั ความวา : “จงนํามาแกฉันซ่ึงกิตาบกอนหนาน้ีเถิด หรือการรายงาน บางสว นของวชิ าความร”ู (1) คําดํารัส  ‫ ﺃﺛﺎﺭﺓ‬ ความวา “รองรอย” มะฏอร อัลวัรรอกไดอธิบายวา คํานหี้ มายถึง อสิ นาดหะดษี (2) 1. นิยาม ตามหลักภาษาศาสตร คําวา ‫( َﺳَﻨ ٌﺪ‬สะนัด) เปนคําเอกพจน แปลวา สายรายงานหรือสายสืบ พหูพจน คือ ‫( ِﺇ ْﺳَﻨﺎ ٌﺩ‬อิสนาด) หมายถึง การถายทอดจากคนหนึ่งไปยังอีกคน หน่งึ ตามหลกั วิชาการ มีทัศนะอุละมาอฺหลายทัศนะดวยกันที่ไดอธิบายความหมายของสะนัดขอ ยก ตวั อยางในท่นี เ้ี พียงบางสวนเทา นน้ั 1. อิมามอัสสะคอวีย กลาววา สะนัด หมายถึง สายรายงานที่จะนําเขาสู มะตัน(3) (ตวั บทหะดีษ) 2. อิมามอิบนุ ญะมาอะฮฺ กลาววา อิสนาด หมายถึง การรายงานหะดีษ พรอมกบั ระบุผูรายงาน และคําวาสะนดั คอื สายสืบทน่ี าํ เขา สมู ะตนั หะดษี (4) (1) ซเู ราะฮฺอลั อะหฺกอฟ อายะฮฺท่ี 4 (2) อับดุลวะฮาบ เบญ็ อับดุลละตีฟ หนา 17 (3) หนงั สอื เดมิ หนา 16 (4) ดู หนงั สือเดิม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook