การวางเงอื่ นไขแบบการกระทา (Operant Conditioning) 89 หลักการใชก้ ารเสรมิ แรงทางบวก ก. การเสรมิ แรงตามจานวนครง้ั (Ratio Schedule) เปน็ การใหก้ ารเสรมิ แรงโดยคานงึ ถงึ จานวนครงั้ ในการตอบสนอง แบง่ เปน็ 2 ประเภท ก.1 การเสรมิ แรงตามจานวนครงั้ ทแ่ี นน่ อน (Fixed Ratio) F.R. เช่น กาหนดลงไปวา่ ถา้ เธอ เยบ็ เสอื้ ได้ 20 ตัวมารบั คา่ จา้ งได้ ข .2 การเสรมิ แรงตามจานวนครงั้ ทไ่ี ม่แน่นอน (Variable Ratio) V.R. เปน็ การเสรมิ แรงตาม จานวนครงั้ ของพฤตกิ รรม แต่ไม่ไดก้ าหนดแนน่ อนวา่ ทาพฤติกรรมกคี่ รง้ั แล้วจึงจะไดร้ บั การ เสรมิ แรง เชน่ บางที 5 คร้ัง บางทกี เ็ ปน็ 10 ครงั้ แลว้ เสรมิ แรง 89
การวางเงอ่ื นไขแบบการกระทา (Operant Conditioning) 90 หลกั การใชก้ ารเสรมิ แรงทางบวก ข. การเสรมิ แรงตามจานวนเวลา (Interval Sehedule) เป็นการใหก้ ารเสรมิ แรงโดยคานึงถงึ ช่วงเวลา แบง่ เปน็ 2 ประเภท ข.1 การเสรมิ แรงตามชว่ งเวลาทแ่ี นน่ อน (Fixed Interval) F.I. เช่น เงนิ เดอื นออก ทุกวนั ที่ 30 ข.2 การเสรมิ แรงตามชว่ งเวลาทไ่ี ม่แนน่ อน (Variable Interval) V.I. เปน็ การ เสรมิ แรงตามชว่ งเวลาทไี่ ม่แนน่ อน ชว่ ง เวลาใหก้ ารเสรมิ แรงไม่ตายตวั อาจจะ 1 ชวั่ โมงครง้ั , 3 ช่ัวโมงครงั้ เชน่ พฤตกิ รรมการรอรถเมล์ พฤตกิ รรมการตกปลา 90
การลงโทษ (Punishment) 91 การลงโทษ (Punishment) เป็นการทาใหค้ วามถีข่ องพฤตกิ รรม เป้าหมายลดหรอื ยตุ ลิ ง อันเป็นผลเน่ืองมาจากผลกรรมที่ตามหลงั พฤตกิ รรมนน้ั ตวั อยา่ ง ขณะสอบปลายภาควชิ าจติ วทิ ยา นายสดุ หล่อ ทุจรติ ในการสอบ ครจู บั ไดเ้ ลยให้ F หลงั จากน้นั นายสดุ หล่อไม่ กลา้ ทจุ รติ ใหก้ ารสอบอีกเลย 91
ข้อเสยี ของการลงโทษ 92 1. การลงโทษเปน็ เพียง การกด (Suppress) พฤติกรรมทไ่ี มพ่ งึ ปรารถนาไวเ้ ทา่ นั้น 2. ก่อใหเ้ กดิ ปญั หาทางอารมณ์ เชน่ โกรธ เสียใจ เศร้า ตามมา 3. เกิดการเลยี นแบบพฤตกิ รรมการลงโทษ 4. เกดิ ทัศนคติที่ไม่ดีตอ่ ผลู้ งโทษ 92
ข้อเสนอแนะในการลงโทษ 93 1. ทาทนั ทหี รอื เรว็ ทสี่ ุด เมอ่ื พฤตกิ รรมทไี่ มต่ อ้ งการเกดิ ขนึ้ 2. ควรให้มคี วามรนุ แรงพอเหมาะไมม่ ากหรอื นอ้ ยเกนิ ไป 3. ควรให้ผถู้ กู ลงโทษรวู้ า่ พฤตกิ รรมใดทีถ่ กู ลงโทษและเพราะเหตุใด 4. ควรใชเ้ หตผุ ลไมใ่ ชอ้ ารมณ์ 5. ควรใชก้ ารลงโทษควบคกู่ บั การเสรมิ แรงทางบวก (ระงบั พฤติกรรมท่ี ไม่พงึ ปรารถนา โดยการลงโทษ และเมอ่ื ทาพฤตกิ รรมทพ่ี งึ ปรารถนาตอ้ งรบี ให้การเสรมิ แรงทางบวก) 93
94 ขอ้ เสนอแนะในการลงโทษ 6. ผูล้ งโทษตอ้ งเปน็ ตวั แบบทดี่ ใี นทกุ ๆ ดา้ น 7. การลงโทษควรเปน็ วธิ ีสุดทา้ ย ถา้ ไมจ่ าเปน็ ไมค่ วรใชก้ าร ลงโทษ (การลงโทษควรใชใ้ นกรณที ท่ี าพฤตกิ รรมอนั ตรายตอ่ ชีวติ เชน่ เดก็ เอามอื ไปแหย่ปลกั๊ ไฟ ฯลฯ ) 94
การนาทฤษฎีการวางเงอื่ นไขแบบการกระทา 95 ไปใช้ในการเรยี นการสอน 1. ในการสอน การใหก้ ารเสรมิ แรงหลังการตอบสนองท่เี หมาะสมของเดก็ จะชว่ ย เพม่ิ อตั รากาตอบสนองทเี่ หมาะสมนน้ั 2. การเวน้ ระยะการเสรมิ แรงอยา่ งไมเ่ ปน็ ระบบ หรือเปล่ยี นรปู แบบการเสรมิ แรง จะชว่ ยให้การตอบสนองของผูเ้ รยี นคงทนถาวร 3. การลงโทษทร่ี นุ แรงเกินไป มผี ลเสยี มาก ผเู้ รียนอาจไมไ่ ดเ้ รยี นรหู้ รอื จาสิง่ ที่ เรียนรไู้ มไ่ ด้ ควรใชว้ ธิ กี ารงดการเสรมิ แรงเมอื่ ผเู้ รยี นมพี ฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ 95
ทฤษฎกี ารวางเงือ่ นไข 96 สรุป การเรยี นรแู้ บบวางเง่อื นไขแบบคลาสสคิ ผเู้ รยี น จะต้องรอสง่ิ เรา้ กอ่ นจึงจะมกี ารตอบสนอง ในทน่ี ้ี คือจะ ต้องมี เสยี งกระด่งิ กอ่ นทจี่ ะมกี ารหลัง่ น้าลาย การเรยี นรแู้ บบวางเงือ่ นไขโดยการกระทา ผเู้ รียนจะ กระทาดว้ ยตัวของตัวเองซึง่ จะไมต่ อ้ งคอยส่งิ เรา้ จากอยา่ งอื่นเลย 96
97 การเรียนรู้ :มมุ มองทางปัญญานยิ ม (Cognitive) 97
ทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ลมุ่ ปญั ญานยิ ม 98 ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ ส่ี าคญั ของกล่มุ ปญั ญานิยม อาทเิ ชน่ ❖ ทฤษฏกี ารเรยี นรขู้ องกลมุ่ เกสตัลท์ ( Gestalt Theory) ❖ ทฤษฎเี ครอ่ื งหมาย (Sign Theory) ❖ ทฤษฎกี ารเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามหมาย (A Theory of Meaningful Verbal Learnning) ❖ ทฤษฎสี นาม (Field Theory) ❖ ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสงั คมเชงิ พุทธปิ ญั ญา (Social Cognitive Learning Theory) 98
ทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ลมุ่ ปญั ญานิยม 99 ปัญญานยิ มหรอื กลมุ่ ความรคู้ วามเขา้ ใจ หรืออาจเรยี กวา่ กลมุ่ พทุ ธนิ ยิ ม เปน็ กลมุ่ ทเี่ นน้ กระบวนการทาง ปญั ญาหรอื ความคดิ นักคดิ กลมุ่ นไี้ ดข้ ยายขอบเขตของความคดิ ทเ่ี นน้ ทางด้านพฤตกิ รรมออกไปสกู่ ระบวนการ ทางความคิดซงึ่ เปน็ กระบวนการภายในสมอง นกั คดิ กลมุ่ นเี้ ชอ่ื ว่าการเรยี นรขู้ องมนษุ ยไ์ มใ่ ชเ่ รอ่ื งของพฤตกิ รรมที่ เกดิ จากกระบวน การตอบสนองต่อสิง่ เรา้ เพยี งเทา่ นนั้ การเรยี นรขู้ องมนษุ ยม์ คี วามซบั ซอ้ นยิ่งไปกวา่ นน้ั การเรยี นรเู้ ปน็ กระบวนการทางความคดิ ทเ่ี กดิ จากการสะสมข้อมลู การสรา้ งความหมาย และ ความสัมพนั ธข์ องขอ้ มลู และการดงึ ข้อมูลออกมาใชใ้ นการกระทาและการแกป้ ญั หาตา่ งๆ การเรยี นรเู้ ปน็ กระบวนการทางสตปิ ญั ญาของมนษุ ยใ์ นการทจ่ี ะสรา้ งความรคู้ วาม เข้าใจใหแ้ กต่ นเอง 99
100 กลุ่มเกสตัลทน์ เ้ี รมิ่ กอ่ ตง้ั ในประเทศเยอรมนั นี ราวปี ค.ศ. 1912 ใน ระยะใกลเ้ คียงกบั กลุม่ พฤติกรรมนยิ มกาลงั แพรห่ ลาย ไดร้ บั ความนิยมอยใู่ น ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ผ้นู าของกลมุ่ คอื แมกซ์ เวอรไ์ ทมเ์ มอร์, วลุ ์ฟแกงค์ โคหเ์ ลอร,์ เคิรท์ คอฟฟก์ า, และ เคิรท์ เลวนิ ซ่งึ ต่อมาภายหลงั เลอวนิ ได้ นาเอาทฤษฎขี องกลุ่มเกสตัลทน์ ีม้ าปรบั ปรงุ ดดั แปลงเปน็ ทฤษฎใี หม่ คือ ทฤษฎสี นาม 100
101 เกสตัลท์ เปน็ คาศพั ทใ์ นภาษาเยอรมนั มคี วามหมายวา่ แบบแผน หรอื รปู รา่ ง (form or pattern) ซึง่ ต่อมาในความหมายของทฤษฎนี ี้ หมายถึง สว่ นรวม หรือ ส่วนประกอบทง้ั หมด สาเหตุ ที่เรยี กเช่นนเี้ พราะความคดิ หลกั ของกลมุ่ นเ้ี ชอื่ วา่ การเรยี นรทู้ ด่ี ยี ่อมเกดิ จากการจดั สง่ิ เรา้ ต่างๆ มา รวมกนั ใหเ้ กดิ การรบั รโู้ ดยสว่ นรวมกอ่ นและจึงแยกวเิ คราะหเ์ พื่อเรยี นรสู้ ว่ นย่อยทลี ะสว่ ต่อไป ถา้ มนษุ ย์หรอื สตั วม์ องภาพพจนข์ องสง่ิ เรา้ ไมเ่ หน็ โดยสว่ นรวมแลว้ จะไม่เขา้ ใจหรอื เรยี นรไู้ ม่ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ 101
102 กฎการเรยี นรขู้ องกลมุ่ เกสตลั ท์ สรุปไดด้ งั นี้ 1. การเรยี นรเู้ ปน็ กระบวนการทางความคดิ ซึ่งเปน็ กระบวนการภายในตัวของมนษุ ย์ 2. บคุ คลจะเรยี นรจู้ ากส่งิ เรา้ ทเ่ี ปน็ สว่ นรวมไดด้ กี วา่ สว่ นย่อย 3. การเรยี นรเู้ กดิ ข้ึนได้ 2 ลักษณะ คอื 3.1) การรบั รู้ (perception) 3.2) การหยงั่ เหน็ (Insight) 4. กฎการจดั ระเบยี บการรบั รขู้ องเกสตัลท์ 5. การเรยี นรแู้ บบหยง่ั เหน็ (Insight) 102
103 การเรยี นรเู้ กดิ ขนึ้ ได้ 2 ลกั ษณะ 1. การรบั รู้ (perception) การรบั รเู้ ปน็ กระบวนการทบ่ี คุ คลใช้ ประสาทสมั ผสั รบั สง่ิ เรา้ แลว้ ถ่ายโยงเข้าส่สู มองเพ่ือผา่ นเขา้ สกู่ ระบวนการคดิ สมองหรอื จติ จะใชป้ ระสบการณเ์ ดมิ ตีความหมายของสิง่ เรา้ และแสดงปฏิกริ ยิ า ตอบสนองออกไปตามทส่ี มอง / จติ ตคี วามหมาย 2. การหยงั่ เหน็ (Insight) เปน็ การคน้ พบหรอื เกดิ ความเข้าใจใน ชอ่ งทางแกป้ ญั หาอยา่ งฉบั พลนั ทนั ที อันเนอ่ื งมาจากผลการพิจารณาปญั หา โดยสว่ นรวม และการใช้กระบวนการทางความคดิ และสตปิ ญั ญาของบคุ คลนนั้ 103
104 กฎการจดั ระเบียบการรบั รขู้ องเกสตัลท์ มีดงั น้ี ➢ กฎการรบั รสู้ ว่ นรวมและสว่ นยอ่ ย (Law of Pragnanz) ประสบการณ์ เดมิ มีอทิ ธพิ ลต่อการรบั รขู้ องบคุ คล การรบั รขู้ องบคุ คลต่อสิง่ เรา้ เดยี วกนั อาจแตกตา่ งกนั ได้ เพราะการใชป้ ระสบการณเ์ ดมิ มารบั รสู้ ว่ นรวมและ ส่วนยอ่ ยตา่ งกนั ➢ กฎแหง่ ความคลา้ ยคลงึ (Law of Similarity) สิ่งเรา้ ใดทมี่ ลี กั ษณะ เหมือนกนั หรือคล้ายคลึงกนั บุคคลมักรบั รเู้ ปน็ พวกเดยี วกนั ➢ กฎแหง่ ความใกลเ้ คียง (Law of Proximity) สิ่งเรา้ ทม่ี คี วามใกลเ้ คยี งกนั บคุ คลมกั รบั รเู้ ปน็ พวกเดยี วกนั 104
105 กฎการจดั ระเบียบการรบั รขู้ องเกสตัลท์ มดี ังน้ี ➢ กฎแหง่ ความสมบรู ณ์ (Law of Closure) แม้ส่งิ เรา้ ทบี่ คุ คลรบั รจู้ ะยังไมส่ มบูรณ์ แต่ บคุ คลสามารถรบั รใู้ นลกั ษณะสมบูรณไ์ ดถ้ ้าบุคคลมปี ระสบการณเ์ ดมิ ในสงิ่ เรา้ นั้น ➢ กฎแหง่ ความต่อเนื่อง ส่ิงเรา้ ทมี่ คี วามต่อเนือ่ งกนั หรอื มีทศิ ทางไปในแนวเดยี วกนั บคุ คลมกั รบั รเู้ ปน็ พวกเดยี วกนั หรือเรอ่ื งเดยี วกนั หรือเปน็ เหตุผลเดยี วกนั ➢ การรบั รขู้ องบคุ คลอาจผิดพลาดบิดเบอื นไปจากความเปน็ จรงิ ได้ เนอ่ื งมาจากการจดั กลมุ่ ลกั ษณะสงิ่ เรา้ ทที่ าใหเ้ กดิ การลวงตา เชน่ การตัดกนั ของเสน้ 105
106 การเรยี นรแู้ บบหยงั่ เหน็ (Insight) การหยง่ั เหน็ เปน็ การคน้ พบหรอื เกดิ ความเขา้ ใจในช่องทางแกป้ ญั หาอย่างฉบั พลนั ทนั ที อนั เน่อื งมาจากผลการพจิ ารณาปญั หาโดยสว่ นรวม และการใชก้ ระบวนการทางความคิดและ สตปิ ญั ญาของบุคคลนนั้ ในการเชอ่ื มโยงประสบการณเ์ ดมิ กบั ปญั หาหรอื สถานการณท์ เี่ ผชญิ ดังนั้น ปัจจัยสาคัญของการเรยี นรแู้ บบหยง่ั เหน็ กค็ ือประสบการณ์ หากมปี ระสบการณส์ ะสมไวม้ าก การเรยี นรแู้ บบหยงั่ เหน็ กจ็ ะเกดิ ขนึ้ ไดม้ ากเชน่ กนั 106
การเรยี นรแู้ บบหยงั่ เหน็ (Insight Learning) 107 โคห์เลอร์ และเพื่อนรว่ มงานไดไ้ ปตดิ เกาะคานารพี รอ้ มลงิ ชมิ แพซแี สนรทู้ ชี่ อื่ สลุ ตา่ น โดยใชเ้ วลา 4 เดอื นในการสงั เกตพฤติกรรม การเรยี นรใู้ นการแกป้ ญั หาของลิง ทาการทดลองการเรยี นรกู้ าร แกป้ ญั หาของลงิ 2 แบบ 107
การเรยี นรแู้ บบหยง่ั เหน็ (Insight Learning) 108 โคหเ์ ลอร์ นาลงิ ทก่ี าลังหวิ ใสใ่ นกรงทม่ี กี ลว้ ยแขวนไวท้ เี่ พดานกรง ซึ่งสูง กวา่ ทลี่ งิ จะเออื้ ม แต่มีไมห้ ลายทอ่ นวางอยู่ แตล่ ะอนั กย็ าวไมถ่ งึ กลว้ ย ลิงจงึ ตอ่ ไปเรอ่ื ยๆ แต่กไ็ มถ่ งึ ลงิ หยุดสอยกลว้ ยแต่แลว้ ลงิ กห็ นั มาตอ่ ไมเ้ พมิ่ จน สามารถสอยกลว้ ยมากนิ ได้ โคหเ์ ลอร์ นากลว้ ยแขวนไวท้ เ่ี ดมิ แต่คร้งั น้ีไม่มไี มม้ แี ต่กล่อง ด้วยความ หวิ ของลงิ กไ็ ปยนื กลอ่ งโน้น กล่องนี้แตก่ ไ็ มถ่ งึ สุดทา้ ยลงิ เรยี นรทู้ จ่ี ะต่อกลอ่ งทกุ ใบแล้วปนี ยนื บนกลอ่ งสามารถเอากลว้ ยมากนิ ได้ 108
การเรยี นรแู้ บบหยงั่ เหน็ (Insight Learning) 109 นกั จติ วทิ ยาทส่ี นใจเรอื่ งการเรยี นรโู้ ดยการหยง่ั รู้ และทาการทดลองไวค้ ือ โคทเ์ ลอร์ (Kohler) โคทเ์ ลอรไ์ ด้ทดลองกบั ลิงชอ่ื \"สลุ ต่าน\" โดยขงั สลุ ตา่ นไวใ้ นกรง และเมอ่ื สลุ ตา่ นเกดิ ความหวิ เพราะถึงเวลาอาหาร โคทเ์ ลอรไ์ ด้วางผลไมไ้ วน้ อกกรง ในระยะทส่ี ลุ ตา่ นไมส่ ามารถเออื้ มถงึ ได้ด้วยมอื เปลา่ พรอ้ มกบั วางทอ่ นไมซ้ ่งึ มขี นาด ตา่ งกนั ส้นั บา้ งยาวบา้ ง ทอ่ นสน้ั อยใู่ กลก้ รงแต่ทอ่ นยาวอยหู่ า่ งออกไป สุลตา่ นควา้ ไม้ทอ่ นสน้ั ได้แตไ่ มส่ ามารถเขยี่ ผลไมไ้ ด้ 109
การเรยี นรแู้ บบหยงั่ เหน็ (Insight Learning) 110 สุลต่านวางไมท้ อ่ นสนั้ ลง และวิ่งไปมาอยสู่ ักครู่ ทันใดนัน้ \"สุลตา่ น\" กจ็ บั ไม้ ทอ่ นสัน้ เขีย่ ไมท้ อ่ นยาวมาใกล้ตัว และหยิบไมท้ อ่ นยาวเขย่ี ผลไมม้ ากนิ ได้ พฤตกิ รรม ของสุลตา่ นไมม่ ีการลองผิดลองถกู เลย โคท์เลอร์ จงึ ได้สรปุ ว่า สุลต่านมกี ารหยั่ง รู้ (Insight) ในการแกป้ ญั หา คอื มองเหน็ ความสมั พนั ธข์ องส่งิ 3 สง่ิ คือ ไม้ ท่อนสั้น ไมท้ อ่ นยาว และผลไมไ้ ด้ 110
การเรยี นรแู้ บบหยงั่ เหน็ (Insight Learning) 111 สรปุ การเรยี นรโู้ ดยการหยงั่ เหน็ 1. มีสถานการณท์ เ่ี ปน็ ปญั หาเกดิ ขนึ้ 2. ผู้เรยี นลงมอื แกป้ ญั หาตามทรี่ บั รู้ 3. ผูเ้ รยี นใชค้ วามผิดเปน็ ครใู นการแกป้ ญั หา 4. เม่ือมองเห็นความสมั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบยอ่ ยของสถานการณ์ ทเี่ ปน็ ปญั หา แลว้ นาความสัมพันธน์ นั้ มาชว่ ยในแกป้ ญั หาได้ สาเรจ็ (มีการหยง่ั เห็นเกดิ ขน้ึ ) 111
ข้อสรปุ เกยี่ วกบั การเรยี นรโู้ ดยการหยง่ั เหน็ 112 1. แนวทางการเรยี นรใู้ นการแกป้ ญั หาของผู้เรยี นมกั จะเกดิ ขนึ้ ทนั ทที นั ใดจงึ เรียกวา่ Insight 2. การทจี่ ะมคี วามสามารถเรยี นรกู้ ารแกป้ ญั หาอยา่ งทนั ทที นั ใดไดน้ ้ัน ผ้เู รยี นจะตอ้ งมี ประสบการณใ์ นการแกป้ ญั หาทานองเดยี วกนั มากอ่ น เพราะจะชว่ ยทาให้มองเหน็ ชอ่ งทางในการ แก้ปญั หาแบบใหมไ่ ด้ 3. นอกเหนือจากประสบการณ์เดิมแล้ว ผู้เรียนจะต้องมีความ สามารถในการมองเห็น ความสัมพันธ์ต่างๆ เพราะการที่มีความสามารถมองเห็นความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ นี้เอง จะมีส่วน ชว่ ยให้ผเู้ รียนมีการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ความสามารถดังกล่าวนี้ จาเป็นอย่างย่ิง ท่ผี ูเ้ รียนจะต้องมรี ะดับสตปิ ัญญาดพี อสมควร จงึ สามารถแก้ปญั หาโดยการหยั่งรไู้ ด้ 112
ปัจจยั สาคัญทคี่ มุ ไมใ่ ห้เกดิ การหยง่ั เหน็ 113 1. ขาดการจงู ใจทแ่ี รงพอ 2. ตวั เรา้ อันเปน็ สว่ นประกอบของสถานการณน์ ัน้ กระจายกนั อยไู่ ม่ เป็นระเบยี บจนเกนิ ไป 3. ขาดประสบการณ์ และความชานชิ านาญ 4. นสิ ยั และความคดิ เหน็ เกา่ ขวางกัน้ การมองเหน็ ความหมายในรปู ใหม่ 113
การนาทฤษฎกี ารเรยี นรโู้ ดยการหยงั่ เหน็ 114 ไปใชใ้ นการเรยี นการสอน 1. การจดั การเรยี นการสอนควรจดั ใหม้ ีความยากงา่ ยและเหมาะสมกบั ระดบั สติปญั ญาของ ผูเ้ รยี น ผ้เู รยี นแตล่ ะคนมคี วามแตกตา่ งทางดา้ นสตปิ ญั ญา เพราะผเู้ รยี นทม่ี สี ตปิ ญั ญาระดบั สงู จะ สามารถรบั รแู้ ละมองเหน็ ความสมั พนั ธข์ องสถานการณท์ เี่ ปน็ ปญั หาไดเ้ รว็ กวา่ ผเู้ รยี นทมี่ รี ะดบั ปญั ญา ปานกลางหรอื ตา่ 2. จัดประสบการณแ์ ละกจิ กรรมการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย มีวัสดอุ ปุ กรณท์ ช่ี ว่ ยใหม้ กี าร เรยี นรเู้ กดิ ขน้ึ ไดง้ ่าย เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นไดม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจ และมปี ระสบการณก์ วา้ งขวาง ซ่ึงจะชว่ ยให้ ผู้เรียนสามารถนาความรแู้ ละประสบการณท์ มี่ อี ยู่ ไปช่วยใหเ้ กดิ การหยัง่ เหน็ ไดง้ ่ายขึ้นและรวดเรว็ ข้ึน 114
การนาทฤษฎกี ารเรยี นรโู้ ดยการหยง่ั เหน็ (ตอ่ ) 115 ไปใชใ้ นการเรยี นการสอน 3. สง่ เสรมิ กระบวนการคดิ แกผ่ เู้ รยี น เพราะกระบวนการ สาคัญและจาเป็นในการเรยี นรู้ 4. สอนโดยการเสนอภาพรวมใหผ้ เู้ รยี นเหน็ และเขา้ ใจกอ่ นการเสนอสว่ นยอ่ ย จะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การ เรยี นรไู้ ดด้ ี 5. สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมปี ระสบการณม์ าก ไดร้ ับประสบการณท์ ห่ี ลากหลายจะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นสามารถคดิ แก้ปัญหาและคดิ รเิ รมิ่ ได้มากขน้ึ 6. การจัดประสบการณใ์ หม่ ใหม้ ีความสมั พนั ธก์ บั ประสบการณเ์ ดิมของผเู้ รยี นจะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นสามารถ เรยี นรไู้ ด้งา่ ยขน้ึ 7. การจัดระเบยี บสงิ่ เรา้ ทตี่ ้องการใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรใู้ หด้ ีคอื การจัดกลมุ่ สง่ิ เรา้ ทเี่ หมอื นกนั หรอื คล้ายคลงึ กนั ไว้เปน็ กลมุ่ เดียวกนั 115
ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสงั คม (Social Leaning Theory ) 116 บันดูรา ( Albert Bandura ) นักจติ วทิ ยาคนสาคญั ในกลุ่มทฤษฎกี ารเรียนรู้ ทางสังคม บันดูราได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับการเรียนรู้ว่า คนเราสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆ มากมายโดยการสังเกตจากพฤติกรรมของบุคคลอ่ืนท่ีตนได้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์ด้วย เช่น บิดามารดา ญาติพ่ีน้อง เพื่อน ครูอาจารย์ หรือบุคคลท่ัวไปในสังคม รวมท้ัง สังเกตจากพฤติกรรมของบุคคลท่ีปรากฏในโทรทัศน์ ภาพยนตร์ หรือหนังสือพิมพ์ เปน็ ตน้ 116
ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสงั คม (Social Leaning Theory ) 117 นักจิตวิทยาในกลุ่มทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมได้กาหนดข้อตกลงของการ เรยี นรไู้ วห้ ลายประการ ดังน้ี 1. บุคคลสามารถเรียนรู้จากการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลอ่ืนหรือเรียนรู้ จากตัวแบบ 2. การเรียนรู้เป็นกระบวนการภายในตัวบุคคล อาจส่งผลให้บุคคลมีการ เปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมหรือไมก่ ็ได้ 117
ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสังคม (Social Leaning Theory ) 118 3. กระบวนการคิดมีบทบาทสาคัญในการกาหนดว่า บุคคลได้มีการเรียนรู้ เกดิ ข้ึนแลว้ 4. พฤติกรรมที่เกิดข้ึนจะมุ่งสู่เป้าหมาย เป็นเป้าหมายท่ีบุคคลเป็นผู้กาหนด ดว้ ยตนเอง 5. บคุ คลจะเปน็ ผ้กู ากับพฤติกรรมของตนเอง 6. การเสริมแรงและการลงโทษ มผี ลตอ่ พฤตกิ รรม 118
ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสงั คม (Social Leaning Theory ) 119 ตวั แบบและการเรยี นรจู้ ากตวั แบบ (Model and Modeling) การเรียนรู้โดยการสังเกตจากพฤติกรรมของบุคคลอื่น หรือมีตัวแบบ (model) บุคคลได้ เรียนรู้ จะเรียกว่าการเรียนรู้จากตัวแบบ(Modeling) ได้ ตัวแบบท่ีบุคคลใช้สังเกตเพ่ือการเรียนรู้ อาจเป็นคนจริงๆที่มีชีวิตอยู่ และผู้เรียนสามารถสังเกตพฤติกรรมได้โดยตรง เช่น สมาชิกภายใน ครอบครัว ครู เพื่อนบ้าน เพื่อนเล่น เพ่ือนในช้ันเรียนที่โรงเรียน เป็นต้น เรียกตัวแบบน้ีว่า Live modelsกับตัวแบบที่มลี กั ษณะเป็น Symbolic models ได้แก่ ตวั แบบท่ปี รากฏใหเ้ ห็นในภาพยนตร์ โทรทัศน์ หนงั สอื พิมพ์ นวนิยาย หรือชวี ประวัติของบุคคลต่างๆ เป็นต้น 119
ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสงั คม (Social Leaning Theory ) 120 กระบวนการเรยี นรโู้ ดยการสังเกต 1. ความใส่ใจ (Attention) การเรยี นรใู้ นลกั ษณะน้จี ะเกดิ ขึน้ ได้กต็ ่อเมอื่ ผเู้ รยี นมคี วามสนใจ และเอาใจใส่ต่อตัวแบบและกิจกรรมของตัวแบบ เพราะจะทาให้สามารถเกิดแบบแผนในการ เลียนแบบตัวแบบได้ 2. กระบวนการจา ( Retention) ผู้สังเกตต้องบันทึกส่ิงที่สังเกต กิจกรรมหรือข้อมูล ข่าวสารได้ ท้ังนี้เพ่ือการนากลับคืนมาและใช้ต่อไป ถ้าผู้สังเกตสามารถอธิบายการกระทาด้วยการ สร้างภาพในใจหรอื ด้วยคาพดู การสามารถเลยี นแบบพฤติกรรมไดด้ แี มเ้ วลาผา่ นไปนาน 120
ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสังคม (Social Leaning Theory ) 121 กระบวนการเรยี นรโู้ ดยการสังเกต 3. กระบวนการเลยี นแบบ ( Reproduction ) คอื การนาสง่ิ บันทกึ ไวใ้ นความจามาเปน็ สงิ่ ชน้ี า ในการเลยี นแบบตามพฤตกิ รรมของตวั แบบ พฤติกรรมทแี่ สดงออกไมใ่ ชก่ ารลอกแบบอยา่ ง ตรงไปตรงมาแตเ่ ปน็ การเลยี นแบบทมี่ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจและความพรอ้ ม ดังนั้น พฤตกิ รรมของแต่ ละบคุ คลอาจมคี วามแตกตา่ งกนั ไป แม้วา่ จะมาจากตัวแบบเดยี วกนั บางคนอาจทาไดด้ กี วา่ ทาไดแ้ ย่ กวา่ หรอื ทาไดเ้ ทา่ เทยี มกนั กบั ตวั แบบ 121
ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสงั คม (Social Leaning Theory ) 122 กระบวนการเรยี นรโู้ ดยการสังเกต 4. กระบวนการจูงใจ ( Motivation ) การจูงใจเป็นส่ิงสาคัญที่ทาให้เกิดการเลียนแบบ ผู้ สงั เกตจะเลียนแบบพฤตกิ รรมทใ่ี ห้ผลดกี บั เขา เชน่ ได้รบั แรงเสริม รางวลั หรอื คาชมเชย มากกว่า ทจ่ี ะเลยี นแบบสิ่งที่ให้โทษและมีแนวโนม้ ทจี่ ะเลยี นแบบพฤตกิ รรมทเ่ี ขาพอใจ มากกว่าพฤติกรรม ทเ่ี ขาทาแลว้ ไมส่ บายใจ 122
ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสังคม (Social Leaning Theory ) 123 หลกั พน้ื ฐานของทฤษฎปี ญั ญาสงั คม 1. กระบวนการเรียนรู้ต้องอาศัยทั้งกระบวนการทางปัญญา และทักษะการตัดสินใจ ของผู้เรยี น 2. การเรยี นรูเ้ ปน็ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งองคป์ ระกอบ ๓ ประการ ระหวา่ ง ตัวบุคคล (Person) สิ่งแวดลอ้ ม (Environment) และพฤตกิ รรม (Behavior) ซงึ่ มอี ิทธพิ ลตอ่ กัน และกัน 123
ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสังคม (Social Leaning Theory ) 124 หลกั พนื้ ฐานของทฤษฎปี ญั ญาสังคม 3. ผลของการเรยี นรกู้ บั การแสดงออกอาจจะแตกตา่ งกนั สิง่ ทเ่ี รยี นรแู้ ลว้ อาจไม่มี การแสดงออกกไ็ ด้ เช่น ผลของการกระทา (Consequence) ด้านบวก เมือ่ เรยี นรแู้ ลว้ จะเกดิ การแสดงพฤตกิ รรมเลียนแบบ แต่ผลการกระทาดา้ นลบ อาจมกี ารเรยี นรแู้ ตไ่ มม่ ี การเลยี นแบบ 124
ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสังคม (Social Leaning Theory ) 125 การเรยี นการสอน 1. ในห้องเรยี นครจู ะเปน็ ตัวแบบทม่ี อี ิทธพิ ลมากทส่ี ดุ ครคู วร คานึงอยเู่ สมอวา่ การเรียนรู้โดยการสงั เกตและเลยี นแบบจะเกดิ ขน้ึ ไดเ้ สมอ แมว้ า่ ครจู ะ ไม่ได้ต้ังวัตถปุ ระสงคไ์ วก้ ็ตาม 2. การสอนแบบสาธติ ปฏบิ ัตเิ ปน็ การสอนโดยใช้หลกั การและขนั้ ตอนของทฤษฎีปญั ญา สงั คมทง้ั สน้ิ ครตู ้องแสดงตัวอยา่ งพฤตกิ รรมทีถ่ ูกตอ้ งทสี่ ดุ เทา่ น้ัน จึงจะมปี ระสทิ ธภิ าพในการ แสดงพฤตกิ รรมเลยี นแบบ ความผดิ พลาดของครูแมไ้ มต่ ง้ั ใจ ไม่ว่าครูจะพร่าบอกผเู้ รยี นวา่ ไม่ ตอ้ งสนใจจดจา แต่กผ็ า่ นการสงั เกตและการรับรู้ของผเู้ รยี นไปแลว้ 125
ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสังคม (Social Leaning Theory ) 126 การเรยี นการสอน 3. ตัวแบบในชนั้ เรยี นไมค่ วรจากดั ไวท้ คี่ รเู ทา่ นัน้ ควรใชผ้ เู้ รยี นด้วยกนั เปน็ ตัว แบบไดใ้ นบางกรณี โดยธรรมชาตเิ พอ่ื นในชนั้ เรยี นยอ่ มมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การเลียนแบบสงู อยู่ แล้ว ครูควรพยายามใชท้ กั ษะจงู ใจให้ผเู้ รยี นสนใจและเลยี นแบบเพอ่ื นที่มพี ฤตกิ รรมทีด่ ี มากกวา่ ผ้ทู มี่ พี ฤติกรรมไมด่ ี 126
ทฤษฎคี อนสตรคั ตวิ สิ ต์ (Constructivist theory) 127 https://www.youtube.com/watch?v=qFr1cui_oj4&t=10s https://www.youtube.com/watch?v=tLopVl4bBsM https://www.youtube.com/watch?v=m4t3LWIYpfw 127
ทฤษฎคี อนสตรคั ตวิ สิ ต์ (Constructivist theory) 128 เป็นทฤษฎีทางการศึกษาที่พัฒนาข้ึนโดย Professor Seymour Papert แห่ง M.I.T. (MassachusetteInstitute of Technology) ทฤษฎคี อนสตรคั ชนั่ นสิ ซมึ่ (Constructionism) หรอื ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างองค์ ความรูด้ ้วย ตนเอง 128
ทฤษฎคี อนสตรคั ตวิ สิ ต์ (Constructivist theory) 129 ซมี วั ร์ พารเ์ พริ ท์ (Seymour Papert) ได้ใหค้ วามเหน็ วา่ ทฤษฎกี ารศกึ ษาการเรยี นรทู้ ม่ี ี พื้นฐานอยูบ่ นกระบวนการการสรา้ ง 2 กระบวนการดว้ ยกนั ❑ สิ่งแรกคอื ผเู้ รยี นเรยี นรดู้ ว้ ยการสรา้ งความรใู้ หมข่ ึน้ ดว้ ยตนเอง ไม่ใชร่ บั แต่ขอ้ มลู ที่ หลงั่ ไหลเขา้ มาในสมองของผเู้ รยี นเทา่ นน้ั โดยความรจู้ ะเกดิ ขน้ึ จากการแปลความหมายของ ประสบการณท์ ่ี ไดร้ ับ : สงั เกตวา่ ในขณะทเี่ รา สนใจท าสงิ่ ใดสงิ่ หนึ่งอยอู่ ย่าง ต้งั ใจเราจะ ไม่ลดละความ พยายาม เราจะคิดหาวธิ กี ารแกไ้ ขปญั หานน้ั จนได้ ❑ สงิ่ ทีส่ องคือกระบวนการการเรยี นรจู้ ะมปี ระสิทธภิ าพมากทส่ี ดุ หากกระบวนการนนั้ มคี วามหมาย กับผู้เรยี นคนน้นั 129
ทฤษฎคี อนสตรคั ตวิ สิ ต์ (Constructivist theory) 130 หลักการทผ่ี เู้ รยี นไดส้ รา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง หลักการเรยี นรตู้ ามทฤษฎี Constructionism คือ ❖ การสรา้ งองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง โดยใหผ้ เู้ รยี นลงมือประกอบกจิ กรรมการ เรียนรดู้ ว้ ยตนเองหรอื ไดป้ ฏิสมั พันธก์ บั สง่ิ แวดลอ้ มภายนอกทม่ี คี วามหมาย ซ่งึ จะรวมถงึ ปฏกิ ริ ยิ า ระหวา่ งความรใู้ นตวั ของผเู้ รยี นเอง ประสบการณแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ มภายนอกการเรยี นรจู้ ะไดผ้ ลดถี า้ หากวา่ ผเู้ รยี นเข้าใจในตนเอง มองเหน็ ความส าคัญในสงิ่ ทเี่ รยี นรแู้ ละสามารถเชอ่ื มโยงความรู้ ระหวา่ งความรใู้ หมก่ บั ความรู้ เก่า (รวู้ า่ ตนเองไดเ้ รยี นรอู้ ะไรบ้าง)และสรา้ งเปน็ องค์ความรใู้ หม่ ขึ้นมา 130
ทฤษฎคี อนสตรคั ตวิ สิ ต์ (Constructivist theory) 131 หลกั การทผ่ี เู้ รยี นไดส้ รา้ งองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง หลักการเรยี นรตู้ ามทฤษฎี Constructionism คือ ❖ หลักการทยี่ ึดผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลางการเรยี นรู้ โดยครคู วรพยายามจดั บรรยากาศการเรยี น การสอน ท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนด้วยตนเองโดยมีทางเลือกในการ เรียนรู้ที่หลากหลาย(Many Choice) และ เรียนรู้อย่างมีความสุขสามารถเช่ือมโยงความรู้ระหว่าง ความรู้ใหม่กับความรู้เก่าได้ส่วนครูเป็นผู้ ช่วยเหลอื และคอยอ านวยความสะดวก 131
ทฤษฎคี อนสตรคั ตวิ สิ ต์ (Constructivist theory) 132 หลักการทผี่ เู้ รยี นไดส้ รา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง หลกั การเรยี นรตู้ ามทฤษฎี Constructionism คือ ❖ หลกั การเรยี นรจู้ ากประสบการณแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ ม หลักการนเี้ นน้ ใหเ้ หน็ ความส าคัญของ การเรยี นรรู้ ว่ มกนั (Social value) ทาใหผ้ เู้ รยี นเห็นว่า คนเปน็ แหล่งความรอู้ กี แหลง่ หนง่ึ ทส่ี าคัญ การ สอนตามทฤษฎCี onstructionism เป็นการจดั ประสบการณเ์ พ่อื เตรยี มคนออกไปเผชญิ โลกถา้ ผเู้ รยี น เหน็ วา่ คนเปน็ แหลง่ ความรสู้ าคญั และ สามารถแลกเปลย่ี นความรกู้ นั ไดเ้ มอ่ื เขาจบออกไปกจ็ ะ ปรับตวั ไดง้ ่ายและทางานรว่ มกบั ผอู้ น่ื อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ 132
ทฤษฎคี อนสตรคั ตวิ สิ ต์ (Constructivist theory) 133 หลักการทผี่ เู้ รยี นไดส้ รา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง หลกั การเรยี นรตู้ ามทฤษฎี Constructionism คือ ❖ หลกั การทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ เครอื่ งมือ การรจู้ ักแสวงหาคาตอบจากแหลง่ ความรตู้ า่ งๆ ดว้ ย ตนเองเปน็ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมทฝ่ี งั แนน่ เมอื่ ผเู้ รยี น \"เรยี นรวู้ า่ จะเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งไร (Learn how to Learn)\" 133
134
ความหมายของแรงจูงใจ 135 แรงจงู ใจ (Motives) มาจากคากรยิ าในภาษาละตนิ วา่ “Movere”ตรงกบั ภาษาองั กฤษวา่ “tomove” มีความหมายว่า “เปน็ สิ่งทโ่ี นม้ นา้ วหรอื ชักนาให้บคุ คล เกดิ การกระทาหรอื ปฏบิ ตั กิ าร” แรงจงู ใจใชก้ ันมากเพราะเช่ือว่าจะกระทาใหก้ ารเรยี นรู้ ไดผ้ ลดี แรงจงู ใจยงั เปน็ กระบวนการทชี่ กั นาโนม้ นา้ วใหบ้ คุ คลเกดิ ความมานะพยายาม เพ่อื สนองตอบความตอ้ งการ (want) ความจาเปน็ (Needs) แรงขบั (Drives) หรือ แรงกระตนุ้ (Impulses) อันเกดิ ขนึ้ ภายในบคุ คล
136 1.พลังงานที่กระตุ้นให้แสดงพฤติกรรม ซึ่งพลังงานสามารถแปรเปล่ียนได้ เช่น คนเราบางคร้ัง จะเดนิ อย่างเร็วบางคร้ังเดนิ ช้า 2.ตัวกาหนดทิศทางและเป้าหมายของพฤติกรรม เช่น การท่ีคนเราเดินกลับบ้านหลังจากเลิก งานแล้วอาจไปแวะห้างสรรพสนิ คา้ รา้ นหนงั สอื ตลาด หรือบ้านเพอ่ื น เปน็ ตน้ 3.ตัวกาหนดระดบั ของความพยายาม เชน่ การที่คนเราจะสนใจอา่ นหนังสือวารสารสักเล่มก็แวะ ซ้ือท่ีร้านขายหนังสือ แต่พบว่าวารสารเล่มนี้หมดแล้วอาจหมดความสนใจแต่ถ้าความสนใจยังมีอยู่ ระดบั สูงเขาอาจเดินไปดูหลายๆ รา้ น หรอื ถามคนร้จู ักทม่ี ีหนงั สือฉบบั นเี้ พอ่ื ขอยืมอ่านก็ได้ ลักษณะของแรงจูงใจ
แรงจงู ใจทง้ั 137 3 ลักษณะ ทาหนา้ ท่ีเปน็ ตวั กระตนุ้ ใหค้ นมกี ารกระทาเพอ่ื ไปสู่จดุ หมายปลายทาง ซึ่งตัวกระตุ้นนอี้ าจจะเปน็ แรงที่มาจากภายในซึ่งเรียกว่าแรงจูงใจภายในหรือ ตัวกระตุ้นอาจจะเป็นแรงท่ีมาจากส่ิงเร้าภายนอกซ่ึงเรียกว่าแรงจูงใจ ภายนอก
138 องคป์ ระกอบของแรงจูงใจ 1. ความตอ้ งการ (Needs) 2. แรงขับ (Drives) 3. เปา้ หมาย (Goals) 26/03/65
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271