Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมจิตวิทยา

รวมจิตวิทยา

Published by sompong suwannakarn, 2022-03-26 00:30:02

Description: รวมจิตวิทยา เป็นหนังสือที่ใช้ประกอบการเรียนกาสอนราบวิชาจิตวิทยา ป.บัณฑิต ม.ทักษิณ

Search

Read the Text Version

189 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 1. เดก็ ท่ีมคี วามบกพร่องทางการเหน็ 2. เดก็ ท่ีมีความบกพรอ่ งทางการได้ยนิ 3. เด็กท่มี ีความบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา 4. เดก็ ทม่ี ีความบกพรอ่ งทางร่างกาย หรือสขุ ภาพ หรอื สขุ ภาพ 5. เดก็ ที่มคี วามบกพร่องการเรียนรู้ 6. เด็กที่มปี ัญหาทางทางการพดู และภาษา 7. เด็กทมี่ ปี ัญหาทางพฤตกิ รรมและอารมณ์ 8. เดก็ ออทสิ ติก 9. เด็กพิการซ้อน 189

190 ความบกพรอ่ งทางการมองเหน็ (Visual Impairment) คือการสญู เสยี การมองเหน็ (Vision Loss) จนถงึ ระดบั หนง่ึ อันเปน็ ผลสบื เน่อื งมาจากความสามารถในการมองเหน็ ทมี่ ี อยู่อยา่ งจากดั ซ่งึ อาจเกดิ จากโรค (Disease) การบาดเจ็บ (Trauma) รวมถงึ ความ ผดิ ปกติทม่ี มี าต้งั แตก่ าเนิด (Congenital conditions) หรือเสอื่ มสภาพในภายหลงั (Degenerative conditions) 190

เด็กทม่ี คี วามบกพร่องทางการเหน็ 191 ลักษณะ 1.กลุ่มท่ีมองเห็นได้บางส่วน (Partially Sighted) หมายถึง เด็กที่มีปัญหาทางการ มองเหน็ ในลักษณะใดลักษณะหน่ึง เป็นคาที่นิยมใช้ในบริบททางการศึกษา เพ่ือสื่อถึงภาวะการ มองเหน็ ทไี่ ม่สมบรู ณ์มากกว่าความพิการ เด็กบางสว่ นในกลุ่มนอ้ี าจตอ้ งไดร้ ับการศึกษาพิเศษ 2.กลมุ่ สายตาเลือนราง (Low Vision) หมายถงึ กลุ่มที่มปี ญั หาทางการมองเหน็ ที่ รุนแรง คอื ไมส่ ามารถอ่านหนังสอื พมิ พใ์ นระยะปกตไิ ดแ้ มจ้ ะใชอ้ ปุ กรณช์ ว่ ย เชน่ แว่นสายตาหรอื คอนแทคเลนส์ ในการเรียนรเู้ ดก็ กล่มุ นต้ี อ้ งใชก้ ารมองเหน็ รว่ มกบั ประสาทสมั ผสั อนื่ ๆ รวมถงึ ใช้ การชว่ ยเหลอื อน่ื ๆ 191

192 ลกั ษณะ 3.กลุ่มพิการทางสายตาตามกฎหมาย (Legally Blind) หมายถงึ ผทู้ ่ีมรี ะดบั การ มองเหน็ ตา่ กวา่ 20/200 หลังจากทใ่ี ชอ้ ปุ กรณช์ ่วยในการมองเหน็ แล้ว รวมทง้ั มลี านสายตา (Visual Field) สงู สดุ ไมเ่ กนิ 20 องศา 4.กลมุ่ ตาบอดสนิท (Totally Blind) เปน็ ความบกพรอ่ งทางการมองเหน็ ระดบั รนุ แรง ทีส่ ดุ เดก็ ตอ้ งเรยี นรผู้ า่ นอกั ษรเบรลล์ (Braille) หรอื สอื่ ทรี่ บั ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งมองเหน็ (Non- visual media) โดยปกตแิ ลว้ เดก็ จะมปี ฏกิ ริ ยิ าโต้ตอบตอ่ สง่ิ เรา้ ทางสายตา (Visual stimuli) เม่อื อายุได้ 6–8 สปั ดาห์ อย่างไรกต็ ามหากอายไุ ด้ 2–3 เดือน แต่ไมแ่ สดงปฏิกริ ยิ าโตต้ อบเม่อื แสงเขา้ ตา หรอื ไมส่ นใจวตั ถุทมี่ สี สี นั หรอื มีอาการผดิ ปกติของดวงตาปรากฏขน้ึ เช่น ตาเหล่ (Crossed-eyes) พ่อแม่ควรพาลกู เขา้ รบั การตรวจจากแพทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญทนั ที 192

เด็กที่มคี วามบกพร่องทางการเหน็ 193 สาเหตคุ วามบกพรอ่ งทางการมองเหน็ 1. กรรมพนั ธุ์ (Heredity) โดยความผดิ ปกตจิ ะสามารถถา่ ยทอดมาถงึ เดก็ ไดห้ ากครอบครวั มี ประวตั ิสขุ ภาพของครอบครวั (Family History) ทีเ่ กย่ี วกบั ดวงตา เชน่ โรคต้อ (Familial Cataract) โรคกลา้ มเนอื้ จอตาเจรญิ ผดิ เพี้ยน (Retinal dystrophies) และมะเรง็ จอตา (Retinoblastoma) 2. ระหวา่ งตั้งครรภ์ เช่น โรคหดั เยอรมนั (Rubella) และโรคทอ็ กโซพลาสโมซิส (Toxoplasmosis) 3. ระหวา่ งคลอด เชน่ โรคจอตาผดิ ปกตอิ นั เกดิ จากการคลอดกอ่ นกาหนด (Retinopathy of prematurity) และอาการเยือ่ บุตาอกั เสบในเดก็ แรกเกดิ (Newborn Conjunctivitis) 4. ในวยั เดก็ เชน่ การขาดแคลนวติ ามินเอ (Vitamin A Deficiency) โรคหดั (Measles) ตา อกั เสบ (Eye Infection) และอบุ ตั เิ หตุ (Injuries) 193

194 เดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการไดย้ ิน คอื เดก็ ทไ่ี มส่ ามารถไดย้ ินไดเ้ ทยี บเทา่ กบั บคุ คลท่ี มีความสามารถในการไดย้ นิ ปกตทิ สี่ ามารถรบั ฟงั เสยี งดว้ ยหทู ง้ั 2 ข้างตั้งแตร่ ะดบั 25 เดซิ เบลขึน้ ไป ซ่ึงจะถือวา่ เปน็ บคุ คลทสี่ ญู เสียการไดย้ นิ (Hearing loss) ซึ่งจาแนกออกไดเ้ ปน็ 4 ระดบั คอื หตู ึงน้อย (Mild) หูตงึ ปานกลาง (Moderately severe) หตู ึงมาก (Severe) และหตู งึ รนุ แรง (Profound) โดยความบกพรอ่ งทางการไดย้ ินสามารถเกดิ ไดก้ บั หขู า้ งเดยี ว หรือทง้ั 2 ขา้ ง และเปน็ สาเหตขุ องความยากลาบากในการไดย้ ินเสียงพดู หรอื แมก้ ระทง่ั เสียงที่ ดังกต็ าม

195 สาเหตุความบกพรอ่ ง 1. ปจั จยั อนั เกิดแต่กาเนิด (Congenital causes) นาไปสภู่ าวะบกพรอ่ งทางการได้ ยินในทันทหี ลงั กาเนดิ หรือหลงั กาเนิดเพยี งเลก็ น้อย 2. ปจั จยั ทไ่ี ด้รบั มาหลงั กาเนิด (Acquired causes) สามารถนาไปสภู่ าวะบกพร่อง ทางการไดย้ นิ ไดใ้ นทกุ ชว่ งอายุ 195

196 “ความบกพร่องทางสติปญั ญา” เปน็ คาทน่ี ามาใชแ้ ทนคาว่า “ปญั ญาออ่ น” เนื่องจากคา เดิมถกู นาไปใชใ้ นทางลบคอ่ นขา้ งมาก ทาให้ความรู้สกึ ในเชงิ ลบ และไมไ่ ด้รับการยอมรับในภาค สงั คม จงึ เปลย่ี นการเรยี กช่อื ใหม่ คานี้ตรงกบั การวนิ จิ ฉยั โรคทางจิตเวชเดก็ ช่ือ “Intellectual Disability” หรอื “Intellectual Developmental Disorder” (ตามเกณฑ์ DSM-5 ของ สมาคมจิตแพทยอ์ เมริกัน) หรือ “Mental Retardation” (ตามเกณฑ์ ICD-10 ขององคก์ าร อนามัยโลก รหัส F70-79) ซ่งึ ทัง้ สองคานม้ี คี าจากัดความใกลเ้ คียงกนั สามารถนามาใช้แทนกนั ได้ ในอนาคตเกณฑ์ ICD-11 จะเลกิ ใชค้ าว่า “Mental Retardation” มาใช้เหมอื นกนั คอื “Intellectual Developmental Disorder” 196

197 ลกั ษณะอาการ 1. ทกั ษะทางเชาวนป์ ญั ญา (intellectual functioning) เชน่ การใช้เหตผุ ล การแก้ไข ปัญหา การวางแผน การคิดเชิงนามธรรม การตดั สินใจ การเรยี นรทู้ างวชิ าการ และการเรยี นรู้ จากประสบการณ์ ซงึ่ ยนื ยนั โดยการประเมนิ อาการทางคลนิ กิ และการทดสอบเชาวน์ปญั ญาการ ทดสอบเชาวนป์ ญั ญา หรอื ท่เี รยี กวา่ การวดั ไอควิ ควรทาโดยแบบทดสอบมาตรฐานจงึ จะเชอ่ื ถอื ได้ เกณฑเ์ ฉลยี่ อยทู่ ี่ 90-109 ถา้ ไดต้ ั้งแต่ 70-89 เรียกวา่ กลมุ่ เรยี นรชู้ า้ แตถ่ า้ ไดต้ า่ กวา่ 70 จะ เขา้ เกณฑ์ของความบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา 197

198 ระดบั เชาวน์ปญั ญากับความสามารถทางการศกึ ษา 198

199 ลกั ษณะอาการ 2. ทกั ษะการปรับตวั (adaptive functioning) เปน็ ปจั จยั บ่งชถ้ี ึง ความสามารถในการดารงชวี ติ ประจาวนั มี 3 ด้าน ดงั น้ี 2.1 ด้านความคิดรวบยอด (conceptual domain) หมายถึง ทักษะการใช้ภาษา การอ่าน การเขียน การคานวณ การใช้เหตุผล และความจา 2.2 ดา้ นสงั คม (social domain) หมายถงึ การเข้าใจผู้อ่ืน การตัดสินใจในสถานการณ์ทาง สังคมต่าง ๆ การส่ือสารระหวา่ งบคุ คล และสัมพันธภาพ 2.3 ด้านทักษะในการดารงชีวิตและการทางาน (practical domain) หมายถึง การดูแล ตนเองเรื่องต่าง ๆ เช่น สุขอนามัยส่วนตัว ความรับผิดชอบในการเรียนและทางาน และการจัดการ ดา้ นการเงินของตนเอง 199

200 สาเหตุ • ปัจจัยทางชีวภาพ เป็นสาเหตุได้ต้ังแต่ขณะตั้งครรภ์ ขณะ คลอด และหลังคลอด มักพบมีความผิดปกติอื่นร่วมด้วย สาเหตุ ได้แก่ โรคทางพนั ธุกรรม การตดิ เช้อื การได้รบั สารพษิ การขาดออกซิเจน การขาดสารอาหาร การเกิดอุบัติเหตุต่าง ๆ 200

201 สาเหตุ ปัจจัยทางจิตสังคม เช่น ขาดการเล้ียงดูที่เหมาะสม ถูกทอดท้ิง ครอบครัวแตกแยก ฐานะยากจน อยู่ในภาวะแวดล้อมท่ีไม่เอ้ืออานวยต่อการ เรียนรู้ ขาดความกระตอื รอื ร้น ขาดแรงจูงใจที่ดี 201

202 เด็กท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ ซ่ึงแบ่งเป็น 2 ประเภท ดงั นี้ 1. บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว ได้แก่ เด็กท่ีมีอวัยวะไม่สม สว่ นหรอื ขาดหายไป กระดูกหรอื กลา้ มเนอ้ื ผดิ ปกติ มีอุปสรรคในการเคลอ่ื นไหว ความบกพรอ่ ง ดังกล่าวอาจเกิดจากโรคทางระบบประสาท โรคของระบบกล้ามเนื้อและกระดูกการไม่ สมประกอบ มาแต่กาเนดิ อุบตั ิเหตุและโรคติดตอ่ 2. บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางสุขภาพ ได้แก่ เด็กท่ีมีความเจ็บป่วยเรื้อรังหรือมีโรค ประจาตวั ซ่ึงจาเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การรกั ษาอย่างตอ่ เนือ่ ง และเปน็ อุปสรรคตอ่ การศกึ ษา ซ่ึงมผี ล ทาใหเ้ กิดความจาเป็นต้องได้รับการศึกษาพเิ ศษ 202

203 ลักษณะเดก็ ทมี่ คี วามบกพร่องทางร่างกายและสขุ ภาพ 1. ความผดิ ปกติของระบบประสาท (Neurological conditions) เกดิ จากความเสยี หายของ ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system) หรอื สมองและไขสนั หลัง โดยปญั หาหลกั อนั สืบ เนื่องมาจากความผดิ ปกตทิ างระบบประสาท ไดแ้ ก่ โรคสมองพกิ าร (Cerebral Palsy) โรคลมชกั (Epilepsy) โรคสไปนา ไบฟิดา (Spina Bifida) ซึ่งเปน็ ความบกพรอ่ งของไขสนั หลังทมี่ ีมาแต่กาเนิด โดยไขสนั หลังยน่ื ออกมานอกกระดกู สนั หลัง สง่ ผลใหเ้ ดก็ มีอาการอมั พาตบางส่วน หรอื อาจรา้ ยแรงถงึ ข้ัน เป็นอมั พาตทงั้ ตวั และอาจเกดิ จากการบาดเจบ็ ทสี่ มอง (Traumatic brain injury) อีกดว้ ย 203

204 ลักษณะเดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางร่างกายและสขุ ภาพ 2. ความผดิ ปกติของระบบกลา้ มเนอื้ และกระดกู (Musculoskeletal conditions) ได้แก่ โรค กล้ามเนื้อเสอ่ื ม (Muscular dystrophy) โรคขอ้ อกั เสบรมู าตอยดใ์ นเดก็ (Juvenile rheumatoid arthritis) ภาวะแขนขาขาดหรอื ถกู ตดั ทง้ิ (Amputation) และความทพุ พลภาพรปู แบบอน่ื ๆ ของ กลา้ มเนอ้ื หรอื กระดกู ซงึ่ ล้วนสง่ ผลกระทบต่อความสามารถในการเคลื่อนไหว เดนิ ยนื น่ัง หรือทาให้ ไมส่ ามารถใชม้ ือและเทา้ ไดอ้ ยา่ งปกติ 204

205 ลักษณะเดก็ ทม่ี ีความบกพรอ่ งทางร่างกายและสขุ ภาพ 3. ความผดิ ปกติทางสขุ ภาพ (Health impairments) ไดแ้ ก่ โรคทเี่ กดิ จากการตดิ เชอื้ และ ปญั หาเรอ้ื รงั เชน่ เบาหวาน (Diabetes) โรคหดื (Asthma) ซึ่งเปน็ ความผดิ ปกตทิ างพันธกุ รรม โรค ภมู คิ มุ้ กนั บกพรอ่ ง (Immunodeficiency) ซ่งึ รวมถงึ การไดร้ บั เชอื้ HIV และโรคเอดส์ รวมไปถึงโรค เลอื ดออกไมห่ ยดุ (Hemophilia) โรคกลมุ่ อาการของทารกทเ่ี กดิ จากมารดาทด่ี ม่ื แอลกอฮอล์ (Fetal alcohol syndrome) และการทางานไมป่ กติ หรอื ลม้ เหลวของอวยั วะสาคัญ 205

206 แอลดีเปน็ ความบกพรอ่ งรปู แบบหนงึ่ ซ่งึ มเี กณฑก์ ารวินิจฉยั โรค ชัดเจน คอื มีทกั ษะเฉพาะทีใ่ ชใ้ นการเรยี นด้านการอ่าน การเขียน หรือ คณิตศาสตร์ ไมเ่ หมาะสมกบั ระดับอายุ โดยไมไ่ ดเ้ กดิ จากความผดิ ปกตอิ ื่น หรือขาดโอกาสทางการศกึ ษา และส่งผลรบกวนตอ่ ผลการศกึ ษาหรอื กิจกรรมในชวี ิตประจาวนั 206

207 ลกั ษณะอาการ 1. อ่านชา้ หรอื อ่านไมถ่ กู ต้อง 2. ยากลาบากในการทาความเข้าใจความหมายของส่งิ ทีอ่ า่ น 3. ยากลาบากในการสะกดคา 4. ยากลาบากในการเขยี น 5. ยากลาบากในการจดั การกบั จานวน ตวั เลข และการคานวณ 6. ยากลาบากในเหตผุ ลทางคณิตศาสตร์ 207

208 • 1. ความบกพรอ่ งทางการอา่ น (impairment in reading) เดก็ ทอ่ี า่ นหนงั สือไมอ่ อกเลย หรอื อา่ นหนงั สอื ไดไ้ มเ่ หมาะสมตามวยั เช่น จดจา พยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ ไมแ่ มน่ ยา แยกแยะพยญั ชนะทค่ี ลา้ ยกนั ไมอ่ อก เชน่ ก-ถ-ภ, พ-ฟ, ม-น สะกดไม่ถูก อา่ นตกหลน่ อ่านทลี ะตวั อกั ษรไดแ้ ต่ผสมคาไมไ่ ด้ ท้ัง ๆ ที่เดก็ ดู มคี วามฉลาดรอบรใู้ นดา้ นอนื่ ๆ ถ้ามีใครเลา่ เรอื่ งใหฟ้ งั จะเขา้ ใจดี จาได้ การเรยี นรจู้ าก การเหน็ ภาพและการฟงั จะทาไดด้ ี แต่ถ้าใหอ้ า่ นเองจะไม่ค่อยรเู้ รอ่ื ง อ่านตะกกุ ตะกกั จับ ใจความไม่ได้ มขี ้อจากดั ในการเรยี นรคู้ าศพั ทใ์ หมๆ่ 208

209 2. ความบกพรอ่ งทางการเขยี น (impairment in written expression) เด็กที่มีปัญหาในด้านการเขียนหนังสือ ตั้งแต่เขียนหนังสือไม่ได้เลย เขียนตกหล่น สลับ ตาแหนง่ หรอื ผิดตาแหน่ง สลบั ดา้ นแบบส่องกระจก หัวเข้าหัวออกสับสน เช่น ด-ค พ-ผ ถ-ภ ผันวรรณยุกต์ไม่ถูก วางสระไม่ถูกตาแหน่ง เขียนไม่เป็นประโยคที่สมบูรณ์ ใช้คาเชื่อมไม่ถูกต้อง เวน้ วรรคตอนหรอื ย่อหน้าไมถ่ ูกตอ้ ง จนทาให้ผู้อ่านไม่สามารถเข้าใจความหมายที่ผูเ้ ขยี นต้องการ สื่อได้ถูกต้องเด็กมีข้อจากัดในการถ่ายทอดความคิดผ่านการเขียนหนังสือ มักทาให้ความหมาย ผดิ เพ้ียนไปจากส่งิ ท่ตี ้องการสอ่ื สาร และไมส่ ามารถเขียนหนงั สอื ได้ถูกตอ้ งตามหลักภาษา 209

2510 3. ความบกพร่องด้านคณติ ศาสตร์ (impairment in mathematics) เด็กมีปัญหาด้านคณิตศาสตร์ หลากหลายรูปแบบและหลายระดับความรุนแรง เช่น มีความสับสน เกี่ยวกับเรื่องตัวเลข ไม่เข้าใจเรื่อง การบวก ลบ คูณ หาร ไม่สามารถแปลโจทย์ปัญหาเป็นสัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ มีการคานวณที่ผิดพลาด ตกหล่นเกี่ยวกับเรื่องตัวเลขเป็นประจา มีข้อจากัดในเร่ืองจานวนและ ตวั เลข การใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ทาให้ไม่สามารถหาคาตอบได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เด็กท่ีเป็นแอลดีจะมีหน้าตาเป็นปกติ ไม่มีความแตกต่างจากเพื่อนในรูปลักษณ์ภายนอก การพูดคุยรู้เร่ืองดี เข้าใจง่าย จดจาได้ค่อนข้างแม่นด้วยซ้า เวลาถามมักจะตอบได้ แต่เวลาให้เขียนอ่านหรือคานวณ จะเร่ิมเห็น ปัญหา ผลการเรยี นจะต่ากวา่ เกณฑ์ มักชา้ กวา่ เพอื่ นวัยเดยี วกนั ประมาณ 2 ชนั้ เรียน 210

211 เดก็ บกพรอ่ งทางพฤตกิ รรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotional Disorders) หมายถึง เดก็ ทแี่ สดงพฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสม (ตอ่ ต้านตนเองหรอื ผอู้ น่ื ) หรอื มคี วามรสู้ กึ นกึ คดิ ทผี่ ดิ ไปจากปกติ (แสดงออกถงึ ความต้องการทารา้ ยตนเอง หรอื ผอู้ นื่ มีความเชอื่ มน่ั ในตนเองต่า) ออกมาอยา่ งเนือ่ งจนถึงระดบั ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ การศกึ ษาของเดก็ ไมว่ า่ จะเพยี งลกั ษณะเดยี ว หรือหลายลกั ษณะรว่ มกนั กไ็ ด้ 211

212 ลกั ษณะเดก็ บกพรอ่ งทางพฤติกรรมและอารมณ์ 1. ปัญหาดา้ นความประพฤติ (Conduct Disorders) • ใช้กาลงั ทารา้ ยผอู้ นื่ ทาลายขา้ วของ ลกั ทรพั ย์ • ฉนุ เฉยี วงา่ ย มีอารมณห์ นุ หนั พลนั แล่น และเกรยี้ วกราด • มีนสิ ัยกลบั กลอก เชอื่ ถือไม่ได้ ชอบโทษผอู้ ื่น และมกั โกหกอยเู่ สมอ • เอะอะและหยาบคาย • หนเี รยี น รวมถงึ หนีออกจากบา้ น • ใช้สารเสพตดิ • หมกมุน่ ในกจิ กรรมทางเพศ 212

213 ลักษณะเดก็ บกพร่องทางพฤตกิ รรมและอารมณ์ 2. ปัญหาด้านความต้งั ใจและสมาธิ (Attention and Concentration) • มคี วามสามารถในการจดจอ่ อยกู่ ับสงิ่ ใดสง่ิ หนง่ึ ในระยะสนั้ (Short attention span) ซง่ึ อาจไม่ เกนิ 20 วนิ าที และสามารถถกู สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัวดึงความสนใจได้ทกุ เมือ่ • มีลักษณะงวั เงยี ไมแ่ สดงความสนใจใด ๆ รวมถึงมที า่ ทางเหมอื นไมฟ่ งั ส่ิงทผี่ อู้ นื่ พดู 3. ภาวะอยไู่ มส่ ขุ (Hyperactivity) และสมาธสิ นั้ (Attention Deficit) • มีลกั ษณะกระวนกระวาย ไมส่ ามารถนงั่ นิง่ ๆ ได้ และหยกุ หยกิ ไปมา • พดู คุยตลอดเวลา และมกั รบกวนหรือเรยี กร้องความสนใจจากผอู้ ่นื อยเู่ สมอมที กั ษะการจัดการ ในระดับตา่ 213

214 ลักษณะเดก็ บกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ 4. การถอนตวั หรอื ลม้ เลกิ (Withdrawal) • หลีกเลย่ี งการปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผอู้ ืน่ และมกั รสู้ กึ วา่ ตนเองดอ้ ยกวา่ ผอู้ ่นื • เฉ่ือยชา และมลี กั ษณะคลา้ ยเหนอ่ื ยตลอดเวลา • ขาดความมนั่ ใจ ข้อี าย ข้กี ลวั ไมค่ อ่ ยแสดงความรสู้ กึ 5. ความผดิ ปกติในการทางานของรา่ งกาย (Function Disorder) • ความผดิ ปกตเิ กย่ี วกบั พฤตกิ รรมการกนิ (Eating Disorder) เช่น การอาเจยี นโดยสมคั รใจ การ ปฏเิ สธทจ่ี ะรบั ประทาน รวมถงึ นสิ ยั การรบั ประทานสงิ่ ทร่ี บั ประทานไมไ่ ด้ • โรคอ้วน (Obesity) • ความผดิ ปกตขิ องการขบั ถา่ ยทงั้ อจุ จาระและปสั สาวะ (Elimination Disorder) 214

215 ลกั ษณะเดก็ บกพรอ่ งทางพฤติกรรมและอารมณ์ 6. ภาวะความบกพรอ่ งทางพฤตกิ รรมและอารมณร์ ะดบั รนุ แรง • ขาดเหตผุ ลในการคิด • อาการหลงผิด (Delusion) • อาการประสาทหลอน (Hallucination) • พฤตกิ รรมการทารา้ ยตวั เอง 215

216 เด็กออทิสติก (AutisticChildren) หรือเด็กที่มีภาวะออทิสซึม หมายถึง เด็กที่มีความผิดปกติทางสมอง ซ่ึงส่งผลให้เขามีปัญหาในการทาความเข้าใจและ ตอบสนองกับโลกภายนอก และทาให้เขามีพฤติกรรมและการแสดงออกท่ีแตกต่าง จากเด็กปกตทิ ว่ั ไป 216

217 อาการของออทิสติก 1. ทักษะดา้ นการเขา้ สงั คม เด็กออทิสติกจะมีปัญหาด้านการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คนรอบข้าง คล้ายกับว่า อยตู่ วั คนเดียวในโลก โดยลกั ษณะการเข้าสงั คมของเดก็ ออทิสตกิ จะมีลกั ษณะดังตอ่ ไปนี้ • ไมส่ งั สรรค์หรอื แสดงความคิดเหน็ ใด ๆ เพ่ือแลกเปล่ยี นพูดคุยกับผอู้ ื่น • ไมเ่ ลน่ หรอื แบ่งปันของเล่นกบั เด็กอ่ืน รวมทง้ั ไม่รูว้ ธิ เี ลน่ กบั ผอู้ ื่น • ไม่เข้าใจอารมณ์ความรู้สกึ ของผทู้ ่คี ยุ ดว้ ย • ขาดการสร้างสัมพนั ธภาพกบั ผคู้ นรอบข้าง 217

218 อาการของออทิสตกิ 2. ทกั ษะดา้ นการส่ือสาร เด็กออทิสติกจะไม่สามารถสื่อสารผ่านการพูด อ่าน เขียน หรือเข้าใจส่ิงที่ผู้อ่ืนสื่อสารได้ บางคร้ังเดก็ อาจลมื ถ้อยคาหรือทกั ษะอื่นๆ ซงึ่ เด็กจะแสดงปญั หาดา้ นการสื่อสาร ดังนี้ • ไมเ่ ข้าใจการส่ือสารดว้ ยภาษาทา่ ทาง เชน่ ชนี้ ้ิว โบกมอื • ขาดความร้เู ร่อื งทศิ ทาง • ไม่สามารถแปลสัญลกั ษณแ์ ละเรียนรู้ภาษาได้ช้า • อ่านออกแต่ไม่เข้าใจความหมายของคา หรือท่ีเรียกว่าความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านคาพูด (Hyperlexia) 218

219 อาการของออทิสตกิ 3. พฤตกิ รรมทว่ั ไป เดก็ ออทิสติกมกั แสดงพฤติกรรมตอ่ ไปน้ี • ไมส่ ามารถทากิจกรรมท่มี ีลาดับขน้ั ตอนหลายอย่าง หรอื เปลีย่ นไปทากจิ กรรมอนื่ ไดย้ าก • โบกมือไปมา ทุบตี หรอื กลอกตาไปมา • หวั เสยี งา่ ย • ชอบอาหารเป็นบางอย่าง • แสดงความสนใจส่ิงใดส่ิงหนึ่งเพียงอย่างเดียว เช่น เล่นของเล่นแค่ส่วนใดส่วนหน่ึงของของเล่นนั้น หรอื เอาแต่พดู เฉพาะเร่อื งทต่ี ัวเองชอบ 219

220 สาเหตขุ องออทสิ ติก ปัจจุบันยังไม่มีการระบุสาเหตุหรือปัจจัยที่ก่อให้เกิดออทิสติกอย่างเป็น ทางการ เบ้ืองต้นสันนิษฐานว่าโรคนี้เก่ียวข้องกับความผิดปกติของยีน บางราย อาจเส่ียงเป็นออทิสติกได้สูงหากบุคคลในครอบครัวมีประวัติป่วยเป็นออทิสติก อย่างไรก็ตามยังปรากฏเด็กออทิสติกอีกหลายรายท่ีบุคคลในครอบครัวไม่ได้มี ปญั หาดงั กล่าว 220

221 ความพิการซอ้ น (Multiple Disabilities) หมายถงึ ความบกพร่อง รว่ มกันมากกวา่ 1 ลักษณะทเี่ กดิ ขน้ึ ต่อบคุ คล (Simultaneous impairments) อาทเิ ชน่ บกพร่องทางสติปญั ญารว่ มกบั ตาบอด หรอื บกพร่องทางสติปญั ญาร่วมกบั ความผดิ ปกติของกระดูกและกลา้ มเนอื้ 221

222 ลกั ษณะเดก็ พกิ ารซา้ ซ้อน • ปัญหาดา้ นจติ ใจ • มีความรูส้ ึกเหมอื นถกู ขับไลอ่ อกจากสังคม • ปลกี ตัวจากสงั คม • กลวั โกรธ และไม่พอใจเมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ท่ีไม่คาดฝันหรือ เมื่อถกู บังคบั • ทาร้ายตวั เอง 222

223 ลักษณะเดก็ พกิ ารซอ้ น • ปัญหาด้านพฤติกรรม • ยังคงแสดงพฤติกรรมเหมอื นเด็กแมจ้ ะโตข้ึน • ขาดความยบั ย้งั ช่ังใจ • มีความยากลาบากในการปฏสิ มั พนั ธ์กบั ผู้อื่น • มที ักษะในการดูแลและพึง่ ตัวเองท่จี ากัด 223

224 ลักษณะเดก็ พกิ ารซอ้ น • ปัญหาดา้ นรา่ งกาย • มคี วามผดิ ปกติของรา่ งกาย (Medical problems) อ่นื ๆ ร่วมดว้ ย เช่น อาการชกั (Seizures) การสญู เสยี การรบั รทู้ างประสาทสมั ผสั (Sensory Loss) ภาวะโพรงสมองค่ัง น้า (hydrocephalus) และกระดกู สนั หลงั โคง้ (Scoliosis) • เชอ่ื งชา้ และงมุ่ งา่ ม • มีความบกพรอ่ งในการกระทากจิ กรรมทเ่ี กยี่ วข้องกบั การเคลอ่ื นไหวของกลา้ มเนื้อ 224

225 ปญั หาทางการเรยี นรู้ • มีปัญหาในการคดั ลายมือหรือเขยี นหนงั สืออนั เนื่องมาจากความบกพร่องของกล้ามเน้อื มัด เลก็ (Fine-motor deficits) และปญั หาความไม่สัมพันธ์ของมอื และตา • มขี อ้ จากัดในการพดู และส่อื สาร • ลืมทกั ษะบางอยา่ งเม่ือไม่ได้ใช้ • มปี ัญหาในการเขา้ ใจ รบั มอื หรอื นาทกั ษะท่มี ีมาปรบั ใช้ เมื่อสถานการณ์เปลย่ี นไป 225

226 ปัญหาทางการเรียนรู้ • ขาดความคดิ ระดบั สงู (High level thinking) ส่งผลใหม้ ปี ญั หาในการทาความเขา้ ใจสงิ่ ตา่ ง ๆ • มคี วามสามารถในการแกไ้ ขปญั หาทต่ี า่ • มีระดบั จนิ ตนาการและความเขา้ ใจความคดิ ทเ่ี ปน็ นามธรรมอยา่ งจากดั • มผี ลการสอบระดบั ตา่ • ไมส่ ามารถระบุตาแหนง่ ของแหลง่ เกดิ เสยี งได้ • หลีกเลยี่ งการทากจิ กรรมเปน็ กลมุ่ • มีปัญหาในการเรยี นรเู้ กย่ี วกบั สง่ิ ของและความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสงิ่ ของ 226

227 การศกึ ษาพเิ ศษเป็นกระบวนการในการพฒั นาความสามารถของเดก็ ตามสภาพของความ แตกต่างระหว่างบคุ คล และเอกลกั ษณ์ของแตล่ ะคน วธิ กี ารท่นี ามาใชสง่ั สอนอบรมเพ่ือพัฒนาเดก็ จึง จาเปน็ ตอ้ งปรบั ใหเ้ หมาะสมกบั เดก็ แต่ละคนดว้ ย โดยมีเปา้ หมายท่ตี ้องการให้เปน็ ประชากรท่มี คี ุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กส่ ังคมมากทีส่ ดุ เท่าที่จะเปน็ ได้ ในการจดั การศึกษาสาหรบั เด็กทมี่ ีความตอ้ งการพเิ ศษ จงึ ได้ยดึ หลักของความแตกตา่ ง ระหว่างบคุ คล และการมเี อกลักษณ์เฉพาะของแตล่ ะคนเป็นเคร่อื งช่วยใหเ้ กดิ ความสาเรจ็ ในการจดัการ ศกึ ษาเช่นเดยี วกัน ดังนั้นจึงเหน็ ไดว้ ่าเด็กทม่ี คี วามต้องการพิเศษ แตล่ ะประเภทจงึ มีหลกั ในการจดั การศึกษาทแ่ี ตกตา่ งกันไป

การจัดการศกึ ษาใหก้ บั เดก็ ท่มี คี วามต้องการพเิ ศษ 228 ระดับกอ่ นวยั เรียน เน้นความพร้อมของเดก็ ท้ังในดา้ นความคดิ ความจา ร่างกาย อารมณ์ และสังคมของเดก็ ความ พร้อมของเดก็ เป็นพ้ืนฐานสาคัญในการเรยี นในระดับประถมศกึ ษา การพัฒนาทักษะของเดก็ ในระดับนค้ี วร เน้นทกั ษะทจี่ ะจาเปน็ ทจี่ ะช่วยใหเ้ ดก็ มคี วามพรอ้ มในการเรยี น เชน่ การพฒั นากลา้ มเน้ือมดั เลก็ กลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ การฝกึ ใหน้ ักเรียน มคี วามสนใจในบทเรยี นนานข้นึ การฝกึ ความคดิ ความจา ฝึกภาษา ฝึกพูด เปน็ ตน้

การจัดการศึกษาให้กับเดก็ ท่มี คี วามตอ้ งการพิเศษ 229 ระดับประถมศกึ ษา เนน้ เกย่ี วกบั การอา่ น คณิตศาสตร์ ภาษา ส่วนวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละสงั คมศกึ ษานนั้ มี ความสาคญั รองลงไป ในหลักสตู รแตกตา่ งไปจากหลกั สูตรสาหรับเด็กปกตติ ลอดจนเอกสาร การเรียนการสอนให้สอดคล้องกบั ความสนใจและความสามารถของเด็ก ส่วนเน้อื หาวชิ าดนตรี และศลิ ปะ ควรจดั ใหเ้ หมาะสมกบั เดก็

การจดั การศึกษาให้กับเด็กทม่ี ีความตอ้ งการพเิ ศษ 230 ระดบั มธั ยมศกึ ษา เน้นความต้องการและความสามารถของเด็กเปน็ สาคัญ หากเดก็ มคี วามสามารถในการ เรยี น เด็กควรได้รบั การส่งเสริมให้เรียนวชิ าทเี่ หมาะสม หากเด็กไม่มคี วามพรอ้ มควรใหเ้ ดก็ เรยี นในด้านอาชีพและฝึกทักษะทจ่ี าเปน็ ในการดารงชีวติ เพือ่ เตรียมเดก็ ให้สามารถดารงชพี ใน สงั คมได้ ควรฝกึ ให้เด็กมที ักษะในดา้ นตอ่ ไปนี้ คอื ทกั ษะดา้ นการงานและอาชพี การครอง เรือน นันทนาการ การดูแลสุขภาพ การดดารงชีพในชุมชน

การจัดการศกึ ษาใหก้ ับเดก็ ทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ 231 ครูผูส้ อนต้องมีความอดทนและพยายามอย่างมาก เน่อื งจากเดก็ มีความบกพร่อง มี ความสามารถในการเรียนรู้นอ้ ย และอาจจะมีความพิการอ่ืนๆ ร่วมด้วย เช่น ความบกพร่อง ทางร่างกาย ทางการพูด และปญั หาพฤตกิ รรมตา่ งๆ ทคี่ รูผู้สอนจะตอ้ งมีความเข้าใจและแกไ้ ข ปญั หา

การจัดการศึกษาใหก้ บั เดก็ ทม่ี คี วามต้องการพิเศษ 232 หลักสูตรหรอื โปรแกรมการเรยี นการสอน ควรจะมีลกั ษณะดงั นี้ 1) เนน้ หลกั สตู รทีป่ รับปรงุ เน้อื หางา่ ยกวา่ และน้อยกวา่ ของเดก็ ปกติ เพอ่ื ให้เหมาะสม กับความสามารถในการเรยี นร้ขู องเดก็ แต่ละระดับชัน้ 2) เนน้ เนอ้ื หาทักษะพื้นฐานทีเ่ ดก็ สามารถนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ เช่น การเข้าใจ สอ่ื ความหมาย การรจู้ กั คา่ ของตวั เลข ฯลฯ 3) พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้เพอ่ื นาไปส่กู ารเรียนร่วมในสงั คมได้ เช่น การรจู้ กั ปรับตวั ให้ เข้ากับคนอ่ืนได้ มีความรบั ผิดชอบตอ่ งานท่ีได้รบั มอบหมายได้

การจัดการศกึ ษาให้กับเดก็ ทม่ี คี วามตอ้ งการพิเศษ 233 ครูจงึ จาเปน็ ต้องใชห้ ลกั การสอนพเิ ศษกวา่ เด็กปกติ 1) ใช้สื่อการสอนใหเ้ หมาะสมกับระดับพฒั นาการของเดก็ โดยคานึงถึงอายุสมองไม่ใช่ อายุตามปฏทิ นิ 2) สอนในชว่ งระยะเวลาสั้นๆ เพอ่ื ให้เหมาะสมกบั ช่วงความสนใจของเด็ก 3) สอนตามขั้นตอนของงานที่แยกย่อยตามลาดับจากงา่ ยไปหายาก และไม่ซบั ซอ้ น 4) ในการสอนแตล่ ะคร้งั ควรสอนเนอ้ื หาวชิ าใหน้ อ้ ย 5) สอนบทเรยี นใหเ้ หมาะกับสภาพของชีวิตจริงและปฏิบตั ไิ ด้จรงิ 6) สอนซ้าๆ และสม่าเสมอ

การจัดการศึกษาใหก้ บั เด็กท่ีมีความตอ้ งการพเิ ศษ 234 ครูจงึ จาเปน็ ตอ้ งใชห้ ลกั การสอนพเิ ศษกวา่ เด็กปกติ 7) ใชค้ าพูดทช่ี ดั เจนและประโยคสั้นๆ ไมส่ บั สน 8) ใหก้ ารเสริมแรงตามความเหมาะสม 9) สังเกต บนั ทึกความกา้ วหน้าของเด็กเปน็ รายบคุ คลเปน็ ระยะๆ ตลอดเวลาสอน 10) ให้ความร่วมมือในการแก้ไขปญั หาต่างๆ รว่ มกบั ผ้ปู กครองและนกั วิชาชีพท่ีเกยี่ วข้อง

การจดั การศึกษาใหก้ ับเดก็ ที่มคี วามต้องการพิเศษ 235 เทคนิคการสอน ➢ ครจู งึ ต้องสร้างแรงจงู ใจกอ่ น ➢ หลงั จากนน้ั ใช้เทคนิคอ่ืนๆ ตามความเหมาะสม ➢ ก่อนการสอนครจู าเป็นตอ้ งเรยี นรู้เร่อื งพัฒนาการและขอ้ มูลเกี่ยวกบั ตวั เด็กกอ่ น

การจดั การศึกษาให้กับเด็กที่มคี วามตอ้ งการพิเศษ 236 เทคนิคการสอน ❖ การวเิ คราะหง์ าน ( Task analysis ) ควรวางแผนการสอนท่ลี ะเอยี ด การแยกยอ่ ยเรื่องที่จะสอนเป็นส่ิงทส่ี าคัญ ซึ่งในแต่ละ ข้ันตอน ครจู ะตอ้ งเข้าไปช่วยเพอ่ื ให้เด็กทาใหไ้ ด้ การชว่ ยเหลอื นี้ครจู าเปน็ ตอ้ งใช้เทคนิคที่ เหมาะสมเพ่ือใหเ้ ด็กทาได้ ในระยะแรกครูต้องช่วยทุกข้ันตอน และลดลงเม่ือเดก็ ทาไดม้ ากขน้ึ *** วิธีการวิเคราะหง์ าน ใหผ้ ู้ทีจ่ ะสอนควรลองปฏบิ ัติตามเร่อื งทจ่ี ะสอน และจดบันทกึ ขัน้ ตอนย่อยตา่ งๆ เพือ่ นามาใช้สอนเด็กต่อไป

การจดั การศึกษาให้กบั เด็กท่ีมีความต้องการพเิ ศษ 237 เทคนิคการสอน ❖ การทาตัวอยา่ งใหด้ ู (Modeling) การแสดงวิธีการทีถ่ กู ต้อง เดก็ ควรจะทาสิง่ ที่ถูกตอ้ งและฝกึ ทาในเร่อื งนั้น ข้อแนะนาสาหรบั ครูใน การทาตัวอย่าง มดี ังนี้ 1. ครตู ้องทาตวั อย่างใหเ้ ด็กดหู ลายๆ ครั้ง 2. ใช้ภาษาพูดใหช้ ัด 3. สหี นา้ ท่าทางของครู 4. ครูต้องมีความอดทน *** ใชว้ ิธกี ารให้เพอื่ นที่เป็นเดก็ ปกตแิ สดงตัวอย่าง เปน็ อีกวิธีการหน่ึงทเ่ี ด็กเรยี นรูไ้ ดด้ ี

การจัดการศึกษาใหก้ บั เดก็ ที่มคี วามต้องการพเิ ศษ 238 เทคนคิ การสอน ❖ การแสดงบทบาทสมมติ (Role playing) เป็นเทคนิคที่ช่วยให้เดก็ เรยี นรไู้ ดด้ ี เดก็ จะเขา้ ใจและสามารถเลียนแบบส่งิ ที่ถกู ตอ้ งได้ ในที่สุด 1. ครูควรจดั เตรยี มอุปกรณ์ ทีจ่ ะสอนให้พรอ้ ม 2. ควรนาเดก็ ปกติมารว่ มการแสดงบทบาทสมมติด้วย 3. ครตู ้องใจเยน็ และให้โอกาสเสมอเมอื่ เดก็ ทาไม่ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook