Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมจิตวิทยา

รวมจิตวิทยา

Published by sompong suwannakarn, 2022-03-26 00:30:02

Description: รวมจิตวิทยา เป็นหนังสือที่ใช้ประกอบการเรียนกาสอนราบวิชาจิตวิทยา ป.บัณฑิต ม.ทักษิณ

Search

Read the Text Version

139 1. ความตอ้ งการ (Needs) ความตอ้ งการเกดิ ขนึ้ เมอื่ เกดิ การไมส่ มดลุ ทางดา้ นรา่ งกายหรอื จติ ใจ ความต้องการเปน็ ภาวะขาดสมดลุ ทเี่ กดิ ขนึ้ เมอื่ บุคคลขาดสงิ่ ทจ่ี ะทาใหส้ ว่ น ตา่ ง ๆ ภายในร่างกายทาหนา้ ทไ่ี ปตามปกติ สง่ิ ทข่ี าดนน้ั อาจเปน็ สงิ่ จาเปน็ ตอ่ ชวี ติ อย่างมหนั ต์ เช่น อาหาร หรอื อาจเปน็ สิ่งสาคญั ต่อความสุขความทกุ ขข์ องจติ ใจ เช่นควารกั หรอื อาจเปน็ ส่งิ จาเปน็ เลก็ นอ้ ยสาหรบั บางคน เชน่ หนงั สอื พิมพ์รายวัน เป็นตน้ 26/03/65

140 2. แรงขับ (Drives) แรงขับจะถกู สรา้ งขน้ึ เพือ่ บรรเทาความตอ้ งการให้ลดนอ้ ยลง ความตอ้ งการขน้ั แรกนนั้ กระตนุ้ ใหเ้ กดิ แรงขับ คอื เมือ่ เกดิ ความตอ้ งการแลว้ บคุ คลจะนิ่งเฉยอยไู่ มไ่ ด้ อาจมคี วาม กระวนกระวายไมเ่ ปน็ สขุ ภาวะทบ่ี ุคคลเกดิ ความกระวนกระวายอยู่เฉยๆ ไมไ่ ดน้ ้ี เรยี กวา่ เกดิ แรงขับ ซ่งึ ระดบั ความกระวนกระวายจะมมี ากน้อยเพยี งใดนน้ั ข้ึนอยู่กบั ระดบั ความต้องการดว้ ย ถ้าต้องการมากกก็ ระวนกระวายมาก เชน่ เมื่อรา่ งกายขาดนา้ จะเกดิ อาการคอแหง้ กระหายนา้ เกดิ ความรสู้ กึ กระวนกระวายอยไู่ มส่ ขุ 26/03/65

141 3. เปา้ หมาย (Goals) จดุ สุดทา้ ยของวงจรการจูงใจคือเป้าหมายที่ใช้ในวงจรการจูงใจเป็นสิ่งหนึ่งท่ีจะเป็นอะไรก็ได้ ท่ีบรรเทาความต้องการและลดแรงขับให้น้อยลงได้ ดังน้ัน การได้รับเป้าหมายอันหน่ึงจะ หมายความถึงการทาให้สภาพทางด้านร่างกายหรือจิตใจฟื้นสู่สภาพท่ีมีความสมดุล และจะลด หรือขจัดแรงขับให้หมดไป แรงจูงใจจึงเป็นส่วนสาคัญในการทางานอย่างใดอย่างหน่ึงให้สาเร็จ ตามจดุ ม่งุ หมาย 26/03/65

142 กระบวนการเบ้ืองตน้ ของการเกิแรงจูงใจ ที่มา:ด่านดารง.2546:270 ภาพที่ 4

ลักษณะของเหตุจูงใจ 143 1. แรงจงู ใจภายใน (Intrinsic Motivation) 2. แรงจงู ใจภายนอก (Extrinsic Motivation) สภาวะของบุคคลท่ีมีความต้องการหรือแสดง ส ภ า ว ะ ข อ ง บุ ค ค ล ที่ ไ ด้ รั บ แ ร ง ก ร ะ ตุ้ น จ า ก บ า ง อ ย่ า ง ต า ม ค ว า ม ช อ บ ข อ ง ตั ว เ อ ง ภายนอก ทาให้มองเห็นจุดหมายปลายทาง เพราะฉะนั้นบุคคลใดก็ตามที่มีแรงจูงใจภายใน และนาไปสู่การแสดงพฤติกรรมของบุคคล ย่อมแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ด้วยความยินดี โดยทว่ั ไปนักจิตวทิ ยาเช่ือว่าการแสดงพฤติกรรม แ ล ะ นั ก จิ ต วิ ท ย า เ ชื่ อ ว่ า แ ร ง จู ง ใ จ ภ า ย ใ น มี ความสาคัญมากกว่าแรงจูงใจภายนอก ของบุคคลส่วนใหญ่เกิดจากแรงจูงใจภายนอก เกือบทง้ั ส้นิ 26/03/65

144 ประเภทและความสาคญั แรงจงู ใจ 1. แรงจงู ใจทเ่ี กดิ จากความตอ้ งการทางกาย 2. แรงจูงใจที่เกดิ จากความตอ้ งการทางจติ วทิ ยา 3. แรงจงู ใจทเี่ กิดจากการเรียนรใู้ นสงั คม 26/03/65

145 ปราณี รามสตู และจารสั ดว้ งสวรรณ แบ่งประเภทแรงจงู ใจตามแหลง่ เกดิ ได้แก่ 1. แรงจูงใจท่ีเกิดจากความต้องการทางกาย เป็นแรงจูงใจที่เป็นไปเพื่อ ความมีชีวิตอยู่ซ่ึงจัดเป็นความจาเป็นตามธรรมชาติท่ีต้องการขับถ่ายหายใจ เคลือ่ นไหวพักผอ่ นนอนหลับและสนองความตอ้ งการทางเพศเป็นต้น 2. แรงจูงใจท่ีเกิดจากความต้องการทางจิตวิทยา เป็นแรงจูงใจท่ีมีผล ในทางจิตใจซึ่งจัดว่าสาคัญสาหรับความเป็นมนุษย์ในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นเช่นความ รกั ความสนใจเอาใจใสค่ วามอยากรูอ้ ยากเหน็ การยอมรบั ยกย่องเปน็ ตน้ 26/03/65

146 3. แรงจูงใจที่เกิดจากการเรียนรู้ในสังคม ซึ่งบางคนจะจัดเข้าไว้ใน แรงจูงใจทางจิตวิทยาด้วยแรงจูงใจในส่วนนี้เกิดจากการเรียนรู้เมื่อมี ปฏสิ มั พันธก์ บั ผอู้ ่ืนในสังคมผสมผสานกบั ลกั ษณะบคุ ลิกภาพเฉพาะบุคคลซ่งึ มักทาให้แต่ละคนมีวิธีปฏิบัติท่ีแตกต่างกันและระดับแรงจูงใจในเร่ือง เหล่านีแ้ ต่ละคนก็ไมเ่ ท่าเทยี มกัน 26/03/65

147 แรงจงู ใจทีเ่ กิดอยากการเรียนรใู้ นสังคม แรงจงู ใจจากการเรยี นรูใ้ นสงั คมยังแยกไดเ้ ปน็ 3 ประการคอื 1) แรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธิ์ เป็นแรงจงู ใจทเ่ี กดิ จากความตอ้ งการความสาเรจ็ ซง่ึ อาจจะเปน็ ความสาเรจ็ ดา้ น การเรยี น การทางาน ชวี ติ ครอบครวั หรือชีวิตสว่ นตัวอ่นื ๆ 2) แรงจงู ใจใฝส่ มั พนั ธ์ เปน็ แรงจงู ใจทเี่ กดิ จากความต้องการมคี วามสัมพนั ธ์อันดีกับผอู้ ่นื มคี วามผกู พัน ตอ่ กนั มีเพ่ือนมีญาติมกี ล่มุ สมาชิกทเี่ ป็นพวกเดียวกนั มคี นทีเ่ ข้าใจกนั และกัน 3) แรงจูงใจใฝ่อานาจ เป็นแรงจูงใจที่เกิดจากความต้องการครอบครองและมีอิทธิพลเหนือผู้อ่ืน รวมทงั้ ความต้องการมีสถานะท่ีจะดแู ลหรอื สงั่ การผู้อ่นื ได้ 26/03/65

ผ้ทู ี่มแี รงจงู ใจใฝ่สัมฤทธจิ์ ะมลี กั ษณะสาคัญ 148 1. มุ่งหาความสาเรจ็ (Hope of Success) และ กลวั ความลม้ เหลว (Fear of Failure) 2. มีความทะเยอทะยานสงู 3. ตั้งเป้าหมายสงู 4. มีความรบั ผดิ ชอบในการงานดี 5. มคี วามอดทนในการทางาน 6. รคู้ วามสามารถทแี่ ทจ้ รงิ ของตนเอง 7. เป็นผทู้ ที่ างานอย่างมีการวางแผน 8. เปน็ ผทู้ ต่ี งั้ ระดับความคาดหวงั ไวส้ งู

149 ผู้ที่มแี รงจงู ใจใฝส่ มั พนั ธจ์ ะมลี ักษณะสาคัญ 1. เมอ่ื ทาสงิ่ ใด เปา้ หมายกเ็ พือ่ ไดร้ บั การยอมรบั จากกล่มุ 2. ไมม่ ีความทะเยอทะยาน มีความเกรงใจสูง ไมก่ ลา้ แสดงออก 3. ตงั้ เปา้ หมายตา่ 4. หลกี เลีย่ งการโต้แย้ง มกั จะคลอ้ ยตามผ้อู นื่

150 ผทู้ ี่มแี รงจงู ใจใฝ่อานาจจะมลี กั ษณะสาคญั 1. ชอบมอี านาจเหนือผอู้ น่ื ซ่ึงบางครง้ั อาจจออกมาในลกั ษณะการกา้ วรา้ ว 2. มกั จะตอ่ ตา้ นสงั คม 3. แสวงหาชอ่ื เสยี ง 4. ชอบเส่ียงทง้ั ในดา้ นของการทางานรา่ งกาย และอปุ สรรคตา่ ง ๆ 5. ชอบเปน็ ผูน้ า 26/03/65

ขั้นตอนของ 151 การเกิด แรงจงู ใจ 1. ขัน้ ความตอ้ งการ 2. ข้ันแรงขับ 3. ขัน้ พฤตกิ รรม 4. ข้นั ลดแรงขบั

ขั้นตอนของการเกิดแรงจงู ใจ 152 1. ข้ันความตอ้ งการ (Need Stage) ความตอ้ งการเป็นภาวะขาดสมดุลทเี่ กดิ ขน้ึ เมื่อบคุ คลขาดสง่ิ ทจ่ี ะทาใหส้ ว่ นตา่ งๆ ภายในรา่ งกายทาหนา้ ทีไ่ ปตามปกติ ส่ิงท่ขี าดนนั้ อาจเปน็ สง่ิ จาเปน็ ตอ่ ชวี ติ อยา่ งมหนั ต์ เชน่ อาหาร หรอื อาจเปน็ สง่ิ สาคญั ตอ่ ความสขุ ความทกุ ขข์ องจิตใจ เชน่ ความรกั หรอื อาจเปน็ ส่ิงจาเป็นเลก็ นอ้ ยสาหรบั บางคน เช่น หนงั สอื พมิ พร์ ายวนั เป็นต้น 152

ขั้นตอนของการเกิดแรงจงู ใจ 153 2. ข้ันแรงขบั (Drive Stage) ความตอ้ งการข้ันแรกนัน้ กระตุ้นใหเ้ กดิ แรงขับ คือ เมอ่ื เกดิ ความตอ้ งการ แล้ว บคุ คลจะนงิ่ เฉยอยไู่ มไ่ ด้ อาจมคี วามกระวนกระวายไมเ่ ปน็ สขุ ภาวะท่ี บุคคลเกดิ ความกระวนกระวายอยเู่ ฉยๆ ไมไ่ ดน้ ้ี เรียกวา่ เกดิ แรงขับ ซึง่ ระดบั ความกระวนกระวายจะมมี ากน้อยเพยี งใดนนั้ ขึน้ อยูก่ บั ระดบั ความ ตอ้ งการดว้ ย ถา้ ต้องการมากกก็ ระวนกระวายมาก เช่น เมอื่ รา่ งกายขาดนา้ จะเกดิ อาการคอแหง้ กระหายนา้ เกดิ ความรสู้ กึ กระวนกระวายอยู่ไมส่ ขุ 153

ขัน้ ตอนของการเกดิ แรงจูงใจ 154 3. ข้ันพฤตกิ รรม (Behavior Stage) เมื่อเกดิ ความกระวนกระวายขนึ้ ความกระวนกระวายนนั้ จะผลกั ดนั ใหบ้ คุ คลแสดง พฤติกรรมออกมา แรงขับจะเปน็ พลงั ใหแ้ สดงพฤตกิ รรมไดร้ นุ แรงหรอื มากนอ้ ยตา่ งกัน เชน่ คนทกี่ ระหายนา้ มากกบั คนทกี่ ระหายนา้ เพยี งเลก็ นอ้ ย ยอ่ มมพี ฤตกิ รรมในการหา นา้ ดื่มตา่ งกนั คนกระหายนา้ มากอาจหาทงั้ นา้ เย็น นา้ มะพรา้ ว น้าออ้ ยมาด่มื พรอ้ มกนั ในขณะท่คี นกระหายนา้ นอ้ ยหาเพยี งนา้ เยน็ แกว้ เดยี วเทา่ นนั้ 154

ขั้นตอนของการเกดิ แรงจูงใจ 155 4. ขั้นลดแรงขบั (Drive Reduction Stage) เป็นขน้ั สุดทา้ ย คือ แรงขับจะลดลงภายหลังการเกดิ พฤตกิ รรมท่ี ตอบสนองความตอ้ งการแลว้ 155

156 สรุป กระบวนการของแรงจูงใจทง้ั 4 ขั้นรวมกนั จากตวั อย่าง เช่น คนขาดอาหารมกั เกดิ ความหวิ (Need) ซ่ึงจะมอี าการทางกายปรากฏเพยี งเลก็ นอ้ ย เชน่ ทอ้ งรอ้ ง หรอื อาจมอี าการรนุ แรงจนถงึ แสบทอ้ ง ปวดทอ้ ง ปวดศรี ษะ ทา ให้กระวนกระวาย หงดุ หงดิ (Drive) จงึ หาอาหารเทา่ ทจ่ี ะพอหาได้ หรือพยายาม หาอาหารหลายๆ อยา่ งมารบั ประทาน (Behavior) เมอื่ รบั ประทานอมิ่ แลว้ กห็ ายหวิ (Drive Reduction) 26/03/65

157 กระบวนการของจูงใจ เสยี สมดลุ ความตอ้ งการ แรงขบั สมดลุ คืนมา เปา้ หมาย พฤตกิ รรม 157

158 26/03/65

ทฤษฎเี กย่ี วกับแรงจงู ใจ 159 ทฤษฎกี ารจงู ใจทเี่ ก่ยี วกับความต้องการของมนษุ ย์ (Need/ Content Theories of Motivation) นักจิตวิทยาและนักวิชาการได้เสนอแนวความคิดในเชิงทฤษฎีต่าง ๆ ในเรื่องของเหตุจูงใจและ ท ฤ ษ ฎี ที่ เ ป็ น ท่ี ย อ ม รั บ กั น โ ด ย ทั่ ว ไ ป คื อ ท ฤ ษ ฎี ล า ดั บ ขั้ น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ม า ส โ ล ว์ ผู้มีช่ือเสียงผู้ก่อต้ังจิตวิทยาสาขามนุษย์นิยมศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความต้องการของมนุษย์โดยมองว่า มนุษย์ทุกคนล้วนแต่มีความต้องการที่จะตอบสนองความต้องการให้กับตนเองทั้งสิ้น ความต้องการของ มนุษย์มีหลายอย่างด้วยกัน มาสโลว์ได้นาความต้องการเหล่าน้ันมาจัดลาดับเป็น 5 ลาดับข้ันเรียงลาดับ ความต้องการจากขน้ั ต่าสดุ ไปสูค่ วามต้องการข้ันสูงสดุ 26/03/65

160 26/03/65

161 1. ความตอ้ งการพนื้ ฐานทางด้านรา่ งกาย (Physiological Needs) เปน็ ความตอ้ งการลาดบั ตา่ สุดและเป็นพน้ื ฐานของ ชวี ิต ไดแ้ ก่ ความตอ้ งการเพอ่ื ตอบสนองความหิว ความกระหาย ความตอ้ งการเพ่อื ความอยรู่ อดของ ชีวติ เรยี กงา่ ยๆ ก็คือ ปจั จยั ส่ี อาหาร เครอ่ื งนุง่ หม่ ยารักษาโรค ทพ่ี กั อาศัย รวมถึงสิง่ ท่ี ทาให้การดารงชีวติ สะดวกสบาย นัน่ เอง 26/03/65

162 2. ความตอ้ งการความมน่ั คงปลอดภยั (Safety Needs) เปน็ ความตอ้ งการทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ หลงั จากทค่ี วามตอ้ งการทางรา่ งกายไดร้ บั การ ตอบสนองจนเปน็ ทพ่ี อใจแลว้ ความตอ้ งการขน้ั นถ้ี ึงจะเกดิ ขนึ้ ไดแ้ ก่ ความ ตอ้ งการความปลอดภัยมที ยี่ ดึ เหนย่ี วทางจติ ใจ ปราศจากความกลวั การ สญู เสยี และภยั อนั ตราย เชน่ สภาพสง่ิ แวดลอ้ มบา้ นปลอดภยั การมงี านท่ี ม่ันคง การมเี งนิ เกบ็ ออม ความตอ้ งการความมนั่ คงปลอดภัย รวมถึง ความ ม่ันคงปลอดภยั สว่ นบคุ คล สขุ ภาพและความเปน็ อยู่ ระบบรบั ประกนั - ช่วยเหลอื ในกรณขี องอบุ ตั เิ หตุ/ความเจบ็ ปว่ ย 26/03/65

3. ความตอ้ งการทางสงั คม (Social 163 Needs) 4. ความตอ้ งการเกยี รตยิ ศชอื่ เสยี ง ความต้องการระดบั สาม ความตอ้ งการทางสงั คม (Esteem Needs) หมายถึง ความตอ้ งการทจี่ ะเกย่ี วพนั การมี เพอ่ื นและการถกู ยอมรบั โดยบคุ คลอน่ื ความ ความตอ้ งการระดบั ทสี่ ่ี เป็นความตอ้ งการ ต้องการในขน้ั นเี้ ปน็ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คล ระดบั สงู อยากเดน่ ในสงั คม เปน็ ทยี่ อมรบั เป็นการอยรู่ ว่ มกนั เชน่ การไดร้ บั การยอมรบั จาก นับถอื ของคนทง้ั หลายในเรอื่ งตา่ ง ๆ เชน่ บคุ คลอน่ื และมคี วามรสู้ กึ วา่ ตนเองเปน็ สว่ นหนง่ึ ยอมรบั ในเรอื่ งความรคู้ วามสามารถ ของสงั คม 26/03/65

164 5. ความตอ้ งการทจ่ี ะไดร้ บั ความสาเรจ็ ในชวี ติ (Self actualization needs) ความตอ้ งการนเี้ ปน็ ความตอ้ งการระดบั สงู เป็นความตอ้ งการทอ่ี ยากจะ ให้เกดิ ความสาเรจ็ ตามแนวคิดของตนเอง การทบ่ี ุคคลใดบคุ คลหนง่ึ จะบรรลถุ งึ ใน แนวทางทดี่ ที ส่ี ดุ ตามแนวคดิ ของตนนนั้ ข้นึ อยกู่ บั ขดี ความสามารถของบุคคลคน นั้นด้วย 26/03/65

165 26/03/65

การใหร้ างวัลและการทาโทษ (Reward and Punishment) 166 ภาพท่ี 5 การเสรมิ แรงในรปู แบบตา่ งๆ

167 การใหร้ างวลั และการทาโทษ (Reward and Punishment) สิ่งของหรอื กิจกรรมใดกต็ ามทนี่ ามาใหเ้ ป็นผลตอบแทนจากการ กระทา และมผี ลทาใหม้ กี ารกระทาน้ันเกดิ ขนึ้ ซา้ อีก เรียกส่งิ ของหรอื กจิ กรรมนน้ั ว่า “ตวั เสรมิ แรง ” (Rein forcer) 26/03/65

168 การเสริมแรง การทาใหผ้ ทู้ าพฤตกิ รรมเกดิ ความพงึ พอใจเมอ่ื ทาพฤตกิ รรมใด พฤติกรรมหนง่ึ แลว้ เพื่อใหท้ าพฤตกิ รรมนน้ั ซา้ ๆ อีก เชน่ เมอ่ื นกั เรยี นตอบคาถามถกู ตอ้ ง ครใู หร้ างวลั (นักเรยี นพอใจ) นกั เรยี นจะตอบคาถามอกี หากครถู ามคาถามครงั้ ตอ่ ๆ ไป 26/03/65

169 การให้การเสริมแรงมีอยู่ 2 อย่าง 1. การใหก้ ารเสรมิ แรงทางบวก 2. การใหก้ ารเสรมิ แรงทางลบ (Negative (Positive Reinforcement) Reinforcement) การให้ตวั เสรมิ แรงบวก เม่ือทา การใหต้ ัวเสรมิ แรงลบ เมอื่ ทาพฤตกิ รรมที่ พฤตกิ รรมทก่ี าหนด (ต้องการ) แล้ว กาหนด (ตอ้ งการ) แลว้ เชน่ นักเรยี นท่ี เชน่ ทางานเสรจ็ แลว้ ไดร้ บั คา่ จา้ ง ตอบคาถามครถู กู จะไดร้ บั การยกเวน้ ไมต่ อ้ ง ทางานเปน็ พฤตกิ รรมทกี่ าหนดเงนิ ทารายงานมาสง่ เปน็ ตน้ คา่ จ้างเปน็ ตวั เสรมิ แรงบวก 26/03/65

การลงโทษ (Punishment) 170 คอื เป็นการทาใหค้ วามถขี่ องพฤตกิ รรมเปา้ หมายลดหรอื ยุตลิ ง อันเปน็ ผลเนอื่ งมาจากผลกรรมทต่ี ามหลงั พฤตกิ รรมนนั้ ตวั อย่าง ขณะสอบปลายภาควชิ าจติ วทิ ยา นายสดุ หลอ่ ทจุ รติ ในการสอบครจู บั ได้ เลยให้ F หลังจากนน้ั นายสดุ หลอ่ ไมก่ ลา้ ทุจรติ ใหก้ ารสอบอกี เลย 26/03/65

การเสรมิ แรงทางบวก การเสริมแรงทางลบ และการลงโทษ 171 การเสริมแรงทางบวก การ เสรมิ แรงทางลบ และการลงโทษ 171

การทดสอบ (Testing) 172 สตีเฟนส์ (Stephens) ในระดบั วทิ ยาลยั ผลการวิจัยบ่งว่าการทดสอบครั้งหรือสองครั้งต่อภาคเรียนจะมีผลพอ ๆ กับการ สอบบอ่ ย ๆ รูส้ กึ วา่ จะมปี ระสทิ ธภิ าพในการสรา้ งแรงจูงใจสงู การทดสอบทกุ วนั จะใหผ้ ลตอ่ การจงู ใจนอ้ ย กว่าไม่มกี ารทดสอบ 26/03/65

173 สตีเฟนส์ (Stephens) พบว่า การทดสอบนบั วา่ เปน็ การสรา้ งแรงจูงใจภายนอก เพือ่ จะให้การทดสอบมีผลตอ่ การจงู ใจภายในของ นกั เรียน ครูนา่ จะใช้ผลการสอบใหเ้ กิดประโยชน์มากขึน้ โดยวิธกี ารย่อย ๆ ดงั นี้ -ใหเ้ ด็กรคู้ วามกา้ วหน้าทกุ ครั้งและเปรยี บเทียบกบั ครงั้ ก่อนๆ -แนะใหเ้ ขารจู้ ุดบกพร่องของตนเอง ใหห้ าวิธีปรบั ปรุงขอ้ บกพรอ่ งของตนเอง -ใหก้ าลงั ใจแก่เดก็ หรือให้เขามีความหวังหรือมองเหน็ ลทู่ างในการเรียนรูส้ ง่ิ อ่ืน ๆตอ่ ไป 26/03/65

การใหร้ ้ผู ลการกระทา (Knowledge of Results) 174 มีผลการวจิ ยั สนบั สนนุ วธิ กี ารใหน้ กั เรยี นรผู้ ลการกระทาว่าเปน็ การสรา้ งแรงจงู ใจทด่ี ี เช่น การทดลองเกย่ี วกบั การขวา้ งเปา้ การทดลองนจ้ี ะแบง่ กลมุ่ ตวั อยา่ งออกเปน็ 2 พวกพวกแรกเมอ่ื ขวา้ งไป แลว้ ไฟจะดบั ซึ่งจะไม่ทราบผลวา่ ขวา้ งถกู หรอื ผดิ ใกลห้ รอื ไกลจากเปา้ เพยี งใดสว่ นอกี กลุม่ หนงึ่ จะเหน็ ความก้าวหนา้ ของตนเองทกุ ระยะ ผลการทดลองปรากฏวา่ กลุ่มทรี่ ผู้ ลการกระทาของตนเองจะกา้ วหนา้ ไปเรอื่ ย ๆตา่ งจากอกี กล่มุ หนงึ่ ทไ่ี มท่ ราบผลการกระทาจะรู้สกึ เบอ่ื และทอ้ แทท้ จี่ ะทาตอ่ ไป อีกตวั อยา่ งหนง่ึ คอื การทดลองของบราวน์ (Brown) ซง่ึ ทดลองกับเดก็ ชน้ั ประถมโดยแบง่ ออกเปน็ กลุม่ ย่อย ๆ ใหแ้ ตล่ ะกลุม่ ทาเลขทกุ วนั วนั ละ 10 นาทตี ลอดเวลา 1 เดือน เขาไดห้ มนุ เวยี นบอกผลคะแนนแสดง ความกา้ วหนา้ ของบางกลมุ่ ผลปรากฏว่าถ้ากลุม่ ใดมกี ารบอกคะแนนแสดงความกา้ วหนา้ ในผลงานกลมุ่ นน้ั มักจะมี ความตง้ั ใจสงู 26/03/65

การแข่งขนั (Competition) 175 ก า ร แ ข่ ง ขั น อ า จ แ บ่ ง ไ ด้ เ ป็ น ก า ร แ ข่ ง ขั น กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ ก า ร แ ข่ ง ขั น กั น เ ป็ น ก ลุ่ ม เฮอร์ลอคได้ทาการทดลอง ทกุ คนในกลมุ่ ทดลองจะแขง่ ขนั กนั ทาเลข วิธกี ารแขง่ ขันมี2แบบคือแต่ละ คนในกลุ่มทดลองจะแข่งขันกันเองเพื่อชิงความเป็นเลิศในกลุ่มและนาเอาคะแนนของทุกคนในกลุ่มมา รวมกันเพื่อประกาศกลุ่มที่ชนะเลิศพร้อมทั้งรายช่ือของสมาชิกในกลุ่มนั้น ส่วนกลุ่มควบคุมไม่มีการ แข่งขันทุกคนต่างทาของตนเองไป ผลปรากฏว่ากลุ่มทดลองจะมีคะแนนสูงกว่ากลุ่มควบคุม มีผู้ทา การทดลองอีกหลายคนล้วนแต่สรุปผลคล้ายกันว่าการจูงใจในการเรียนวิธีการแข่งขันให้ผลดีกว่าวิธี ร่วมมอื แต่ถึงแม้วา่ การแข่งขนั จะมีคุณคา่ ในด้านการสร้างแรงจูงใจ แตค่ รกู ต็ ้องระวงั เพราะบางครั้ง การแขง่ ขนั ระหวา่ งกลมุ่ อาจนามาซง่ึ การแตกความสามคั คี เกดิ ความอจิ ฉารษิ ยา และอาจทาใหเ้ กิด ปัญหาทางอารมณ์เช่นความคับขอ้ งใจ (Frustration) ความวติ กกังวล (anxiety) หรอื มีปมด้อยฯลฯ 26/03/65

การตงั้ ระดบั ความมุ่งหวงั (Level of Aspiration) 176 เนอ่ื งจากการทมี่ คี วามรสู้ กึ วา่ ไดป้ ระสบผลสาเรจ็ เกีย่ วกบั ผลงานนนั้ เปน็ พลังใจทีส่ าคญั ในการเรียนของเดก็ โดยท่ัวไปครูจึงมีหน้าท่ีจะต้องพยายามสอนและแนะแนวทางให้เด็กรู้จักต้ังระดับความมุ่งหวังถ้าตั้งระดับ ความมุ่งหวังสูงเกินไปเด็กจะประสบแต่ความล้มเหลว ซ่ึงนอกจากจะทาให้เบ่ือ หมดกาลังใจในการเรียน แลว้ ยังจะเป็นอุปสรรคต่อการปรบั ตวั และบนั่ ทอนสขุ ภาพจติ ของเด็กอกี ด้วย ในทางตรงข้ามการตั้งระดับ ความมุ่งหวังท่ีต่าเกินไป ก็เป็นการฝึกนิสัยเฉื่อยชา ไม่กระตือรือร้น ซึ่งเป็นผลร้ายต่อความก้าวหน้าใน ชวี ติ อนาคตของเดก็ 26/03/65

177 สรุปได้ว่า การสร้างแรงจูงใจหรือการจูงใจ ควรทาในลักษณะดังน้ี 1. ปลกู ฝังให้มคี วามรับผดิ ชอบ 2. มอบหมายหน้าที่การงานทีน่ ่าสนใจให้ 3. พยายามใหเ้ กดิ ความรู้สึกวา่ ประสบความสาเร็จ 4. ใหก้ ารยอมรบั นับถอื ในความสามารถ 5. สนับสนนุ ใหม้ คี วามมานะพยายามเกิดการแขง่ ขัน 6. ใหโ้ อกาสท่จี ะมคี วามเจริญกา้ วหนา้ 26/03/65

178 สรา้ งแรงจูงใจในการเรียน 26/03/65

สร้างแรงจูงใจในการเรียน 179 การท่ีเด็กจะประสบความสาเร็จในการเรียนน้ัน จาเป็นต้องมีปัจจัยหลายประการ หนึ่งในปัจจัยสาคัญคือการสร้างแรงจูงใจในการเรียนให้เกิดข้ึนกับเด็ก แต่ท้ังนี้ ทง้ั นั้น ตวั ของครเู องจะต้องเป็นผู้ท่มี คี วามกระตอื รอื ร้น และหมั่นสร้างแรงจูงใจใน การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของตนเองอย่างสม่าเสมอด้วย การสร้าง แรงจูงใจในการเรียน 8 ข้ันดังนี้ 26/03/65

1. ความกระตอื รอื รน้ และตน่ื เตน้ 180 2. ต้งั เปา้ หมายสงู 3. ทางเลอื กครเู ปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ๆ ไดฝ้ กึ ฝนการเลือก 4. ความรบั ผดิ ชอบ 5. เนน้ ดา้ นบวก 6. การเรยี นแบบรว่ มมอื 7. กาลงั ใจ ครจู ะตอ้ งพยายามมองหาจดุ ชมเชย 8. กฎกตกิ า เพ่ือใหห้ อ้ งเรยี นดาเนินไปอยา่ งราบรนื่ 26/03/65

181 บทบาทของครู กับการจงู ใจในการ เรยี นการสอน 26/03/65

182 ครูเปน็ ผู้ทอี่ ยใู่ กลช้ ดิ ผเู้ รยี นทส่ี ดุ ในสถานการณก์ ารเรยี นการสอนอกี ทงั้ ยงั เป็นผทู้ มี่ บี ทบาทอยา่ งมากในการจัดการเรยี นรใู้ หก้ บั ผเู้ รยี นโดยในดา้ นของการสรา้ ง แรงจงู ใจในการเรยี นการสอนครสู ามารถดาเนินการเพ่ือใหผ้ เู้ รยี นเกดิ แรงจงู ใจใน การเรยี นเพิ่มขน้ึ ไดห้ ลายวธิ ี เช่น 26/03/65

1. การจัดหอ้ งเรยี นใหม้ บี รรยากาศทท่ี า้ ทายความอยากรอู้ ยาก 183 เห็นของผเู้ รยี น 2. บอกวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะของบทเรยี นใหผ้ เู้ รยี นทราบ 3. พยายามใหง้ านแกผ่ เู้ รยี นตามความสามารถและให้ โอกาสผเู้ รยี นทกุ คนมปี ระสบการณเ์ กย่ี วกบั ความสาเรจ็ ในการเรยี นรู้ 26/03/65

4. พยายามใหข้ ้อมลู ย้อนกลบั (Feedback) 184 แก่ผเู้ รยี น และแนะใหผ้ เู้ รยี นใช้ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั มาใช้ในการ ปรับปรงุ การทางานใหด้ ขี ้ึน 5. พยายามพบผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล เพื่อช่วยผเู้ รยี นวเิ คราะห์ สาเหตคุ วามสาเรจ็ หรอื ลม้ เหลวในการเรยี นของผเู้ รยี น 6. จัดการเรยี นการสอนใหส้ นองความ สนใจและความต้องการของผเู้ รยี น 7. ครคู วรทาใหผ้ เู้ รยี นเห็นคุณคา่ ของความพยายามในการ ทางานการทากจิ กรรมตา่ ง ๆ 26/03/65

8. ครคู วรนาการเสรมิ แรงต่าง ๆ มาใชใ้ นการสรา้ งแรงจูงใจใหก้ บั ผเู้ รยี น 185 9. เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นไดเ้ ลอื กทางานทม่ี คี า่ ตอบแทนหรอื เปน็ งานทส่ี รา้ งชื่อเสยี ง เพื่อเปน็ แรงจงู ใจใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ความตอ้ งการทจ่ี ะทาใหส้ าเรจ็ 10. ควรทาให้เดก็ เห็นความสาคญั ของการเรยี นหรอื สงิ่ ทตี่ อ้ งการใหเ้ รยี นรู้ 11. ให้เดก็ ทางานเปน็ กลมุ่ 26/03/65

12. ครคู วรใหค้ วามรกั ความสนใจ ดูแล เอาใจใส่ผเู้ รยี นทกุ คนอยา่ งทว่ั ถงึ 1586 และเสมอภาค พรอ้ มทง้ั ควรเสรมิ กาลงั ใจใหเ้ ดก็ อยา่ งต่อเนอื่ ง เพราะจะทา ใหเ้ ดก็ มีกาลงั ใจในการเรยี นเพม่ิ ขน้ึ 13. ครูควรพฒั นาตนเองใหม้ บี คุ ลกิ ภาพทดี่ เี หมาะสมกบั ความเปน็ ครู และเออ้ื ตอ่ การเรยี นรขู้ องผู้เรยี น 14. พฤติกรรมการสอนของครมู บี ทบาทในการสรา้ งความรสู้ กึ ทีด่ ีใหแ้ กผ่ เู้ รยี นเชน่ เดยี วกบั บคุ ลกิ ภาพของครู โดยในการสอน ตอ้ งใช้เทคนิคและทกั ษะการสอนทส่ี อดคลอ้ งเหมาะสมกบั ผูเ้ รยี นและบทเรยี น และเออื้ ใหเ้ กดิ แรงจูงใจในการเรยี นของ ผูเ้ รียน 26/03/65

187

ความหมายของเด็กทม่ี คี วามตอ้ งการพิเศษ 188 เด็กที่มคี วามตอ้ งการพเิ ศษ หมายถงึ เดก็ ที่มสี ภาพความบกพรอ่ งใน ลกั ษณะตา่ งๆ ไมว่ า่ จะทางดา้ นพฒั นาการ ทางรา่ งกาย อารมณ์ สังคม ภาษา หรือสตปิ ญั ญา และไม่สามารถปฏบิ ตั งิ านในชวี ติ ประจาวนั ได้ดังเชน่ เด็กปกตทิ ว่ั ๆ ไป รวมถึงทางดา้ นการจดั การศกึ ษา ซึ่งต้องจดั ใหม้ กี ารเรยี นการสอนทต่ี า่ งไป จากเด็กปกติ เพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งและเหมาะสมกบั สภาพของความบกพรอ่ งของ เดก็ 188


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook