ปจั จยั ทมี่ อี ิทธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น 39 ปัจจยั ทเี่ กย่ี วกบั ผเู้ รยี น ระดับความสามารถทางปัญญาและความถนัด ผู้เรียนท่ีมี สตปิ ญั ญาระดบั สูงยอ่ มสามารถเรยี นรใู้ นสงิ่ ทยี่ ากมลี กั ษณะเปน็ นามธรรม และมีความสลับซับซ้อนได้ดีและเร็วกว่าผู้เรียนท่ีมีสติปัญญาระดับปาน กลางหรือระดบั ต่า ส่วนเรื่องความถนัดน้ัน ผู้เรียนที่มีความถนัดในด้านใดก็ย่อม เรียนรู้ในดา้ นนั้นได้ดีดวา่ บคุ คลอน่ื ดว้ ย 39
ปัจจยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น 40 ปจั จยั ทเ่ี กยี่ วกับผเู้ รยี น ความรูเ้ ดมิ หรือประสบการณ์เดิม ในการเรียนรู้เรื่องใดๆ ก็ตาม ถ้า ผเู้ รยี นมคี วามรู้พื้นฐานในเรอ่ื งนัน้ มาก่อน ย่อมทาให้การเรยี นรเู้ กิดขึ้นไดง้ า่ ย กวา่ ผู้ทีไ่ ม่มคี วามร้พู ื้นฐานหรอื ไมม่ ปี ระสบการณเ์ ดิมมากอ่ น เจตคติ ไม่ว่าเจตคติตอ่ สถาบนั การศกึ ษา เจตคติต่อครูผู้สอน ล้วนมี อิทธิพลต่อการเรียนรู้ท้ังส้ิน ทั้งนี้เพราะเจตคติที่ดี จะทาให้ผู้เรียนมีความ ต้ังใจ มีความสนใจ และทุ่มเทใหก้ บั การเรียนมากขน้ึ 40
ปัจจยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 41 ปัจจยั ทเี่ กยี่ วกับผเู้ รยี น ความสมบูรณ์ของอวัยวะรับสัมผัส โดยเฉพาะตากับหูซ่ึงมี ความจาเป็นสาหรับการเรียนรู้มาก ผู้เรียนที่มองเห็นไม่ชัดเพราะ สายตาส้ัน สายตาเอียง สายตายาว หรือตาบอด ตลอดจนการ ได้ยินที่ไม่ชัดเจน จากการหูตึงหรือหูหนวก ก็จะไม่สามารถรับ สัมผัสและรับข้อมูลที่จะต้องเรียนรู้ได้หมด จะทาให้เกิดความ ล้มเหลวหรือมีการเรียนร้ผู ิดพลาดได้ 41
ปัจจยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น 42 ความยากงา่ ย บทเรยี นทเี่ รยี น ของบทเรยี น โดยการปฏิบตั ิ ปัจจยั ทเี่ ปน็ บทเรยี นและวธิ เี รยี น ความส้นั ยาว การฝกึ ฝนหรอื ของบทเรยี น การทาซา้ 42
ปัจจยั ทมี่ อี ิทธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 43 ปจั จยั ทเ่ี กยี่ วกับผเู้ รยี น ความยากงา่ ยของบทเรยี น บทเรยี นทยี่ ากหรอื งา่ ย จนเกนิ ไปจะทาให้ผเู้ รยี นมแี รงจงู ใจในการเรยี นต่ากว่าบทเรยี น ทีม่ คี วามยากงา่ ยในระดับปานกลาง ความสัน้ ยาวของบทเรยี น บทเรยี นทย่ี าวจนเกนิ ไปจะทาให้ ผู้เรยี นเบอื่ หนา่ ยหรอื เมอื่ ยลา้ กบั การเรยี นได้เรว็ กวา่ บทเรยี นสนั้ ๆ 43
ปัจจยั ทมี่ อี ิทธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น 44 ปัจจยั ทเี่ กยี่ วกับผเู้ รยี น บทเรยี นทเ่ี รยี นโดยปฏบิ ตั ิหรอื ทดลอง การ เรยี นจากการปฏบิ ตั ิหรอื การทดลอง จะทาใหผ้ เู้ รยี นมปี ระสบการณต์ รง ในการ เรียนรู้ และสามารถจดจาเนือ้ หาได้ดกี วา่ บทเรยี นทเี่ รยี น จากคาบอกเลา่ หรอื คาอธบิ ายของครผู สู้ อนเพยี งอยา่ งเดียว การฝกึ ฝนหรอื การทาซา้ บทเรยี นของวชิ าประเภททกั ษะ ไม่ ว่าทกั ษะทางภาษาตวั เลขหรอื ทกั ษะทางการเคล่อื น ไหว การเรยี นดว้ ย การฝกึ ฝนเปน็ ประจา ย่อมทาใหเ้ รยี นรไู้ ด้ดกี วา่ ผู้เรยี นทไ่ี มไ่ ดฝ้ กึ ฝน 44
ปจั จยั ทมี่ อี ิทธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 45 บุคลกิ ภาพ ส่ิงทีเ่ กยี่ วกบั ตวั ครผู สู้ อน ความสามารถ ความรใู้ น การในการสอน เนื้อหาทส่ี อน 45
ปัจจยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น 46 ปัจจยั ทเี่ กย่ี วกบั ผเู้ รยี น บคุ ลิกภาพของครผู ูส้ อน ในทนี่ ีห้ มายถงึ รปู รา่ ง หน้าตา การแตง่ กาย หรอื ความเชอื่ มน่ั ในตนเองของครผู สู้ อน ส่ิงเหล่านี้จะ สามารถจงู ใจในการเรยี นใหก้ ับผ้เู รยี นได้ ความสามารถในการถา่ ยทอดความรขู้ องครผู สู้ อน คากลา่ ว ทวี่ า่ “ครผู สู้ อนคอื ผทู้ ่ีทาให้เรอื่ งยากกลายเปน็ เรอื่ งงา่ ย” เมอ่ื ผ้เู รยี นเขา้ ใจในบทเรยี นทไี่ ดเ้ รยี นมา กจ็ ะจูงใจใหเ้ กดิ ความตอ้ งการ เรียนในบทเรยี นต่อไป 46
ปจั จยั ทม่ี อี ิทธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 47 ปจั จยั ทเี่ กย่ี วกับผเู้ รยี น ความรใู้ นเนื้อหาทสี่ อน ครูผสู้ อนทมี่ คี วามรคู้ วามเชยี่ วชาญ ในเรอ่ื งทสี่ อน ทาให้สอนได้อยา่ งมน่ั ใจ และผูเ้ รยี นกจ็ ะไดร้ บั ความรู้ ท่ีถกู ตอ้ งด้วย 47
อุปสรรคทขี่ ดั ขวางการเรยี นรู้ 48 สภาพรา่ งกายทไี่ มเ่ หมาะสม สภาพอารมณท์ ไี่ มเ่ หมาะสม ความบกพรอ่ งทางสมองและสตปิ ญั ญา สภาพแวดล้อมทไ่ี มเ่ ออ้ื อานวยตอ่ การเรยี นรู้ 48
อุปสรรคทขี่ ดั ขวางการเรยี นรู้ 49 สภาพรา่ งกายทไี่ มเ่ หมาะสม ได้แก่ ความบกพรอ่ งของอวยั วะรบั สมั ผสั ตา่ งๆ เช่น หตู ึง หหู นวก สายตาสน้ั สายตายาว หรือตาบอด นอกจากน้ัน อาจเปน็ ความพกิ ารของแขน ขา หรือสุขภาพไมด่ ี มกี ารเจบ็ ปว่ ยเกดิ ขน้ึ เปน็ ประจา ทาให้ ต้องขาดการเรยี นบอ่ ยๆ สภาพอารมณท์ ไ่ี มเ่ หมาะสม เชน่ ความกลวั และความวิตก กังวล หรอื ความตน่ื เตน้ มากจนเกินไป ทาให้ผู้เรยี นไมม่ สี มาธใิ น การเรยี นได้ 49
อุปสรรคทขี่ ัดขวางการเรยี นรู้ 50 ความบกพรอ่ งทางสมองและสตปิ ญั ญาหรอื มเี ชาวป์ ญั ญาตา่ สภาพแวดล้อมทไ่ี มเ่ ออื้ อานวยต่อการเรยี นรู้ เช่น คบเพอื่ นไม่ ดี ยากจน ต้องชว่ ยเหลือบดิ ามารดาทางาน บ้าน เรอื นตง้ั อยใู่ น ย่านสลมั หรอื มวั่ สุมอบายมขุ เปน็ ตน้ 50
ทฤษฎกี ารเรียนรู้ 51 นักจิตวทิ ยาในกลุ่มตา่ งๆ ไดท้ าวจิ ยั ศกึ ษาและทดลองเกย่ี วกบั การเรยี นรู้ ทาให้มที ฤษฎกี ารเรยี นรเู้ กดิ ขนึ้ จนเปน็ ทีร่ จู้ กั กนั อยา่ ง แพรห่ ลายมากมายหลายทฤษฎี มุมมองทางพฤติกรรมนิยม มุมมองทางปญั ญานิยม 51
52 การเรียนรู้ :มุมมองทางพฤติกรรมนิยม 52
ทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ล่มุ พฤตกิ รรมนยิ ม 53 (Behaviorism) -ทฤษฎสี มั พนั ธเ์ ชอ่ื มโยง -ทฤษฎกี ารวางเงอื่ นไข ทฤษฎกี ารเรยี นรโู้ ดยการวางเง่อื นไขไดก้ ล่าวถงึ การวาง เงือ่ นไขเอาไว้ 2 ลักษณะ ➢แบบคลาสสคิ ➢แบบจงใจกระทา 53
ทฤษฎสี ัมพนั ธเ์ ชอ่ื มโยง (Connectionism Theory) 54 เอ็ดเวริ ด์ ลี ธอร์นไดค์ (Edward Lee Thorndike) เปน็ นกั จติ วทิ ยา ชาวอเมรกิ นั เขาไดส้ อนอยทู่ วี่ ทิ ยาลยั ครู ในมหาวทิ ยาลยั โคลมั เบยี (Columbia University) ซึง่ ณ ทน่ี น้ั เขาไดศ้ กึ ษาเกย่ี วกบั การเรยี นรู้ กระบวนการตา่ ง ๆ ในการเรยี นรู้ และธรรมชาตขิ องภาษาองั กฤษทงั้ ของมนษุ ยแ์ ละสตั ว์ ธอร์นไดค์ ได้ใหก้ าเนดิ ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ ฤษฎหี นงึ่ ขน้ึ มา ซ่งึ เปน็ ที่ ยอมรบั แพรห่ ลายต้งั แตป่ ี ค.ศ. 1899 เปน็ ต้นมาจนถงึ ปจั จุบัน ทฤษฎขี องเขา เน้นความสมั พนั ธเ์ ช่ือมโยงระหวา่ งสง่ิ เรา้ กบั การตอบสนอง จากแนวคดิ ของธอร์นไดค์ทว่ี า่ การเรยี นรคู้ ือการแกป้ ญั หาหรอื มี สถานการณท์ เ่ี ปน็ ปญั หาเกิดขนึ้ ใหต้ อ้ งแกไ้ ข ธอร์นไดคจ์ งึ ไดท้ าการทดลองโดย ให้สัตวเ์ รยี นรกู้ ารแกป้ ญั หา 54
ทฤษฎสี มั พนั ธเ์ ชอื่ มโยง (Connectionism Theory) 55 กลมุ่ ทฤษฎนี ีอ้ ธบิ ายการเรยี นรใู้ นลกั ษณะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งเรา้ กบั การตอบสนอง คอื การเรยี นรเู้ กดิ ขนึ้ เพราะผเู้ รยี นมกี ารตอบสนองตอ่ สิ่งเรา้ และยง่ิ การตอบสนองไดร้ บั การสง่ เสรมิ หรอื ไดร้ บั ผลเปน็ ทนี่ า่ พอใจ ความสัมพนั ธร์ ะวา่ งสิ่งเรา้ และการตอบสนองก็จะยง่ิ ม่นั คงถาวร เกดิ การเปลีย่ น แปลงพฤตกิ รรมทคี่ อ่ นข้างถาวร ให้เปน็ การเรียนรเู้ กดิ ขนึ้ สรุป “การเรยี นรเู้ กดิ ขนึ้ จากการสรา้ งพนั ธะเชอ่ื มโยงระหวา่ งสิง่ เรา้ กบั ปฏิกริ ยิ าตอบสนอง หรอื สถานการณแ์ วดลอ้ มกบั พฤตกิ รรม” 55
ทฤษฎสี มั พนั ธเ์ ชอ่ื มโยง (Connectionism Theory) 56 เจา้ ของทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ลมุ่ น้ี สว่ นใหญเ่ ปน็ นกั จติ วทิ ยาสงั กดั กลมุ่ พฤตกิ รรมนยิ ม (Behaviorism) และวธิ กี ารอธบิ ายก็อาศยั หลกั การหรอื แนวคดิ ของกลมุ่ พฤตกิ รรมนยิ ม ดังนน้ั จึงมผี นู้ ยิ มเรยี กทฤษฎกี ารเรยี นรใู้ น กล่มุ นว้ี ่า “กลมุ่ ทฤษฎกี ารเรยี นรแู้ บบพฤตกิ รรมนยิ ม” การเรยี นรจู้ ะเกดิ ขนึ้ เมอื่ มสี ภาพการณท์ เ่ี ปน็ ปญั หาเกิดขน้ึ มาใหแ้ ก้ ในชน้ั แรกอินทรยี ์จะพยายามดิ้นรน หาทางแกป้ ญั หาดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ อยา่ งเดาสมุ่ เปะปะ ไมม่ หี ลกั เกณฑแ์ ละจดุ หมายปลายทางทแ่ี นน่ อน แต่ถา้ บงั เอิญแกป้ ญั หาที่เกดิ ข้ึนไดผ้ ลสาเรจ็ ในครงั้ ตอ่ ไปรา่ งกายจะลดพฤตกิ รรมหรอื การตอบสนองทไ่ี มจ่ าเป็นออก จน เหลือแตพ่ ฤตกิ รรมทเี่ ปน็ ประโยชนแ์ ละตรงตอ่ การแกป้ ญั หานนั้ โดนเฉพาะ และในทสี่ ดุ กส็ ามารถแกป้ ญั หานนั้ ได้ อย่างอตั โนมตั อิ ย่างว่องไวฉบั พลนั 56
ทฤษฎสี ัมพนั ธเ์ ชอ่ื มโยง (Connectionism Theory) 57 ธอรน์ ไดก์ (Edward Lee Thorndike) เป็นบิดาแหง่ จิตวิทยาการศกึ ษา 57
ทฤษฎสี มั พนั ธเ์ ชอ่ื มโยง (การทดลอง) 58 ธอร์นไดค์นาแมวทกี่ าลงั หวิ ใสเ่ ขา้ ไป นาอาหารใสจ่ านมาวางไวใ้ กลก้ ลอ่ งกลทแ่ี มวสามารถมองเหน็ ได้แตย่ ืน่ มอื ไปหยบิ ไมถ่ ึง แมวทห่ี วิ จะแสดงพฤติกรรม เชน่ เอาหวั มดุ ออกไปทางชอ่ งระหวา่ งซล่ี กู กรง ยื่น มอื หรอื ยน่ื เทา้ ไปยังอาหาร และเมอื่ บังเอญิ แมวไปเหยยี บเอาแผ่นไม้ทผี่ กู โยงกับเพดานกลอ่ ง ประตูจึงเปดิ และแมวออกมากนิ อาหารได้ แตแ่ มวยังไมม่ กี ารเรยี นรู้ ต่อมานาแมวตวั เดมิ ใสก่ ลอ่ งกลเดมิ อกี โดยทาการ ทดลองซ้าๆหลายๆครง้ั จะพบวา่ แมวจะใชเ้ วลาในการเปดิ ประนอ้ ยลงเรอ่ื ยๆ สดุ ทา้ ยเมื่อนาแมวทห่ี วิ ใส่ใน กลอ่ งกล แมวจะเดนิ ตรงไปเหยียบแผน่ ไมแ้ ละกนิ อาหารทนั ที ธอร์นไดค์ อธบิ ายวา่ แมวจะเรยี นรกู้ าร แก้ปญั หาดว้ ยวธิ กี ารเดาสมุ่ หรือเรยี นรจู้ ากการลองผดิ ลองถกู น่ันเอง 58
ทฤษฎสี ัมพนั ธเ์ ชอ่ื มโยง ธอรน์ ไดค(์ การทดลอง) 59 ภาพท่ี 1 59
ทฤษฎสี ัมพนั ธเ์ ชอ่ื มโยง (Connectionism Theory) 60 การเรยี นรเู้ กดิ จากการสรา้ งความสมั พันธบ์ างอยา่ งระหวา่ งส่งิ เรา้ กบั พฤติกรรมการตอบสนอง ในระยะเวลาพอ สมควร เมอื่ มสี ถานการณห์ รอื สง่ิ ทเ่ี ปน็ ปญั หาเกดิ ขน้ึ ร่างกายพยายามทจ่ี ะหาทางแกป้ ญั หาโดย แสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมาหลายๆ รูปแบบ ในลกั ษณะแบบลองผดิ ลองถกู (trial and error) จนกวา่ จะพบวธิ ที ด่ี แี ละเหมาะสมทส่ี ดุ ในการแก้ ปัญหา ธอรน์ ไดกใ์ หค้ วามสาคัญอย่างมาก กบั “แรงเสรมิ ” (reinforcement) ที่จะทาใหพ้ ฤตกิ รรมตอบสนองมีความแนน่ แฟน้ มากย่ิงขน้ึ 60
ทฤษฎสี มั พนั ธเ์ ชอ่ื มโยง (Connectionism Theory) 61 กฎการเรยี นรจู้ ากการเรยี นรโู้ ดยการลองผดิ ลองถกู จากการทดลองการเรยี นรู้ ธอรน์ ไดค์ ได้ สรปุ กฎการเรยี นรทู้ สี่ าคญั ไวด้ งั น้ี 1. กฎแหง่ ผล ( Law of Effect ) คอื เมอื่ ผลการทากจิ กรรมใดหากผกู้ ระทาไดร้ บั ความพอใจ จากผลการทากจิ กรรมก็จะเกดิ ผลดกี บั การเรยี นรทู้ าใหผ้ กู้ ระทาอยากเรยี นรเู้ พมิ่ มากขนึ้ อีก ในทางตรงกนั ขา้ มหากผกู้ ระทาไดร้ บั ผลทไี่ มพ่ อใจกจ็ ะทาใหไ้ มอ่ ยากเรยี นรหู้ รอื เบอ่ื หน่ายและเปน็ ผลเสยี ต่อการเรยี นรู้ 2. กฎแหง่ การฝกึ หดั (Law o f Exercise) หมายถงึ การทผ่ี เู้ รยี นไดฝ้ ึกหดั หรอื กระทาซา้ ๆ บ่อยๆยอ่ มจะทาใหเ้ กดิ ความสมบรู ณถ์ กู ตอ้ งซง่ึ กฎนเี้ ปน็ การเน้นความมนั่ คงระหว่างการเช่อื มโยงและการ ตอบสนองทถ่ี กู ตอ้ งยอ่ มนามาซง่ึ ความสมบรู ณ์ 61
ทฤษฎสี มั พนั ธเ์ ชอื่ มโยง (Connectionism Theory) 62 กฎการเรยี นรจู้ ากการเรยี นรโู้ ดยการลองผดิ ลองถกู จากการทดลองการเรยี นรู้ ธอร์นไดค์ ไดส้ รปุ กฎการเรยี นร้ทู สี่ าคญั ไวด้ งั นี้ 3. กฎแหง่ ความพรอ้ ม (Law of Readiness) หมายถึง สภาพความพรอ้ มหรอื วฒุ ภิ าวะ ของผูเ้ รยี นทงั้ ทางรา่ งกาย อวัยวะตา่ งๆในการเรยี นรแู้ ละจติ ใจ รวมทง้ั พื้นฐานและประสบการณ์ เดิม สภาพความพรอ้ มของหู ตา ประสาท สมอง กล้ามเนือ้ ประสบการณเ์ ดมิ ทจี่ ะเชอื่ มโยงกบั ความรใู้ หมห่ รอื ส่ิงใหมต่ ลอดจนความสนใจ ความเขา้ ใจตอ่ สงิ่ ทเี่ หน็ ถา้ ผเู้ รยี นมคี วามพรอ้ มตาม องค์ประกอบตา่ งๆดงั กล่าว กจ็ ะทาใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรไู้ ดน้ ั่นเอง 62
ทฤษฎสี มั พนั ธเ์ ชอื่ มโยง (Connectionism Theory) 63 ธอร์นไดค์ ได้สรุปวา่ การลองผิดลองถูก (Trial and Error) จะนาไปส่กู าร เช่อื มโยงระหวา่ งสิ่งเรา้ และการตอบสนอง และการเรยี นรกู้ ค็ อื การท่ี มีการเชอ่ื มโยง (Connection )ระหวา่ งสง่ิ เรา้ (Stimulus) และการ ตอบสนอง(Responses) 63
การนาทฤษฎสี ัมพนั ธเ์ ชอ่ื มโยง (Connectionism Theory) 64 ไปใชใ้ นการสอน 1. ครคู วรจะสอนเดก็ เมอ่ื เดก็ มคี วามพรอ้ มทเ่ี รยี น ผูเ้ รยี นต้องมวี ฒุ ภิ าวะเพยี งพอท่จี ะ เรยี นและไมต่ กอยใู่ นสภาวะบาง อยา่ ง เชน่ เหนื่อย งว่ งนอน เป็นต้น 2. ครูควรจดั ใหผ้ เู้ รยี นได้มโี อกาสฝกึ ฝนและทดทวนในส่งิ ทเ่ี รยี นไปแลว้ ในเวลาอัน เหมาะสม 3. ครูควรจดั ใหผ้ ูเ้ รยี นได้รบั ความพงึ่ พอใจและประสบผลสาเรจ็ ในการทากจิ กรรม เพ่อื เปน็ แรงจงู ใจตอ่ ตวั เองในการทากิจกรรมตอ่ ไป 64
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning) 65 อวี าน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov) เปน็ นกั วทิ ยาศาสตรช์ าวรสั เซยี ทม่ี ีชอื่ เสยี ง พาฟลอฟ เป็นนกั วทิ ยาศาสตรส์ นใจศกึ ษาระบบหมนุ เวยี นโลหติ และระบบหวั ใจ และไดห้ นั ไปสนใจศกึ ษา เกี่ยวกบั ระบบย่อยอาหาร จนทาใหเ้ ขาไดร้ บั รางวลั โนเบลสาขาสรรี วทิ ยา ในปี ค.ศ. 1904 จาก การวจิ ัยเรอ่ื ง สรรี วทิ ยาของการยอ่ ยอาหาร ตอ่ มา พาฟลอฟไดห้ นั มาสนใจเก่ียวกบั ดา้ นจติ เวช และไดใ้ ชเ้ วลาในชว่ งบ้นั ปลายของชวี ติ ใน การสงั เกตความเปน็ ไปในโรงพยาบาลจิตเวช และพยายามนาการสงั เกตเขา้ มาเกยี่ วขอ้ งกบั การ ทดลองสุนขั ในหอ้ งปฏิบัตกิ าร จนไดร้ บั ชอ่ื เสียงโดง่ ดงั และไดช้ ือ่ วา่ เปน็ ผู้ต้งั ทฤษฎกี ารวางเงื่อนไข แบบคลาสสิคขน้ึ 65
การวางเงอื่ นไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning) 66 การทดลองของพาฟลอฟ พาฟลอฟทาการทดลองกบั สนุ ขั เพือ่ ให้สุนัขเรยี นรกู้ ารตอบสนองต่อเสยี งกระดงิ่ เชน่ เดยี วกบั การตอบสนองต่ออาหารคือการหลั่งนา้ ลาย กอ่ นการทดลองนาสุนัขไปผา่ ตัดขา้ งแกม้ แล้วตอ่ ทอ่ ยาง เข้ากบั ต่อมน้าลายของสนุ ขั ใหน้ ้าลายทสี่ นุ ัขหลงั่ ออกมาไหลลงสภู่ าชนะรองรบั ภายนอกเพ่ือความสะดวก ต่อการตรวจสอบ หลังจากนั้นนาสุนัขโยงเขา้ กบั อปุ กรณใ์ นหอ้ งทดลอง ซ่งึ เปน็ หอ้ งเกบ็ เสียง มี หนา้ ตา่ งบานเลก็ ๆ เพียงบานเดยี ว สาหรบั ใหผ้ ทู้ ดลองสงั เกตพฤติกรรมของสนุ ขั รอจนสนุ ัขมคี วาม เคยชินกบั สถานการณใ์ นการทดลองเสียกอ่ นแลว้ จงึ เรม่ิ ทาการทดลอง 66
การวางเงอื่ นไขแบบคลาสสคิ (Classical Conditioning) 67 พาฟลอฟ พาฟลอฟ 67
การวางเงือ่ นไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning) 68 การทดลองของพาฟลอฟ ในการทดลอง พาฟลอฟไดก้ าหนดสง่ิ กระตนุ้ และการ ตอบสนองในการทดลองไวด้ งั นี้ ➢สิ่งกระตนุ้ ทไี่ มต่ อ้ งวางเงอ่ื นไข (Unconditioned Stimulus หรือ US) เป็นสิง่ ท่ี กระตนุ้ ให้สตั วม์ กี ารตอบสนองตามธรรมชาตโิ ดยอัตโนมตั ิ ไม่ต้องมีการเรยี นรหู้ รอื มกี ารฝกึ ฝนมา กอ่ น ในการทดลองพาฟลอฟใชอ้ าหารเปน็ US ➢ สงิ่ กระตนุ้ ทว่ี างเงอื่ นไข (Conditioned Stimulus หรอื CS) หมายถงึ สงิ่ กระตนุ้ ที่ เป็นกลาง (Neutral Stimulus) ทีไ่ ม่กระตนุ้ ใหม้ กี ารตอบสนองตามธรรมชาตเิ กดิ ขนึ้ ในการ ทดลองพาฟลอฟใชเ้ สยี งกระดิง่ เปน็ CS 68
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning) 69 การทดลองของพาฟลอฟ ➢ การตอบสนองทไ่ี มต่ อ้ งวางเงอื่ นไข (Unconditioned Response หรอื UR) เป็นการตอบสนองตามธรรมชาติ โดยอตั โนมตั ิ เป็นการตอบสนองทไ่ี มไ่ ดม้ กี ารเรียนรมู้ า ก่อน เปน็ การตอบสนองต่อ US หรอื การหลง่ั นา้ ลายเมอ่ื สนุ ขั ได้กินอาหาร ➢ การตอบสนองทว่ี างเงอื่ นไข (Conditioned Responseหรอื CR) เป็นการตอบสนองที่ เกดิ จากการเรยี นรู้ทถ่ี ูกสร้างขน้ึ มาใหม่ เปน็ การตอบสนองตอ่ CS เหมือนกบั การตอบสนองตอ่ US หรอื สนุ ขั หลง่ั นา้ ลายเมอื่ ไดย้ นิ เสยี งกระดงิ่ เหมอื นกับการหลงั่ นา้ ลายเมอื่ ได้กนิ อาหาร 69
แสดงการทดลองของพาฟลอฟ 70 ระยะ 1 ก่อนการวางเง่ือนไข ผงเน้ือ (UCS) น้าลายไหล (UCR) เสียงกระดิง่ ไม่ตอบสนอง (น้าลายไมไ่ หล (None Response)) ระยะ 2 การวางเงอื่ นไข นา้ ลายไหล (UCR) + (CR) เสียงกระดงิ่ + ผงเนือ้ (CS) (UCS) ระยะ 3 เกิดการเรยี นรู้ เสียงกระดิ่ง (CS) น้าลายไหล (CR) 70
การวางเง่อื นไขแบบคลาสสคิ (Classical Conditioning) 71 การทดลองของพาฟลอฟ จากการทดลองการเรยี นรโู้ ดยการวางเงอ่ื นไขแบบคลาสสิค พาฟลอฟ สรุปวา่ เม่ือผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรแู้ ล้ว ไมว่ า่ จะเสนอสง่ิ กระตนุ้ ทไ่ี มต่ อ้ งวาง เงื่อนไข ( US ) หรอื เสนอส่ิงกระต้นุ ทว่ี างเงอ่ื นไข ( CS ) ก็ตาม ผเู้ รยี นกจ็ ะ ตอบสนองอยา่ งเดยี วกนั อกี ท้งั สามารถบอกไดช้ ดั เจนวา่ ผเู้ รยี นตอบสนองตอ่ สงิ่ กระตนุ้ ใด 71
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning) 72 กฎการเรียนรจู้ ากการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค 1. การหยดุ ยงั้ ของพฤติกรรม (Extinction) เม่ือสนุ ัขเกดิ การเรยี นรแู้ ลว้ คอื ให้แต่เสยี งกระดิ่ง (CS) อยา่ งเดียวแลว้ สุนขั นา้ ลายไหลพาฟลอฟทดลอง ต่อโดยใหแ้ ต่เสียงกระดิง่ (CS) อยา่ งเดียวไปเรอ่ื ย ๆ โดยไมใ่ ห้อาหาร(UCS) เลย ปรากฏวา่ การตอบสนอง (น้าลายไหล) ของสนุ ขั จะคอ่ ย ๆ ลดลง จนน้าลายหยดุ ไหลในท่ีสุด ปรากฏการณน์ เ้ี รยี กวา่ สุนขั เกดิ การหยดุ ยงั้ พฤติกรรม (Extinction) หรือเกดิ การหดหายของพฤตกิ รรม 72
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning) 73 กฎการเรยี นรจู้ ากการวางเงอื่ นไขแบบคลาสสคิ 2. การฟนื้ กลับมาใหมข่ องพฤติกรรม (Spontaneous Recovery) เม่ือสนุ ขั เกดิ การหยดุ ยงั้ พฤตกิ รรมแลว้ ทง้ิ ระยะไวซ้ ักพกั หนงึ่ แลว้ ทดลอง โดยใหเ้ ฉพาะเสียงกระด่ิง (CS) เพยี งอย่างเดยี วโดยไมใ่ ห้อาหาร (UCS) ปรากฎวา่ สนุ ขั กลับมกี ารตอบ สนอง โดยน้าลายกลบั มาไหลใหม่ เราเรยี กปรากฏการณน์ วี้ า่ \"การพนื้ กลับมาใหมข่ องพฤตกิ รรม\" 73
การวางเงอื่ นไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning) 74 กฎการเรยี นรจู้ ากการวางเงื่อนไขแบบคลาสสคิ 3. การแผข่ ยายส่งิ เรา้ (Generalization) เม่ือสนุ ขั เกดิ การเรยี นรแู้ ลว้ พาฟลอฟไดท้ ดลองเปลยี่ นเสยี งกระดิ่งใหม่ โดยเสียงใหมม่ ีลักษณะคลา้ ยคลงึ กับเสยี งเดมิ (อาจจะมโี ทนเสยี งสงู หรอื ตา่ กวา่ เดิม เลก็ นอ้ ย) ปรากฏวา่ สนุ ขั เกดิ การตอบสนอง คอื นา้ ลายไหล ปรากฏการณน์ ีเ้ รยี กวา่ “การแผข่ ยายสิ่งเรา้ ” 74
การวางเง่ือนไขแบบคลาสสคิ (Classical Conditioning) 75 กฎการเรียนรจู้ ากการวางเงื่อนไขแบบคลาสสคิ 4. การแยกแยะ (Discrimination) พาฟลอฟไดท้ ดลองเปลยี่ นจากเสยี งกระด่ิงเปน็ เสยี งระฆงั ปรากฏวา่ สนุ ขั ไม่ ตอบสนอง แสดงว่าสนุ ัขเกดิ การเรยี นรทู้ จ่ี ะแยกแยะความแตกตา่ ง ระหวา่ งเสยี งกระดง่ิ กับเสียงระฆงั และมีการตอบสนองตา่ งกนั กับสิง่ เรา้ ทมี่ ลี กั ษณะตา่ งไปจากเดิม 75
การวางเงือ่ นไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning) 76 การนาทฤษฎกี ารวางเงอื่ นไขแบบคลาสสิคไปใชใ้ นการเรยี นการสอน - ครูสรา้ งบรรยากาศทดี่ ีในการเรยี นการสอน อันเปน็ การวางเงอ่ื นไขทดี่ ี -ครวู างตวั ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความศรทั ธา เพอ่ื ผเู้ รยี นจะไดร้ กั วชิ าทคี่ รสู อนด้วย -ครจู ดั บทเรยี นใหน้ า่ สนใจและเกดิ ความสนกุ สนาน ได้ท้งั ความรู้ และความสนกุ สนาน 76
การวางเงือ่ นไขแบบการกระทา (Operant Conditioning) 77 สกินเนอร์ (Skinner) นักจิตวทิ ยาชาวอเมรกิ นั อธิบายวา่ การกระทาหรอื พฤตกิ รรม ทงั้ หลายของอนิ ทรยี ์ (ทัง้ มนษุ ย์และสัตว์) ลว้ นไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากผลกรรมทตี่ ามมาหลงั จาก การกระทากจิ กรรมนนั้ เสรจ็ ส้ินลง กลา่ วคอื ผลกรรมใดทอี่ ินทรยี ม์ ีความพงึ พอใจทไี่ ดร้ บั ภายหลงั การกระทาเสรจ็ ส้ินลง มีแนวโนม้ วา่ อนิ ทรยี ์จะมีการกระทากจิ กรรมนั้นเกดิ ขน้ึ ซา้ อกี และมกั จะมจี านวนครงั้ ของการกระทามากข้นึ กวา่ เดมิ สว่ นผลกรรมจากการกระทาใดทอี่ นิ ทรยี ์ ไม่ตอ้ งการหรอื ไม่มคี วามสุขเมอ่ื ไดร้ บั ผลกรรมน้ัน อินทรยี ก์ จ็ ะหลกี เลยี่ ง ลด หรือเลกิ การ กระทากจิ กรรมนนั้ เสีย 77
การวางเง่ือนไขแบบการกระทา (Operant Conditioning) 78 การทดลองของสกินเนอร์ ขนั้ ที่ 1 เตรียมการทดลอง ทาใหห้ นหู วิ มากๆ เพ่อื สรา้ งแรงขบั (Drive) ใหเ้ กดิ ขน้ึ ซง่ึ จะเปน็ แนวทางทจ่ี ะผลกั ดนั ใหแ้ สดงพฤตกิ รรมการเรยี นรไู้ ด้ เรว็ ขนึ้ ขั้นที่ 2 ขนั้ การทดลองเมอื่ หนหู วิ มากๆ สกินเนอรป์ ลอ่ ยหนเู ข้าไปในกลอ่ ง หนจู ะวงิ่ เปะปะ และแสดงอาการต่างๆ เช่น การวงิ่ ไปรอบๆ กลอ่ ง การกดั แทะสงิ่ ต่างๆ ทอี่ ย่ใู นกลอ่ งซง่ึ หนอู าจจะไป แตะลงบนคานทมี่ อี าหารซอ่ นไว้ หนูกจ็ ะไดอ้ าหารกนิ จนอมิ่ ขั้นท่ี 3 ขน้ั ทดสอบการเรยี นรสู้ กินเนอรจ์ ะจับหนเู ขา้ ไปในกลอ่ งอกี หนูจะกดคานทนั ที แสดงวา่ หนูเกดิ การเรยี นรแู้ ลว้ วา่ การกดคานจะทาใหไ้ ดก้ นิ อาหาร 78
การวางเง่ือนไขแบบการกระทา (Operant Conditioning) 79 การทดลองของสกินเนอร์ 79
การวางเง่ือนไขแบบการกระทา (Operant Conditioning) 80 สิ่งของหรอื กิจกรรมใดกต็ ามทนี่ ามาให้เปน็ ผลตอบแทนจากการกระทา และมี ผลทาให้มกี ารกระทานัน้ เกดิ ขน้ึ ซา้ อกี เรยี กส่งิ ของหรอื กิจกรรมน้ันวา่ “ตวั เสรมิ แรง ” (Rein forcer) การเสรมิ แรง หมายถงึ การทาให้ผทู้ าพฤตกิ รรมเกดิ ความพงึ พอใจเมอื่ ทา พฤตกิ รรมใดพฤติกรรมหนึง่ แลว้ เพอ่ื ใหท้ าพฤตกิ รรมนัน้ ซา้ ๆ อีก เช่น เมอ่ื นกั เรยี น ตอบคาถามถกู ตอ้ ง ครใู หร้ างวัล (นักเรยี นพอใจ) นกั เรยี นจะตอบคาถามอีกหากครู ถามคาถามครงั้ ต่อๆ ไป 80
การวางเงอื่ นไขแบบการกระทา (Operant Conditioning) 81 การใหก้ ารเสรมิ แรงมอี ยู่ 2 อยา่ งคือ 1. การใหก้ ารเสรมิ แรงทางบวก (Positive Reinforcement)คอื การให้ตัว เสริมแรงบวก เมอ่ื ทาพฤตกิ รรมท่กี าหนด (ตอ้ งการ) แลว้ เช่น ทางานเสรจ็ แลว้ ได้รับคา่ จา้ ง ทางานเปน็ พฤตกิ รรมท่กี าหนดเงินคา่ จา้ งเปน็ ตัวเสรมิ แรงบวก 2. การใหก้ ารเสรมิ แรงทางลบ (Negative Reinforcement) คอื การให้ตวั เสริมแรงลบ เมอ่ื ทาพฤตกิ รรมทก่ี าหนด (ตอ้ งการ) แล้ว เช่น นักเรยี นทตี่ อบคาถาม ครูถูกจะไดร้ บั การยกเวน้ ไม่ต้องทารายงานมาสง่ เปน็ ต้น 81
การเสริมแรงในรูปแบบตา่ งๆ 82 82
การเสรมิ แรงทางบวก การเสรมิ แรงทางลบ และการลงโทษ 83 83
การวางเงอื่ นไขแบบการกระทา (Operant Conditioning) 84 ประเภทของตัวเสรมิ แรง 1) ตวั เสรมิ แรงทเ่ี ปน็ สิง่ ของ (Material Reinforcer) เป็นตัวเสรมิ แรงทป่ี ระกอบไปดว้ ยอาหาร ของทเ่ี ลน่ ได้ และสง่ิ ของตา่ งๆ เช่น ขนม ของเล่น เสอื้ ผา้ น้าหอม รถยนต์ 2) ตัวเสรมิ แรงทางสังคม (Social Reinforcer) 2.1 คาพดู ได้แก่ คาชมเชย เชน่ ดีมาก น่าสนใจมาก ผมชอบมาก เลย ใชเ่ ลย ฉลาดจรงิ ๆ เป็นความคิดทด่ี ฯี ลฯ 2.2 การแสดงออกทางทา่ ทาง เชน่ ยิม้ มองอยา่ งสนใจ การแตะตวั จับมือ ฯลฯ 84
การวางเง่ือนไขแบบการกระทา (Operant Conditioning) 85 ประเภทของตัวเสรมิ แรง 3) ตวั เสรมิ แรงทเ่ี ปน็ กิจกรรม (Activity Reinforcer) ตัวเสรมิ แรงลกั ษณะนีก้ ค็ ือ การใชก้ จิ กรรม หรอื พฤตกิ รรมทชี่ อบ ไปเสรมิ แรงกจิ กรรม หรือพฤตกิ รรมทไี่ มช่ อบ 4) ตวั เสรมิ แรงทเี่ ปน็ เบี้ยอรรถกร (Token Reinforcer) เบ้ยี อรรถกรจะมคี ณุ ค่า เป็นตัวเสรมิ แรงไดก้ ต็ อ่ เมอ่ื สามารถนาไปแลกเปน็ ตวั เสรมิ แรงอืน่ ๆ ได้ เช่น ดาว คปู อง โบนสั เงิน คะแนน เป็นตน้ 85
การวางเงอ่ื นไขแบบการกระทา (Operant Conditioning) 86 หลกั การใช้การเสรมิ แรงทางบวก 1. ต้องใหห้ ลงั จากเกดิ พฤติกรรมเปา้ หมายแลว้ เทา่ นน้ั 2. ตอ้ งทาทนั ทที พ่ี ฤติกรรมเปา้ หมายเกดิ ขนึ้ 3. ควรจะใหอ้ ยา่ งสมา่ เสมอ น่ันคอื ควรใหก้ ารเสรมิ แรงทกุ ครง้ั หรอื แทบทกุ ครง้ั ทพ่ี ฤตกิ รรม เป้าหมายเกดิ ขนึ้ ไม่ควรขน้ึ อยกู่ บั อารมณข์ องผดู้ าเนนิ การปรบั พฤติกรรม 4. ตัวเสรมิ แรงนนั้ จะตอ้ งเลอื กใหเ้ หมาะกบั แตล่ ะบุคคล เนอื่ งจากคนเรามีความแตกตา่ งกนั ดังนัน้ ตวั เสรมิ แรงของแต่ละคนจงึ อาจไมเ่ หมอื นกนั 86
การวางเง่ือนไขแบบการกระทา (Operant Conditioning) 87 หลักการใชก้ ารเสรมิ แรงทางบวก 5. ถา้ เปน็ ไปไดค้ วรใชต้ วั เสรมิ แรงทม่ี ีอยใู่ นสภาพแวดล้อมนนั้ เชน่ การใชก้ จิ กรรม ท่ีชอบทามากท่สี ุดหรอื ใชก้ ารเสรมิ แรงทางสงั คม เป็นต้น 6. ควรมกี ารวางแผนการใชต้ ารางการเสรมิ แรง โดยตารางเสรมิ แรง แบง่ เปน็ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1) การเสรมิ แรงตอ่ เนอ่ื ง (Continuous Reinforcement) C.R. 2) การเสรมิ แรงบางส่วน (Partial Reinforcement) P.R. 87
การวางเง่อื นไขแบบการกระทา (Operant Conditioning) 88 หลกั การใชก้ ารเสรมิ แรงทางบวก 1) การเสรมิ แรงตอ่ เนอื่ ง – เปน็ การใหต้ วั เสรมิ แรงทกุ ครงั้ ทมี่ กี ารตอบสนอง – เหมาะทจ่ี ะใชใ้ นการสรา้ งพฤตกิ รรมใหมๆ่ ในช่วงแรก 2) การเสรมิ แรงบางสว่ น – เป็นการให้ตวั เสรมิ แรงเพยี งบางครงั้ หรือบางเวลาในการตอบสนอง แบ่งเปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ ก. การเสรมิ แรงตามจานวนครงั้ ข. การเสรมิ แรงตามจานวนเวลา 88
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271