Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษามัธยมศึกษา 1-3 2565

หลักสูตรสถานศึกษามัธยมศึกษา 1-3 2565

Published by netnapit89, 2022-07-21 01:19:29

Description: หลักสูตรสถานศึกษามัธยมศึกษา 1-3 2565

Search

Read the Text Version



๒ หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นวดั บ้านโป่ง “สามคั คคี ุณปู ถัมภ”์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ระดบั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ – ๓ สำนกั งานศึกษาธิการจังหวดั ราชบรุ ี สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ



๔ คำนำ หลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” เป็นหลักสูตรระดับสถานศึกษาท่ีพัฒนาจาก หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ในกลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมในสาระภูมิศาสตร์ โดยมี สาระและมาตรฐานเป็นกรอบ และทิศทางในการพัฒนาเป็นหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พนั ธกิจ เป้าหมาย นโยบายและจุดเน้นของสถานศึกษา ตอบสนองความต้องการของชมุ ชนและท้องถิ่น เพื่อใช้ ในการจัดการศึกษามุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความประพฤติดี ความรู้ดี ความสามารถดี สามารถดำรงชีวิต ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุขบนพ้ืนฐานคุณธรรมและความเป็นไทย นอกจากน้ีโรงเรียนได้กำหนดจุดเน้นใน การพัฒนาตามแนวโรงเรียนวิถีพุทธและโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา โดยจัดรายวิชาเพ่ิมเติม ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียน และการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ท่ีสำคัญของผู้เรียน ด้านคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และคอมพวิ เตอร์ มีการบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การจัดทำหลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” ฉบับนี้ ได้รับความร่วมมืออย่างดีย่ิงจาก คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ผทู้ รงคุณวุฒิจากมหาวิทยาลัย ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้บริหาร และคณะครูโรงเรียน วัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ และประสบการณ์ในการดำเนินการจัดทำและพิจารณา หลักสูตรให้เกิดความถูกต้อง สมบูรณ์สามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และสอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) นำไปจัดการเรียนรู้ให้กับ ผเู้ รียนไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” หวังเป็นอย่างย่ิงว่าหลักสูตรโรงเรียนฉบับนี้ จะส่งผลต่อ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะชีวิต และสามารถ ดำรงชวี ิตในสังคมได้อย่างมีความสุข โรงเรยี นวดั บ้านโปง่ “สามคั คคี ุณปู ถมั ภ์” ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕

สารบัญ ๕ คำนำ หนา้ บทนำ วิสัยทัศน์ ๑ หลักการ ๒ จุดหมาย ๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ๒ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๓ มาตรฐานการเรียนรู้ ๓ ตัวชีว้ ัด ๔ สาระการเรยี นรู้ ๔ ความสมั พันธข์ องการพฒั นาผู้เรยี น ๖ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๗ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๘ โครงสร้างเวลาเรียน ๑๓ โครงสรา้ งหลกั สตู ร ๑๗ การวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้ ๑๘ คำอธิบายรายวิชา ๓๓ - ภาษาไทย ๕๘ - คณิตศาสตร์ ๖๔ - วิทยาศาสตร์ ๗๖ - สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๔ - สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑๐๘ - ศลิ ปะ ๑๒๑ - การงานอาชพี ๑๓๕ - ภาษาตา่ งประเทศ ๑๔๘ ภาคผนวก คำส่ังกระทรวงศึกษาธกิ ารท่ี ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ๑๗๑ คำสัง่ กระทรวงศึกษาธิการที่ ๓๐/๒๕๖๑ ๑๗๒ คำส่งั กระทรวงศึกษาธิการท่ี ๙๒๑/๒๕๖๑ ๑๗๓ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ๑๗๕ ประกาศคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ๑๗๙

๑ บทนำ ความหมาย การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจะต้องสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เพ่ือพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพคนของชาติให้สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยการยกระดับ คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากลสอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐ และ โลกในศตวรรษท่ี ๒๑ กระทรวงศึกษาธิการโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจึงได้ดำเนินการทบทวน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยนำข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ มาใช้เป็น กรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรให้มีความเหมาะสมชัดเจนย่งิ ขึน้ ในระยะส้ันเห็นควรปรับปรุงหลักสูตร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซ่ึงมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ และเป็นรากฐานสำคัญที่จะช่วยให้มนุษย์มี ความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่าง รอบคอบและถ่ีถ้วน สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการบูรณาการ กับความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานด้วยกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรมท่ีนำไปสู่การคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ หรือสร้างนวัตกรรมต่าง ๆ ที่เอ้ือประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต การใช้ ทักษะการคิดเชิงคำนวณ ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี และการสื่อสารในการแก้ปัญหาท่ี พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังใช้ความรู้ ความสามารถ ทักษะ กระบวนการ และเครื่องมือทาง ภูมิศาสตร์ เรียนร้สู ิ่งตา่ ง ๆ ที่อยู่รอบตวั อย่างเข้าใจสภาพที่เป็นอยู่และการเปล่ยี นแปลง เพอ่ื นำไปสู่การจดั การ และปรับใช้ในการดำรงชีวติ และการประกอบอาชีพอยา่ งสรา้ งสรรค์ ท้ังนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายให้สถานบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) รับผิดชอบในการปรับปรุงหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และสาระ เทคโนโลยีในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ซ่งึ ต่อมาได้ผนวกรวมอยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐานรบั ผดิ ชอบปรบั ปรงุ สาระภูมิศาสตรใ์ นกลมุ่ สาระ การเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดการเรียนรู้ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับน้ี จัดทำข้ึนเพื่อให้สถานศึกษาทุกสังกัดท่ีจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ใช้เป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเป็นแนวทางให้ ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน และมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตาม เป้าหมายท่กี ำหนดไว้ จากความสำคัญดังกล่าว โรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” จึงได้จัดทำเอกสารหลักสูตร โรงเรียนวัดบา้ นโปง่ “สามัคคคี ณุ ูปถมั ภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยกำหนดกรอบทิศทางในการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาควบคู่การพัฒนาการเรียนรู้ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ สังคม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มี คุณภาพ และมาตรฐานระดับสากลสอดคลอ้ งกบั ประเทศไทย ๔.๐ และโลกในศตวรรษที่ ๒๑

๒ วสิ ัยทัศนข์ องหลักสูตร หลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมืองที่มี คณุ ภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษาควบคู่การพัฒนาการเรียนรู้ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ สังคม และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ยกระดับคุณภาพการศึกษาของผู้เรียนให้มีคุณภาพ สอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐ และโลกในศตวรรษท่ี ๒๑ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมไทย และอาเซียนได้อย่างมีความสุข และย่ังยืน บนพนื้ ฐานของหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนววถิ ีพทุ ธ หลกั การ หลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มหี ลกั การสำคัญ ดงั นี้ ๑. เป็นหลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา ควบคู่การพัฒนาการเรยี นรดู้ า้ นรา่ งกาย สติปญั ญา อารมณ์ จิตใจ สังคม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๒. เป็นหลักสตู รสถานศึกษาทใ่ี หโ้ อกาสเยาวชนทุกคนไดร้ ับการศกึ ษาอย่างเสมอภาค และมีคณุ ภาพ ๓. เป็นหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๔. เปน็ หลกั สูตรสถานศกึ ษาที่มโี ครงสรา้ งยดื ยุ่นดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาเรียนตามบรบิ ทของโรงเรียน และท้องถิ่น ๕. เปน็ หลักสตู รสถานศึกษาเพอ่ื การดำเนินชวี ิตตามวิถีพุทธ และหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จุดหมาย หลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นคนดี มีคุณภาพ สำรวจความถนัด และความสนใจของตนเอง พัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยี เพื่อเป็นเคร่ืองมือใน การเรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุลท้ังด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจใน ความเป็นไทย ตลอดจนใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ หรือการศึกษาต่อตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และแนววถิ ีพุทธ ดังน้ี ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนววถิ พี ทุ ธ ๒. มีความรู้ ความสามารถ และทักษะชีวติ เพอ่ื ใชใ้ นการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ ๓. มีสขุ ภาพกาย สุขภาพจิตทีด่ ี มนี ิสัยรักการออกกำลงั กาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิต และการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข ๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มจี ิตสาธารณะทมี่ งุ่ ทำประโยชน์ สร้างสงิ่ ทีด่ ีงามในสังคม และอยู่ร่วมกนั ในสงั คมอย่างมีความสุข

๓ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น หลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดงั น้ี ๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและ ลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน การเลอื กใช้วธิ ีการส่อื สาร ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่มี ีตอ่ ตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนำไปส่กู ารสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพือ่ การตัดสนิ ใจเก่ียวกับตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหา และมกี ารตัดสนิ ใจทม่ี ปี ระสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขนึ้ ต่อตนเอง สังคมและสิง่ แวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคม และสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียง พฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงคท์ ่ีส่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และ มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรคถ์ กู ต้องเหมาะสม และมคี ุณธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ หลักสูตรโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและ พลโลก ดังน้ี ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซ่อื สตั ย์สุจริต ๓. มวี นิ ัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อย่อู ยา่ งพอเพียง ๖. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน ๗. รักความเปน็ ไทย ๘. มีจติ สาธารณะ

๔ มาตรฐานการเรยี นรู้ การพัฒนาผเู้ รียนให้เกิดความสมดลุ ต้องคำนึงถงึ หลักพัฒนาการทางสมอง และพหุปัญญา หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จงึ กำหนดใหผ้ ูเ้ รียนเรยี นรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ ๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์ ๓. วทิ ยาศาสตร์ ๔. สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕. สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๖. ศิลปะ ๗. การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๘. ภาษาต่างประเทศ กลมุ่ สาระการเรียนรไู้ ดก้ ำหนดมาตรฐานการเรยี นรู้เปน็ เป้าหมายสำคญั ของการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น มาตรฐานการเรียนรู้ ระบุส่ิงที่ผู้เรียนพึงรู้ และปฏิบัติได้ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นอกจากน้ัน มาตรฐานการเรียนรู้ ยังเป็นกลไกสำคัญ ในการขับเคล่ือนพัฒนาการศึกษาท้ังระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร ต้องสอนอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเคร่ืองมือในการตรวจสอบเพื่อการประกัน คุณภาพการศึกษา โดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายใน และการประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงรวมถึง การทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพ่ือประกันคุณภาพดังกลา่ วเป็นส่ิงสำคัญท่ีชว่ ยสะท้อนภาพการจัด การศกึ ษาว่าสามารถพฒั นาผเู้ รยี นให้มีคณุ ภาพตามที่มาตรฐานการเรียนรู้กำหนดเพยี งใด ตวั ชี้วัด ตัวช้ีวัดระบุส่ิงท่ีผู้เรียนพึงรู้ และปฏิบัติได้ รวมท้ังคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน ซ่ึงสะท้อน ถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมีความเป็นรูปธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำ หน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเกณฑ์สำคญั สำหรับการวดั ประเมินผลเพ่อื ตรวจสอบคุณภาพผูเ้ รยี น ๑. ตวั ช้วี ัดชั้นปี เป็นเปา้ หมายในการพัฒนาผูเ้ รียนแต่ละปีในระดับการศกึ ษาภาคบงั คับ (ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ – มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓) ๒. ตัวช้วี ดั ชว่ งช้นั เป็นเปา้ หมายในการพฒั นาผู้เรยี นในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (มธั ยมศกึ ษา ปีที่ ๔ – ๖)

๕ หลักสูตรได้มีการกำหนดรหัสกำกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อความเข้าใจ และใช้ส่ือสาร ตรงกัน ดังนี้

๖ สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ซ่ึงกำหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับข้ันพื้นฐานจำเป็นต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น ๘ กลุ่มสาระ การเรยี นรู้ ดงั น้ี

๗ ความสัมพันธ์ของการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

๘ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐานกำหนดมาตรฐานการเรียนรูใ้ น ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จำนวน ๓๒ สาระ ๕๗ มาตรฐาน ดงั น้ี กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย (๕ สาระ ๕ มาตรฐาน) สาระท่ี ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพือ่ นาไปใช้ แกป้ ัญหาใน การดำเนนิ ชีวิตและมนี สิ ยั รักการอ่าน สาระที่ ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเรื่องราวใน รปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี ประสทิ ธิภาพ สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดูอย่างมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรสู้ ึก ในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และสร้างสรรค์ สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็นสมบัติ ของชาติ สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคณุ คา่ และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ (๓ สาระการเรียนรู้ ๗ มาตรฐานการเรียนร้)ู สาระที่ ๑ จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลที่เกิดขึน้ จากการดำเนนิ การ สมบตั ขิ องการดำเนินการ และนำไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวิเคราะหแ์ บบรปู ความสัมพันธ์ ฟังก์ชนั ลำดบั และอนุกรม และนำไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชน้ พิ จน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธบิ ายความสัมพนั ธ์หรือชว่ ยแกป้ ญั หาที่ กำหนดให้ สาระท่ี ๒ การวดั และเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพ้นื ฐานเกี่ยวกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ที่ต้องการวดั และนำไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบตั ิของรปู เรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหวา่ งรูป เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้ สาระที่ ๓ สถติ แิ ละความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรูท้ างสถติ ใิ นการแก้ปญั หา มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ ใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำไปใช้

๙ กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ (๓ สาระ ๑๐ มาตรฐาน) สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างส่ิงไม่มีชวี ติ กบั สิง่ มชี ีวติ และความสัมพันธร์ ะหว่างส่ิงมีชีวติ กบั สง่ิ มีชวี ิตตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอด พลังงาน การเปลย่ี นแปลงแทนท่ีในระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปัญหา และผลกระทบทีม่ ีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดลอ้ ม รวมท้ังนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบัติของส่ิงมีชวี ติ หนว่ ยพ้ืนฐานของสิง่ มีชีวิต การลำเลยี งสารเขา้ และออก จากเซลล์ ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ท่ขี องระบบต่าง ๆ ของสตั วแ์ ละ มนุษย์ทที่ ำงานสมั พันธก์ นั ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ทข่ี องอวัยวะตา่ ง ๆ ของพชื ทท่ี ำงานสัมพันธ์กัน รวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม สารพนั ธกุ รรม การเปลย่ี นแปลงทางพันธุกรรมทมี่ ีผลตอ่ สงิ่ มชี วี ิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิวฒั นาการของสิ่งมชี ีวิต รวมทั้งนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมบตั ิของสสาร กบั โครงสรา้ ง และแรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนภุ าค หลกั และธรรมชาติของ การเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจำวนั ผลของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุ ลักษณะ การเคลอ่ื นทแี่ บบต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมทัง้ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลย่ี นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงานในชีวติ ประจำวัน ธรรมชาติของคล่นื ปรากฏการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับเสยี ง แสง และคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนำความรูไ้ ปใช้ ประโยชน์ สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของ เอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสรุ ิยะ รวมทง้ั ปฏิสมั พันธภ์ ายในระบบสรุ ยิ ะทีส่ ่งผลต่อสง่ิ มชี วี ิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองคป์ ระกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลง ภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณีพิบัติภยั กระบวนการเปล่ียนแปลงลม ฟ้า อากาศ และภูมิอากาศโลก รวมท้ังผลต่อสง่ิ มชี ีวติ และส่ิงแวดล้อม สาระที่ ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เขา้ ใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชวี ิตในสงั คมท่ีมี การเปลี่ยนแปลง อยา่ งรวดเรว็ ใชค้ วามร้แู ละทกั ษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์ อ่ืน ๆ เพื่อแกป้ ญั หาหรือพฒั นางานอย่างมคี วามคิดสร้างสรรค์ดว้ ยกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อ ชีวิต สงั คม และส่ิงแวดลอ้ ม

๑๐ มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชวี ิตจรงิ อยา่ งเปน็ ขัน้ ตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธภิ าพ รู้เท่าทนั และมจี รยิ ธรรม กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (๕ สาระ ๑๑ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจประวัติ ความสำคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ท่ตี นนบั ถอื และศาสนาอ่นื มศี รทั ธาทถ่ี กู ต้อง ยึดมน่ั และปฏบิ ตั ิตามหลักธรรมเพ่ือ อยรู่ ่วมกนั อย่างสนั ตสิ ุข มาตรฐาน ส๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏบิ ตั ิตนเปน็ ศาสนิกชนท่ีดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาท่ตี นนบั ถอื สาระที่ ๒ หนา้ ทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสงั คม มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา้ ใจและปฏบิ ัติตนตามหน้าท่ีของการเป็นพลเมืองดี มคี ่านยิ มท่ดี ีงามและธำรง รกั ษาประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดำรงชวี ิตอยูร่ ่วมกันในสงั คมไทย และ สงั คมโลก อยา่ งสันติสขุ มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปจั จบุ ัน ยดึ มั่น ศรทั ธา และธำรงรักษาไว้ ซึ่งการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เขา้ ใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลติ และการบริโภค การใช้ ทรพั ยากรที่มอี ยู่จำกัดได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือการดำรงชวี ติ อยา่ งมดี ลุ ยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เขา้ ใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธท์ างเศรษฐกจิ และ ความจำเป็นของการรว่ มมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระท่ี ๔ ประวัตศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา้ ใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธกี ารทางประวัติศาสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตุการณต์ า่ ง ๆ อย่างเปน็ ระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดีตจนถึงปจั จุบนั ในด้านความสัมพนั ธ์และ การเปล่ยี นแปลงของเหตกุ ารณ์อยา่ งต่อเนอื่ ง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึน มาตรฐาน ส ๔.๓ เขา้ ใจความเปน็ มาของชาตไิ ทย วัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาไทย มีความรัก ความภูมใิ จ และธำรงความเป็นไทย สาระท่ี ๕ ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธข์ องสรรพสิ่งซ่ึงมี ผลต่อกันใช้ แผนท่ีและเครือ่ งมือทางภมู ศิ าสตรใ์ นการคน้ หา วิเคราะห์ และสรปุ ข้อมลู ตาม กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภมู ิสารสนเทศอย่างมีประสทิ ธิภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา้ ใจปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างมนุษย์กบั ส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพท่ีก่อใหเ้ กิดการสร้าง สรรค์วถิ ีการดำเนินชีวิต มีจติ สำนกึ และมีสว่ นรว่ มในการจัดการทรัพยากร และ ส่งิ แวดลอ้ มเพ่ือการพัฒนาทย่ี ่ังยนื

๑๑ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา (๕ สาระ ๖ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์ สาระท่ี ๒ ชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคณุ ค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดำเนนิ ชีวติ สาระท่ี ๓ การเคล่อื นไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกฬี า ปฏบิ ัตเิ ปน็ ประจำอย่าง สม่ำเสมอ มวี ินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ำใจนักกฬี า มีจิตวิญญาณในการแข่งขนั และชน่ื ชมในสุนทรยี ภาพของการกีฬา สาระท่ี ๔ การสรา้ งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกนั โรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคณุ คา่ และมีทักษะในการสรา้ งเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ สาระท่ี ๕ ความปลอดภัยในชวี ติ มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลกี เลยี่ งปจั จัยเสย่ี ง พฤตกิ รรมเสยี่ งตอ่ สุขภาพ อบุ ตั ิเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรนุ แรง สาระการเรยี นรู้ศิลปะ (๓ สาระ ๖ มาตรฐาน) สาระท่ี ๑ ทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรคง์ านทศั นศลิ ป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณค์ ณุ คา่ งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความร้สู ึก ความคิดต่องานศิลปะอยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งทัศนศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ งาน ทัศนศลิ ป์ทีเ่ ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ภมู ิปญั ญาไทยและสากล สาระท่ี ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วจิ ารณค์ ณุ คา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรสู้ ึก ความคิดต่อดนตรอี ย่างอิสระ ชืน่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชวี ติ ประจำวนั มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างดนตรี ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่ ของ ดนตรีท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ภูมปิ ญั ญาไทย และสากล สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณค์ ณุ คา่ นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคดิ อย่างอสิ ระ ชื่นชม และ ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหว่างนาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตรแ์ ละวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศิลปท์ ีเ่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล

๑๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (๔ สาระ ๔ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ การดำรงชวี ิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทำงาน มคี วามคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะ การจดั การ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทักษะการทางานรว่ มกัน และทกั ษะ การแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสยั ในการทำงาน มจี ิตสำนกึ ในการใช้ พลงั งาน ทรัพยากร และส่งิ แวดล้อม เพ่ือการดำรงชีวติ และครอบครัว สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง ๒.๑ เขา้ ใจเทคโนโลยแี ละกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่งของเครือ่ งใช้ หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอยา่ งมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ เลือกใช้ เทคโนโลยีในทางสรา้ งสรรค์ต่อชีวิต สงั คม สง่ิ แวดล้อม และมสี ว่ นรว่ มในการจัดการ เทคโนโลยีทยี่ ัง่ ยนื สาระที่ ๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง ๓.๑ เขา้ ใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื ค้น ขอ้ มูลการเรยี นรู้ การส่ือสาร การแก้ปญั หา การทางาน และอาชพี อย่างมี ประสิทธิภาพ ประสทิ ธิผล และมีคณุ ธรรม สาระที่ ๔ การอาชพี มาตรฐาน ง ๔.๑ เขา้ ใจ มที กั ษะที่จำเป็น มีประสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยี เพ่ือพัฒนาอาชพี มีคุณธรรม และมเี จตคติทดี่ ีต่ออาชพี สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ (๔ สาระ ๘ มาตรฐาน) สาระท่ี ๑ ภาษาเพ่อื การสื่อสาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรื่องทฟี่ งั และอา่ นจากส่ือประเภทต่าง ๆ และแสดงความคดิ เหน็ อย่างมเี หตผุ ล มาตรฐาน ต ๑.๒ มที ักษะการสอื่ สารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมลู ข่าวสาร แสดงความรู้สกึ และ ความคิดเห็นอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอข้อมลู ขา่ วสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรอื่ งตา่ ง ๆ โดยการพูดและการเขียน สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา และนำไปใชไ้ ด้ อยา่ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ เขา้ ใจความเหมือนและความแตกตา่ งระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา กบั ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม สาระท่ี ๓ ภาษากบั ความสัมพันธก์ ับกล่มุ สาระการเรียนรู้อ่ืน มาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภ้ าษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรกู้ ับกล่มุ สาระการเรยี นรู้อืน่ และเปน็ พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปดิ โลกทัศน์ของตน สาระท่ี ๔ ภาษากับความสมั พันธก์ ับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และสงั คม มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเปน็ เคร่ืองมือพ้ืนฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และ การแลกเปลย่ี นเรยี นร้กู บั สังคมโลก

๑๓ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผูเ้ รียนได้ พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพ่ือความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัยปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำ ประโยชน์เพ่ือสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ใช้องค์ความรู้ ทักษะและเจตคติจากการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และประสบการณ์ ของผู้เรียนมาปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิดความสามารถในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี ซ่ึงจะส่งผลในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ เกดิ ทักษะการทำงาน และอยูร่ ่วมกับผู้อน่ื ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณูปถัมภ์” พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) เน้นให้มีความสมดุลในการจัดกิจกรรมรายบุคคลและกิจกรรมกลุ่ม รวมท้ังมีการจัดกิจกรรมทั้งใน และนอก สถานศึกษา ไดแ้ ก่ ๑. กจิ กรรมแนะแนว ๒. กิจกรรมนกั เรยี น ประกอบด้วย ๒.๑ ลูกเสอื - เนตรนารี ๒.๒ ชุมนมุ ชมรม ๓. กิจกรรมเพ่ือสงั คม และสาธารณประโยชน์ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน โดยแบ่งออกเปน็ ๓ ลักษณะ ดงั น้ี ๑. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ รู้จัก เข้าใจ รักและเห็นคุณค่าใน ตนเองและผู้อ่ืน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สามารถวางแผนการเรียน อาชีพ รวมทั้งการดำรงชีวิตและสังคม เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขท้ังน้ีนักเรียน ทุกคนต้อง เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนว ๔๐ ชวั่ โมงต่อปีการศึกษา แนวการจัดกิจกรรมแนะแนว ๑) สำรวจสภาพปญั หา ความต้องการ ความสนใจและธรรมชาติของผเู้ รียนเพื่อเปน็ ข้อมลู ใน การกำหนดแนวทาง และแผนการปฏบิ ตั ิกิจกรรมแนะแนว ๒) ศกึ ษาวสิ ัยทศั น์ของสถานศึกษา และวิเคราะห์ข้อมลู ของผู้เรยี นท่ีได้จากการสำรวจ ๓) กำหนดสดั ส่วนสาระของกจิ กรรมในแต่ละดา้ น ๔) กำหนดสัดสว่ นสารของกิจกรรมในแต่ละด้าน ๕) จดั ทำรายละเอยี ดของแต่ละกิจกรรม ขอบข่ายการจดั กิจกรรมแนะแนว ๑) ดา้ นการศึกษา ให้ผ้เู รียนได้พฒั นาตนเองในดา้ นการเรียนอย่างเต็มศกั ยภาพ รู้จักแสวงหาและ ใช้ขอ้ มลู ประกอบการวางแผนการเรียนหรอื การศกึ ษาต่อได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ มีนสิ ยั ใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น มีวธิ ีการเรียนรแู้ ละสามารถวางแผนการเรียนหรอื การศึกษาตอ่ ได้อย่างเหมาะสม

๑๔ ๒) ดา้ นการงานและอาชพี ให้ผเู้ รียนได้รูจ้ กั ตนเองในทกุ ดา้ น รู้และเขา้ ใจโลกของงานอาชพี อยา่ ง หลากหลาย มีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพสุจริต มีการเตรียมตัวสู่อาชีพ สามารถวางแผนเพื่อประกอบ อาชีพตามทต่ี นเองมคี วามถนัด และสนใจ ๓) ด้านชวี ิตและสังคม ให้ผู้เรียนรู้จกั และเขา้ ใจตนเอง รักและเห็นคณุ ค่าในตนเองและผ้อู ่นื รักษ์ส่ิงแวดล้อม มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ มีเจตคติท่ีดีต่อการมีชีวิตที่ดีมีคุณภาพ มีทักษะและ สามารถปรับตวั ให้ดารงชีวติ อยูใ่ นสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ๒. กจิ กรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมตามความถนัด และความสนใจ โดยเน้นเรือ่ งคณุ ธรรม จริยธรรม ความมรี ะเบยี บวินัยไม่เหน็ แก่ตัว มคี วามเป็นผู้นำ ผู้ตามท่ีดี มีความรับผิดชอบ การทำงานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจ ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอ้ืออาทรและ สมานฉันท์ การจัดกจิ กรรม ดำเนนิ การดงั นี้ ๑) จัดใหส้ อดคล้องกบั ความสามารถ และความสนใจของผูเ้ รียน ๒) เน้นให้ผ้เู รียนได้ปฏิบัติดว้ ยตนเองในทุกข้นั ตอน ๓) เนน้ การทำงานรว่ มกันเป็นกล่มุ ตามความเหมาะสม และสอดคล้องกับวฒุ ภิ าวะของผู้เรียน ตลอดจนบริบทของสถานศกึ ษาและท้องถนิ่ กจิ กรรมนกั เรยี นประกอบดว้ ย ๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ ยวุ กาชาด ๔๐ ชั่วโมงตอ่ ปีการศกึ ษา แนวการจัดกิจกรรมลกู เสือ/เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี เป็นกิจกรรท่ีมุ่งปลูกฝังระเบียบ วินัย และกฎเกณฑ์เพื่อการอยู่ร่วมกันให้ ร้จู ักการเสียสละ และบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคมและวิถีชีวิตในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งการจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ให้เป็นไปตามข้อบังคับของสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ รวมทั้งให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยกำหนดหลกั สูตรเปน็ ๓ ประเภท ดงั นี้ ๑) ลกู เสือสำรอง ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑-๓ ๒) ลกู เสอื สามญั ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔-๖ ๓) ลกู เสอื สามัญรุน่ ใหญ่ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๓ ๒.๒ กิจกรรมชุมนมุ ชมรม เป็นกจิ กรรมที่ผู้เรยี นรวมกลุ่มกันจัดขึ้นตามความสามารถ ความถนัด และ ความสนใจของผู้เรียน เพื่อเติมเต็มความรู้ ความชานาญ ประสบการณ์ ทักษะ เจตคติเพ่ือพัฒนาตนเองตาม ศักยภาพ ทง้ั น้ีนกั เรียนทกุ คนตอ้ งเข้ารว่ มกจิ กรรมชุมนมุ ๒๐ ชว่ั โมงต่อปีการศกึ ษา แนวการจดั กจิ กรรมชมุ นมุ กิจกรรมชุมนุม ชมรม เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนรวมกลุ่มกันจัดขึ้นตามความสามารถ ความถนัด และ ความสนใจของผู้เรียน เพื่อเติมความรู้ ความชำนาญ ประสบการณ์ ทักษะเจตคติเพื่อพัฒนาตนเองตาม ศักยภาพ ซึ่งนกั เรยี นสามารถเลือกเข้าชมรม ชุมนุม ไดด้ ังน้ี ๑. ชุมนมุ ดนตรี นาฏศิลป์ ๒. ชุมนุมกีฬาและนนั ทนาการ ๓. ชมุ นมุ ธนาคารขยะ ๔. ชมุ นมุ ส่งเสริมสขุ ภาพ ๕. ชมุ นุมคอมพิวเตอร์ ๖. ชมุ นุมศลิ ปะ ๗. ชุมนุมเกษตรตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

๑๕ ๘. ชมุ นมุ ออมทรัพย์ ๙. ชุมนมุ ความเปน็ เลิศทางวชิ าการ ๑๐. อนื่ ๆ ตามที่คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและงานวชิ าการเหน็ ว่าเหมาะสม ๓. กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้นักเรียนทำ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นความมุ่งหวังที่จะสร้าง “จิตสาธารณะ” หรือ “ความรับผิดชอบ ตอ่ สงั คม” และคณุ ลกั ษณะแฝงอนื่ ๆ อีกมากมาย ทั้งน้ีนักเรียนทุกคนตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๒๐ ชั่วโมงตอ่ ปีการศกึ ษา แนวการจัดกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ มีแนวทางดังนี้ ๑) ส่งเสริมให้เดก็ มคี วามสามารถในการดแู ลรกั ษาบ้าน และรับผิดชอบงานบ้าน ถือเป็นงาน สาธารณะท่ีใกล้ตัวที่สุด โดยมีพฤติกรรมท่ีเป็นรูปธรรม เช่น ต่ืนนอนแต่เช้า กวาดบ้าน - ถูบ้าน จดั ระเบยี บ กวาดบริเวณบา้ น ๒) ส่งเสริมใหเ้ ดก็ รว่ มรบั ผิดชอบในการดแู ลรกั ษา ซอย หมูบ่ ้านท่อี ยอู่ าศยั โรงเรียน วัด ทสี่ าธารณประโยชน์ โดยมีพฤติกรรมที่เปน็ รปู ธรรม เช่น ปลูกต้นไม้ (ไม้ดอก ไม้ประดบั ) หน้าบ้าน บริเวณโรงเรียน วัด พรอ้ มดแู ลรกั ษา กวาด ทำความสะอาดถนนหรือท่สี าธารณะ รอบบา้ นในรัศมี ๕ เมตร เป็นกรรมการฝ่ายเยาวชนเพื่อการดแู ลรกั ษา ซอย หมูบ่ ้านทอี่ ยู่อาศัย เป็นต้น ๓) สถานศกึ ษาเปน็ แกนนำในการพัฒนาชุมชนในรัศมที ี่เป็นทตี่ ้ังของสถานศึกษา เช่น รับผิดชอบ ดูแลในรัศมี ๑ กิโลเมตร รอบสถานศึกษา โดยร่วมกับชุมชนอย่างจริงจังในการพัฒนาบรรยากาศ ส่ิงแวดล้อมของชุมชน ทั้งนี้ อาจปฏิบัติการผ่านกิจกรรมชุมนุมที่มีอยู่ในโรงเรียน และเน้นให้ นักเรียนมีบทบาทหลักในการร่วมวางแผนพัฒนา การปฏิบัติการเช่นน้ี เสมือน “การใช้ชุมชนที่ เป็นท่ีต้ังของสถานศึกษา เป็นห้องปฏิบัติการทดลองประสบการณ์ชีวิตต่าง ๆ แก่ผู้เรียน” ทั้งนี้ เช่ือว่า หากนักเรียนมองเห็นแนวทางการพัฒนาชุมชนที่เป็นรูปธรรม ๑ ชุมชน นักเรียนเหล่านั้น จะสามารถนาประสบการณ์ไปประยุกต์ใช้ในชุมชนท่ีอยู่อาศัยของตนเองได้ในอนาคต อีกท้ัง โรงเรยี นเองก็จะเป็นท่ีรักใคร่ เป็นที่พอใจของชมุ ชนทเ่ี ป็นท่ตี ั้งของโรงเรียนเป็นโรงเรียนของชุมชน อย่างแท้จริง (อน่ึงชุมชน อาจให้การสนับสนุนงบประมาณเพื่อการทำกิจกรรมสาธารณประโยชน์ ในส่วนน้ี) ๔) ประสานงานกับผู้ปกครอง หรือเครือข่ายผู้ปกครอง ให้ร่วมกันวางแผนเพื่อทำกิจกรรม สาธารณประโยชน์ร่วมกันเป็นวงศ์ตระกูล โดยวางแผนเป็นรายปี พร้อมแจ้งแผนงานให้โรงเรียน ทราบตั้งแต่ต้นปี การกระทำเช่นนี้ นอกจากจะเป็นการแบ่งเบาภาระของโรงเรียนในการส่งเสริม ให้นักเรียนจัดทำกิจกรรมสาธารณประโยชน์แล้ว ยังเป็นการส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัว และส่งเสริมใหค้ รอบครัวไทย “มีจติ สาธารณะไปในตัวดว้ ย” ๕) สง่ เสรมิ ให้นักเรยี นใชท้ รพั ยากรอย่างคมุ้ ค่า เช่น รู้จกั ปิดน้ำ ปิดไฟ เมื่อเลิกใช้ ทง้ิ ขยะในถงั ขยะ ช่วยดูแลสาธารณสมบัติ ช่วยดูแลรักษาทรัพยากรทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท้ังในโรงเรียน หม่บู ้าน ชุมชน เป็นต้น

๑๖ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพมิ่ เวลารู้ การลดเวลาเรียน หมายถึง การลดเวลาเรียนภาควิชาการ และการลดเวลาของการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้ เช่น การบรรยาย การสาธิต การศึกษาใบความรู้ ให้น้อยลง และการเพ่ิม เวลารู้ หมายถึง การเพ่ิมเวลาและโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง มีประสบการณ์ตรง คิดวเิ คราะห์ ทำงาน เปน็ ทมี และเรยี นรู้ด้วยตนเองอยา่ งมีความสขุ จากกจิ กรรมสร้างสรรค์ที่หลากหลายมากข้นึ แนวการจัดกิจกรรมลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ มแี นวทางดงั นี้ ๑) จัดกจิ กรรมเปน็ ฐานการเรียนรู้ตามความตอ้ งการของผเู้ รียน ผ้ปู กครอง และชุมชน ๒) จดั กิจกรรมฐานการเรียนรู้โดยแบ่งเปน็ ๔ ฐาน และเชือ่ มโยงหลกั การจดั กิจจกรรมแบบ ๔ H ๓) สง่ เสริมการจัดกิจกรรมทีบ่ ูรณาการกจิ กรรมในรปู แบบ STEM ระดับการศึกษา  ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น (ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ – ๓) เป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นใหผู้เรียนได้สำรวจความถนัด และความสนใจของ ตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิด แก้ปัญหา มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยี เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ มีความ รับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุลท้ังด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจนใชเ้ ป็นพน้ื ฐานในการประกอบอาชีพ หรอื การศกึ ษาตอ่ การจดั เวลาเรยี น  ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ – ๓) จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่เกิน ๖ ช่ัวโมง คิดน้ำหนักวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใชเ้ กณฑ์ ๔๐ ช่วั โมงต่อภาคเรียน มีค่านำ้ หนกั วชิ าเทา่ กบั ๑ หน่วยกิต (นก.)

๑๗ โครงสร้างเวลาเรียน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น เวลาเรยี น กลุ่มสาระการเรียนร้/ู กิจกรรม ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้  กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ภาษาไทย ๑๒๐ (๓.๐ นก.) ๑๒๐ (๓.๐ นก.) ๑๒๐ (๓.๐ นก.) คณติ ศาสตร์ ๑๒๐ (๓.๐ นก.) ๑๒๐ (๓.๐ นก.) ๑๒๐ (๓.๐ นก.) ๑๖๐ (๔.๐ นก.) ๑๖๐ (๔.๐ นก.) ๑๒๐ (๓.๐ นก.) วิทยาศาสตร์ ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) * เทคโนโลยกี ารคำนวณ ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) ๒๐ (๐.๕ นก.) * การออกแบบเทคโนโลยี ๑๖๐ (๔.๐ นก.) ๑๖๐ (๔.๐ นก.) ๑๖๐ (๔.๐ นก.) สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม * เศรษฐศาสตร์ ๘๐ (๒.๐ นก.) ๘๐ (๒.๐ นก.) ๘๐ (๒.๐ นก.) * ภมู ิศาสตร์ * ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) * ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๘๐ (๒.๐ นก.) ๘๐ (๒.๐ นก.) ๘๐ (๒.๐ นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ (๒.๐ นก.) ๘๐ (๒.๐ นก.) ๘๐ (๒.๐ นก.) ศลิ ปะ ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) ๔๐ (๑.๐ นก.) การงานอาชพี ๑๒๐ (๓.๐ นก.) ๑๒๐ (๓.๐ นก.) ๑๒๐ (๓.๐ นก.) ภาษาต่างประเทศ ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) ปีละไม่นอ้ ยกว่า ๔๔๐ ช่ัวโมง (๑๑ หนว่ ยกิต)  รายวิชาเพ่ิมเตมิ  กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ * กิจกรรมแนะแนว * กจิ กรรมนกั เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑,๔๔๐/ปี ๑,๔๔๐/ปี ๑,๔๔๐/ปี - ลกู เสือ เนตรนารี - ชมรม ชุมนมุ * กิจกรรมเพื่อสงั คมและ สาธารณประโยชน์ รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด

๑๘ โครงสร้างหลกั สตู ร โครงสร้างหลกั สตู ร ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ รหัสวิชา รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น/ชม. หนว่ ยกิต รายวชิ าพื้นฐาน ๑.๕ ๑.๕ ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ๐.๕ ค๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๖๐ ๑.๐ ๐.๕ ว๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๖๐ ๐.๕ ๐.๕ ว๒๑๑๐๓ การออกแบบและเทคโนโลยี ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ๔๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๒๐ ๑.๕ ๑๑ ส๒๑๑๐๓ พระพทุ ธศาสนา ๒๐ ๐.๕ พ๒๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ พ๒๑๑๐๒ พลศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ศ๒๑๑๐๑ ทัศนศลิ ป์ ๒๐ ๐.๕ ๓.๐ ศ๒๑๑๐๒ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๒๐ - ง๒๑๑๐๑ การงานอาชพี ๒๐ - - อ๒๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๖๐ - - รวมเวลาเรยี นวิชาพ้ืนฐาน ๔๔๐ ๑๔ รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ค๒๑๒๐๑ เสรมิ ทักษะคณติ ศาสตร์ ๑ ๒๐ ว๒๑๒๐๑ เสรมิ ทักษะวิทยาศาสตร์ ๑ ๒๐ ส๒๑๒๓๑ หนา้ ท่ีพลเมอื ง ๑ ๒๐ ศ๒๑๒๐๑ ดนตรี ๑ ๒๐ อ๒๑๒๐๑ Four Skill I ๒๐ จ๒๑๒๐๑ ภาษาจีน ๑ ๒๐ รวมเวลาเรยี นวชิ าเพ่มิ เตมิ ๑๒๐ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน  กจิ กรรมแนะแนว ๒๐  กิจกรรมชุมนุมสง่ เสรมิ ทกั ษะวิชาการ ๒๐  กจิ กรรมลกู เสือ-เนตรนารี ๑๕  กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๕ รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ รวมเวลาเรียนท้ังหมด/หนว่ ยกติ ๖๒๐ หมายเหตุ  วิชาหนา้ ท่ีพลเมือง ทจุ รติ ศกึ ษา และท้องถิ่น บรู ณาการรว่ มกับการจัดกจิ กรรมของโรงเรยี น และรายวิชาเรียน  รายวิชาเพ่มิ เติม เปลย่ี นแปลงได้ตามความเหมาะสม และบรบิ ทของโรงเรียน

โครงสร้างหลกั สูตร ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ ๑๙ รหสั วิชา รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน/ชม. หน่วยกิต รายวชิ าพ้ืนฐาน ๑.๕ ๑.๕ ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ๐.๕ ค๒๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๖๐ ๑.๐ ๐.๕ ว๒๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๖๐ ๐.๕ ๐.๕ ว๒๑๑๐๔ วิทยาการคำนวณ ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๑๑๐๔ สงั คมศึกษา ๔๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๑๑๐๕ ประวัติศาสตร์ ๒๐ ๑.๕ ๑๑ ส๒๑๑๐๖ พระพุทธศาสนา ๒๐ ๐.๕ พ๒๑๑๐๓ สขุ ศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ พ๒๑๑๐๔ พลศึกษา ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ศ๒๑๑๐๓ ทัศนศลิ ป์ ๒๐ ๐.๕ ๓.๐ ศ๒๑๑๐๔ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๒๐ - ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๒๐ - - อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖๐ - - รวมเวลาเรียนวชิ าพน้ื ฐาน ๔๔๐ ๑๔ รายวชิ าเพิ่มเตมิ ค๒๑๒๐๒ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๒ ๒๐ ว๒๑๒๐๒ เสรมิ ทักษะวิทยาศาสตร์ ๒ ๒๐ ส๒๑๒๓๒ หน้าที่พลเมอื ง ๒ ๒๐ ง๒๑๒๐๒ คอมพวิ เตอร์ ๒ ๒๐ อ๒๑๒๐๒ Four Skill II ๒๐ จ๒๑๒๐๒ ภาษาจีน ๒ ๒๐ รวมเวลาเรยี นวชิ าเพ่มิ เตมิ ๑๒๐ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน  กจิ กรรมแนะแนว ๒๐  กจิ กรรมชุมนมุ ๒๐  กจิ กรรมลูกเสือ-เนตรนารี ๑๕  กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๕ รวมเวลาเรียนกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๖๐ รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด/หนว่ ยกิต ๖๒๐ หมายเหตุ  วิชาหน้าท่ีพลเมอื ง ทุจรติ ศึกษา และทอ้ งถ่ิน บรู ณาการร่วมกับการจัดกิจกรรมของโรงเรียน และรายวิชาเรยี น  รายวิชาเพ่ิมเติม เปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม และบรบิ ทของโรงเรียน

๒๐ โครงสร้างหลกั สูตร ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ (แผน ๑) ภาคเรยี นท่ี ๑ รหสั วิชา รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน/ชม. หน่วยกิต รายวิชาพนื้ ฐาน ๑.๕ ๑.๕ ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ๐.๕ ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖๐ ๑.๐ ๐.๕ ว๒๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๖๐ ๐.๕ ๐.๕ ว๒๒๑๐๒ การออกแบบและเทคโนโลยี ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๔๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๒๐ ๑.๕ ๑๑ ส๒๒๑๐๓ พระพทุ ธศาสนา ๒๐ ๑.๐ พ๒๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ พ๒๒๑๐๒ พลศึกษา ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ศ๒๒๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๒๐ ๓.๐ ศ๒๒๑๐๒ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๒๐ - - ง๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๒๐ - - อ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖๐ - ๑๔ รวมเวลาเรยี นวิชาพนื้ ฐาน ๔๔๐ รายวิชาเพิม่ เติม ค๒๒๒๐๑ เสรมิ ทักษะคณิตศาสตร์ ๓ ๔๐ ว๒๒๒๐๑ เสริมทักษะวิทยาศาสตร์ ๓ ๒๐ ส๒๒๒๓๓ หนา้ ท่พี ลเมอื ง ๓ ๒๐ ศ๒๒๒๐๑ การแสดงพื้นบ้าน ๑ ๒๐ จ๒๒๒๐๑ ภาษาจีน ๓ ๒๐ รวมเวลาเรยี นวิชาเพ่มิ เติม ๑๒๐ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น  กจิ กรรมแนะแนว ๒๐  กิจกรรมชุมนุม ๒๐  กิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารี ๑๕  กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๕ รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ๖๐ รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด/หน่วยกติ ๖๒๐ หมายเหตุ  วิชาหน้าท่ีพลเมือง ทุจริตศึกษา และท้องถ่นิ บูรณาการรว่ มกับการจัดกิจกรรมของโรงเรียน และรายวิชาเรียน  รายวิชาเพม่ิ เติม เปลยี่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม และบริบทของโรงเรียน

๒๑ โครงสรา้ งหลักสตู ร ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ (แผน ๑) ภาคเรียนท่ี ๒ รหัสวชิ า รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น/ชม. หนว่ ยกติ รายวิชาพื้นฐาน ๑.๕ ๑.๕ ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ๐.๕ ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖๐ ๑.๐ ๐.๕ ว๒๒๑๐๓ วทิ ยาศาสตร์ ๖๐ ๐.๕ ๐.๕ ว๒๒๑๐๔ วทิ ยาการคำนวณ ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๒๑๐๔ สังคมศกึ ษา ๔๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๒๑๐๕ ประวัติศาสตร์ ๒๐ ๑.๕ ๑๑ ส๒๒๑๐๖ พระพทุ ธศาสนา ๒๐ ๑.๐ พ๒๒๑๐๓ สุขศึกษา ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ พ๒๒๑๐๔ พลศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ศ๒๒๑๐๓ ทศั นศิลป์ ๒๐ ๓.๐ ศ๒๒๑๐๔ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๒๐ - - ง๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๒๐ - - อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖๐ - ๑๔ รวมเวลาเรยี นวิชาพื้นฐาน ๔๔๐ รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ค๒๒๒๐๒ เสรมิ ทกั ษะคณติ ศาสตร์ ๔ ๔๐ ว๒๒๒๐๒ เสรมิ ทกั ษะวิทยาศาสตร์ ๔ ๒๐ ส๒๒๒๓๔ หน้าที่พลเมอื ง ๔ ๒๐ ศ๒๒๒๐๒ การแสดงพน้ื บา้ น ๒ ๒๐ จ๒๒๒๐๒ ภาษาจนี ๔ ๒๐ รวมเวลาเรยี นวิชาเพ่มิ เตมิ ๑๒๐ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน  กิจกรรมแนะแนว ๒๐  กิจกรรมชมุ นุม ๒๐  กจิ กรรมลกู เสือ-เนตรนารี ๑๕  กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๕ รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๖๐ รวมเวลาเรียนทั้งหมด/หนว่ ยกติ ๖๒๐ หมายเหตุ  วชิ าหน้าที่พลเมอื ง ทุจริตศึกษา และทอ้ งถ่นิ บรู ณาการร่วมกับการจัดกจิ กรรมของโรงเรียน และรายวิชาเรียน  รายวิชาเพิ่มเติม เปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม และบรบิ ทของโรงเรียน

๒๒ โครงสรา้ งหลกั สตู ร ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ (แผน ๒) ภาคเรยี นที่ ๑ รหัสวิชา รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน/ชม. หน่วยกติ รายวิชาพื้นฐาน ๑.๕ ๑.๕ ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ๐.๕ ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖๐ ๑.๐ ๐.๕ ว๒๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๖๐ ๐.๕ ๐.๕ ว๒๒๑๐๒ การออกแบบและเทคโนโลยี ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ๔๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๒๐ ๑.๕ ๑๑ ส๒๒๑๐๓ พระพุทธศาสนา ๒๐ ๐.๕ พ๒๒๑๐๑ สขุ ศึกษา ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ พ๒๒๑๐๒ พลศึกษา ๒๐ ๑.๐ ๐.๕ ศ๒๒๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๒๐ ๓.๐ ศ๒๒๑๐๒ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๒๐ - - ง๒๒๑๐๑ การงานอาชพี ๒๐ - - อ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖๐ - ๑๔ รวมเวลาเรียนวิชาพนื้ ฐาน ๔๔๐ รายวชิ าเพิ่มเติม ท๒๒๒๐๑ การอา่ น ๒๐ ส๒๒๒๓๓ หนา้ ที่พลเมือง ๓ ๒๐ ศ๒๒๒๐๑ การแสดงพน้ื บ้าน ๑ ๒๐ จ๒๒๒๐๓ ภาษาจีน ๓ ๔๐ อ๒๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษสนทนา ๑ ๒๐ รวมเวลาเรียนวิชาเพมิ่ เติม ๑๒๐ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น  กิจกรรมแนะแนว ๒๐  กิจกรรมชุมนุม ๒๐  กจิ กรรมลกู เสือ-เนตรนารี ๑๕  กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๕ รวมเวลาเรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๖๐ รวมเวลาเรยี นทั้งหมด/หนว่ ยกิต ๖๒๐ หมายเหตุ  วิชาหน้าท่ีพลเมอื ง ทุจรติ ศึกษา และท้องถ่นิ บรู ณาการรว่ มกับการจดั กจิ กรรมของโรงเรียน และรายวิชาเรียน  รายวิชาเพิม่ เตมิ เปลยี่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม และบริบทของโรงเรยี น

๒๓ โครงสร้างหลกั สตู ร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ (แผน ๒) ภาคเรียนที่ ๒ รหสั วิชา รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น/ชม. หน่วยกิต รายวิชาพ้นื ฐาน ๑.๕ ๑.๕ ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ๐.๕ ค๒๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๖๐ ๑.๐ ๐.๕ ว๒๒๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๖๐ ๐.๕ ๐.๕ ว๒๒๑๐๔ วิทยาการคำนวณ ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๒๑๐๔ สังคมศกึ ษา ๔๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๒๑๐๕ ประวตั ิศาสตร์ ๒๐ ๑.๕ ๑๑ ส๒๒๑๐๖ พระพทุ ธศาสนา ๒๐ ๐.๕ พ๒๒๑๐๓ สขุ ศึกษา ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ พ๒๒๑๐๔ พลศึกษา ๒๐ ๑.๐ ๐.๕ ศ๒๒๑๐๓ ทศั นศิลป์ ๒๐ ๓.๐ ศ๒๒๑๐๔ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๒๐ - - ง๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๒๐ - - อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖๐ - ๑๔ รวมเวลาเรยี นวิชาพน้ื ฐาน ๔๔๐ รายวิชาเพม่ิ เตมิ ท๒๒๒๐๒ การเขียน ๒๐ ส๒๒๒๓๔ หนา้ ทพ่ี ลเมือง ๔ ๒๐ ศ๒๒๒๐๒ การแสดงพ้นื บา้ น ๒ ๒๐ จ๒๒๒๐๔ ภาษาจีน ๔ ๔๐ อ๒๒๒๐๒ ภาษาองั กฤษสนทนา ๒ ๒๐ รวมเวลาเรยี นวิชาเพ่ิมเตมิ ๑๒๐ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน  กิจกรรมแนะแนว ๒๐  กิจกรรมชมุ นุม ๒๐  กจิ กรรมลูกเสือ-เนตรนารี ๑๕  กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๕ รวมเวลาเรียนกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ๖๐ รวมเวลาเรียนทงั้ หมด/หนว่ ยกติ ๖๒๐ หมายเหตุ  วชิ าหน้าท่ีพลเมอื ง ทุจริตศึกษา และทอ้ งถิ่น บรู ณาการรว่ มกับการจดั กิจกรรมของโรงเรยี น และรายวชิ าเรียน  รายวชิ าเพ่ิมเตมิ เปลย่ี นแปลงได้ตามความเหมาะสม และบรบิ ทของโรงเรียน

โครงสรา้ งหลกั สตู ร ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ (แผน ๑) ภาคเรียนที่ ๑ ๒๔ รหสั วิชา รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น/ชม. หนว่ ยกติ รายวิชาพ้ืนฐาน ๑.๕ ๑.๕ ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ๐.๕ ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖๐ ๑.๐ ๐.๕ ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖๐ ๐.๕ ๐.๕ ว๒๓๑๐๒ การออกแบบและเทคโนโลยี ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ๔๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๒๐ ๑.๕ ๑๑ ส๒๓๑๐๓ พระพทุ ธศาสนา ๒๐ ๑.๐ พ๒๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ พ๒๓๑๐๒ พลศึกษา ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ศ๒๓๑๐๑ ทศั นศิลป์ ๒๐ ๓.๐ ศ๒๓๑๐๒ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๒๐ - - ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๒๐ - - อ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖๐ - ๑๔ รวมเวลาเรยี นวชิ าพื้นฐาน ๔๔๐ รายวิชาเพิ่มเตมิ ค๒๓๒๐๑ เสรมิ ทกั ษะคณิตศาสตร์ ๕ ๔๐ ว๒๓๒๐๑ เสริมทักษะวิทยาศาสตร์ ๕ ๒๐ ส๒๓๒๓๕ หน้าที่พลเมือง ๕ ๒๐ ง๒๓๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๕ ๒๐ จ๒๓๒๐๑ ภาษาจีน ๕ ๒๐ รวมเวลาเรยี นวิชาเพ่ิมเติม ๑๒๐ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น  กจิ กรรมแนะแนว ๒๐  กจิ กรรมชมุ นุม ๒๐  กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ๑๕  กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๕ รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ๖๐ รวมเวลาเรยี นทั้งหมด/หน่วยกิต ๖๒๐ หมายเหตุ  วชิ าหน้าท่ีพลเมอื ง ทุจรติ ศึกษา และท้องถิน่ บรู ณาการร่วมกับการจัดกจิ กรรมของโรงเรียน และรายวชิ าเรียน  รายวชิ าเพิ่มเติม เปลยี่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม และบริบทของโรงเรียน

๒๕ โครงสร้างหลักสตู ร ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ (แผน ๑) ภาคเรียนที่ ๒ รหสั วิชา รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน/ชม. หนว่ ยกติ รายวิชาพน้ื ฐาน ๑.๕ ๑.๕ ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ๐.๕ ค๒๓๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๖๐ ๑.๐ ๐.๕ ว๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๖๐ ๐.๕ ๐.๕ ว๒๓๑๐๔ วทิ ยาการคำนวณ ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๓๑๐๔ สงั คมศกึ ษา ๔๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๓๑๐๕ ประวัตศิ าสตร์ ๒๐ ๑.๕ ๑๑ ส๒๓๑๐๖ พระพุทธศาสนา ๒๐ ๑.๐ พ๒๓๑๐๓ สุขศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ พ๒๓๑๐๔ พลศกึ ษา ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ศ๒๓๑๐๓ ทศั นศิลป์ ๒๐ ๓.๐ ศ๒๓๑๐๔ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๒๐ - - ง๒๓๑๐๒ การงานอาชีพ ๒๐ - - อ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖๐ - ๑๔ รวมเวลาเรยี นวชิ าพืน้ ฐาน ๔๔๐ รายวิชาเพิ่มเตมิ ค๒๓๒๐๒ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๖ ๔๐ ว๒๓๒๐๒ เสริมทักษะวิทยาศาสตร์ ๖ ๒๐ ส๒๓๒๓๖ หนา้ ที่พลเมือง ๖ ๒๐ ง๒๓๒๐๒ คอมพิวเตอร์ ๖ ๒๐ จ๒๓๒๐๒ ภาษาจนี ๖ ๒๐ รวมเวลาเรียนวิชาเพ่มิ เตมิ ๑๒๐ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น  กจิ กรรมแนะแนว ๒๐  กิจกรรมชุมนุม ๒๐  กิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารี ๑๕  กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๕ รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น ๖๐ รวมเวลาเรียนทั้งหมด/หน่วยกติ ๖๒๐ หมายเหตุ  วิชาหน้าที่พลเมือง ทุจรติ ศึกษา และทอ้ งถิ่น บูรณาการรว่ มกับการจัดกิจกรรมของโรงเรยี น และรายวิชาเรยี น  รายวชิ าเพมิ่ เติม เปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม และบริบทของโรงเรียน

๒๖ โครงสร้างหลักสูตร ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ (แผน ๒) ภาคเรียนท่ี ๑ รหัสวิชา รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน/ชม. หน่วยกติ รายวิชาพน้ื ฐาน ๑.๕ ๑.๕ ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ๐.๕ ค๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๖๐ ๑.๐ ๐.๕ ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖๐ ๐.๕ ๐.๕ ว๒๓๑๐๒ การออกแบบและเทคโนโลยี ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๔๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๒๐ ๑.๕ ๑๑ ส๒๓๑๐๓ พระพทุ ธศาสนา ๒๐ ๐.๕ พ๒๓๑๐๑ สุขศึกษา ๒๐ ๐,๕ ๐.๕ พ๒๓๑๐๒ พลศึกษา ๒๐ ๑.๐ ๐.๕ ศ๒๓๑๐๑ ทศั นศิลป์ ๒๐ ๓.๐ ศ๒๓๑๐๒ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๒๐ - - ง๒๓๑๐๑ การงานอาชพี ๒๐ - - อ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๖๐ - ๑๔ รวมเวลาเรยี นวิชาพืน้ ฐาน ๔๔๐ รายวชิ าเพ่ิมเติม ส๒๓๒๓๕ หน้าท่ีพลเมอื ง ๕ ๒๐ ง๒๓๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๕ ๒๐ ง๒๓๒๐๓ ชา่ งจกั สาน ๒๐ จ๒๓๒๐๓ ภาษาจนี ๕ ๔๐ อ๒๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษสนทนา ๓ ๒๐ รวมเวลาเรยี นวิชาเพิม่ เติม ๑๒๐ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน  กิจกรรมแนะแนว ๒๐  กจิ กรรมชมุ นุม ๒๐  กิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี ๑๕  กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๕ รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ๖๐ รวมเวลาเรยี นท้งั หมด/หน่วยกิต ๖๒๐ หมายเหตุ  วิชาหน้าท่ีพลเมือง ทุจรติ ศึกษา และทอ้ งถิ่น บรู ณาการร่วมกับการจดั กจิ กรรมของโรงเรียน และรายวิชาเรยี น  รายวชิ าเพม่ิ เตมิ เปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม และบริบทของโรงเรยี น

๒๗ โครงสร้างหลกั สูตร ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ (แผน ๒) ภาคเรียนที่ ๒ รหัสวิชา รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน/ชม. หน่วยกติ รายวิชาพื้นฐาน ๑.๕ ๑.๕ ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ๐.๕ ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖๐ ๑.๐ ๐.๕ ว๒๓๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๖๐ ๐.๕ ๐.๕ ว๒๓๑๐๔ วิทยาการคำนวณ ๒๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๓๑๐๔ สงั คมศกึ ษา ๔๐ ๐.๕ ๐.๕ ส๒๓๑๐๕ ประวัติศาสตร์ ๒๐ ๑.๕ ๑๑ ส๒๓๑๐๖ พระพุทธศาสนา ๒๐ ๐.๕ พ๒๓๑๐๓ สขุ ศกึ ษา ๒๐ ๐,๕ ๐.๕ พ๒๓๑๐๔ พลศกึ ษา ๒๐ ๑.๐ ๐.๕ ศ๒๓๑๐๓ ทศั นศิลป์ ๒๐ ๓.๐ ศ๒๓๑๐๔ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๒๐ - - ง๒๓๑๐๒ การงานอาชพี ๒๐ - - อ๒๓๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๖๐ - ๑๔ รวมเวลาเรียนวชิ าพนื้ ฐาน ๔๔๐ รายวิชาเพ่ิมเติม ส๒๓๒๓๖ หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง ๖ ๒๐ ง๒๓๒๐๒ คอมพิวเตอร์ ๖ ๒๐ พ๒๐๒๐๑ เพศวิถีศึกษา ๒๐ จ๒๓๒๐๔ ภาษาจนี ๖ ๔๐ อ๒๓๒๐๒ ภาษาอังกฤษสนทนา ๔ ๒๐ รวมเวลาเรยี นวิชาเพ่มิ เติม ๑๒๐ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น  กจิ กรรมแนะแนว ๒๐  กิจกรรมชมุ นุม ๒๐  กิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี ๑๕  กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๕ รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ๖๐ รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด/หน่วยกิต ๖๒๐ หมายเหตุ  วิชาหน้าที่พลเมือง ทุจรติ ศกึ ษา และท้องถ่นิ บรู ณาการรว่ มกบั การจัดกจิ กรรมของโรงเรียน และรายวิชาเรียน  รายวชิ าเพม่ิ เตมิ เปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม และบรบิ ทของโรงเรยี น

๒๘ รายวชิ าพืน้ ฐานและเพ่ิมเตมิ ระดบั มธั ยมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ – ๒ รายวชิ าพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ๑.๕ หนว่ ยกติ ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ หนว่ ยกติ ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกติ ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชัว่ โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ช่วั โมง ๑.๕ หน่วยกติ ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หน่วยกิต ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ รายวิชาเพ่ิมเติม ๐.๕ หน่วยกิต ท๒๒๒๐๑ การอ่าน จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ท๒๒๒๐๒ การเขยี น จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ รายวิชาพ้ืนฐาน จำนวน ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หน่วยกิต ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกติ ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต ค๒๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต ค๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หน่วยกิต ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๐.๕ หน่วยกิต รายวชิ าเพมิ่ เติม จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ค๒๑๒๐๑ เสรมิ ทกั ษะคณติ ศาสตร์ ๑ จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง ๑.๐ หนว่ ยกิต ค๒๑๒๐๒ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๒ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ๑.๐ หน่วยกิต ค๒๒๒๐๑ เสรมิ ทกั ษะคณติ ศาสตร์ ๓ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ๑.๐ หนว่ ยกติ ค๒๒๒๐๒ เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ ๔ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนว่ ยกิต ค๒๓๒๐๑ เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ ๕ จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง ค๒๓๒๐๒ เสรมิ ทกั ษะคณิตศาสตร์ ๖

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ๒๙ รายวชิ าพ้นื ฐาน จำนวน ๖๐ ช่วั โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ว๒๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ว๒๒๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ว๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หน่วยกติ ว๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๐.๕ หน่วยกิต รายวิชาเพมิ่ เติม จำนวน ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ว๒๑๒๐๑ เสริมทกั ษะวิทยาศาสตร์ ๑ จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ว๒๑๒๐๒ เสรมิ ทกั ษะวิทยาศาสตร์ ๒ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ว๒๒๒๐๑ เสรมิ ทกั ษะวิทยาศาสตร์ ๓ จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ว๒๒๒๐๒ เสริมทกั ษะวิทยาศาสตร์ ๔ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ว๒๓๒๐๑ เสริมทกั ษะวิทยาศาสตร์ ๕ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ว๒๓๒๐๒ เสริมทกั ษะวิทยาศาสตร์ ๖ กลุม่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวชิ าพ้นื ฐาน จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ๑.๐ หนว่ ยกิต ส๒๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ๑.๐ หน่วยกิต ส๒๑๑๐๔ สังคมศึกษา จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ๑.๐ หนว่ ยกติ ส๒๒๑๐๑ สังคมศึกษา จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ๑.๐ หนว่ ยกิต ส๒๒๑๐๔ สงั คมศกึ ษา จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกติ ส๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกติ ส๒๓๑๐๔ สังคมศกึ ษา จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ส๒๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกิต ส๒๑๑๐๕ ประวัติศาสตร์ จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ส๒๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ส๒๒๑๐๕ ประวตั ิศาสตร์ จำนวน ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หน่วยกิต ส๒๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ ส๒๓๑๐๕ ประวตั ศิ าสตร์ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ส๒๑๑๐๓ พระพุทธศาสนา จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ส๒๑๑๐๖ พระพทุ ธศาสนา

รายวชิ าพืน้ ฐาน จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๓๐ ส๒๒๑๐๓ พระพทุ ธศาสนา จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ส๒๒๑๐๖ พระพุทธศาสนา จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หน่วยกติ ส๒๓๑๐๓ พระพุทธศาสนา จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ส๒๓๑๐๖ พระพทุ ธศาสนา ๐.๕ หนว่ ยกติ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ รายวิชาเพมิ่ เติม จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ส๒๑๒๓๑ หน้าทพ่ี ลเมอื ง ๑ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกติ ส๒๑๒๓๒ หน้าที่พลเมอื ง ๒ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ส๒๒๒๓๓ หนา้ ทพ่ี ลเมือง ๓ จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หน่วยกติ ส๒๒๒๓๔ หน้าทพ่ี ลเมอื ง ๔ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทีพ่ ลเมือง ๕ ๐.๕ หน่วยกติ ส๒๓๒๓๖ หนา้ ทพ่ี ลเมือง ๖ ๐.๕ หน่วยกิต รายวิชาพ้ืนฐาน กล่มุ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๐.๕ หนว่ ยกติ พ๒๑๑๐๑ สุขศึกษา ๐.๕ หน่วยกติ พ๒๑๑๐๓ สุขศึกษา จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ พ๒๒๑๐๑ สุขศกึ ษา จำนวน ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ พ๒๒๑๐๓ สุขศึกษา จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ พ๒๓๑๐๑ สุขศกึ ษา จำนวน ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หน่วยกติ พ๒๓๑๐๓ สุขศกึ ษา จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ พ๒๑๑๐๒ พลศึกษา จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ พ๒๑๑๐๔ พลศึกษา จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกติ พ๒๒๑๐๒ พลศึกษา จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ พ๒๒๑๐๔ พลศกึ ษา จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ พ๒๓๑๐๒ พลศึกษา จำนวน ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ พ๒๓๑๐๔ พลศกึ ษา จำนวน ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต รายวชิ าเพิ่มเติม จำนวน ๒๐ ชั่วโมง พ๒๐๑๐๑ เพศศกึ ษา

กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ ๓๑ รายวิชาพนื้ ฐาน จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ ศ๒๑๑๐๑ ทัศนศลิ ป์ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ศ๒๑๑๐๓ ทศั นศลิ ป์ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ศ๒๒๑๐๑ ทศั นศลิ ป์ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกิต ศ๒๒๑๐๓ ทัศนศิลป์ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ศ๒๓๑๐๑ ทศั นศิลป์ จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ศ๒๓๑๐๓ ทศั นศิลป์ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกิต ศ๒๑๑๐๒ ดนตรี – นาฏศิลป์ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกิต ศ๒๑๑๐๔ ดนตรี – นาฏศิลป์ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ศ๒๒๑๐๒ ดนตรี – นาฏศลิ ป์ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ศ๒๒๑๐๔ ดนตรี – นาฏศิลป์ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกติ ศ๒๓๑๐๒ ดนตรี – นาฏศลิ ป์ จำนวน ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หน่วยกิต ศ๒๓๑๐๔ ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ๐.๕ หน่วยกิต รายวิชาเพ่มิ เติม จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ศ๒๒๒๐๑ การแสดงพน้ื บ้าน ๐.๕ หนว่ ยกิต ๐.๕ หนว่ ยกิต กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๐.๕ หนว่ ยกิต ๐.๕ หนว่ ยกติ รายวชิ าพื้นฐาน ๑.๐ หนว่ ยกิต ๑.๐ หนว่ ยกิต ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ง๒๒๑๐๑ การงานอาชพี จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ๐.๕ หน่วยกติ ง๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกติ ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ง๒๓๑๐๒ การงานอาชีพ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หน่วยกิต ๐.๕ หน่วยกิต รายวิชาเพิม่ เติม จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ง๒๑๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๑ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ง๒๑๒๐๒ คอมพิวเตอร์ ๒ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ง๒๒๒๐๒ คอมพวิ เตอร์ ๔ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ง๒๓๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๕ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ง๒๓๒๐๒ คอมพวิ เตอร์ ๖ จำนวน ๒๐ ช่ัวโมง ง๒๓๒๐๓ งานจกั สาน

กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศ ๓๒ รายวชิ าพ้ืนฐาน ๑.๕ หน่วยกติ ๑.๕ หน่วยกติ อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จำนวน ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ อ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ อ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ จำนวน ๖๐ ชัว่ โมง ๑.๕ หน่วยกติ อ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง อ๒๓๑๐๒ ภาษาองั กฤษ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกติ ๐.๕ หนว่ ยกติ รายวิชาเพมิ่ เติม จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ อ๒๑๒๐๑ Four Skill I จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต อ๒๑๒๐๒ Four Skill II จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกติ อ๒๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษสนทนา ๑ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกิต อ๒๒๒๐๒ ภาษาอังกฤษสนทนา ๒ จำนวน ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หน่วยกิต อ๒๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษสนทนา ๓ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ อ๒๓๒๐๒ ภาษาอังกฤษสนทนา ๔ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกิต จ๒๑๒๐๑ ภาษาจีน ๑ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกิต จ๒๑๒๐๒ ภาษาจีน ๒ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกิต จ๒๒๒๐๑ ภาษาจนี ๓ จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ จ๒๒๒๐๒ ภาษาจนี ๔ จำนวน ๒๐ ช่ัวโมง จ๒๓๒๐๑ ภาษาจนี ๕ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง จ๒๓๒๐๒ ภาษาจนี ๖

๓๓ การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็น กระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู้ และพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนตามมาตรฐาน การเรียนรู้ / ตัวชี้วัดของหลกั สตู ร นำผลไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรยี นรู้และใช้เป็นข้อมูลสำหรับการตัดสิน ผลการเรียน สถานศึกษาต้องมีกระบวนการจัดการท่ีเป็นระบบ เพื่อให้การดำเนินการ วัดและประเมินผล การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีคุณภาพ และประสิทธิภาพ ผลการประเมินตรงตามสภาพความรู้ ความสามารถที่ แท้จริงของผู้เรยี นถูกต้องตามหลักการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ รวมท้ังสามารถรองรับการประเมินภายใน และการประเมินภายนอก ตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาได้ สถานศึกษาจึงควรกำหนดหลักการ วัดและ ประเมินผลการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษา ดังนี้ ๑. สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายท่ี เกย่ี วข้องมีส่วนร่วม ๒. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัดตาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตรและจัดให้มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อนั พึงประสงค์ ตลอดจนกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ๓. การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรม การเรียนรู้ การร่วมกจิ กรรมและการทดสอบควบคไู่ ปในกระบวนการเรยี นการสอน ตามความเหมาะสมของแตล่ ะ ระดับและรูปแบบการศกึ ษา ๔. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวน การจัดการเรียนการสอน ตอ้ งดำเนินการด้วยเทคนิควิธีการท่ีหลากหลาย เพ่ือใหส้ ามารถวัดและประเมินผลผู้เรยี นได้อย่างรอบด้านทั้งด้าน ความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับส่ิงที่ต้องการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับช้ัน ของผู้เรียน โดยตง้ั อยบู่ นพนื้ ฐานความเทยี่ งตรง ยตุ ิธรรม และเชือ่ ถอื ได้ ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อปรับปรุงพัฒนาผู้เรียน พัฒนาการจัดการเรียนรู้และ ตดั สนิ ผลการเรยี น ๖. เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นและผู้มีสว่ นเกีย่ วข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้ ๗. ให้มีการเทยี บโอนผลการเรียนระหวา่ งสถานศึกษาและรปู แบบการศึกษาตา่ ง ๆ ๘. ให้สถานศึกษาจัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเป็นหลักฐานการประเมินผลการเรียนรู้ รายงานผลการเรียน แสดงวฒุ กิ ารศกึ ษาและรับรองผลการเรียนของผเู้ รียน องคป์ ระกอบของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดจุดหมาย สมรรถนะสำคัญของ ผู้เรียน และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวติ ท่ีดี และมีขีดความสามารถในการแข่งขนั ในเวทีระดับโลก กำหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามมาตรฐาน การเรยี นรู้ / ตัวชี้วัดทกี่ ำหนดในกลุม่ สาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ มีความสามารถด้านการอา่ น คิดวิเคราะห์ และ เขียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้มี องคป์ ระกอบต่าง ๆ ดังแผนภาพที่ ๒.๑

๓๔ มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั การอา่ น การเรยี นรู้ คดิ วิเคราะห์และเขียน ๘ กลุ่มสาระ คุณภาพผู้เรยี น คุณลกั ษณะ กิจกรรม อันพึงประสงค์ พัฒนาผเู้ รียน แผนภาพท่ี ๒.๑ แสดงองค์ประกอบการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๑. การวัดและประเมินผลการเรียนร้ตู ามรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผู้สอนทำการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นรายวิชาตามตัวชี้วัดที่กำหนดในหน่วย การเรียนรู้ด้วยวิธีการท่ีหลากหลายให้ได้ผลการประเมินตามความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน โดยทำการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ การสังเกตพัฒนาการและความประพฤติ ของผู้เรียน การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบ ซ่ึงผู้สอนต้องนำนวัตกรรมการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เช่น การประเมินสภาพจริง การประเมิน การปฏิบัติงาน การประเมิน จากโครงงานและการประเมินจากแฟ้มสะสมงาน ไปใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ควบคู่ไปกับการใช้ แบบทดสอบแบบต่าง ๆ และตอ้ งให้ความสำคัญกบั การประเมินระหว่างปี/ภาค มากกวา่ การประเมินปลายปี/ภาค ดังแผนภาพท่ี ๒.๒ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วัดและประเมนิ การเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี ฯ ด้วยวธิ กี ารท่ีหลากหลาย วิทยาศาสตร์ บรู ณาการในการเรยี นการสอน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา สงั คมศึกษาฯ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ภาษาตา่ งประเทศ แผนภาพท่ี ๒.๒ แสดงองค์ประกอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกล่มุ สาระการเรียนรู้

๓๕ ๒. การประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เป็นการประเมินศักยภาพของผู้เรียนในการอ่าน การฟัง การดูและการรับรู้ จากหนังสอื เอกสารและสื่อต่าง ๆ ได้อยา่ งถูกต้องแล้วนำมาคิดวิเคราะห์เนอ้ื หาสาระทน่ี ำไปสู่ การแสดงความคิดเห็น การสังเคราะห์สร้างสรรค์ในเรื่องต่าง ๆ และถ่ายทอดความคิดน้ันด้วยการเขียนซ่ึง สะท้อนถึงสติปัญญา ความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ แกป้ ัญหา และสร้างสรรค์จินตนาการ อย่างเหมาะสมและมีคณุ ค่าแก่ตนเอง สงั คมและประเทศชาติ พรอ้ มด้วยประสบการณ์ และทักษะในการเขียนท่ีมี สำนวนภาษาถูกต้อง มีเหตุผลและลำดับขั้นตอนในการนำเสนอ สามารถสร้างความเข้าใจแก่ผู้อ่านได้อย่าง ชดั เจนตามระดับความสามารถในแตล่ ะระดบั ช้ัน การประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน สรุปผลเป็นราย ป/ี รายภาค เพื่อวนิ ิจฉยั และใช้เป็นขอ้ มลู เพอื่ ประเมินการเลอื่ นชั้นเรยี น และการจบการศกึ ษาระดบั ต่าง ๆ . การอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขยี นเปน็ กระบวนการทตี่ อ่ เนือ่ ง ดงั แผนภาพที่ ๒.๓ อ่าน หนงั สือ เอกสาร วิทยุ โทรทัศน์ สื่อต่าง ๆ ฯลฯ (รับสาร) แล้วสรุปเปน็ ความรู้ความเข้าใจของตนเอง คดิ วเิ คราะห์ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ หาเหตุผล แกป้ ญั หา และสร้างสรรค์ เขียน ถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ส่ือสารให้ผู้อนื่ เข้า (ส่ือสาร) ๓. การประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และตามท่ีสถานศึกษากำหนดเพ่ิมเติม เป็นการประเมินรายคุณลักษณะแล้ว รวบรวมผลการประเมิน จากผู้ประเมินทุกฝา่ ยนำมาพิจารณาสรปุ ผลเปน็ รายป/ี รายภาค เพ่อื ใชเ้ ป็นข้อมูลประเมิน การเลื่อนชนั้ เรียนและ การจบการศึกษาระดับตา่ ง ๆ ดงั แผนภาพท่ี ๒.๔ มีจิตสาธารณะ รกั ชาติ ศาสน์ รกั ความ กษตั ริย์ ซื่อสตั ย์ เป็นไทย คุณลักษณะ สุจรติ ม่งุ มน่ั ใน อันพึงประสงค์ มวี ินัย การทำงาน เป็นอยู่ ใฝเ่ รียนรู้ พอเพียง แผนภาพท่ี ๒.๔ แสดงองค์ประกอบการวัดและประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

๓๖ ๔. การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นการประเมินการปฏิบัติกิจกรรมตามจุดประสงค์ และเวลาใน การเข้าร่วมกิจกรรมตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม และใช้เป็นข้อมูลประเมินการเลื่อนชั้นเรียนและ การจบการศึกษาระดบั ตา่ ง ๆ ดงั แผนภาพที่ ๒.๕ กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน - ลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ผบู้ ำเพญ็ ประโยชน์ กิจกรรมเพือ่ สังคมและ และนกั ศึกษาวชิ าทหาร สาธารณประโยชน์ - ชุมนุม/ชมรม แผนภาพที่ ๒.๕ แสดงการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ระดบั มัธยมศกึ ษา ๑. การตดั สินผลการเรยี น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดหลักเกณฑ์การวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ เพ่อื ตัดสินผลการเรียนของผ้เู รียน ดังน้ี ๑) ตัดสนิ ผลการเรยี นเป็นรายวชิ า ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวชิ าน้ัน ๆ ๒) ผู้เรยี นต้องได้รบั การประเมนิ ทุกตวั ช้ีวัดและผา่ นตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากำหนด ๓) ผูเ้ รียนต้องไดร้ บั การตดั สินผลการเรียนทุกรายวิชา ๔) ผู้เรยี นตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ และมีผลการประเมินผา่ นตามเกณฑท์ ีส่ ถานศึกษากำหนดใน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน โดยผู้สอนกำหนดเกณฑ์ที่ยอมรับได้ในการผ่านตัวชี้วัดทุกตัวให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา กล่าวคือให้ท้าทายการเรียนรู้ ไม่ยากหรือง่ายเกินไป เพ่ือใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมินว่าส่ิงท่ีผู้เรียนรู้ เข้าใจ ทำได้นั้น เป็นที่น่าพอใจ บรรลุตามเกณฑ์ท่ียอมรับได้ หากยังไม่บรรลุจะต้องหาวิธีการช่วยเหลือ เพื่อให้ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาสูงสุด การกำหนดเกณฑ์นี้ผู้สอนสามารถให้ผู้เรียนร่วมกำหนดด้วยได้ เพื่อให้เกิดความ รับผิดชอบร่วมกันและสร้างแรงจูงใจในการเรียน การประเมินเพ่ือการพัฒนาส่วนมากเป็นการประเมินอย่าง ไม่เป็นทางการ เช่น สังเกต หรือซักถาม หรือการทดสอบย่อย ในการประเมินเพื่อการพัฒนาน้ี ควรให้ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาจนผา่ นเกณฑ์ทยี่ อมรับได้ ผู้เรียนแต่ละคนอาจใชเ้ วลาเรียนและวิธีการเรียนที่แตกต่างกัน ฉะน้ัน ผูส้ อนควรนำข้อมูลท่ีได้มาใชป้ รับวธิ ีการสอนเพ่ือให้ผเู้ รยี นได้รับการพัฒนาเต็มศกั ยภาพ อันจะนำไปสู่การบรรลุ มาตรฐานการเรียนรู้ในท้ายที่สุดอย่างมีคุณภาพ การประเมินเพ่ือการพัฒนาจึงไม่จำเป็นต้องตัดสินให้คะแนน เสมอไป การตัดสินให้คะแนนหรือให้เป็นระดับคุณภาพควรดำเนินการโดยใช้กระบวนการประเมินสรุปผลรวม เมอื่ จบหนว่ ยการเรียนรู้ และจบรายวชิ า

๓๗ การตัดสนิ ผลการเรยี น ตัดสินเปน็ รายวชิ า โดยใชผ้ ลการประเมนิ ระหว่างภาคและปลายภาคตาม สดั สว่ นที่สถานศกึ ษากำหนด ทกุ รายวชิ าต้องไดร้ บั การตดั สินและให้ระดับผลการเรียน ท้ังน้ี ผู้เรยี นตอ้ งผา่ น ทุกรายวิชาพืน้ ฐาน ๒. การใหร้ ะดบั ผลการเรียน การตัดสินเพ่ือให้ระดับผลการเรียนรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับ ผลการเรียนเปน็ ๘ ระดบั การตัดสินผลการเรียนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใช้ระบบผ่านและไม่ผ่าน โดยกำหนดเกณฑ์ การตัดสินผา่ นแตล่ ะรายวิชาที่รอ้ ยละ ๕๐ จากน้ันจงึ ให้ระดับผลการเรียนที่ผา่ น สำหรับระดับมัธยมศึกษาต้นต้น และตอนปลาย ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น ๘ ระดับ แนวการให้ระดับผลการเรียน ๘ ระดับ และ ความหมายของแตล่ ะระดับดังแสดงในตาราง ดงั น้ี ระดบั ผลการเรยี น ความหมาย ชว่ งคะแนนเป็นรอ้ ยละ ๔ ดีเย่ียม ๘๐ – ๑๐๐ ๓.๕ ดมี าก ๗๕ – ๗๙ ๓ ดี ๗๐ – ๗๔ ๒.๕ ค่อนข้างดี ๖๕ – ๖๙ ๒ ปานกลาง ๖๐ – ๖๔ ๑.๕ พอใช้ ๕๕ – ๕๙ ๑ ๕๐ – ๕๔ ๐ ผา่ นเกณฑ์ข้ันต่ำ ๐ – ๔๙ ตำ่ กวา่ เกณฑ์ ในกรณีที่ไม่สามารถให้ระดับผลการเรียนเป็น ๘ ระดับได้ ให้ใช้อักษรระบุเงื่อนไขของผลการเรียน ดังน้ี “มส” หมายถึง ผู้เรียนไม่มีสิทธิ์เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน เนื่องจากผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ถึง รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา และไมไ่ ดร้ บั การผอ่ นผันให้เขา้ รับการวดั ผลปลายภาคเรยี น “ร” หมายถึง รอการตัดสินและยังตัดสินผลการเรียนไม่ได้ เนื่องจากผู้เรียนไม่มีข้อมูลผลการเรียน รายวิชาน้ันครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วัดผลระหว่างภาคเรยี น/ปลายภาคเรียน ไม่ได้ส่งงานท่ีมอบหมายให้ทำ ซ่ึงงาน นั้นเป็นส่วนหน่ึงของการตัดสินผลการเรียน หรือมีเหตุสุดวิสัยท่ีทำให้ประเมินผลการเรียนไม่ได้การประเมิน การอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นน้ั ให้ผลการประเมินเป็นผ่านและ ไมผ่ ่าน กรณีท่ี ผ่านใหร้ ะดับผลการเรยี นเปน็ ดีเย่ยี ม ดี และผ่าน ๑) ในการสรุปผลการประเมินอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เพื่อการเลื่อนช้ัน และจบการศึกษา กำหนดเกณฑก์ ารตดั สินเป็น ๔ ระดับ และความหมายของแตล่ ะระดับ ดงั น้ี ดเี ย่ียม หมายถงึ มผี ลงานท่แี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนทีม่ ี คณุ ภาพดเี ลศิ อยู่เสมอ ดี หมายถงึ มีผลงานท่ีแสดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนท่ีมี คณุ ภาพเป็นที่ยอมรบั ผ่าน หมายถงึ มีผลงานทแี่ สดงถงึ ความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี นท่ีมี คุณภาพเป็นทย่ี อมรับ แต่ยงั มีข้อบกพรอ่ งบางประการ

๓๘ ไมผ่ า่ น หมายถึง ไม่มีผลงานทแี่ สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น หรือ ถ้ามีผลงาน ผลงานนั้นยังมขี ้อบกพร่องทตี่ ้องได้รบั การปรบั ปรุงแกไ้ ขหลาย ประการ ๒) ในการสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รวมทุกคุณลักษณะ เพ่ือการเล่ือนชั้นและ จบการศกึ ษา กำหนดเกณฑก์ ารตดั สินเปน็ ๔ ระดับ และความหมายของแต่ละระดบั ดังน้ี ดเี ยี่ยม หมายถงึ ผู้เรียนปฏิบตั ติ นตามคุณลักษณะจนเป็นนสิ ยั และนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน เพ่ือประโยชนส์ ุขของตนเอง และสังคม โดยพจิ ารณาจากผลการประเมินระดบั ดีเยยี่ ม จำนวน ๕ - ๘ คุณลกั ษณะ และไม่มีคณุ ลกั ษณะใดได้ผลการประเมนิ ต่ำกว่าระดับดี ดี หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลกั ษณะในการปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ์เพื่อให้เปน็ ท่ยี อมรบั ของ สังคม โดยพจิ ารณาจาก ๑. ได้ผลการประเมนิ ระดับดีเยย่ี ม จำนวน ๑ - ๔ คุณลกั ษณะและไม่มี คณุ ลกั ษณะใดไดผ้ ลการเมินต่ำกว่าระดบั ดี หรือ ๒. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดที ้ัง ๘ คุณลักษณะ หรือ ๓. ไดผ้ ลการประเมินตั้งแตร่ ะดบั ดีขนึ้ ไป จำนวน ๕ - ๗ คณุ ลักษณะ และ มบี างคณุ ลักษณะไดผ้ ลการประเมินระดบั ผ่าน ผ่าน หมายถึง ผูเ้ รยี นรบั รแู้ ละปฏิบตั ิตามกฎเกณฑแ์ ละเง่ือนเขทีส่ ถานศกึ ษากำหนด โดยพจิ ารณาจาก ๑. ได้ผลการประเมินระดับผ่านทง้ั ๘ คณุ ลกั ษณะ หรือ ๒. ได้ผลการประเมินต้ังแตร่ ะดบั ดขี น้ึ ไป จำนวน ๑ - ๔ คณุ ลกั ษณะ และ คณุ ลักษณะที่เหลือได้ผลการประเมนิ ระดบั ผา่ น ไมผ่ ่าน หมายถึง ผเู้ รยี นรบั รแู้ ละปฏิบตั ิไมค่ รบตามกฎเกณฑแ์ ละเงื่อนไขที่สถานศึกษากำหนด โดยพจิ ารณาจากผลการประเมนิ ระดบั ไม่ผา่ น ตง้ั แต่ ๑ คุณลกั ษณะ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ กิจกรรม และผลงานของผู้เรียนตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็น ผ่าน และไมผ่ า่ น กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น มี ๓ ลกั ษณะ คือ ๑) กจิ กรรมแนะแนว ๒) กจิ กรรมนกั เรยี น ซ่งึ ประกอบดว้ ย (๑) กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผู้บำเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษาวิชาทหารโดย ผเู้ รียนเลือกอย่างใดอย่างหนึง่ (๒) กจิ กรรมชมุ นมุ หรือชมรม ท้ังน้ี ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมทั้งข้อ (๑) และ (๒) สำหรับผู้เรียน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายสามารถเลอื กเขา้ รว่ มกจิ กรรมใดกิจกรรมหนง่ึ ในขอ้ (๑) หรอื (๒) ๓) กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ใหใ้ ชต้ วั อกั ษรแสดงผลการประเมิน ดงั นี้ “ผ” หมายถึง ผู้เรยี นมเี วลาเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและมผี ลงานตาม เกณฑท์ ่สี ถานศกึ ษากำหนด “มผ” หมายถงึ ผู้เรียนมเี วลาเข้าร่วมกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ปฏิบตั กิ ิจกรรมและมผี ลงาน ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากำหนด

๓๙ ๓. การจบระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ๓.๑ การเปลย่ี นผลการเรยี น “๐” สถานศึกษาจัดให้มีการสอนซ่อมเสริมในมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้ีวัดท่ีผู้เรียนสอบ ไม่ผ่านก่อน แล้วจึงสอบแก้ตัวได้ไม่เกิน ๒ ครั้ง ถ้าผู้เรียนไม่ดำเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาที่สถานศึกษา กำหนดใหอ้ ย่ใู นดุลยพินจิ ของสถานศึกษาท่ีจะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก ๑ ภาคเรียน สำหรับภาคเรียนท่ี ๒ ตอ้ งดำเนนิ การใหเ้ สรจ็ สิน้ ภายในปีการศกึ ษานั้น การสอบแก้ตัวใหไ้ ด้ระดับผลการเรยี นไมเ่ กนิ “๑” ถ้าสอบแก้ตัว ๒ คร้ังแล้ว ยังได้ระดับผลการเรียน “๐” อีก ให้สถานศึกษาแต่งต้ัง คณะกรรมการดำเนนิ การเกี่ยวกบั การเปลี่ยนผลการเรยี นของผู้เรียน โดยปฏิบตั ิดงั น้ี ๑) ถา้ เปน็ รายวชิ าพนื้ ฐาน ให้เรียนซำ้ รายวชิ านั้น ๒) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ให้เรียนซ้ำหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ท้ังนี้ให้อยู่ในดุลย พนิ ิจของสถานศึกษา ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียน แทนวชิ าใด ๓.๒ การเปล่ียนผลการเรียน “ร” การเปล่ยี นผลการเรยี น “ร” ใหด้ ำเนินการดังนี้ ให้ผ้เู รยี นดำเนินการแก้ไข “ร” ตามสาเหตุ เม่อื ผู้เรียนแก้ไขปัญหาเสร็จแล้ว ให้ไดร้ ะดับ ผลการเรียนตามปกติ (ตง้ั แต่ ๐ - ๔) ถ้าผู้เรียนไม่ดำเนินการแก้ไข “ร” กรณีที่ส่งงานไม่ครบ แต่มีผลการประเมินระหว่าง ภาคเรียนและปลายภาค ให้ผู้สอนนำข้อมูลท่ีมีอยู่ตัดสินผลการเรยี น ยกเว้นมีเหตสุ ุดวสิ ัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของ สถานศึกษาท่ีจะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอีกไม่เกิน ๑ ภาคเรียน สำหรับภาคเรียนท่ี ๒ ต้องดำเนินให้ เสร็จส้ินภายในปีการศึกษาน้ัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้วให้เรียนซ้ำ หากผลการเรียนเป็น “๐” ให้ดำเนินการแก้ไข ตามหลกั เกณฑ์ ๓.๓ การเปล่ียนผลการเรียน “มส” การเปลีย่ นผลการเรียน “มส” มี ๒ กรณี ดังนี้ ๑) กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ แต่มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนในรายวิชานั้น ให้สถานศึกษาจัดให้เรียนเพิ่มเติม โดยใช้ชั่วโมงสอนซ่อมเสริม หรือใช้เวลาว่าง หรือใช้วันหยุด หรือมอบหมายงานให้ทำ จนมีเวลาเรียนครบตามท่ีกำหนดไว้สำหรับรายวิชาน้ันแล้วจึงให้วัดผลปลายภาคเป็นกรณี พิเศษ ผลการแก้ “มส” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “๑” การแก้ “มส” กรณีน้ีให้ กระทำให้เสร็จส้ินในปีการศึกษาน้ัน ถ้าผู้เรียนไม่มาดำเนินการแก้ “มส” ตาม ระยะเวลาท่ีกำหนดไว้น้ีให้เรียนซ้ำ ยกเว้น มีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของ สถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอีก ไม่เกิน ๑ ภาคเรียน แต่เม่ือพ้น กำหนดน้ีแลว้ ใหป้ ฏบิ ตั ดิ ังนี้  ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐานให้เรยี นซำ้ รายวิชานน้ั  ถ้าเป็นรายวิชาเพ่ิมเติมโดยให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา ให้เรียนซ้ำหรือเปลี่ยน รายวชิ าเรียนใหม่ ๒) กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” และมีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียน ท้งั หมด ให้สถานศกึ ษาดำเนนิ การดงั น้ี

๔๐  ถา้ เปน็ รายวชิ าพื้นฐานให้เรียนซำ้ รายวชิ านนั้  ถ้าเป็นรายวิชาเพ่ิมเติมโดยให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา ให้เรียนซ้ำหรือเปลี่ยน รายวชิ าเรยี นใหม่ ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทน รายวิชาใด การเรียนซ้ำรายวิชา ผู้เรียนท่ีได้รับการสอนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัว ๒ คร้ังแล้วไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมิน ให้เรียนซ้ำรายวิชานั้น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการจดั ให้เรียนซ้ำในช่วงใด ช่วงหนงึ่ ท่ีสถานศกึ ษาเห็นว่าเหมาะสม เช่น พกั กลางวนั วนั หยดุ ชั่วโมงว่างหลังเลิกเรียน ภาคฤดรู ้อน เปน็ ตน้ ในกรณีภาคเรียนท่ี ๒ หากผู้เรียนยังมีผลการเรียน “0” “ร” “มส” ให้ดำเนินการให้เสร็จสิ้น กอ่ นเปิดเรียนปีการศึกษาถัดไป สถานศึกษาอาจเปิดการเรยี นการสอนในภาคฤดูร้อนเพ่ือแก้ไขผลการเรียน ของผู้เรียนได้ ทั้งน้ี หากสถานศึกษาใดไม่สามารถดำเนินการเปิดสอนภาคฤดูร้อนได้ให้สำนักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษา/ต้นสังกัดเปน็ ผู้พิจารณาประสานงานให้มกี ารดำเนินการเรยี นการสอนในภาคฤดู ๓.๔ การเปล่ียนผล “มผ” กรณีที่ผู้เรียนได้ผล “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทำกิจกรรมในส่วนท่ีผู้เรียน ไม่ได้เข้าร่วมหรือไม่ได้ทำจนครบถ้วน แล้วจึงเปล่ียนผลจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ท้ังน้ี ดำเนินการให้เสร็จสิ้น ภายในภารคอ้ เรนียเพน่ือนแ้ันกๆไ้ ขผยลกกเวาน้รเมรีียเหนตขุสอุดงผวิสูเ้ รัยยี ในหอ้ ยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก ไมเ่ กนิ ๑ ภาคเรยี น สำหรับภาคเรยี นท่ี ๒ ตอ้ งดำเนนิ การใหเ้ สรจ็ สน้ิ ภายในปีการศกึ ษานั้น ๔. การเลื่อนช้นั เม่อื สิ้นปีการศึกษา ผเู้ รยี นจะไดร้ บั การเลื่อนชน้ั เมือ่ มคี ณุ สมบตั ติ ามเกณฑ์ ดังตอ่ ไปน้ี ๑) รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมได้รับการตัดสินผลการเรียนผ่านตามเกณฑ์ท่ี สถานศกึ ษากำหนด ๒) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนดใน การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ละกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๓) ระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษาน้ันควรได้ไม่ต่ำกว่า ๑.๐๐ ในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น และไมต่ ำ่ กว่า ๒.๐๐ ในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ท้ังน้ีรายวิชาใดท่ีไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน สถานศึกษาสามารถซ่อมเสริมผู้เรียนให้ได้รับ การแกไ้ ขในภาคเรียนถัดไป ท้งั น้ีสำหรบั ภาคเรียนที่ ๒ ต้องดำเนนิ การให้เสร็จสิ้นภายในปกี ารศึกษาน้ัน ๕. การเรียนซ้ำ ผู้เรียนท่ีไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับช้ันท่ี สูงขึ้น สถานศึกษาอาจต้ังคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำช้ันได้ ท้ังนี้ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ ความสามารถของผ้เู รียนเป็นสำคัญ การเรยี นซ้ำชัน้ มี ๒ ลกั ษณะ ดงั นี้ ๑) ผู้เรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษาน้ันต่ำกว่า ๑.๐๐ และ ๒.๐๐ ในแต่ละระดับ และมแี นวโนม้ ว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับช้ันที่สูงขึ้น ๒) ผูเ้ รียนมีผลการเรียน ๐ , ร , มส เกินครึ่งหน่ึงของรายวิชาทล่ี งทะเบยี นเรียนในปีการศกึ ษานั้น ทั้งนี้หากเกิดลักษณะใดลักษณะหน่ึงหรือท้ัง ๒ ลักษณะให้สถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการ พิจารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตผุ ลอนั สมควรก็ให้ซ้ำช้ัน โดยยกเลิกผลการเรียนเดิมและให้ใช้ผลการเรียนใหม่แทน หากพจิ ารณาแล้วไม่ตอ้ งเรยี นซ้ำช้ัน ให้อยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของสถานศึกษาในการแก้ไขผลการเรียน

๔๑ ๖. การสอนซอ่ มเสรมิ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดให้สถานศึกษาจัดสอนซ่อม เสริมเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผเู้ รียนเต็มตามศกั ยภาพ การสอนซ่อมเสริม เปน็ การสอนเพือ่ แกไ้ ขข้อบกพร่องทพ่ี บในผู้เรยี น กรณีผู้เรียนมคี วามรู้ ทักษะ กระบวนการ หรือเจตคติ / คุณลักษณะ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนด สถานศกึ ษาต้องจัดสอนซ่อม เสริมเป็นกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามปกติ เพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถบรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรู้ / ตัวช้ีวัดทก่ี ำหนดไว้ เป็นการให้โอกาสแกผ่ เู้ รียนและพัฒนา โดยจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีหลากหลาย และตอบสนองความแตง่ ตา่ งระหว่างบุคคล การสอนซ่อมเสรมิ สามารถดำเนินการไดใ้ นกรณี ดงั ต่อไปนี้ ๑) ผู้เรียนมีความรู้ / ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอท่ีจะศึกษาในแต่ละรายวิชาน้ัน ควรจัดการสอน ซอ่ มเสริม ปรบั ความรู้ / ทกั ษะพ้ืนฐาน ๒) ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทักษะกระบวนการ หรือเจตคติ / คุณลักษณะท่ีกำหนดไว้ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้วี ดั ในการประเมินผลระหว่างเรียน ๓) ผเู้ รียนได้ระดบั ผลการเรียน “๐” ตอ้ งจดั การสอนซอ่ มเสรมิ กอ่ นสอบแกต้ วั ๔) กรณีผู้เรียนมีผลการเรียนไม่ผ่าน สามารถจัดสอนซ่อมเสริมในภาคฤดูร้อนเพ่ือแก้ไขผล การเรยี นทัง้ น้ีให้อยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของสถานศกึ ษา จากรายละเอียดต่าง ๆ ข้างต้น สรุปเป็นแผนภาพที่ ๒.๖ แสดงกระบวนการตัดสินและแก้ไขผล การเรียนระดับมธั ยมศึกษาดงั ต่อไปนี้

๔๒ ได้ “๐” ได้ “๑” แก้ “ร” ผา่ น “ร” สดุ วสิ ยั ได้ ๑ - ๔ “ร” ไมใ่ ช่สุดวิสยั ได้ ๑ แกต้ วั ได้อีก ๑ คร้ัง ได้ “ร” สอนซ่อมเสริม/สอบแกต้ วั ไม่แก้ ได้ “๐” ได้ “๑” ไมเ่ ขา้ วัดผลปลายภาค “ร” ได้ “๐” ภายใน ๑ ภาค เรยี น ได้ “๑” สอนซ่อมเสริม/ จัดสอบให้ สอบแกต้ วั ได้ “๑-๔” เรยี นเพม่ิ เตมิ ถ้าจะแก้ “๐” ใหม้ ีเวลาเรยี นครบ ย่นื คำรอ้ ง ได้ “๐” ๖๐%<เวลาเรยี น<๘๐% เวลาเรียน < ๖๐% ตดั สินผลการเรยี น ได้ “มส” แก้ “ร” วัดผลปลาย อนุญาต ไมอ่ นุญาต เรียบรอ้ ย ภาคเรยี น ดลุ ยพนิ จิ ไม่แก้ ไมแ่ ก้ ได้ “ร” มเี วลาเรยี น ๘๐% “มส” “ร” มเี วลาเรยี น ภายใน ภายใน วัดผลระหวา่ ง ไมถ่ ึง ๘๐% ภาคเรยี น ภาค ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ภาค นน้ั เรยี น เห็นชอบ น้นั เรียน เรยี นซำ้ สง่ งานไมค่ รบ ไมเ่ ขา้ สอบกลางภาค เรยี นซ้ำ แผนภาพที่ ๒.๖ แสดงกระบวนการตัดสนิ และแก้ไขผลการเรียนระดับมธั ยมศกึ ษา

๔๓ ๗. เกณฑ์การจบระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๖๖ หน่วยกิต และรายวิชา เพ่มิ เตมิ ตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด ๒) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน ๖๖ หน่วยกิต และรายวิชาเพ่มิ เตมิ ไม่น้อยกวา่ ๑๑ หน่วยกิต ๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ระดับ “ผ่าน” เกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศึกษากำหนด ๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับ “ผ่าน” เกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษากำหนด ๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศึกษากำหนด ๖) ผ้เู รยี นต้องได้ผลการเรียนเฉลย่ี สะสม ไม่ต่ำกวา่ ๑.๐๐ (จุดเน้นของสถานศกึ ษา) การเทียบโอนผลการเรียน สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนรู้จากสถานศึกษาได้ในกรณีต่าง ๆ ไดแ้ ก่ การย้ายสถานศกึ ษา การเปล่ียนรปู แบบการศกึ ษา การยา้ ยหลักสูตร การออกกลางคัน และการขอกลับเข้า รบั การศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนยี้ ังสามารถเทยี บโอนความรู้ ทกั ษะประสบการณจ์ ากแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบนั ทางศาสนา สถาบันการฝึกอบรม อาชีพ การจดั การศึกษาโดยครอบครวั เป็นตน้ การเทียบโอนผลการเรียนควรดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียน หรือต้นภาคเรยี นท่สี ถานศึกษารับ ผู้ขอเทียบโอนเป็นนักเรียน ทั้งนีน้ กั เรยี นท่ีได้รับการเทยี บโอนผลการเรียนต้องศกึ ษาต่อเนือ่ ง ในสถานศกึ ษาทร่ี ับ เทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาท่ีรับการเทียบโอนควรกำหนดรายวิชา จำนวนหน่วยกิต ทจ่ี ะรับเทยี บโอนตามความเหมาะสม การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถดำเนินการได้ดังนี้ ๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษาและเอกสารอ่ืน ๆ ท่ีให้ข้อมูลที่แสดงความรู้ ความสามารถ ของผู้เรียน ๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียน โดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้งภาคความรู้ และ ภาคปฏบิ ตั ิ ๓. พจิ ารณาจากความสามารถ และการปฏิบตั ิในสภาพจริง การเทียบโอนผลการเรียนให้ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการการเทียบโอนจำนวน ไม่น้อยกว่า ๓ คน แตไ่ มค่ วรเกนิ ๕ คน โดยมแี นวทางในการเทียบโอน ดังนี้ ๑) กรณีผู้ขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอ่ืน ให้นำรายวิชาหรือหน่วยกิตที่มี มาตรฐาน การเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ / จุดประสงค์ / เนื้อหาที่สอดคล้องกันไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ มาเทียบโอน ผลการเรยี น และพิจารณาให้ระดบั ผลการเรยี นใหส้ อดคลอ้ งกับหลักสตู รทีร่ ับเทียบโอน ๒) กรณีการเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ให้พิจารณาจากเอกสารหลักฐาน (ถ้ามี) โดยให้มี การประเมนิ ดว้ ยเคร่อื งมอื ที่หลากหลาย และใหร้ ะดับผลใหส้ อดคล้องกบั หลักสูตรทรี่ ับเทยี บโอน

๔๔ ๓) กรณีการเทียบโอนท่ีนักเรียนเข้าโครงการแลกเปล่ียนต่างประเทศ ให้ดำเนินการตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการเร่ืองหลักการ และแนวปฏิบัติการเทียบชั้นการศึกษาสำหรับนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ แลกเปลย่ี น ทง้ั นี้ วิธกี ารเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามหลักการและแนวทางการเทียบโอนผลการเรียนตาม ประกาศของกระทรวงศึกษาธิการเร่ืองการเทียบโอนผลการเรียนการศึกษาข้ันพื้นฐาน และการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ระดับต่ำกว่าปริญญา ประกาศ ณ วันท่ี ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ และแนวปฏิบัติท่ีเกี่ยวกับ ก า ร เที ย บ โ อ น ผ ล ก า ร เรี ย น เข้ า สู่ ก า ร ศึ ก ษ า ใน ร ะ บ บ ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พ้ื น ฐ า น ซึ่ ง จั ด ท ำ โ ด ย ส ำ นั ก ง า น คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน (สงิ หาคม ๒๕๔๙) โดยมรี ายละเอียดดังตารางตอ่ ไปนี้

แนวปฏบิ ตั กิ ารเทียบโอนผลการเรยี นเข้าสูก่ แนวทาง การเทยี บโอนจากการศึกษาในระบบ การเทียบโอนจากการศกึ ษานอก การเทียบโอนจากการจ การศึกษาโดยครอบคร การพิจารณา เขา้ สู่การศกึ ษาในระบบ ระบบเข้าสู่การศึกษาในระบบ เข้าสู่การศึกษาในระบบ วิธีปฏบิ ตั ใิ น ๑. เทยี บโอนรายวิชา/สาระ/กจิ กรรมท่ี เทียบโอนหมวดวิชา/สาระ/กจิ กรรม ๑. ใหน้ ำผลการวดั และ การจดั เขา้ ชัน้ เรยี น ผา่ นการตดั สนิ ผลการเรยี นจาก ท่ผี า่ นการตัดสนิ ผลการเรยี นจาก ประเมนิ ของเขตพื้นท่ีการศึกษา สถานศกึ ษาเดิมได้ทัง้ หมดและจัดเข้า สถานศึกษาเดิม ประกอบการพิจารณา ช้นั เรยี นตอ่ เน่อื งจากที่เรยี นอยู่เดิม ๑. เรยี นผา่ นอยา่ งนอ้ ย๓หมวด ๒. ใหส้ ถาน ศกึ ษาประ เช่น จบ ป.๑ จัดเขา้ เรียน ป.๒ วชิ า จดั ใหเ้ รยี นปีท่ี ๒ ของระดับชน้ั ความรู้ ทกั ษะ ประสบการ สถานศึกษา อาจประเมินบางรายวิชาที่ และลงทะเบยี นเรียนต่อไปตามปกติ เพื่อการจัดเขา้ ช้ันเรียน จำเปน็ เพอื่ การตรวจสอบความรู้พ้ืนฐาน ๒. เรยี นผา่ นอยา่ งนอ้ ย๖หมวด ๒. รายวิชา/สาระ/กิจกรรมทย่ี ัง วิชา จัดให้เรยี นปีที่ ๓ ของ ไม่ไดต้ ดั สนิ ผลการเรียนใหป้ ระเมนิ ตาม ระดบั ชั้นและลงทะเบียนเรียนตอ่ เกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนดหากไม่ผา่ น ในรายวิชาทจี่ ำเปน็ ตอ้ งเรียน ตามเกณฑใ์ หล้ งทะเบยี นเรียนเพม่ิ เตมิ เพือ่ ใหค้ รบตามเกณฑก์ ารจบ ระดบั ชน้ั ตามหลกั สูตรของ สถานศกึ ษาใหมท่ ร่ี บั เขา้ เรียน จำนวนหนว่ ยกิต/ พจิ ารณาแล้วเห็นวา่ เทยี บโอน พิจารณาแล้วเหน็ วา่ เทยี บโอน จำนวนหนว่ ยให้เปน็ ไปตาม หน่วยการ ผลการเรียนไดจ้ ำนวนหนว่ ยใหเ้ ป็น ผลการเรียนได้จำนวนหนว่ ยให้ เกณฑ์ท่สี ถานศึกษาใหม่กำห เรียน/หน่วย ไปตามโครงสรา้ งหลักสูตรของ เปน็ ไปตามโครงสร้างหลักสตู รของ น้ำหนัก สถานศึกษาเดมิ สถานศึกษาใหม่ ผลการเรียน/ ยอมรับผลการเรียนของสถานศกึ ษา ไม่ต้องให้ผลการเรียนในรายวิชา/ ยอมรบั ผลการประเมินของ ผลการประเมนิ เดิม สาระ/กจิ กรรม ที่ไดจ้ ากการเทยี บโอน พื้นท่ี มาเป็นสว่ นประกอบใ การพจิ ารณา การบนั ทึกผล ๑. ไม่ต้องนำรายวิชาและผลการเรยี น ไมต่ อ้ งนำหมวดวิชาและผลการเรยี น ไมต่ อ้ งนำรายวชิ า การเรียนใน เดิมกรอกในใบแสดงผลการเรยี นของ เดมิ กรอกในใบแสดงผลการเรยี น ผลการเรยี น/ผลการวัดและ ใบแสดงผล สถานศกึ ษาใหม่ แต่ใหแ้ นบ ใบ ของสถานศึกษาใหม่ แตใ่ หแ้ นบ ประเมินเดิมของเขตพื้นท่ีกร การเรยี น แสดงผลการเรยี นเดิมไวก้ บั ใบ ใบแสดงผลการเรยี นเดมิ ไว้กับ ใบแสดงผลการเรยี นของสถานศกึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook