Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาทักษะการขยายอาชีพ_อช 31002

วิชาทักษะการขยายอาชีพ_อช 31002

Published by Kanitta Chuawcharoen, 2020-06-13 00:40:23

Description: 1. อธิบายทักษะที่เกี่ยวข้องในกระบวนการผลิตและการตลาดที่ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีในการขยายอาชีพที่ตัดสินใจเลือก
2. ตรวจสอบระบบความพร้อมในการขยายอาชีพให้มีความมั่นคง
3. ปฏิบัติการวิเคราะห์ตนเองและพัฒนาทักษะการขยายอาชีพให้เป็นลักษณะนิสัย
4. อธิบายความหมาย ความสำคัญของการจัดการอาชีพ เพื่อการขยายอาชีพได้
5. ดำเนินการจัดทำและหรือปรับปรุงแผนธุรกิจด้านการจัดการ การผลิตหรือการบริการและด้านการจัดการ การตลาด ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้
6. ตรวจสอบระบบธุรกิจเพื่อการขยายอาชีพได้
7. ปฏิบัติการจัดทำแผนและโครงการขยายอาชีพได้

Search

Read the Text Version

หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ า ทกั ษะการขยายอาชีพ (อช31002) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจาหน่าย หนงั สือเรียนเลม่ น้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพอ่ื การศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 29/2555

หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ า ทกั ษะการขยายอาชีพ (อช31002) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 29/2555

คํานํา กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เมอ่ื วันท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลกั เกณฑและวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน ตามหลกั สตู รการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นตามหลักปรัชญาและ ความเช่ือพื้นฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนที่มีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและส่ังสม ความรู และประสบการณอ ยางตอเน่ือง ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อน นโยบายทางการศึกษาเพ่ือเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพ ที่ สามารถสรางรายไดท่ีมง่ั คัง่ และมน่ั คง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมี จิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเองและผูอ่ืน สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวงั และเนื้อหาสาระ ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเนื้อหาสาระ เกย่ี วกับอาชพี คณุ ธรรม จริยธรรมและการเตรยี มพรอม เพือ่ เขา สปู ระชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มีความ เก่ียวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือที่ใหผูเรียนศึกษาคนควา ความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปราย แลกเปลย่ี นเรยี นรกู บั กลุม หรอื ศกึ ษาเพม่ิ เติมจากภูมิปญญาทอ งถน่ิ แหลงการเรียนรแู ละสื่ออื่น การปรับปรุงหนังสือเรียนในคร้ังนี้ ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ สาขาวชิ า และผูเก่ยี วของในการจัดการเรียนการสอนท่ีศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากส่ือ ตาง ๆ มาเรยี บเรียงเนอ้ื หาใหค รบถว นสอดคลองกบั มาตรฐาน ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั ตัวช้ีวัดและกรอบ เนื้อหาสาระของรายวิชา สํานกั งาน กศน. ขอขอบคุณผมู สี วนเก่ียวขอ งทกุ ทา นไว ณ โอกาสนี้ และหวงั วา หนงั สอื เรยี นชดุ น้ีจะเปน ประโยชนแ กผ เู รยี น ครู ผูสอน และผูเกี่ยวของในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะ ประการใด สาํ นักงาน กศน. ขอนอ มรบั ดวยความขอบคณุ ยงิ่

สารบัญ หนา คาํ นํา คาํ แนะนาํ การใชห นงั สือเรยี น โครงสรางรายวชิ าทกั ษะการขยายอาชพี บทที่ 1 ทกั ษะในการขยายอาชพี 1 เรื่องที่ 1 ความจําเปนในการฝก ทกั ษะอาชพี 2 เร่ืองท่ี 2 ทกั ษะการใชนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการขยายอาชพี 15 บทที่ 2 ตรวจสอบระบบความพรอ มการสรา งอาชพี ใหม คี วามม่ันคง 24 เรือ่ งท่ี 1 การตรวจสอบระบบความพรอมการสรา งอาชีพใหมัน่ คง 25 บทที่ 3 การพัฒนาตนเองเพ่ือการขยายอาชพี 43 เรอ่ื งท่ี 1 การวิเคราะหทาํ ความเขาใจและรูจ กั ตัวตนทแี่ ทจ ริง 44 เรื่องท่ี 2 การพัฒนาทกั ษะการขยายอาชีพใหเ ปน ลกั ษณะนสิ ัย 48 บทที่ 4 ความหมาย ความสาํ คญั ของการขยายอาชีพ 53 เรือ่ งท่ี 1 ความหมายของการจดั การขยายอาชพี 54 ตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เรอ่ื งท่ี 2 ความสําคัญของการจดั การขยายอาชพี เพือ่ ความมนั่ คง 58 ตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง บทท่ี 5 ความรูเ บ้ืองตน เก่ยี วกับการบริหารจดั การในการขยายอาชพี บทท่ี 6 การจดั ทาํ และพัฒนาระบบการขยายอาชพี 65 ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 87 เร่ืองท่ี 1 องคป ระกอบของระบบขยายอาชีพ 88 ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เรือ่ งที่ 2 การจดั ทาํ แผนธุรกจิ 95 บทท่ี 7 การขับเคลอ่ื นธรุ กิจเพ่อื การขยายอาชีพ 130 เรื่องท่ี 1 การควบคมุ ใหก ารขยายอาชีพเปนไปตามแผนกลยุทธ 131 เรอื่ งที่ 2 การตรวจสอบใหก ารปฏิบัติการขยายอาชพี เกดิ ผลตามแผนปฏบิ ัติการ 137 บทที่ 8 โครงการขยายอาชพี 142 เร่อื งท่ี 1 การจดั ทาํ โครงการขยายอาชพี เพอ่ื นําเสนอแหลงทุน 143

คาํ แนะนําการใชห นังสอื เรยี น หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาทกั ษะการขยายอาชีพ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย เปน แบบเรยี นท่ีจัดทาํ ขึ้น สําหรบั ผูเ รียนทเ่ี ปน นกั ศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาทักษะการขยายอาชีพ ผูเรียนควร ปฏิบตั ิดังนี้ 1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวชิ าใหเขาใจในหัวขอ และสาระสําคัญ มาตรฐานการเรียนรูระดับ และ ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวงั และขอบขายเนอ้ื หาของรายวิชานน้ั ๆ โดยละเอียด 2. ศกึ ษารายละเอยี ดเน้อื หาของแตล ะบทอยา งละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด ถาผูเรียน ไมเ ขา ใจควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหานั้นใหมใหเขาใจ กอ นท่จี ะศกึ ษาเร่อื งตอ ๆ ไป 3. ครูควรทบทวนสาระสําคญั ของรายวชิ าชอ งทางการขยายอาชีพ (อช31001) ใหผูเรียนสามารถ เชื่อมโยงระหวางรายวชิ าได ทาํ ใหเ กดิ ความเขาใจตอเนือ่ งกบั รายวิชาทักษะการขยายอาชีพ 4. หนังสือเรียนเลมนี้เนนการจัดการเรียนรูในลักษณะกระบวนการสวนใหญ จะยกตัวอยาง อาชพี เกษตรกรรมแตอาชีพอืน่ ๆ ก็สามารถนํากระบวนการไปใชไ ด 5. หนังสือเรยี นเลมน้ีมี 8 บท คือ บทที่ 1 ทกั ษะในการขยายอาชีพ บทที่ 2 ตรวจสอบระบบความพรอมการสรางอาชพี ใหม ีความมน่ั คง บทที่ 3 การพฒั นาตนเองเพ่อื การขยายอาชีพ บทท่ี 4 ความหมาย ความสาํ คญั ของการขยายอาชพี บทที่ 5 ความรูเบ้ืองตน เกย่ี วกับการบริหารจดั การในการขยายอาชพี บทที่ 6 การจดั ทําและพฒั นาระบบการขยายอาชีพ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บทที่ 7 การขับเคล่อื นธุรกิจเพ่อื การขยายอาชีพ บทท่ี 8 โครงการขยายอาชีพ

โครงสรางรายวชิ าทกั ษะการขยายอาชพี (อช31002) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู ะดับและผลการเรียนรูทคี่ าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรูร ะดบั 1. มีความรู ความเขาใจ ทักษะในการขยายอาชีพ เพื่อสรางความม่ันคงบนพ้ืนฐานความรูใน กระบวนการผลิต กระบวนการตลาด ท่ีใชนวัตกรรม เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีความ หลากหลายทางชีวภาพ พัฒนาตอยอดและประยกุ ตใชภ มู ิปญ ญา 2. มีความรู ความเขาใจ และสามารถจัดทําแผนงานและโครงการธุรกิจเพ่ือขยายอาชีพเขาสู ตลาดการแขง ขัน ตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื สคู วามม่นั คง ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวงั 1. อธบิ ายทกั ษะทีเ่ กยี่ วขอ งในกระบวนการผลติ และการตลาดทใี่ ชนวตั กรรม เทคโนโลยีในการ ขยายอาชีพท่ีตดั สนิ ใจเลอื ก 2. ตรวจสอบระบบความพรอมในการขยายอาชพี ใหม คี วามมั่นคง 3. ปฏบิ ตั ิการวเิ คราะหต นเองและพัฒนาทกั ษะการขยายอาชพี ใหเปน ลกั ษณะนสิ ยั 4. อธิบายความหมาย ความสําคัญของการจัดการอาชีพ เพ่ือการขยายอาชีพได 5. ดาํ เนนิ การจัดทําและหรอื ปรับปรงุ แผนธุรกิจดานการจัดการ การผลิตหรือ การบริการและ ดา นการจดั การ การตลาด ตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได 6. ตรวจสอบระบบธรุ กจิ เพ่ือการขยายอาชีพได 7. ปฏบิ ัตกิ ารจัดทาํ แผนและโครงการขยายอาชพี ได ขอบขายเนือ้ หา บทที่ 1 ทกั ษะในการขยายอาชีพ บทท่ี 2 ตรวจสอบระบบความพรอ มการสรา งอาชพี ใหม คี วามมน่ั คง บทท่ี 3 การพัฒนาตนเองเพ่อื การขยายอาชพี บทที่ 4 ความหมาย ความสาํ คญั ของการขยายอาชพี บทที่ 5 ความรเู บือ้ งตน เกี่ยวกบั การบรหิ ารจดั การในการขยายอาชีพ บทท่ี 6 การจัดทาํ และพัฒนาระบบการขยายอาชีพ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บทท่ี 7 การขบั เคล่อื นธรุ กิจเพ่ือการขยายอาชพี บทที่ 8 โครงการขยายอาชีพ

1 บทที่ 1 ทักษะในการขยายอาชีพ ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวัง อธิบายทักษะท่ีเก่ียวของในกระบวนการผลิตและการตลาดท่ีใชนวัตกรรม เทคโนโลยีในการ ขยายอาชพี ที่ตดั สินใจเลอื ก ขอบขายเน้อื หา เร่อื งที่ 1 ความจําเปนในการฝก ทกั ษะอาชีพ เร่อื งท่ี 2 ทกั ษะการใชน วตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การขยายอาชีพ สื่อประกอบการเรยี นรู 1. เอกสารหมายเลข 1 ใบความรู เร่ือง ทกั ษะการทํางานบนฐานขอมลู 2. เอกสารหมายเลข 2 ใบความรู เรือ่ ง การตอยอดภมู ปิ ญญายกระดบั ความรูใ หสงู ขึ้น 3. เอกสารหมายเลข 3 ใบความรู เรือ่ ง การสรางความหลากหลาย เพื่อความมั่นคงในอาชพี 4. เอกสารหมายเลข 4 ใบความรู เรื่อง การประเมนิ ประสิทธภิ าพ นวตั กรรม เทคโนโลยี 5. เอกสารหมายเลข 5 ใบความรู เรื่อง การวิเคราะหเพื่อจําแนกบทบาทหนาที่ของนวัตกรรม เทคโนโลยี

2 เรื่องที่ 1 ความจาํ เปน ในการฝก ทกั ษะอาชพี ลักษณะบง ชี้ความสําเรจ็ ของการเรยี นรู 1. มีความเขาใจทกั ษะการทํางานบนฐานความรู 2. เขา ใจการเรยี นรตู อ ยอดภูมปิ ญ ญา ยกระดบั ความรใู หส งู ขึ้น 3. เขาใจความหลากหลายทางชีวภาพ และกิจกรรม เพอ่ื ความมัน่ คงของอาชพี แผนปฏิบัติการเรยี นรู ลักษณะบง ช้ีความสาํ เรจ็ ของการเรียนรู กจิ กรรม การวดั ผล ประเมินผล ส่ือการเรียน 1. มีความเขาใจทกั ษะ เรียนดวยตนเอง 1. การระบเุ หตุการณข อง การทาํ งานบนฐานความรู 1. ผเู รยี นแตล ะคนทําความเขา ใจ การประกอบอาชีพที่ เอกสารหมายเลข 1 เรื่องทักษะการทํางานบน ตองใชความรูข อ มูล ใบความรเู รอ่ื งทักษะการ ฐานขอ มูลจากเอกสารใบความรู สารสนเทศ ทาํ งานบนฐานขอมลู 2. ทบทวนประสบการณก าร ทาํ งานบนฐานขอมูลของ ตนเองแลวบูรณาการความรู เขา ดวยกัน หาแนวทาง วิธีการทํางานบนฐานขอ มูลเพอ่ื ขยายขอบขา ยอาชีพของตนเอง 2. เขา ใจการเรยี นรตู อ เรียนดว ยตนเอง 1. การระบุภูมิปญญาที่ เอกสารหมายเลข 2 ยอดภมู ปิ ญ ญา 1. ผูเรยี นแตล ะคนทําความเขาใจ จะใชเปนความสามารถ ใบความรเู รอ่ื งการ ยกระดับความรูใ หส ูงขน้ึ หลักของการขยาย ตอ ยอดภูมิปญ ญา เร่อื งการตอยอดภูมปิ ญญา ขอบขา ยอาชีพ ยกระดับความรูใหส งู ขึ้น ยกระดบั ความรใู หส ูงขนึ้ เรยี นโดยกลุม 2. ใหคณะผเู รียนทเี่ ปนกลมุ อาชีพ ลักษณะเดียวกัน รวมกลุมกัน 2. การกาํ หนดแนวทาง คน หาภมู ิปญ ญาท่ีจะตอ งใชเ ปน การยกระดบั ความรู ความสามารถหลักและกาํ หนด ใหสูงข้ึน แนวทางยกระดบั ความรูใหส งู ขึ้น เรียนรูดว ยตนเอง 3. เขาใจความ ทาํ ความเขาใจเรื่องการสรางความ 1. ไมค ดิ เชงิ เดยี่ ว เอกสารหมายเลข 3 หลากหลายทางชวี ภาพ หลากหลายในอาชีพ เพอ่ื ความ 2. การบูรณาการความ ใบความรูเรอื่ งการสรา ง และกิจกรรมเพื่อความ ม่นั คง ลดอัตราเส่ยี งของตลาด หลากหลาย สรา ง ความหลากหลาย เพื่อ มนั่ คงของอาชพี ความมน่ั คง ความมั่นคงในอาชพี

3 เอกสารหมายเลข 1 : ใบความรู เร่อื ง ทกั ษะการทํางานบนฐานขอ มลู การขยายอาชีพหลายคนใชว ิธที ําตามกระแสความนิยม เห็นเขาไดดีก็จะทําตามเขาดวย คิดตัดสนิ ใจดวยความรูสึก บางคนกป็ ระสบผลสาํ เรจ็ แตหลายคนพบความลมเหลว แตหากเราหันมามอง คนประสบความสําเร็จอาชีพมั่นคง เราจะเห็นวาบุคคลเหลาน้ีจะทําอะไรตองคิดอยางถี่ถวน หาความรู ขอมูลมากมายมาใชคิดชั่งนํ้าหนักโอกาสความสําเร็จ จัดระบบทําการทดลองสรุปผลจนม่ันใจจึงจะมี การลงทุน การกระทาํ ลักษณะนี้เปน ลกั ษณะของคนทํางานบนฐานขอมลู ผูเรียนการศึกษานอกระบบจึงมี ความจําเปนท่ีจะตองพัฒนาทักษะการทํางานบนฐานขอมูล เพื่อใหการขยายอาชีพเร่ิมตนไดเหมาะสม เฉพาะกบั ตนเอง กรอบแนวคดิ การทาํ งานบนฐานขอมูล   ฐานขอ มูลอาชพี  สรา งแบบจาํ ลอง ปฏบิ ตั กิ ารใชแ ละ ทนุ อาชพี สาํ หรับตนเอง สรปุ บทเรียน ผลติ ภัณฑ ลูกคา ตนเอง แผนภมู กิ รอบแนวคดิ การทาํ งานบนฐานขอมูล จากแผนภูมิกรอบแนวคิดการทํางานบนฐานขอมูล แสดงใหเห็นวา การทํางานบน ฐานขอ มูลจะมีกจิ กรรมอยางนอ ย 3 กิจกรรมที่จาํ เปน สําหรับการพฒั นาตนเองของผูเรียนที่จะตองเรียนรู สรางเปน พฤติกรรมใหเปน ลกั ษณะนสิ ยั ในอนั ท่จี ะเปลยี่ นแปลงหรือขยายขอบขา ยอาชพี สูค วามม่ันคง ฐานขอ มูลอาชพี การดําเนนิ การทางธรุ กจิ มอี งคป ระกอบรวม 4 องคป ระกอบดว ยกนั คอื (1) องคป ระกอบดานทนุ (2) องคป ระกอบดา นผลิตภณั ฑ (3) องคป ระกอบดา นลกู คา (4) องคประกอบดา นตนเอง องคป ระกอบดังกลาวเปนฐานขอมูลอาชีพที่ผูเรียนจะตองจัดระบบขอมูลไวใชทํางาน โดยมรี ายละเอียดดังนี้

4 1. องคประกอบดา นทนุ ประกอบดว ย 1.1 ทนุ อสงั หารมิ ทรพั ย ไดแก บา น ทีด่ ิน โรงงาน ของที่เรามีอยู หรือตองจัดซื้อ จัดทํา ไวใชทาํ ธุรกิจ 1.2 ทุนเงิน มีหรือยัง ถายังไมมีแหลงเงินทุนอยูที่ไหน จะเขาถึงไดอยางไร จะสูกับ ดอกเบย้ี ไดห รือไม 2. องคประกอบดานผลติ ภณั ฑ ประกอบดว ย 2.1 คณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ ตลาดตอ งการอยางไร 2.2 กระบวนการผลติ ท่ีตอ งใช 2.3 นวัตกรรม เทคโนโลยี การลดตน ทุน เปนอยางไร 2.4 นวัตกรรม เทคโนโลยี การผลติ จะเขาถึงไดระดบั ใด 2.5 บรรจุภัณฑ 2.6 การเกบ็ รักษา 3. องคป ระกอบดานลูกคา ประกอบดวย 3.1 คานยิ มเปน อยางไร 3.2 ชอ งทางเขา ถึงลกู คา 3.3 การสรางความภกั ดใี หเ กดิ กบั ลกู คา 3.4 การสง เสรมิ การขาย 4. องคป ระกอบดา นตนเอง ประกอบดวย 4.1 ความรทู กั ษะการดาํ เนนิ งาน ตอ งมีอะไรบา ง 4.2 การพัฒนาทมี งาน คนงาน จะตอ งทาํ อะไร อยางไร 4.3 ความนา เชอื่ ถือของเรา 4.4 สงั คม สง่ิ แวดลอม กับสถานประกอบการของเรา จากรายละเอียดพอสังเขปดังกลาวขางตน ผูเรียนจะตองสืบคน เรียนรู ทําความเขาใจ อยา งลกึ ซึง้ สําหรับตัดสินใจออกแบบระบบทาํ งานหรอื จะคอย ๆ ศึกษา สรางความมั่นใจดานการจัดทํา แบบจําลองอาชีพแลวทดลองทําเพ่ือสรุปผล ตดั สินใจกําหนดขนาดธรุ กจิ หรือจะยกเลิกเปลี่ยนความคิด

5 การสรา งแบบจําลองอาชีพ แบบจาํ ลองอาชีพ เปนเหมือนสมมติฐาน เพื่อการพิสูจนของการทําอาชีพ โดยมีขั้นตอน ดําเนนิ การดงั น้ี ข้ันตอนที่ 1 การศึกษาเบอ้ื งตน เพ่อื สรปุ ขอมลู สรา งแบบจําลองอาชีพ โดยเร่ิมตนวิเคราะหฐานขอมูลอาชีพที่เราจะทําท้ัง 4 องคประกอบ แลวนําขอมูลมา กาํ หนดรูปแบบเบือ้ งตน เพอื่ การทดลองสรุปขอ มลู สารสนเทศ ดงั ตวั อยาง ธรุ กจิ เปาหมาย กิจกรรม วิธกี ารทาํ งาน สมมตฐิ าน ปจจยั นําเขา ปลกู มะเด่อื ฝรง่ั อบแหง - ขยายพนั ธุ 1. ใหผลผลิตลกู สด 1. มะเดอื่ ฝรั่งสาย เขาสตู ลาด - งานผลิตปุย หมัก 5 กก./ตน /ป พันธุญป่ี นุ - งานผลิตจุลนิ ทรยี  2. ไดผลผลิตแหง 2. ขไ้ี กท าํ ปยุ หมกั - งานปลูกบาํ รุงรกั ษา 1.5 กก./ตน /ป 3. จลุ ินทรีย พด. 1 - งานอารักขาตน พืช 3. พน้ื ที่ 1 ไรสามารถ พด. 2 และ พด. 3 - งานเก็บเกย่ี ว ปลกู ได 400 ตน 4. พน้ื ท่ดี นิ 1 ไร - งานอบแหง - งานบรรจุหีบหอ ข้ันตอนท่ี 2 การจดั ทาํ แบบจาํ ลอง หลังจากการศึกษาเบอ้ื งตน ผลการทดลองไดขอมลู สารสนเทศตามที่กําหนดแลวนํามาจัดทํา แบบจําลองธุรกิจ การผลิตลกู มะเด่อื ฝรัง่ อบแหง (Fix) เขา สูตลาดใหไดส ปั ดาหล ะ 200 กก. ดังตัวอยา งนี้ 1. รปู แบบการดาํ เนินงาน เปา หมาย เกณฑชี้วดั กจิ กรรมวธิ กี ารทํางาน ปจจัยดาํ เนนิ งาน ผลติ มะเดือ่ ฝรัง่ อบแหง ความสําเร็จ (Fix) เขา สูตลาด 1. ผลผลิตสดได 5 กก./ 1. ขยายพนั ธุโดยวิธีปก ชาํ 1. สารเคมเี รง รากพืช สัปดาหล ะ 200 กก. ตน /ป แปรรปู เปน 2. ผลิตปุยหมักจากมูลไก 96 ตัน/ป 2.ถงุ และขยุ มะพรา ว ปก ชาํ ผลแหงได 1.5 กก./ตน/ป 3. งานผลิตจลุ ินทรยี  9,600 ลิตร/ป 3. มูลไก 96 ตัน 2. ตอ งปลูกตน มะเดอ่ื ฝร่ัง 4. งานปลกู บํารงุ รกั ษา 16 ไร 4. จุลนิ ทรยี  จาํ นวน 6,400 ตน 5. งานอารักขาพืช - พด. 1 3. ใชพน้ื ท่ี 16 ไร 6. งานเก็บเก่ยี ว - พด. 2 7. งานอบแหง - พด. 3 8. งานบรรจหุ บี หอ 5. ทด่ี นิ พฒั นา คุณภาพแลว 16 ไร

6 2. เอกสารขัน้ ตอนการทํางาน เปนการนํากิจกรรมวิธีการไปจัดทํารายละเอียดวิธีการ ขนั้ ตอนการทาํ งานเปนเอกสาร เพอ่ื ใหคนทาํ งานไดใ ชปฏบิ ัตติ าม ปฏบิ ตั ิการใชและสรปุ บทเรียน ขั้นตอนนีเ้ ปนการปฏิบตั กิ ารเรมิ่ ตน ทดลองเตม็ รปู แบบการทําธุรกิจจริงดานการวางแผน ปฏบิ ัติการ(Plan) ทํางานตามแผนปฏิบัติการ(Do) ติดตามตรวจสอบหาขอบกพรอง (Check) ปฏิบัติการ แกไขขอบกพรอง (Action) เปนวงจร PDCA โดยในทุกข้ันตอนตองมีการจดบันทึกขอมูลเกี่ยวกับ ปรากฏการณ ผลที่เกิดและผลกระทบอยางเปนระบบ เพ่ือนํามาสรุปบทเรียนพัฒนาระบบธุรกิจใหมี ประสิทธิภาพอยางตอ เนื่องเขาสูความม่นั คง สรุป การประกอบธุรกิจทั้งภาคการผลิต ภาคบริการ เปนอาชีพอิสระท่ีผูประกอบการตอง สรางภูมิคมุ กันใหก บั ธุรกจิ ของตนเอง จะตอ งอาศยั ขอ มูลสารสนเทศทางอาชีพมากมาย ซึ่งสามารถจํากัด ขอบเขตลงได 4 องคประกอบ คอื (1) ทุน (2) ผลิตภณั ฑห รอื บรกิ ารท่ีจะทํา (3) ลูกคา และ (4) ตนเอง มา ใชตั้งแตเริ่มตนคิดตัดสินใจ กําหนดแบบจําลองอาชีพใหเหมาะสมกับตนเอง และปฏิบัติการใชสรุป บทเรียนเปนองคค วามรูท ีจ่ ะตองถูกพัฒนาใหสูงสดุ เปนระยะ ๆ ดว ยตนเอง การกระทําดังกลาวหรือเร่ือง ของการใชขอมูลสารสนเทศเขามาใชทํางานท้ังส้ินจําเปนที่ผูเรียนจะตองพัฒนาทักษะการทํางาน บนฐานขอ มูลไปอยางตอเนอื่ ง กจิ กรรมท่ี 1 1. ผูเรยี นพจิ ารณาอาชพี ของตนเอง หรอื อาชพี ท่สี นใจวา มคี วามจาํ เปนตอ งฝกทกั ษะเพือ่ ขยายอาชีพ ดานใดบา ง อยา งไร 2. ผูเรียนสรางแบบจาํ ลองอาชีพทตี่ นเองประกอบอยู หรืออาชีพตามความสนใจ หรือถอดบทเรียน การจาํ ลองอาชพี จากภูมิปญญามา 1 อาชพี โดยมีองคประกอบ 2 ข้ันตอน คือการศึกษาเบ้ืองตน เพ่ือสรปุ ขอ มลู สรา งแบบจาํ ลองอาชีพ และการจดั ทําแบบจาํ ลอง

7 เอกสารหมายเลข 2 : ใบความรู เร่อื ง การตอยอดภมู ปิ ญญายกระดบั ความรูใหส งู ขน้ึ การถายทอดภูมปิ ญญาจากเจา ขององคค วามรไู ปสบู ุคคลท่ีรบั การถายทอด สวนใหญจะ ใหความสําคัญกับเทคนิค ขั้นตอน วิธีการของการทํางานหรือการแกปญหา แตในความเปนจริงแลว ภูมิปญญายังมีองคประกอบอื่น ๆ อีกมากมาย เปนองครวมท่ีจะนําไปสูความสําเร็จ มั่นคง ย่ังยืนได แตผ ูรบั การถา ยทอดมักจะมงุ ไปรับเทคนคิ วิธกี ารมากกวา เชน ภมู ปิ ญ ญาแยกอินทรียก็จะใหความสําคัญ กับวิธกี ารทําปุยหมัก ปุยนํ้า เทานั้น ทั้ง ๆ ยังมีสวนประกอบอ่ืน ๆ ท่ีสําคัญมากมาย ดังน้ัน การตอยอด ภมู ปิ ญ ญาจงึ เปน เรื่องทจ่ี ะตองมกี ระบวนการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ เพ่ือยกระดับความรูใหสูงขึ้น สอดคลอ งไปกบั ยุคสมัย กรอบความคดิ การถา ยทอดภมู ิปญ ญานาจะมกี รอบแนวคดิ ดังน้ี ขนั้ ตอนการวเิ คราะห ขนั้ ตอนศกึ ษา ข้ันตอนพฒั นา ภมู ิปญ ญา เจาะลึก 1.1 วเิ คราะหภ ูมิปญ ญาระบภุ ารกจิ ระบคุ วามรสู ารสนเทศ ตอยอดภมู ิปญญา 1.2 วิเคราะหภารกจิ ระบุกจิ กรรม และขอ มูล ศกึ ษาทบทวน ปรับแตง พฒั นาเขา สยู ุคสมยั 1.3 วเิ คราะหก ิจกรรมระบุข้นั ตอนระบบ ทําความเขาใจใหกระจา ง 1.4 วเิ คราะหข้ันตอนระบบ ระบุเทคนคิ วธิ กี าร

8 1. กรอบการคิดวเิ คราะห ภมู ปิ ญ ญาและการศกึ ษาเจาะลึก กรณกี ารผลติ ผลมะเด่ือฝร่งั อบแหง ภารกจิ กจิ กรรม ขน้ั ตอนระบบของภูมิปญญา เทคนิควิธกี าร สารสนเทศ ความรทู จ่ี าํ เปน ผลติ ผลสด 1. การขยายพนั ธุ 1.1 การควัน่ ก่งิ 1.1.1 เลอื กตําแหนง ใตตา 1.1.2 ใชม ดี ควั่นรอบกิ่ง 1.1.3 ขดู เยอ่ื เจรญิ ออก 1.4 ทาฮอรโมนเรง ราก ชนดิ ของฮอรโ มน ใหป ด ทบั รอยแผล เรง รากและวิธใี ช ดานบน ท่ีมจี ําหนา ยใน ทอ งตลาด 2. การปลูกบํารงุ รกั ษา 1.2 การหอวัสดตุ อน 3. การอารกั ขาพืช ผลิตผล 1. การเกบ็ เกี่ยว อบแหง 2. การแปรรูป 3. การบรรจุภณั ฑ 2. กรอบการคิดพฒั นาตอ ยอดภูมิปญ ญาเขาสยู คุ สมยั ภูมปิ ญญา ทฤษฎีแนวคดิ ยคุ ใหม 1. ภารกจิ ของภูมิปญญา 1. ความเหมาะสมของ 1.1 บทบาทหนา ที่ของ การบรหิ ารจดั การคณุ ภาพ ผปู ระกอบการธรุ กจิ 2. กจิ กรรม ขน้ั ตอนระบบ 1.2 การบริหารทรัพยากรดาํ เนินงาน ของภูมิปญ ญา 2. ความเหมาะสมของ 1.3 การบริหารการผลิต ระบบการผลติ 1.4 การควบคมุ คณุ ภาพ 3. เทคนคิ วธิ กี าร 3. ความเหมาะสมของ 2.1 คณุ ภาพผลผลติ เทคนิควธิ ีการ 2.2 ประสิทธิภาพของกระบวนการผลติ 2.3 ความสามารถของปจจัยนําเขา 3.1 ความสามารถลดตนทุนและเวลา 3.2 มคี วามถกู ตอ ง เสียหายนอย 3.3 สงิ่ แวดลอ มปลอดภยั

9 จากกรอบแนวคดิ ดังกลา ว ผเู รียนจะพบวา การขยายอาชีพหรือพัฒนาอาชีพเขาสูความ มั่นคงเปน เรอ่ื งของการคดิ วิเคราะห การใชสารสนเทศขอมูล การประยกุ ตใ ชค วามรู เปนเรื่องสําคัญของ การตอยอดภมู ิปญ ญามายกระดับความรใู หส ูงขนึ้ การตอยอดภูมิปญ ญายกระดับความรูใหสูงข้ึน เปนกระบวนการขั้นตอนการวิเคราะหภูมิปญญาทองถ่ิน เพ่ือใหมีความรูเกิดความ กระจา งในองคค วามรูข องภูมิปญญานําไปสูการวเิ คราะห ระบุ ทฤษฎีแนวคิดยุคใหมใชยกระดับความรู ใหสงู ขน้ึ ดังแผนภูมิน้ี

10 แผนภูมิตอ ยอดภูมปิ ญญายกระดับความรู ภูมิปญ ญาผลติ ผลมะเด่อื ฝรง่ั อบแหง การวเิ คราะหร ะบบ เพอื่ ระบุทฤษฎแี นวคดิ ยคุ ใหมใ ชยกระดับความรใู หสูงข้นึ ภารกจิ ความเหมาะสมของ การบริหารจดั การ 1. การผลติ ผลสด - บทบาทเจาของธุรกจิ ขอมลู สารสนเทศ 2. การผลิตผลแหง - การบรหิ ารทรพั ยากร ยกระดบั ความรใู หส ูงขนึ้ - การบริหารการผลิต กิจกรรมระบบ - การควบคมุ คุณภาพ 1. การบรหิ ารจัดการคณุ ภาพ การดําเนนิ งาน ความเหมาะสมของระบบ ISO 90001/2000 - คณุ ภาพผลผลิต ขอมูลสารสนเทศ - ประสทิ ธิภาพของ ยกระดับความรใู หสงู ขนึ้ กระบวนการ - ความสามารถของ 1. การกาํ หนดมาตรฐานผลผลติ ปจ จัยดาํ เนนิ การ 2. การจดั การระบบ ISO 3. การควบคุมเชิงกลยทุ ธ ความเหมาะสมของ เทคนคิ วธิ กี าร 1. การขยายพนั ธุ ปจจยั การคว่ัน การหอ ก่ิงพันธุ 2. การปลกู นําเขา กิง่ วสั ดุ พรอมปลูก 3. การอารกั ขาพืช ขนั้ ตอน 1. เลอื กตําแหนง ใตต า 1. นําถงุ ขนาด 2” บรรจขุ ุย วธิ ีการ 2. ควน่ั เปลอื กใตตา มะพรา วมคี วามช้ืนมัดปากถงุ ให ทาํ งาน 3. ขูดเยอ่ื เจริญ แนน 4. ทาฮอรโมนเรง ราก 2. ผา ถุงมคี วามยาวหุมรอยแผล ใหม ดิ ชิด 3. มัดตุม ดว ยเชือกฟางตดิ กบั กิง่ ใหแนน 4. ทาฮอรโมนเรงราก

11 เอกสารหมายเลข 3 : ใบความรู เร่อื ง การสรา งความหลากหลายเพือ่ ความมัน่ คงในอาชีพ กรอบความคิด ความหลากหลาย ผลผลิตเพ่ิม มีรายได อาชพี ทางชวี ภาพและ มั่นคง กจิ กรรม ยงั่ ยืน การหมุนเวยี น เปล่ียนรปู บน ความหลากหลาย รปู แสดงผังความสมั พนั ธข องการสรางความหลากหลายสูความมั่นคงในอาชพี การสรา งความหลากหลาย การสรางความหลากหลายในอาชีพเปนภูมิปญญา เพ่ือใชสรางภูมิคุมกันใหกับการดํารง อาชีพตามหลกั ทฤษฎีใหมของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชประสงคท่ีจะ ใหอ าชพี เกษตรกรสูความเขมแข็งม่ันคงย่ังยืน ดวยการใหปลูกขาว ปลูกผัก ผลไม และเล้ียงไก ไวกินใน ครอบครัวเหลือขาย เล้ียงหมูไวเปนเงินเก็บ เงินออม ปลูกไมใชงาน ใชเปนเชื้อเพลิง ใหรมเงา จัดการ บานเรือนใหสะอาด ชีวิตก็จะร่ํารวยความสุข (จากความจําของผูเขียน เม่ือครั้งเขาเฝาถวายงานโครงการ เกษตรธรรมชาติถาวรนิมิตอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดําริ จังหวัดนครนายก พ.ศ. 2537 โดยมีพระมหาถาวร จิตตภาวโรวงศมาลัยเปน ผอู ุปถัมภ) พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บงช้ีถึงการสราง ความหลากหลายทางชวี ภาพ การหมนุ เวยี นเปลีย่ นรปู บนความหลากหลายไดผลผลติ พอเพียงกับการกินอยู และเหลอื ขายเปนรายไดใ ชด าํ รงชวี ิต

12 ตัวอยาง การหมนุ เวยี นบนความหลากหลายทางชวี ภาพของอาชีพเกษตรกร การหมนุ เวยี นระหวา งชีวภาพ ผใู ห ผูร บั ประโยชนจากการหมุนเวยี น ชวี ภาพ ส่งิ ทไี่ ด รําขา ว ผกั - ราํ ขาวใชเ ปนอาหารจุลินทรยี  พัฒนาดนิ ฟางขา ว ไมผ ล - ฟางขางเปน อินทรียวัตถุใชท ําปยุ หมัก ไมใชง าน ขา ว รําขา ว เปด ฟางขา ว ไก - หมนุ เวียนเปนอาหารสัตว หมู ปลา เศษผักผลไม เปด ผัก สว นกนิ ไมไ ด ไก ไมผ ล ขายไมได หมู - หมุนเวยี นเปน อาหารสัตว ปลา ไมใ ชงาน ใบรวงหลนลงหนา ดนิ ขา ว - ใบตกลงดินยอยสลายเปนปยุ อินทรยี  (ไมปาตระกูลถ่วั ) ผัก ไมผล เปด อจุ จาระ ขา ว - ใชท าํ ปยุ หมกั บํารุงดนิ ใหธาตอุ าหาร ไก ปส สาวะ ผัก แกพชื หมู ขน ไมผล ไมใ ชง าน จากตัวอยางการหมุนเวียนดังกลาวทําใหเกษตรกรสามารถลดตนทุนลงได หากมีการ จัดการวางแผนการทํางานตามสตู รพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 3 + 3 + 3 + 1 ประกอบดวยพื้นทนี่ ํา้ 3 สว น ใชก กั เก็บนาํ้ เลย้ี งปลา พื้นท่ที าํ นา 3 สวน จะมีผลผลิตพอเพียง หมุนเวียนระหวางชีวภาพ พื้นที่ปลูกผักผลไมและไมใชงาน 3 สวน และพ้ืนท่ีอยูอาศัย เลี้ยงสัตวและ ทางเดินอีก 1 สว น โครงสรางสูตรพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ดงั กลา วจะสามารถจดั ระบบการผลติ ท่พี ึง่ พาปจ จัยภายนอกไดน อ ยทส่ี ดุ

ตวั อยา ง การเปลย่ี นรปู แปรรปู ยกระดบั มูลคาผลผลิต 13 ชวี ภาพ ผลผลติ การแปรรปู ยกระดับมลู คา ขาวเปลือก - ขา วกลอ ง - ขา วขาว ขา ว รํา - ธัญพชื เพือ่ สุขภาพ แกลบ - เช้ีอเพลิงแทง หัวผักกาดขาว - หัวไชโปวหวาน ผักกาดเขียว - เกยี้ มฉาย - กงฉา ย ผัก - ผกั กาดดอง - น้าํ พรกิ เผา พริกช้ีฟา - นา้ํ พริกตาแดง หวั หอม - กระเทยี มดอง หัวกระเทยี ม - ผลไมอ บแหง - ผลไมกวน ผลไม - นํ้าสม สายชหู มัก ไมผล - ถาน - นา้ํ สมควนั ไม ไมโ ตเร็ว ไมเชื้อเพลิง - เครือ่ งเรือน ไมใ ชง าน - กระดาน - หมสู ม เนื้อหมู - หมแู หนม - หมกู ุนเชียง หมู มันหมู - สบเู หลวอาบนํ้า - สบลู า งชาม - แคบหมู จากตวั อยาง จะเหน็ วา การแปรรปู ทําใหเ กดิ ความหลากหลายทางกิจกรรมมากมายที่จะ ทําใหเกิดการเพิ่มผลผลิตและผลิตภัณฑสามารถใชอยู ใชกินเหลือขาย เพิ่มมูลคาสรางใหเกิดรายไดสู ความมน่ั คงย่งั ยืนได

14 ปจจยั แหงความสาํ เร็จ ปจจัยแหงความสําเร็จของการสรางความหลากหลายทางชีวภาพและกิจกรรมท่ีจะ จดั การใหค วามหลากหลายตาง ๆ นั้นลงตัว คงไมมีสูตรสําเร็จเปนเรื่องท่ีผูเรียนจะตองเรียนรูคนพบได ดว ยตนเองจากวิธีการตา ง ๆ เชน 1. การสืบคนขอมูลสารสนเทศตาง ๆ นํามาวิเคราะหหาความลงตัวแลวจัดระบบการ ดําเนินงาน 2. การถอดบทเรียนจากผูประสบความสําเร็จนําขอมูลสารสนเทศที่ไดมาจัดระบบให เหมาะสมกบั ตนเอง 3. การทดลอง เพ่ือตรวจสอบระบบการดําเนินงานท่ีไดมาจากขอมูลสารสนเทศวา เกดิ ผลตามความรเู พยี งใดจะตอ งเพ่ิมเติมพฒั นาอะไร จึงอาจจะสรุปไดวา ปจ จยั แหงความสําเร็จของการใชความหลากหลายทางชีวภาพและ กิจกรรมมาสรางความม่ันคงย่ังยืนในอาชีพไดอยางลงตัว คือ การทํางานบนฐานขอมูลและใช กระบวนการวจิ ยั มาเปน เครอ่ื งมอื ของผเู รียนนัน่ เอง กจิ กรรมที่ 2 ใหผูเรยี นบอกการหมนุ เวียนบนความหลากหลายทางชีวภาพ หรือกิจกรรมในอาชีพของตนเอง หรอื สัมภาษณผ ูป ระกอบอาชพี ทีส่ นใจมา 1 อาชพี ตามรปู แบบ ดังน้ี การหมุนเวยี นระหวา งชวี ภาพหรือกิจกรรม ประโยชนจากการ ผใู ห หมุนเวียน ชีวภาพ ส่งิ ทไี่ ด ผรู ับ

15 เรือ่ งท่ี 2 ทักษะการใชนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่อื การขยายอาชพี ลักษณะบง ช้คี วามสําเร็จของการเรียนรู 1. ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพการตัดสินใจยอมรับหรอื ปฏเิ สธนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีได 2. มีความรู ความเขาใจและจาํ แนกบทบาทหนา ที่ของนวัตกรรมหรือเทคโนโลยไี ด 3. ปฏิบตั กิ ารใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีไดอยา งคลอ งแคลว แผนปฏิบตั ิการเรียนรู ลกั ษณะบง ช้ีความสําเร็จ ของการเรยี นรู กิจกรรม การวดั ผล ประเมนิ ผล ส่ือการเรียนรู 1. ประเมินประสิทธภิ าพ เรยี นดว ยตนเอง ตดั สนิ ใจ ยอมรับ หรอื 1. ผเู รียนทําความเขา ใจเกี่ยวกบั 1. ความสามารถตอบสนอง เอกสารหมายเลข 4 ปฏิเสธนวัตกรรมหรอื การประเมินประสิทธิภาพ วตั ถปุ ระสงค เรื่อง การประเมนิ เทคโนโลยีได นวตั กรรมหรือเทคโนโลยจี าก 2. ประหยัดคา ใชจา ย ประสทิ ธิภาพ 3. ทําใหง านดาํ เนนิ ไปอยาง นวตั กรรมเทคโนโลยี เอกสารใบความรู 2. ปฏบิ ัติการประเมินนวัตกรรม รวดเรว็ เทคโนโลยีทภี่ าครฐั และ เอกชนเสนอใหใช 2. มคี วามเขา ใจ สามารถ เรยี นดวยตนเอง จาํ แนกบทบาท หนา ที่ 1. ผูเรียนนาํ นวัตกรรมหรอื 1. บอกบทบาท เอกสารหมายเลข 5 ของนวัตกรรมหรือ เทคโนโลยีทตี่ ดั สนิ ใจใชมา 2. บอกหนา ท่ี เร่ือง การวิเคราะหเ พ่อื เทคโนโลยไี ด จาํ แนก บทบาทหนา ท่ี วิเคราะห ศกึ ษา บทบาท หนา ที่ ของนวตั กรรม เพ่อื ทราบรายละเอยี ดและ ประยุกตใ ชใ หถ ูกตอ งไดด วย เทคโนโลยี การศกึ ษาตวั อยางการวิเคราะห จากเอกสารใบความรู 3. ปฏิบัติการใชน วตั กรรม เรียนดวยตนเอง และเทคโนโลยไี ดอยา ง ใหผ เู รียนศกึ ษาขน้ั ตอนการทาํ งาน 1. ใชนวตั กรรม เทคโนโลยี - คลองแคลว ของนวัตกรรม เทคโนโลยี แลว อยา งคลองแคลว ทําตาม ตรวจสอบหาขอ บกพรอง ของตนเองในการใชนวตั กรรม เทคโนโลยี แลวฝก การใชง านจน คลองแคลว

16 เอกสารหมายเลข 4 : ใบความรู เร่อื ง การประเมนิ ประสทิ ธิภาพนวัตกรรม เทคโนโลยี กรอบความคิด ความถกู ตองได ตาม วัตถปุ ระสงค ประสทิ ธิภาพ ลดตนทุน รวดเร็ว จากแผนภูมิสามารถอธิบายไดวา ประสิทธิภาพมีองคประกอบรวมอยางนอย 3 องคประกอบ คือ (1) ความถูกตองเปนไปตามวัตถุประสงค (2) มีความรวดเร็ว และ (3) สามารถลด ตนทุนรายจายได นอกจากนั้นในแตละองคประกอบจะตอ งมคี วามสมั พนั ธต อกนั หากนาํ กรอบแนวคิดน้ี มาอธบิ ายกับประสิทธภิ าพของนวตั กรรมหรือเทคโนโลยอี าจจะสรปุ ไดว า ประสิทธิภาพของนวตั กรรม เทคโนโลยกี ารประกอบอาชีพขน้ึ อยูกบั องคประกอบ ดงั น้ี 1 ความสามารถทาํ งานไดถ กู ตอ งตามวตั ถุประสงคแ ละมีขอ เสียนอ ย 2 ประหยดั คา ใชจ าย 3 ทาํ งานไดร วดเรว็

17 ประเมินการทาํ งานใหถกู ตองตามวัตถุประสงคของเทคโนโลยี การประเมินความสามารถทํางานไดตามวตั ถปุ ระสงคของนวัตกรรม เทคโนโลยี ผูเรียน ตอ งคดิ ลกั ษณะบงช้คี วามสําเร็จ และตวั ชว้ี ดั ความสําเร็จดว ยตนเอง ดงั ตวั อยา งนี้ ตวั อยาง การประเมินการทํางานใหถูกตอ งตามวตั ถปุ ระสงค องคป ระกอบการประเมนิ ลกั ษณะบง ช้คี วามสําเร็จ เกณฑช ้ีวัดความสาํ เรจ็ ของงาน 1. การทาํ ไดต ามวตั ถุประสงค 1. เนื้องานทนี่ วัตกรรม เทคโนโลยี 1. ความสามารถขน้ั ตาํ่ ที่ยอมรบั ได ทําได รอ ยละ 90 ของเนื้องาน 2. ความเสียหายของผลงาน 2. ผลงานทเี่ สียหายหรือไมผาน 2. ความเสยี หายขน้ั สูงสุดที่ยอมรับ คณุ ภาพ ไดรอยละ 5 ของงาน จากตัวอยางเกณฑการประเมิน เพ่ือใหเห็นรูปธรรมจึงขอยกตัวอยางการกําหนดเกณฑการ ประเมินการทํางานไดถ กู ตอ งของนวตั กรรม เทคโนโลยี ดังนี้ ตวั อยา ง เกณฑการประเมินการทาํ งานไดถ ูกตองของนวตั กรรมจลุ ินทรยี  องคประกอบการประเมิน ลกั ษณะบง ชค้ี วามสําเรจ็ เกณฑช ้ีวัดความสาํ เร็จของงาน 1. การหมักสังเคราะห หลังจากปรุงสวนผสมกับจุลนิ ทรีย กระบวนการหมักตอ งแลวเสรจ็ อนิ ทรยี วัตถุใหเ ปนปยุ หมกั เสรจ็ แลว กระบวนการหมกั ตอง ภายใน 5 – 7 วัน โดยกระบวนการ ดาํ เนนิ การแลว เสรจ็ ภายใน 5 – 7 วัน จลุ ินทรยี  100% โดยกระบวนการของจลุ นิ ทรีย 2. ความเสยี หายของปยุ หมัก อินทรียวตั ถคุ วรจะไดรับการยอ ย จะมีอนิ ทรยี วตั ถุทย่ี งั ไมยอ ยสลาย สลายใหม ากท่ีสุด ไดไ มเ กินรอยละ 10 ตวั อยา ง การประเมินเทียบเคยี งการทํางานไดตามจดุ ประสงคของจลุ ินทรีย 2 สํานัก องคป ระกอบการประเมนิ เทคนคิ การใช พด.1 + พด.2 จุลินทรยี เ อกชน กระบวนการหมักตอ ง กระบวนการหมักความรอน กระบวนการหมกั ความรอ นสูงมาก ดําเนนิ การแลว เสร็จภายใน 35°C - 40°C และเย็นลงทงั้ หมด ตองใชแ รงงานคนเขาไปกลบั กอง 5 – 7 วัน โดยกระบวนการ ภายใน 5 – 7 วนั เปน กระบวนการ ปยุ ทกุ ๆ 6 ช่วั โมง เพือ่ รกั ษา ของจุลนิ ทรีย ทาํ งานของจลุ ินทรีย 100% อณุ หภมู ิตอง 35°C - 40°C อินทรียวตั ถคุ วรจะไดรบั มอี นิ ทรยี วตั ถทุ ่รี าเดนิ มากกวา มีอนิ ทรียวัตถทุ ร่ี าเดนิ ไดเ พียง การยอ ยสลายใหม ากทีส่ ุด รอ ยละ 95 รอยละ 70 จากตาราง บง ช้ีใหเ หน็ วา จลุ ินทรยี  พด.1 + พด.2 สามารถทาํ งานไดถูกตองตามวัตถุประสงค มากกวาชนิดอื่น

18 ประเมนิ ความประหยดั คา ใชจ า ย เปนการประเมินเทียบเคียงระหวางนวัตกรรมเทคโนโลยีอันใหมท่ีจะนําเขามาใช เทยี บเคียงกบั นวัตกรรม เทคโนโลยเี กา โดยมีตวั แปรการประเมินประกอบการ 1 ราคานวตั กรรม เทคโนโลยีตองจายเทา ไร 2 คา ใชจายระหวา งการใชเ ทา ไร 3 ลดรายจายจากเดิมเทา ไร ตัวอยา ง การประเมินเทียบเคียงคาใชจายนวัตกรรม เทคโนโลยี เปา หมาย : พรวนดนิ ใหละเอยี ดบนพื้นที่ 3 ไร ใหแลว เสร็จไมเกนิ 6 ช่วั โมง (1 วัน) ใชแ รงงาน คน ขุด พรวน ดวยจอบ ใชเ คร่อื งจอบหมุนแบบเดนิ ตามเครอื่ งยนต 5 แรงมา 1. ราคานวตั กรรมเทคโนโลยี 1. ราคานวตั กรรมเทคโนโลยี - ตอ งใชคน 15 คน คาแรงงาน - รถพรวนแบบเดนิ ตามราคาคันละ 40,000 บาท ทํางานได 1 คน/200 บาท/วนั ตอ งจา ย 4,000 ช่วั โมง คิดคา ใชจายชวั่ โมงละ 100 บาท คาแรงงาน 3,000 บาท - พื้นที่ขนาด 3 ไร ใชเวลาทํางาน 3 ช่วั โมง ตอ งเสียคา ใชจา ย 300 บาท 2. คา ใชจ า ยระหวางการใชง าน 2. คา ใชจา ยระหวางใชงาน - เครอื่ งดื่มชกู ําลัง 15 ขวด 150 บาท - คา นํา้ มนั เชอ้ื เพลิง 3 ช่ัวโมง ขนาด 6 ลิตร - นา้ํ เย็น 50 บาท เปนเงิน 180 บาท รวม 200 บาท - คาใบมดี พรวนเสยี หาย ประมาณ 300 บาท - คาแรงคนงาน 1 คน 200 บาท รวม 680 บาท รวมรายจายทงั้ หมด 3,200 บาท รวมรายจายทัง้ หมดเปนเงิน 980 บาท 4. ลดรายจายจากเดมิ คาใชจ า ยโดยแรงงานคน 3,200 บาท คาใชจ ายโดยเคร่อื งจอบหมุนแบบเดนิ ตาม 980 บาท จึงสามารถลดรายจา ยได 2,220 บาท

19 ประเมนิ ความรวดเร็ว เปน การประเมินเทียบเคียงหรือเปรียบเทียบระหวางการใชเวลาทํางานจากนวัตกรรม เทคโนโลยีท่ีจะนาํ เขากับนวตั กรรม เทคโนโลยที ใ่ี ชอยเู ดมิ ดงั ตวั อยา งการพรวนดินการใชแ รงงานคนกับ เคร่ืองจักรกลขนาดเล็ก พบวา เคร่ืองจักรกลขนาดเล็กพรวนดิน ใชเวลาเพียง 3 ชั่วโมง แตแรงงานคน จะตอ งใชเ วลาถงึ 6 ช่ัวโมง ตองพบกับความยุงยากในการจัดการคนใหทํางานไปตามเปาหมาย สรุป การตัดสินใจนํานวตั กรรม เทคโนโลยีเขามาใชประกอบอาชีพ จําเปนตองประเมินให มองเห็นเหตุผลการนาํ เขา มา ความคุมคา และศกั ยภาพในการเปนภูมคิ มุ กนั ใหอาชีพมั่นคงย่งั ยนื จงึ ตองมี การประเมนิ ดวยองคประกอบทั้ง 3 ดานและตัวแปรรวมตา ง ๆ จงึ มคี วามจําเปนท่ีจะตองแสวงหาความรู ขอมูลใหมากพอท่จี ะใชป ระเมนิ ตดั สนิ ใจ ดงั น้นั การประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรม เทคโนโลยีจึงเปน สว นหนง่ึ ของการทํางานบนฐานความรู

20 เอกสารหมายเลข 5 : ใบความรู เร่อื ง การวเิ คราะหเ พอื่ จําแนกบทบาทหนา ที่ของนวตั กรรมเทคโนโลยี การเขาสอู าชพี เมอื่ ดําเนินธรุ กจิ ไปจนประสบผลสําเร็จ มักจะถูกจับตามอง ทําตามกันมาก สวนแบงการตลาดจงึ มีขนาดเลก็ ลงโดยลาํ ดับ จนถงึ วันหนง่ึ จะเกดิ วิกฤติ จึงมคี วามจาํ เปน ทจ่ี ะตองพัฒนา หรือขยายขอบขายอาชีพออกไปหรือเรียนรูทําในสิ่งท่ีคนอื่นทําไมได เพ่ือใหอยูไดอยางมั่นคงยั่งยืน การพฒั นาหรือขยายอาชพี จะตอ งใชนวตั กรรม เทคโนโลยเี ขามาชวย ปญหาดังกลา วสามารถแสดงใหเห็นขน้ั ตอนของพฒั นาการไดด ังนี้ 4 ถา ไมมกี ารพัฒนาธุรกิจจะเปน ขาลง จําเปนตอ งขยายขอบขา ย จึงมคี วามตองการใชนวตั กรรม เทคโนโลยเี ขามาใชงาน 3 ธรุ กจิ ในอนาคตจะมผี คู นเขา มาเรยี นรทู าํ ตาม ทําใหเ กิดวิกฤตสิ ว นแบงตลาด 2 ธุรกิจอยูในชวงพฒั นาขยายตวั จะมีคนจบั ตามองพรอมทาํ ตาม 1 ธรุ กจิ ระยะฟก ตวั ของ การเขา สูอาชพี แผนภูมแิ สดงวงจรชีวิตของอาชพี ปญหาท่ีตอ งการคําตอบของผูป ระกอบธรุ กจิ ปญหาการเลือกนวัตกรรม เทคโนโลยีของผูประกอบอาชีพ การตัดสินใจเลือก นวตั กรรม เทคโนโลยีไดตรงกับปญ หาความตองการในธรุ กิจใหมากที่สดุ ตรงนเ้ี ปนจุดกําเนิดภูมิปญญา แตเรายังอยูในสภาวะท่ีทําเองไมไดอาศัยการนําเขาดวยตัวเราเอง เพ่ือใหไดนวัตกรรม เทคโนโลยีท่ี เหมาะสมลงตวั กบั งานอาชีพของเรามากท่ีสดุ

21 กรอบแนวคิด กรอบแนวคิดการจดั การใหไดนวตั กรรมเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมลงตวั กับธรุ กจิ มากที่สุด มีกรอบแนวคดิ การดําเนินการดังน้ี 1. กําหนดความตอ งการ 1. ระบสุ ่งิ ท่จี ะตอ งทําตอง 2. แสวงหาความรู 3. ประเมนิ ความสามารถ 4. ตัดสินใจ ใชน วตั กรรม เทคโนโลยี ความเขา ใจ เพือ่ ระบุ ในการทาํ งานไดแ ทจรงิ นําเขา มาใช เขา มาทํางาน นวตั กรรม เทคโนโลยี ของนวตั กรรมให งานใหเ หมาะสม กระจางดว ยตนเอง วธิ ีการกาํ หนดความตองการ 1. ระบุสิ่งที่จะตองทําและจําเปนจะตองใชนวัตกรรม เทคโนโลยีเขามาใช เพื่อลดตนทุน ลดระยะเวลา การทํางานและสรางงานใหม ีของเสียหายเกดิ ขึ้นนอยท่ีสดุ ตวั อยาง สงิ่ ทจ่ี ะตอ งทาํ และจาํ เปน ตองใชนวัตกรรม เทคโนโลยี (1) การพรวนดินใหละเอียดและผสมปุยหมักคลุกเคลาลงดินใหกระจายสมํ่าเสมอตองใช แรงงานคนจาํ นวนมาก คาใชจ ายสงู งานหนกั คนงานสูไมไหว ทิ้งงานลาออก จําเปนตองใชเทคโนโลยี การพัฒนาดนิ (2) ชว งฤดูหนาวเบญจมาศไมอ อกดอก ถา สามารถทําใหออกดอกไดจะทําใหการปอนสินคาเขา ตลาดไมขาดชวง จาํ เปนตอ งใชเ ทคโนโลยกี ารบงั คับพืชใหอ อกดอกนอกฤดูกาล 2. บอกบทบาทหนา ท่ีทีจ่ ะตอ งนาํ นวตั กรรม เทคโนโลยเี ขามาใช ตัวอยาง (1) ทําใหแ สงของวนั ในชว งเดือนธนั วาคม– กุมภาพันธมีความยาวขน้ึ เพอ่ื กระตนุ ตาดอกเบญจมาศ (2) เกษตรอินทรียพืชขาดไนโตรเจน แตขอกําหนดหามใชปุยเคมี จําเปนตองใชไนโตรเจนจาก ธรรมชาติ แสวงหาความรู ความเขา ใจเพ่ือระบุ นวตั กรรม เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม ดวยการนําผลการวิเคราะห (1) ระบุส่ิงท่ีตองทําและ (2) บทบาทหนาที่ท่ีจะตองนํา นวัตกรรมเทคโนโลยเี ขามาใชไ ปสืบคนขอ มูลสารสนเทศและศกึ ษา สังเกตจากผรู ูภ ูมิปญญาตาง ๆ ตองสรุป ดว ยตนเองวา ควรจะใชเ ทคโนโลยีอะไรและจาํ แนกบทบาทหนาท่ใี หช ดั เจน ดังตวั อยา ง ตัวอยา งท่ี 1 เทคโนโลยีการหมกั ดอง เทคโนโลยี บทบาท หนา ที่ ลกู แปงขา วหมาก ยอ ยแปง สรางนํา้ ตาล ลูกแปง เหลา ยอ ยน้ําตาล สรา งแอลกอฮอล แลคโตบาซิลลสั ในเครื่องดม่ื ยอ ยโปรตนี ยอยถว่ั เหลืองใหเปน กรดยูรคิ ยาคลู ท ยอยปลาใหเปน นํ้าปลา

22 ตวั อยา งที่ 2 เทคโนโลยบี ังคบั พืชออกผลนอกฤดกู าล เทคโนโลยี บทบาท หนาท่ี แสงหลอดฟลูออเรสเซนต สรางแสงใหวนั ยาวข้ึน กระตนุ ใหพ ชื ตองการวนั แสงยาว ออกดอก นํา้ หมกั พืชผกั ผลไม เรงใบพชื ใหสะสมอาหารแกต วั กระตนุ ผักกนิ ดอกใหอ อกดอก ฮอรโมนเรงการออกดอก อยางรวดเรว็ สมาํ่ เสมอทัง้ แปลง เรง ใบไมผลใหแกเ รว็ ขึ้น กระตนุ ไมผล (มะมว ง) ออกดอก นอกฤดกู าล การงดนํ้าตนไม ทําใหต น โทรม ใบรว ง กระตนุ ใหตน สม ท้ิงใบออกจาก ดอกพรอมกนั ตัวอยา งท่ี 3 เทคโนโลยีพฒั นาดินดวยแทรกเตอร เทคโนโลยี บทบาท หนาท่ี ผานกระทะ ไถบกุ เบิก พลิกหนา ดนิ จากลางขนึ้ บน ผานหัวสิ่ว ไถแหวกดนิ ระดบั ลกึ สลายดนิ ดานใหแ ตกนาํ้ ซมึ ลกึ ลง ในดนิ ได โรตารี่ ตสี ับดนิ สับดนิ ใหล ะเอยี ด เพื่อการปลกู ผักและนาขา ว ประเมินความเหมาะสมและตดั สนิ ใจ เมือ่ ไดศึกษาบทบาทหนา ท่ขี องนวตั กรรม เทคโนโลยีแลว ตอไปเปนขั้นตอนการประเมินความ เหมาะสมดว ยการเทยี บเคียงกบั เทคโนโลยที เ่ี คยใชว าจะทําใหดขี น้ึ แตกตางจากเดิมไดมากหรือปานกลาง ดังตวั อยา ง ตัวอยางที่ 1 มะมวงนํ้าดอกไม ถาเกษตรกรใหนํ้าใหอาหารพืชอยางตอเน่ืองอยางสมบูรณ มะมวง นาํ้ ดอกไมจ ะออกลูกตอเนือ่ งใหล กู ตอเนอ่ื งใหลกู รนุ พี่ รุนนองในปรมิ าณพอเหมาะนําเขาสูตลาดไดเปนระยะ ๆ อยางตอเนื่องกับการท่ีเราตองลงทุนใหสารเคมีบังคับใหออกดอกติดผลพรอมกันนอกฤดูกาลเหมาะสมกับ ลักษณะตลาดท่เี รามอี ยหู รือไม ตัวอยา งที่ 2 หมกั นาํ้ ปลา เดิมเพยี งเตมิ เกลือกับปลาในอตั ราสว นที่เหมาะสม หมักทิ้งขามปกจ็ ะได นา้ํ ปลา แตถาเราใชเทคโนโลยีจุลินทรียแลคโตบาซิลลัสท่ีตองบดปลาใหละเอียดผสมแลคโตบาซิลลัส เพิ่มเขามาจะใชเวลาหกเดือนไดน้ําปลา แบบใดจะเหมาะสมกวากัน เพราะถาใชเทคโนโลยีแลคโตบาซิลลัส จะตอ งเพิม่ คา ใชจา ยบดปลาและคาจุลินทรีย

23 สรุป การตัดสินใจนํานวัตกรรม เทคโนโลยีเขามาใชโดยไมผานการวิเคราะหเพื่อศึกษา บทบาทหนาที่และความเหมาะสมมีโอกาสท่ีจะเส่ียงตอความเสียหายส้ินเปลืองได หากเราหันมาให ความสําคัญเก่ียวกับขอมูลสารสนเทศของนวัตกรรม เทคโนโลยี เรียนรูทําความกระจางก็จะลดอัตรา การเสี่ยงไดดี กิจกรรมที่ 3 1. ผเู รียนปฏบิ ตั ิการประเมนิ นวตั กรรม เทคโนโลยีทีภ่ าครฐั และเอกชนเสนอใหใช 2. ผูเรียนนํานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ตัดสินใจใชมาวิเคราะห ศึกษา บทบาท หนาท่ี เพ่ือ ทราบรายละเอียดและประยกุ ตใ ชใหถ ูกตอ งไดดวยการศกึ ษาตวั อยาง 3. ผูเรียนศึกษาข้ันตอนการทํางานของนวัตกรรม เทคโนโลยี แลวทําตาม ตรวจสอบหา ขอ บกพรองของตนเองในการใชนวัตกรรม เทคโนโลยี แลวฝกการใชงานจนคลอ งแคลว 4. ผูเรียนวางแผนการฝกทกั ษะทจี่ ําเปนตอการขยายอาชพี โดยรวมแหลง ฝกความรูทีต่ องการฝก วิธีการฝก และผลการฝก

24 บทที่ 2 ตรวจสอบระบบความพรอมการสรางอาชีพใหมคี วามมน่ั คง ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวงั สามารถตรวจสอบระบบความพรอมในการขยายอาชีพใหมีความมน่ั คง ขอบขายเนอ้ื หา เร่อื ง การตรวจสอบระบบความพรอมการสรา งอาชีพใหม นั่ คง สื่อประกอบการเรียนรู 1. เอกสารหมายเลข 6 ใบความรู เรอื่ ง ความหมายและลกั ษณะองคประกอบในขอบขา ยอาชีพ 2. เอกสารหมายเลข 7 ใบความรู เรื่อง การวิเคราะหชุมชน 3. เอกสารหมายเลข 8 ใบความรู เร่อื ง ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4. เอกสารหมายเลข 9 ใบความรู เร่อื ง การวิเคราะห ตรวจสอบระบบความพรอมในการสราง อาชีพ

25 เร่ืองที่ 1 การตรวจสอบระบบความพรอมการสรางอาชพี ใหม ั่นคง ลกั ษณะบงชคี้ วามสําเรจ็ ของการเรยี นรู 1. เขา ใจขอบขายระบบธรุ กจิ 2. เขา ใจขอบขา ยระบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. เขาใจการวิเคราะหตรวจสอบปฏิสัมพันธระหวางองคประกอบในขอบขายระบบ ธุรกจิ กับเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื ประเมนิ ระบุความพรอ มการสรางอาชีพใหมั่นคง แผนปฏบิ ตั กิ ารเรยี นรู ลกั ษณะบง ชีค้ วามสาํ เรจ็ การวดั ผลและ ของการเรยี นรู กจิ กรรม ประเมินผล ส่อื การเรยี น 1. เขาใจขอบขา ยระบบ เรียนรดู ว ยตนเอง ธุรกจิ ใหผ เู รียนศกึ ษาความหมายและ การระบอุ งคป ระกอบ เอกสารหมายเลข 6 ลกั ษณะองคประกอบรว มใน รวมในขอบขายระบบ ใบความรู เรอื่ ง ขอบขา ยระบบอาชีพจาก ธรุ กจิ ความหมายและ ลกั ษณะของ ใบความรู องคประกอบใน 2. เขาใจขอบขา ยระบบ เรียนรดู ว ยตนเอง ขอบขา ยอาชพี เศรษฐกจิ พอเพยี ง ใหผเู รียนศกึ ษาความหมายและ การระบุองคประกอบ เอกสารหมายเลข 7 ลักษณะองคป ระกอบการคิดใน การคดิ ในระบอบ ใบความรู เร่ือง ปรชั ญา ระบบเศรษฐกจิ พอเพยี งจาก เศรษฐกิจพอเพยี ง ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ใบความรู เรยี นรดู วยตนเอง 3. เขา ใจวเิ คราะห ตรวจสอบปฏิสัมพนั ธ 1. ใหผูเ รยี นศกึ ษา วเิ คราะหก าร ความคดิ รวบยอดของ เอกสารหมายเลข 8 ระหวา งองคประกอบ ประกอบอาชีพ โดยยดึ หลกั ปฏสิ ัมพนั ธร ะหวาง ใบความรู เร่อื ง การ ในขอบขายระบบ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง องคประกอบในอาชพี วิเคราะห ตรวจสอบ เศรษฐกจิ พอเพียง เพ่อื กับเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระบบความพรอ มใน ประเมนิ ระบคุ วาม 2. ผเู รียนทาํ บันทึกความพรอมใน การระบุปฏิสัมพันธบอก การสรางอาชพี พรอ มการสรา งอาชพี การสรา งอาชีพตามความคดิ รวบ ขอ บกพรอ งท่ีตอ งพฒั นา ใหมน่ั คง ยอดของปฏิสมั พนั ธ ระหวาง ใหเกิดความพรอม เศรษฐกจิ พอเพียงกบั องคประกอบการทาํ อาชพี

26 เอกสารหมายเลข 6 : ใบความรู เรอ่ื ง ความหมายและลักษณะองคป ระกอบในขอบขา ยอาชีพ องคป ระกอบในระบบอาชพี ทนุ การ ผลผลิต อาชีพมนั่ คง พัฒนา ลกู คา แผนภูมแิ สดงความสมั พนั ธอ งคป ระกอบภายในระบบอาชีพ จากแผนภูมิความสัมพันธองคประกอบภายในระบบอาชีพ มีองคประกอบท่ีสําคัญและ สงผลกระทบความมั่นคงของอาชีพ 4 องคประกอบดวยกันคือ (1) ทุน (2) ผลผลิต (3) ลูกคา และ (4) การเรยี นรูพฒั นาตนเองของสถานประกอบการ ทุน ในการประกอบอาชีพ การจัดการทุนเปนเรื่องสําคัญ เพราะทุนจะตองผันแปรสําคัญตอ ความมัน่ คงของอาชพี ทุนมหี ลายประเภททผ่ี ูประกอบอาชพี จะนาํ เขามาบูรณาการใชลงทุนประกอบการ เชน 1. เงินทุน ไดมาจากการออม จากการสะสมทนุ จากการกยู มื สถาบันการเงนิ 2. ทนุ ทีด่ นิ เปนที่ตั้งสถานประกอบการ เปนฐานการผลิตท่ีจะตองมีการจัดการใหการใชที่ดิน เปนไปอยา งมีประสทิ ธิภาพ 3. ทนุ ทางส่งิ แวดลอม เชน การเกษตรอินทรีย ตั้งบนพ้นื ท่ีปาเขาโดยรอบ ทําใหไดความช้ืนและ ปุยธรรมชาติมาตามลม และไหลมากบั น้ําฝน ทําใหลดตนทุนเกย่ี วกบั ปุย หมกั และจลุ นิ ทรียล งได

27 ผลผลติ เปน ตัวเปา หมายการประกอบอาชีพที่จะตองมีมาตรฐาน ขอกําหนดในรูปแบบตาง ๆ ท้ังในรูป ลายลกั ษณอักษร ในรปู ของคา นยิ มท่ยี อมรับกันทวั่ ไปที่ผผู ลิตจะตองทาํ ใหไ ดตามมาตรฐานในการจัดการ ใหเกิดผลผลิตมีองคประกอบรวมอยหู ลายประการ เชน 1. คุณภาพผลผลติ ตองเปน ไปตามมาตรฐาน คานิยมของลกู คา 2. กระบวนการผลติ ตองสามารถลดตน ทุนได 3. การจัดการผลผลติ สงมอบใหลูกคา ในสภาพทีม่ คี ณุ ภาพใหมากท่ีสุด 4. ความปลอดภัยของผลผลิต ลูกคา เปนองคประกอบที่สําคัญเพราะถาไมมีลูกคาก็จะไมเกิดการหมุนเวียนทางรายได รูปแบบ เศรษฐกจิ จะเปนการทําเพื่ออยูเพือ่ กิน แบง ปนกันในชุมชน ประเทศชาติคงไมมีรายไดมาพัฒนาประเทศ การประกอบอาชีพจึงใหความสําคัญกับลูกคาที่จะตองสรางความผูกพันภักดีตอกันและขยายวงกวาง ออกไป ทาํ ใหผลผลติ จําหนายไดปรมิ าณสูงขน้ึ ซึ่งสงผลกระทบโดยตรงตอความมั่นคง ยั่งยืนของอาชีพ สว นบุคคลและสังคมประเทศชาติ การพฒั นาตนเอง การประกอบอาชีพธุรกิจ ผูประกอบอาชีพจําเปนตองศึกษาวิเคราะหสภาพการผลิต การตลาด การลงทนุ คา นยิ ม นวตั กรรมเทคโนโลยตี า ง ๆ ใหส ามารถจดั การพัฒนาธุรกิจใหกา วหนาสัมพันธกับการ เปลยี่ นแปลงของสังคมโลก เพือ่ สรา งความมน่ั คงในอาชีพใหเ ตบิ โตขน้ึ ไมใ หอ าชีพตกตาํ่ และตายลง ตัวอยางที่ 1 อาชีพเขยี นปายประกาศถาพฒั นาตนเองไมใชค อมพิวเตอรและอิงคเจ็ทก็ยังสามารถ ดําเนนิ ธุรกิจตอไปได แตถาหากไมยอมรบั การเปล่ียนแปลงและเรียนรอู าชีพเขยี นปายประกาศก็จะตายลง ท้ังหมดแลว ตัวอยางท่ี 2 รานโชหวยที่เรียนรูพัฒนาตนเอง วิจัยระบุสินคาจําเปนของคนในชุมชน ตองใช ประจาํ และจาํ นวนมาก แลวจัดรานใหมบรรจุสินคาที่จําเปน ทําใหรานคาไมรกรุงรัง ถาหากราคาขายที่ เปน จริงไมเ อาเปรยี บ คนในชุมชนก็เต็มใจซ้อื ไมเสียเวลาไปศูนยการคาทีต่ องมกี ารเดินทาง รานโชหวยท่ี ไมเ รียนรูพัฒนาตนเอง จึงตายไปจากทองถ่นิ

28 เอกสารหมายเลข 7 : ใบความรู เร่ือง การวเิ คราะหชุมชน วิเคราะหช ุมชน การขยายงานอาชีพ เปน แนวทางการดําเนินงานอาชพี ใหม คี วามเขม แขง็ และเกิดความมน่ั คงใน การประกอบอาชีพ ที่มคี วามสอดคลอ งกบั ความตอ งการของตลาด การขยายงานอาชพี จะประสบความสาํ เรจ็ หรือไมนน้ั ขนึ้ อยูกับการศึกษาและการวิเคราะห ขอ มลู สถานการณข องชมุ ชนทั้งภายในและภายนอก ใหต รงกบั สภาพความเปนจริงตามสภาพการณท ่มี ี การเปลยี่ นแปลง เพ่ือสรา งความเชอ่ื ม่นั และกําหนดเปาหมายการขยายงานอาชพี ท่ีชัดเจน ดงั น้ัน การดําเนินการขยายงานอาชพี ใหป ระสบความสําเร็จ แมวาผูดําเนินการอาชีพ จะไดมี การพฒั นางานอาชีพมาแลวอยางตอเนือ่ ง พรอมทงั้ ไดวิเคราะหความเปนไปได รวมถึง ไดศึกษาขอมูล องคประกอบท่เี ก่ยี วของมาแลวกต็ าม ในการขยายงานอาชีพใหเกิดความม่ันคง จําเปนตองใหความสําคัญตอการวิเคราะหขอมูล สถานการณของชุมชน ใหเหมาะสมและมีความสอดคลองกับสภาพบริบทของพ้ืนที่ ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต และ ทรพั ยากรมนษุ ย ดังนั้น เพ่ือเปนการสรางความเช่ือมั่นและสามารถกําหนดเปาหมายในการดําเนินงานขยาย อาชพี เพ่อื ความม่ันคงไดอยา งเหมาะสม จึงควรไดมกี ารวเิ คราะหชุมชนเกย่ี วกับสภาพบรบิ ทของพน้ื ทกี่ บั งานอาชพี ท่ีตัดสินใจจะดาํ เนนิ การพฒั นา การดาํ เนินการวเิ คราะหชมุ ชน โดยท่ัวไปนิยมใชเทคนิค SWOT ในการประเมิน เพราะ เปน เทคนิคสาํ หรบั การวิเคราะหส ภาพแวดลอ มทมี่ ผี ลกระทบวา มีผลดีหรือผลเสียอยางไรตอส่ิงท่ีจะกระทํา มีรายละเอียด ดังนี้ S (Strength) จุดแขง็ หมายถงึ ความสามารถ หรอื สถานการณภายในชุมชนท่ีเปนเชิงบวก ซึง่ สามารถนํามาใชป ระโยชนใ นการทาํ งาน เพอ่ื ใหง านบรรลุวัตถุประสงค หรือกอใหเกิดประโยชนตอ การทาํ งาน สง ผลใหงานทที่ าํ เกดิ ความเขมแข็ง W (Weakness) จดุ ออ น หมายถึง สถานการณภ ายในชมุ ชนทเ่ี ปน เชงิ ลบ ซึง่ ไมสามารถ นํามาใชเปน ประโยชนใ นการทํางาน เพือ่ ใหงานบรรลุวัตถุประสงค หรือไมกอใหเกิดประโยชนตองาน อาจสง ผลใหงานทท่ี ําเกดิ ความลมเหลวได O (Opportunity) โอกาส หมายถึง ปจ จัยและสถานการณภ ายนอกชุมชน ท่ีเอ้ือประโยชน ในการทํางานใหบรรลุวัตถุประสงค หรือหมายถึง สภาพแวดลอมภายนอกท่ีเปนประโยชนตอการ ดาํ เนินงาน

29 T (Treat) อุปสรรค หมายถึง ปจจัยและสถานการณภายนอกชุมชน ท่ีขัดขวางหรือไม สนบั สนุนตอ การทํางานใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค หรอื หมายถงึ สภาพแวดลอมภายนอกท่เี ปนปญหาตอการ ดําเนินงาน ในการดําเนนิ การวเิ คราะหชุมชนตามสภาพบรบิ ทของพนื้ ท่ี ไดแ ก ทรัพยากรธรรมชาติ ลกั ษณะภมู อิ ากาศ ภูมปิ ระเทศ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถชี ีวติ และทรัพยากรมนุษย กับงานอาชีพ ที่ตัดสินใจจะดําเนินการพัฒนา ดวยเทคนิค SWOT เพื่อการเขาสูอาชีพ มีขั้นตอนการดําเนินงานดังนี้ 1. กําหนดประเด็นสภาพบริบทของพ้นื ทท่ี ีม่ คี วามสัมพันธตองานอาชีพท่ีตัดสินใจที่จะ ดําเนินการพฒั นา เพอื่ การนํามาวิเคราะห เชน 1.1 กลมุ อาชพี เกษตรกรรม ประเด็นสภาพบริบทท่ีควรนํามาวิเคราะห ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติ ลกั ษณะภูมิอากาศ ลักษณะภมู ิประเทศ และทรพั ยากรมนษุ ย 1.2 กลมุ อาชีพอุตสาหกรรม ประเด็นสภาพบริบทท่ีควรนํามาวิเคราะห ไดแก ทรพั ยากรธรรมชาติ ลักษณะภูมปิ ระเทศ สภาพภูมอิ ากาศ ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ 1.3 กลมุ อาชีพพาณิชยกรรม ประเดน็ สภาพบรบิ ทที่ควรนํามาวิเคราะห ไดแก ทรพั ยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ ภมู ิประเทศ และทําเลที่ตงั้ 1.4 กลมุ อาชพี ความคิดสรางสรรค ประเด็นสภาพบริบทที่ควรนํามาวิเคราะห ไดแ ก ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรมนุษย 1.5 กลุมอาชีพอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง ประเด็นสภาพบริบทท่ีควร นาํ มาวเิ คราะห ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติ ลกั ษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชวี ิต และทรพั ยากรมนษุ ย 2. กําหนดรายละเอยี ดยอ ยท่จี ะทาํ การวิเคราะหในแตล ะประเด็นของสภาพบริบทแตละ ดานกบั งานอาชีพทกี่ าํ หนดจะดําเนินการพัฒนา เชน ประเด็นของสภาพบริบท รายละเอียดของประเดน็ 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1.1 ความเหมาะสมและคณุ ภาพของทรพั ยากรธรรมชาติ 1.2 ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นชมุ ชน และ/หรือ ชุมชนขา งเคยี งที่ เอ้อื ตองานอาชพี 1.3 ปริมาณและคาใชจ ายในการซ้ือทรพั ยากร 1.4 ปริมาณนํา้ / แหลง นํ้า ทต่ี อ งใชใ นงานอาชพี 1.5 รายละเอียดของประเด็นอืน่ ๆ ทเ่ี กยี่ วของ

30 ประเดน็ ของสภาพบริบท รายละเอยี ดของประเด็น 2. ลกั ษณะภูมิอากาศ 2.1 ลกั ษณะภมู ิอากาศ 2.2 สภาพภมู อิ ากาศกบั การสนบั สนนุ งานอาชีพ 3. ภมู ิประเทศ 2.3 ความสัมพันธของภมู อิ ากาศกับสภาพพนื้ ท่ี 2.4 ความสัมพนั ธของภมู อิ ากาศกับทรพั ยากรธรรมชาติ 4. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี 2.5 รายละเอียดของประเดน็ อ่ืน ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ ง และวิถีชีวิต 3.1 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ 3.2 สภาพภมู ิประเทศกบั การเกอ้ื หนุนงานอาชีพ 5. ทรัพยากรมนษุ ย 3.3 ความสมั พนั ธของภูมปิ ระเทศกบั งานอาชีพ 3.4 ความสัมพนั ธข องภูมิประเทศกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ 3.5 รายละเอียดของประเด็นอื่น ๆ ท่ีเกยี่ วของ 4.1 งานอาชีพสอดคลอ งกบั ศลิ ปะของชุมชน 4.2 งานอาชีพมีความสัมพนั ธก บั วัฒนธรรมของชุมชน 4.3 งานอาชีพมคี วามสัมพนั ธกับประเพณขี องชุมชน 4.4 งานอาชีพมีความสมั พันธกับวิถีชีวติ ของคนในชมุ ชน 4.5 รายละเอยี ดของประเด็นอนื่ ๆ ที่เกยี่ วของ 5.1 ความรู ในการประกอบอาชีพของตนเอง 5.2 ผูรใู นชุมชน ทีม่ คี วามรูเก่ียวกับงานอาชีพ 5.3 แรงงานในชมุ ชนทจ่ี าํ เปนตอ งใชใ นงานอาชพี 5.4 การบรหิ ารงานบคุ คล / แรงงาน 5.5 ความสมั พนั ธของคนในชุมชนกบั ผปู ระกอบการ 5.6 รายละเอยี ดของประเดน็ อ่ืน ๆ ท่เี กยี่ วขอ ง 3. เมื่อสามารถกําหนดรายละเอียดยอยไดในแตละประเด็นของสภาพบริบทแลว ในการวิเคราะห ใหดําเนินการวิเคราะหในแตละดานของการวิเคราะหดวยเทคนิค SWOT ตามตาราง วเิ คราะหด ังน้ี

31 อาชพี ทต่ี ดั สนิ ใจเลอื ก ................................................. สถานการณภ ายในชุมชน จดุ แข็ง จุดออ น 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ 2. ลักษณะภมู ิอากาศ 2. ลกั ษณะภูมิอากาศ 3. ภมู ปิ ระเทศ 3. ภูมปิ ระเทศ 4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชวี ิต 4. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ชี ีวติ 5.ทรัพยากรมนุษย 5.ทรัพยากรมนุษย สถานการณภ ายนอกชมุ ชน โอกาส อปุ สรรค 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 2. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ 2. ลกั ษณะภมู ิอากาศ 3. ภมู ปิ ระเทศ 3. ภมู ปิ ระเทศ 4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชวี ติ \\ 4. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ชี ีวิต 5.ทรัพยากรมนษุ ย 5.ทรัพยากรมนุษย 4. ดาํ เนินการวิเคราะหร ะบุขอ มูลตามความเปน จริง ตามหวั ขอ ของรายละเอียดยอยในแตละ ประเด็นของสภาพบริบทชุมชนวา มีความสัมพันธกับงานอาชีพที่จะดําเนินการพัฒนาอยางไร ท้ังน้ี ในการวเิ คราะหร ะบุขอ มลู ผูดําเนินการไดแกผ ทู ต่ี ัดสนิ ใจขยายอาชีพเพ่อื ความมน่ั คง เปน ผดู าํ เนนิ การเอง โดยตอ งวเิ คราะหระบขุ อมูลดว ยความเปนจริง ในการวิเคราะหระบุขอมูลสถานการณภายในชุมชน เปนการวิเคราะหระบุขอมูล เกย่ี วกบั รายละเอยี ดยอ ยในแตล ะประเดน็ แยกขอ มลู ภายในชุมชนที่เปนเชิงบวกหรือเปนสวนสนับสนุน เก้ือหนุนใหงานอาชีพประสบความสําเรจ็ ในดา นจุดแขง็ และระบุขอ มูลในชุมชนท่ีเปนเชิงลบ หรือเปน ขอมูลท่อี าจจะเปนปญ หาไดก ับงานอาชีพ ในดา นจุดออน ในการวิเคราะหระบุขอมูลสถานการณภายนอกชุมชน เปนการวิเคราะหระบุขอมูล เก่ียวกับรายละเอียดยอยในแตละประเด็น แยกขอมูลภายนอกชุมชนที่เปนเชิงบวก หรือเปนสวน สนบั สนุน เอือ้ ประโยชนใ นการทํางานอาชีพใหบ รรลุวัตถุประสงค หรือเปน ประโยชนตอการดาํ เนินงาน ในดานโอกาส และระบุขอมูลภายนอกชุมชนท่ีเปนเชิงลบ หรืออาจจะเปนสิ่งที่ขัดขวางหรือไม สนับสนุนตอการทํางานอาชีพใหบรรลุวัตถุประสงค หรือเปนปญหาตอการดําเนินงานอาชีพ ในดาน อุปสรรค

32 ตวั อยา งการวิเคราะหระบุขอ มูล อาชพี การขยายผลติ ภัณฑจ ากน้ํามนั มะพราวกลั่นเย็น สถานการณภายในชมุ ชน จดุ แข็ง จุดออ น 1. ทรัพยากรธรรมชาติ ในพน้ื ทตี่ ําบลเกาะกดู มี 1. ทรัพยากรธรรมชาติ ไมม ที รัพยากรธรรมชาติ มะพราวเปน จํานวนมาก เปนวตั ถุดบิ สว นผสมในการผลติ 2. ลกั ษณะภมู อิ ากาศ ลกั ษณะภูมิอากาศ มีความ 2. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ อาจมีปญ หาไดใ นชว งฤดู เหมาะสมตอการทอ งเท่ียว มีนักทอ งเทย่ี วทง้ั มรสมุ เพราะเรอื โดยสารอาจจะไมออกเรอื ชาวไทยและชาวตางประเทศนยิ มเดนิ ทางมา 3. ภมู ิประเทศ ตําบลเกาะกูดหา งจากฝงรว ม เทยี่ วเปนจํานวนมาก จึงเก้ือหนนุ ในการ 80 กโิ ลเมตรทางทะเล อาจจะมปี ญ หาในการ ดําเนินงานอาชีพ ขนสงและการจําหนา ยผลผลิตได 3. ภมู ิประเทศ ตาํ บลเกาะกดู มภี ูมปิ ระเทศเปน 4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ิต ไม เกาะที่มีธรรมชาติสวยงาม มนี ักทองเที่ยวท้งั มขี อ มลู เปน จดุ ออน ชาวไทยและชาวตางประเทศเดนิ ทางมาเที่ยว 5. ทรพั ยากรมนษุ ย ไมมขี อ มูลเปน จดุ ออน เปน จํานวนมาก จงึ เก้ือหนนุ ในการดาํ เนนิ งาน อาชพี 4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวติ นา้ํ มันมะพรา ว เปนผลติ ภัณฑท ส่ี ามารถนําไปใช รว มในการผลิตเปน ผลติ ภัณฑอ นื่ ๆ ได 5. ทรพั ยากรมนษุ ย ดําเนินการดวยสมาชกิ ภายในครอบครัว และสามารถจา งแรงงานใน พน้ื ทีไ่ ด

33 สถานการณภายนอกชุมชน โอกาส อปุ สรรค 1. ทรัพยากรธรรมชาติ ไมมขี อมูลเปนโอกาส 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ จะตอ งส่งั วัตถุดบิ 2. ลักษณะภูมอิ ากาศ นักทองเท่ยี วท้ังชาวไทย สว นผสมในการผลติ จากภายนอกทองถนิ่ มาใช และชาวตา งประเทศนิยมเดนิ ทางมาเทย่ี วเปน ในการผลติ จาํ นวนมาก เพราะมีลกั ษณะภมู ิอากาศ มคี วาม 2. ลกั ษณะภมู อิ ากาศ อาจมปี ญ หาไดใ นชว งฤดู เหมาะสมตอการทองเท่ยี ว จึงเก้อื หนุนในการ มรสุม เพราะเรือโดยสารอาจจะไมออกเรือ ดาํ เนนิ งานอาชพี 3. ภมู ปิ ระเทศ ตาํ บลเกาะกูดหางจากฝง รว ม 3. ภูมปิ ระเทศ ภมู ปิ ระเทศของตาํ บลเกาะกูด 80 กโิ ลเมตรทางทะเล อาจจะมปี ญ หาในการ มมี ะพราวเปนจํานวนมาก และมธี รรมชาติ ขนสง และการจาํ หนา ยผลผลิตได สวยงาม มนี ักทอ งเทีย่ วท้งั ชาวไทยและชาว 4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ ไมมี ตา งประเทศเดนิ ทางมาเทย่ี วเปน จํานวนมาก ขอมูลเปน อปุ สรรค จงึ เกอื้ หนุนในการดําเนนิ งานอาชีพ 5. ทรพั ยากรมนษุ ย มผี ูผ ลติ ในทอ งถน่ิ อื่น ที่ 4. ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ิต ดาํ เนนิ การผลติ อาจสง ผลตอ การจําหนา ยได การดํารงชวี ติ สามารถใชน ํ้ามันมะพราวกลน่ั เยน็ นํามาเปนสว นผสมหลักในการผลิตผลติ ภัณฑ เพื่อใชใ นชวี ิตประจาํ วันได 5. ทรัพยากรมนุษย ไมมีขอ มูลเปน โอกาส 5. เม่ือดําเนินการวิเคราะหร ะบขุ อมูลตามหวั ขอ ของรายละเอียดยอยในแตละประเดน็ ของสภาพบริบทชุมชนแลว ผูว ิเคราะหขอ มูลตองวิเคราะหสรปุ ขอ มลู ทง้ั หมด เพื่อใหม องเหน็ สภาพการณ ท้งั หมด พรอมท่ีจะนาํ ไปกาํ หนดเปาหมายและทิศทางที่จะดาํ เนนิ การขยายอาชพี โดยควรสรุปเปน ขอ เพือ่ ความชดั เจน ตัวอยา งการวเิ คราะหส รุปขอ มูล จากผลการวิเคราะหร ะบุขอมูล สามารถสรปุ ขอมูลไดดังน้ี 1. จากขอ มลู สภาพการณภ ายใน สรุปไดวา การขยายผลติ ภณั ฑจากน้ํามนั มะพรา วกลั่นเย็น สามารถนําน้ํามันมะพราวกล่ันเย็น ไปใชเปนสวนผสมหลักในการผลิตผลิตภัณฑ สําหรับนําไปใชใน ชีวติ ประจาํ วนั ได ประกอบกบั ตาํ บลเกาะกูด เปนแหลงทองเท่ียว ที่มีภูมิประเทศ อุดมไปดวยมะพราว

34 และธรรมชาตสิ วยงาม มลี กั ษณะภูมิอากาศ ที่เหมาะสมตอการทอ งเทย่ี ว ทําใหมีนักทองเท่ียวท้ังชาวไทย และชาวตางประเทศ นิยมเดินทางมาเท่ียวเปนจํานวนมาก จึงเกื้อหนุนในการดําเนินงานอาชีพ โดย สามารถดําเนนิ การไดด ว ยสมาชิกภายในครอบครวั และสามารถจางแรงงานในพื้นท่ีได ทั้งนี้ หากมีการดําเนินงานการขยายผลิตภัณฑจากนํ้ามันมะพราวกลั่นเย็น ตอง คํานึงถึงวัสดสุ วนผสมในการผลติ เพราะในพืน้ ทต่ี ําบลเกาะกูดไมมีทรัพยากรธรรมชาติ เพ่ือใชในการผลิต รวมทั้ง ระยะทางของตาํ บลเกาะกูดหางจากฝงรวม 80 กิโลเมตรทางทะเล และสภาพภูมิอากาศในชวง ฤดมู รสมุ เพราะเรือโดยสารทจี่ ะฝากผลผลิตไปจาํ หนา ยอาจจะไมออกเรอื 2. จากขอมูลสภาพการณภายนอก สรุปไดวา การขยายผลิตภัณฑจากน้ํามันมะพราว กลั่นเย็น สามารถใชน้ํามันมะพราวกล่ันเย็น นํามาเปนวัสดุหลักในการผลิตผลิตภัณฑเพ่ือใช ในชวี ิตประจาํ วัน เพ่ือการจําหนายได เพราะตําบลเกาะกูด เปนแหลงทองเท่ียว ท่ีมีภูมิประเทศ อุดมไป ดวยมะพราว และธรรมชาติสวยงาม มีลักษณะภูมิอากาศ ท่ีเหมาะสมตอการทองเท่ียว ทําใหมี นักทองเทย่ี วทงั้ ชาวไทยและชาวตางประเทศ นิยมเดินทางมาเท่ียวเปนจํานวนมาก จึงเกื้อหนุนในการ ดําเนนิ งานอาชีพ ท้ังนี้ การขยายผลิตภัณฑจากน้ํามันมะพราวกลั่นเย็น ตองคํานึงถึงวัสดุสวนผสมใน การผลิต เพราะตองส่ังซื้อจากภายนอกพื้นที่ รวมทั้ง ระยะทางของตําบลเกาะกูดหางจากฝงรวม 80 กโิ ลเมตรทางทะเล และสภาพภมู อิ ากาศในชวงฤดมู รสมุ เพราะเรอื โดยสารท่ีจะฝากซอ้ื วัสดุสวนผสม ในการผลติ และฝากผลผลติ ไปจาํ หนา ยอาจจะไมม กี ารออกเรอื 3. ภาพรวมการวเิ คราะหสภาพการณสรปุ ไดว า 3.1 มีความเหมาะสมและเปนไปได ในการขยายผลิตภัณฑจากน้ํามันมะพราวกล่ันเย็น เพราะสามารถนํานาํ้ มนั มะพรา วกลัน่ เย็น ไปใชเปน สว นผสมหลักในการผลติ ผลิตภัณฑ สําหรับนําไปใช ในชีวติ ประจาํ วันได 3.2 ดําเนินการขยายอาชีพเพื่อความม่ันคง ใชการบริหารจัดการอาชีพในลักษณะ ครอบครัว และสามารถจางแรงงานเพ่ือสนับสนุนการผลิตได ตามจํานวนการผลิตในแตละชวง 6. เม่อื สามารถวเิ คราะหก าํ หนดเปา หมายและทิศทางท่ีจะดําเนินการขยายอาชีพไดแลว เพื่อใหเกดิ เปา หมายสงู สุดและเสน ทางการดําเนินการขยายอาชีพใหเกิดความม่ันคง ผูประกอบการควร จัดทําแผนพัฒนาธุรกิจชุมชน เพ่ือใหการบริหารจัดการงานอาชีพเปนไปอยางมีระบบและเปาหมายที่ ชัดเจน

35 กจิ กรรมที่ 4 ใหผ เู รียนวิเคราะหชุมชน ตามสภาพบรบิ ทของพืน้ ที่ ไดแ ก ทรพั ยากรธรรมชาติ ลกั ษณะภูมอิ ากาศ ภมู ปิ ระเทศ ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณแี ละวิถชี ีวติ และทรพั ยากรมนษุ ย กบั งาน อาชีพท่กี ําหนดจะขยายงานอาชพี ดว ยเทคนิค SWOT เพอื่ การขยายอาชพี เพอ่ื ความม่นั คง อาชพี ท่ีตดั สนิ ใจเลอื ก ................................................. สถานการณภายในชมุ ชน จุดแขง็ จดุ ออ น 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ 2. ลักษณะภูมอิ ากาศ 2. ลกั ษณะภูมิอากาศ 3. ภูมปิ ระเทศ 3. ภมู ปิ ระเทศ 4. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ 4. ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชวี ิต 5.ทรัพยากรมนษุ ย 5.ทรัพยากรมนษุ ย สถานการณภ ายนอกชมุ ชน โอกาส อปุ สรรค 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ 2. ลักษณะภูมิอากาศ 2. ลักษณะภมู ิอากาศ 3. ภูมปิ ระเทศ 3. ภมู ิประเทศ 4. ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถชี ีวติ 4. ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชวี ติ 5.ทรพั ยากรมนุษย 5.ทรัพยากรมนุษย

36 เอกสารหมายเลข 8 : ใบความรู เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เช่ือวา คนไทยสามารถพัฒนาศักยภาพการคิด การกระทําใหเขมแข็งข้ึน เพ่ือสราง เศรษฐกิจแกปญหาความยากจนดวยการสรางลักษณะนิสัยประจําใหเปนบุคคลท่ีจะทําอะไรตองคิดหา เหตุผล คิดตัดสินใจระบบความพอดีสําหรับตนเองหรือชุมชน กําหนดแนวทางสรางภูมิคุมกันใหกับ อาชพี ทจี่ ะทํา เรียนรู สรา งความรอบรูใหก ระจางพึ่งพาตนเองได และมีคุณธรรม จริยธรรม สงผลใหการ พัฒนาเศรษฐกจิ ของบุคคล สามารถสรางความพอเพียงอยูดีมีสุข และกาวถึงความมั่งมีศรีสุข ดํารงชีวิต อยางพอเพยี งเกื้อกูลสงั คมได การเรยี นรูเพ่อื พฒั นาศกั ยภาพ การคดิ การกระทํา ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จะมุงเนน องคป ระกอบแหงคณุ คา 5 ประการ คือ 1. การพฒั นาทักษะการคดิ หาเหตุผล 2. การพฒั นาทกั ษะการคิดตดั สนิ ใจระบุความพอดสี ําหรับตนเองและชมุ ชน 3. การพัฒนาทกั ษะการคดิ กําหนดแนวทางสรา งภูมิคุมกนั ใหก ับเรอ่ื งทีจ่ ะทํา 4. การพัฒนาทักษะการแสวงหาความรูและสรปุ องคค วามรใู นเร่อื งที่จะทาํ 5. การพัฒนาเจตคติเพอื่ การคิดการกระทาํ ใหเ กิดคณุ คาในคณุ ธรรมและจริยธรรม การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนการนําองคประกอบแหงคุณคา 5 ประการ ไปบูรณาการกับเหตกุ ารณสาระที่นาํ เขา มาเกยี่ วขอ ง ดว ยการนํามาวิเคราะหความสัมพันธระบุ ลกั ษณะปฏสิ มั พนั ธท่ีนาจะเกิดใชเปน ขอมูลสารสนเทศในการตดั สินใจกาํ หนดแผนพัฒนาระดับตาง ๆ การวัดผลประเมนิ ผล ความสําเรจ็ ของการใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ควรจะเปน การประเมินตนเองเพ่ือการพัฒนา เพราะผลสําเร็จของแตละบุคคลแตกตางกัน จึงเปนการวัดผล ประเมินผล เพอื่ บอกตนเองวา ขณะนี้เราอยูตรงไหน แลว เราพอหรือยงั มิใชก ารตัดสินใจวาเกง กวา ใคร ความหมายและลักษณะองคประกอบแหงคณุ คา 5 ประการ ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การท่ีเราจะทําอะไร เราจะตองศึกษาวาอะไรเปนเหตุและลักษณะ ผลท่เี กดิ เปน อยางไรดวยการจําแนกออกใหไดวา ถาเราตองการใหเ กดิ อะไร มีอะไรเปนเหตทุ ่ีทาํ ใหเกิด เหตทุ ี่ 1 เหตทุ ี่ 2 ผลทเ่ี กิดจากความคดิ ตวั อยา ง เหตุที่ 3 รสชาติถกู ปากคนไทยอยแู ลว กลว ยตากมี มีกระแสและผลการวจิ ัยวา คนนิยมกนิ มาก กลวยตากเปน อาหารมคี ุณคาสูง เปน อาหารราคาถูกหาซือ้ งาย

37 ความพอดี หมายถึง ส่ิงท่ีเราจะทํามีความพอดีอยูตรงไหนท่ีเราสามารถเขาถึงไดจริง อยางไมทุกขยากเดอื ดรอนมากนกั ซง่ึ เปน เร่อื งของเอกตั บุคคลดังตัวอยา ง ตัวอยางที่ 1 นางลอยตัดสินใจปลูกกลวยนํ้าวาพันธุมะลิออง เพื่อใชทํากลวยตาก บนพืน้ ท่ี 3 ไร โดยมขี อมูลในการระบุความพอดี ดังนี้ 1. ตองใชแ รงงานของตัวเองเพียงคนเดียว 2. มีความรูวา กลวยเมื่อปลูกแลวจะใชเวลา 12 เดือน จึงใหผลผลิต ถาปลูกเดือนละ 100 ตารางวา เมื่อครบ 12 เดือน จะเตม็ พ้ืนท่ี 3 ไร มผี ลผลติ ออกมาในปริมาณพอดีกับการจัดการตากแหงได เปน ระยะ ๆ 3. ผลผลิตกลว ยตากอบแหงจะมปี ริมาณพอดกี ับการจดั จาํ หนา ยดวยตนเอง ตวั อยา งที่ 2 นายเขม็ ชายพกิ ารเดินไมได แตน่ังเคล่ือนท่ีได ตัดสินใจปลูกหนอไมฝร่ัง 200 ตารางวา (ครง่ึ ไร) โดยมีขอมูลในการระบคุ วามพอดี ดงั น้ี 1. ตองการมีรายไดเพียงวนั ละ 300 บาท ใชเ ลยี้ งตนเอง และคุณแม 2. มที ดี่ ินของตนเอง 2 ไร อยูทา มกลางพ้นื ท่ปี ลูกหนอ ไมฝรั่ง มีบริษัทจัดจําหนายมารับ ซือ้ ถึงชุมชนทกุ วนั 3. ถาเริ่มตน ใชพ ้นื ที่ 200 ตารางวาในการผลิตจะพอดกี บั สภาพรางกายทําไดส บาย ๆ 4. พ้นื ท่ี 200 ตารางวาสามารถใหผลผลิตไดวันละ 8 – 10 กิโลกรมั 5. หนอไมฝร่งั ราคากิโลกรัมละ 40 บาท วันหนึง่ จะมรี ายได 300 – 400 บาท คอ นขา งแนนอน 6. การปฏิบัติการดูแลตนหนอไมฝร่ัง คนปกติน่ังทํา คนพิการจะตองน่ังอยูแลว การเคล่ือนตัวก็ใชว ิธีการถัดไป จงึ เปนกจิ กรรมทเ่ี หมาะสมทส่ี ุดขณะนี้ ภูมิคุมกัน หมายถึง การกําหนดแนวทางการจัดการปองกันความเสียหาย ไดแก การออมสะสมทุนเพ่ือปองกันสภาพคลองทางการเงินและเปนทุนขยายกิจกรรม เม่ือไดจังหวะเวลา ที่สมควรมาถึง การสรางศรัทธาใหลูกคายอมรับไมทอดทิ้งเลิกซื้อขายกับเรา การสรางคุณภาพผลผลิต ใหล ูกคา เชอ่ื ถือไดว า ผลผลิตทซี่ ้อื มคี ณุ ภาพแนน อน การสรา งความรกั ภกั ดตี อ คนรว มงานใหม ีความรสู ึกวา ทํางานอยูก บั เรามชี ีวติ ปลอดภัยมีอยมู กี ินแนนอน ความรอบรู หมายถงึ เม่อื เราคิดหาเหตหุ าผลวา เราจะทําอะไรแลวคิดตัดสินใจวาควรทํา เทาไร จะพอดีกับสภาพท่ีเปนจริงและเขาถึงได ดังน้ัน เมื่อตัดสินใจไดและทําจริงเราจําเปนตองเรียนรู รายละเอยี ดตา ง ๆ แสวงหาความรู ตรวจสอบความรูจนกระจา งบรู ณาการเขากับประสบการณของตนเอง สรปุ เปน องคความรูเพอ่ื ใชด ําเนินการจรงิ ได คุณธรรม หมายถงึ ความคดิ เจตนาท่เี กย่ี วขอ งกับการประกอบอาชพี เปนไปอยา งมีคณุ คา สอดคลอ งกับศลี ธรรม กฎระเบียบ ขอ กาํ หนด และไมส รางความเดอื ดรอนแกส ังคม

38 สรุป ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปน เรอ่ื งของความรูส กึ ความมงุ ม่ัน การรทู ันและเขาใจในส่ิงท่ีจะ ทาํ คิดสรางสรรคและรับรูโลกกวาง เพ่อื การดํารงชีวิตอยูอยางพอเพียงในสังคม ชุมชนของงาน และกาว เขาสโู ลกแหง การแขง ขนั ทางเศรษฐกิจในระบบทุนนยิ มไดอยางมีสติปญ ญา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไมไดปฏิเสธทุนนิยม แตจะใชพลังแหงสติปญญา พัฒนาตนเอง สังคม ชุมชน รวมกัน สรางทุนนิยมใหม นําพาประเทศเขาสูความเปนมหาอํานาจแหงสันติสุขที่มั่นคง ยงั่ ยนื กิจกรรมท่ี 5 ใหผูเรยี นวเิ คราะหการประกอบอาชพี ของตนเอง หรือสมั ภาษณภ มู ิปญ ญาในชุมชน วาไดย ดึ หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวทางในการประกอบอาชีพหรือไม โดยวิเคราะหใหครบท้ัง 5 องคประกอบ

39 เอกสารหมายเลข 9 : ใบความรู เรือ่ ง การวเิ คราะหตรวจสอบระบบความพรอมในการสรา งอาชีพ กรอบแนวคดิ องคประกอบของ องคประกอบของ ปฏิสมั พนั ธ ตรวจสอบกับ เศรษฐกจิ พอเพียง การทาํ อาชพี ทีค่ วรจะเปน สภาพจริง สรุปความพรอ ม 1. เหตุผล 1. ทุน 2. ความพอประมาณ 2. ผลผลิต 3. ภูมคิ มุ กนั 3. ลกู คา 4. ความรอบรู 4. การเรยี นรูพฒั นา 5. คุณธรรม ตนเอง ใชตารางสัมพนั ธส องทาง วิเคราะหความสมั พนั ธ แผนภมู ิแสดงกรอบแนวคิดการวเิ คราะหต รวจสอบระบบความพรอ มในการสรา งอาชพี จากแผนภมู ิดังกลาว จะเห็นวา การวิเคราะหตรวจสอบระบบความพรอมในการสราง อาชีพมภี ารกจิ ท่จี ะตองทํา 2 ข้ันตอน คือ 1. การนาํ องคประกอบของเศรษฐกจิ พอเพยี งและองคป ระกอบการทําอาชพี มาวเิ คราะห โดยตารางสัมพันธสองทาง เพอ่ื คดิ หาปฏิสมั พันธทเ่ี กดิ ขึน้ ระหวา งองคป ระกอบ 2. นําปฏิสัมพนั ธท ่ีวเิ คราะหไดม าตรวจสอบกับสภาพจริงวา มีอะไรบางท่ียังไมพรอม แลว สรุปลักษณะความพรอมและสงิ่ ทจ่ี ะตอ งสรางใหเ กดิ ความพรอ ม การวเิ คราะหร ะบปุ ฏสิ มั พนั ธร ะหวางองคประกอบ ดวยการนาํ องคประกอบของเศรษฐกิจพอเพียงมาบรรจุในตารางสัมพันธสองทางตาม แนวตั้งแลว นําองคป ระกอบทางอาชพี มาบรรจุในตารางสมั พันธสองทางตามแนวนอน แลวระบุความคิด รวบยอดของปฏสิ ัมพันธท่คี วรจะเปน ดงั น้ี

40 ตัวอยา ง : การวเิ คราะหความสัมพันธเพอ่ื กาํ หนดความคิดรวบยอดของปฏสิ ัมพนั ธท ีค่ วรจะเกดิ องคประกอบ เศรษฐกิจ ของการ 4. การเรยี นรูพฒั นา พอเพียง ทําอาชพี 1. ทุน 2. ผลผลติ 3. ลูกคา ตนเอง A A1 A2 A3 A4 ความมเี หตผุ ล เอาจากไหน คณุ ภาพเปน เปนใคร ความสามารถ B B1 อยา งไร ขายใหใ คร ยกระดับคุณภาพ ความพอประมาณ เทา ไร B2 B3 อยางตอเนอ่ื ง C จะทําเทา ไร ขายแบบไหน B4 ภมู ิคมุ กนั ความสามารถที่ D C1 การออม C2 C3 จําเปน ตอ งพัฒนา ความรอบรู - การสะสมทุน ลูกคายอมรบั ความเชอ่ื ทจ่ี ะได ใหเกดิ มีอะไรบาง E ผลิตภัณฑที่ดี C4 คณุ ธรรม D1 D2 D3 ความภกั ดขี อง - แผนธรุ กิจ วธิ ีการผลติ วิธกี ารบริโภค บุคลากรรว มงาน - แผนการลงทุน D4 E3 - การผลิต E1 E2 ผลผลติ ปลอดภัย - การตลาด ระเบยี บวนิ ยั การ คุณภาพไดต าม - การกระจายสินคา ใชเงิน ขอกําหนด E4 อนรุ กั ษ สภาพแวดลอม จากตารางสัมพนั ธสอง ทางเราจะเห็นความคิดรวบยอดของปฏิสัมพันธท้ัง 20 รายการ ทีผ่ ูเ รียนผูประกอบอาชพี จะตองคิดหาคําตอบในทกุ รายการ (ตั้งแต A1 ไปจนถึง E4) กับสภาพท่ีเปนจริง ของตนเองแลวจาํ แนกรายการทีม่ ีความพรอม และรายการที่ไมพรอ ม กจ็ ะเปนการตรวจสอบความพรอม ในการสรา งอาชพี จาก 20 คาํ ถาม แลว จัดทําบนั ทกึ สภาพความพรอ มในการสรา งอาชพี

41 ตวั อยาง บนั ทึกความพรอมในการสรางอาชพี การผลติ ผลมะเดื่อฝรง่ั (Fix) อบแหง ความคิดรวบยอดของปฏิสัมพันธ สภาพทเ่ี ปนจรงิ A1 เหตผุ ลเกย่ี วกบั ทนุ : ใชทนุ จากแหลง ใด A1 ทนุ จากการออมของตนเอง B1 ความพอประมาณเกยี่ วกับทนุ : จะตอ งใชเทา ไร B1 เรม่ิ ตนท่ี 20,000 บาท C1 ภมู คิ มุ กนั เก่ียวกับทนุ : การออม การสะสม C1 - D1 ความรอบรูเก่ียวกบั ทนุ : แผนการลงทุน D1 - E1 คุณธรรมทเ่ี ก่ียวกับทุน : ระเบยี บวนิ ัยการใชเงิน E1 มนั่ ใจในการฝกอบรมจากครอบครัว และไปรบั การอบรมสัมมนาเกีย่ วกบั การจดั การทุนแลว A2 เหตุผลเกย่ี วกับผลผลิต : คณุ ภาพเปนอยา งไร A2 ผลผลิตลกู โตขนาด 6 ลกู /กก. เนอ้ื หวานนุม กลิน่ แบบกุหลาบ B2 ความพอประมาณเก่ียวกับผลผลิต : จะทําเทา ไร B2 จะทาํ ผลผลติ 2 ไร C2 ภมู คิ ุมกนั เกีย่ วกบั ผลผลติ : ลกู คายอมรบั C2 - D2 ความรอบรเู กี่ยวกบั ผลผลติ : วิธกี ารผลติ D2 แสวงหาความรูศกึ ษาดูงานสรุปองคค วามรูไดแ ลว E2 คณุ ธรรมเกี่ยวกบั ผลผลติ : คุณภาพไดตาม E2 - ขอกาํ หนด A3 เหตุผลเกยี่ วกบั ลูกคา : ขายใหใ คร A3 ขายกับกลุมผรู ักษาสขุ ภาพ B3 เหตผุ ลเกยี่ วกบั ลูกคา : ขายไดไหม B3 ขายตรงกับผูรักสขุ ภาพ C2 ภมู คิ ุมกันเกี่ยวกบั ลกู คา : ความเชื่อถือผลติ ภัณฑ C3 มเี อกสารรับรองคณุ ภาพเกษตรอินทรยี ข อง กรมวิชาการเกษตร D3 ความรอบรเู กย่ี วกับ : มาตรฐานคณุ ภาพผลผลติ D3 จัดทาํ เอกสารคณุ คา ผลผลติ และวิธกี ารบริโภค กาํ กับสนิ คา E3 คณุ ธรรมเก่ยี วกับลกู คา : ผลผลิตปลอดภัย E3 ใชกระบวนการเกษตรอนิ ทรยี ไ มใชสารพษิ A4 เหตุผลเก่ยี วกบั การพฒั นาตนเอง : ความสามารถ A4 - ยกระดับคณุ ภาพอยา งตอ เน่ือง B4 ความพอประมาณเกี่ยวกบั การพฒั นาตนเอง : B4 - ศกั ยภาพทต่ี อ งพฒั นา C4 ภูมิคมุ กนั เกยี่ วกับการพัฒนาตนเอง : ความภกั ดี C4 มกี ารพัฒนาทกั ษะการทํางาน มสี วสั ดิการรานคา ของผูรว มงาน ประกนั ความอดอยาก D4 ความรอบรเู กย่ี วกบั การพฒั นาตนเอง : การผลิต D4 การขยายพันธุ การบาํ รงุ รักษาตน การแปรรูป การตลาด ความสัมพนั ธก บั ชมุ ชน อบแหง (Fix) E4 คุณธรรมเกย่ี วกับการพฒั นาตนเอง : การอนรุ ักษ E4 กระบวนการเกษตรอนิ ทรยี เ ปนกระบวนการ ส่ิงแวดลอ ม อนุรักษส่ิงแวดลอ มอยแู ลว

42 จากตารางตัวอยาง ทําใหเราทราบวา การเขาสูอาชีพผลิตมะเดื่อฝร่ังอบแหง ยังมีรายการที่ตอง ดําเนนิ การเรยี นรูค ิดเพ่มิ เติม 6 รายการ สรุป การวเิ คราะหต รวจสอบระบบความพรอมในการสรา งอาชีพ เปนกระบวนการวิเคราะห ดวยตารางสองตาราง เพื่อสรุปความคิดรวบยอดของปฏิสัมพันธระหวางองคประกอบทางเศรษฐกิจ พอเพียง กับองคประกอบในระบบอาชีพ จากสภาพท่ีเปนจริงของผูประกอบอาชีพจะสะทอนใหรูจัก ตนเองมองเห็นสภาพทต่ี องเสรมิ เติมใหเ กดิ ความพรอม กิจกรรมที่ 6 ใหผูเรียนจัดทําบันทึกความพรอมในการสรางอาชีพท่ีตนเองประกอบอยู หรืออาชีพที่ผูเรียน ตองการประกอบการมา 1 อาชีพ ตามความคิดรวบยอดของปฏิสัมพันธระหวางเศรษฐกิจพอเพียงกับ องคป ระกอบการทําอาชพี (ตง้ั แต A1 ไปจนถึง E4)

43 บทท่ี 3 การพฒั นาตนเองเพอ่ื การขยายอาชีพ ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวัง ปฏิบัตกิ ารวิเคราะหตนเองและพฒั นาทักษะ การขยายอาชพี ใหเ ปนลกั ษณะนิสยั ขอบขา ยเน้อื หา เรอื่ งท่ี 1 การวิเคราะหทาํ ความเขาใจและรูจ กั ตวั ตนทแี่ ทจรงิ เร่อื งท่ี 2 การพัฒนาทักษะการขยายอาชีพใหเปน ลักษณะนิสัย สือ่ ประกอบการเรยี นรู 1. เอกสารหมายเลข 10 ใบความรู เรื่อง ตัวตนทีแ่ ทจ ริงของตนเอง 2. เอกสารหมายเลข 11 ใบความรู เร่อื ง การพัฒนาทกั ษะการขยายอาชพี ใหเ ปนลกั ษณะนสิ ัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook