Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 2 หน่วยของสิ่งมีชีวิต

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 2 หน่วยของสิ่งมีชีวิต

Published by Jiab Chanchira, 2021-05-07 08:20:44

Description: แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 2 หน่วยของสิ่งมีชีวิต

Search

Read the Text Version

ม.1 แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 2 หนว่ ยพื้นฐานของสิง่ มชี ีวิต โดย นางสาวจันจิรา ธนันชยั ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย โรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ สำนักบรหิ ำรงำนกำรศึกษำพิเศษ กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 13 ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 หนว่ ยพื้นฐานของสิง่ มชี ีวิต เวลา 2 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนรูเ้ ร่ือง ประเภทของกล้องจลุ ทรรศน์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ผู้สอนนางสาวจันจริ า ธนันชยั 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจาก เซลล์ ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้างและหนา้ ท่ีของระบบต่างๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ท่ีทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน สมั พนั ธก์ นั รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 2. ตัวช้ีวดั ใช้กล้องจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงศกึ ษาเซลล์ และโครงสรา้ งต่างๆ ภายในเซลล์ ว 1.2 ม.1/2 3. สาระสำคัญ กล้องจุลทรรศน์ เปน็ อปุ กรณ์สำหรับมองดูวตั ถุท่ีมีขนาดเล็กเกนิ กว่ามองเห็นดว้ ยตาเปล่า ศาสตร์ที่มุ่ง สำรวจวัตถุขนาดเล็กโดยใช้เครื่องมือดังกล่าวนี้ เรียกว่า จุลทรรศนศาสตร์ (microscopy) กล้องจุลทรรศน์ สามารถแบง่ ออกเปน็ ประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท คอื กลอ้ งจุลทรรศน์แบบใช้แสง (optical microscopes) และกล้องจลุ ทรรศน์อเิ ลก็ ตรอน (electron microscopes) 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ (1) นักเรยี นสามารถอธบิ ายความแตกต่างของกลอ้ งจลุ ทรรศน์ท้ังสองแบบได้ (K) (2) นักเรียนมที ักษะในการเขียนตารางเปรียบเทยี บกล้องจลุ ทรรศนท์ ั้งสองแบบได้ (P) (3) นักเรยี นใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มัน่ ในการทำงาน และมวี นิ ัยในการเรยี น (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น (1) ความสามารถในการสื่อสาร - การอธิบาย การเขยี น การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคิด - การสังเกต การสำรวจ การคิดวิเคราะห์ การสร้างคำอธบิ าย การอภิปราย การส่ือความหมาย การทำกจิ กรรมโดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบคน้ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแกไ้ ขปญั หา - สามารถแกป้ ัญหาที่เกิดขน้ึ ไดอ้ ย่างเหมาะสม

6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - มีวินัย - มุ่งม่ันในการทำงาน - ใฝ่เรยี นรู้ 7.สาระการเรยี นรู้  กล้องจุลทรรศน์ เป็นอุปกรณ์สำหรับมองดูวัตถุที่มีขนาดเล็กเกินกว่ามองเห็นด้วยตาเปล่า ศาสตร์ที่มุ่ง สำรวจวตั ถุขนาดเล็กโดยใชเ้ ครอ่ื งมือดังกล่าวนี้ เรียกว่า จุลทรรศนศาสตร์ (microscopy)  เดิมการศกึ ษาวัตถุที่มขี นาดเล็กมากใชเ้ พยี งแว่นขยายและเลนส์อันเดียวส่องดู เช่นเดียวกบั การใช้แว่นขยาย ส่องดูลายมือ ช่วงปี พ.ศ. 2133 แซคาเรียส แจนเซน ช่างทำแว่นชาวดตั ช์ ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์ ประกอบ ประกอบด้วยแว่นขยายสองอัน ต่อมา กาลิเลโอ กาลเิ ลอีไดส้ ร้างแวน่ ขยายส่องดูสิ่งมชี ีวิตเล็ก ๆ ในปี พ.ศ. 2208 โรเบิร์ต ฮุกได้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ชนดิ เลนสป์ ระกอบที่มีลำกลอ้ งรูปร่างสวยงาม ป้องกันการ รบกวนจากแสงภายนอกได้ และไม่ต้องถือเลนส์ให้ซ้อนกัน เขาส่องดูไม้คอร์กที่ฝานบาง ๆ แล้วพบช่องเล็ก ๆ มากมาย เขาเรียกช่องเหล่านั้นว่าเซลล์ ซึ่งหมายถึงห้องว่าง ๆ หรือห้องขัง เซลล์ที่ฮุกเห็นเป็นเซลล์ที่ตายแล้ว เหลือแต่ผนังเซลล์ของพืชซึ่งแข็งแรงกว่าเยื่อหุ้มเซลล์ในสัตว์ จึงทำให้คงรูปร่างอยู่ได้ ฮุกจึงได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ตั้ง ชอื่ เซลล์ ในปี พ.ศ. 2215 อนั โตนี ฟนั เลเวินฮุก ชาวดตั ช์ สร้างกลอ้ งจุลทรรศนช์ นิดเลนสเ์ ดียวจากแว่นขยายที่ เขาฝนเอง แว่นขยายบางอันขยายได้ถึง 270 เท่า เขาใช้กล้องจุลทรรศนต์ รวจดูหยดน้ำจากบึงและแม่นำ้ และ จากน้ำฝนที่รองไว้ในหม้อ เห็นสิ่งมีชีวิตเลก็ ๆ มากมาย นอกจากนี้ เขายังส่องดูสิ่งมีชีวติ ต่าง ๆ เช่น เม็ดเลือด แดง, กล้ามเนื้อ เป็นต้น เมื่อเขาพบสิ่งเหล่านี้ เขารายงานไปยังราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน จึงได้รับการยก ย่องว่าเปน็ ผูป้ ระดษิ ฐก์ ลอ้ งจลุ ทรรศน์  ประเภทของกล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์สามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท คือ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (optical microscopes) และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (electron microscopes) ชนิดที่พบได้มากที่สุด คือชนิดที่ประดิษฐ์ขึ้นเป็นครั้งแรก เรียกว่า กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง เป็นอุปกรณ์ใช้แสงอย่างหนึ่ง มีเลนส์ อย่างนอ้ ย 1 ชิ้น เพื่อทำการขยายภาพวัตถทุ ่ีวางในระนาบโฟกสั ของเลนสน์ ้นั ๆ

 กล้องจุลทรรศน์แบบใชแ้ สง 1. Light microscope เปน็ กล้องจลุ ทรรศนท์ ี่พบอยู่ทว่ั ไป โดยเวลาส่องดจู ะเหน็ พื้นหลงั เป็นสขี าว และ จะเห็นเช้ือจลุ ินทรยี ์มสี เี ขม้ กว่า 2. Stereo microscope เปน็ กลอ้ งจลุ ทรรศนท์ สี่ ่องดสู ิง่ มีชีวิตทไี่ ม่เล็กมาก ส่องดูเปน็ 3 มิติ สว่ นใหญจ่ ะ ใชใ้ นการศึกษาแมลง 3. Dark field microscope เปน็ กล้องจุลทรรศน์ท่มี ีพืน้ หลังเป็นสดี ำ เหน็ เชอื้ จลุ ินทรียส์ วา่ ง เหมาะ สำหรบั ใชส้ ่องจุลินทรยี ์ท่ีมีขนาดเล็กทตี่ ดิ สยี าก 4. Phase contrast microscope ใช้สำหรับส่องเชอ้ื จุลินทรียท์ ่ยี ังไม่ไดท้ ำการย้อมสี จะเหน็ ชัดเจนกวา่ Light microscope 5. Fluorescence microscope ใชแ้ หลง่ กำเนิดแสงเป็นอัลตราไวโอเลต ส่องดูจุลนิ ทรีย์ทย่ี ้อมดว้ ยสาร เรอื งแสง ซ่ึงเม่อื กระทบกบั แสง UV จะเปล่ียนเป็นแสงช่วงท่ีมองเหน็ ได้ แลว้ แตช่ นดิ ของสารทใี่ ช้ พ้ืน หลังมักมีสีดำ  กลอ้ งจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอน กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope) เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีกำลังการขยายสูงมาก เพราะใชล้ ำแสงอเิ ล็กตรอนแทนแสงปกติและใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าแทนเลนส์แกว้ เปน็ กล้องท่ใี ช้ในการศึกษา โครงสร้าง และส่วนประกอบของเซลล์ ได้อย่างละเอียด ที่กล้องชนิดอื่นไม่สามารถทำได้ มีกำลังขยาย 1,600 เท่า กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ( Electron microscope) เป็นชนิดของกล้องจุลทรรศน์แบบหนึ่งที่ใช้ อิเล็กตรอนที่ถูกเร่งความเร็วเป็นแหล่งที่มาของการส่องสว่าง เนื่องจากอิเล็กตรอนมีความยาวคลื่นสั้นกว่าโฟ ตอนของแสงที่มนุษย์มองเห็นได้ถึง 100,000 เท่า กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนจึงมีกำลังขยายสูงกว่ากล้อง จุลทรรศน์แบบใช้แสงและสามารถเปิดเผยให้เห็นโครงสร้างของวัตถุที่มีขนาดเล็กมากๆได้ กล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านสามารถให้รายละเอียดได้สูงถึง 50 picometre และมีกำลังการขยายได้ถึงประมาณ 10,000,000 เทา่ ขณะทีส่ ่วนใหญ่ของกล้องจลุ ทรรศน์แบบแสงจะถูกจำกดั โดยการเล้ยี วเบนของแสงที่ให้ความ ละเอียดประมาณ 200 นาโนเมตรและกำลังขยายที่ใชการไดต้ ่ำกว่า 2000 เทา่ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านใช้เลนส์ไฟฟ้าสถิตและแม่เหล็กไฟฟ้า ( electrostatic and electromagnetic lenses) ในการควบคุมลำแสงอิเล็กตรอนและโฟกัสมันเพื่อสร้างเป็นภาพ เลนส์แสง อเิ ลก็ ตรอนเหล่านี้เปรยี บเทยี บไดก้ บั เลนสแ์ ก้วของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงออปตคิ อล

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนถูกนำไปใช้ในการตรวจสอบโครงสร้างขนาดเล็กมากๆของตัวอย่างทาง ชีวภาพและอนินทรีที่หลากหลายรวมทั้งจุลินทรีย์ เซลล์ชีวะ โมเลกุลขนาดใหญ่ ตัวอย่างชิ้นเนื้อ โลหะ และ คริสตัล ด้านอุตสาหกรรมกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนมักจะใช้สำหรับการควบคุมคุณภาพและก ารวิเคราะห์ ความล้มเหลว กล้องจลุ ทรรศนอ์ เิ ลก็ ตรอนท่ีทนั สมัยสามารถผลติ ภาพถา่ ยขนาดจิว๋ แบบอเิ ล็กตรอน ( electron micrograph) โดยใช้กล้องดิจิตอลแบบพิเศษหรือ frame grabber (อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกที่ใช้จับภาพนิ่งจาก สัญญาณวดิ ีโอแอนะลอกหรือดิจิตอล) ในการจับภาพ เป็นชนิดของกล้องจุลทรรศน์แบบหนึ่งที่ใช้อิเล็กตรอนที่ถูกเร่งความเร็วเป็นแหล่งที่มาของการส่อง สว่าง เนื่องจากอิเล็กตรอนมีความยาวคลื่นสั้นกว่าโฟตอนของแสงที่มนุษย์มองเห็นได้ถึง 100,000 เท่า กล้อง จุลทรรศน์อิเล็กตรอนจึงมีกำลังขยายสูงกว่ากล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงและสามารถเปิ ดเผยให้เห็นโครงสร้าง ของวัตถุที่มีขนาดเล็กมากๆได้ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านสามารถให้รายละเอียดได้สูงถึง 50 picometre และมีกำลังการขยายได้ถึงประมาณ 10,000,000 เท่า ขณะที่ส่วนใหญ่ของกล้องจุลทรรศน์แบบ แสงจะถูกจำกัดโดยการเลี้ยวเบนของแสงที่ให้ความละเอียดประมาณ 200 นาโนเมตรและกำลังขยายที่ใชการ ได้ตำ่ กว่า 2000 เท่า กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านใช้เลนส์ไฟฟ้าสถิตและแม่เหล็กไฟฟ้า ( electrostatic and electromagnetic lenses) ในการควบคุมลำแสงอิเล็กตรอนและโฟกัสมันเพื่อสร้างเป็นภาพ เลนส์แสง อเิ ลก็ ตรอนเหลา่ นเี้ ปรียบเทียบไดก้ บั เลนสแ์ กว้ ของกล้องจลุ ทรรศนแ์ บบใช้แสงออปตคิ อล กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนถูกนำไปใช้ในการตรวจสอบโครงสร้างขนาดเล็กมากๆของตัวอย่างทาง ชีวภาพและอนินทรีย์ที่หลากหลายรวมทั้งจุลินทรีย์ เซลล์ชีวะ โมเลกุลขนาดใหญ่ ตัวอย่างชิ้นเนื้อ โลหะ และ คริสตัล ด้านอุตสาหกรรมกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนมักจะใช้สำหรับการควบคุมคุณภาพและการวิเคราะห์ ความลม้ เหลว กล้องจุลทรรศนอ์ เิ ลก็ ตรอนที่ทนั สมยั สามารถผลติ ภาพถ่ายขนาดจิ๋วแบบอเิ ล็กตรอน ( electron micrograph) โดยใช้กล้องดิจิตอลแบบพิเศษหรือ frame grabber (อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกที่ใช้จับภาพนิ่งจาก สัญญาณวิดีโอแอนะลอกหรอื ดจิ ติ อล) ในการจับภาพ

8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ใช้รูปแบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (10 นาที) (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยต้ังคำถามว่า ธาตุประกอบดว้ ยหน่วยย่อยที่เล็กที่สุดท่ี แสดงสมบตั ขิ องธาตุ คือ อะตอม - แล้วสิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ หรือร่างกายของเรา มีส่วนประกอบหน่วยพื้นฐานที่เล็ก ท่สี ุดวา่ อะไร (แนวคำตอบ คอื เซลล์) - นักเรียนคิดว่าหากเราต้องการศึกษาเซลล์เหล่านั้นเราจะต้องศึกษาโดยวิธีใดได้บ้าง (แนว การตอบ การศึกษาโดยใช้กล้องจุลทรรศน)์ (2) ครูชี้แจงใหน้ กั เรยี นวา่ วนั นคี้ รจู ะสอนเกยี่ วกับประเภทของกลอ้ งจุลทรรศน์ 8.2 ข้นั สำรวจและค้นหา (Exploration) (85 นาที) (1) ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับประเภทของกล้องจุลทรรศน์ให้นักเรียนฟัง โดยใช้สื่อการสอน PowerPoint และใหน้ กั เรยี นอ่านเกล็ดนา่ รใู้ นหนงั สอื หนา้ 81 (2) ครูชี้แจงว่า ในใบงานจะให้นักเรียนเขียนตารางเปรียบกล้องทั้ง 2 แบบ ครูอนุญาตให้ นกั เรียนใชโ้ ทรศัพทค์ ้นหาขอ้ มลู ในเนต็ ได้ (3) นักเรียนรบั ใบงาน เรอ่ื งกลอ้ งจลุ ทรรศน์จากครู และลงมอื ทำใบงาน 8.3 ขั้นอภิปรายและลงข้อสรปุ (Explain) (5 นาที) (1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ดังนี้ (กล้องจุลทรรศน์ เป็นอุปกรณ์ สำหรับมองดูวัตถุที่มีขนาดเล็กเกินกว่ามองเห็นด้วยตาเปล่า ศาสตร์ที่มุ่งสำรวจวัตถุขนาดเล็กโดยใช้เครื่องมือ ดังกลา่ วน้ี เรียกวา่ จุลทรรศนศาสตร์ (microscopy) กลอ้ งจลุ ทรรศน์สามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท คอื กล้องจลุ ทรรศน์แบบใชแ้ สง และกลอ้ งจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอน) 8.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (5 นาที) (1) ครเู พม่ิ เตมิ ความรู้ใหน้ ักเรยี นดังตารางนี้ (เปดิ รูปภาพด้วยโปรเจกเตอรใ์ หน้ ักเรยี นดู) เป็นอุปกรณ์ที่ชื่อว่า TWI-VIS หรือชุดเลนส์ขนาดเล็กที่จะเปลี่ยนสมาร์ทโฟนของเราให้เป็นกล้อง จุลทรรศน์ ใน 1 ชุดมี 2 กำลังขยาย 50 และ 100 เท่า โดยสามารถใช้งานง่าย พกพาสะดวก พร้อมแสดงผล ภาพผ่านทางหน้าจอสมาร์ทโฟนเลย (ไมต่ อ้ งเอาตาจ้อง) 8.5 ขั้นประเมนิ (Evaluation) (10 นาที) (1) นักเรียนและครรู ่วมกันเฉลยใบงาน (2) ครูตัง้ คำถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน (3) นักเรยี นถามในสงิ่ ทส่ี งสยั และยังไม่รแู้ ละครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ

9. สอ่ื การเรียนรู้ (1) สือ่ การสอน PowerPoint (2) หนงั สือวทิ ยาศาสตร์พน้ื ฐาน ม.1 เล่ม 1 (สสวท) (3) ใบงาน เรอ่ื งกล้องจลุ ทรรศน์ (4) โทรศัพทม์ ือถือ 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีการวดั ผล เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน ผปู้ ระเมิน ครผู ู้สอน 1.ด้านความรู้ (K) ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ใบงาน ผ้เู รยี นผา่ นเกณฑ์ ครผู ู้สอน ระดบั พอใชข้ ้นึ ไป นักเรียนสามารถอธิบาย คำตอบในใบงาน ครผู ู้สอน ผูเ้ รียนผ่านเกณฑ์ ความแตกต่างของกล้อง ระดบั พอใชข้ ึ้นไป จลุ ทรรศนท์ ้งั สองแบบได้ ผเู้ รียนผา่ นเกณฑ์ ระดบั พอใช้ข้นึ ไป 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะในการเขียน แบบประเมินทักษะใน กระบวนการ (P) ตารางเปรียบเทียบ การเขียนตาราง นักเรียนมีทักษะในการ กล้องจุลทรรศน์ทั้งสอง เปรียบเทียบกล้อง เขียนตารางเปรียบเทียบ แบบ จุลทรรศนท์ ้ังสองแบบ กล้องจุลทรรศน์ทั้งสอง แบบได้ 3.ด้านคุณลกั ษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน เรียน ตั้งใจ ในการ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ชี้ ในการทำงาน และมีวินยั ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอัน พึ ง ในการเรยี น ตอ่ เวลาในการส่งงาน ประสงค์

เกณฑ์การประเมนิ เกณฑป์ ระเมินดา้ น K รายการประเมิน ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถ นักเรียนสามารถอธิบาย นักเรียนอธิบายความ นักเรียนอธิบายความ อธิบายความแตกต่าง ความแตกต่างของกล้อง แ ต ก ต ่ า ง ข อ ง ก ล ้ อ ง แ ต ก ต ่ า ง ข อ ง ก ล ้ อ ง ของกล้องจุลทรรศน์ จุลทรรศน์ทั้งสองแบบได้ จุลทรรศน์ทั้งสองแบบได้ จุลทรรศน์ทั้งสองแบบได้ ท้ังสองแบบได้ อย่างถูกต้องและครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่(5- เพียงส่วนน้อย(ต่ำกว่า5 (8-10คะแนน) 7คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ข้ึนไป เกณฑก์ ารตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพดา้ นคุณลกั ษณะ (K) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดบั 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อยู่ในระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กวา่ 5 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถึง ปรับปรงุ เกณฑป์ ระเมนิ ด้าน P รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนมีทักษะใน นักเรียนมีทักษะในการ นักเรียนทำการทดลองหา นกั เรยี นมีทกั ษะในการเขียน ก า ร เ ข ี ย น ต า ร า ง เขียนตารางเปรียบเทียบ จุดเดือดของสารบริสุทธิ์ ตารางเปรียบเทียบกล้อง เปรียบเทียบกล้อง กล้องจุลทรรศน์ทั้งสอง และสารผสมได้ถูกต้องเป็น จุลทรรศน์ทั้งสองแบบได้ จุลทรรศน์ทั้งสองแบบ แบบได้อย่างถูกต้องและ ส่วนใหญ่ ( 5-7 คะแนน) เพียงส่วนน้อย (ต่ำกว่า 5 ได้ ครบถว้ น ( 8-10 คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับ 2 ข้นึ ไป เกณฑ์การตดั สินระดบั คุณภาพด้านคุณลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยู่ในระดับ 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อยู่ในระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กวา่ 5 คะแนน อย่ใู นระดับ 1 หมายถึง ปรับปรงุ

เกณฑป์ ระเมินด้าน A รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมีวนิ ัยในการเรยี น เวลาทกุ คร้งั (4คะแนน) เวลาบางครั้ง (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ข้นึ ไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคุณภาพดา้ นคณุ ลักษณะ (A) 4 คะแนน อยูใ่ นระดบั 3 หมายถึง ดี 2-3 คะแนน อย่ใู นระดบั 2 หมายถึง พอใช้ ต่ำกว่า2 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุง

วช-ร 06 แบบบนั ทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ……………… เรื่อง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้นั …………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครูผสู้ อน …………………………………………….. ตำแหนง่ …………………………………… เวลาที่ใช้ ……… ชวั่ โมง ************************* ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทีม่ กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผเู้ รยี น ลงชอื่ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนนั ชยั ) ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

11. ผลการประเมิน นักเรยี นทั้งหมด………………คน ดา้ น (K) นักเรยี นสามารถอธิบายความแตกตา่ งของกลอ้ งจุลทรรศน์ทง้ั สองแบบได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คิดเป็นรอ้ ยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอยูใ่ นระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. ด้าน (P) นักเรยี นมที กั ษะในการเขยี นตารางเปรยี บเทียบกล้องจุลทรรศน์ท้ังสองแบบได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยู่ในระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยูใ่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. ด้าน (A) นกั เรยี นใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่นั ในการทำงาน และมวี ินัยในการเรียน ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ…………… ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยู่ในระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. รายช่ือนกั เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน สาเหตุ-ปัญหา แนวทางแก้ไข ลำดับ ชื่อ-สกลุ ลงช่ือ...............................................(ผ้สู อน) (..............................................)

ใบงาน เรื่องกล้องจลุ ทรรศน์ คำชแี้ จง จงตอบคำถามต่อไปนใี้ ห้ถกู ต้อง 1. กล้องจลุ ทรรศน์ หมายถึงอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. กลอ้ งจลุ ทรรศนแ์ บ่งออกเป็นกป่ี ระเภท อะไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เพราะเหตุใดกล้องจุลทรรศน์อิเลก็ ตรอนจึงมีกำลังขยายสงู กว่ากลอ้ งจลุ ทรรศน์แบบใช้แสงและสามารถ เปดิ เผยให้เห็นโครงสรา้ งของวตั ถุที่มีขนาดเลก็ มากๆได้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. นักวทิ ยาศาสตร์ที่ใช้กล้องจุลทรรศนต์ รวจดหู ยดน้ำจากบึงและแมน่ ้ำมีชื่อวา่ อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ในการศกึ ษาเซลล์เบ้ืองต้น ส่วนใหญ่ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศน์แบบใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. จงเขยี นตารางและอธิบายเปรียบเทยี บกล้องจุลทรรศน์ใชแ้ ละและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน

เฉลยใบกจิ กรรม คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปนี้ใหถ้ กู ต้อง 1. กล้องจุลทรรศน์ หมายถงึ อะไร ……เน…ือ่ …ง…จา…ก…อ…เิ ล…็ก…ต…รอ…น…ม…ีค…วา…ม…ย…าว…ค…ล…ื่นส…้ัน…ก…ว…า่ โ…ฟ…ตอ…น…ข…อ…งแ…ส…ง…ทมี่…น…ุษ…ย…์ม…อง…เห…็น…ไ…ด…้ถึง…1…0…0…,0…0…0…เท…า่ ……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. กล้องจุลทรรศนแ์ บ่งออกเปน็ กป่ี ระเภท อะไรบา้ ง ……ก…ล…้อ…งจ…ลุ …ท…ร…รศ…น…์แ…บ…่ง …ได…้ 2……ป…ระ…เภ…ท……คือ……ก…ล้อ…ง…จลุ…ท…ร…ร…ศน…แ์ …บ…บ…ใช…แ้ …ส…ง…(o…pt…ic…al…m…icr…os…co…p…es…) แ…ล…ะ…กล…้อ…ง………… ……จ…ลุ …ท…ร…รศ…น…์อ…เิ ล…ก็ …ต…รอ…น…(…el…ec…tro…n…m…ic…ro…sc…op…es…) ……………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เพราะเหตุใดกล้องจุลทรรศน์อเิ ลก็ ตรอนจงึ มีกำลงั ขยายสงู กวา่ กลอ้ งจลุ ทรรศน์แบบใช้แสงและสามารถ เปิดเผยใหเ้ หน็ โครงสร้างของวตั ถุทม่ี ีขนาดเล็กมากๆได้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……เ…น…่ือ…งจ…า…กอ…เิ …ลก็…ต…ร…อน…ม…ีค…ว…าม…ย…า…วค…ล…่นื …ส…นั้ …กว…่า…โฟ…ต…อ…น…ขอ…ง…แ…สง…ท…ีม่ …น…ุษ…ย์ม…อ…ง…เห…น็ …ได…้ถ…งึ …1…00…,…00…0…เ…ท…่า …………… 4. นกั วทิ ยาศาสตร์ท่ีใชก้ ล้องจุลทรรศน์ตรวจดหู ยดน้ำจากบึงและแม่น้ำมีชื่อวา่ อะไร ……อ…นั …โ…ตน…ี…ฟ…ัน…เล…เ…วิน…ฮ…ุก…ช…า…วด…ตั …ช…์ ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ในการศึกษาเซลล์เบื้องต้น ส่วนใหญ่ใช้กล้องจลุ ทรรศน์แบบใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……ก…ล…อ้ ง…จ…ุลท…ร…ร…ศ…น์แ…บ…บ…ใช…แ้ …ส…ง……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. จงเขียนตารางและอธิบายเปรยี บเทียบกลอ้ งจุลทรรศนใ์ ชแ้ ละและกล้องจลุ ทรรศน์อเิ ล็กตรอน (ตอบ ประมาณนี้)

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 14 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชวี ติ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 แผนการจดั การเรียนรู้เรื่อง ส่วนประกอบของกลอ้ งจลุ ทรรศน์แบบใช้แสง เวลา 2 ชัว่ โมง ผสู้ อนนางสาวจันจริ า ธนันชยั โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจาก เซลล์ ความสัมพันธข์ องโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสตั วแ์ ละมนุษย์ที่ทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน สัมพันธ์กัน รวมท้ังนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ 2. ตัวช้ีวดั ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงศึกษาเซลล์ และโครงสรา้ งตา่ งๆ ภายในเซลล์ ว 1.2 ม.1/2 3. สาระสำคญั กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง เป็นกล้องที่ได้รับการพัฒนาจากในอดีตอย่างมาก และใช้แสงที่ดีที่สุดใน ปัจจุบัน ที่มีกำลังขยายถึง 2,000 เท่าเลยที่เดียวเชียวและเป็นกล้องที่ราคาถูกสามารถใช้ในงานที่ละเอียด พอประมาณ ประกอบด้วยเลนส์ 2 ชนิดคือ เลนส์ใกล้วัตถุและเลนส์ใกล้ตา โดยใช้แสงผ่านวัตถุแล้วขึ้นมาท่ี เลนส์จนเห็นภาพที่บนวตั ถุอย่างชัดเจน ส่วนประกอบของกล้องจลุ ทรรศน์ การใช้กล้องจลุ ทรรศน์ และข้อควร ระวงั ในการใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์ 4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ (1) นักเรยี นสามารถระบุสว่ นประกอบของกลอ้ งจุลทรรศน์แบบใช้แสงได้ (K) (2) นักเรียนสามารถทำกจิ กรรมการใช้กลอ้ งจลุ ทรรศนแ์ บบใชแ้ สงได้ (P) (3) นักเรยี นใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มนั่ ในการทำงาน และมวี นิ ัยในการเรียน (A) 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน (1) ความสามารถในการสอื่ สาร - การอธิบาย การเขยี น การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคิด - การสังเกต การสำรวจ การคดิ วิเคราะห์ การสร้างคำอธิบาย การอภปิ ราย การสื่อความหมาย การทำกิจกรรมโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื ค้นโดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา - สามารถแก้ปญั หาทเ่ี กิดขน้ึ ได้อย่างเหมาะสม

6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - มวี นิ ยั - ม่งุ มั่นในการทำงาน - ใฝเ่ รียนรู้ 7. สาระการเรียนรู้  กล้องจุลทรรศน์แบบใชแ้ สง เป็นกล้องที่ได้รับการพัฒนาจากในอดีตอย่างมาก และใช้แสงที่ดีที่สุดในปัจจุบัน ที่มีกำลังขยายถึง 2,000 เท่าเลยที่เดียวเชียวและเป็นกล้องที่ราคาถูกสามารถใช้ในงานที่ละเอียดพอประมาณ แบ่งได้เป็น 2 ประเภทดังน้ี กลอ้ งจลุ ทรรศน์ทีใ่ ชแ้ สงแบบธรรมดา ประกอบด้วยเลนส์ 2 ชนดิ คือ เลนสใ์ กลว้ ัตถแุ ละเลนส์ใกล้ตา โดยใชแ้ สงผา่ นวัตถุแล้วขึ้นมาท่ีเลนส์จน เห็นภาพท่บี นวตั ถอุ ย่างชัดเจน ส่วนประกอบของกลอ้ งจลุ ทรรศน์ 1. ลำกล้อง (Body tube) เป็นส่วนที่เชื่อมโยงแยู่ระหว่างเลนส์ใกล้ตากับเลนส์ใกล้วัตถุ มีหน้าป้องกัน ไม่ให้แสงจากภายนอกรบกวน 2. แขน (Arm) คือส่วนท่ที ำหนา้ ท่ียึดระหวา่ งส่วนลำกลอ้ งกับฐาน เป็ยตำหน่งทจ่ี บั เวลายกกลอ้ ง 3. แทน่ วางวัตถุ (Speciment stsge) เปน็ แท่นใชว้ างแผน่ สไลด์ที่ตอ้ งการศกึ ษา 4. ที่หนีบสไลด์ (Stage clip) ใช้หนีบสไลด์ให้ติดอยู่กับแท่นวางวัตถุ ในกล้องรุ่นใหม่จะมี Mechanical stage แทนเพ่อื ควบคุมการเลื่อนสไลด์ใหส้ ะดวกขึน้ 5. กระจกเงา (Mirror) ทำหน้าที่สะท้อนแสงจากธรรมชาติหรือแสงจากหลอดไฟภายในห้องให้ส่องผ่าน วตั ถุโดยท่วั ไปกระจกเงามี 2 ด้าน ดา้ นหนึ่งเป็น6.

6. กระจกเงาเว้า อีกด้านเป็นกระจกเงาระนาบ สำหรับกล้องรุ่นใหม่จะใช้หลอดไฟเป็นแหล่งกำเนิดแสง ซงึ่ สะดวกและชัดเจนกว่า 7. เลนสร์ วมแสง (condenser) ทำหนา้ ทรี่ วมแสงให้เข้มขึ้นเพือ่ สง่ ไปยังวัตถุท่ตี ้องการศึกษา 8. ไดอะแฟรม (diaphragm) อยู่ใต้เลนส์รวมแสงทำหน้าที่ปรับปริมาณแสงให้เข้าสู่เลนส์ในปริมาณที่ ต้องการ 9. ปุ่มปรับภาพหยาบ (Coarse adjustment) ทำหน้าที่ปรับภาพโดยเปลี่ยนระยะโฟกัสของเลนส์ใกล้ วัตถุ (เล่ือนลำกล้องหรือแท่นวางวัตถุขึ้นลง) เพอื่ ทำให้เห็นภาพชดั เจน 10. ปมุ่ ปรบั ภาพละเอยี ด (Fine adjustment) ทำหน้าท่ปี รับภาพ ทำใหไ้ ดภ้ าพท่ีชดั เจนมากข้ึน 11. เลนส์ใกล้วัตถุ (Objective lens) จะติดอยู่กับจานหมุน (Revolving nose piece) ซึ่งจานหมุนนี้ทำ หน้าที่ในการเปลีย่ นกำลงั ขยายของเลนส์ใกลว้ ัตถุ ตามปกติเลนส์ใกล้วัตถุมีกำลังขยาย 3-4 ระดับ คือ 4x 10x 40x 100x ภาพที่เกิดจากเลนส์ใกล้วัตถเุ ปน็ ภาพจรงิ หวั กลับ  การใช้กลอ้ งจุลทรรศน์ 1. การจับกลอ้ งและเคล่อื นยา้ ยกลอ้ ง ต้องใชม้ อื หนงึ่ จับที่แขนและอกี มือหนง่ึ รองที่ฐานของกล้อง 2. ต้ังลำกลอ้ งใหต้ รง 3. เปดิ ไฟเพ่อื ให้แสงเข้าลำกล้องไดเ้ ต็มท่ี 4. หมนุ เลนส์ใกลว้ ัตถุ ใหเ้ ลนสท์ ม่ี กี ำลังขยายต่ำสุดอย่ใู นตำแหนง่ แนวของลำกล้อง 5. นำสไลดท์ ่ีจะศึกษามาวางบนแทน่ วางวัตถุ โดยปรบั ใหอ้ ยูก่ ลางบริเวณทแ่ี สงผ่าน 6. ค่อยๆหมุนปุ่มปรับภาพหยาบให้กล้องเลื่อนขึ้นช้าๆเพื่อหาระยะภาพ แต่ต้องระวังไม่ให้เลนส์ใกล้ วตั ถุกระทบกบั สไลด์ตัวอย่าง เพราะจะทำให้เลนสแ์ ตกได้ 7. ปรับภาพให้ชัดเจนขึ้นด้วยปุ่มปรับภาพละเอียด ถ้าวัตถุที่ศึกษาไม่อยู่ตรงกลางให้เลื่อนสไลด์ให้มา อยู่ตรงกลาง 8. ถ้าต้องการให้ภาพขยายใหญ่ขึ้นให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกำลังขยายสูงกว่าเดิมมาอยู่ในตำแหน่ง แนวของลำกล้อง จากนั้นปรับภาพให้ชัดเจนด้วยปุ่มปรับภาพละเอียดเท่านั้น ห้ามปรับภาพด้วยปุ่มปรับภาพ หยาบเพราะจะทำให้ระยะของภาพ หรือจดุ โฟกสั ของภาพเปล่ียนไป 9. บนั ทึกกำลังขยายโดยหาได้จากผลคูณของกำลงั ขยายของเลนส์ใกล้วัตถุกบั กำลงั ขยายของเลนส์ใกล้ ตา  ขอ้ ควรระวงั ในการใช้กลอ้ งจุลทรรศน์ เนื่องจากกล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่มีราคาค่อนข้างสูงและมีส่วนประกอบที่อาจเสียหายง่าย โดยเฉพาะเลนส์ จงึ ตอ้ งใช้และเก็บรกั ษาดว้ ยความระมดั ระวงั ใหถ้ ูกวธิ ี ซึง่ มวี ธิ ีปฏบิ ตั ิดังนี้ 1. ในการยกกลอ้ งและเคลอื่ นยา้ ยกล้อง ตอ้ งใชม้ ือหนึง่ จับท่แี ขนและอีกมอื หนงึ่ รองที่ฐานของ กล้อง 2. สไลด์และกระจกปิดสไลด์ที่ใชต้ ้องไม่เปยี ก เพราะอาจจะทำให้แท่นวางวัตถเุ กิดสนิม และเลนส์ใกล้ วตั ถอุ าจขึ้นราได้ 3. เมื่อต้องการหมุนปุ่มปรับภาพหยาบต้องมองด้านข้างตามแนวระดับแท่นวางวัตถุ เพื่อป้องกันการ กระทบของเลนส์ใกล้วตั ถกุ บั กระจกสไลด์ ซึง่ อาจทำใหเ้ ลนส์แตกได้ 4. การหาภาพตอ้ งเริม่ ด้วยเลนสใ์ กล้วัตถทุ ม่ี กี ำลงั ขยายตำ่ สดุ กอ่ นเสมอ

5. เมื่อต้องการปรับภาพให้ชัดขึ้นให้หมุนเฉพาะปุ่มปรับภาพละเอียดเท่านั้น เพราะถ้าหมุนปุ่มปรับ ภาพหยาบจะทำให้ระยะภาพหรอื จดุ โฟกัสของภาพเปลี่ยนไปจากเดิม 6. ห้ามใชม้ อื แตะเลนส์ ควรใชก้ ระดาษเชด็ เลนส์ในการทำความสะอาดเลนส์ 7. เมื่อใช้เสร็จแล้วต้องเอาวัตถุที่ศึกษาออก เช็ดแท่นวางวัตถุและเช็ดเลนส์ให้สะอาด หมุนเลนส์ใกล้ วัตถุกำลังขยายต่ำสุดให้อยู่ตรงกลางลำกล้อง และเลื่อนลำกล้องลงต่ำสุด ปรับกระจกให้อยู่ในแนวตั้งฉากกับ แทน่ วางวตั ถุเพ่อื ปอ้ งกันไมใ่ หฝ้ นุ่ เกาะ แลว้ เกบ็ ใส่กล่องหรือตใู้ หเ้ รยี บรอ้ ย 8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ใช้รูปแบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) (5 นาที) (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยนำเอากล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงมาวางหน้าห้องให้ นักเรียนดู แล้วถามนักเรียนกล้องที่วางบนโต๊ะคือกล้องจุลทรรศน์แบบใด(ให้นักเรียนตอบตามความคิดของ นักเรียนเอง) (2) ครูชี้แจงให้นักเรียนว่า วันนี้ครูจะสอนเกี่ยวกับส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้ แสง 8.2 ข้ันสำรวจและค้นหา (Exploration) (95 นาท)ี (1) ครอู ธิบายความร้เู ร่ืองสว่ นประกอบของกล้องจลุ ทรรศน์ให้นักเรียนฟัง โดยใช้ส่ือการสอน PowerPoint และใหน้ กั เรียนศกึ ษาความรูใ้ นหนงั สือหน้า 82-83 (2) ครสู ุ่มถามนกั เรยี นเกย่ี วส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ท่ีครูได้อธบิ าย (3) นักเรียนรับกระดาษเอ 4 คนละ 1 แผ่น แล้วอ่านวิธีการดำเนินกิจกรรมตอนที่ 1 ใน หนังสือหน้า 78 และมาทดสอบทีละ 1 คน โดยเรียงตามเลขท่ี พร้อมตอบคำถามท้ายกิจกรรมไว้ในสมุดของ ตวั เอง (4) สุ่มนักเรียน 2 คนที่วาดภาพได้สวยงามออกมาสรุปผลการทำกิจกรรม พร้อมผลงานของ ตัวเองใหเ้ พอ่ื นๆดู 8.3 ขน้ั อภิปรายและลงข้อสรุป (Explain) (5 นาที) (1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ดังนี้ (กล้องจุลทรรศน์ช่วยให้มอง เห็น วัตถุที่มีขนาดเล็ก ภาพจากกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงจะมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุ เป็นภาพหัวกลับและกลับซ้ายเป็น ขวา หรือกลับขวาเป็นซ้าย และเมื่อเลื่อนสไลด์ภาพที่เห็นจากกล้องจุลทรรศน์จะเคลื่อนไปในทิศทางตรงกัน ข้าม) 8.4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาที) (1) ครูเพมิ่ เติมความรู้ให้นักเรียนโดยอธิบายเก่ยี วกับกล้องจลุ ทรรศน์อิเล็กตรอนดงั น้ี กล้องจลุ ทรรศน์อิเลก็ ตรอนในปจั จุบันมี 2 ชนิดด้วยกัน 1. กลอ้ งจลุ ทรรศน์อเิ ล็กตรอนชนดิ ส่องผา่ น (Transmission Electron Microscope: TEM) หลักการทำงานของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน ลำแสงอิเล็กตรอนเกิดจากการผ่าน กระแสไฟฟ้าแรงสูง เข้าไปในขดลวดทังสเตน (Tungsten filament) ทำให้มีอิเล็กตรอนวิ่งออกมาจากส่วน ปลายของ filament จากนั้นจะวิ่งตรงไปยังวัตถุ ซึ่งลำแสงอิเล็กตรอนที่วิ่งผ่านวัตถุจะวิ่งไปยังเลนส์ใกล้วัตถุ (Objective lens) และจะถูกขยายสัญญาณให้ใหญ่ขึ้นโดย Objective lens สุดท้ายอิเล็กตรอนจะไปกระตุ้น โมเลกลุ ของซงิ ค์ซลั ไฟด์ (Zinc sulfide) ทฉี่ าบอย่บู นฉากรับภาพ (Fluorescence screen) ทำให้เกิดเป็นภาพ

2 มิติ โดยที่วัตถุที่มีค่าเลขอะตอม (Atomic number) มากนั้น ภาพที่ได้จะเห็นเป็นสีดำ ส่วนวัตถุที่มีค่าเลข อะตอมน้อย ภาพท่เี หน็ จะเปน็ สขี าว 2. กลอ้ งจุลทรรศนช์ นิดส่องกราด (Scanning Electron Microscope: SEM) หลักการทำงานของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด เกิดจากการที่ Primary electron ว่ิง ไปกระทบพื้นผิวของวัตถุ ทำให้มีการสะท้อนกลับของพลังงานในรูปแบบต่างๆ เช่น back-scatter electron, รังสีเอ็กซ์ (X-ray) หรือ secondary electron เปน็ ต้น และในลำกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด จะ มีตัวรับสัญญาณที่ทำหน้าที่รับและเปลี่ยน secondary electron ให้เป็นสัญญาณอิเล็กตรอน (electrical signal) แล้วส่งสัญญาณไปยังจอภาพ (Cathode ray tube) เพื่อทำให้เกิดภาพที่ตามองเห็นได้ โดยภาพที่ ออกมาน้นั จะมีลักษณะ 3 มิติ จากนั้นจะบนั ทกึ ภาพลง Photographic (2) นักเรียนรับใบงาน เรื่องส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์จากครู และเอาไปทำเป็น การบา้ น 8.5 ข้นั ประเมนิ (Evaluation) (5 นาที) (1) ครตู ้งั คำถามเพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรียน (2) นกั เรียนถามในส่งิ ทส่ี งสัยและยังไม่ร้แู ละครูอธบิ ายเพม่ิ เติม (3) สงั เกตความสนใจและความกระตอื รือร้นของนักเรียน 9. ส่ือการเรยี นรู้ (1) สื่อการสอน PowerPoint (2) หนังสือวทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน ม.1 เลม่ 1 (สสวท) (3) ใบงาน เร่ืองส่วนประกอบของกล้องจลุ ทรรศน์ (4) วสั ดุ/อุปกรณใ์ นการทำกิจกรรม ได้แก่ 1. กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสง 1 กลอ้ ง 2. แวน่ ขยาย 1 อนั 3. สไลด์ 1 แผน่ 4. ปากกา 1 ดา้ ม 5. เทปใส 1 ม้วน 6. กระดาษเอ 4

10. การวดั ผลและประเมินผล จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วธิ ีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมิน ผูป้ ระเมิน ครูผ้สู อน 1.ดา้ นความรู้ (K) ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ใบงาน ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ ครผู ู้สอน ระดบั พอใช้ขึ้นไป นักเรียนสามารถระบุ คำตอบในใบงาน ครผู ู้สอน ผู้เรยี นผ่านเกณฑ์ ส่วนประกอบของกล้อง ระดับพอใช้ขน้ึ ไป จลุ ทรรศนแ์ บบใชแ้ สงได้ 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะการทำกิจกรรม แบบประเมินทักษะ กระบวนการ (P) การใช้กล้องจุลทรรศน์ การทำกิจกรรมการใช้ นักเรียนสามารถทำ แบบใชแ้ สง กล้องจุลทรรศน์แบบ กิจกรรมการใช้กล้อง ใช้แสง จลุ ทรรศน์แบบใช้แสงได้ 3.ดา้ นคณุ ลกั ษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผเู้ รยี นผา่ นเกณฑ์ ระดับพอใช้ขึน้ ไป นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน เรียน ตั้งใจ ในการ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ช้ี ในการทำงาน และมีวินยั ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอัน พึ ง ในการเรยี น ตอ่ เวลาในการส่งงาน ประสงค์

เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์ประเมินดา้ น K รายการประเมนิ ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรับปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถระบุ นักเรียนสามาร ถ ร ะ บุ นักเรียนระบุส่วนประกอบ นักเรียนระบุส่วนประกอบ ส ่ ว น ป ร ะกอบ ของ ส่วนประกอบของกล้อง ของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้ ของกล้องจุลทรรศน์แบบ กล้องจุลทรรศน์แบบ จุลทรรศน์แบบใช้แสงได้ แสงได้ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ใช้แสงได้ เพียงส่วนน้อย ใช้แสงได้ อย่างถูกต้องและครบถ้วน (5-7คะแนน) (ตำ่ กว่า5คะแนน) (8-10คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดบั 2 ขึ้นไป เกณฑก์ ารตดั สินระดับคุณภาพด้านคุณลกั ษณะ (K) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดับ 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยู่ในระดบั 2 หมายถึง พอใช้ ตำ่ กว่า 5 คะแนน อยู่ในระดบั 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ เกณฑ์ประเมินดา้ น P รายการประเมนิ ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรับปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถทำ น ั ก เ ร ี ย น ส า ม า ร ถ ท ำ นักเรียนทำกิจกรรมการใช้ นักเรียนทำกิจกรรมการใช้ กิจกรรมการใช้กล้อง กิ จ กร ร ม กา ร ใ ช ้ ก ล ้ อง กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง กล้องจุลทรรศน์แบบใช้ จุลทรรศน์แบบใช้แสง จุลทรรศน์แบบใช้แสงได้ ได้ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ( 5- แสงได้ เพียงส่วนน้อย (ต่ำ ได้ อย่างถูกต้องและครบถว้ น ( 7 คะแนน) กวา่ 5 คะแนน) 8-10 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ข้นึ ไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดบั คุณภาพด้านคุณลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยู่ในระดับ 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อยู่ในระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กวา่ 5 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถึง ปรบั ปรุง

เกณฑ์ประเมินด้าน A รายการประเมิน ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมีวินยั ในการเรียน เวลาทกุ ครั้ง(4คะแนน) เวลาบางคร้ัง (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดบั 2 ขึน้ ไป เกณฑ์การตดั สินระดับคณุ ภาพด้านคุณลกั ษณะ (A) 4 คะแนน อยใู่ นระดบั 3 หมายถงึ ดี 2-3 คะแนน อย่ใู นระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กว่า2 คะแนน อยู่ในระดบั 1 หมายถงึ ปรับปรงุ

วช-ร 06 แบบบนั ทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ……………… เรื่อง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้นั …………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครูผสู้ อน …………………………………………….. ตำแหนง่ …………………………………… เวลาที่ใช้ ……… ชวั่ โมง ************************* ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทีม่ กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผเู้ รยี น ลงชอื่ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนนั ชยั ) ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

11. ผลการประเมิน นกั เรียนทงั้ หมด………………คน ด้าน (K) นักเรียนสามารถระบสุ ่วนประกอบของกล้องจลุ ทรรศนแ์ บบใชแ้ สงได้ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยู่ในระดบั ดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอยใู่ นระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คิดเปน็ ร้อยละ……………. ด้าน (P) นักเรียนสามารถทำกจิ กรรมการใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์แบบใช้แสงได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยู่ในระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยู่ในระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. ด้าน (A) นกั เรียนใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มั่นในการทำงาน และมวี นิ ยั ในการเรียน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ…………… ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยูใ่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คิดเปน็ ร้อยละ……………. รายชอ่ื นักเรยี นท่ีไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมิน สาเหตุ-ปัญหา แนวทางแก้ไข ลำดับ ชื่อ-สกุล ลงช่อื ...............................................(ผ้สู อน) (..............................................)

ใบงาน เรื่องสว่ นประกอบของกลอ้ งจลุ ทรรศน์

เฉลยใบกจิ กรรม

ตวั อย่างการทำกจิ กรรมตอนท่ี 1



แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 15 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 หน่วยพนื้ ฐานของสง่ิ มีชวี ติ เวลา 2 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนร้เู ร่ือง สิง่ มีชวี ติ เซลล์เดยี ว โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ผู้สอนนางสาวจันจริ า ธนันชยั 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจาก เซลล์ ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้างและหนา้ ท่ีของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน สมั พนั ธก์ นั รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ 2. ตัวช้ีวดั อธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่างรปู รา่ ง กับการทำหน้าทข่ี องเซลล์ ว 1.2 ม.1/3 อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดยเริม่ จากเซลล์เน้ือเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเป็น ว 1.2 ม.1/4 สงิ่ มีชวี ิต 3. สาระสำคญั สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จะประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียว มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น และสามารถทำ หน้าท่ีเป็นรา่ งกายชองสิ่งมชี ีวิตท่สี มบูรณไ์ ด้ ส่งิ มีชีวติ เซลล์เดยี ว แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ แบคทีเรยี และโพร โตซวั 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ (1) นักเรยี นสามารถอธิบายลักษณะและรปู รา่ งสิง่ มชี ีวิตเซลลเ์ ดียวได้ (K) (2) นกั เรยี นสามารถวาดภาพรปู ร่างของสิง่ มชี วี ิตเซลล์เดยี วได้ (P) (3) นักเรียนใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ ม่นั ในการทำงาน และมวี ินยั ในการเรยี น (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น (1) ความสามารถในการสื่อสาร - การอธิบาย การเขยี น การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคิด - การสงั เกต การสำรวจ การคิดวเิ คราะห์ การสร้างคำอธบิ าย การอภิปราย การสอื่ ความหมาย การทำกิจกรรมโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื คน้ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแก้ไขปัญหา - สามารถแกป้ ญั หาทีเ่ กดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

6.คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - มวี ินยั - มงุ่ ม่นั ในการทำงาน - ใฝ่เรยี นรู้ 7. สาระการเรยี นรู้ ทฤษฎีเซลล์ มัตทิอัส ชไลเดน นักพฤกษศาสตร์ ชาวเยอรมนั และเทโอดอร์ ชวันน์ นักสัตว์วิทยาชาว เยอรมัน ได้ร่วมกนตั้งทฤษฎีเซลล์ ได้กล่าวไว้ว่า “สิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์คือหน่วย พน้ื ฐานของสิ่งมชี ีวติ ทุกชนิด” ทฤษฎเี ซลลป์ จั จบุ ัน ได้ครอบคลุมความสำคญั 3 ประการ คือ 1. สิ่งมชี วี ิตท้งั หลายอาจมเี พยี งเซลล์เดยี ว หรอื หลายเซลล์ ซง่ึ ภายในมีสารพนั ธุกรรมและมี กระบวนการเมแทบอลซิ มึ ทำให้สง่ิ มชี วี ติ ดำรงชีวิตอยู่ได้ 2. เซลลเ์ ป็นหน่วยพ้นื ฐานท่ีเล็กท่สี ุดของสงิ่ มชี วี ิตทม่ี ีการจดั ระบบการทำงานภายใน โครงสรา้ งของเซลล์ 3. เซลลม์ กี ำเนิดมาจากเซลล์แรกเริ่ม เซลล์เกิดจากการแบ่งตวั ของเซลลเ์ ดิม แม้ว่าชีวิต แรกเร่ิมจะมวี วิ ัฒนาการมาจากสิง่ ไม่มชี วี ติ แต่นักชีววทิ ยายังคงถือวาการเพ่ิมขึน้ ของ จำนวนเซลล์เป็นผลสบื เนอื่ งมาจากเซลล์รุน่ ก่อน สง่ิ มีชีวิตเซลล์เดียว สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จะประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียว มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น และสามารถทำ หน้าที่เป็นร่างกายของสิ่งมีชีวิตที่สมบูรณ์ได้ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. แบคทีเรีย 2. โพรโตซัว เช่น อะมบี า พารามเี ซยี ม แบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น และเป็นพืช เซลลเ์ ดียวท่ี nucleus ไมม่ ีเยือ่ หุ้มซงึ่ เรียกว่า prokaryotic cell และไม่มีคลอโรฟิลล์ สืบพันธุ์โดยวิธีการแบ่งเซลล์ (binary fission) ผนังเซลล์เป็นสารประกอบไนโตรเจนเป็นส่วนใหญ่ แบคทีเรีย มีรูปร่างเป็น 3 แบบ คือ รูปท่อน (แบซิลลัส) ทรง กลม (คอคดสั ) และแบบเกลียว (สไปริลลมั )

สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เป็นพวกโพรโตซัว สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน มีลักษณะ คล้ายสตั วเ์ คลอ่ื นท่ีได้ บางชนดิ มีคลอโรฟิลล์ มนี วิ เคลยี สท่แี ท้จรงิ เช่น ยกู ลนี า พารามีเซียม อะมีบา ไดอะตอม ฯลฯ สิง่ มชี วี ิตเซลล์เดียว แบ่งได้ 2 ลกั ษณะ คอื 1. มีรูปร่างทแี่ น่นอน 2. มีรปู รา่ งที่ไมแ่ น่นอน สิ่งมชี วี ิตเซลล์เดียวทม่ี ีรูปร่างไม่แน่นอน ยูกลีนา (Euglena) รูปร่างไม่แน่นอน เซลล์ไม่แข็งแรงและไม่มีผนังเซลล์เคลื่อนที่โดยใช้แฟลกเจลลมั (เคลื่อนทโ่ี ดยการพดั โบก) ภายในเซลลม์ นี ิวเคลยี สคลอโรพลาสตฟ์ ูดแวควิ โอลและอายสปอต อะมีบา (Ameba) มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนไปตามการเคลื่อนที่โดยการไหล ตามของเหลวในไซ โทพลาสซึม พบได้ในแหลง่ น้ำธรรมชาติตามบ่อหรอื แหลง่ น้ำทว่ั ๆไป อาหารของอะมบี าคสื ง่ิ มีชีวติ เซลล์เดียวท่ีมี ขนาดเล็กกว่า เช่น แบคทีเรยี สบื พันธ์โดยการ แบ่งตัวออกเปน็ สองส่วน ส่งิ มีชีวติ เซลลเ์ ดยี วที่มรี ูปรา่ งแนน่ อน สงิ่ มชี ีวิตเซลล์เดยี วที่มีรูปรา่ งทีแ่ นน่ อน ไดแ้ ก่ พารามเี ซียม สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน จำพวกไดอะตอม

พารามเี ซียมเป็นพวกโพรโตซัว เซลลเ์ ดียว รูปรา่ งคลา้ ยรองเทา้ แตะ อาศัยในน้ำจืด ตามบอ่ บงึ ทอ้ งร่อง ที่มีใบไม้เศษส่งิ ต่างๆ เนา่ เปือ่ ย เคล่อื นที่ด้วยซเิ รียข้างลำตวั 8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ใช้รูปแบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) (10 นาที) (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนสังเกตภาพจากหนังสือเรียนซึ่งเป็นภาพ เลือดที่กำลังแข็งตัวภายใต้กล้องจุลทรรศน์ที่มีกำลัง ขยายสูงและอ่านเนื้อหานำบท จากนั้นอภิปรายโดย ใช้ คำถามต่อไปน้ี (ใหน้ กั เรยี นตอบตามความคิดของนักเรียนเอง) - เลอื ดท่ีกำลงั แข็งตวั ประกอบด้วยอะไรบ้าง (แนวคำตอบ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือด ขาว และ เสน้ ใยไฟบรนิ ) - รูปร่างลักษณะของเซลล์แต่ละชนิดมคี วาม เหมือนหรือต่างกันหรือไม่อย่างไร (แนวคำตอบ ต่างกัน โดยเซลล์เม็ดเลือดแดง มีลักษณะเป็น ทรงกลมสีแดง เว้าส่วนกลาง เซลล์เม็ดเลือดขาว มีลักษณะเป็น ทรงกลมสีขาวส่วนไฟบรนิ เป็น สารประกอบประเภทโปรตนี ) - เซลล์แต่ละชนิดมีหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร (แนวคำตอบ เซลล์เม็ดเลือดแดงทำหน้าที่ ลำเลยี งแก๊สไป ยงั ส่วนตา่ งๆของรา่ งกายเซลล์เมด็ เลอื ดขาว ทำหนา้ ท่ีกำจดั เชอ้ื โรค) (2) ครูชี้แจงใหน้ ักเรยี นวา่ วันนีค้ รจู ะสอนเก่ียวกับสงิ่ มีชีวติ เซลลเ์ ดียว 8.2 ข้ันสำรวจและคน้ หา (Exploration) (95 นาท)ี (1) ครูอธิบายความรู้เรื่องเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวให้นักเรียนฟัง โดยใช้สื่อการสอน PowerPoint และใหน้ กั เรียนศกึ ษาความรู้เพ่ิมเติมในหนังสอื หนา้ 86 (2) ครูชี้แจงว่า ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 6 กลุ่ม แล้วครูจะให้เลือกตัวแทนนักเรียน 1 คนใน กลุ่มออกมาเพ่ือท่ีจะมาส่องหาพารามีเซยี มจากสไลด์ถาวรท่ีครูเตรียมให้ ปรบั ใหเ้ หน็ ชดั เจนท่ีสุด และให้ทุกคน ในกลมุ่ มาดลู กั ษณะของพารามีเซียม และถ่ายรูปไว้เพือ่ นำไปวาดในใบงานทค่ี รูจะแจกให้ (3) นักเรียนรับใบงาน เร่อื งสิ่งมีชวี ติ เซลลเ์ ดยี วจากครู และลงมอื ทำกิจกรรมโดย เร่มิ จากกลุ่ม ที่ 1 กอ่ น และเรยี งตามลำดบั จนครบทกุ กลุ่ม (4) ครสู มุ่ ตวั แทนนักเรียน 2 กลุ่ม ให้สรปุ เกย่ี วกบั กิจกรรมท่ีทำไป พรอ้ มโชว์รูปภาพที่วาดใน ใบงานให้เพอ่ื นๆดู 8.3 ขั้นอภปิ รายและลงขอ้ สรุป (Explain) (5 นาท)ี (1) นกั เรยี นและครรู ่วมกนั อภิปรายและสรุปความรูด้ งั น้ี (สงิ่ มชี ีวิตเซลลเ์ ดยี ว จะประกอบดว้ ย เซลล์เพียงเซลล์เดียว มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น และสามารถทำหน้าที่เป็นร่างกายชองสิ่งมีชีวิตที่สมบูรณ์ได้ ส่งิ มีชวี ติ เซลลเ์ ดยี ว แบ่งได้เปน็ 2 ประเภท คือ แบคทเี รียและโพรโตซัว) 8.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (5 นาที) (1) ครเู พิม่ เติมความรู้ใหน้ ักเรียนโดยเปดิ วีดีโอ เรื่องพารามเี ซยี ม การกินและย่อยอาหาร การ สืบพนั ธ์ุ จากhttps://www.youtube.com/watch?v=MHRtmdg4sjE ให้นกั เรียนฟัง และครูอธิบายเพม่ิ เติม 8.5 ข้ันประเมิน (Evaluation) (5 นาที) (1) ครตู งั้ คำถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน (2) นักเรียนถามในสิง่ ที่สงสัยและยังไมร่ แู้ ละครอู ธิบายเพิม่ เตมิ (3) สงั เกตความสนใจและความกระตือรอื รน้ ของนักเรยี น

9. ส่อื การเรียนรู้ (1) ส่ือการสอน PowerPoint (2) หนังสือวิทยาศาสตร์พืน้ ฐาน ม.1 เลม่ 1 (สสวท) (3) ใบงาน เรือ่ งสงิ่ มีชวี ติ เซลลเ์ ดียว (4) วดี ีโอ เร่อื งพารามเี ซยี ม การกินและยอ่ ยอาหาร การสบื พนั ธุ์ (5) อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ทำกจิ กรรม ได้แก่ สไลด์ถาวรพารามเี ซียม กล้องจลุ ทรรศนแ์ บบใชแ้ สง โทรศพั ท์มอื ถือ (ของนักเรยี น) 10. การวดั ผลและประเมินผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิธกี ารวดั ผล เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมิน ผู้ประเมนิ ครูผู้สอน 1.ด้านความรู้ (K) ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ใบงาน ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ ครผู ู้สอน ระดับพอใช้ขึ้นไป นักเรียนสามารถอธิบาย คำตอบในใบงาน ครผู สู้ อน ผเู้ รียนผา่ นเกณฑ์ ลักษณะและรูปร่าง ระดบั พอใชข้ น้ึ ไป สิ่งมชี วี ติ เซลลเ์ ดียวได้ 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะการวาดภาพ แบบประเมินทักษะ กระบวนการ (P) รูปร่างของสิ่งมีชีวิต การวาดภาพรูปร่าง นักเรียนสามารถวาด เซลล์เดยี ว ข อ ง ส ิ ่ ง ม ี ช ี ว ิ ต เ ซ ล ล์ ภาพรูปร่างของสิ่งมีชีวิต เดียว เซลล์เดียวได้ 3.ด้านคุณลกั ษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ้เู รียนผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ขึ้นไป นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน เรียน ตั้งใจ ในการ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ช้ี ในการทำงาน และมีวินัย ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอัน พึ ง ในการเรยี น ตอ่ เวลาในการสง่ งาน ประสงค์

เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์ประเมินด้าน K รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) น ั กเ ร ี ย น ส า ม า ร ถ นักเรียนสามารถอธิบาย นักเรียนอธิบายลักษณะและ นักเรียนอธิบายลักษณะ อธิบายลักษณะและ ล ั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ร ู ป ร ่ า ง รูปร่างสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวได้ และรูปร่างสิ่งมีชีวิตเซลล์ รูปร่างสิ่งมีชีวิตเซลล์ สิ่งมีชีวติ เซลล์เดยี วได้ อย่าง ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่(5- เดียวได้เพียงส่วนน้อย(ต่ำ เดียวได้ ถูกต้องและครบถ้วน(8- 7คะแนน) กว่า5คะแนน) 10คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ขนึ้ ไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดบั คณุ ภาพด้านคุณลักษณะ (K) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดับ 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยู่ในระดบั 2 หมายถึง พอใช้ ต่ำกวา่ 5 คะแนน อยูใ่ นระดับ 1 หมายถงึ ปรบั ปรุง เกณฑ์ประเมินด้าน P รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรับปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถวาด นักเรียนสามารถวาดภาพ นักเรียนวาดภาพรูปร่างของ นักเรียนวาดภาพรูปร่าง ภ า พ ร ู ป ร ่ า ง ข อ ง รูปร่างของสิ่งมีชีวิตเซลล์ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวได้ถูกต้อง ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวได้ สิ่งมีชวี ิตเซลล์เดียวได้ เ ด ี ย ว ไ ด้ ถ ู ก ต ้ อ ง แ ล ะ เป็นสว่ นใหญ่ ( 5-7 คะแนน) เพียงส่วนน้อย (ต่ำกว่า 5 ครบถ้วน ( 8-10 คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ข้นึ ไป เกณฑก์ ารตัดสินระดับคณุ ภาพด้านคุณลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยู่ในระดบั 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกวา่ 5 คะแนน อยูใ่ นระดบั 1 หมายถงึ ปรับปรุง

เกณฑป์ ระเมินด้าน A รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมวี ินัยในการเรยี น เวลาทุกครงั้ (4คะแนน) เวลาบางครัง้ (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดบั 2 ข้ึนไป เกณฑก์ ารตัดสินระดับคุณภาพด้านคุณลกั ษณะ (A) 4 คะแนน อยูใ่ นระดับ 3 หมายถงึ ดี 2-3 คะแนน อย่ใู นระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกว่า2 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถึง ปรบั ปรงุ

วช-ร 06 แบบบนั ทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ……………… เรื่อง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้นั …………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครูผสู้ อน …………………………………………….. ตำแหนง่ …………………………………… เวลาที่ใช้ ……… ชวั่ โมง ************************* ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทีม่ กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผเู้ รยี น ลงชอื่ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนนั ชยั ) ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

11. ผลการประเมิน นักเรยี นท้ังหมด………………คน ดา้ น (K) นกั เรียนสามารถอธบิ ายลักษณะและรูปร่างสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอยู่ในระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นรอ้ ยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยูใ่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………….. ไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ด้าน (P) นกั เรียนสามารถวาดภาพรูปร่างของสง่ิ มีชีวติ เซลลเ์ ดียวได้ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. ด้าน (A) นกั เรยี นใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มั่นในการทำงาน และมวี นิ ัยในการเรยี น ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………… ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยูใ่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเปน็ ร้อยละ……………. รายชื่อนักเรยี นที่ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ สาเหตุ-ปญั หา แนวทางแก้ไข ลำดบั ช่ือ-สกลุ ลงช่อื ...............................................(ผู้สอน) (..............................................)

ใบงาน เรื่องสิง่ มชี วี ิตเซลลเ์ ดยี ว คำช้แี จง จงตอบคำถามให้ถูกต้อง 1. สิ่งมชี ีวิตเซลลเ์ ดยี วมีลกั ษณะอย่างไร ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................... ........................................................................ 2. ส่ิงมีชีวติ เซลล์เดยี วมกี ล่ี กั ษณะ อะไรบา้ ง ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ 3. นักเรียนยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีรูปร่างไม่แน่นอนมา 1 ชนิด พร้อมอธิบายลักษณะของสิ่งมีชีวิต น้ัน ....................................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................... ....................................................... 4. นกั เรียนยกตวั อย่างสิ่งมีชีวิตเซลลเ์ ดียวท่ีมีรูปร่างแน่นอนมา 1 ชนิด พร้อมอธบิ ายลกั ษณะของสิง่ มีชวี ติ นั้น ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ 5. แบคทีเรียมีรูปรา่ งก่ีแบบอะไรบา้ ง ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................... .................................... ช่อื -นามสกุล………………………..…………………………………………………………..ชน้ั ………………..เลขท่ี…………

คำช้แี จง ใหน้ กั เรียนวาดรปู ลกั ษณะเซลลข์ องสิ่งมชี วี ติ เซลล์เดยี วมา 1 ชนดิ

เฉลยใบกิจกรรม 1.ส่ิงมชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วมีลักษณะอยา่ งไร สิ่งมชี ีวิตเซลลเ์ ดยี ว จะประกอบดว้ ยเซลล์เพยี งเซลล์เดียว มองดว้ ยตาเปลา่ ไม่เห็น และสามารถทำ หนา้ ท่เี ปน็ ร่างกายชองส่ิงมชี วี ิตทีส่ มบูรณ์ได้ สิ่งมีชวี ิตเซลล์เดียว แบง่ ได้เป็น 2 ประเภท คือ แบคทีเรยี และโพร โตซัว 2.สิง่ มชี ีวติ เซลล์เดยี วมกี ี่ลักษณะ อะไรบา้ ง ส่งิ มีชวี ติ เซลล์เดยี ว แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ลักษณะ คอื 1.มีรูปร่างที่แนน่ อน 2.มีรูปรา่ งทไี่ ม่แน่นอน 3.นักเรยี นยกตัวอยา่ งสิ่งมีชวี ิตเซลลเ์ ดยี วที่มีรูปร่างไม่แน่นอนมา 1 ชนิด พร้อมอธิบายลักษณะของส่งิ มีชวี ิตนนั้ ยูกลนี า รูปรา่ งไม่แน่นอน เซลลไ์ ม่แข็งแรงและไม่มีผนงั เซลล์ เคลอ่ื นทโ่ี ดยใช้แฟลกเจลลมั (เคล่อื นท่ี โดยการพดั โบก) ภายในเซลล์มีนวิ เคลยี ส ครอโรพลาสต์ ฟูดแวควิ โอลและอายสปอต 4.นกั เรียนยกตัวอย่างส่งิ มีชวี ิตเซลล์เดียวที่มรี ูปร่างแน่นอนมา 1 ชนดิ พรอ้ มอธิบายลักษณะของสิ่งมชี วี ิตนั้น พารามเี ซียมเป็นพวกโพรโตซัวเซลล์เดยี ว รปู รา่ งคล้ายรองเท้าแตะ อาศัยในน้ำจดื ตามบ่อ ทอ้ งรอ่ งที่ มใี บไมเ้ ศษตา่ งๆเน่าเป่ือย เคลื่อนท่ีดว้ ยซิเรียข้างลำตวั 5.แบคทเี รยี มีรปู ร่างกแี่ บบอะไรบ้าง แบคทเี รยี มรี ปู ร่าง 3 แบบ คือรปู ทอ่ น ทรงกลม และแบบเกลยี ว.

คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นวาดรูปลกั ษณะเซลลข์ องส่งิ มชี วี ิตเซลล์เดียวมา 1 ชนดิ (ตวั อยา่ ง)

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 16 ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 หน่วยพ้นื ฐานของส่ิงมีชวี ิต เวลา 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรเู้ รอื่ ง สงิ่ มชี วี ติ หลายเซลล์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ผู้สอนนางสาวจนั จิรา ธนนั ชยั 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจาก เซลล์ ความสมั พันธ์ของโครงสร้างและหนา้ ท่ีของระบบต่างๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ท่ีทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน สมั พันธก์ นั รวมท้ังนำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ 2. ตัวชี้วดั อธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรูปร่าง กับการทำหน้าทีข่ องเซลล์ ว 1.2 ม.1/3 อธิบายการจัดระบบของส่ิงมีชีวติ โดยเริม่ จากเซลล์เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเป็น ว 1.2 ม.1/4 ส่ิงมชี ีวิต 3. สาระสำคญั สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์มีโครงสร้างสลับซับซ้อนและประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ โดยแต่ละเซลล์ทำ หนา้ ทีเ่ ฉพาะอยา่ ง ซึ่งแตล่ ะชนิดก็จะทำหน้าท่ีแตกต่างกนั ไป แตม่ ีการประสานกันของเซลล์ท้ังหมดท่ีประกอบ กนั เป็นอวัยวะในระบบตา่ งๆ ซงึ่ ทำใหส้ ง่ิ มีชวี ิตนัน้ ๆสามารถดำรงชีวติ อยไู่ ด้ 4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ (1) นักเรยี นสามารถอธบิ ายลกั ษณะและรูปร่างสิ่งมชี ีวติ หลายเซลล์ได้ (K) (2) นกั เรยี นสามารถวาดภาพตัวอยา่ งสิง่ มีชวี ติ หลายเซลล์ได้ (P) (3) นักเรียนใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ ม่ันในการทำงาน และมวี ินยั ในการเรยี น (A) 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน (1) ความสามารถในการส่อื สาร - การอธิบาย การเขยี น การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคดิ - การสงั เกต การสำรวจ การคดิ วิเคราะห์ การสรา้ งคำอธิบาย การอภปิ ราย การส่อื ความหมาย การทำกิจกรรมโดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบคน้ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแก้ไขปัญหา - สามารถแกป้ ญั หาทเี่ กดิ ขึ้นได้อยา่ งเหมาะสม

6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - มีวินัย - มุ่งม่นั ในการทำงาน - ใฝเ่ รียนรู้ 7. สาระการเรยี นรู้ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ มีโครงสร้างสลับซับซ้อนและประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์โดยแต่ละเซลล์ทำ หน้าที่เฉพาะอย่าง ซึ่งแต่ละชนิดจะทำหน้าที่แตกต่างกันไป แต่มีการประสานกันของเซลล์ทั้งหมดที่ประกอบ กันเปน็ อวัยวะ และระบบต่างๆ ซ่ึงทำใหส้ ่งิ มีชีวติ นัน้ ๆ สามารถดำรงชวี ติ อยู่ได้ ประกอบดว้ ยเซลล์หลายเซลล์ เซลลม์ ี โครงสร้างทส่ี ลบั ซับซ้อน ลักษณะของส่ิงมีชวี ิตหลายเซลล์ เซลล์แต่ละเซลล์ มกี ารทำงานประสานกัน ทำหน้าที่ตา่ งกนั ของเซลล์ทั้งหมด พืชเป็นสง่ิ มีชวี ิตหลายเซลล์ พชื เป็นสิง่ มชี วี ติ หลายเซลล์ ซึง่ เซลลข์ องพืชแต่ละสว่ นมหี นา้ ที่แตกต่างกนออกไป เช่น เซลล์ ปากใบควบคมุ ปริมาณน้ำ เซลล์รากใชด้ ูดน้ำ เปน็ ต้น

ภาพละอองเรณูของดอกชบา ภาพเซลล์คุมปากใบ ทำหน้าทเี่ ป็นเซลลส์ ืบพันธ์ุเพศผู้ เซลลค์ มุ มีหน้าท่ีปิดและเปิดปากใบ เพ่ือ ควบคุมปริมาณน้ำในต้นพชื สตั วเ์ ปน็ ส่งิ มชี ีวิตหลายเซลล์ สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ไม่วาจะเป็นสัตว์ชั้นต่ำหรือสัตว์ชั้นสูง เซลล์แต่ละส่วนมีหน้าที่เฉพาะและ ทำงานประสานกนั อย่างมรี ะบบ เปน็ เนื้อเย่ือ อวยั วะ ระบบตา่ งๆในรา่ งกาย ภาพเซลล์เม็ดเลอื ดแดง (ไมม่ ีนิวเคลียส) ภาพเซลลอ์ สจุ ิ ภาพเซลล์ไข่คน ภาพเซลลป์ ระสาทของคน 8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ใช้รปู แบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ขัน้ สรา้ งความสนใจ (Engagement) (5 นาที) (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยครูทบทวนความรู้เดิม เรื่องสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวโดยใช้ คำถามต่อไปน้ี - สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มีลักษณะอย่างไร (แนวคำตอบ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จะประกอบด้วย เซลลเ์ พียงเซลล์เดียว มองด้วยตาเปล่าไมเ่ ห็น)

- ยกตัวอย่างสิง่ มชี ีวิตเซลลเ์ ดยี ว (แนวคำตอบ พารามเี ซียม อะมีบา แบคทีเรยี เป็นต้น) (2) ครูตั้งคำถามว่า นักเรียนคิดว่า สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกับหลายเซลล์แตกต่างกันอย่างไร ครู ยังไม่เฉลยคำตอบ และครูชแ้ี จงให้นกั เรียนวา่ วันนี้ครูจะสอนเกยี่ วกบั สงิ่ มีชวี ิตหลายเซลล์ 8.2 ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (100 นาที) (1) ครูอธบิ ายความรเู้ รื่องสิ่งมีชีวติ หลายเซลล์ให้นักเรียนฟัง โดยใชส้ ื่อการสอน PowerPoint และใหน้ ักเรียนศกึ ษาความรู้เพ่มิ เตมิ ในหนงั สือหน้า 86 (2) ครูชี้แจงว่า ให้นกั เรยี นแบง่ กล่มุ เป็น 6 กลมุ่ เหมือนเดมิ แลว้ ครจู ะให้เลอื กตวั แทนนักเรียน 1 คนในกล่มุ ออกมาเพื่อท่ีจะมาส่องหาเซลล์คมุ จากสไลด์ถาวรท่ีครูเตรียมให้ ปรบั ใหเ้ ห็นชดั เจนทีส่ ุด และให้ทุก คนในกลุ่มมาดูลกั ษณะของพารามีเซยี ม และถ่ายรปู ไว้เพือ่ นำไปวาดในใบงานท่คี รูจะแจกให้ (3) นักเรียนรับใบงาน เรื่องสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์จากครู และลงมือทำกิจกรรม โดยเริ่มจาก กลุ่มที่ 1 ก่อน และเรยี งตามลำดบั จนครบทุกกลุ่ม (4) ครูสุม่ ตัวแทนนักเรยี น 2 กลุม่ ใหส้ รุปเก่ยี วกบั กิจกรรมที่ทำไป พรอ้ มโชว์รูปภาพท่ีวาดใน ใบงานใหเ้ พ่อื นๆดู 8.3 ขั้นอภิปรายและลงขอ้ สรปุ (Explain) (5 นาท)ี (1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ดังนี้ (สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์มีโครงสร้าง สลับซับซ้อนและประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ โดยแต่ละเซลล์ทำหน้าที่เฉพาะอย่าง ซึ่งแต่ละชนิดก็จะทำ หน้าที่แตกต่างกันไป แต่มีการประสานกันของเซลล์ทั้งหมดที่ประกอบกันเป็นอวัยวะในระบบต่างๆ ซึ่งทำใ ห้ สิ่งมชี วี ติ นั้นๆสามารถดำรงชวี ติ อยูไ่ ด้) 8.4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) (5 นาท)ี (1) ครเู พ่ิมเตมิ ความรู้ใหน้ ักเรยี นดังตารางนี้ จากภาพนำบท คอื ภาพการแข็งตัวของเลือด ประกอบด้วยเซลล์เมด็ เลือดแดง มีลักษณะเปน็ ทรงกลม เว้า ส่วนกลาง มีสีแดงกระจายอยู่โดยรอบ เซลล์เมด็ เลือด ขาวมีลักษณะเป็นทรงกลมสขี าว และเส้นใยไฟบรนิ เป็นสารประกอบประเภทโปรตีน มีลักษณะเป็นเส้นใย สีน้ำตาลอ่อน กระจายอยู่โดยรอบ เพื่อป้องกันการ เคล่ือนท่ีของเม็ดเลือดในกรณีทีเ่ กดิ บาดแผลแล้วมี เลอื ดไหล เป็นการป้องกันการสูญเสียเลือด จากภาพ แสดง ใหเ้ ห็นวา่ ในเลอื ดท่ีเราเหน็ วา่ เปน็ เนือ้ เดยี วกนั ยงั มเี ซลลต์ า่ งๆ เป็นองค์ประกอบอยมู่ ากมาย (2) นักเรียนรับใบงาน เรื่องความแตกต่างระหว่างสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์จากครู และเอาไปทำเป็นการบ้าน 8.5 ขน้ั ประเมิน (Evaluation) (5 นาที) (1) ครูตั้งคำถามเพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียน (2) นักเรียนถามในสิ่งทสี่ งสัยและยังไม่รู้และครอู ธิบายเพิ่มเตมิ (3) สงั เกตความสนใจและความกระตือรอื ร้นของนักเรยี น 9. สอ่ื การเรียนรู้ (1) สอื่ การสอน PowerPoint (2) หนงั สอื วทิ ยาศาสตร์พน้ื ฐาน ม.1 เล่ม 1 (สสวท) (3) ใบงาน เรอ่ื งส่ิงมีชีวติ หลายเซลล์ (4) ใบงาน เรอ่ื งความแตกตา่ งระหวา่ งสง่ิ มชี ีวติ เซลล์เดยี วและหลายเซลล์

(5) อุปกรณ์ที่ใช้ทำกิจกรรม ได้แก่ สไลด์ถาวรเซลล์คุม กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง โทรศัพท์มือถือ (ของนกั เรียน) 10. การวัดผลและประเมินผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วิธีการวดั ผล เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน ผปู้ ระเมนิ ครผู ู้สอน 1.ดา้ นความรู้ (K) ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ใบงาน ผู้เรยี นผ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อน ระดับพอใชข้ ้ึนไป นักเรียนสามารถอธิบาย คำตอบในใบงาน ครูผสู้ อน ผูเ้ รยี นผ่านเกณฑ์ ลักษณะและรูปร่าง ระดับพอใช้ขนึ้ ไป สิง่ มีชวี ิตหลายเซลล์ได้ 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะการวาดภาพ แบบประเมินทักษะ กระบวนการ (P) ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตหลาย การวาดภาพตัวอย่าง นักเรียนสามารถวาด เซลล์ในใบงาน สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ใน ภาพตัวอย่างสิ่งมีชีวิต ใบงาน หลายเซลล์ได้ 3.ดา้ นคุณลักษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผู้เรยี นผา่ นเกณฑ์ ระดบั พอใชข้ ึ้นไป นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน เรียน ตั้งใจ ในการ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ชี้ ในการทำงาน และมีวินยั ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอัน พึ ง ในการเรียน ต่อเวลาในการส่งงาน ประสงค์

เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑ์ประเมินดา้ น K รายการประเมิน ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) น ั กเ ร ี ย น ส า ม า ร ถ นักเรียนสามารถอธิบาย นักเรียนอธิบายลักษณะและ นักเรียนสามารถอธิบาย อธิบายลักษณะและ ล ั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ร ู ป ร ่ า ง รูปร่างสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ได้ ล ั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ร ู ป ร ่ า ง รูปร่างสิ่งมีชีวิตหลาย สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ได้ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่(5- สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ได้ เซลล์ได้ อย่างถูกต้องและครบถ้วน 7คะแนน) เพียงส่วนน้อย(ต่ำกว่า5 (8-10คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดบั 2 ขึ้นไป เกณฑ์การตัดสินระดับคณุ ภาพด้านคุณลักษณะ (K) 8-10 คะแนน อย่ใู นระดบั 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อย่ใู นระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กว่า 5 คะแนน อยูใ่ นระดบั 1 หมายถงึ ปรับปรุง เกณฑป์ ระเมนิ ดา้ น P รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถวาด นักเรียนสามารถวาดภาพ นักเรียนวาดภาพตัวอย่าง นักเรียนสามารวาดภาพ ภาพตัวอย่างสิ่งมีชีวิต ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตหลาย สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ได้ ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตหลาย หลายเซลล์ได้ เซลล์ได้อย่างถูกต้องและ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ( 5-7 เซลล์ได้เพียงส่วนน้อย (ต่ำ ครบถ้วน ( 8-10 คะแนน) คะแนน) กวา่ 5 คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ 2 ข้ึนไป เกณฑก์ ารตดั สินระดับคุณภาพด้านคณุ ลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดับ 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อย่ใู นระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ตำ่ กวา่ 5 คะแนน อยใู่ นระดับ 1 หมายถงึ ปรับปรุง

เกณฑ์ประเมนิ ด้าน A รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมีวนิ ัยในการเรยี น เวลาทกุ ครงั้ (4คะแนน) เวลาบางครง้ั (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดบั 2 ขึ้นไป เกณฑก์ ารตัดสินระดับคณุ ภาพดา้ นคณุ ลักษณะ (A) 4 คะแนน อย่ใู นระดับ 3 หมายถงึ ดี 2-3 คะแนน อยูใ่ นระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ตำ่ กว่า2 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถงึ ปรับปรงุ

วช-ร 06 แบบบนั ทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ……………… เรื่อง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้นั …………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครูผสู้ อน …………………………………………….. ตำแหนง่ …………………………………… เวลาที่ใช้ ……… ชวั่ โมง ************************* ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทีม่ กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผเู้ รยี น ลงชอื่ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนนั ชยั ) ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

11. ผลการประเมนิ นกั เรียนทั้งหมด………………คน ด้าน (K) นกั เรียนสามารถอธบิ ายลกั ษณะและรปู ร่างสง่ิ มชี วี ิตหลายเซลล์ได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอยใู่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คิดเป็นรอ้ ยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. ด้าน (P) นกั เรยี นสามารถวาดภาพตวั อยา่ งสง่ิ มชี ีวติ หลายเซลลไ์ ด้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอยใู่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คิดเป็นรอ้ ยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. ดา้ น (A) นักเรียนใฝ่เรยี นรู้ มุง่ มั่นในการทำงาน และมวี นิ ัยในการเรยี น ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอยู่ในระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ…………… ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. รายช่ือนักเรยี นที่ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ สาเหตุ-ปญั หา แนวทางแก้ไข ลำดับ ชือ่ -สกุล ลงชื่อ...............................................(ผ้สู อน) (..............................................)

ใบงาน เรอื่ งสง่ิ มีชีวติ หลายเซลล์ คำช้ีแจง จงตอบคำถามให้ถกู ต้อง 1. สงิ่ มีชีวิตหลายเซลล์มลี ักษณะอยา่ งไร ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................... ....................................................................... 2. ยกตวั อยา่ งสิ่งมีชวี ติ หลายเซลล์ .................................................................................................................................................. ............................ ....................................................................................................... ....................................................................... ............................................................................................................................. .......................................................... 3. เซลล์เมด็ เลอื ดแดงขาดโครงสรา้ งใด ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ................................................................ ............................ 4. เซลลค์ มุ ทําหนา้ ที่อะไร ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 5. วาดภาพส่ิงมชี วี ิตหลายเซลลท์ ี่นกั เรยี นสนใจ